วิวัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา

Page 1

1

รายงาน วิชา เทคโนโลยีการศึกษา PC9204 เรื่อง วิวัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา

เสนอ อาจารย สุจติ ตรา จันทรลอย

จัดทําโดย นาย

ภากรณ เทพสวัสดิ์ รหัสนักศึกษา 534144016

นางสาว

กัญญาภัส จันทอง

รหัสนักศึกษา 534144028

นางสาว

นฤมน อนทนะกูล

รหัสนักศึกษา 534144029

นาย

ชินพัฒน คุมญาติ

รหัสนักศึกษา 534144040

เอกคอมพิวเตอรศึกษา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง ต.จอมบึง อ.จอมบึง จ.ราชบุรี


2

คํานํา รายงานเรื่องวิวัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา PC 9204 มีจุดประสงคเพื่อศึกษาศึกษา ความรูเกี่ยวกับวิวัฒนาการของเทคโนโลยี ซึ่งรายงานฉบับนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ความหมายของ วิวัฒนาการ ความหมายของเทคโนโลยี ความหมายของการศึกษา วิวัฒนาการของเทคโนโลยี การศึกษาขอบขายของเทคโนโลยีการศึกษา ขอบขายของเทคโนโลยีการศึกษา เทคโนโลยี การศึกษาและเทคโนโลยีการสอน การศึกษาคนควา เรื่องวิวัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาเลมนี้ขาพเจาไดวางแผนการ ดําเนินงาน การศึกษาคนควาเปนกลุม ศึกษาจากแหลงความรูตางๆ อาทิ ตํารา หนังสือ หนังสือพิมพ วารสาร นิตยสาร และแหลงความรูจากเว็บไซต http:// www.lopburil.net , http:// www.mutphysics.com http:// www.library.uru.ac.th , http:// www.rtafa.ac.th http:// www. nmc.ac.th. และอื่นๆ การจัดทํารายงานฉบับนี้สําเร็จตามวัตถุประสงคไปดวยดีขาพเจาขอขอบคุณทาน อาจารย สุจิตตรา จันทรลอย ไดใหคําแนะนําการเขียนรายงานจนทําใหรายงานฉบับนี้สมบูรณ ในดาน แผนปฎิบัติศึกษาการทํารายงาน การเรียบเรียงเนื้อหา การเขียนบรรณานุกรม ไดสําเร็จลุลวงไป ดวยดี ขาพเจาหวังวาเนื้อหาในรายงานฉบับนี้ที่ไดเรียบเรียงมาจะเปนประโยชนตอผูสนใจเปน อยางดี หากมีสิ่งใดในรายงานฉบับนี้จะตองปรับปรุง ขาพเจาขอนอมรับในขอชี้แนะและจะ นําไปแกไขหรือพัฒนาใหถูกตองสมบูรณตอไป จัดทําโดย คณะผูจัดทํา


3

สารบัญ หนา ปกนอก

1

ปกใน

1

คํานํา

2

สารบัญ

3-4

สวนของเนื้อหา : วิวัฒนาการ ความหมายของวิวัฒนาการ

5-6

- ลักษณะของวิวัฒนาการ - วิวัฒนาการเคมี - วิวัฒนาการชีววิทยา - วิวัฒนาการของเทคโนโลยี เทคโนโลยี

7-8

ความหมายของเทคโนโลยี องคประกอบของเทคโนโลยี - เทคโนโลยีฮารดแวร - เทคโนโลยีซอฟตแวร

9-10


4

ระดับของเทคโนโลยี

11

- ลักษณะของเทคโนโลยี การศึกษา

12-14

- ความหมายของการศึกษา - วิวัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ขอบขายของเทคโนโลยีการศึกษา เทคโนโลยีการศึกษาและเทคโนโลยีการสอน

15-16 17-20

- ขอบขายของเทคโนโลยีการสอน เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา บรรณานุกรม

22 23-24


5

วิวัฒนาการ ความหมายของวิวัฒนาการ วิวัฒนาการ (Evolution) คือ กระบวนการเปลี่ยนแปลงหรือคลี่คลายไปสูฐานะที่ ดีขึ้นหรือเจริญขึ้น เปนเปลี่ยนแปลงในทางชีววิทยาจากสิ่งที่งาย ๆ ไปสูสิ่งที่ยุงยากซับซอนมาก ขึ้น การเปลี่ยนแปลงนี้จะตองเปลี่ยน ในลักษณะคอยเปนคอยไป และตองใชเวลานาน วิวัฒนาการ (Evolution) หมายถึง การพัฒนาอยางมีระบบตามธรรมชาติ และ ตามผลการทบของสิ่งแวดลอมในสภาวะนั้นๆ วิวัฒนาการตองใชเวลา ไมมที างลัด ตัวแปรของ วิวัฒนาการ คือ สิ่งแวดลอม วิวัฒนาการ คือ การดําเนินการที่คอยเปนคอยไป ในเวลาปรกติก็จะพัฒนาไป ตอเมื่อพบสภาววิกฤตก็จะทําการปฏิรูปจริงจัง จากขอความขางตนสามารถสรุปความหมายของคําวาวิวัฒนาการ ไดวา เปน การพัฒนาอยางเปนระบบ ซึ่งจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อเผชิญกับสภาวะวิกฤต ทําใหตองมีการ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง เพื่อทําไดดีขึ้น ซึ่งมีดวยกันหลายดานเชน วิวัฒนาการของ เทคโนโลยี วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ลักษณะของวิวัฒนาการ วิวัฒนาการทางเคมี นักวิทยาศาสตรเชื่อวา ครั้งแรกโลกเปนหมอกเพลิงที่หลุดออกมาจากดวง อาทิตยตอมาเปลือกโลกคอย ๆ เย็นตัวลง พรอม ๆ กับการเปลี่ยนแปลงของสารเคมีตลอดเวลา ครั้งแรกยังไมมีสารอินทรีย มีแตสารอนินทรียเทานั้น ซึ่งคอย ๆ เปลี่ยนแปลงเปนสารอินทรีย ฉะนั้นเมื่อเวลาคอย ๆ ผานไปสารอนินทรียจะคอย ๆ ลดลงพรอมกับสารอินทรียเพิ่มขึ้น แตยัง ไมมีสิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการทางชีววิทยา เริ่มแรกจากเซลล ๆ จะสรางสารที่ตองการจากอาหารไดเติบโต และสืบพันธุได และจะตองมีวิธีที่เซลลจะไดพลังงานมาใช วิธีการนัน้ ก็คือการหายใจ วิวัฒนาการของเทคโนโลยี คนเรารูจักใชเทคโนโลยีกนั มาตั้งแตยุคดึกดําบรรพ นับตั้งแตการทําเครื่องมือลาสัตว เพื่อนํามาเปนอาหาร รูจักการฝนหินเพื่อใหเกิดไฟปงอาหารใหสุก หรือเทคโนโลยีในอดีตอีก อยางหนึ่งที่เห็นชัด คือ พีรามิดของชาวอียิปตโบราณที่สรางโดยวิธีตอทางลําเลียงลาดเพื่อลาก


