ปาจารยสาร

Page 1

๐๓ »‚·Õ่ óõ

ฉบับที่

μØÅÒ¤Á¾ÄȨԡÒ¹

òõõô

พระปลอม

VS

พ ร ะ บ ริ สุ ท ธิ์



ยัติภังค ๑

อาศิรวาท โส อตฺถลทฺโธ สุขิโต อโรโค สุขิโต โหหิ

วิรุฬฺโห พุทฺธสาสเน สห สพฺเพหิ ญาติภิ ฯ

@ เจ็ดรอบพระนักษัตรขัตติยะราช ขอใหใตฝาละอองธุลีพระบาทเกษมสันต ปราศจากพระโรคาพาธไปโดยพลัน ผูที่ปองรายหมายขวัญจงพายพระบารมี ฯ @ ตอแตนี้ไปใหทรงนิรทุกขนิรโศก พระราชทานโชคใหไพรฟามีสงาราศี พวกกินบานกินเมืองอยางจัญไรและอัปรีย ยอมตองมีอันเปนไปเพราะพระธรรมราชา ฯ @ เมื่อทรงไวซึ่งทศพิธราชธรรม ยอมทรงนำพสกนิกรทุกหยอมหญา ใหดำรงชีพอยางมีกุศลจรรยา ผูคนยอมหันหนาเขาหากัน ฯ @ ลดเลิกชั้นวรรณะในบรรดามหาชน ทุกๆ คนเอื้ออารีอยางหฤหรรษ ทะนุถนอมทุกชีวิตอยางอเนกอนันต กงจักรหันเปนดอกบัวอยางสมทรง ฯ @ เปาหมายในชีวิตคือความเปนปราชญ ชาวสยามจะสามารถไดสมประสงค รักษาความเปนไทไวไดอยางมั่นคง มุงธำรงใหเกิดเศรษฐกิจอยางพอเพียง ฯ @ จะเผชิญความสัตยอยางสงา แกทุกปญหาอยางไมหลีกเลี่ยง สามัคคีกันทั่วหนาอยางพรอมเพรียง ใชสิทธิ์ใชเสียงอยางเหมาะกับความพอดี ฯ @ จะเขาหาความเปนเลิศทั้งทางใจและกาย อุทิศถวายทั้งหมดเปนราชสักขี เพื่อทรงมีความสุขทุกทิพาและราตรี สมกับที่ทรงเปนพระภูบดีของปวงชน ฯ ปหีนา เต จ อาพาธา ติณฺณนฺนมฺป มเหสินํ มคฺคาหตกิเลสาว ปตฺตานุปปตฺติธมฺมตํ เอเตน สจฺจวชฺเชน โสตถิ เต โหตุ สพฺพทา ฯ ดวยเกลาดวยกระหมอม ขอเดชะ


๒ อารัมภบท ਌Ңͧ

เมื่อครั้งเรียนวิชาพุทธศาสนาสมัยเด็กๆ จำไดวาบรรยากาศตอนเรียนเปน สภาพที่ทุกคนเหนื่อยหนายมาก มีอยูครั้งหนึ่งที่รูสึกวาสนุกหนอยคือบทเรียนตอน นั้นอธิบายวา ที่บอกกันวาพระพุทธเจาตอนประสูติที่เดินออกมาแลวมีกลีบดอกบัว รองเทาเจ็ดกาวนัน้ จริงๆ แลวมีการตีความกันวาเปนสัญลักษณหมายถึงพระพุทธเจา สามารถเผยแผศาสนาออกไปไกลถึงเจ็ดแควน นั่นเปนประสบการณครั้งแรกในการ รับรูพระพุทธศาสนาในมุมที่ตางจากที่บอกไวในตำรา และแตะตองความศักดิ์สิทธิ์ ของพุทธประวัติได ปญหาคือเรามักจะมองพุทธภายใตกรอบของคำวา “พุทธศาสนา” เทานัน้ เมือ่ พูดถึงพุทธก็จะตองพวงเรือ่ งศาสนาดวยเสมอ พอจำกัดมิตให ิ ไมสามารถแยกจากกัน ไดอยางนี้ จะไปบอกวาศาสนาไมดีก็จะกลายเปนคนบาปไป ความเสื่อมทั้งหลายจึง กลายเปนเรื่องของตัวบุคคล เพราะระบบและโครงสรางที่เปนอยูจะผิดพลาดไมได ความเสื่อมที่เกิดขึ้นก็เปนเพราะพระรูปนั้นทำตัวไมดี สโลแกนพระปลอมเลยถูกขุด ขึ้นมาใชงานกันบอยๆ คำถามคือปลอมนั้นปลอมจากอะไร หรือปลอมเมื่อเทียบกับ ของแท ถาอยางนั้นแบบไหนถึงเรียกวาพระแท และพระแทมีไดแคเพียงหนึ่งหรือมี ถึงสองได หรือจริงๆ แทเทียมเปนเรื่องที่ไมเคยมีอยูจริง เพราะบางทีแลวพระแทที่ วาก็อาจจะปลอมมาอีกทีก็ได สาราณียกร

มูลนิธิเสฐียรโกเศศ-นาคะประทีป ÊÒÃÒ³Õ¡Ã

รณวัฒน จันทรจารุวงศ ¡Í§ÊÒÃÒ³Õ¡Ã

ภฤศ ปฐมทัศน ½†ÒÂÈÔÅ»Š

ณขวัญ ศรีอรุโณทัย ¾ÔÊÙ¨¹ ÍÑ¡ÉÃ

เอ็นดู ศรีใส Êӹѡ§Ò¹

๖๖๖ ระหวางซอยเจริญนคร ๒๐-๒๒ ถ.เจริญนคร แขวงบางลำภูลาง เขตคลองสาน กรุงเทพฯ ๑๐๖๐๐ โทร ๐-๒๘๖๐-๓๕๒๗ แฟกซ ๐-๒๘๖๐-๑๒๗๘ Ê×่ÍÊÒáѺ»Ò¨ÒÃÂÊÒÃä´Œ·Õ่

pajarayasarn@gmail.com หรือทาง facebook ¾ÔÁ¾ ·Õ่

ออฟเซ็ท พลัส โทร. ๐-๒๔๖๑-๒๑๖๑-๔

ห นั ง สื อ ใ ห ม ส. ศิ ว รั ก ษ ...พระพุทธเจาหลวงนัน้ ทรงประกอบพระราช กรณียกิจเพือ่ สยามประเทศอยางเปนคุณประโยชน มิใชนอยเอาเลย เสียอยางเดียวทีทรง ่ สงเยาวชนไป เรียนเมืองฝรัง่ แตเมือ่ อายุยังนอยเกินไป เปนเหตุให ทานนั้นๆ รับเอาอารยธรรมฝรั่งมาอยางมากเกิน พอดีไป โดยไมเขาใจพื้นฐานภูมิธรรมเดิมของไทย อยางพอเพียง นายสก็อตปรารภวาความผิดพลาด ขอนี้ประการเดียวของพระเจาอยูหัวพระองคนั้น ไดนำความหายนะมาสูพระราชวงศและประเทศ ชาติอยางนาเศราสลดยิ่งนัก


ขาวสาศน* ๓

ñð »‚ »ÃСѹÊØ¢ÀÒ¾¶ŒÇ¹Ë¹ŒÒ âç¾ÂÒºÒÅÃÑ°¢Ò´·Ø¹¡Ñ¹¶ŒÇ¹Ë¹ŒÒ ¡Ç‹Ò ÷,ððð ŌҹºÒ· จากการประชุมเชิงปฏิบัติการ ระดมความเห็นการจัดการงบ ประมาณ กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติขาลง ปงบประมาณ ๒๕๕๕ โดยในรายงานสรุปปญหาการเงินโรงพยาบาลรัฐไดระบุวา โรงพยาบาลทีมี่ ผลประกอบการขาดทุนมีมากขึน้ ทุกระดับ ทัง้ นีพบ ้ วา โรงพยาบาลยิ่งใหญยิ่งขาดทุนมาก โดยทั้งระบบมีตัวเลขการขาดทุน สูง ๗,๓๘๘ ลานบาท อยางไรก็ตาม นักวิชาการมีความเห็นแยงวาโรงพยาบาลสวน ใหญยังมีเงินบำรุงซึง่ เปนเงินนอกงบประมาณอยู โรงพยาบาลจึงนาที่ จะอยูไดโดยไมจำเปนตองปดตัวลง แตจากขอมูลป ๒๕๕๐ เปนตน มา ปรากฏวาปริมาณเงินบำรุงของแตละโรงพยาบาลไดลดลงเรือ่ ยๆ

àÃÔ่ÁáÅŒÇÍÓàÀÍ ò ÀÒÉÒ ãªŒ ‘ÂÒÇÕ’ ºÃÔ¡ÒûÃЪҪ¹ วันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๔ ที่วาการอำเภอเมืองปตตานี มีพิธี เปดโครงการอำเภอ ๒ ภาษา ซึ่งเปนสวนหนึ่งของโครงการยิ้มตานี ซึ่งเปนโครงการที่ใหสถานที่ราชการใชภาษามลายูทองถิ่น (ภาษายา วี) ควบคูกั บภาษาไทย ในการสือ่ สารกับประชาชนทีม่ าใชบริการ โดย ทางนายอำเภอเมืองปตตานีเปดเผยวาอำเภอเมืองปตตานีเปนอำเภอ นำรองในการทำโครงการอำเภอ ๒ ภาษา ซึ่งจะมีการขยายผลตอไป ยังพื้นที่อำเภออื่นๆ ในจังหวัดปตตานี นาย วัน เฉลิม แวด อ เลาะ นัก ประชาสัมพันธ และ บริการ

¾Á‹ÒàÅԡẹàÇ็ºä«μ ¢‹ÒÇμ‹Ò§ªÒμÔμŒÍ§ËŒÒÁáÅŒÇ พมายกเลิกคำสั่งหามการเผยแพรและเขาถึงขอมูลในเว็บไซต สำนักขาวตางประเทศแลว โดยในวันที่ ๑๕ ก.ย. ที่ผานมา สำนัก ขาวรอยเตอรรายงานจากกรุงยางกุง ประเทศพมา วา รัฐบาลพมา สั่งยกเลิกคำสั่งหามการเผยแพรและเขาถึงขอมูลในเว็บไซตสำนัก ขาวตางประเทศหลายสำนักแลวตั้งแตวันนี้เปนตนไป รวมถึงสำนัก ขาวของชาวพมาลี้ภัยที่เปนปฏิปกษและวิพากษวิจารณรัฐบาลพมา รุนแรง นอกจาก นี้ ได อนุญาต ให ประชาชน ใน พมา สามารถ เขา ชม ภาพหรือภาพยนตรในเทปวิดีโอของ Youtube ไดอีกดวย ถือเปน สัญญาณทางบวกครั้งลาสุดของรัฐบาลพมาในการปฏิรูปไปสูความ

เนื่องจากภาวะขาดทุนตอเนื่อง รายงานระบุวาสาเหตุที่โรงพยาบาลมีเงินบำรุงลดลงเรื่อยๆ เพราะมีหนี้สินมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากรายไดที่มาจากการรักษา พยาบาลนั้นมีนอยกวาหนี้คางชำระ โดยทาง สปสช. ไมจายเงินให โรงพยาบาลตามที่เรียกจาย จึงตองดึงเงินบำรุงมาชดเชย ซึ่งหากได รับการชำระในสวนตางนี้ ก็จะแกไขปญหาทั้งคาตอบแทน และคาใช จายไมเพียงพอไดทั้งระบบ นอกจากนี้ยังพบวาการใหบริการผูปวยดวยนโยบายประกัน สุขภาพถวนหนาทำใหมีปริมาณผูป วยมากขึน้ ทางโรงพยาบาลจึงตอง มีการใชจายในสวนของบุคลากรเพิม่ มากขึน้ เนือ่ งจากตองมีการจาย คาตอบแทนนอกเวลาราชการมากขึน้ รวมถึงการจางลูกจางชัว่ คราว โดยเฉพาะลูกจางวิชาชีพมากขึ้นเชนกัน ที่มา: THAIPUBLICA

ประชาชนในจังหวัดชายแดนใต เปดเผยวา ประชาชนที่เขาสอบถาม นักประชาสัมพันธและบริการประชาชนในจังหวัดชายแดนใตสวนมาก เปนคนชรา หรือผูที่สื่อสารภาษาไทยไดนอย นายสุกรี ดอเลาะ ผูรับบริการที่วาการอำเภอเมืองปตตานี กลาววา การที่ขาราชการปจจุบันเริ่มเห็นความสำคัญ และหันมา สือ่ สารดวยภาษามลายูทองถิน่ ควบคูกั บภาษาไทยเปนทีต่ องการของ ตนมานานแลว เนือ่ งจากไมทำใหรูส กึ อึดอัดใจเหมือนเมือ่ กอน ทัง้ ยัง สะดวกในการติดตอขอรับบริการมากขึ้น ที่มา: Deep South Watch

เปนประชาธิปไตย เว็บไซตสำนักขาวตางประเทศทีพ่ นจากคำสัง่ หามของทางการ พมาในครั้งนี้ อาทิ เว็บของสำนักขาว Reuters หนังสือพิมพ The Straits Times ของสิงคโปร สำนักขาว BBC ของอังกฤษ สำนักขาว VOA ภาคภาษาพมา และสำนักขาว Democratic Voice of Burma ของชาวพมาลี้ภัยในตางประเทศ เปนตน ทั้งนี้เว็บไซตของสำนักขาวเหลานี้และอื่น ๆ อีกมาก ถูกหาม โดยทางการพมาตั้งแตชวงเกิดเหตุการณ ทหารกองทัพพมาปราบ ปรามประชาชนที่เดินขบวนเรียกรองประชาธิปไตยเมื่อป ๒๕๕๐ ที่มา: สาละวินโพสต

*ขาวสาศน หมายถึง เรื่อง ความสิ่งใดๆ, มีมาในหนังสือบอกที่เขาสงตอๆ กันมานั้น จากอักขราภิธานศัพท โดย ดร.แดน บีช แบรดเลย


๔ สำเนา*

เรื่อง ธีระวัฒน แสนคำ

คนอดีตเมืองบางขลัง

ประวัติศาสตรทองถิ่นที่กอราง จากการศึกษาแบบราชาชาตินิยม

ก

อนอื่นขอเทาความกอนวาเมืองบาง ขลังเปนเมืองโบราณเมืองหนึง่ ในทอง ที่ตำบลเมืองบางขลัง อำเภอสวรรคโลก จังหวัด สุโขทัย ซึ่ง ปรากฏ รอง รอย ความ เปนบานเปนเมืองมาตั้งแตประมาณพุทธ ศตวรรษที่ ๑๘ เมืองบางขลังในสมัยนั้น อยู ภาย ใต การ ปกครอง ของ พอขุน ศรี อิน ทราทิตย ซึ่งในการศึกษาประวัติศาสตร ชาติไทยยึดถือกันวาพอขุนศรีอินทราทิตย เปน พระ มหา กษัตริย พระองค แรก และ นั่ น ก็ ทำให เมื อ ง บาง ขลั ง แห ง นี้ เป น เป า หมายในการขุดคนอดีตจากหนวยงานและ องคกรตางๆ

ในป พ.ศ.๒๔๕๐ พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหั ว รัชกาลที่ ๖ เมือ่ ครัง้ ดำรงพระราชอิสริยยศสมเด็จพระบรม โอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ไดเสด็จ ประพาสเมืองตางๆ ในมณฑลฝายเหนือ ซึ่งเคยเปนเขตอาณาจักรสุโขทัย ในครั้ง นัน้ พระองคไดเสด็จประพาสเมืองบางขลัง และไดพระราชนิพนธเกี่ยวกับวัดโบสถซึ่ง เปนโบราณสถานสำคัญของเมืองบางขลัง ไวในหนังสือพระราชนิพนธเรื่อง “เที่ยว เมืองพระรวง” วา “วันที่ ๑ กุมภาพันธ ขี่ชางออกจาก ตำบลหนองยาวเวลาประมาณ ๔ โมงเชา...

