คอมพิวเตอร์มาใช้ในการศึกษา

Page 1

1

ความเปนมาของคอมพิวเตอร ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งถือวาเปนยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ เกิดการเปลี่ยนแปลงของโลกใน หลายๆดานทั้งดานเศรษฐกิจและสังคมอันนําไปสูการปรับตัวเพื่อใหเกิดความสามารถในการ แขงขันทามกลางกระแสโลกาภิวัฒนทกุ ประเทศทัว่ โลกกําลังมุง สูกระแสใหมของการเปลี่ยนแปลง ที่เรียกวา สังคมความรู (KnowledgeSociety) และระบบเศรษฐกิจฐานความรู (Knowledge-Based Economy) ที่จะตองใหความสําคัญตอการใชความรูแ ละนวัตกรรม (Innovation) เปนปจจัยในการ พัฒนาและการผลิตมากกวาการใชเงินทุนและแรงงาน ความกาวหนาของเทคโนโลยีทําใหขอมูลขาวสารและความรู ซึ่งประกอบกันเปน "สารสนเทศ" นั้น สามารถลื่นไหลไดสะดวก รวดเร็ว จนสามารถประยุกตใชไดอยางกวางขวาง ตั้งแตระดับบุคคลขึ้นไปถึงระดับองคกรอุตสาหกรรม ภาคสังคม ตลอดจนในระดับประเทศและ ระหวางประเทศ จนกระทั่งภาวะ "ไรพรหมแดน" อันเนือ่ งมาจากอิทธิพลของเทคโนโลยี สารสนเทศดังกลาว ไดเกิดขึ้นในกิจกรรมและวงการตางๆ และนับเปนความกลมกลืนสอดคลองกัน อยางยิ่ง ทีก่ ารพัฒนาบุคลากรในสังคมอันประกอบดวยภาคการศึกษา และการฝกอบรมเปน เรื่องราวของการเรียนรูสารสนเทศในรูปแบบตางๆ ทั้งที่เปนขอมูล (Data) ขาวสาร (Information)ก็ ตาม ดังนั้นเทคโนโลยีสารสนเทศจึงเปนเครื่องมือทีส่ ามารถนําประโยชนมาสูวงการศึกษา ไดอยาง เหมาะสมหากรูจ ักใชใหเปนประโยชนและคุม คาตอการลงทุน (ไพรัช ธัชยพงษและพิเชษ ดุรงค เวโรจน .2541) เมื่อกลาวถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณที่เปนเทคโนโลยีระดับสูงอยางหนึง่ ทีน่ ับวามี บทบาทอยางยิ่งไดแก "คอมพิวเตอร"(Computer) ซึ่งใชกันอยางแพรหลายในทุกวงการ โดยเฉพาะ วงการศึกษาไดนําคอมพิวเตอรมาใชประโยชนไมวาจะเปนในดานการบริหาร การบริการ และการ ใชคอมพิวเตอรเพือ่ การเรียนการสอน เปนตน พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2525 ไดใหความหมายของ "คอมพิวเตอร" ไววา"เครื่องอิเล็กทรอนิกสแบบอัตโนมัติ ทําหนาที่เสมือนสมองกล ใชสําหรับ แกปญหาตางๆที่งายและซับซอนโดยวิธีทางคณิตศาสตร"คอมพิวเตอรจงึ เปนเครื่องมือ อิเล็กทรอนิกสที่ถูกสรางขึ้นเพื่อใชงานแทนมนุษยในดานการคํานวณและสามารถจําขอมูลทัง้ ตัว เลขและตัวอักษรได เพือ่ การเรียกใชงานครั้งตอไป รวมทัง้ สามารถจัดการกับสัญลักษณ (Symbol) ไดดวยความเร็วสูงโดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม นอกจากนี้ยงั มีความสามารถในดานตางๆ เชน การรับสงขอมูล การจัดเก็บขอมูลไวในตัวเครือ่ งและสามารถประมวลผลจากขอมูลตางๆ ได (ตวงแสง ณ นคร .2542)