6


7

เทคโนโลยี ความหมายของเทคโนโลยี คําวา เทคโนโลยี ตรงกับคําภาษาอังกฤษวา "Technology" ซึ่งมาจากภาษากรีกวา "Technologia" แปลวา การกระทําที่ระบบ อยางไรก็ตามคําวา เทคโนโลยี มักนิยมควบคูกับคําวา วิทยาศาสตร โดยเรียกรวม ๆ วา "วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี" ซึ่ง พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน (2539 : 406) ไดใหความหมายของเทคโนโลยี คือ วิทยาการที่เกี่ยวกับศิลปะ ในการนําเอวิทยาศาสตรประยุกตมาใชใหเกิดประโยชนในทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม นอกจากนั้นยังมีผูใหความหมายของเทคโนโลยีไวหลากหลาย ดังนี้ คือ ผดุงยศ ดวงมาลา (2523 : 16) ไดใหความหมายของเทคโนโลยีวาปจจุบันมีความหมาย กวางกวารากศัพทเดิม คือ หมายถึงกิจกรรมที่เกี่ยวของกับเครื่องจักรกล สิ่งประดิษฐใหม ๆ ทาง อุตสาหกรรม ถาในแงของความรู เทคโนโลยีจะหมายถึง ความรูหรือศาสตรที่เกี่ยวกับเทคนิค การผลิตในอุตสาหกรรม และกิจกรรมอื่น ๆ ที่จะเอื้ออํานวยตอการดํารงชีวิตของมนุษย หรืออาจ สรุปวา เทคโนโลยี คือ ความรูที่มนุษยใชทรัพยากรตาง ๆ ใหเกิดประโยชนแกมนุษยเอง ทั้งใน แงความเปนอยูและการควบคุมสิ่งแวดลอม สิปปนนท เกตุทัต อธิบายวา เทคโนโลยี คือ การนําความรูทางวิทยาศาสตร และศาสตร อื่น ๆ มาผสมผสานประยุกต เพื่อสนองเปาหมายเฉพาะตามความตองการของมนุษยดวยการนํา ทรัพยากรตาง ๆ มาใชในการผลิตและจําหนายใหตอเนื่องตลอดทั้ง กระบวนการ เทคโนโลยีจึง มักจะมีคุณประโยชนและเหมาะสมเฉพาะเวลาและสถานที่ และหากเทคโนโลยีนั้น สอดคลอง กับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม และสภาพแวดลอม เทคโนโลยีนั้น จะเกื้อกูลเปนประโยชนทั้งตอบุคคลและสวนรวม หากไมสอดคลองเทคโนโลยี นั้น ๆ จะ กอใหเกิดปญหาตามมามหาศาล ธรรมนูญ โรจนะบุรานนท (2531 : 170) กลาววา เทคโนโลยี คือ ความรูวิชาการรวมกับ ความรูวิธีการ และความชํานาญที่สามารถนําไปปฏิบัติภารกิจใหมีประสิทธิภาพสูง โดยปกติ เทคโนโลยีนนั้ มีความรูวิทยาศาสตรรวมอยูดวย นั้นคือวิทยาศาสตรเปนความรู เทคโนโลยีเปน การนําความรูไปใชในทางปฏิบัติ จึงมักนิยมใชสองคําดวยกัน คือ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อเนนใหเขาใจวา ทั้งสองอยางนี้ตองควบคูกันไปจึงจะมีประสิทธิภาพ