*สำเนา หมายถึง เรื่อง ความ, ความเดิม (พจนานุกรม (รศ. ๑๒๐) ฉบับกรมศึกษาธิการ)

เวลาเทีย่ งถึงวัดรางเรียกตามคำชาวบานวา วัดโบสถ ตัววัดโบสถเองนั้นก็เปนที่นาดู อยู ยังมีสิ่งที่เปนชิ้นควรดูเหลืออยูชิ้นหนึ่ง คือมณฑปมีกำแพงแกวลอมรอบ มณฑป นั้น สี่เหลี่ยม จัตุรัส ดาน ละ ๕ วา ใน นั้น พิจารณา ก็ เห็น ทาทาง จะ มี พระพุทธ รูป นั่ง มีพระเจดียเล็กๆ กอไวในลานรอบ มณฑป กำแพงแกวที่ลอมลานนั้นทำดวย แลง เปนกอนกลมหรือแปดเหลี่ยมปกยึด กันทำนองรัว้ เพนียด แลวมีแลงแทงยาวๆ พาดเปนพนัก พนักทำเปนรูปหลังเจียด ตัดยอด คะเนวาสูงประมาณ ๒ ศอก...มีอยู สองประตู ทางดานหนาวิหารกับดานหลัง ดานหนาพังเสียแลว แตดานหลังศิลาทับ กรอบบนประตูยังวางอยูตามที่...” จากขอมูลในศิลาจารึกและพระราช นิพนธในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจ า อยู หั ว พบ ว า พระบาท สมเด็ จ พระมงกุฎเกลา เจา อยู หัว ได โป รดฯ ให สมชาย เดือนเพ็ญ ขาราชการและนัก


๕ ประวัติศาสตรทองถิ่นสุโขทัย ทำการสำรวจ และ ศึกษา ประวัติศาสตร ของ เมือง บาง ขลัง ตามรอยเสด็จประพาสของรัชกาลที่ ๖ ตอ มาก็มีนักวิชาการและผูสนใจหลายคนหลาย หนวยงานเขามาทำการศึกษามากขึ้น ทั้ ง นี้ ทาง องค ก าร บริ ห าร ส ว น ตำบล เมืองบางขลังเองก็ไดสนับสนุนและสงเสริม ให นั ก วิ ช าการ เข า มา ศึ ก ษา และ จั ด เสวนา ประวัติศาสตรขึ้นหลายครั้ง โดยมีแนวทาง การ ศึ ก ษา ประวั ติ ศ าสตร เน น ความ สำคั ญ และตีความเมืองบางขลังจากจารึกวัดศรีชุม ทีเกี ่ ย่ วกับการรวมพลของพอขุนบางกลางหาว กับพอขุน ผาเมืองวา “เมืองบางขลังคือจุด กำเนิดประเทศไทย ไมมเมื ี องบางขลังไมมกรุ ี ง สุโขทัย กรุงศรีอยุธยา กรุงเทพมหานคร และ ไมมเมื ี องบางขลังไมมประเทศไทย” ี ซึง่ ก็มีนัก วิชาการบางคนกลาววาสิง่ ทีเกิ ่ ดขึน้ นัน้ เปนการ ศึกษาและตีความแบบ “ประวัติศาสตรราชา ชาตินิยม” มากเกินไป อยางไร ก็ตาม การ เสวนา ใน ประเด็น ดานประวัติศาสตรของเมืองบางขลังก็ยังคงมี การจัดขึ้นอยางตอเนื่อง เพื่อนำองคความรู ทีได ่ จากการศึกษาประวัตศิ าสตรไมวาจะเปน แบบ ราชา ชาตินิยม หรือ แบบ ประวัติศาสตร ทองถิน่ มาเผยแพรใหชาวเมืองบางขลังไดรับรู และเขาใจประวัติศาสตรทองถิ่นของตนเอง จากการจัดกิจกรรมและประชาสัมพันธ ของ อบต.เมืองบางขลังอยางตอเนื่องนี้เอง ไดสงผลใหในป พ.ศ. ๒๕๔๐ สมเด็จพระเจา พี่ นาง เธอ เจา ฟา กรม หลวง นราธิวาส ราช นครินทร เสด็จทอดพระเนตรโบราณสถาน เมืองบางขลัง ตอมาในป พ.ศ. ๒๕๕๐ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ก็ไดเสด็จทอดพระเนตรโบราณสถานวัดโบสถ เมืองบางขลังเชนกัน ทำใหเมืองบางขลังเปนที่ รูจักกันในวงกวางมากขึ้น และทำใหชาวบาง ขลังภาคภูมใิ จในทองถิน่ ของตนเปนอยางมาก ตอมาทองถิน่ เมืองบางขลังก็เริม่ ทีจะ ่ ตระหนัก และเห็นความสำคัญของทองถิน่ ตนเอง ทำให เกิด การ ศึกษา ประวัติศาสตร ใน รูป แบบ ของ “ประวัติศาสตรทองถิ่น” เกิดขึ้น

สิ่งที่เกิดขึ้นมีตั้งแตการเชิญนักวิชาการ จากหลายภาคสวนเขามาทำการศึกษา และ การตัง้ คณะกรรมการจัดทำหลักสูตรเมืองบาง ขลังศึกษา ซึ่งมีทั้งนักวิชาการและผูรูในทอง ถิ่นเปนคณะทำงาน เพื่อพัฒนาและบูรณา การองคความรูให  นักเรียนในทองถิน่ ไดศึกษา โดยมีการผลิตหนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตร เมือง บางขลังออกมาเผยแพรอยางตอเนื่อง นอกจาก นี้ ยัง มี การ ฟนฟู การ ละ เลนกล อง มังคละ ซึ่ง เปน ดนตรี พื้น บาน ให เยาวชน ได เรียนรูฝกหัด และมีการประดิษฐทารำระบำ เทววารีศรีเมืองบางขลังขึ้นมาดวย หลัง จาก ที่ ชุมชน เดิน หนา หา อดีต ได สัก พัก ทาง หนวย งาน ที่ เกี่ยวของ อยาง กรม ศิลปากรก็ไดเขามาบูรณะโบราณสถาน สราง อาคารจัดแสดงนิทรรศการ ซึง่ ทำใหมีนักทอง เทีย่ วแวะเขามาเยีย่ มชมโบราณสถานวัดโบสถ เมือง บาง ขลัง มาก ยิ่ง ขึ้น นอกจาก นี้ พระ อธิการมหาบุญมี ภูริมงฺคลาจาโร เจาอาวาส วัดโบสถ ก็ไดรวมศรัทธาชาวบานพัฒนาวัด ใหเปนแหลงเรียนรูและศูนยกลางการศึกษา ประวัติศาสตร เมือง บาง ขลัง การ ดำเนิน กิจกรรมตางๆ เกี่ยวกับประวัติศาสตรเมือง บางขลังเหลานี้ ไดทำให อบต.เมืองบางขลังซึง่ เปนเจาภาพหลักในการจัดกิจกรรมไดพัฒนา

ทองถิน่ ในดานตางๆ ไปพรอมกัน ซึง่ ไดรับคำ ชื่นชมจากบุคคลสำคัญในระดับประเทศและ ไดรับรางวัลตางๆ มากมาย ความ สำเร็จ เหลา นี้ ใน ทัศนะ ของ ผู เขี ย น เห็ น ว า เป น ผล ที่ สื บ เนื่ อ ง มา จาก การ ศึกษาประวัติศาสตรแบบราชาชาตินิยม ที่ ทำให คนใน ทอง ถิ่น ได เล็ง เห็น ความ สำคัญ ของ ทอง ถิ่น บาน เกิด เมือง นอน ของ ตนเอง แลว นำ เอา เรื่อง ราว ทาง ดาน ประวัติศาสตร และ โบราณ สถาน ซึ่ง เปน เสมือน “ทุน ทาง วั ฒนธรรม” ทำให เกิ ด การ ผสม ผสาน การ ศึ ก ษา ประวั ติ ศ าสตร ราชา ชาติ นิ ย ม และ ประวัติศาสตรทองถิ่น รวมทั้งพัฒนาทองถิ่น ในดานอื่นๆ ควบคูกัน ดั ง นั้ น การ ศึ ก ษา ประวั ติ ศ าสตร แบบ ราชาชาตินิยมก็อาจไมจำเปนวาจะตองเปน ปญหา ตอ การ ศึกษา ประวัติศาสตร และ การ พัฒนาทองถิ่นแตเพียงอยางเดียว เพราะใน ทางตรงกันขามประวัติศาสตรราชาชาตินิยม ก็สามารถมีที่ทางและการใชงานที่เหมาะสม เชนกัน


๖ ขบวนการ

เรื่อง ภัควดี วีระภาสพงษ

CAMILA VALLEJO ¼ÙŒ¹ÓÊÒÇ (áÅÐÊÇÂ) ¡Ñ º ¡ Ò Ã » à Р·Œ Ç § ·Õ่ ªÔ ÅÕ

ามิลา วาเยโฆ นักศึกษาสาววัย ๒๓ ป กลายเปนขวัญใจและใบหนาอันสวยงามของการประทวงรัฐบาลในชิลี เธอเปนแกนนำนักศึกษา ประชาชนเดินขบวนจนเมืองหลวงซันติอาโกกลายเปนอัมพาต สั่นคลอนรัฐบาลของประธานาธิบดีเซบาสเตียน ปนเญรา จนคะแนนนิยม ตกต่ำ รวมทั้งทำใหรัฐมนตรีคนหนึ่งถูกไลออกหลังจากนำเสนอความคิดงี่เงาวาควรสังหารเธอทิ้ง แตกอนหนานี้ไมกี่เดือน ไมมีใครรูจักนักศึกษาหญิงคนนี้มากอน สถานการณที่ทำใหเธอกลายเปนที่รูจักทั่วโลกเกิดขึ้นเมื่อตนเดือน มิถุนายน เมื่อนักเรียนไฮสกูลและนักศึกษามหาวิทยาลัยในชิลีเริ่มประทวงไมยอมเขาหองเรียน ขอเรียกรองของเยาวชนเหลานี้ก็คือ พวกเขา ตองการใหรัฐบาลปรับปรุงมาตรฐานการศึกษา เมือ่ การประทวงขยายออกไปสูวงนอก  ขอเรียกรองก็ขยายตามไปดวย มีเสียงเรียกรองใหเพิม่ งบ ประมาณดานการศึกษาและการดูแลสุขภาพ ปรับปรุงกฎหมายแรงงานและระบบบำเหน็จบำนาญ ไปจนถึงความตองการเปลี่ยนแปลงระบอบ บริหารการปกครองของรัฐบาลอยางถึงรากถึงโคน ดวยการเสนอใหรางรัฐธรรมนูญใหมที่เปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการทำประชามติ และกระบวนการประชาธิปไตยทางตรงมากขึ้น ในชวงปลายเดือนสิงหาคมทีผ่ านมา การประทวงของประชาชนหลายแสนคนบานปลายกลายเปนการปะทะกับตำรวจ มีผูบาด  เจ็บจำนวน มากและถูกจับกุมไปกวา ๕๐ คน วาเยโฆกลาวถึงเรื่องนี้วา “เราไมตองการความรุนแรง การตอสูของเราไมใชเพื่อปะทะกับตำรวจหรือทำลาย รานคา... การตอสูของเราคือการเรียกรองสิทธิดานการศึกษา ซึ่งเราเนนย้ำเรื่องนี้อยางชัดเจน” เธอยังพูดถึงแกสน้ำตามากมายที่ตำรวจระดม ยิงใสผูประทวงวา “ดูสิวาเรามีแกสน้ำตามูลคาหาสิบลานเปโซ... ลองจินตนาการดูวามีการใชงบประมาณไปเทาไรในระดับภูมิภาคหรือระดับ ชาติ? นี่เปนเรื่องที่ยอมรับไมได” ชิลีตกอยูภายในระบอบเผด็จการทหารที่โหดรายมานานในชวง ค.ศ. ๑๙๗๓-๑๙๙๐ แมเมื่อเปลี่ยน ผานมาสูระบอบประชาธิปไตย แต มรดกแบบเผด็จการทหารก็ยังคงอยู การปกครองสวนใหญใชระบบสั่งการจากบนลงลางและเต็มไปดวยลักษณะแบบอำนาจนิยม มิหนำซ้ำชิลี ยังเปนตนแบบของระบอบเสรีนิยมใหมทางเศรษฐกิจที่สหรัฐอเมริกาเขามาสถาปนาไวตั้งแตยุคประธานาธิบดีปโนเชต ถึงแมเศรษฐกิจดูเหมือน รุงเรือง แตความมั่งคั่งกระจุกตัวอยูที่ชนชั้นบนเทานั้น คามิลา วาเยโฆไมเพียงตอสูกับระบอบอำนาจนิยมของรัฐบาล เธอยังตอสูกับคานิยมเพศชายเปนใหญในสังคมชิลีดวย เธอเปนผูหญิง คนที่สองในรอบ ๑๐๕ ปที่ไดรับเลือกตั้งเปนประธานสหภาพนักศึกษามหาวิทยาลัยในชิลี นอกจากนี้ เธอยังเปนสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต ซึ่ง เปนขบวนการที่เพิ่งฟนตัวมาใหมหลังจากถูกปราบปรามอยางทารุณในยุคเผด็จการทหาร


เรื่อง สาราณียกร

บุคคล ๗

Ai Wei Wei: ÈÔÅ» ¹äÁŒàº×่ÍäÁŒàÁÒÃÑ°ºÒŨչ

อ เวยเวย (Ai Wei Wei) ศิลปนรางใหญเครายาว ผูเปนหนึ่งในศิลปน หัวกาวหนาที่คอยผลักดันศิลปะรวมสมัยและศิลปะแนวทดลองของจีน นอกจากนี้แลวเขายังเปนนักกิจกรรมที่วิพากษวิจารณรัฐบาลจีน แตขณะ เดียวกันเขาก็เคยเปนที่ปรึกษาใหกับการสราง “สนามรังนก” สนามกีฬา โอลิมปกที่กรุงปกกิ่งดวย “ผมคิดวาศิลปะนั้น เปนเครื่องมือสำหรับตั้งคำถามใหมๆ ใชกอโครง รางงายๆ ไวเปนประตูไปสูความ  เปนไปไดอันหลากหลาย นีคื่ อสิง่ ทีน่ าสนใจ ทีส่ ดุ ในศิลปะของผม” ไอกลาวเอาไวในวิดโี อสารคดีเกีย่ วกับการจัดแสดงงาน ชุด ‘เมล็ดทานตะวัน’ ซึง่ เปนการนำเมล็ดทานตะวันประดิษฐมาโรยไวในพืน้ ที่ จัดแสดง ณ กรุงลอนดอน ใหคนไดเดินเหยียบย่ำมันได ซึ่งศิลปะในชุดนี้ได รับอิทธิพลมาจากศิลปะจัดวางจากวัสดุสำเร็จรูปที่มารเชล ดูชองป ศิลปน ชาวฝรั่งเศสเคยสรางสรรคมากอนหนานี้ ‘เมล็ดทานตะวัน’ หรือ The Sunflower Seed เปนเพียงหนึง่ ในผลงาน ของไอที่ไดจัดแสดงนอกประเทศ เขามีผลงานอีกจำนวนมากที่จัดแสดงนอก ประเทศ จนบางคนอาจจะมองแบบผิวเผินวาหมอนี่ไมสำนึกรัก บานเกิด กลายเปนคนหัวตะวันตก ถึงไดมาวิจารณประเทศจีน แตก็ตองไมลืมวาประเทศจีนเองนั้นทำตัวในแบบที่ไอเรียกวาเปน “นักเลงโต” ไลจับนักกิจกรรมรณรงค ปราบปรามคนวิพากษวิจารณ รัฐบาล ละเมิดสิทธิมนุษยชนอยูอยางตอเนื่อง จริงๆ แลวรัฐบาลจีนเองก็คงเห็นคุณคาในตัวศิลปน ผูนี้อยูไมนอย เหมือนกัน เนื่องจากเคยใหเขาเปนที่ปรึกษาในการสรางสนามรังนก แตใน เวลาตอมาไอก็เริ่มเอาตัวออกหางจากโปรเจกตนี้มากขึ้นเรื่อยๆ โดยบอกวา มันเปนเหมือน “รอยยิ้มเสแสรงของรสนิยมแยๆ” เขายังไดวิจารณสตีเฟน สปลเบิรก และจางอี้โหมว ที่เปนผูกำกับการแสดงในงานโอลิมปกดวยวา พวกเขาทั้ง ๒ คนไมไดแสดงความรับผิดชอบในฐานะศิลปน

กอน หนาที่ ไอ เวยเวย จะ ได เดิน ทาง ไป ศึกษา ตอ ที่ ตาง ประเทศ เขาเคยเรียนโรงเรียนภาพยนตรที่เดียวกับจางอี้โหมวมากอน และพอของ เขาทั้ง ๒ คนก็เคยตกเปนเปาของรัฐบาลคอมมิวนิสตจีน ทั้งไอและอี้โหมวมี ความสามารถซึมซับเอาความเปนพื้นบาน ลงไปในผลงานของพวกเขา แต ขณะเดียวกันก็สื่อสารออกไปอยางเปนสากล ไอมักจะถูกทางการจีนเลนงานแบบเบาะๆ เสมอมา เชน การจับเขา ดวยขอหาจำพวกตอเติมอาคารโดยไมไดรับอนุญาต หรือลาสุดก็กลาวหา เรื่องไมจายภาษี โดยสื่อของรัฐบาลจีนในชวงตนปนี้ก็เริ่มตำหนิศิลปะของไอ วา “นอกคอกและลอกเลียน” ซึ่งทัศนะแบบนี้กลับกลายเปนวาพวกเขานั้น มีความเขาใจตอสิ่งที่เรียกวาศิลปะเปนอยางดี เพราะความ ‘นอกคอก’ เปน คุณสมบัติแสนบรรเจิดของศิลปะแนวทดลอง และในโลกใบนี้ทุกสิ่งทุกอยาง มันไมมีอะไรใหมอีกตอไปแลวละครับ ทุกสิ่งทุกอยางมันลอกเลียนดัดแปลง จากอะไรในพื้นที่และเวลาอื่นๆ มาทั้งสิ้น มีงานเพอรฟอรแมนซชุดหนึ่งของไอ ที่วิจารณรัฐบาลจีนอยางแสบ สันต และคาดวาคงเปนผลงานที่ทำใหรัฐบาลจีนเริ่มคุกคามไอ ผลงานชุดนี้ ไออาศัยสิ่งที่คนลอเลนในอินเทอรเน็ต คือตัว “มาหญา โคลน” ซึ่งในภาษาจีนจะพองเสียงกับคำหยาบดาพอลอ แมคำหนึง่ ทีคนใน ่ เน็ตมักใชแทนเวลาอยากจะดาอะไร เพื่อเลี่ยงการเซนเซอร ไอก็เลนเอาตุกตาของตัวมา หญาโคลนมาปดของสงวน จนกลายเปนคำดาคณะ กรรมการพรรคคอมมิวนิสตจีนไปเสีย อาจจะวาหยาบคายก็ได แตความหยาบคายเมือ่ มาอยูในแงมุมของศิลปะแลวก็ดูบันเทิงดีนะครับ