2

การใชคอมพิวเตอรในดานการศึกษา โดยหลักการแลว การใชคอมพิวเตอรในดานการศึกษาอาจแบงเปนประเภทใหญๆ ได 2 ประเภท คือ ใชเปนเครื่องมือในการศึกษา และใชเปนเครือ่ งมือในการสอน การบริหารการศึกษาเปนเรื่องที่มีความจําเปนอยางยิง่ ทางดานการศึกษา โดยเฉพาะอยางยิง่ ในสถาบันการศึกษาที่มนี ักศึกษาจํานวนมาก หรือมีวิชาจํานวนมากที่เปดใหนักศึกษาเลือกเรียนตาม ความถนัดและความตองการดังนั้น ผูบริหารการศึกษาจึงมีความจําเปนที่จะตองทราบขอมูลตางๆ เพื่อใชในการจัดเตรียมงบประมาณ จัดเตรียมหองเรียนไดตามความตองการ จัดครูหรืออาจารย ผูสอนไดตามความถนัดของผูสอน และมีชั่วโมงการสอนพอเหมาะทุกคน รวมทั้งการวิเคราะห คาใชจายในแตละสาขาวิชาเพื่อที่จะไดทราบวาในปตอๆ ไป ถาเราจะผลิตนักศึกษาเหลานั้นจะตอง ลงทุนอีกเทาใด และถาเพิม่ จํานวนนักศึกษาขึ้นอีกจะมีผลทําใหตองเพิม่ บุคลากร อาคาร หองเรียน และงบประมาณเปนเทาใด นอกจากนี้ยงั สามารถพิจารณาไดวา วิชาการประเภทใดบางที่นักศึกษา ไมคอยนิยมเรียนอาจจะตองหาทางชี้แจงใหนักศึกษาเขาใจ หรือพิจารณาปดวิชาเหลานั้น โดยทั่วไป แลว ในการนําคอมพิวเตอรมาใชทางการบริหารการศึกษานั้น จะแบงขอมูลออกเปน 5 ดานคือ ดาน นักศึกษา ดานแผนการเรียน ดานบุคลากร ดานการเงิน และดานอาคารสถานที่และอุปกรณ ขอมูลดานนักศึกษา เปนขอมูลที่เกีย่ วกับประวัติสวนตัวของนักศึกษาวา เกิดเมื่อใด ที่ไหน ชื่อบิดามารดาอาชีพบิดามารดา เคยเรียนมาจากที่ไหนบาง เปนตนอีกสวนหนึง่ เปนประวัติการศึกษา ในระหวางศึกษาอยู ณ สถาบันนัน้ ๆ วาเคยลงทะเบียนเรียนวิชาอะไร ผลการศึกษาเปนอยางไรใน แตละภาคการศึกษา เพื่อใหไดขอมูลดังกลาวครบถวน สวนใหญเขาจะนิยมใชคอมพิวเตอรชวยใน งานลงทะเบียน ขอมูลดานแผนการเรียน เปนขอมูลที่เกี่ยวกับวิชาที่เปดสอนวาแตละวิชามีรหัสชื่อวิชา หนวยกิต เวลาเรียนและสอนที่ไหน และวิธีการสอนเปนบรรยายหรือปฏิบัติการเปนตน ขอมูลดานบุคลากร เปนขอมูลทีเ่ กี่ยวกับครูผูสอนวามีวุฒิอะไร มาจากทีไ่ หน เพศหญิงหรือ เพศชาย สอนวิชาอะไรบาง กําลังทําวิจัยหรือเขียนตําราเรื่องอะไร และเงินเดือนเทาใด เปนตน ขอมูลดานการเงิน เปนขอมูลที่สถานการศึกษานัน้ ไดรับเงินจากอะไรบาง ไดใชเงิน เหลานั้นแตละเดือนเทาไรใชซื้ออะไรบาง และยังเหลือเงินอยูเปนจํานวนเทาใด เปนตน ขอมูลดานอาคารสถานที่และอุปกรณ เปนขอมูลที่เกี่ยวกับอาคาร หองแตละหองเปน หองปฏิบัตกิ ารหรือหองบรรยาย หองพักนักศึกษา หองทํางาน ความจุของแตละหองมีโตะและ เกาอีก้ ี่ตัว ขนาดหองกวางและยาวเทาใด และในแตละหองมีอุปกรณเครื่องมืออะไรบาง เปนตน


3

จากขอมูลทั้ง 5 ดานที่ไดจากคอมพิวเตอรนี้ ผูบริหารการศึกษาสามารถนํามาใชชวยในการ ตัดสินใจได เชนอยากจะทราบวา ผลการเรียนในแตละวิชามีการใหเกรดผูสอบอยางไร คอมพิวเตอรก็สามารถวิเคราะหออกมาไดเพือ่ ใชพิจารณาความยากงายของขอสอบ หรือการให คะแนนสอบเพือ่ ปรับปรุงการเรียนการสอน ถาตองการทราบวาในสถานศึกษาของตนเองสอนวิชา หนักไปทางไหนบาง ถาจะเพิม่ วิชาอีกจะมีอาจารยผมู ีความรูดานนัน้ ๆ หรือไม ทางดานอาคาร สถานที่ก็สามารถวิเคราะหไดวามีการใชหองเต็มที่หรือไม ถาเพิ่มนักศึกษาอีกจะมีปญหาเรื่องอาคาร เรียนอยางไรบาง เปนตน การใชคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือในการสอนนี้ มีผูเกรงกลัวกันเปนอันมากวาจะทําใหครูตก งาน แตตามความเปนจริงแลวคอมพิวเตอรอาจชวยครูทํางานบางอยางไดดีกวาครู แตก็มีงานหลาย อยางที่คอมพิวเตอรทําไมได ยังคงจําเปนที่จะตองใหครูทําอยูอ ยางแนนอน โดยเฉพาะอยางยิง่ งานที่ คอมพิวเตอรชวยทําไดดีกวาครูนั้นเปนงานจําเจ ซึ่งครูเองคงไมตื่นเตนสนใจ หรือตองการทีจ่ ะทํา อยูตลอดไปนักฉะนัน้ คอมพิวเตอรจะชวยใหครูใชความรูความสามารถพิเศษใหเปนประโยชนแก ระบบการศึกษาไดมากขึ้น