8

ชํานาญ เชาวกีรติพงศ (2534 : 5) ไดใหความหมายสั้น ๆ วา เทคโนโลยี หมายถึง วิชา ที่วาดวยการประกอบวัตถุเปนอุตสาหกรรม หรือวิชาชางอุตสาหกรรม หรือการนําเอา วิทยาศาสตรมาใชในทางปฏิบัติ จากการที่มีผูใหความหมายของเทคโนโลยีไวหลากหลาย สรุปไดวา เทคโนโลยี หมายถึง วิชาที่ นําเอาวิทยาการทางวิทยาศาสตรและศาสตรอื่น ๆ มาประยุกตใชตามความตองการของมนุษย เชน โรงงานอุตสาหกรรม เปนตน ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงกลาวถึงความหมายของ เทคโนโลยีเปนภาษางาย ๆ วา หมายถึง การรูจักนํามาทําใหเปนประโยชนนั่นเอง ราตรี สายเส็น เทคโนโลยี หมายถึง เทคโนโลยี เปนการนําเอาแนวความคิด หลักการ เทคนิค ความรู ระเบียบวิธี กระบวนการ ตลอดจนผลผลิตทางวิทยาศาสตรทั้งในดานสิ่งประดิษฐและวิธีปฏิบัติ มาประยุกตใชในระบบงานเพื่อชวยใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในการทํางานใหดียิ่งขึ้นและเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานใหมีมากยิ่งขึ้น การนําเทคโนโลยีมาใชกับงานในสาขาใดสาขาหนึ่งนั้น เทคโนโลยีจะมีสวนชวย สําคัญ 3 ประการ และถือเปนเกณฑในการพิจารณานําเทคโนโลยีมาใชดวย (กอ สวัสดิพาณิชย 2517 : 84) คือ 1. ประสิทธิภาพ ( Efficiency ) เทคโนโลยีจะชวยใหการทํางาน บรรลุผลตามเปาหมายไดอยางเที่ยงตรงและรวดเร็ว 2. ประสิทธิผล ( Productivity ) เปนการทํางานเพื่อใหไดผลผลิต ออกมาอยางเต็มที่มากที่สุดเทาที่จะมากได เพื่อใหไดประสิทธิผลสูงสุด 3. ประหยัด ( Economy ) เปนการประหยัดทั้งเวลาและแรงงานใน การทํางานดวยการลงทุนนอยแตไดผลมากกวาที่ลงทุนไป


9

องคประกอบของเทคโนโลยี 1. เทคโนโลยีฮารดแวร (Hardware) หมายถึง อุปกรณตางๆ ที่ประกอบขึ้นเปน เครื่องคอมพิวเตอร มีลักษณะเปนโครงรางสามารถมองเห็นดวยตาและสัมผัสได (รูปธรรม) เชน จอภาพ คียบอรด เครื่องพิมพ เมาส เปนตน ซึ่งสามารถแบงออกเปนสวนตางๆ ตามลักษณะการ ทํางาน ได 4 หนวย คือ หนวยรับขอมูล (Input Unit) หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หนวยแสดงผล (Output Unit) หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณแตละหนวยมีหนาที่การทํางานแตกตางกัน 2.เทคโนโลยีซอฟตแวร (Software) หมายถึง สวนที่มนุษยสัมผัสไมไดโดยตรง (นามธรรม) เปนโปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางาน ซอฟตแวรจึงเปนเหมือนตัวเชื่อมระหวางผูใชเครื่องคอมพิวเตอรและเครื่องคอมพิวเตอร ถาไมมี ซอฟตแวรเราก็ไมสามารถใชเครื่องคอมพิวเตอรทําอะไรไดเลย ซอฟตแวรสําหรับเครื่อง คอมพิวเตอรสามารถแบงออกไดเปน 1. ซอฟตแวรสําหรับระบบ (System Software) คือ ชุดของคําสั่งที่เขียนไวเปนคําสั่งสําเร็จรูป ซึ่งจะทํางานใกลชิดกับคอมพิวเตอรมากที่สุด เพื่อ คอยควบคุมการทํางานของฮารดแวรทุกอยาง และอํานวยความสะดวกใหกับผูใชในการใชงาน ซอฟตแวรหรือโปรแกรมระบบที่รูจักกันดีก็คือ DOS, Windows, Unix, Linux รวมทั้งโปรแกรม แปลคําสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เชน ภาษา Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C เปนตน นอกจากนี้โปรแกรมที่ใชในการตรวจสอบระบบเชน Norton’s Utilities ก็นับเปนโปรแกรม สําหรับระบบดวยเชนกัน 2. ซอฟตแวรประยุกต (Application Software) คือ ซอฟตแวรหรือโปรแกรมที่มําใหคอมพิวเตอรทํางานตางๆ ตามที่ผูใชตองการ ไมวาจะดาน เอกสาร บัญชี การจัดเก็บขอมูล เปนตน ซอฟตแวรประยุกตสามารถจําแนกไดเปน 2 ประเภท คือ 2.1 ซอฟตแวรสําหรับงานเฉพาะดาน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้น เพื่อการทํางานเฉพาะอยางที่เราตองการ บางที่เรียกวา User’s Program เชน โปรแกรมการทํา บัญชีจายเงินเดือน โปรแกรมระบบเชาซื้อ โปรแกรมการทําสินคาคงคลัง เปนตน ซึ่งแตละ โปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอรมแตกตางกันออกไปตามความตองการ หรือกฏเกณฑ ของแตละหนวยงานที่ใช ซึ่งสามารถดัดแปลงแกไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางสวนของ


10

2.2 ซอฟตแวรสําหรับงานทั่วไป เปนโปรแกรมประยุกตที่มี ผูจัดทําไว เพื่อใชในการทํางานประเภทตางๆ ทั่วไป โดยผูใชคนอื่นๆ สามารถนําโปรแกรมนี้ไป ประยุกตใชกบั ขอมูลของตนได แตจะไมสามารถทําการดัดแปลง หรือแกไขโปรแกรมได ผูใช ไมจําเปนตองเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเปนการประหยัดเวลา แรงงาน และคาใชจายในการเขียน โปรแกรม นอกจากนี้ ยังไมตองเวลามากในการฝกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสําเร็จรูปนี้ มักจะมี การใชงานในหนวยงานมราขาดบุคลากรที่มีความชํานาญเปนพิเศษในการเขียนโปรแกรม ดังนั้น การใชโปรแกรมสําเร็จรูปจึงเปนสิ่งที่อํานวยความสะดวกและเปนประโยชนอยางยิ่ง ตัวอยางโปรแกรมสําเร็จรูปที่นิยมใชไดแก MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมสตางๆ เปนตน 3. ระบบฐานขอมูล (Database System) หมายถึง โครงสรางสารสนเทศที่ ประกอบดวยรายละเอียดของขอมูลที่เกี่ยวของกันที่จะนํามาใชในระบบตางๆรวมกัน ระบบ ฐานขอมูล จึงนับวาเปนการจัดเก็บขอมูลอยางเปนระบบ ซึ่งผูใชสามารถจัดการกับขอมูลไดใน ลักษณะตาง ๆ ทั้งการเพิ่ม การแกไข การลบ ตลอดจนการเรียกดูขอมูล ซึ่งสวนใหญจะเปนการ ประยุกตนําเอาระบบคอมพิวเตอรเขามาชวยในการจัดการฐานขอมูล 4. เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม (Telecommunication Technology) หมายถึง เทคโนโลยีทเี่ กี่ยวกับการสื่อสารทางไกลโดยผานระบบการสื่อสารคมนาคมตาง ๆ


11

ระดับของเทคโนโลยี เทคโนโลยีมี 4 ระดับ ไดแก 1. เทคโนโลยีระดับเบื้องตน สามารถจัดหาไดภายในประเทศ หรือสามารถพัฒนาขึ้นไดใน ระยะเวลาอันสั้น เชน ตูเย็น โทรศัพท เปนตน 2. เทคโนโลยีระดับกลาง มักตองซื้อจากตางประเทศ แตสามารถพัฒนาไดภายในประเทศ หากมี แผนการพัฒนาที่ตอเนื่อง เชน โทรทัศน เครื่องเสียง เปนตน 3. เทคโนโลยีระดับสูง ตองซื้ออุปกรณจากตางประเทศ แตสามารถใชงานโดยคนไทย หาก พัฒนาในประเทศจะตองซื้อเทคโนโลยีแกนจากตางประเทศ เชน คอมพิวเตอร โทรศัพทเคลื่อนที่ เปนตน 4. เทคโนโลยีระดับสูงมาก ตองซื้ออุปกรณ และทักษะการใชงานจากตางประเทศ เชน ระบบ คมนาคมสื่อสารขนาดใหญ ลักษณะของเทคโนโลยี สามารถจําแนกออกไดเปน 3 ลักษณะ คือ (Heinich , Molenda and Russell. 1993 : 449) 1. เทคโนโลยีในลักษณะของกระบวนการ ( process) เปนการใชอยางเปนระบบของวิธีการ ทางวิทยาศาสตรหรือ ความรูตางๆที่ไดรวบรวมไว เพื่อนําไปสูผลในทางปฏิบัติ โดยเชือ่ วาเปน กระบวนการที่เชื่อถือไดและนําไปสูการแกปญหาตาง ๆ 2. เทคโนโลยีในลักษณะของผลผลิต (product) หมายถึง วัสดุและอุปกรณที่เปนผลมาจาก การใชกระบวนการทางเทคโนโลยี 3. เทคโนโลยีในลักษณะผสมของกระบวนการและผลผลิต (process and product) เชน ระบบคอมพิวเตอรซึ่งมีการทํางานเปนปฏิสัมพันธระหวางตัวเครื่องกับโปรแกรม


12

การศึกษา ความหมายของการศึกษา การศึกษาถึง กระบวนการเรียนรู ประเทศไทยมีพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 เปนแผนแมบทดานการศึกษาของ ประเทศ และในมาตรา 4 ของ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ไดใหความหมาย ของการศึกษาไวดังนี้ การศึกษา หมายถึงกระบวนการเรียนรู และกระบวนการเรียนรูนั้นเกิดกับบุคคล และสังคม ถา เราถือวาคนเปนสวนหนึ่งของสังคม ดังนั้น การเรียนรู ก็คือการเรียนรูของคนในสังคมนั่นเอง การเรียนรูทาํ ไดหลายวิธี มีไดหลายรูปแบบ การเรียนรูคือการสรางสรรคที่จรรโลง ความกาวหนา คือครีเอทีฟ เพื่อความกาวหนา และการเรียนรูคือการสรางองคความรู ดังนั้น จะ เห็นไดวาการเรียนรูใหมตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 นั้นตองการการเรียนรู ที่เนนและใหความสําคัญ กับการสรางสรรคมาก หมายความวา การเรียนรูน ั้น เราสามารถสราง องคความรูไดจากทุกสิ่งทุกอยาง ดังนั้นจึงเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณ ระหวาง ประเทศไทยกับสหราชอาณาจักรในครั้งนี้ ถาเรามองวาการศึกษาคือการสรางสรรค และการสรางสรรคเปนสิ่งยิ่งใหญ จากรายงานจะพบวา เศรษฐกิจของสหราชอาณาจักร และเศรษฐกิจของโลกขึ้นอยูกบั ผลงานสรางสรรค หลายหมื่น ลานปอนด นั่นหมายความวาราคาของความสรางสรรคมีมูลคาสูงมาก ถานับรวมทั้งโลกจะสูงถึง ลาน ลาน ลานทีเดียว เพราะฉะนั้นโลกปจจุบันจึงเปนโลกของการเรียนรูโดยการสรางสรรค ที่ เรามาพูดกันใวันนี้ เมื่อไดความหมายของการศึกษา วาหมายถึงการศึกษาเชิงสรางสรรคแลว ในมาตรา 7 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ไดบอกจุดประสงคของการเรียนรูไวอยาง ชัดเจนวา กระบวนการเรียนรูนั้นเนนการสรางสรรคสิ่งตางๆ และการบูรณาการเชิงสรางสรรค ไมวาจะเปนเรื่อง ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา จนถึงภูมิปญญา และวิทยาศาสตร วันนี้เรามีโอกาสไดฟงผูเชี่ยวชาญมานําเสนอใหเราเห็นวา การศึกษาในเชิงสรางสรรค จะ