๘ แกนหลัก


เรื่อง ภิญญพันธุ พจนะลาวัณย

พระปลอม พระบริสทุ ธิ์ การตีความอันลื่นไหลจากยุคพระวินัยสูยุคสีเสื้อ

การจำแนกความจริง ความดี ความงาม เปนปญหาของมนุษยชาติเสมอมา นับตัง้ แตมนุษยมีความสามารถในการครุน คิดแยกแยะ มาตรฐานของสิง่ ดังกลาว ไมอาจนับไดวาคงทนและเปนสัจธรรม หากแตผันแปรไปตามโลกทัศนของผูคนที่ นิยามคุณคาของยุคสมัยอันแตกตาง การนำเสนอความจริง จะไมควรคาแกการ พูดถึงเลย หากมันไมกระทบกับเรื่องสวนรวม ฉะนั้นบทบาทอยางหนึ่งของความ จริง จึงเปนการสถาปนาอำนาจใหแกผูบัญญัติความจริงนั้น ในความหมายกวาง แลว ความจริงจึงลวนมีจุดยืนทางการเมืองแฝงตัวอยูเสมอ สิ่งหนึ่งที่ผูคนมักละเลยกันก็คือ การเขาใจถึงอำนาจและพลานุภาพทางการ เมืองของศาสนา เพราะเรามักเขาใจวาศาสนายอมมีแกนหลักของความจริง ความ ดี ความงาม อยางแนนอน บริสุทธิ์ดำรงอยูเหนือความขัดแยง แตศาสนาเองก็ ้ จะมองภาพ ผนึกแนนอยูกั บสังคมการเมืองของมนุษยอยางปฏิเสธไมได ในทีนี่ เรา กลับของความจริงวาดวย “พระแท” ภายใตการนิยาม “พระปลอม” ของพุทธ ศาสนาเถรวาทแบบไทยๆ


๑๐

¹Ñ¢ͧ¾ÃлÅÍÁ¡Ñº¡ÒäǺ¤ØÁ¢Í§ÃÑ° เมือ่ แรกตัง้ พุทธศาสนา ครัง้ พระธรรมวินยั ยังไมถูกบัญญัตอย ิ าง ชัดเจน มักจะเกิดกรณีพระสงฆประพฤติฉาวโฉ ไมวาจะเปนเรือ่ งชูส าว กามารมณ ความไมสำรวม การละเมิดตอผูอื่น จนถูกนำมาเปน “ตน บัญญัติ” ของพระวินัยสงฆอยูเนืองๆ กฎดังกลาวเปนการปรามการ ปฏิบัตินอกลูนอกทางที่จะทำใหศาสนาตองเสื่อมเสียและเปนระเบียบ ปฏิบัติ เพื่อ ความ สำรวม ทั้ง ยัง เอื้อ ตอ สมณ เพศ ใน การ ปฏิบัติ ธรรม พระวินัยจึงมิไดเปนเรื่องของความขลังศักดิ์สิทธิ์และเรื่องคอขาดบาด ตายลวนๆ ขณะเดียวกันองคกรสงฆก็ยังถือวาอยูในความดูแลของ พระพุทธเจา ฉะนั้นในชวงดังกลาวอาจถือไดวาอำนาจยังอยูในมือ ของพระพุทธเจา การจับพระสึกโดยฝายรัฐ นาจะเริม่ อยางเปนระบบในยุคพระเจา อโศกมหาราช หลังพุทธกาลมาประมาณ ๓๐๐ ป พระเจาอโศกหัน หนาเขาทางธรรมหลังจากการใชอำนาจฝายอาณาจักรกำราบคนดวย กำลังทหารและคมมีดอยางนองเลือด แตหลังจากที่พระองคไดสำนึก ผิด ก็วางดาบและหันมาสนับสนุนพุทธศาสนา อยางเอาการเอางาน มีการเผยแผจักรวรรดิทางธรรมออกไปยังดินแดนตางๆ ภายใตฉาก ความรุงเรืองทางปริมาณนั้น ก็หลีกเลี่ยงไมไดที่จะปะปนดวยพระสงฆ ทีฉ่ อฉล พระเจาอโศกจึงเลีย่ งไมไดทจะ ี่ สรางระบบในการคัดกรองพระ จริง พระปลอม เพื่อยังความ ศรัทธาตอไป อยางไร ก็ตาม การ ใช อำนาจ รั ฐ ควบคุ ม พระ สงฆ นั้ น นอกจาก เป น การ ใสใจอุปถัมภใหศาสนาเปนเครื่องมือ จรรโลงความชอบธรรมของตัวเองแลว ยังตองทำการ โนม นาว พระ สงฆ ใน ฐานะ ที่ เปน ตัวแทน ใน การ เชื่อม ตอ กับ ไพรฟาไดดวยอำนาจทางความเชื่อ ใหเปนพวกเดียวกับตนดวย ในบางกรณีก็ใชการตั้งคำถามถึง “ความบริสุทธิ์” เพื่อชิงอำนาจ ทางการเมืองใหมาอยูในฝายของตน เรา พบ กรณี พิพาท เรื่อง ความ บริสุทธิ์ ใน รัฐ ลาน นา ตั้งแต สมัยพญาผายู (พ.ศ. ๑๘๗๘-๑๘๘๙) พบวาเกิดการแยกนิกายของ พระออกมาเปน ๒ นิกาย นั่นคือ นิกายที่สืบเนื่องมาจากหริภุญชัย เดิม และนิกายลังกาวงศใหม วัดสวนดอก เนื่องมาจากการที่กษัตริย สนับสนุนพระนิกายดัง้ เดิมใหบวชใหมในนิกายลังกาวงศ ดวยฐานความ เชื่อวามีความบริสุทธิ์มากกวา ทัง้ นีการ ้ ตอรองและชวงชิงอำนาจทางการเมืองนัน้ เกิดขึน้ ในชวง ที่ชนชั้นนำในเชียงใหมมีการแยงชิงอำนาจกันอยางเอาเปนเอาตาย ซึ่ง พระสงฆในพุทธศาสนาก็กลายเปนสวนหนึ่งของความขัดแยงอยาง


¸ÃÃÁÒÀÔºÒŠ㹤³Ðʧ¦ ä·Â

สมณศักดิ์ของพระจะรุงเรืองมากในวัดที่เจาอาวาสเปนกรรมการมหาเถรสมาคม ถาเจาอาวาสไมไดเปนกรรมการมหาเถรสมาคม แมจะเปนวัดใหญและพระอาราม หลวง สำคัญ ยศ ถา บรรดาศักดิ์ ก็ จะ แผว ลง ไป หาก สมเด็จหรือเจา คุณวัด ไหน เปนกรรมการ มหาเถรสมาคมและเสียงดังกวาใครๆ พระในวัดนั้นก็จะไดเลื่อน สมณศักดิ์มากกวาวัดอื่นๆ นั่นเทากับวาองคกรของสงฆเองก็ไมมีธรรมาภิบาล ไมตางกับทางฆราวาส ซึ่งมุงเรืองอำนาจและบารมีมากๆ

วัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิหาร

วัดปากน้ำภาษีเจริญ

มีพระราชาคณะ ñ÷ ͧ¤ ในจำนวนนี้ เปนสมเด็จพระสังฆราช ๑ พระองค สมเด็จพระราชาคณะ ๑ องค

มีพระราชาคณะ ñô ͧ¤ ในจำนวน นี้เปนสมเด็จพระราชาคณะ ๑ องค รองสมเด็จพระราชาคณะ ๑ องค

วัดสระเกศราช วรมหาวิหาร

วัดสัมพันธวงศ

มีพระราชาคณะ ñð ͧ¤ ในจำนวนนี้เปนสมเด็จ พระราชาคณะ ๑ องค

ñð ͧ¤

÷ ͧ¤

เจาอาวาสเปนสมเด็จ พระราชาคณะ

เจาอาวาสเปนรอง สมเด็จพระราชาคณะ

มีพระราชาคณะ

๑๑

วัดสุทัศนเทพวรารามราช วรมหาวิหาร มีพระราชาคณะ ññ ͧ¤ ในจำนวน นี้เปนสมเด็จพระราชาคณะ ๑ องค

วัดโสมนัสราชวรวิหาร วัดราชบพิธสถิตมหา มีพระราชาคณะ สีมารามราชวรวิหาร

วัดเทพศิรินทรา วาสราชวรวิหาร

มีพระราชาคณะ õ ͧ¤ เจาอาวาสเปนสมเด็จ พระราชาคณะ และมีรอง สมเด็จพระราชาคณะ ๑ องค

มีพระราชาคณะ ö ͧ¤ ในจำนวนนี้ เปนสมเด็จพระราชา คณะ ๑ องค

วัดพระเชตุพนวิมล มังคลารามราชวรวิหาร

วัดเบญจมบพิตรดุสิต วนารามราชวรวิหาร

วัดชนะสงคราม ราชวรวิหาร

วัดมหาธาตุยุว ราชรังสฤษฏิ์

วัดอรุณราชวราราม ราชวรวิหาร

มีพระราชาคณะ ññ ͧ¤ เจาอาวาสเปนรองสมเด็จ พระราชาคณะ

มีพระราชาคณะ ÷ ͧ¤ เจาอาวาสเปนรองสมเด็จ พระราชาคณะ

มีพระราชาคณะ

มีพระราชาคณะ

มีพระราชาคณะ

ñó ͧ¤

ù ͧ¤

÷ ͧ¤


๑๒

ปฏิเสธไมได อยางไรก็ตาม ไมพบการปราบปราม พระสงฆขนาดที่มีการจับ “พระปลอม” สึกขนาน ใหญ คงมีแตการเกทับวา นิกายของตนมี “ความ บริสุทธิ์” มากกวา นั่นก็ดวยวา อำนาจของรัฐไม เขม แข็ง มาก พอที่ จะ กลืน อีก ฝาย ได อยาง เบ็ดเสร็จ นั่นเอง การปราบปราม “พระปลอม” ขัน้ รุนแรงนัน้ พบ ในสมัยรัชกาลที่ ๑ กรุงเทพฯ ทีมี่ การออกฎหมายทีใช ่ กำกับควบคุมดูแลพระ หลังความยอยยับของอยุธยา หลังการเสียกรุงครัง้ ที่ ๒ เนือ่ งมาจากพระจำนวนมาก ดำรงตนผิดเพีย้ นจากธรรมวินยั และอีกดานหนึง่ ฐาน อำนาจทางการเมืองของพระเจากรุงธนบุรีก็มีอยูใน วงการสงฆมิใชนอย ดังนัน้ การรัฐประหารของรัชกาล ที่ ๑ ทีสมบู ่ รณจึงตองจัดการกระชับอำนาจทัง้ ในฝาย อาณาจักรและพุทธจักรอยางเบ็ดเสร็จ ผลก็คือ มีการจับ “พระปลอม” สึกไปขนาน ใหญ ในทางกลับกันสมัยเปลี่ยนถายอำนาจทางการ เมืองระหวางรัชกาลที่ ๓-๔ นั้นพบวา อำนาจการตอ รองของฝายรัฐไมสูงนัก แมวาพระสงฆประพฤติ ตนไมอยูในกรอบพระวินัย แตก็ไมสามารถจัดการ ไดอยางจริงจัง สิ่งที่ทำไดก็คือ การสรางกลุมทาง สังคมของพระขึน้ ใหม นัน่ ก็คือ การเกิดขึน้ ของธรรม ยุตินิกายในฐานะที่เปนฐานอำนาจทางการเมืองของวชิรญาณภิกขุ นิกายนี้แมจะเนนการกลับสูความ “บริสุทธิ์” ของพุทธศาสนา แตก็ปฏิเสธมิไดวานี่เปนเทคนิค “ยกตนขมทาน” นั่นคือ ขณะที่วางตัว เปนพระทีบริ ่ สทุ ธิสะอาด ์ กวา ก็ทำการชีนิ้ ว้ ไปยังพระทีปฏิ ่ บตั มิ​ิ ชอบและ หละหลวม อยางไรก็ตาม ดวยอำนาจรัฐที่มีจำกัดทำใหไมสามารถจะ เปลี่ยนใหพระสวนใหญหันมาขึ้นกับพระธรรมยุติฯ ได ทำใหฐานของ ธรรมยุตินิกายขาดมวลชนสนับสนุน สิ่งที่ทำไดดีที่สุดของอำนาจรัฐก็ คือ การสถาปนาอำนาจนำใหมาอยูกั บพระนิกายธรรมยุติฯ จนกระทัง่ เกิดพระราชบัญญัตคณะ ิ สงฆ ร.ศ.๑๒๑ นัน่ เองทีทำให ่ พระสงฆตกอยูใต  อำนาจทางการเมืองของฝายอาณาจักรอยางเลี่ยงไมได อำนาจเหลานี้ไดกำหนดความเปน “พระปลอม” ที่แสดงนัยถึง พระที่ออกนอกลูนอกทางการควบคุมของรัฐ เชน กรณีการกลาวหา ครูบาศรีวิชัย ดวยขอหาในการละเมิดอำนาจการเปนอุปชฌายที่ไม

ได รับ การ แตง ตั้ง จาก กลไก การ ปกครอง ของสยาม ทั้งที่คำสั่งดังกลาวขัดกับจารีต ดั้ ง เดิ ม ของ ท อ ง ถิ่ น อย า ง ชั ด เจน แต ก็ จำเปน เพื่อ การ แสดงออก ถึง อำนาจ ใน การปกครองสงฆโดยรัฐสยาม

¤ÇÒÁ´Õ ¤ÇÒÁ¨ÃÔ§ ¤ÇÒÁ§ÒÁ Ẻ¾Ø·¸à¶ÃÇÒ·ã¹»˜¨¨ØºÑ¹ หลัง สงครามโลก ครั้ง ที่ ๒ เปนตน มา ปญหาความมั่นคงของรัฐที่ผูกกับทฤษฎีโดมิโน ทำให เกิด ความ หวาด กลัว คอมมิวนิสต อยาง ไม ลืมหูลืมตา เนื่องจากเชื่อกันวา ลัทธิคอมมิวนิสต นี่เองที่จะทำลายแกนหลักที่เปนไตรยางศของความ เปนไทย นั่นคือ ชาติ ศาสน กษัตริย ในดานหนึ่งรัฐไทย ก็พยายามปกปองศาสนาจากการโจมตีจากภายนอก ขณะเดียวกันรัฐเองก็ใชพระสงฆเปนกลไกในการ พยุงความมัน่ คงของชาติ ดังทีปรากฏ ่ ออกมาเปน โครงการพระธรรมทูต พระธรรมจาริก ฯลฯ ทั้งนี้การที่จะดำเนินการเชนนั้นไดจำเปนตอง มีพระสงฆที่มีคุณภาพ ทำใหรัฐตระหนักถึงความสำคัญในการควบคุม พระสงฆใหไมออกนอกลูนอกทางไปดวย ดังนั้นความลมเหลวในการ ควบคุมพระสงฆที่มีปญหา อาจจะสงผลตอไปยังความลมเหลวใน การใชอำนาจรัฐควบคุมศีลธรรมทางสังคมไปอีกดวย ดังที่เราจะได เห็นรัฐบาลเผด็จการอางอิงชุดศีลธรรมที่แนบแนนกับศาสนาพุทธเปน คติพจน เชน “จงทำดี” ของถนอม กิตติขจร หรือรัฐบาลเปรม ติณสู ลานนท ที่อางศีลธรรม คุณธรรมไมขาดปาก นอกจากจะเปนการสรางและผลิตซ้ำตัวแบบของชุดความดีขึ้น แลว สิ่งสำคัญที่เกิดขึ้นก็คือการเชิดชู “คนดี” “พระดี” ที่มีนัยทางการ เมืองแจมชัดขึ้น พระดีที่โดดเดนขึ้นเปนอยางมากและไดเปนที่รูจกั กัน ในวงกวางก็คือ เครือขายพระปาสายอาจารยมัน่ ภูรทัิ ตโต ในอีสานและ ทางเหนือ ที่ขยายตัวในทศวรรษ ๒๕๑๐-๒๕๒๐ ในทางตรงกันขาม หากคนที่เคยมีภาพลักษณดีงาม ถูกจับไดวา