คอมพิวเตอรจะชวยในการสอนไดอยางไร คอมพิวเตอรจะชวยในการสอนไดอยางไรนั้น สิ่งแรกที่ควรทําก็คือ ศึกษาและพิจารณา ระบบการศึกษาปจจุบนั วาเปนอยางไร มีขอดีขอ เสียอะไรบาง จะใชคอมพิวเตอรชวยไดหรือไม ขอเสียที่สําคัญๆ ของระบบการศึกษาที่ยงั ไมไดใชคอมพิวเตอรชวยในการสอนมีอยูสองประการ คือ 1. ความไมยืดหยุนของระบบ เมื่อพบวาอะไรควรจะแกไขปรับปรุง กวาจะปรับปรุงเสร็จก็ ใชเวลานานมากอาจเปนเวลา 2-3 ป และเมื่อปรับปรุงเสร็จก็มกั จะกลาววาสิ่งที่ไดปรับปรุงแลวนั้น ไมเหมาะสม ไมทันตอเหตุการณแลว จําเปนตองแกไขปรับปรุงใหมอกี 2. ความไมสามารถของระบบที่จะจัดใหนกั เรียนแตละคนไดมีโอกาสเลือกเรียนไดชาหรือ เรียนไดเร็วตามความชอบ ความเฉลียวฉลาดและความสามารถของเด็ก เชน เด็กคนใดมีความชอบ หรือมีความคลองในวิชาใดเปนพิเศษควรจะเรียนวิชานั้นใหเขาใจไดในระยะเวลาอันสั้นและ รวดเร็วกวาเด็กคนอืน่ แตในปจจุบันเด็กทุกคนจะตองมานั่งทนเรียนวิชานั้นไปจนสิ้นสุดภาค การศึกษาตามที่กําหนดไวให ซึ่งอาจจะทําใหเด็กคนนั้นเบื่อมาก จนอาจกอกวนใหเด็กคนอืน่ เสีย การเรียนไปดวย ขอเสียทั้งสองประการขางบนนี้ พอจะมีทางแกไขไดไมยากนัก โดยการใชคอมพิวเตอรชวย ซึ่งถาจะใหไดผลดีเต็มที่ จะตองใชคอมพิวเตอรแบบที่ใชพรอมๆ กันไดหลายสิบคนใหทั้งเด็กและ


4

ครูแตละคน และทุกคนมีโอกาสไดใชคอมพิวเตอรเมื่อใดก็ไดเทาทีเ่ ขาตองการ คอมพิวเตอรจะตอง เก็บขอมูลทั้งหมดของเด็กและครูทกุ คนโดยละเอียดวาเด็กคนไหนเรียนวิชาอะไรถึงไหน มีปญหา หรืออุปสรรคอะไร ครูคนไหนมีหนาที่ดูแลเด็กคนไหน สนใจขอดูรายงานเกีย่ วกับเด็กในความ ดูแลของตนเพียงพอหรือไม ถาครูอยากทราบผลการเรียนของเด็ก ก็อาจถามคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรจะแสดงรายงานใหอานบนจอโทรทัศนไดทันทีหรือถาตองการรายงานเปนหลักฐาน คอมพิวเตอรก็พมิ พออกมาใหได ประโยชนสําคัญที่สุดก็คือ เด็กแตละคนจะมีโอกาสไดศึกษาวิชา ที่สนใจตามอัตราชาเร็วตามความตองการของตน ถาเด็กคนไหนสนใจวิชาใดมาก จะเรียนติดตอกัน ใหจบในสัปดาหเดียวก็ได ถาสนใจจะศึกษาหาความรูเพิ่มเติมในเรื่องนั้น คอมพิวเตอรก็ชวย แนะนําหนังสืออานประกอบตอไปได ถาเด็กคนไหนไมชอบวิชานั้นนักเรียนเปนเวลาหลายเดือนก็ ไมไดผล คอมพิวเตอรก็จะชวยหาวิธีสอนแบบตางๆ เชน เรียนโดยการเลน เปนตน คุณภาพของ ระบบการสอนโดยใชคอมพิวเตอรชวยนี้ จะมีประสิทธิภาพเพียงใดนัน้ ขึ้นอยูกับผูออกแบบระบบ และแตงตําราสําหรับระบบโดยตรง ซึ่งอาจใชผูเชี่ยวชาญหลายดานหลายคนชวยกันได โดยสรุปแลวการใชคอมพิวเตอรชวยในการเรียนการสอน อาจไดประโยชนตางๆ ดังตอไปนี้ 1. คอมพิวเตอรสามารถเปลีย่ นแปลงจุดเริม่ ตนและจังหวะชาเร็วของการเรียนการสอน ให เขากับนักเรียนแตละคนและทุกๆ คนไดทันทีทันใด 2. งานซ้ําซากที่ครูไมอยากทําและไมนาจะตองทํา เชน จัดทําตารางสอบ รวมคะแนนสอบ จัดลําดับคะแนน คํานวณหาคะแนนเฉลีย่ ครูกจ็ ะไมตองทํา เพราะใหคอมพิวเตอรทําแทนได 3. ครูมีเวลาเอาใจใส ชวยแนะนําแกปญหาดานจิตใจ ดานครอบครัว ใหเด็กไดทวั่ ถึงยิ่งขึน้ 4. คอมพิวเตอรสามารถเก็บประวัติผลการเรียนของเด็กทุกคน ทุกวิชา ไดอยางละเอียด มากกวาที่ครูจะจําไดหมด และคอมพิวเตอรสามารถเสนอรายงานดานตางๆเกี่ยวกับเด็กแตละคนให ครูไดใชประกอบการตัดสินใจไดรวดเร็วทันใจกวาที่ครูจะใหเลขานุการชวยคน หรือทีค่ รูจะลงมือ ทําประวัติเหลานั้นดวยตนเอง 5. เด็กสามารถเลือกเรียนวิชาที่ตนสนใจได แมวาโรงเรียนทีเ่ ด็กอยูนนั้ จะไมมคี รูทมี่ ีความรู ความสามารถจะสอนวิชานัน้ ๆ ได 6. เราสามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงระบบคอมพิวเตอรที่ใช ไดงายกวาการแกไข เปลี่ยนแปลงความคิดเห็นของครู เพราะเครือ่ งไมมีความรูสึกวาจะเสียเหลีย่ มทีจ่ ะตองยอมรับวา อะไรทีเ่ คยทําอยูแลวนั้นไมเหมาะสมกับเหตุการณปจ จุบนั จําเปนตองปรับปรุงเปลี่ยนแปลง 7. การใชคอมพิวเตอรชวยในการเรียนการสอนอาจจะทําใหทงั้ เด็กและครูเขาใจความ เกี่ยวของของวิชาตางๆมากขึ้น


