Math stat

Page 1

สถิติ ในการเริ่มต้นของการทำ�โจทย์ สถิติ เราต้องมองเห็นภาพรวม ของโจทย์ว่าโจทย์ต้องการอะไร และโจทย์ ใ ห้ ข้ อ มู ล อะไรมาบ้ า ง เพื่อวิเคราะห์ว่าจะต้องนำ� สูตร ไหนมาใช้ ใ นการคิ ด คำ � นวณ เพราะสถิติมีสูตรที่ใช้ในการคิด คำ�นวณอยู่มากมาย

จากการเรียนคณิตศาสตร์ในมัธยมปลาย พริ้มคิดว่าทักษะที่พริ้มได้พัฒนาคือ การจัดระบบความ คิดอย่างเป็นขั้นตอน เพราะเนื้อหาในแต่ละบทนั้นมีความยากและซับซ้อนมากขึ้น เราจึงต้องใช้ทักษะ ในการวิเคราะห์โจทย์อย่างละเอียดขึ้น รวมทั้งจัดให้อยู่ในรูปอย่างง่ายเพื่อสะดวกในการคิดคำ�นวณ ซึ่งบทที่พริ้มคิดว่าได้พัฒนาในเรื่องเหล่านี้มากที่สุด คือ “สถิติ”

ต่อมา การเลือกวิธีที่เหมาะสม จากข้อมูลที่รู้ เช่น เปรียบเทียบจาก ค่ากลางของข้อมูล ตำ�แหน่งของข้อมูล การกระจายของข้อมูล ค่ามาตรฐาน สหสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน การทดสอบสมมติฐาน

เมื่ อ ผ่ า นกระบวนการในการ คำ � นวณแล้ ว เราก็ นำ � สิ่ ง ที่ ได้ ม าแปลความ เพื่ อ นำ � ไปใช้ ประโยชน์ ใ นการทำ � งาน โดย สถิตินั้นสามารถนำ�ไปใช้ได้กับ หลายๆด้าน เช่น ประเมินผลงาน โครงการต่างๆ ซึง่ จะทำ�ให้ขอ้ มูล มีความเชื่อถือมากขึ้น

ในขั้นตอนสุดท้าย คือการนำ� เสนอข้อมูลด้านสถิติ ในรูปแบบ ต่างๆ เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ ของผู้อื่น เช่น กราฟ แผนภาพ ตารางแจกแจงความถี่

วรินทร์ยุพา ฐิตยานันท์ (พริ้ม) ม.6/1


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.