๑๓ มีความฉอฉลในคุณความดีงามนั้น จะถูกรุมประณาม เยยหยัน สาป แชงอยางอเนจอนาถ โดยเฉพาะหากผูโชครายนั้นเปน “พระ” ไมวาจะ เปน สมีเจี๊ยบ (๒๕๓๒), พระนิกร (๒๕๒๔), ยันตระ (๒๕๓๗), ภาวนา พุทโธ (๒๕๓๘), อิสระมุนี (๒๕๔๔) ฯลฯ สำหรับคนเหลานี้แลว สังคม ทีเชิ ่ ดชูคุณธรรมเห็นวาควรจะโดนโทษประหารออกจากความเปนพระ และบีบใหรูสึกสำนึกผิดบาปจากการลวงละเมิดวินัยอันศักดิ์สิทธิ์ และ พุทธศาสนาอันบริสุทธิ์ผุดผอง ยิง่ รายไปกวานัน้ ก็คือ พระทัง้ หมดลวนปาราชิกเนือ่ งมาจากการ เสพกาม อันเปนการละเมิดเสนแบงอันยอมไมไดของชาวพุทธแบบ ไทยๆ แมอดีตพระยันตระจะเปลีย่ นไปหมจีวรเขียว หรือไวผมเครายาว

แบบษี ที่ไมใชพระภิกษุตามคำนิยามที่เครงครัด ก็ยังถูกโจมตีอยาง ตอเนื่อง เพราะวาเขายังอยูในสถานะกึ่งพระกึ่งปุถุชน ซึ่งก็คือ “พระ ปลอม” ที่ยังไมสำนึกผิดบาปอยูนั่นเอง ผลของการเปน “พระปลอม” จึงตกเปนเปาของการมุงโจมตีอยางเกลียดชัง การปราบและกำจัด “พระปลอม” ในรายตัว เปนเรื่องที่ตรง ไปตรงมา และเขาใจไดงาย ขณะที่ปญหาในเชิงสถาบันกลับพบวา เปนปญหาที่คาราคาซังดุจระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ โดยเฉพาะสถาบัน สงฆที่ผูกตัวอยูกับมวลชนมหาศาล อยางกรณีสันติอโศก และกรณี ธรรมกาย

ÊÑ ¹ μÔ Í â È ¡ สันติอโศกประกาศแยกตัวออกจากการปกครองของมหาเถร สมาคมและคณะสงฆไทยในป ๒๕๑๘ และขัดแยงกับคณะสงฆไทยใน เรือ่ งการถูกกลาวหาวาอวดอุตริมนุสธรรม (อวดธรรมทีตน ่ ไมม)ี ซึง่ ใน ป ๒๕๓๑ พบวา สมเด็จพระสังฆราช ในฐานะประธานกรรมการมหา เถรสมาคม ทรงลงพระนามในพระบัญชาใหสึกพระโพธิรักษจากสมณ เพศ แตพระโพธิรักษไมยอมเปลงวาจาสึก เพียงเปลีย่ นไปสวมชุดขาว ดังนั้นจึงถูกฟองขอหาแตงกายเลียนแบบพระ จนมีคำพิพากษาใน ป ๒๕๓๘ ใหสมณโพธิรักษมีความผิดตามโจทกฟอง แตรอลงอาญา แมจะฎีกาในป ๒๕๔๑ ก็ยังพายแพ นับเปนไมกี่ครั้งที่จำเลย แสดงใหเห็นถึงการลุกขึ้นสูกับรัฐในประเด็นทางศาสนาอยางองอาจ ตอขอหาที่ชี้วาพวกเขาไมใชพระที่แทจริงในพุทธศาสนา แมวาสมณ โพธิรักษจะถูกทางอาณาจักรและมหาเถรสมาคม ชี้วาเปน “พระ ปลอม” แตในทางปฏิบตั พวก ิ เขาก็ยังถือสถานภาพความเปนนักบวช ซ้ำยังเครงครัดในทางวินัยอยางหนักแนน เพียงเลี่ยงที่จะแตงกาย เหมือนพระสงฆทั่วไปและการยอมอยูใตอำนาจการปกครองและ ครอบงำของสงฆและรัฐไทยเทานั้น

¸ÃÃÁ¡Ò ขณะ ที่ กรณี วั ด พระ ธรรมกาย มี ความ สลั บ ซ อ น มากกว า เนื่องจากมีความเกี่ยวของกับสภาพสังคมที่เติบโตและขยายตัวมา จากทุนนิยมทีผสม ่ ผสานกับการบริหารการจัดการสมัยใหมและการ สรางเครือขายอยางประสบความสำเร็จไปทั่วโลก ความพยายาม ของสื่อมวลชนและชาวพุทธที่พยายามจะปดบัญชีวัดนี้ มักจะมุงไป ที่ประเด็นความไมบริสุทธิ์อยางเรื่อง การแตงกายผิดพระวินัยและ การระดมทุนที่มากมายจนนาสงสัย แตสิ่งที่อุกฉกรรจในมุมมองของนักวิชาการทางพุทธศาสนา นั่นก็คือ หลักคำสอนที่ “บิดเบือน” วา แกนคำสอนพุทธศาสนานั้น เปน “อัตตา” ไมใช “อนัตตา” แตดูเหมือนในสังคมวงกวางไมไดรูส กึ วาเปนเรื่องผิดบาปอะไรนัก เมื่อเทียบกับพลอตเรื่องที่เคยเกิดขึ้น อยางอื้อฉาวกับพระหรือสถาบันสงฆอื่นๆ คือเรื่องชูสาว คำถามตอไปก็คือวา ในศาสนสถานทีขยาย ่ ตัวอยางกวางขวาง และมีสมาชิกจากทั่วประเทศเรือนแสนเรือนลาน รัฐจะจัดความ สัมพันธเชิงอำนาจระหวางกันอยางไร เพราะไมสามารถชี้ ขาวดำ ถูก ผิด แสดงความเปน “พระที่แท” หรือ “พระปลอม” ไดอยางชัดเจน

ʶҹТͧ “¾ÃлÅÍÁ” ·Õ่ÂѧäÁ‹ÊÔ้¹ÊØ´ การนิยาม “พระปลอม” ไมไดมีแนวโนมวาจะหมดไปจากสังคมไทย หากแตจะเกิดขึ้นเรื่อยๆ ในฐานะปจเจกชนผูประพฤติตนเสื่อม โดย เฉพาะพระเล็กพระนอยที่ไมไดมีสังกัดอยางชัดเจน หากพระสงฆนั้นมีทาทีอยูตรงขามกับรัฐ ก็ยิ่งทำใหการดำเนินการอยางเครงครัดมากขึ้นไป อีก เชน การกลาวหาวามี “พระปลอม” อยูในม็อบคนเสื้อแดง เมื่อป ๒๕๕๓ ขณะที่นักบวชจากสันติอโศก ที่ตนทุนเดิมติดลบเนื่องมาจากเคย เปนปรปกษกับอำนาจรัฐมากอน ก็ถูกโจมตีจากฝงตรงขามในฐานะที่ออกมาเคลื่อนไหวทางการเมืองเชนกัน ดังนั้นการนิยาม “พระปลอม” จึงมีเงื่อนไขที่จะถูกใชงานมากขึ้นในฐานะเครื่องมือทางการเมือง โดยเฉพาะในมิติของการเคลื่อนไหว ทางการเมืองสาธารณะ สอดคลองกับมิติสังคมการเมืองของไทยที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ถึงราก และแหลมคมมากขึ้นทุกที คลื่นลูกใหญของ ความเปลีย่ นแปลงของสังคมไทยไดซัดโหมเขามาทาทายสังคมเกาบอยและหนักขอขึน้ เรือ่ ย ๆ ขณะเดียวกันสถานะของพระแทและพระปลอมใน นิยามของพุทธเถรวาทไทย ก็เริม่ พราเลือน สวนทางกับคำถามถึงหลักการ และแกนทางศาสนา ทีกำลั ่ งจะถูกปลดปลอยออกจากกรงขัง และเมือ่ ถึงเวลานั้นแลว คำวาพระปลอมอาจไรพลังตอการถูกนำไปใชโจมตีในทางการเมืองแลวก็เปนได


๑๔ หมายเหตุกิจกรรม

÷-ù μØÅÒ¤Á òõõô

òò-òô μØÅÒ¤Á òõõô

Life Coaching

Life Coaching

¡ÒÃ⤌ªà¾×èÍàÊÃÔÁÊÌҧ¾ÅѧªÕÇÔμ - ¢Ñé¹ ñ

¡ÒÃ⤌ªà¾×èͤÇÒÁÊÁËÇѧ - ¢Ñé¹ ò

Life Coaching ไดรับการพัฒนาขึน้ โดย Laura Whitworth และ Henry Kimsey- House ทั้งสอง ไดกอตั้ง The Coaches Training Institute ขึ้นที่สหรัฐอเมริกา เมื่อ ๑๗ ปกอน โดย การ โคช เพื่อ เสริม สราง พลัง ชีวิต เปน ก ระ บวน การ สนทนา ที่ ทำให ผูคน คน พบทางออกของปญหาดวยตัวเอง อาศัย คำถามอันทรงพลัง การฟงอยางลึกซึ้ง การใช ญาณทัสนะจับประเด็นชีวติ ระหวางสนทนา เหลา นี้ คือ ทักษะ ใน การนำ พา ให ผูรับ การ โคช เห็น จุด ที่ ตนเองยืนอยูและหนทางที่จะกาวไปอยางแจมชัด สำหรับผูที่สนใจสามารถบริจาคเขารวมกิจกรรม รับจำนวน ๒๔ ทาน (เทานัน้ ) ทานละ ๕,๕๐๐ บาท (รวม คาเอกสาร ที่พัก อาหาร และรถรับสง) >> สนใจติดตอ อาศรมวงศสนิท

ในการอบรมครัง้ นี้ กระบวนการอบรมจะนำพาผูเข  า รวมเดินทางเขาไปรูจ กั ตัวเองอยางลึกซึง้ มากขึน้ โดย ชวยใหแตละคนคนพบคุณคาพิเศษเฉพาะตน ขณะ เดียวกัน ผูเขารวมก็จะไดฝกฝนทักษะในการชวยผูรับ บริการใหคนพบคุณคาพิเศษของตนดวย มองเห็นแรง จูงใจในการเอาชนะตัวเอง และสามารถกำหนดวิสยั ทัศน เพือ่ รับมือกับอนาคตทีเข ่ ามา การโคชเพือ่ ความสมหวัง เปนการชวยใหผูร บั บริการสามารถปลอยวางกฎเกณฑ และขอจำกัดทีเจื ่ อปนดวยอคติ และสามารถกาวเขาสู สิ่งที่นำความมีชีวิตชีวามาใหตนเองอยางแทจริง สำหรับผูที สนใจ ่ สามารถบริจาคเขารวมกิจกรรม รับ จำนวน ๒๔ ทาน ทานละ ๕,๕๐๐ บาท (รวมคาเอกสาร ที่พัก อาหาร และรถรับสง) >> สนใจติดตอ อาศรมวงศสนิท

ËÁÒÂàËμØ ¡Ô ¨ ñù-òð ¾ÄȨԡÒ¹ òõõô “You can hand your own home” ¡ÒÃÊÌҧºŒÒ¹´Ô¹´ŒÇÂμ¹àͧ การกลับมาทำบานดิน คือการใหเวลากับตัวเอง เพราะการอยูใน  บานดินนัน้ ชวย ใหเราทำงานนอยลง เนื่องจากโดยทั่วไปเราตองใชเวลาและแรงงานอยางมากกวาจะ ซือ้ บานมาไดหนึง่ หลัง ...ทวา หัวใจของบานดินคือ “ใชสิง่ ทีมี่ อยู” ซึง่ เราสามารถควบคุม บริหารไดดวยตนเอง ถาเราใชวัสดุจากขางนอกเราจะไมสามารถควบคุมได ขอเชิญมารวมศึกษาเรือ่ งราวความเปนมาของบานดิน ชมภาพตัวอยางบานดิน จากทุกภูมิภาคทั่วโลก เรียนรูหลักการและขั้น ตอนสรางบานดินทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ จากวิทยากร ผูมีประสบการณ เขาใจหลัก ปฏิบัติในการสรางบานดินอยางงายแตไม มักงาย แลกเปลี่ยนทัศนคติรวมกัน ผู ที่ สนใจ สามารถ บริ จ าค เข า ร ว ม กิจกรรมจำนวนเงิน ๒,๕๐๐ บาท (รวมคาที่พัก อาหาร และรถรับสง) รับจำนวน ๒๗ ทาน >> สนใจติดตอ อาศรมวงศสนิท

òó-òõ ¾ÄȨԡÒ¹ òõõô õô ༪ÔÞ¤ÇÒÁμÒÂÍ‹ҧʧº

การ ตาย อยาง สงบ ไมใช เรื่อง ที่ ยาก เกิน ความ สามารถของมนุษยทุกผูคน การเรียนรูเกี่ยวกับความ ตาย ทำให เรา ปรับ ทัศนคติ ใน การ ใช ชีวิต อยาง ไม ประมาท หาก เรา สามารถ ทำความ เขาใจ และ นอม ใจยอมรับความตายอยางกลาหาญ วาเปนความจริง ของชีวิต เพื่อใหความตายที่จะมาถึงไมใชสิ่งที่นากลัว อีกตอไป แตกลับเปนโอกาสทองในการพัฒนาทางจิต วิญญาณใหคลายความยึดมั่นทั้งปวง ผูที สนใจ ่ สามารถบริจาคเขารวมกิจกรรมจำนวน เงิน ๔,๖๐๐ บาท รับจำนวน ๓๖ ทาน โดยวิทยากร หลักนั้นจะนำโดยพระไพศาล วิสาโล และมีวิทยากร ทานอื่นๆ สลับหมุนเวียนแตละครั้งของการอบรม >> สนใจติดตอ เสมสิกขาลัย


ñõ-ñö μØÅÒ¤Á òõõô ¡ÒÃÊ×èÍÊÒÃÍ‹ҧÊѹμÔ ¢Ñé¹μŒ¹

การสือ่ สารอยางสันติ (Compassionate Communication) เปนเครือ่ งมือ สำหรับการสื่อสาร โดยใชความกรุณาเปนพื้นฐาน มุงใหเกิดการฟงและพูดดวย ความเขาอกเขาใจ ชวยใหเราสามารถสานสัมพันธกับผูอื น่ ไดอยางลึกซึง้ อีกทัง้ ยัง สามารถนำมาใชในการคลีค่ ลายความขัดแยง โดยใหความสำคัญกับความตองการ ของทุกฝาย และเสริมสรางความเขาใจและความรวมมือระหวางกัน โดยมีพืน้ ฐาน บนหลักการ Nonviolent Communication ของ ดร. มาแชล โรเซนเบอรก ผูพัฒนาวิธีการสื่อสารนี้จนไดรับการนำไปใชคลี่คลายความขัดแยงมาแลวใน หลากหลายประเทศ ทั้งในระดับความสัมพันธสวนบุคคล องคกร สถาบันการ ศึกษา การบริการดานสุขภาพ บริษัทธุรกิจ การทำงานเพื่อสังคม หนวยงานของ รัฐ ในความขัดแยงทางการเมือง ฯลฯ ผู ที่ สนใจ สามารถ บริ จ าค เข า ร ว ม กิ จ กรรม จำนวน เงิ น ๒,๐๐๐ บาท รับจำนวน ๒๒ ทาน >> สนใจติดตอ เสมสิกขาลัย

¨¡ÃÃÁ ô

÷ Á¡ÃÒ¤Á òõõõ »Ò°¡ ° ¶ÒàÊÁ¾ÃÔé§¾Ç§á¡ŒÇ ¤ÃÑ駷Õè ñø ธรรมจารีโลกมิตตา เปนผูรวมกอตั้งและ ธร ประธาน The Nagaloka Training Institute เปนประธ Nagpur ประเทศอินเดีย ซึ่งเปนศูนยฝก เมือง Na ่ ชนชัน้ ในสังคม อบรมใหกับเยาวชนทีถู่ กกดขีทาง อินเดีย สสวนใหญเปนเยาวชนชาวจัณฑาล ที่มา จากทั่วปประเทศอินเดีย โดยมีหลักสูตรการสราง เยาวชนรุนใหม วิชาที่สอนคือ พุทธศาสนา ผูนำเยาว การปฏิบัติภาวนา และงานพัฒนาสังคม >> สนใจติดตอ เสมสิกขาลัย

ดำเนินงานเพื่อสืบทอดเอกลักษณทางวัฒนธรรม รวมไปถึงการนำเสนอแนวคิดเรื่องการศึกษาทาง เลือกของสังคม โทร ๐-๒๔๓๘-๙๓๓๑-๒ www.snf.or.th การศึกษาเพื่อชีวิต สังคมและ ธรรมชาติ โทร ๐-๒๓๑๔-๗๓๘๕-๖ www.semsikkha.org

เปนชุมชนที่สรางวิถีทางเลือกใหม ที่เรียบงาย ใกลชิดธรรมชาติ มีภาวนา โทร. ๐๓๗-๓๓๒-๒๙๖-๗ www.wongsanit-ashram.org