5

8. การใหเด็กไดรูจักการใชคอมพิวเตอรตงั้ แตยังอยูในโรงเรียน จะเปนการเตรียมใหเด็กไม กลัวการใชคอมพิวเตอรเมื่อจบการศึกษาไปแลว เพราะในอนาคตนั้นงานทางดานรัฐบาลและ เอกชนก็จะตองเกี่ยวของกับคอมพิวเตอรทั้งนั้น ขอเสียของการใชคอมพิวเตอรชว ยในการเรียนการสอนก็คอื คาใชจายสูง ตองใชผูเชี่ยวชาญ ทั้งดานการศึกษาและดานคอมพิวเตอร ตองลงแรงใจในการออกแบบระบบมากกวาการเขียนตํารา ธรรมดา สําหรับประเทศเรานั้น ถาจะไปซือ้ เครือ่ งคอมพิวเตอรพรอมทั้งชุดคําสั่งสําหรับชวยในการ เรียนการสอน และจางผูเชี่ยวชาญมาจากตางประเทศ ก็จะสิ้นเปลืองงบประมาณมากกวาที่ ประเทศชาติจะสามารถจัดสรรใหได ฉะนัน้ เราจึงควรตองใชวิธีแบบไทยๆ ของเรา คือ ใชของไทย และคนไทยใหมากที่สุดเทาที่จะทําได เรามีผูเชี่ยวชาญดานการศึกษามีผูเชี่ยวชาญดานคอมพิวเตอร และสามารถสรางเครือ่ งโทรทัศน เครื่องพิมพดีด ทีจ่ ะใชตอกับคอมพิวเตอรไดในราคาถูก หรืออีก วิธีหนึ่ง ควรพยายามปรับปรุงแกไขระบบการใชคอมพิวเตอรชวยในการเรียนการสอนใหเหมาะสม กับสภาพของเรา คือ ใชเครื่องใหนอ ยใชคนใหมาก ซึ่งก็คงจะไมงายนัก แตก็นาจะทําได ถามีการ ระดมความคิดมาชวยงานดานนี้

คอมพิวเตอรที่นํามาใชในวงการศึกษา คอมพิวเตอรทนี่ ํามาใชในวงการศึกษา หรืออาจเรียกวา คอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา (Computer-Based Education, Instructional Computer : IC, Instructional App.iccations of Computer : IAC, Computer-Based Instruction : CBI) มีความหมายเหมือนกันคือ การนํา คอมพิวเตอรมาใชประโยชนในดานการศึกษา ไมวาจะ เปนการจัดการเรียนการสอน การ ลงทะเบียน การจัดทําบัตรนักศึกษา การจัดทําผลการเรียนการสอนรวมไป จนถึงการออกใบรับรอง การจบหลักสูตร Robert Taylor นักเทคโนโลยีการศึกษา ไดแบงการใชคอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา ไวใน หนังสือ the Computer in the School : Tutor, Tutee โดยไดแบงการนําคอมพิวเตอรเขามาใชใน โรงเรียนออกเปน 3 ลักษณะคือ - การใชคอมพิวเตอรในลักษณะของติวเตอร - การใชคอมพิวเตอรในลักษณะของอุปกรณ การเรียนการสอน - การใชคอมพิวเตอรในลักษณะของผูเรียน


6

ซึ่งไดมนี ักวิชาการบางทานเห็นวายังคง ขาดในสวนที่เปนการนําคอมพิวเตอรมาใชในการ บริหารงานดวย จึงไดมีผูแยกประเภทของการจัดการใช คอมพิวเตอรไปอยางมากมาย ในที่นจี้ ะทํา การแบงการนําคอมพิวเตอร ออกเปน 2 สวน คือ Computer-Managed Instruction : CMI การนําคอมพิวเตอรเขามาใชในการจัดการเรียน การสอนนั้น ตัวอยางทีเ่ ห็นไดชัดคือการที่ครูผูสอนนําคอมพิวเตอรเขามาเปนเครือ่ งมือในการจัดทํา สื่อ การเรียนการสอน แผนกวิชาการ นําคอมพิวเตอรเขามาจัดตารางสอน การลงทะเบียนเรียน ระเบียนนักเรียน ทําบัตรประจําตัวนักเรียน การจัดตารางการเรียนการสอน เปนตน สําหรับในดาน การบริหารแลว ผูบริหาร ก็สามารถที่จะใชคอมพิวเตอรในการจัดเก็บขอมูล จัดทํางบประมาณของ แตละป พรอมทั้งสรางตาราง และ แผนภูมิเพือ่ นําเสนอผลงานผานทางจอภาพตอไป ตัวอยางที่ แสดงใหเห็นนี้เปนเพียงสวนหนึง่ ของการใชงานเทานั้น Computer-Assisted Instruction : CAI คอมพิวเตอรชวยสอน เปนการนําคอมพิวเตอรมา ทําบทเรียนคอมพิวเตอรเพือ่ ใหนกั เรียนสามารถเรียนรูหรืออาจเปนการเพิม่ เติมความรูใหกับผูเรียน ก็เปนได คอมพิวเตอรชวยสอนมีหลายประเภทตามวัตถุประสงคทจี่ ะใหนกั เรียนไดเรียน กลาวคือ ประเภทติวเตอร ประเภทแบบฝกหัด ประเภทการจําลอง ประเภทเกม ประเภทแบบทดสอบ ซึ่งใน แตละประเภทก็มจี ุดมุง หมายในการใหความรูแกผูเรียนแตวิธีการที่แตกตางกันไป ขอดีของการใช คอมพิวเตอรชวยสอนคือ ชวยลดความ แตกตางระหวางผูเรียน เชนผูที่มีผลการเรียนต่ํา ก็สามารถ ชดเชยโดยการเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนได และสําหรับผูมีผลการเรียนสูงก็สามารถ เรียนเสริมบทเรียนหรือเรียนลวงหนากอนที่ผูสอนจะทําการสอนก็เปนได แตกระบวนการในการจัดการศึกษาในภาพรวม ไมไดหมายถึงสถานศึกษาหรือ สถาบันการศึกษาเพียงอยางเดียวเทานั้น ทั้งนี้ยงั มีหนวยงานทางการศึกษาและองคกรอืน่ ที่ทําหนาที่ เกี่ยวของกับการบริหารและสนับสนุนการจัดการศึกษาดวย

ประเภทของคอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา แบงออกเปน 3 ประเภท ดังนี้ 1. คอมพิวเตอรเพื่อการบริหาร (computer Applications into Administration) การ บริหารการศึกษานับเปนปจจัยสําคัญในการกําหนดทิศทาง นโยบาย อันนําไปสูแนวทางปฏิบัติใน การจัดการศึกษา ทั้งในระดับประเทศและระดับทองถิ่น สิ่งสําคัญในการที่จะชวยใหบริหารเปนไป อยางมีประสิทธิภาพก็คอื ความพรอม ของขอมูลในการบริหารจัดการเพื่อการตัดสินใจและกําหนด นโยบายการศึกษา คอมพิวเตอรจงึ เขามามีบทบาทในการบริหารการศึกษามากขึ้น ซึ่งชวยใหการ ดําเนินงานตั้งอยูบนฐานขอมูลที่ชัดเจนถูกตองและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด สรุปไดดังนี้


7

1.1 การบริหารงานทั่วไป เปนการนําคอมพิวเตอรชวยในการบริหารงานบุคคล งานธุรการ การเงินและบัญชีการประชาสัมพันธ รวมถึงการจัดทําระบบฐานขอมูล (Management Information System :MIS) เพือ่ ประโยชนในการวางแผนและบริหารการศึกษาไดอยางมี ประสิทธิภาพ เปนตน 1.2 งานบริหารการเรียนการสอน เปนการนําคอมพิวเตอรชวยในการบริหารของ ครูผูสอนนอกเหนือจากงานดานการสอน ปกติ เชน งานทะเบียน งานดานเอกสาร การจัด ตารางสอน ตารางสอบ การตรวจและการเก็บรวบรวมคะแนน การสราง-วิเคราะหขอสอบ การวัด และประเมินผลการเรียน เปนตน 2. คอมพิวเตอรเพื่อการจัดการเรียนการสอน (Computer -Managed Instruction) การใชคอมพิวเตอรชวยจัดการเรียนการสอนเพื่อชวยใหครูผูสอนไมตอ งเสียเวลากับการ งานบริหาร ครูผูสอนจะไดมีเวลาไปปรับปรุงบทเรียนใหทนั สมัยและมีเวลาใหกบั นักเรียน มากขึน้ เชน การจัดเลือกขอสอบ การตรวจและใหคะแนนและวิเคราะหขอ สอบ การเก็บประวัตินักเรียน เฉพาะวิชาทีส่ อนเพื่อดูพัฒนาการดานการเรียนและการ ใหคําปรึกษา และชวยในการจัดทําเอกสาร เกี่ยวกับการเรียนการสอนของวิชาที่สอน รวมถึงการนําคอมพิวเตอรมาชวยในการจัดการเรียนการ สอนจะทําใหครูผูสอนสามารถวิเคราะหผูเรียนเพือ่ ออกแบบและพัฒนาระบบการสอนไดอยางมี ประสิทธิภาพ ตรงกับวัตถุประสงคและความตองการของผูเรียน 3. คอมพิวเตอรชวยสอน (Computer -Assisted Instruction : CAI) คอมพิวเตอร ชวยสอนเปนกระบวนการเรียนการสอน โดยใชสื่อคอมพิวเตอร ในการ นําเสนอเนือ้ หาเรือ่ งราวตางๆ มีลักษณะเปนการเรียนโดยตรง และเปนการเรียน แบบมีปฏิสัมพันธ (Interactive) คือ สามารถ โตตอบระหวางผูเรียนกับคอมพิวเตอรได เชนเดียวกับการสอนระหวาง ครูกับนักเรียนที่อยูในหองตามปกติ คอมพิวเตอรชวยสอนมีหลายประเภทตามวัตถุประสงคที่จะให นักเรียนไดเรียน กลาวคือ ประเภทติวเตอร ประเภทแบบฝกหัด ประเภทการจําลอง ประเภทเกม ประเภทแบบทดสอบซึ่งในแตละประเภทก็มีจุดมุงหมายในการใหความรูแกผเู รียน แตวิธีการที่ แตกตางกันไป ขอดีของการใชคอมพิวเตอร ชวยสอนคือชวยลดความแตกตางระหวางผูเรียน เชนผู ที่มีผลการเรียนต่ํา ก็สามารถชดเชยโดยการเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนได และสําหรับ ผูมีผลการเรียนสูงก็สามารถเรียนเสริมบทเรียนหรือเรียนลวงหนา กอนที่ผูสอนจะทําการสอนก็ ได ประกอบดวย