13


14

มาตรา 24 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 กลาวถึงเนื้อหาวิชาไวอยางสมบูรณ และชัดเจน และในมาตรา 24(5) กําหนดวิธีการเรียนรูโดยใชกระบวนการวิจัย เพื่อพัฒนาพลัง แหงการสรางสรรคใหเปนระบบ เพราะการวิจัยเปนการทํางานโดยใชวิธีการทางวิทยาศาสตร นอกจากนี้ นอกจากนี้ในมาตรา 25 กลาวถึง แหลงเรียนรู วามิไดจํากัดตายตัวอยูแตเพียงใน หองเรียน สถานที่ตางๆ เชน หองสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ หอศิลป สวนสัตว สวนสาธารณะ ก็ ถือเปนแหลงเรียนรูสําคัเชนกัน แตเดิมเราเคยมีปญหาเกี่ยวกับขอกําหนดของหลักสูตร แตตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ใหหลักสูตรมี 2 ระบบ คือ หลักสูตรกลาง หรือหลักสูตรชาติ และ หลักสูตรของโรงเรียนที่พัฒนาใหสอดคลองกับความตองการและศักยภาพของผู เรียน และ ชุมชน พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 กําหนดใหการปฏิรูปการศึกษา เปน การปฏิรูปการเรียนรู ทําอยางไรจึงมีการเรียนอยางสรางสรรค เพื่อสรางพลังศักยภาพของสังคม ของคนไทย สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ ในฐานะของหนวยงานที่ทําหนาที่ใน การกําหนดนโยบายดานการศึกษาของชาติ จึงสนใจและทําการศึกษาเรื่อง "การศึกษาเชิง สรางสรรค" นี้ เพื่อใหนโยบายดานการศึกษาของชาติ สามารถพัฒนาเปนแผนโดยการบูรณาการ การศึกษาเชิงสรางสรรคนี้ใหเขากับราย วิชาตางๆ ไดอยางจริงจัง และเปนรูปธรรม เพื่อพัฒนา คนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณ


15

วิวัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ชาวกรีกโบราณ ไดใชวัสดุและวิธีการในการสอนประวัติศาสตร และหนาที่พลเมือง ดวย การ แสดงละครเพื่อสรางเจตคติทางจรรยาและการเมือง ใชดนตรีเพื่อสรางอารมณ และยังไดย้ําถึง ความสําคัญของการศึกษานอกสถานที่ดวย นอกจากนี้การสอนศิลปวิจักษในสมัยนั้นไดใชรูป ปน และงานแกะสลักชวยสอน ซึ่งนับวาเปนการใชทัศนวัสดุในการสอนแทนการปาฐกถาอยาง เดียว เพลโต นักปราชญชาวกรีก ไดย้ําถึงความสําคัญของคําพูดที่ใชกันนั้นวา เมื่อพูดไปแลวอะไรเปน ความหมายที่อยูเบื้องหลังสิ่งนั้น จึงไดกระตุนใหใชวัตถุประกอบเพื่อชวยใหเขาใจไดดีขึ้น ฟรานซิส เบคอน (ค.ศ.1561-1626) สนับสนุนวิธีใหม ๆ แบบ Realism คือหันมายึดวัตถุและ ความคิด โดยเสนอแนะวา การเรียนการสอนนั้น ควรใหผูเรียนไดรูจักสังเกต พิจารณา เหตุผลใน ชีวิตจริง โดยครูเปนผูนําใหนักเรียนคิดหาวิธีแกปญหาซึ่งจะตองอาศัยการสังเกตพิจารณานั่นเอง ไมใชครูเปนผูบอกเสียทุกอยาง โจฮันน อะมอส คอมินิอุส (Johannes Amos Comenius ค.ศ.1592-1670) เปนผูที่พยายามใชวัตถุ สิ่งของชวยในการสอนอยางจริงจัง จนไดรับเกียรติวาเปนบิดาแหงโสตทัศนศึกษา คอมินิอุสได แตงหนังสือสําคัญ ๆ ไวมากมาย ที่สําคัญยิ่งคือ หนังสือ Obis Sensualium Pictus หรือ "โลกใน รูปภาพ" ซึ่งพิมพครั้งแรกในป ค.ศ.1685 เปนหนังสือที่ใชรูปภาพประกอบบทเรียน ถึง 150 ภาพ ซึ่งนับวาเปนการใชทัศนวัสดุประกอบการเรียนเปนครั้งแรก ธอรนไดค (thorndike) เปนนักจิตวิทยาการศึกษาชาวอเมริกันที่ใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทางการศึกษาประกอบหลักการทางจิตวิทยา โดยไดทดลองทางจิตวิทยาเกี่ยวกับ การตอบสนอง