ดำเนินกิจกรรมทางธุรกิจไปพรอมกับ กิจกรรมทางสังคม ใสใจในปญหาสังคม ชุมชน สิ่งแวดลอม และศักยภาพดานใน ของมนุษย โทร. ๐-๒๖๒๒-๐๙๕๕ www.suan-spirit.com

เครือขายพุทธศาสนาเพื่อสังคมนานาชาติ เปนเครือขายของนักปฏิบัติเพื่อสังคม ผูนำศาสนาและวิชาการ เปนองคการ ทางพุทธศาสนาทั่วโลกทุกนิกาย โทร. ๐-๒๘๖๐-๒๑๙๔ www.inebnetwork.org เครือขายบานดิน www.baandin.org สถาบันตนกลา www.tonkla.org we change www.wechange555.com


๑๖ โลกออนไลน

เรื่อง bact’

ʧ¤ÃÒÁ¤Ó¢Ò¹: ª×่ÍÍÐäÃÁѹ¡็ “¨ÃÔ§” ·Ñ้§¹Ñ้¹áËÅÐ

ะวาไป ชือ่ นัน้ ไมไดเปนเพียงคำขาน แตมันโยงใยเขาไปถึงอัตลักษณ ตัวตนของมนุษยกันเลยทีเดียว โดยเฉพาะถาเกิดเชื่อวา เราเขาใจ โลกของเราดวยภาษา การขานคำก็คือการสรางโลกนั่นเอง ดรามาระดับโลกปะทุขึน้ เมือ่ ปลายเดือนกรกฎาคมทีผ่ านมา จาก การที่กูเกิลประกาศนโยบายการบังคับใหใช “ชื่อจริง” ในบริการของ กูเกิล พรอมกับการเปดบริการใหม กูเกิลพลัส (Google+) ในเวลาไม นานนัก มีผูใช  จำนวนมากถูกระงับบัญชีเนือ่ งจากทำผิดนโยบายนี้ เสียง วิพากษวิจารณระเบิดขึ้นทันทีจากทั่วสารทิศ อะไรคือชื่อ “จริง” แลว การหามใชชื่อ “ปลอม” สรางปญหาอะไร ดานาห บอยด (danah boyd) นักวิจัยสังคมออนไลน โพสต บล็อกที่ใชหัวเรื่องวา “Real Names” Policies Are an Abuse of Power โตวาชื่ออะไรมันก็ “จริง” ทั้งนั้นแหละ ในบริบทหนึ่งๆ และ มันมีเหตุผลที่ชอบธรรมในการใช “ชื่อปลอม” (pseudonym) โดยใน โพสตยังเลาถึงประวัติการใช “ชื่อจริง” ของเฟซบุก เนื่องจากมักถูก อาง (อยางผิดๆ) เสมอวาเปนตัวอยางของการใชนโยบายชื่อจริงที่ ประสบความสำเร็จ ความเขาใจผิดดังกลาวคือ ในชวงแรกที่เฟซบุกจำกัดอยูเฉพาะ ในแวดวงนักศึกษามหาวิทยาลัยชัน้ นำ มันเปนเรือ่ งเขาใจไดทจะ ี่ ใช “ชือ่ จริง” ทีผู่ ค นในมหาวิทยาลัยใชเรียกคนคนหนึง่ นัน่ คือชือ่ ดังกลาวเปนชือ่ ที่ “จริง” ในบริบทของชุมชนมหาวิทยาลัยชวงนั้น ซึ่งไมจำเปนตองเปน ชื่อตามกฎหมายก็ได เชนเรียก Bill (ชื่อเลน) แทน Williams (ชื่อตาม กฎหมาย) โดยชื่อ Bill นั้นไมไดจริงนอยไปกวา Williams (เผลอๆ จะ จริงมากกวาดวยซ้ำสำหรับเพื่อนๆ ของเขา) หรือสำหรับเลดี้ กากา เฟซบุกก็ไมไดบังคับใหเธอใชชื่อตามกฎหมาย (ซึ่งสำหรับแฟนๆ ชื่อ ตามกฎหมายของเธอนั้นไมไดสำคัญหรือจริงเทาชื่อ เลดี้ กากา เลย)

นั่นคือในบริบทหรือแวดวง (ถาจะใชภาษาของกูเกิลพลัสก็ตอง บอกวา “Circles”) ที่ตางกัน เราสามารถมีชื่อที่ตางไปได และชื่อแตละ ชื่อมันก็ “จริง” ไดเทาๆ กัน บอยดย้ำวาคนเรามีสิทธิเลือกไดวาจะใชชือ่ อะไร ในวงสังคมทีเรา ่ เลือก ไมวาจะเพื่อวัตถุประสงคอะไรก็ตาม โดยเฉพาะถาคำนึงถึงผูที่ อาจถูกคุกคามหรือตกอยูใน  อันตรายหากใชชือ่ ตามกฎหมาย คนเหลานี้ มีความชอบธรรมเต็มทีที่ จะ ่ ใชชือ่ ปลอม และบริการตางๆ จะตองคำนึง ถึงจุดนี้ เพราะความปลอดภัยของชีวิตคนเปนเรื่องสำคัญสุด รัฐ บัญญัติ สื่อ ทาง ไกล “Telemediengesetz” ของ เยอรมนี กำหนดไววาบริการออนไลนจะตองสามารถเขาถึงไดโดยนิรนามหรือ โดยไมตองระบุชื่อ (anonymous) อีกประเด็นสำคัญทีคน ่ ถกเถียงกันคือ สิทธิในการจะอธิบายวาตัว เองเปนใคร หรือประเด็นเรื่องอัตลักษณทางวัฒนธรรมนั่นเอง มิสเตอรบีน, ฮิเดะ, เฟรดดี เมอรคูรี, เลดี้ กากา, ศรีบูรพา, หรือ พุม พวง ดวงจันทร ลวนไมไดเปนชือ่ ตอนเกิด ไมไดเปนชือ่ ตามกฎหมาย แตเปนชื่อที่คนเหลานี้เลือกที่จะใช บางก็ตั้งเอง (autonym) บางก็คน อืน่ ตัง้ ให พวกเขามีชีวติ สวนหนึง่ ในบทบาททีผู่ กกับชือ่ เหลานี้ และบาง คนก็ตายไปในบทบาทนัน้ ดวย ปายหลุมศพของฮิเดะสลักชือ่ “hide” คำ เดียว และไมมีชื่อตามกฎหมายของเขา กระทั่งการสะกดชื่อก็มีความหมาย ฮิเดะใชชื่อ HIDE (สะกดตัว พิมพใหญหมด) สำหรับผลงานกับวง X Japan และใช hide (ตัวพิมพ เล็กหมด) สำหรับผลงานเดี่ยว บอยดเปนอีกคนที่สะกดชื่อตัวเองดวย ตัวพิมพเล็กทัง้ หมด เธอตอสูอยู  หลาย  ป เพือ่ ใหทางการยอมรับชือ่ และ วิธีสะกดที่เธอเลือกเอง ในที่สุดเธอก็ไดมีชื่อ danah boyd ในเอกสาร ราชการ เธอคิดวานี่เปนการตอสูทางการเมืองดวย ลองคนเน็ตคำวา “nymwars” และ “nymwars thainetizen”

ความตั้งใจดี แตมาตรการที่เหวี่ยงแห อาจนำไปสูความเสียหายที่ไมไดคาดคิด? เหตุผลหนึ่งที่กูเกิลอางวา การใชชื่อจริงนั้นมีผลดีก็คือ มันจะชวยปองกันการแอบอางชื่อหรือการหลอกหลวงได วิธีคิดในแบบกูเกิลก็คือ ถาบังคับใหทุกคนใชชื่อจริงได ก็จะปองกันการแอบอางการใชชื่อได คำถามที่เกิดขึ้นก็คือ กูเกิลจะบังคับใช นโยบายนี้ไดครอบคลุมแคไหน แลวประโยชนที่ไดรับมันคุมกับความเสียหายที่เกิดขึ้นกับผูใชคนอื่นๆ ไหม? (เชน ความปลอดภัย และสิทธิ ทางวัฒนธรรม ดังที่เราไดพูดถึง) วิธีคิดแบบนี้เรียกไดวา “กันไวดีกวาแก” ซึ่งฟงดูดี แตเราตองคำนึงดวยวา ทุกๆ การ “กัน” นั้น มีราคาที่ตองจาย และการ “กัน” เอง ก็ไดสรางปญหาใหตองแกเพิ่มอีกดวย ใชวาปญหาการแอบอางจะมีวิธีแกวิธีเดียว ถาเรามองดูทวิตเตอร จะเห็นวาทวิตเตอรไมไดบังคับใหเราใชชื่อจริง แตสำหรับบุคคล สาธารณะหรือคนดังในแวดวงตางๆ ที่มีความเปนไปไดสูงวาจะถูกแอบอาง ทวิตเตอรก็มีบริการรับรองตัวตนวาเปนคนดังกลาวจริงๆ (โดย จะใชชื่ออะไรก็ได) หรือที่เรียกวา “verified account” (บัญชีทวิตเตอรของอดีตนายกอภิสิทธิ์ก็เปนบัญชีหนึ่งที่ไดรับการรับรอง) วิธคิี ดในแบบทวิตเตอรก็คือ เราไมจำเปนตองบังคับใหคนทุกคนทำเรือ่ งทีเขา ่ ไมสมัครใจหรือจะเปนภาระกับเขา เพือ่ แกปญหาทีอาจ ่ จะ เกิดกับคนจำนวนไมมาก อยางไรก็ตาม เราก็จำเปนที่จะตองรักษาสิทธิของคนจำนวนนอยนั้นดวย โดยมีมาตรการมารองรับ พูดงายๆ ก็คือ “ไมเหวี่ยงแห ทำใหนอยที่สุด เฉพาะเทาที่จำเปน” ไมมีคำตอบสูตรสำเร็จสำหรับทุกปญหา แตดูเหมือนวาสังคมอินเทอรเน็ตตอนรับวิธีแบบทวิตเตอรมากกวาแบบกูเกิล


คลำทำนาย ๑๗

ถาม-ตอบ Ç‹Ò´ŒÇ¾ط¸áººä·Âæ ã¹ ö ˹ŒÒ¡ÃдÒÉ

¡Ñº วิจักขณ พานิช


๑๘ จะวาไปแลวพุทธศาสนาในสังคมไทยอาจเปนสิ่งที่แตะตอง ไม ได ยิ่ง กวา สถาบัน ไหนๆ และ จะ ดวย เหตุผล อะไร ก็ แลว แต ในอาณาจักรไทยแหงนี้ พุทธศาสนาไดกลายเปนสิ่งที่ สูงคาเกินกวาจะเอยถึงในเชิงลบ ในฐานะสื่อที่อยากจะเปน กัลยาณมิตรที่ดีของพุทธศาสนา ปาจารยสารจึงขออุทิศ พื้นที่ ๖ หนากระดาษตอไปนี้ในการเดาใจพุทธศาสนาแบบ ไทยๆ เพือ่ จะไดทำความเขาใจถึงสภาพทีเป ่ นจริงและเปนไป ของพุทธศาสนาในปจจุบัน โดยคาบเกี่ยวทั้งเมื่อครั้งเกิดขึ้น ในอดีตและตั้งอยูในปจจุบัน เพื่อเดาทางวาพุทธแบบไทยๆ จะ “ดับไป” ในอนาคตหรือไม ทั้ง ๖ หนากระดาษนี้เปนการตั้งคำถามของ พิเชฐ ยิง่ เกียรติคณ ุ บรรณาธิการเว็บไซต Siam Intelligence Unit ถึง วิจักขณ พานิช คนหนุมผูทดลองคนหาตัวเองดวยการ ศึกษาระดับปริญญาโท “ประวัตศิ าสตรศาสนา” ทีสถาบั ่ นนา โรปะ สหรัฐอเมริกา ความเขาใจพุทธศาสนาในมุมทีต่ างออก ไปของเขาอาจจะฟงแลวไมคอยรืน่ หูนัก แตอยางนอยทีส่ ดุ ก็ นาจะควรคาแกการอานผานตา และตอไปนี้คือบทสนทนา บางสวนของคนทีศึ่ กษาสังคมและพยายามเขาใจศาสนา กับ ผูที่ศึกษาศาสนาที่พยายามอธิบายสังคม > ปรากฏการณหนึ่งที่นาสนใจก็คือในปจจุบันมีคนขอ เอาขอมูลที่ระบุเกี่ยวกับศาสนาของตัวเอง ออกจากบัตร ประชาชนมากขึ้นทุกวันๆ ปรากฏการณแบบนี้กำลังบอก อะไรเราอยู กอนอื่นเราตองถามกลับไปวาคนที่ตองการใหเราระบุ ศาสนาลงไปในบัตรประชาชนเขาตองการอะไร? ผมไมคอย เห็นความสำคัญในการเอาขอมูลสวนนี้ไปพัฒนาการบริการ ประชาชนของภาครัฐ ขอมูลหมูโลหิ  ตยังมีประโยชนเสียกวา สิง่ เหลานี้มันสะทอนอุดมการณแบบเกาที่มอง “คนไมมีศาสนา” (irreligion) เปนเรื่องแปลก มันสะทอนวารัฐตองการควบคุม ใหทุกอยางมีอุดมการณเดียวกัน ความคิดแบบนี้เราเห็นใน ประวัติศาสตรยุคโบราณที่ผูนำประเทศมักจะบังคับใหคนใน ประเทศนับถือศาสนาเดียวกันกับตนเอง > แลวทำไมสังคมไทยจึงเกิดคนที่ “ไมมีศาสนา” มาก ขึ้นๆ ทุกวัน ผมวาคนรุน ใหมบางสวนเขารูส กึ วาศาสนาไมไดมีความ หมายอะไรกับเขา ไมไดทำใหชีวิตของเขาดีขึ้น พวกเขามองวา ศาสนาเปนเรื่องที่ฟุมเฟอย มีตนทุนสูง ไมมีประโยชนตอมิติ เศรษฐกิจและการเมืองของเขา จริงๆ แลวพวกเขาเหลานี้อาจ จะมีโลกทัศนที่แตกตางออกไปก็ได เขาอาจจะสนใจในเรื่อง ความเปนมนุษย ความสัมพันธ เขาอาจจะเขาถึงจิตวิญญาณ (spiritual) ผานการเอาชีวติ เขาไปประสบกับเรือ่ งราวตางๆ จิต


๑๙ วิญญาณนั่นอาจจะเปนสิ่งที่เขายึดถือมากกวาทั้งเรื่องธรรมชาติ เรื่อง ความเปนมนุษย ผมมองวากอนที่เราจะนับถือศาสนาเราตองเชื่อใน ความเปนมนุษยกอน ถาเราเปนพุทธที่เปนอเทวนิยม เราตองพึ่งพา ตัวเองเสียกอน จะไมมีพระเจาองคใดมาชวยเรา > ถาหันมามองยอนกลับมาที่พระ พระในสังคมไทยเปน “อาชีพ” แบบญี่ปนุ หรือเปน “วรรณะ” แบบในอินเดีย ใน ประเทศไทย ยัง ไม ชัดเจน ขนาด นั้น ประเทศ เรา เคย มี พุทธ ศาสนาที่เจริญงอกงามมากที่คนทั่วๆ ไป โดยเฉพาะชาวบานที่ไมมี ความดัดจริตทางเรื่องศาสนา พระในบริบทสังคมไทยเดิมๆ ยังเปน ที่พึ่ง ยังเปนผูนำชุมชน เราสามารถพูดคุยหยอกลอกับพระได พระก็ เปนหนวยหนึง่ ทางสังคมเหมือนคนทัว่ ๆ ไป แตพอพระเขาสูระบบ  การ ศึกษาแบบทางการกลับทำใหพระไมเขาใจอะไรทางโลกเลย มันก็กลาย เปนเรื่องของตำแหนงแหงที่ ทำใหพระสวนนี้กลายเปนเครื่องมือของ กลไกการปกครอง และถอยหางออกจากสังคมไปทุกที > บางคนบอกพระตองไปแสวงหาความสงบ แตบางคนก็บอก วาพระจะตองมีปฏิสัมพันธทางสังคมกับชาวบาน แลวระยะหาง ระหวางพระกับสังคมควรจะเปนอยางไร พระตองมีความสัมพันธกับคน ในสมัยพุทธกาลหรือพระในยุค ปจจุบนั ทีเข ่ าไปอยูใน  ปาอยางไรมันก็ตองสัมพันธกับคน พระตองพึง่ พา สังคม เชน แคพระออกไปบิณฑบาตนีก็่ ถือวามีปฏิสมั พันธแลว ทางดาน ฆราวาสเองก็ปฏิบัติตอพระผิดดวย เราไมคิดวาพระเปนกัลยาณมิตร พูดคุยได วิพากษได ตางฝายก็ตางเกร็งกัน จุดงายๆ นี้ทำใหยิ่งเกิด ระยะหางตอกันมากขึ้น > แตพระที่มีชื่อเสียงหลายๆ ทานกลับไมสามารถวิพากษได ยก ตัวอยางเชน ครั้งที่มีบทความวิพากษเรื่อง “ธัมมิกสังคมนิยม” ของทานพุทธทาสภิกขุ หรือการออกมาทำหนาที่ ของ ทาน ว.วชิรเมธี คนที่วิพากษกลับโดนกระแส สังคมติเตียนวาไมควรวิพากษทาน ดวยเหตุผลที่วา ทานเหลานั้นสูงสงและการวิพากษพระมันบาป ถา เรา วิพากษ ใน เรื่อง ที่ ไมใช รสนิยม สวน บุคคล ผมวาสามารถวิพากษได พระก็เปนคนธรรมดา มีคน ที่ชื่นชอบทานตางๆ กัน การวิพากษเปนมิติทางสังคม ทุก คน มี พื้นที่ ทาง สังคม ที่ แชร รวม กัน แต ถา คุณ เปน บุคคลที่มีชื่อเสียงคุณอาจจะมีพื้นที่ทางสังคมมากกวา ชาวบานธรรมดา มีเสียงที่ดังกวา ถาหากไมมีการตรวจ สอบ อิทธิพลของทานเหลานั้นก็จะขยายวงกวางออกไป เรื่อยๆ ยกกรณีทาน ว.วชิรเมธี หนังสือของทานก็จะขาย ดีไปเรือ่ ยๆ ทำใหความคิดของทานกลายเปนกระแสหลัก และสุดทายถาไมมีใครมาเสนอความเห็นที่แตกตางออก ไป ความคิดชุดนีก็้ จะกลายเปนสิง่ ทีควบคุ ่ มสังคมทัง้ หมด ไป อะไรทีแตก ่ ตางก็จะกลายเปนเรือ่ งทีผิ่ ดไปดวย แตการ