8

1. ใชเปนรายบุคคล (Individualized) ไมโครคอมพิวเตอรสวนใหญออกแบบเพื่อใชสวน บุคคลนับวาเปนเครื่องมือที่ใชไดผลดีที่สุด 2. มีการตอบโตอยางทันที (Immediate Feedback) 3. เปนกระบวนการติดตามความกาวหนาของผูเรียน (Track Learners Process) 4. ปรับใหทนั สมัยไดงาย (Each of Updating) 5. โปรแกรม คอมพิวเตอรชวยสอน ไมสามารถทํางานไดทุกอยางเหมือนคน ดวยเหตุนี้ จึง นํามาเปนสวนนึ่งหรือชวยสอนเทานัน้ การแกปญหาเหลานี้ขึ้นอยูกับการเขียนโปรแกรมให สอดคลองกับหลักจิตวิทยา 6. การเขียนโปรแกรมที่ดีตองอาศัยความชํานาญอยางมาก

บทบาทของคอมพิวเตอรกับการศึกษา คอมพิวเตอรกับการศึกษา ในปจจุบันนี้พบวาไดมีการนําเอาคอมพิวเตอรเขาไปใชในดานตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เปนอยางมาก ในดานการศึกษาก็เชนเดียวกัน ไดมีการนําเอาคอมพิวเตอรไปประยุกตใชในงาน ตางๆ เชน ดานการบริหาร ดานการวางแผนหลักสูตรดานการพัฒนาบุคลากร ดานหองสมุด การ แนะแนวและบริการ การทดสอบและวัดผลประยุกตใชในงานวิจัย สื่อการสอน ดานการจัดการสอน และดานชวยสอนเปนตน ในที่นจี้ ะกลาวเฉพาะดานชวยสอนเทานัน้ คอมพิวเตอรไดถูกนําเขามาใช ชวยในการเรียนและการสอนอยางจริงจังในราวปลายศตวรรษที่ 1950 ศาสตราจารย ดร. Robert P. Taylor แหง Columbia University ณ เมือง New York ไดสรุปบทบาทและหนาที่การใชงาน คอมพิวเตอรไววาเปนผูติวหรือผูสอน (Tutor) ผูสื่อ (Tools) และผูเรียน (Tutee) ผูสอน หรือ Tutor การนําเอาคอมพิวเตอรมาใชในลักษณะเปนผูสอนนั้นไดแนวคิดมาจาก การสอนแบบโปรแกรมหรือ Programmed Instruction นั่นเอง แตการใชคอมพิวเตอรมีความ ยืดหยุนในการใชงานมากกวาการสอนแบบโปรแกรม สามารถใชในการโตตอบกับผูเรียน มีการ เคลื่อนไหวของกราฟกซึง่ สามารถทําไดดกี วาการสือ่ และวิธีการสอนแบบอื่นบทเรียนคอมพิวเตอร และสรางโปรแกรมขึ้นมาโดยผูชํานาญในการเขียนโปรแกรมและผูชํานาญการสอนในสาขาวิชา นั้น ๆ คอมพิวเตอรทําหนาที่และมีบทบาทในการเสนอบทเรียนและเนือ้ หา ผูเรียนจะเรียนจาก คอมพิวเตอรตามขัน้ ตอนและเนื้อหาที่ไดออกแบบไวผูเรียนเปนผูตอบสนอง และคอมพิวเตอรเปน ผูประเมินผลจากการตอบของผูเรียน ผลของการประเมินจะชวยเปนเครื่องตัดสินวาผูเรียนจะผาน ไปเรียนเนื้อหาลําดับตอไปหรือไมดังนั้นการออกแบบบทเรียน CAI เพื่อใชเปนผูติวหรือผูสอนนัน้


9

จะใชเวลาเปนอยางมาก ตองใชความคิดอยางลึกซึ้ง เพราะมนุษยมีความยืดหยุน มากกวาเครื่อง คอมพิวเตอรบทเรียนจะตองใชความคิดสรางสรรค ตองคํานึงถึงความแตกตางของผูเรียนแตละคน สื่อการสอน หรือ Tools การใชคอมพิวเตอรเพือ่ เปนเครื่องมือและสื่อสําหรับการเรียนการ สอน ผูเรียนสามารถใชคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือเพือ่ ชวยอํานวยความสะดวกในการเรียน เชน ใช ในคิดคํานวณเลข วิเคราะหขอ มูลสถิติและพิมพรายงาน หนังสือและเอกสารตางๆ งานดานศิลปะ และการออกแบบ งานทางกราฟกและดนตรี เปนตน ผูเรียน หรือ Tureen การใชคอมพิวเตอรเปรียบเสมือนผูถูกติว หรือผูเรียนนั้น หมายความ ไปถึงการที่ผูเรียน และผูสอนจะใชคอมพิวเตอรชวยในการติว หรือใชเปนเครือ่ งมือและผูสอื่ ไดนนั้ ทั้งผูเรียนและผูสอนจะตองทําการเรียนรูเ กี่ยวกับคอมพิวเตอรกอนที่จะใชทําการโปรแกรมและใช สื่อความหมายภาษาเดียวกันกับคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรไมมีความฉลาดเหมือนมนุษย ไมมคี วาม ออนไหวใชทํางานไดนาน ไมมีอาการเบื่อ จะใหเริม่ หรือหยุดเมื่อไรก็ได ผูเรียนสามารถสอน คอมพิวเตอรใหทํางานไดตางๆ นานา เชนใชในการเรียนเลขคณิต ชวยเรียนและฝกภาษา ใชให เขียนแผนผังและแผนที่ ใหฝกเลนดนตรี เปนตน CAI ไดเริม่ เขามามีบทบาทตอวงการการศึกษา ตั้งแตตนทศวรรษที่ 1960 โดยเฉพาะการสอนคํานวณ