16

ขอบขายของเทคโนโลยีการศึกษา เทคโนโลยีการศึกษาและเทคโนโลยีการสอน Educational Technology และ Instructional Technology ในวงการสาขาวิชานี้ ไดเรียกทั้ง Educational Technology และ Instructional Technology ซึ่ง Barbara และ Rita (1994) ได กลาวไว 2 ประการ คือ 1) คําวา Instructional Technology เปนคําที่มีความเหมาะสมกับ Technology ในการอธิบาย สวนประกอบของเทคโนโลยีไดครอบคลุมชัดเจนมากวา 2) คําวา Educational Technology มีความหมายโดยทั่วไปที่ใชกับโรงเรียน หรือระบบ การศึกษา แตคําวา Instructional นั้นไมเพียงแตสอดคลองกับระบบการศึกษาเทานั้นแตยังรวมถึง สถานการณการฝกอบรมไดเชนกันอกจากนี้ Knirk และ Gustafson (1986) ไดกลาววา


17

ในป 1977 Association for Educational Communications and Technology (AECT) ไดใหนิยาม ที่แตกตางกันระหวาง Educational และ Instructional Technology ไวดังนี้ เทคโนโลยีการศึกษา หรือ Educational Technology เปนสวนหนึ่ง (Subset) ของการศึกษาหรือ Education ซึ่ง เกี่ยวของกับการแกปญหาที่เกี่ยวกับการเรียนรูของมนุษยในทุกลักษณะ โดยผานกระบวนการที่ ซับซอน หรือที่มี ความเกี่ยวของสัมพันธกัน ตามคํานิยมดังกลาว เทคโนโลยีการศึกษา มี ความหมายรวมถึงการเรียนรูผานสื่อสารมวลชน (Mass media) และสนับสนุนแบบการสอนและ ระบบการจัดการ สวน Technology in Educational หมายถึง การประยุกตใชเทคโนโลยีเพื่อ สนับสนุนระบบการศึกษา เชน การรายงานผล การเรียน ตารางเรียน และงบประมาณ จากแนวคิดที่วา Instructional Technology เปนสวนหนึ่ง ของ Educational Technology มาจาก หลักเหตุผลที่วา การสอน (Instruction) เปนสวนหนึ่ง (subset) ของการศึกษา (Education) ซึ่ง เปนเรื่องเกี่ยวกับการเรียนรู ซึ่งเปนเปาหมายของการศึกษานั่นเอง (AECT 1977) ตั้งแต 1977 เปนตนมา ไมปรากฏความแตกตางระหวางความหมายของคําตาง ๆ เหลานี้ ใน ปจจุบันทั้ง 3 คําดังกลาวไดถูกนํามาอธิบายการประยุกตใชเครื่องมือและกระบวนการทาง เทคโนโลยี ซึ่งสามารถนําไปใชแกปญหาการสอนและการเรียนรู ปจจุบันวิชาชีพไดใหความ


18

ในปจจุบัน คําวา 'Educational Technology' และ 'Instructional Technology' อาจมีการใช สลับกันหรือแทนกันโดยนักเทคโนโลยีการศึกษา เพราะวา คําวา 'Instruction Technology' 1) เปนคําที่ใชแพรหลายในสหรัฐอเมริกา 2) ครอบคลุมถึงการปฏิบัติ 3) อธิบายองคประกอบของเทคโนโลยีในการศึกษาไดอยางชัดเจน 4) เปนทั้งการสอนและการเรียนรูในคํานิยามเดียวกัน คําวา 'Instructional Technology' ไดถูกใชในคํานิยามตั้งแตป 1944 เปนตนมา แตคําวา Educational Technology และ Technology in Education ไดมีพิจารณาวาเปนคําที่ใชได เชนเดียวกัน (Synonymous) ดังนั้น Barbara และ Rita (1994) ไดใหความหมาย คําวา เทคโนโลยีการสอน (Instructional Technology) หมายถึง ทฤษฎีและการปฏิบัติในขอบขายที่เกี่ยวของกับ การออกแบบ การพัฒนา การใชการจัดการ และประเมินผล ของกระบวนการและแหลงการเรียนสําหรับการเรียนรู ดังจะ เห็นความสัมพันธของขอบขายทั้ง 5 ไดแก การออกแบบ(Design) การพัฒนา (Development) การใช (Utilization) การจัดการ (Management) และการประเมิน (Evaluation)