วิพากษจะทำใหคนที่เปนที่ยอมรับจะตองระมัดระวังตัวในการวางตัว และในการสือ่ สารออกไป วามีคนจับตาอยู มันก็เหมือนกลไกการตรวจ สอบอยางหนึ่งที่ทำใหคุณไมสามารถมั่วได > ตอจากกรณีทาน ว.วชิรเมธี คุณจะอธิบายปรากฏการณทาง สังคมที่จูๆ วันหนึ่งพวก “หนังสือธรรมะยอยงาย” ของทาน ว.วชิรเมธี หรือพระมหาสมปอง และพระอีกหลายๆ รูป ฮิตขึ้น มา อยางไร ผมวาสังคมกำลังโหยหาอดีต (nostalgia) เรากำลังอยูในสังคม ทีกำลั ่ งจะมีความเปลีย่ นแปลง ซึง่ การเปลีย่ นแปลงนัน้ ไมใชเรือ่ งทีสนุ ่ ก และงาย คุณไมมีหลักอะไรใหยึดคนสวนใหญกำลังโหยหาความมั่นคง ทางจิตใจ เขาเลยตองการหาอะไรทีมั่ นงาย ความสงบแบบเดิมๆ ความ สุขแบบเดิมๆ > อีกเรื่องที่กลายเปนกระแสไมแพกัน ก็คือเรื่องของการชวนไป ปฏิบัติธรรม ซึ่งหลังๆ การปฏิบัติธรรมกลายคุณสมบัติสวนหนึ่ง ของการเปนคนดีไปแลว ผมมองวาการปฏิบัติธรรมก็คือการปฏิบัติธรรม ก็คือการที่คุณ ปลีกเวลาไปอยูกับตัวเอง เรียนรูความรูสึกใหเทาทันกับจิตใจของตัว เอง ทุกคนตางมีเรือ่ งราวทีเรา ่ ติดคางทางจิตใจ การปฏิบตั ธรรม ิ ของคน ก็เหมือนการเผชิญหนากับตัวเอง แตพอมันกลายเปนกระแสของสังคม ทีกลาย ่ เปนเรือ่ งภาพลักษณ มันก็กลายเปนสิง่ ทีเรา ่ จะตองตัง้ คำถามกับ คนเหลานัน้ เชน นโยบายของรัฐทีผลั ่ กดันใหคนลาไปปฏิบตั ธรรม ิ ไดโดย ไมนับวันลา หรือการงดขายเหลาในวันสำคัญทางศาสนา ผมก็ตองตั้ง คำถามวาการมีนโยบายแบบนี้มันไดชวยองคกร ชวยรัฐบาล หรือชวย สังคมไดจริงหรือเปลา

ถาคุณเปนชาวพุทธที่ไมยึดติดกับรูป แบบ คุณจะตองเปนผูตื น่ และมองมันอยาง ที่มันเปน ไมถูกครอบงำและไมพยายาม ครอบงำมัน เรียนรูว าเราจะมีชีวติ ทีมี่ ความ หมายไดอยางไร พุทธศาสนานัน้ อาจจะไม ไดใหทางออกกับเราแตมันจะใหทางเลือก กับเรา


๒๐ > ถาเปนแบบนี้มันอาจแปลวารัฐเขามามีบทบาทในการดำรง ชีวิตของเรามากเกินไปหรือเปลา เรื่อง พื้น ฐาน ที่ สำคัญ ที่สุด ของ มนุษย ก็ คือ อิสรภาพ ถา ไมมี อิสรภาพเราก็ไมมีคุณคาทางจิตวิญญาณ ซึ่งปจจุบันมันแทบจะไมมี ปาใหคุณแสวงหาความสงบอีก สิ่งที่จะอำนวยในการแสวงหาก็คือ อิสรภาพและพื้นที่ทางสังคม ในการที่เขาจะเลือกในแบบของเขาเอง ได พวกเขาตองการพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนการเสวนา ซึ่งอาจจะเปน ความคิดที่แตกตางไปจากกระแสหลัก ฉะนั้นคนที่เขามาศึกษาในดาน นี้ถาไมมีความกลาหาญทางจิตวิญญาณที่จะตั้งคำถามกับสิ่งที่ดำรง อยูในสังคม ไมอยางนั้นคุณก็จะโดนอุดมการณทางสังคมกระแสหลัก ที่มีรัฐควบคุมครอบงำไป > แลวคำวิเศษณที่เรียกวา “แบบไทยๆ” เชน พุทธศาสนาแบบ ไทยๆ ประชาธิปไตยแบบไทยๆ หรือการปกครองแบบไทยๆ เรื่องแบบนี้มันยังใชไดในสังคมปจจุบันหรือเปลา มันเคยใชไดในอดีต ผมคิดเรื่องนี้เยอะมาก การสรางวัฒนธรรม นั้นเปนสิ่งที่ดี การที่จะยึดโยงใหมนุษยอยูกับสังคมนั้นเปนเรื่องสำคัญ ในอดีต เชน เราตองอาศัยการเกณฑแรงงาน เราตองอยูรวมกันเพื่อ ตานภัยพิบัติตางๆ ในอดีตคนที่ตองการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมมักจะ เปนคนชายขอบ และก็มักจะมีจุดจบไมคอยสวย แตในปจจุบันเราตอง ยอมรับความเปนจริงวา คุณจะรักษาความเปนแบบไทยๆ ก็ได แตคุณ ตองยอมรับวามันจะมีวัฒนธรรมกระแสโลกทีเข ่ ามาปะทะและผสมกัน เปนสวนหนึ่งของสังคมดวย > ถาแบบนั้นจริงๆ แลวประเทศไทยเราเปนพุทธแบบไหน ถาตอนแรกเราบอกวาเราเปนพุทธแบบเถรวาท แตเราตองเขาใจ วาพอมันมีวัฒนธรรมตางๆ เขามาผสมมันก็ตองเปลี่ยนแปลงไปเปน ธรรมดา คนที่ยึดติดกับพุทธแบบดั้งเดิมนั้น ผมวาเราตองพยายามจะ เปดหนาตางโลกทัศนใหเขาเขาใจวาสังคมมันเปลีย่ นแปลงไป รอบๆ วัด ลอมดวยคอนโดสูง ๓๐ ชั้น คุณจะกักตัวเองไวไมไดแลว คุณจะตองนำ ความเปลี่ยนแปลงทางสังคมเปนสวนหนึ่งของชีวิตคุณดวย > กลับมาที่ตอนนี้รัฐบาลชุดปจจุบันกำลังผลักดันนโยบายดาน ตางๆ เกี่ยวกับพุทธศาสนา ยกตัวอยางโครงการทีวีพระพุทธ ศาสนาที่จะเผยแพรออกไป ๔ ทวีปทั่วโลก อันนี้ผมถือวาเปนจุดออนของพระพุทธศาสนาบานเรา บานเรา เปนพระพุทธศาสนาแบบหินยาน กอนอื่นตองเขาใจวาพุทธนั้นมี ๓ ระดับ หินยาน มหายาน (แบบจีน) และวัชรยาน (แบบทิเบต) ผมมอง วาคำสอนของพุทธศาสนาของบานเรามีคำสอนทีมุ่ ง เนนไปทางหินยาน คอนขางมาก คือทำใหเราเขาใจตัวเอง ซึง่ มันก็จะทำใหเราเขาใจวาอะไร มันดี มันเหมาะสมกับตัวเราเอง แตขอผิดพลาดก็คือเราไปคิดวาเรา อยากจะเอาสิง่ ทีเรา ่ คิดวาดีสำหรับเราไปบังคับใหคนอืน่ เชือ่ เหมือนเรา ซึง่ จริงๆ อาจจะไมเหมาะสมกับประเทศอืน่ ๆ ก็ได มันเปนวิธที​ี คั่ บแคบ นะ มันเหมือนวาผิดตรรกะ เราจะตองเปลี่ยนความคิด เราตองเรียนรู

ถ า คุ ณ เป น บุ ค คล ที่ มี ช่ื อ เสียงคุณอาจจะมีพื้นที่ทางสังคม มากกวาชาวบานธรรมดามีเสียงที่ ดังกวา ถาหากไมมการ ี ตรวจสอบ อิทธิพลของทานเหลานัน้ ก็จะขยาย วงกวางออกไป และสุดทายถาไมมี ใครมาเสนอความเห็นที่แตกตาง ออกไป ความคิดชุดนี้ก็จะกลาย เปนสิ่งที่ควบคุมสังคมทั้งหมดไป

จากคนอื่นไมใชใหคนอื่นคิดแบบเรา > อีกโครงการก็คือธนาคารพระพุทธศาสนา ที่จะปลอยกูใหกับ คนที่มีสัจจะ มีศีลธรรม นี่ก็เปนตรรกะที่ผิด ผมวาพระพุทธศาสนาควรจะเอาเวลาไป ศึกษาพระพุทธศาสนาดีกวา คุณจะไปคิดเรือ่ งทีเกี ่ ย่ วกับองคกรทางการ เงิน ผมวาศาสนามันไมตองตอบไดทุกโจทย แกไดทุกโรค คุณตองเขาใจ วาคุณเขาใจอะไร พอเขาใจคุณก็ตองปลอยวาง และทำความเขาใจวา สิ่งที่ดีของคุณอาจไมไดดีตอคนอื่น > ขอถามตอถึงมิติของเศรษฐกิจ หลังๆ เราจะเห็นคนที่บอกวา ฉันจะใชหลักความคิดแบบพุทธเพื่อตอตานทุนนิยม อันนี้เปน เรื่องที่สามารถทำไดหรือไม อีกประเด็นคือศาสนาพุทธจะ อยูรอดไดอยางไรในยุคทุนนิยม ผมยังไมมีคำตอบ คนที่ปฏิบัติและศึกษาทางพุทธ ณ ตอนนี้ก็ ยังมีแตคนที่พรอมจะเอาตัวเองไปเรียนรูกับมัน ผมวาเราอยาไปมอง อยาไปตัดสินวาทุนนิยมเปนเรื่องที่เลวรายเสมอไป เราตองหาคุณคา และมิตทาง ิ จิตวิญญาณของโลกทุนนิยม เราไมสามารถปฏิเสธโลกของ ทุนนิยมได แตผนวกกับมันและใชมันอยางเขาใจ เราจะเห็นตัวอยาง


๒๑ ระดับโลก เชน สตีฟ จอบส เขาก็นับถือนิกายเซน เขาก็เอา หลักแนวคิดและจิตวิญญาณแบบเซนมาปรับใชกับงานของ เขา คุณตอตานมันได แตคุณตองมองมันดวยความเปนจริง แบบหนึ่ง ถาคุณเปนชาวพุทธที่ไมยึดติดกับรูปแบบ คุณจะ ตองเปนผูตื น่ และมองมันอยางทีมั่ นเปน ไมถูกครอบงำ และ ไมพยายามครอบงำมัน เรียนรูว าเราจะมีชีวติ ทีมี่ ความหมาย ไดอยางไร พุทธศาสนานัน้ อาจจะไมไดใหทางออกกับเราแต มันจะใหทางเลือกกับเรา > ใน ๔ – ๕ ป เราเห็นพระเขาไปเคลื่อนไหวกับ กระบวนการทางการเมือง เชน กลุมสันติอโศกที่ เขารวมกับพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย หรือกลุมของพระมหาโชวที่เขาไปรวมกับคนเสื้อแดง คุณมีความคิดเห็นอยางไร ผมมองวาพระเปนคนทั่วไป ผมชอบนะ มันนาสนใจ ในแงของการมีสวนรวมทางการเมือง เราจะเห็นความเชื่อม โยงของพระกับสังคมกับประชาชน ไมวาจะมิตทาง ิ จิตใจและ สังคม ปญหาทางการเมืองก็เปนความทุกขแบบหนึ่ง เปน ปญหาเชิงโครงสราง แตที่เปนหวงอยางหนึ่งก็คือเรื่องความ สุดโตงทางความคิด อุดมการณทางศาสนาของบานเราผม ยังไมเห็นอันไหนที่เปนเสรีนิยมจริงๆ มีแตอนุรักษนิยมกับ อนุรักษนิยมกวา > สุดทายนี้เรากำลังพูดถึงสังคมในยุคเปลี่ยนผาน แลว ศาสนาพุทธกำลังจะเปลี่ยนผานไปสูอะไร ศาสนา พุ ท ธ กำลั ง เปลี่ ย น ผ า น ไป สู ศาสนา ของ ประชาชน (Singular spirituality) เมื่อความตองการในการ เปลี่ยนแปลงไมไดเปนของคนใดคนหนึ่ง เรากำลังจะเชื่อม โลกเปนโลกใบเดียว หรือแมกระทัง่ วิกฤตของโลกเราตองรับ ผิดชอบรวมกัน ไมวาจะเปนปญหาธรรมชาติ สิ่งแวดลอม เรื่องของคน เราตองรวมรับรูไปดวยกัน ผมวามันกำลังผลัก ดันคำวาศาสนาทีเคย ่ แข็งกระดางไปประยุกตใชกับสังคมและ วัฒนธรรมมากขึน้ เราจะคนพบความหมายในสังคมของโลก คนทีปรั ่ บตัวไมไดก็จะตายไปในทีส่ ดุ หรือก็ไมมความ ี สุขจริงๆ เพราะ คุ ณ ยั ง ยึ ด รู ป แบบ ใน หลั ก ศาสนา เก า ๆ แต การ เปลี่ยนแปลงครั้งนี้มันจะไมเหวี่ยงขนาดแบบในญี่ปุนที่ทุก คนปฏิเสธศาสนา ตอนนีมั้ นมีปจจัยทีทำให ่ คนเราแสวงหาคำ ตอบรวมกันและหาทางเลือกทีมาก ่ ขึน้ ถาอธิบายแบบพุทธก็ คือทุกๆ สิ่งมันไมไดจีรัง การเปลี่ยนแปลงไมไดเลวรายดวย ตัวของมันเอง เพียงแตวามันจะใชเวลาเปลีย่ นแปลงนานเทา ไหร การตอสูระหว  างศรัทธาและเหตุผลมันเปนเรือ่ งคลาสสิก ซึ่งเราตองมีสองสิ่งควบคูกันไป