ทําไมตองเรียนคอมพิวเตอร ซึ่งการใชงานคอมพิวเตอร นั้นก็มีการใชงานตามลักษณะงานตางๆ เชน ใชเก็บขอมูลตางๆ (สินคา บุคคล สถิติ ฯลฯ) ใชในการจัดการเอกสารพิมพงาน ออกแบบสือ่ ตางๆ , พัฒนาโปรแกรม, Internet , คนหาขอมูล ,ฯลฯ ระบบคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศในปจจุบัน มีการพัฒนาและเขามามีบทบาทใน การทํางาน ตางๆ มากขึ้น ไมวาจะเปนหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน บริษัท หางราน รานคา ตางมีการใชงานคอมพิวเตอรทงั้ สิ้น และตองยอมรับวา แมกระทั่งในบานเรือนทีพ่ ักอาศัยตางๆ ก็มี การใชงานคอมพิวเตอร ฉะนั้น การเรียนคอมพิวเตอร จึงมีความสําคัญอยางยิ่งในปจจุบนั และอนาคต ไมวาจะเปนการ ใชชีวิตประจําวันที่ตองพบเจอกับคอมพิวเตอร การประกอบอาชีพที่ตองใชงานคอมพิวเตอร หรือ ประกอบอาชีพเกีย่ วกับคอมพิวเตอร ในอนาคต คอมพิวเตอรจะกลายเปนปจจัย หนึ่งในการ ดํารงชีวิต


10

ประโยชนของคอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา

1.ใชเพื่อทบทวนบทเรียน 2.ใชเปนเครื่องมือในการเรียน 3.ใชเปนเครื่องมือฝก 4. ใชคอมพิวเตอรมาชวยการสอนในลักษณะบทเรียน CAI หรืองานดานทะเบียน ซึ่งทําใหสะดวก ตอการคนหาขอมูลนักเรียน การเก็บขอมูลยืมและการสงคืนหนังสือหองสมุด 5. ทําใหการจัดการศึกษาเปนระบบและเปนขั้นตอน 6. สงเสริมใหครูผูสอนและผูเรียนเกิดความคิดสรางสรรค และพัฒนาความคิดอยางเปน กระบวนการชวยใหผูเรียนไดเรียนตามความสามารถของตนเอง โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวาง บุคคล 7. นักเรียนไดเรียนเปนขั้นตอนจากงายไปหายากอยางเปนระบบ 8. มีความสะดวกในการทบทวนบทเรียน 9. ไมมีขอจํากัดในเรื่องของเวลาเรียน นักเรียนสามารถศึกษาจากบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน ขณะที่อยูท ี่บานหรืออยูท ี่โรงเรียน 10. ลดเวลาในการเรียนการสอน เนือ่ งจากเปนการเรียนการสอนแบบเอกัตบุคคล ซึ่งนักเรียน สามารถเรียนรูไ ดดวยตนเอง มีการวัดผลและประเมินผลไปพรอม ๆ กัน และยังชวยนักเรียนทีม่ ี ปญหาในการเรียน โดยการจัดโปรแกรมเสริมในสวนที่เปนปญหาหรือใชเสริมความรูใหกับ นักเรียน ทีเ่ รียนรูไดเร็วโดย ไมตองคอยเพื่อนในชั้นเรียน 11. สรางทัศนคติที่ดีใหแกนักเรียน โดยนักเรียนตองฝกความรับผิดชอบตอตนเอง ในการเรียนและ สรางทัศนคติที่ดีในการเรียนดวย


11

12. ทําในสิ่งที่สื่ออื่น ๆ ทําไมได เชน การตัดสินใจเสนอเนื้อหาใหม ๆ หรือการตัดสินใจ เรียนซ้ําใน เนื้อหาเดิม 13. ลดเวลาในการสอนของครู ในการเรียนวิชาที่มีการฝกทักษะ ครูจะเสียเวลาในชวงนีม้ าก เพราะ แตละคน มีความสามารถแตกตางกัน ครูสามารถใหนักเรียนแตละคนไดฝกทักษะจากคอมพิวเตอร แทน 14. ทําใหครูไดมีการพัฒนาความรูใหม ๆ อยูเ สมอ และมีการนําสรางนวัตกรรมใหม ๆ ขึ้นมาใช ใน การเรียนการสอนมากขึ้น 15. สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดเหมาะสม สะดวก รวดเร็วยิ่งขึ้น

สิ่งที่ตองศึกษาในปจจุบัน - เขียนเว็บเพจ ดวยภาษาคอมพิวเตอร เชน html, perl, php, asp, asp.net, jsp, ruby, mysql เปนตน - ศึกษาโปรแกรมประยุกต เพื่อนํามาประยุกตในเหตุการณที่เหมาะสม - ศึกษาการสรางภาพ Graphic ดวยโปรแกรม เชน Photoshop, Animation 3D หรือ 3D studio เปน ตน - ศึกษา OS ทุกตัวที่มโี อกาส เพือ่ หาจุดเดน มาใชประโยชน เชน Windows, Mac, Linux เปนตน - ศึกษาภาษาตาง ๆ เชน VB, Java, Delphi, C, Fox.., Pascal, Cobol, Qbasic, Clipper, Assembly, RPG เปนตน - ศึกษาเทคโนโลยีใหม ๆ เชน Video conference, Voice mail, Real media server, Service server, E-Commerce เปนตน - ศึกษา Hardware เชน ซอมถอดประกอบเครือ่ ง รูจ ักใชอุปกรณ และ Hardware ใหม