19

ขอบขายของเทคโนโลยีการสอน ในสาขาวิชาชีพจําเปนตองมีพื้นฐานความรูตางๆ ที่จะนําไปสูการปฏิบัติในแตละขอบขาย (Domain)ของเทคโนโลยีการสอน ประกอบดวยองคความรูทางดานวิจัยและประสบการณ ดังนั้นความสัมพันธระหวางทฤษฎีและการปฏิบตั ิเปนสิ่งจําเปนสําหรับวิชาชีพในสาขาตางๆ ทฤษฎี ประกอบดวย ความคิดรวบยอด ที่สรางขึ้นจากผลการวิจัย หลักการ และนิยามที่นําไปสู การสรางองคความรู สวนการปฏิบัติเปนการประยุกตองคความรูตาง ๆ เพื่อนําไปแกปญหา นอกจากนั้นการปฏิบัติสามารถที่จะไปสรางพื้นฐานความรู โดยอาศัยขอมูลที่ไดรับจาก ประสบการณ ทั้งทฤษฎีและปฏิบัติการของเทคโนโลยีการสอน ทําใหการใช Model ได กวางขวางขึ้น Model ของกระบวนการที่อธิบายวิธีการดําเนินงาน ซึ่งสามารถเชื่อมโยงทฤษฎี และการปฏิบัติเขาดวยกัน ทฤษฎีก็สามารถกอใหเกิด Model ที่สามารถแสดงใหเห็น ความสัมพันธไดเชนกัน Models เหลานี้ เรียกวา Conceptual Models (Richey 1986) การออกแบบ การพัฒนา การใช การจัดการ และการประเมิน (Design, Development, Utilization, Management and Evaluation) สวนประกอบทั้ง 5 ดังกลาวขางตน เปนขอบขายของ พื้นฐานความรูและองคประกอบที่สําคัญในสาขาวิชานี้ อาจเรียกไดวา 5 ขอบขายพื้นฐานของ สาขาวิชาเทคโนโลยีการสอน ซึ่งแตละองคประกอบก็จะแตกตางกันไป 1. การออกแบบ (Design) แสดงใหเห็นถึงการสรางหรือกอใหเกิดทฤษฏีที่กวางขวางที่สุดของ เทคโนโลยีการสอน ในศาสตรทางการศึกษา 2. การพัฒนา (Development) ไดมีการเจริญกาวหนาและแสดงใหเห็นแนวทาง ในการปฏิบัติ 3. การใช (Utilization) ทางดานนี้ไมไดแสดงใหเห็นถึงความกาวหนาดังเชน ดานทฤษฎีและ การปฏิบัติ อยางไรก็ตามแมวาจะไดมีการดําเนินการกันมากเกี่ยวกับดานการใชสื่อการสอนกัน มากมาย แตยังมีดานอื่น ๆ นอกเหนือจากการใชสื่อการสอนที่มิไดรับการใสใจ


20

4. การจัดการ (Management) เปนดานที่เปนหลักสําคัญของสาขานี้ เพราะจะตองเกี่ยวของกับ แหลงการเรียนรู ที่จะตองสนับสนุนในทุกๆองคประกอบ ซึ่งจะตองมีการจัดระเบียบและแนะนํา หรือการจัดการ 5. การประเมิน (Evaluation) ดานนี้จะเกี่ยวของกับการประเมินเพื่อปรับปรุง (Formative Evaluation) ขอบขายของของกระบวนการและแหลงการเรียนรู 1. กระบวนการ ในที่นี้ หมายถึง ลําดับของการปฏิบัติการหรือกิจกรรมที่มีผลโดยตรงตอ เทคโนโลยีการสอน ประกอบดวยทั้งดานการออกแบบ และกระบวนการสงขอมูล ขาวสาร ความรู กระบวนการ หมายถึง ลําดับที่เกี่ยวของกับขอมูลปอนเขา (Input) การ กระทํา (Action) และผล ซึ่งการวิจัยในปจจุบันจะมุงเนนยุทธวิธีการสอนและ ความสัมพันธของรูปแบบการเรียนรูแ ละสื่อ ยุทธวิธีการสอน (Instruction strategies) เปนวิธีการสําหรับการเลือกและจัดลําดับกิจกรรม ตัวอยางของกระบวนการเปนระบบ การสง เชน การประชุมทางไกล (Teleconferencing) รูปแบบการสอน เชน การศึกษา อิสระ รูปแบบการสอน (Model of teaching) ไดแก การสอนแบบอุปนัย (Inductive) และ รูปแบบสําหรับการพัฒนาการสอน ไดแก การออกแบบระบบการสอน (Instructional system design) กระบวนการ (Process) สวนใหญจะเปนลําดับขั้นตอนแตไมเสมอไป 2. แหลงการเรียน (Resources) แหลงการเรียนรูเปนแหลงที่จะสนับสนุนการเรียนรูของผูเรียน รวมถึงสนับสนุนระบบ และวัสดุ การสอนตลอดจนสิ่งแวดลอม สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา หรือวิชาเทคโนโลยีการสอน ได พัฒนาและเจริญกาวหนามาจากความสนใจเกี่ยวกับการใชสื่อการสอนและกระบวนการสื่อสาร แตแหลงการเรียนรูจะไมใชเพียงเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่ใชในกระบวนการเรียนรูแ ละการ สอนเทานั้น แตยังรวมถึง บุคคล งบประมาณ สิ่งอํานวยความสะดวก ตลอดจนสิ่งที่ชวยใหเกิด การเรียนรูเปนรายบุคคลได