๒๒ ศิลปะ

เรื่อง กองสาราณียกร

ÁÔÇà«ÕÂÁ¡Ò¡æ ÃÇÁ§Ò¹ÈÔÅ»Š·Õ่¡Ò¡¨¹äÁ‹ÍÒ¨Áͧ¢ŒÒÁ

ณะที่คำวาศิลปะในบางประเทศดูจะถูกใหคุณคาสูงสงเลิศเลอ หางไกล ความเปนมนุษยปุถุชนเขาไปทุกทีๆ ศิลปะและศิลปนกลายเปนหนึ่ง ในวงจรซ้ำซากที่วนเวียนอยูแตในหอศิลปหรูๆ ในแมสซาชูเซตส ประเทศ สหรัฐฯ มีหอศิลปแหงหนึ่งที่ตั้งใจรวบรวมงาน “ศิลปะกากๆ” (Bad Art) ไวโดยเฉพาะ Museum of Bad Art (MOBA) เปนผลงานแรงบันดาลใจของเพื่อน สองคนที่วันหนึ่งเกิดไปประสบพบเจอกับงานภาพที่ดู ‘กาก’ เสียจนพวกเขา อยากเอามานำแสดง จนเปนที่มาของพิพิธภัณฑที่เปดมากวา ๑๘ ปแลว เหลาผูกอตั้งมีทั้งไมเคิล แฟรงค หัวหนาภัณฑารักษผูมีงานไซดไลน อยางนักดนตรีและผูใหความบันเทิงแกเด็กๆ (เห็นวาแกมัด ลูกโปงเปนรูปเปนรางเกงมาก) หลุยซ ไรลีย แซกโก ผูมี ตำแหนง ชื่อแปลกๆ อยาง “ประธาน รั ก ษา การ โดย ถาวร” มา รี แจ ก สั น กั บ ตำแหน ง แปลก ไมแพกันอยาง “ประธานฝาย การ ตี ค วาม ทาง สุ น ทรี ยะ” (แมเธอจะไมเคยเรียนศิลปะ โดยตรง มา กอน แต เธอ ก็ ไม ยั่นหรอก คนเราตัดสินกันแค เรียนจบอะไรมางั้นหรือ?) และทอม สตันโค วิคซ อดีตชางภาพนิตยสารเพลยบอย ตั ว พิ พิ ธ ภั ณ ฑ แห ง นี้ ตั้ ง อยู ใน โรง ภาพยนตรเดดแฮม (อยูติดกับหองน้ำ) ซอมเมอรวิลล รัฐแมสซาชูเซตส สหรัฐอเมริกา มีพื้นที่จัดแสดงงานนับ ๖๐๐ ชิ้นภายใตความภาคภูมิใจของ MOBA ทีว่ าพวกเขาเปน “สถาบันเลิศวิไลสำหรับงานศิลปกากๆ” ชางยกยอ ปนลอเลียนตัวเองกันจริงๆ ไมเคิล แฟรงคบอกวา งานภาพแทบทั้งหมดมา จาก การ บริจาค โดย ผู มี อุปการ คุณ ผู ที่รัก ใน งาน ศิลป แนวๆ นี้ หรือบางครั้งศิลปนก็เปนผูใหมาเปลาๆ “ผม เชื่อวา งาน เหลา นี้ ถูก สราง ขึ้น มา ดวย ความ ซีเรียส จริงจัง แต ทวา มัน มี อะไร ผิด เพี้ยน ไป สัก อยาง อาจ จะ มา จาก ขั้น ตอน การ ทำงาน หรือ ไม ก็ แนว ความ คิด” แฟรงคกลาว แฟรงคมีมุมมองตอศิลปะวา บางครั้งคนเราอาจ จะไมเกงดานเทคนิค แตในความไมเกงนั้นกลับทำใหผล ่ ไดแสดง งานออกมาดูนาสนใจไปอีกแบบ และผลงานทีไม เทคนิคเลิศล้ำอะไร ก็ไมไดหมายความวาจะเปนศิลปะที่ เสื่อมคาไปเสียหมด งานภาพตัวอยางที่เผยแพรทางอินเทอรเน็ตนั้น บางสวนก็ดูจริงจัง อยาง ที่ วา แม จะ ขาด ความ ละเอียด บาง อยาง ใน แบบ ที่ ศิลปน มือ อาชีพ มี บางสวนก็ดูนาตลกขบขันจนเกือบจะจัดเปน Parody เชนงาน “ตีแบตมัย้ แสด”

(Badminton, Anyone?) ผลงานของศิลปนไม เผย ชื่อ ซึ่ง เปน รูป วาด ชนชั้น สูง สมัย วิกตอเรีย ดวยองคประกอบและสีสนั ทีดู่ ผิดทีผิ่ ดทาง แตก็มี เสนหของมัน บางผลงานก็มีความหมายแฝง แนนอนวาการประเมินคุณคาทางศิลปะ เปนเรื่องของรสนิยมสวนหนึ่ง ความรูดานงาน ศิลปและประสบการณสวนตัวอีกถายหนึ่ง แต เรื่อง ของ รสนิยม นั้น มี สูง ต่ำ จริง ละ หรือ งาน ของ ผู มี ความ เปน มือ อาชีพ จำเปนเสมอไปหรือวาตองดี สูง เลิศเลอกวาผูคนทั่วไป ...การยึดติดความ สมบูรณแบบมีแตจะยิ่งเปนการจำกัดความคิดสรางสรรค จินตนาการ ความบันเทิง และผูกขาดการตีความสุนทรีย รสไวแตฝายเดียว เรามีทั้งภาพยนตรเกรด บีหรือพวก “หนังคัลท” ที่จับใจ คน จำนวน หนึ่ ง ได ใน วงการ ดนตรีก็มีพวก Lo-Fi, Garage, Noise ฯลฯ ที่ เล น กั บ ความ ไม สมบูรณ แบบ ใน การ บันทึก เสียง ไมนับวาเราอยูในยุคที่มี สื่อ พลเมือง ออก มา ทา ชิง พื้นที่ กับ สื่อ มือ อาชีพ ผูคนตออินเทอรเน็ตดูรายการ “ครัวกากๆ” ที่ เนนใชวัตถุดิบราคาถูกและอยูใกลตัว ทำไดจริง ในชีวิตประจำวัน บางก็เห็นความคิดสรางสรรค ประหลาด และ มันส สะใจ จาก รายการ “Epic Meal Time” และ “Regular Ordinary Swedish Meal Time” ไม ใ ช ทุ ก เวลา ที่ คน เรา จะ แสวงหา ความ สมบูรณแบบ เมื่อศิลปะกลายเปนเรื่องของมนุษยทุก ผูนาม  กลายเปนสิง่ ทีคน ่ ทัว่ ไปควรจะเขาถึงจับตองได ่ ความเปนมือสมัครเลน พืน้ ทีสำหรั ่ บสิง่ ทีไม ่ พืน้ ทีของ สมบูรณแบบ พื้นที่ของความ ‘กาก’ ก็ควรจะมีอยู หรือจริงๆ แลวสิ่งที่เคยดู ‘กาก’ บางอยาง ก็ กลับกลายเปนมาสเตอรพีซได เมือ่ มันอยูถู กทีถู่ กเวลา การตัดสินคุณคาลวนเปนเรื่องของบริบททั้งสิ้น “ไม จำเป น เสมอ ไป หรอก ว า ศิ ล ปะ ชั้ น เลว จะ หมาย ถึง สิ่ง ที่มา จาก ความ ไร เดียง สา” แฟรงค มาเรสกา เจาของพิพิธภัณฑในนิวยอรกใหความเห็น ไว “มีศิลปะหวยๆ มากมายที่มาจากนักศึกษาสถาบันชั้นดี”


เรื่อง กองสาราณียกร

๒๓

Niwano Peace Prize

ÃÒ§ÇÑÅ ÊѹμÔÀÒ¾ ÈÒÊ¹Ò áÅФÇÒÁ໚¹¸ÃÃÁ

มี

เรื่องนายินดีอีกแลวเมื่อกลางปที่ผานมา เมื่อมีคน ไทย ได รับ รางวัล อัน ทรง เกียรติ จาก ตาง ประเทศ รางวัล ดัง กลาว คือ รางวัล สันติภาพ นิ วา โน (Niwano Peace Prize) ของญีป่ นุ โดยผูที ได ่ รับรางวัลนีคื้ อ สุลักษณ ศิวรักษ หรือที่รูจักกันในนาม “ส.ศิวรักษ” รางวัลนิวาโน เปนรางวัลประจำปทีมอบ ่ ใหกับผูน ำ หรือองคกรทีทำงาน ่ รณรงคเพือ่ สันติภาพบนรากฐานของ ศาสนาหรือจิตวิญญาณ ซึ่งอาจรวมถึงการทำงานเชื่อม รอยผูคนที่ตางความเชื่อกันดวย รางวัลนิวาโนมีมากวา ๒๘ ปแลว โดยตระกูลนิวาโน ผูมีบทบาทในการ กอตั้ง องคกรพุทธศาสนา ริชโช โคเซยไค เปนผูตั้งรางวัลนี้ขึ้น โดยมีกรรมการคัดเลือกมาจากนานาชาติ แคเธอรีน มารแชล หัวหนากรรมการของปนี้ (๒๕๕๔) กลาว ในบทความถึงเหตุผลทีมอบ ่ รางวัลใหกับสุลักษณวา เนือ่ งจากชีวติ ของ เขาอุทิศใหกับเรื่องสันติภาพและความยุติธรรม ซึ่งเปนไปในแนวทาง เดียวกับหลักการของรางวัลนิวาโน เขามีวิธีการตางๆ ทั้งการอาศัย ความเขาใจ การแสดงตนเปนตัวอยาง และการมีปณิธานแนวแนในการ เปลีย่ นแปลงความคิดของผูน ำทางการเมือง ปญญาชน คนหนุม สาว ทัง้ ในประเทศไทย ในเอเชีย และทั่วโลก โดยสุลักษณยังไดรณรงคใหเกิด ความเขาใจใหมในแนวคิดเรื่องสันติ ประชาธิปไตย และการพัฒนา “สิ่งที่ทำใหดิฉันประทับใจคือการที่สุลักษณมักจะพูดความจริง กับผูที่มีอำนาจ แมวาวิธีการพูดความจริงของเขาจะเปนไปดวยความ นุม นวลออนโยน” แคเธอรีนกลาวในบทความ “เขาเชือ่ วาการชวยเหลือ สังคมอยางแทจริงคือการเขาถึงคนยากจนและการมีสวนรวมทางการ เมืองในระดับรากหญา” นอกจากนีแค ้ เธอรีนยังไดพูดถึงสุลักษณในแงทีเป ่ นผูขั บเคลือ่ น “ประชาสังคม” โดยจัดตั้งองคกรพัฒนาและสวัสดิการสังคมมากมาย โดย มี ประเด็น หลักๆ คือ การ ตอ ตาน แนวคิด พัฒนา เชิง บริโภค นิยม

และ สนับสนุน แนวคิด พัฒนา ดำเนิน ไป พรอม กับ การ รักษา ราก เหงา ของวัฒนธรรมทองถิ่นและศาสนา นอกจากนี้ยังไดนำศาสนาเขามา ผสานกับงานอนุรักษสิ่งแวดลอม อยางการนำกลุมเสขิยธรรม ซึ่งเปน เครือขายพระภิกษุสงฆในการนำชุมชนอนุรกั ษสิง่ แวดลอมของทองถิน่ โดยเฉพาะผืนปา รวมถึงการโยงหลักศีล ๕ กับการอยูรวมกันในสังคม อยางยั่งยืน “สุลักษณมองสังคมโดยใชแนวคิดทางพุทธศาสนา โดยบอกวา ปจเจกบุคคลเปนจุดเริ่มตนของความเปลี่ยนแปลง เมื่อปจเจกบุคคลมี ความเปลีย่ นแปลงทางจิตวิญญาณ เราก็จะสามารถเห็นสังคมทีมี่ ความ ยุติธรรมได” แคเธอรีนกลาวในบทความ สุลักษณไดกลาวสุนทรพจนในการขึ้นรับรางวัลที่เมืองเกียวโต ประเทศญี่ปุน โดยพูดถึงความกลาหาญของชาวญี่ปุนที่มีความอดทน ตอภัยพิบัตินานัปการตั้งแตชวง มี.ค. ๒๕๕๔ เปนตนมา ทั้งแผนดิน ไหว สึนามิ และภัยจากโรงไฟฟานิวเคลียร นอกจากนี้ยังไดเรียกรอง ใหผูคนชวยกันปกปองโลก ตอสูกับความอยุติธรรม และเรียนรูที่จะ มองโลกอยางงดงามในทางสายกลาง กอนจะสายเกินไป


๒๔ หนัง

เรื่อง วิโรจน สุทธิสีมา

KUNDUN (1997)

ในทางธรรมมีทางโลกย

ดู

ผิวเผินคงเปนเรือ่ งประหลาด เมือ่ นักทำหนังผูชื น่ ชอบการใชความ รุนแรงอยาง มารติน สกอรเซซี จากผลจากงานหนังแมนๆ คละคลุง ดวยเลือดแบบ Taxi Driver (๑๙๗๖), Raging Bull (๑๙๘๐), Goodfellas (๑๙๙๐) และ Casino (๑๙๙๕) มาทำหนังเกี่ยวกับนักบวช-นัก ปรัชญา ทีสุ่ ขมุ คัมภีรภาพทีส่ ดุ คนหนึง่ ของโลก นัน่ คือ ดาไลลามะ องค ที่ ๑๔ แหงทิเบต อยางไรก็ตาม ในระดับลึกลงไปแลว-เมื่อสำรวจตรวจสอบถึง ปูมหลังของผูกำกับ หลายคนคงไมถึงกับแปลกใจจนเกินไปนัก เพราะ หนังแทบทุกเรื่องของเขาลวนสอดแทรกประเด็นดานศาสนาเขามาอยู เนืองๆ และยิ่งเมื่อทราบถึงชีวิตสวนตัวในวัยเยาววาเขาไดแรงบันดาล ใจจากสองสวนหลักในชีวติ อันไดแก ความรุนแรงขางถนน (ทราบกันดี) และความเชือ่ ทางศาสนา (มักจะหลงลืมกัน) คงเปนหลักฐานขอพิสจู น ชั้นยอดวาสกอรเซซีทำหนังเกี่ยวกับศาสนาไดแนนอน หรื อ หาก ใคร ชื่ น ชอบ ภาพยนตร มาก ขึ้ น สั ก นิ ด คงจะ จดจำ เหตุการณอื้อฉาวเมื่อครั้งเขานำเอา The Last Temptation of Christ (๑๙๘๙) ออกฉายกันได วาหนังพระเยซูเปอ นเลือดเรือ่ งนัน้ ชางสะทอน ความดุเดือดเลือดพลานแบบสกอรเซซีไดตรงไปตรงมาเหลือเกิน ในหนังเรื่องนี้ เราจะพบวาเขาจะลดดีกรีความรุนแรงลงชนิด ฮวบฮาบ เนื่องจากตองการเนนใหเห็นถึง “ความเปนไปในชีวิต” ของ ดาไลลามะตั้งแตวัยเด็กจนหนุม ความรุนแรงที่กอเกิดจึงแทบไมไดมา จากคราบเลือด รอยกระสุน หรือคมมีดใดๆ หากแตเปนความรุนแรง

ในเชิงความรูสึกที่รัฐบาลคอมมิวนิสตของประเทศจีน ไดรุกรานย่ำยี ประเทศธิเบตของนักบวชผูยิ่งใหญ (ซึ่งตำแหนงนี้ถือเปนประมุขทั้ง ทางธรรมและทางโลกของธิเบต) และนั่นเปนสาเหตุใหทีมงานหลาย คน และโดยเฉพาะอยางยิง่ ตัวสกอรเซซีเอง ถูกขึน้ บัญชีดำจากทางการ ของจีนในเวลาถัดมา แมวา ดา ไลลา มะ ที่ เรา เห็น ใน หนัง จะ เปน พระ ที่ ตอง มา เผชิญ กับชะตากรรมทางโลกย แตนั่นเปนธรรมเนียมปฏิบัติอันไมอาจหลีก เลี่ยงในฐานะประมุขของคนในประเทศ และหากสำรวจตรวจสอบให ดี เราจะพบวานักบวชรูปนีไม ้ เคยมีความคิดจะกาวล้ำเขาไปยุม ยามกับ โลกียวิสัยใดๆ หากแมนไมถูกรุกรานไลลาจากประเทศมหาอำนาจ แผนดินใหญ และหากทานผูนี ต้ องมาเกาะเกีย่ วการเมืองอันวุน วายแลว ผูมี สติสมั ปชัญญะทัง้ ปวงคงพึงเล็งเห็นไดวา เปนไปดวยความบริสทุ ธิใจ ์ และปรารถนาดี โดยปราศจากพัดยศ การปูนบำเหน็จ เครื่องรางพุทธ พาณิชย หรือกิเลสตัณหาใดๆ และแมวาจะเปนพระภิกษุหรือนักบวชที่โดงดังที่สุดรูปหนึ่งใน ศตวรรษที่ ๒๑ แตวัตรปฏิบัติขององคดาไลลามะกลับมีเพื่อการบรรลุ นิพพานและใหประชาชนที่เลื่อมใสศรัทธาไดมีความสงบสุขทางจิตใจ จึงแทบไมมีใครตั้งขอครหาวาทานตองการสรางกระแสเพื่อเปน “พระ เซเล็บ” อยางที่มีใหเห็นอยางกลาดเกลื่อนในเมืองไทย