สิ่งที่ตองศึกษาในอนาคต - ภาษาคอมพิวเตอรเชิงวัตถุ การเขียนโปรแกรมหรือพัฒนาโปรแกรมตางๆ ที่ใชในเครือ่ ง คอมพิวเตอร - พัฒนาเว็บไซตเชื่อม DB พัฒนาระบบขอมูลตางๆ ในอินเตอรเน็ต เชน ระบบขอมูลทะเบียน ราษฎรออนไลน, การลงทะเบียนออนไลน - สื่อมัลติมีเดีย ดานโฆษณา งานบันเทิง สื่อตางๆ ในคอมพิวเตอร


12

- ระบบปฏิบัติการ การใชงานคอมพิวเตอร ที่จะตองรูเกีย่ วกับระบบปฏิบัตกิ าร เชน Window XP, Linux - ระบบเครือขาย การใชงานระบบเครือขายคอมพิวเตอร การใชงานอินเตอรเน็ต - ระบบความปลอดภัย การใชคอมพิวเตอรในการกําหนดความปลอดภัยตางๆ เชน การตรวจสอบ รหัสผาน การสแกนนิว้ มือ การรูดบัตร - e-Commerce การทําธุรกรรม การคาตางๆ ผานระบบอินเตอรเน็ต เชน สั่งซื้อ-ขาย สินคา บน อินเตอรเน็ต โฆษณาทางอินเตอรเน็ต - e-Learning การเรียนการสอนผานระบบอินเตอรเน็ต เชน บทเรียนออนไลน, ทดสอบออนไลน, ถาม-ตอบออนไลน

หลักสูตรคอมพิวเตอรในปจจุบัน นักเรียนประถม เรียนพัฒนาโฮมเพจ การใชงานโปรแกรมประยุกต ความรูพื้นฐานคอมพิวเตอร นักเรียนมัธยม มีวิชาที่ทาง สสวท บรรจุเขาไปในหลักสูตร เชน - ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร, ตารางทํางานและการประยุกตเบื้องตน, - ตารางทํางานและการประยุกตขนั้ สูง, การจัดการฐานขอมูลเบือ้ งตน, - การจัดการฐานขอมูลขัน้ สูง, หลักการเขียนโปรแกรม,การเขียนโปรแกรมภาษา และพัฒนา โฮมเพจ อาชีวศึกษา ก็มีทั้ง ปวช. ปวท. ปวส.(สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ/เทคโนโลยีสารสนเทศ) ปริญญาตรี หรือสูงกวา เปดสอนอยางหลากหลาย - หลักสูตรคอมพิวเตอรศึกษา (Computer Education) - หลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร (Computer Engineering) - หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร (Computer Science) - หลักสูตรวิศวกรรมซอฟตแวร (Software Engineering) - หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) - หลักสูตรคอมพิวเตอรธุรกิจ (Business Computer) - หลักสูตรระบบสารสนเทศ (Information System) ปริญญาตรี ในหลักสูตรอื่นๆ ทีร่ ับสมัครทุกสาขาที่จบมา เชน การจัดการ, การบริหารธุรกิจ, การตลาด, ทรัพยากรมนุษย ฯลฯ สาขา/หลักสูตร อืน่ ๆ ที่เกีย่ วของ - สาขาประมวลผลขอมูล และคอมพิวเตอรธุรกิจ (Data processing และ Business Computer) - สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร (Computer Science)


13

- สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร (Computer Engineering) - สาขาระบบสารสนเทศ (Information Systems) - สาขาครูคอมพิวเตอร (Computer Education) - สาขาพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (E-Commerce) - ผูที่ผานการอบรมระยะสัน้ (Training course) การสําเร็จการศึกษาดานคอมพิวเตอรนั้น ไมจําเปนวาตองทํางานดานคอมพิวเตอร แตทําอะไรก็ไดที่ ใจรัก บางคนอยูก ับบานก็ทํางานได คือทําอาชีพอิสระไป หรือรับเขียนโปรแกรมอยูกับบานก็ยงั มี หรือจะเปดราน Internet cafe ก็ยังมี

สรุป คอมพิวเตอรเพื่อการศึกษาเปนศาสตรที่วาดวยเรื่อง การศึกษาหาความรูเกีย่ วกับ คอมพิวเตอรไมวาจะเปนความรูเบือ้ งตนของ คอมพิวเตอร การทํางานของคอมพิวเตอร การนํา คอมพิวเตอรมาใชในการเรียนการสอน ตลอดจนโปรแกรมสําเร็จรูปที่สามารถนํามาใชในการ จัดการเรียนการสอนและการบริหารการ ศึกษาการเลือกใช Software การประเมินผล Software ทาง การศึกษา ดังนั้นคอมพิวเตอรเพื่อการศึกษาจึงเปนอีกศาสตรหนึ่งทีม่ ีความจําเปนและสําคัญ ยิ่งสําหรับ การศึกษาจะเห็นไดวาในยุคปจจุบันนี้ไมวาจะเปนประถมศึกษา มัธยมศึกษา อุดมศึกษาหรือขั้นที่ สูงกวา ก็ไดมกี ารนําคอมพิวเตอรมาประยุกตใชกับศาสตรตางๆ ในการเรียนการสอน แนวโนมในการนําคอมพิวเตอรมาใชในการศึกษาในปจจุบันและอนาคตจะเปนรูปแบบของ การเรียนการสอน โดยนําเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร มาผสมผสานกับเทคโนโลยีอินเทอรเน็ต เนื่องจากเทคโนโลยีอนิ เทอรเน็ตมีลักษณะเฉพาะ คือ มีความสามารถในการนําเสนอขอมูลผาน ระบบ World Wide Web ในการใชเพื่อการจัดการเรียนการสอนผานเว็บ (Web-Based Instruction : WBI) หรือ E-learning วงการศึกษาคงจะหลีกเลี่ยงไดยากยิ่ง


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.