21

การเรียนรู ( Learning) วัตถุประสงคของเทคโนโลยีการสอนเปนสิ่งที่มีอิทธิพลและสงผลตอการเรียนรู โดยเพิ่ม ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการเรียนรู และทําใหเกิดความกระจางชัดในการเรียนรู เปน วัตถุประสงคของการสอน ซึ่งจะหมายถึงการเรียนรูนั่นเอง การเรียนรู เปนสิ่งที่มีหลักฐานเชิง ประจักษเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความรู ทักษะ และเจตคติ ที่เปนเกณฑในการสอนหรือใน นิยามที่วา "การเรียนรู หมายถึง การเปลี่ยนแปลงอยางถาวรในดานความรูของบุคคลหรือ พฤติกรรม รวมถึงประสบการณตางๆ โดยสรุป เมื่อเปรียบความหมายของเทคโนโลยีการสอนหรือการศึกษา จะพบวามีหลาย แนวคิดหลัก (Concept) ที่ปรากฏขึ้นมา แมวาจะมีบริบทและความหมายที่เปลี่ยนแปลงไป แต เดิมคําที่มักจะพบบอยคือ ระบบ(Systematic) แหลงการเรียน(Resource) และกระบวนการ (Process) และคําที่แสดงถึงความหมาย 'เทคโนโลยีการสอน' ในป 1994 ไดแก การออกแบบ การ พัฒนา การใช การการจัดการ และการประเมินผล ในทางตรงขาม คําที่ใชเดิมนี้ ไดแก 'การ ควบคุม' สิ่งอํานวยความสะดวก ลําดับ ขั้น คน/เครื่องจักร เครื่องมือ ในแตละความหมายไดกําหนดวัตถุประสงคที่เกี่ยวของกับ เปาหมายที่ตั้งไว ในการเรียนรูและการแกปญหา ซึ่งจะเห็นไดวา ความหมายที่ปรากฎมาใหมใน ป 1994 มีความใกลเคียงกับความหมาย ป 1963 และ ป 1971 มากกวาป 1977 ความหมายของ เทคโนโลยีการศึกษา ป1973 Ely ไดอภิปรายวา เปนการประสานรวมกันของ 3 ขอบขายหลัก คือ- วิธีระบบ (A systematic approach) - วิธีการ (Means) - สาขาวิชาที่ตรงตามเปาหมาย แตความหมายของป 1994 ไดอธิบาย วิธีการ (Means) เปนกระบวนการและแหลงการเรียนรู (Process and resources) และวิธีระบบเปนขอบขายของ (1) การออกแบบ


22

ซึ่งสิ่งเหลานี้สะทอนใหเห็นวา ความกาวหนาหรือทิศทางหรือแนวโนมของ เทคโนโลยีการสอน ที่เคลื่อนไหวในสาขานี้ไดมุงไปสูทฤษฏีและการปฏิบัติ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มาตรา ๖๓ รัฐตองจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนําและโครงสรางพื้นฐานอื่นที่จําเปนตอการ สงวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน วิทยุโทรคมนาคม และการสื่อสารในรูปอื่น เพื่อใช ประโยชนสาํ หรับ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะและ วัฒนธรรมตามความจําเปน มาตรา ๖๔ รัฐตองสงเสริมและสนับสนุนใหมีการผลิต และพัฒนาแบบเรียน ตํารา หนังสือ ทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพอื่น วัสดุอุปกรณ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น โดยเรงรัดพัฒนาขีด ความ สามารถในการผลิต จัดใหมีเงินสนับสนุนการผลิตและมีการใหแรงจูงใจแกผูผลิต และพัฒนา เทคโนโลยี เพื่อการศึกษา ทั้งนี้ โดยเปดใหมีการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม มาตรา ๖๕ ใหมีการพัฒนาบุคลากรทั้งดานผูผลิต และผูใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให มีความรู ความสามารถ และทักษะในการผลิต รวมทั้งการใชเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม มีคุณภาพ และ ประสิทธิภาพ


23

บรรณานุกรม วิวัฒนาการ.[ออนไลน].เขาถึงไดจาก : http://www.lopburil.net/km/modules.php. (วันที่คน ขอมูล 31 กรกฎาคม 2555) เทคโนโลยี.[ออนไลน].เขาถึงไดจาก : http://www.mutphysics.com. (วันที่คนขอมูล 31 กรกฎาคม 2555) เทคโนโลยี.[ออนไลน].เขาถึงไดจาก : http://gotoknow.org/blog/preeyhom/31293/CHARVD/specialnew/b. (วันที่คนขอมูล 31 กรกฎาคม 2555) เทคโนโลยี.[ออนไลน].เขาถึงไดจาก : http://gotoknow.org/blog/preeyhom/31293/CHARVD/specialnew/b. (วันที่คนขอมูล 31 กรกฎาคม 2555) เทคโนโลยี.[ออนไลน].เขาถึงไดจาก : http://www.kroobannok.com. (วันที่คนขอมูล 31 กรกฎาคม 2555) ดร.รุงแกวแดง. การศึกษา. [ออนไลน].เขาถึงไดจาก : http://library.uru.ac.th/webdb/images/Create_Edu.html. (วันที่คนขอมูล 31 กรกฎาคม 2555) ความเปนมาของแนวคิดเทคโนโลยีการศึกษา. [ออนไลน].เขาถึงไดจาก : http://pirun.ku.ac.th. (วันที่คนขอมูล 31 กรกฎาคม 2555) พัฒนาการเทคโนโลยีการศึกษา . [ออนไลน].เขาถึงไดจาก : http://www.moe.go.th/main2/plan/p-r-b42-01.html. (วันที่คนขอมูล 31 กรกฎาคม 2555)


24

พัฒนาการเทคโนโลยีการศึกษา . [ออนไลน].เขาถึงไดจาก : http:// ednet.kku.ac.th. (วันที่คน ขอมูล 31 กรกฎาคม 2555) พัฒนาการเทคโนโลยีการศึกษา . [ออนไลน].เขาถึงไดจาก : http://www.rtafa.ac.th. (วันที่คน ขอมูล 31 กรกฎาคม 2555) พัฒนาการเทคโนโลยีการศึกษา . [ออนไลน].เขาถึงไดจาก : http://www.nmc.ac.th (วันที่คน ขอมูล 31 กรกฎาคม 2555)


25


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.