อาน ณรินทร

รร มฝ ลอกคราบวั ฒนกษธ

หิ้งหนังสือ ๒๕

รั่ ง

ส. ศิวรั

สตร า ศ า ย ิ ท ว ื อ ถ ั บ  น ม  โลกสมยั ให มนษุ ยใน ยชาติ ุ ษ น ม ง อ ข ย  า ท ุ ด ส บ ดงั หนง่ึ วา เปน คำตอ แม ส. ศิวรักษ จะเขียนหนังสือเรื่อง “ลอกคราบวัฒนธรรมฝรั่ง” มาตั้งแต พ.ศ.๒๕๓๐ แลว แตจนถึงปจจุบันนี้ ความคิดที่อยูในหนังสือ ก็ ยังถือวามีความทันสมัยอยูมาก เนื้อหาสำคัญของหนังสือเลมนี้อยูที่การ เชื่อมโยงใหเห็นถึงพัฒนาการของปรัชญาความคิดของคนในโลกตะวัน ตก ตั้งแตสมัยกรีกจนมาถึงสมัยปจจุบัน ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงการให น้ำหนักความสำคัญกับ ๒ สิ่ง ไดแก “ขอเท็จจริง” และ “คุณคา” โดยมี การปฏิวัติทางวิทยาศาสตรเปนจุดเปลี่ยนผันที่สำคัญ กลาวคือวิทยาศาสตรไดแยกเอาขอเท็จจริงและคุณคาออกจาก กัน โดยใหความสำคัญอยูกับขอเท็จจริง แตละเลยตอสิ่งที่เปนคุณคา ภาวะดังกลาวสงผลกระทบตอระบบสังคมตางๆ ทั้งในโลกตะวันตก เอง และสังคมอื่นๆ ที่ลอกเลียนแบบวัฒนธรรมตะวันตก ไมวาจะ ทางดานสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม คนสมัยใหมอยูได  ดวย เทคโนโลยี แตหลงอยูในโลภจริต โทสจริต และโมหจริต กลาวคือ มนุษย ในโลกสมัยใหม นับวันก็ยิง่ หลงอยูใน  ความร่ำรวย ความมีอำนาจ และความนับถือวิทยาศาสตรดังหนึง่ วาเปนคำตอบสุดทายของมนุษยชาติ อยางไรก็ดี ฟสิกสสมัยใหมไดเชื่อมโยงใหเห็นวา ความจริงเปนสิ่งที่ซับซอนเกินกวาประสาท สัมผัสของมนุษยจะสามารถเขาถึงได มนุษยสามารถรับรูได  เพียงสวนหยาบของธรรมชาติเทานัน้ การ จะเขาถึงความจริงแทได จะตองใชความรูทาง  ออม กลาวคือจะตองใหความสำคัญกับสิง่ ทีเรี ่ ยกวาคุณคา หรือความลึกซึง้ ละเอียดออนทางจิตใจ โดยเฉพาะจากชุดปรัชญาความคิดตะวันออกใหมากขึน้ ซึง่ จะ เปนทางเดียวที่จะนำพาเราออกจากโลภจริต โทสจริต และโมหจริต ได ๒๐ กวาปแลว ที่ ส.ศิวรักษเขียนหนังสือเลมนี้ แตในปจจุบัน ประเทศไทยก็ยังคงเผชิญหนา กับปญหานานาประการดังที่ถูกเขียนไว อันเปนประจักษพยานที่ยืนยันไดเปนอยางดีวา การเลือกรับ วัฒนธรรมแบบหยาบของตะวันตกเขามาโดยขาดการคิดอยางลึกซึง้ มีแตจะนำพาสังคมของเราเขาไป เผชิญหนากับปญหามากยิ่งขึ้น จึงควรจะตั้งคำถามซ้ำอีกครั้งจากที่ ส.ศิวรักษไดตั้งคำถามเอาไวเมื่อ ๒๔ ปกอนวา ถึงเวลาแลวหรือยังที่สังคมของเราจะตองมีการปฏิวัติวัฒนธรรมกันเสียที


๒๖ ถกแถลงวรรณกรรม

เรื่อง Erastale ShadowServant

าด วา พอ บทความ ชิ้น นี้ ได ตี พิมพ ผล รางวัล วรรณกรรม สรางสรรค ยอด เยี่ ย ม แห ง อาเซี ย น (ซี ไรท ) ประจำ ป ๒๕๕๔ คง ประกาศ ไป เป น ที่ เรี ย บร อ ย แล ว เมื่ อ ครั้ ง มี การ ประกาศ ผล งาน รวม เรื่ อ ง สั้ น ที่ เขารอบ ๗ เลมนัน้ จำไดวามันไดสรางความมึนงงใหกับขาพเจาอยางมาก... เนื่องดวยขาพเจาไมเคยอานเลยสักเลม ไมแมแตจะคุนชื่อหรือไดยิน ใครพูดถึง ทำใหไมแนใจวาเปนตัวขาพเจาเองทีตี่ ตัวออกหาง งานวรรณกรรม (ในประเทศ) หรือกระแสขาวอืน่ ๆ ตีกลบ ขาววัฒนธรรมจำพวกงานวรรณกรรมเหลานี้ไปหมด ขาพเจาเลือกขอแรก เนือ่ งจากขาพเจาเปนคน นิยมโทษตัวเองไวกอน แตก็มองอะไรอยางระแวด ระวังไวกอนเชนกัน ขาพเจายอมรับวาความตึงเครียด บันไดสะทอนมนุษย า ญ ที่เกิดกับตัวขาพเจาเองในชวงสองสามปมานี้ ทำให ที่เหนือคำถามทางปรัช ขาพเจาเลี่ยงไปอานงานแนว “ประโลมโลกย” อยู เหมือนกัน จากเดิมที่เลือกอานแตพวกวรรณกรรม (ที่ ถูกเรียกวา) “สรางสรรค” มีความเปนปญญาชน วิญูชน หรืออะไรชนๆ อยางอื่นที่ขาพเจาก็ยังไมเขาใจ แต ครั้น พอ ขาพเจา อยาก รวม วง เสวนา พา ที กับ กลุม เพื่อน ฝูง ของ ขาพเจาที่สวนใหญเปน “อะไรชนๆ” เหลานี้บาง ก็ไมวายโดนทำตาเขียวใส บางคนก็แฝงน้ำเสียงผานตัวอักษรในเฟซบุกว  า “ทำไมถึงไมเอาเวลาทีโพสต ่ เพลงในนีไป ้ ทำตัวเปนนักอานทีมี่ คุณภาพเชนเดิมเลา” ขาพเจาอดรนทนกับ การดูถูกเชนนี้ไมได จึงรีบบึ่งออกจากบานไปที่รานหนังสือที่ใกลที่สุด ตาม หาอยูหลายรานกวาจะเจอหนังสือออกใหมลาสุดที่ชื่อ ‘บันไดกระจก’ แลว ก็ความาทันทีแบบไมรีรอ ดวยวาถูกชะตาในชื่อเรื่องและดีไซนของปก ขาพเจายอมรับวาไมคอยคุน กับ วัฒน ยวงแกว ชือ่ ผูแต  งเรือ่ งนี้ คำนำ จากสำนักพิมพพูดถึงกลวิธีการเขียนแบบสัจนิยมมหัศจรรย, แฟนตาซี, เหนือจริง, สมจริง, อัตถิภาวะนิยม ฯลฯ ขณะที่คำนำของผูเขียนเปดเผย ตัวตนแบบเรียบๆ และยอมรับวาตนนั้นเปนคนชางเพอฝน ซึ่งโดยสวนตัว ขาพเจาเองก็ชื่นชอบอะไรที่เพอฝนอยูแลว จึงไมเห็นวาความเพอฝนที่แฝง อยูในงานจะเปนความผิดบาปแมในเรื่องแนวสัจนิยม แต วา สิ่ง ที่ ชวน ให ขัดใจ ขาพเจา ใน ฐานะ ผู อาน ก็ มี อยู บาง ใน บาง เรื่อง คือ เรื่อง ‘กรอบ’ กับ เรื่อง ‘ไฮ เปอร สเปซ’ ที่ ดู เปน งาน เขียน ล้ำ จิ น ตนาการ มาก มี การ เล า เรื่ อ ง แบบ เหนื อ จริ ง ผสม ผสาน ไป กั บ น้ ำ เสี ย ง ล อ เลี ย น เสี ย ดสี บ า ง เป น ระ ยะๆ โดย ส ว น ตั ว ข า พเจ า ชอบ น้ ำ เสี ย ง เสี ย ดสี ที่ แฝง อยู ใน ๒ เรื่ อ ง นี้ มาก แต ขณะ เดี ยวกั น งาน อย า ง ‘ไฮเปอรสเปซ’ ก็ถูกทำใหกลายเปนการถกปรัชญาผสมกับจินตนาการทาง วิทยาศาสตรที่ดูยืดเยื้อไปหนอย จน ผูอานเหมือนถูกบังคับใหตองฟงการ ถกปรัชญาอันยาวเหยียดโดยไมไดพักหายใจ สวนเรื่อง ‘กรอบ’ นั้นขาพเจามองเห็นความทะเยอทะยานในการ สอดกลวิธีการเลาเรื่องหลายๆ แนวเขาไวดวยกัน และมีการแบงเปน ๓ ภาคยอย กลวิธีแบบสัจนิยมมหัศจรรยที่ใชกับเรื่องเลาของมนุษยทองคำ นั้น ดูมีเสนหและสะทอนความรูสึกไดดี แตในตอนตอๆ มา เมื่อเนื้อเรื่อง

บันไดกระจก


๒๗

กำลังดำเนินมาในชวงที่ทำทาจะคลายปม ผูเขียนก็แหกขนบการเลาเรื่อง เสียจนกลายเปนการถกปรัชญาผสมกับจินตนาการทางวิทยาศาสตรแบบยืด ยาวอีกครั้ง รูปแบบการใชภาษาก็เปนแบบกระแสสำนึกที่ไหลโดยไมสนใจ พลอตอีกตอไป ซึ่งเขาใจวาเปนความตั้งใจของผูเขียนที่อยากทดลองงาน เขียนผสมกับการหาทางออกในเชิงปรัชญา แตมันกลับดูหลุดลอยจนยาก จะเกาะเกี่ยว จริงๆ แลววัฒนเปนคนทีเล ่ าเรือ่ งไดเกงไมนอย ดูจากการเลาเรือ่ งตัด สลับกันใน ‘ภาพทีหาย ่ ไป’ และ ‘ปฏิสนธิ’ ทีคุ่ มจังหวะการเลาเรือ่ งไดชวนให นาติดตาม แตเรื่อง ‘ภาพที่หายไป’ ออกจะมีเสนหกวาเล็กนอยตรงที่ขมวด ปมจบไดหมดจดสมบูรณและนาประทับใจ ขณะที่ ‘ปฏิสนธิ’ ดูจะทำใหผู อานยังไม “ถึงจุด” เทาที่ควร การพยายามเลนกับความจริงและภาพลวง ของเรือ่ งนีดู้ นาสนใจในชวงแรกๆ แตชวงทายๆ นัน้ เปลือ้ งอะไรออกมาเร็ว ไปหนอย บทสนทนาของตัวละครที่อยูๆ ก็พูดอะไรเปนปรัชญาขึ้นมา รวม ถึงการพยายามเลนกับ ‘การมีตัวตน’ จากการเลาเรือ่ งของหญิงสาวก็ชวนให รูสึกขัด และเปนการอธิบายมากเกินไปจนกลายเปนยัดเยียดไปเสีย ตองยอมรับวาผูเขียน ‘บันไดกระจก’ มีพื้นฐานการเรียนรูแนวคิด ปรัชญามาไมมากก็นอย แตบางครั้งก็พยายามอธิบายจนดูลนเกิน พลอย ทำใหอรรถรสในเรื่องนั้นๆ เสียไปดวย ขาพเจากลับรูสึกวาผูเขียนคนนี้มีความสามารถในเรื่องการสะทอน ชีวติ มนุษย โดยเฉพาะในเรือ่ ง ‘เรือ่ งเลาแสงตะเกียง (เรือ่ งเลาแสนสุข)’ กับ ‘บนราง’ ทีแม ่ วา จะมีการใชลูกเลนบางอยางกับงานทัง้ สองชิน้ นี้ แตการวาง พลอตและตัวละครดูมีความเขมขนจนลูกเลนทีใช ่ กลายเปนแคเครือ่ งมือการ เลาเรื่อง (ซึ่งถือเปนเรื่องดี) เชนการใชสรรพนามบุคคลที่ ๒ คือ “คุณ” แทน การใชสรรพนามบุรุษที่ ๑ หรือ ๓ ดังที่ใชกันทั่วไป ราวกำลังตองการเปนก ระจกสะทอนผูอานไปในตัวดวย จริงๆ แลวกลวิธีการนี้ไมใชเรื่องใหม แต ก็อยางทีบอก ่ พลอตทีแม ่ จะดูธรรมดาแตก็เขมขนบีบคัน้ ตัง้ คำถามกับความ เปนมนุษยทำใหผูอานไมจำเปนตองทำความเขาใจลูกเลนของผูเขียนก็เขา ถึงอรรถรสในเชิงวรรณกรรมได สวนที่ชอบเปนการสวนตัวคือความติดดิน แบบบานๆ ของทั้งสองเรื่องนี้ โดยรวมแลว ‘บันไดกระจก’ อาจเปนสิ่งที่สะทอนแนวคิด ปรัญชา และจินตนาการไมสิ้นสุดของผูเขียน มันอาจสะทอนความจริงอีกขั้นหนึ่ง แตเมื่อกาวไปอีกขั้นก็กลายเปนความลวง และขั้นตอๆ ก็เต็มไปดวยความ ไมแนใจ แตขณะเดียวกันมันก็กลายเปนสิง่ สะทอนผูอ านทีเสพ ่ วรรณกรรม ชิ้นนี้ไปดวย ในฐานะมนุษยผูเต็มไปดวยคำถามตอสรรพสิ่ง ผูยังคงมีความ รูส กึ กระทำตอกันดวยความรัก ความชัง ความโหดราย ความเห็นใจ ความ ไมเขาใจ ฯลฯ และโดยสวนตัวก็คิดวาเรือ่ งราวการสะทอนมนุษยนัน้ ไมเคย เกา และทรงพลังกวางานพยายามทดลองฉีกแนวอื่นใด


๒๘ ศัพทบัญญัติ

เรื่อง ณัฏฐพงษ สกุลเลี่ยว

Intellectual History (n.)

»ÃÐÇÑμÔÈÒÊμà ÀÙÁÔ»˜ÞÞÒÍѹ¹‹ÒÂÖ´¶×Í พุทธศาสนาสอนไววาใดๆ ในโลกลวนมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งนั่นยอมหมายรวม ถึงหลักคำสอนที่อยูในตัวศาสนาเองดวย ซึ่งไมใชเรื่องแปลกอะไร เพราะหากเรามอง ผานแนวคิดที่เรียกวา Intellectual History หรือประวัติศาสตรภูมิปญญา ที่ศึกษาความ เปลีย่ นแปลงทาง “ภูมปิ ญ  ญา” ของมนุษย ก็จะพบวาในประวัตศิ าสตรทีผ่ านมาความจริง ทีมนุ ่ ษยเรายึดถือนัน้ เปนสิง่ ทีสามารถ ่ เปลีย่ นแปลงไดอยูตลอด  เวลา ซึง่ คำวา “ภูมปิ ญ  ญา” นี้ อาจจะรวมถึงอารมณ ความรูสึก ความคิด ความเชื่อ ตลอดจนอุดมการณตางๆ ดวย ดังนั้น การศึกษาประวัติศาสตรภูมิปญญาจึงไมคอยใหความสนใจกับการกระทำและผล ของการกระทำของตัวละครสำคัญในประวัติศาสตร แตมุงที่จะคนหาหรืออธิบายความ เปลี่ยนแปลงทางภูมิปญญาที่อยูเบื้องหลังการกระทำนั้นอีกทอดหนึ่ง ภาย ใต ยุค สมัย แหง การ ยึด มั่น ถือ มั่น นั้น จำเปน อยาง ยิ่ง ที่ จะ ตอง มี การ ศึกษา ประวัติศาสตรภูมิปญญา โดยเฉพาะในสังคมที่ผูคนตางยึดเอา “วัฒนธรรม” “วิธีคิด” “อุดมการณ” ของตนไวเยี่ยงความจริงสูงสุด และพรอมที่จะประณามหยามเหยียด บด บี้บีฑาวิธีคิดและวัฒนธรรมที่แตกตางกับตนไดอยางงายดายและหนาตาเฉย เพราะการ ศึกษาประวัตศิ าสตรภูมปิ ญ  ญานัน้ จะแสดงใหเราไดตระหนักวา ไมมความ ี คิด ความเชือ่ ตลอดจนอุดมการณใดๆ ทีเป ่ นความจริงสูงสุด แตทุกความคิดความเชือ่ ลวนสัมพันธอยู กับบริบททางสังคมและเศรษฐกิจที่มีความเปลี่ยนแปลงอยูทุกเมื่อเชื่อวัน เมือ่ ทุกสิง่ ทุกอยางมีประวัตศิ าสตรและมีความเปลีย่ นแปลงอยูใน  ตัวของมัน ความ คิดความเชื่อที่เราเชื่อวา “จริง” และดูสมเหตุสมผลในยุคสมัยของเราก็อาจจะกลายเปน สิ่งที่ไรสาระที่สุด งมงายที่สุด งี่เงาที่สุดในอีกหลายรอยปขางหนา (หรือในหลายรอย ปที่ผานมาดวย) ซึ่งหากเรามองความคิดความเชื่อดวยทัศนคติเชนนี้แลว การชี้ถูก-ผิด หรือการตัดสินและใหคุณคาเชิงศีลธรรมกับความคิดความเชื่อของวัฒนธรรมอื่น ผาน “แวนตา” ของวัฒนธรรม วิธีคิด และความเชื่อของเราก็คงจะไมเกิดขึ้น ซึ่งสุดทายก็วก กลับมาสูคำเดิมๆ ที่พร่ำสอนกันวาใหพยายามทำความเขาใจในความตางไมใชหยุดอยู แคการรับรู เพราะทีส่ ดุ แลวในโลกทีกว ่ างขวางและซับซอนใบนี้ มันยากทีจะ ่ มีอุดมการณ ใดอุดมการณหนึ่งผูกขาดการเลา “ความจริง” เอาไวทั้งหมด




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.