ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

Page 1

ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ (อังกฤษ: computer) หรือในภาษาไทยว่า คณิตกรณ์[2][3] เป็นเครื่องจักรแบบสั่งการได้ที่ออกแบบมา เพื่อดาเนินการกับลาดับตัวดาเนินการทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ โดยอนุกรมนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อพร้อม ส่งผล ให้คอมพิวเตอร์สามารถแก้ปัญหาได้มากมาย คอมพิวเตอร์ถูกประดิษฐ์ออกมาให้ประกอบไปด้วยความจารูปแบบต่าง ๆ เพื่อเก็บข้อมูล อย่างน้อยหนึ่งส่วนที่มี หน้าที่ดาเนินการคานวณเกี่ยวกับตัวดาเนินการทางตรรกศาสตร์ และตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ และส่วนควบคุมที่ใช้ เปลี่ยนแปลงลาดับของตัวดาเนินการโดยยึดสารสนเทศที่ถูกเก็บไว้เป็นหลัก อุปกรณ์เหล่านีจ้ ะยอมให้นาเข้าข้อมูลจากแหล่ง ภายนอก และส่งผลจากการคานวณตัวดาเนินการออกไป หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์มีหน้าทีด่ าเนินการกับคาสั่งต่างๆ ที่คอยสั่งให้อ่าน ประมวล และเก็บข้อมูลไว้ คาสั่งต่างๆ ที่มเี งื่อนไขจะแปลงชุดคาสั่งให้ระบบและสิ่งแวดล้อมรอบๆ เป็นฟังก์ชันที่สถานะปัจจุบัน คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกถูกพัฒนาขึ้นในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ค.ศ. 1940 – ค.ศ. 1945) แรกเริ่มนั้น คอมพิวเตอร์มีขนาดเท่ากับห้องขนาดใหญ่ ซึ่งใช้พลังงานมากเท่ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) สมัยใหม่หลายร้อยเครื่องรวมกัน[4] คอมพิวเตอร์ในสมัยใหม่นผี้ ลิตขึน้ โดยใช้วงจรรวม หรือวงจรไอซี (Integrated circuit)โดยมีความจุมากกว่า สมัยก่อนล้านถึงพันล้านเท่า และขนาดของตัวเครื่องใช้พื้นที่เพียงเศษส่วนเล็กน้อยเท่านัน้ คอมพิวเตอร์อย่างง่ายมีขนาดเล็ก พอที่จะถูกบรรจุไว้ในอุปกรณ์โทรศัพท์มือถือ และคอมพิวเตอร์มือถือนี้ใช้พลังงานจากแบตเตอรีข่ นาดเล็ก และหากจะมีคน พูดถึงคาว่า "คอมพิวเตอร์" มักจะหมายถึงคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของยุคสารสนเทศ อย่างไรก็ดี ยังมี คอมพิวเตอร์ชนิดฝังอีกมากมายทีพ่ บได้ตั้งแต่ในเครื่องเล่นเอ็มพีสามจนถึงเครื่องบินขับไล่ และของเล่นชนิดต่างๆ จนถึง หุ่นยนต์อตุ สาหกรรม

คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การ คานวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของ คอมพิวเตอร์ไว้ว่า "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทาหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้ สาหรับแก้ปญ ั หาต่างๆ ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์"


คอมพิวเตอร์จึงเป็นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ทางานแทนมนุษย์ ในด้านการคิดคานวณและสามารถจาข้อมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้เพื่อการ เรียกใช้งานในครั้งต่อไป นอกจากนี้ ยังสามารถจัดการกับสัญลักษณ์ได้ด้วย ความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ยงั มีความสามารถใน ด้านต่างๆ อีกมาก อาทิเช่น การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ การรับส่งข้อมูล การ จัดเก็บข้อมูลในตัวเครื่องและสามารถประมวลผลจากข้อมูลต่างๆ ได้ ฮาร์ดแวร์(hardware) ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะ เป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทางาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยประมวลผล กลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทางาน แตกต่างกัน ดังนี้

1. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) หน่วยประมวลผลกลาง ( CPU : Central Processing Unit ) หรือมักจะเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไมโครโปรเซสเซอร์ มีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูล ในลักษณะของการคานวณและเปรียบเทียบ โดยจะทางานตามจังหวะเวลาที่แน่นอน เรียกว่าสัญญาณ Clock เมื่อมีการเคาะจังหวะหนึ่งครั้ง ก็จะ เกิดกิจกรรม 1 ครั้ง เราเรียกหน่วย ที่ใช้ในการวัดความเร็วของซีพียูว่า “เฮิร์ท”(Herzt) หมายถึงการ ทางานได้กี่ครั้งในจานวน 1 วินาที เช่น ซีพียู Pentium4 มีความเร็ว 2.5 GHz หมายถึงทางานเร็ว 2,500 ล้านครั้ง ในหนึ่งวินาที กรณีที่สัญญาณ Clock เร็วก็จะทาให้คอมพิวเตอร์เครื่องนั้น มีความเร็ว สูงตามไปด้วย ซีพียูที่ทางานเร็วมาก ราคาก็จะแพงขึ้นมากตามไปด้วย การเลือกซื้อจะต้องเลือกซื้อ ให้เหมาะสมกับงานที่ต้องการนาไปใช้ เช่นต้องการนาไปใช้งานกราฟิกส์ ที่มีการประมวลผลมาก จาเป็นที่จะต้องใช้เครื่องที่มีการประมวลผลได้เร็ว ส่วนการพิมพ์รายงานทั่วไปใช้เครื่องที่ความเร็ว 100 MHz ก็เพียงพอแล้ว


2. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยป้อนข้อมูล (Input Unit) ทาหน้าที่ในการป้อนข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ที่ ทาหน้าที่ในการป้อนข้อมูล เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้แก่ แป้นพิมพ์ สาหรับพิมพ์ตัวอักษรและอักขระ ต่าง ๆ เมาส์สาหรับคลิกสั่งงานโปรแกรม สแกนเนอร์สาหรับสแกนรูปภาพ จอยสติ๊ก สาหรับเล่นเกมส์ ไมโครโฟนสาหรับพูดอัดเสียง และกล้องดิจิตอลสาหรับถ่ายภาพ และนาเข้าไปเก็บไว้ ในดิสก์ของ เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนาไปใช้งานต่อไป

3. หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยแสดงผล (Output Unit) มีหน้าที่ในการแสดงผลข้อมูล ที่ผ่านการประมวลผลในรูปของ ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวหรือ เสียง เป็นต้น อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการแสดงผลได้แก่ จอภาพ (Monitor) สาหรับแสดงตัวอักษรและรูปภาพ เครื่องพิมพ์ (Printer) สาหรับพิมพ์ข้อมูลที่อยู่ ในเครื่อง ออกทางกระดาษพิมพ์ ลาโพง (Speaker) แสดงเสียงเพลงและคาพูด เป็นต้น

4. หน่วยความจา (Memory Unit) หน่วยความจา (Memory Unit) มีหน้าที่ในการจาข้อมูล ให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ มีอยู่ 2 ชนิด คือ หน่วยความถาวร (ROM : Read Only Memory) เป็นหน่วยความจาที่สามารถจาข้อมูลได้ ตลอดเวลา ส่วนหน่วยความจาอีกประเภทหนึ่งคือ หน่วยความจาชั่วคราว (RAM : Random Access Memory) หน่วยความจาประเภทนี้ จะจาข้อมูลได้เฉพาะช่วงที่มี การเปิดไฟเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ เท่านั้น หน่วยความจาชั่วคราว ถือว่าเป็นหน่วยความจาหลักภายในเครื่อง สามารถซื้อมาติดตั้ง เพิ่มเติมได้ เรียกกันทั่วไปคือหน่วยความจาแรม ที่ใช้ในปัจจุบันคือ แรมแบบ SDRAM , RDRAM เป็น ต้น

5. หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage) หน่วยความจาสารองคืออุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูลไว้ใช้ในโอกาสต่อไป เนื่องจาก


หน่วยความจาแรม จาข้อมูลได้เฉพาะช่วงที่มีการเปิดไฟ เข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น ถ้าต้องการ เก็บข้อมูลไว้ใช้ในโอกาสต่อไป จะต้องบันทึกข้อมูลลงในหน่วยความจาสารอง ซึ่งหน่วยความจา สารองมีอยู่หลายชนิดด้วยกัน แต่มีนิยมใช้กันทั่วไปคือ ฮาร์ดดิสก์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม ดีวีดีรอม ทัมท์ ไดร์ฟ เป็นต้น

ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ จากการที่คอมพิวเตอร์มีลักษณะเด่นหลายประการ ทาให้ถูกนามาใช้ประโยชน์ต่อการดาเนิน ชีวิตประจาวันในสังคมเป็นอย่างมาก ที่พบเห็นได้บ่อยที่สุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสารต่างๆ เช่น พิมพ์จดหมาย รายงาน เอกสารต่างๆ ซึ่งเรียกว่างานประมวลผล ( word processing ) นอกจากนี้ยังมี การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆ อีกหลายด้าน ดังต่อไปนี้ 1. งานธุรกิจ เช่น บริษัท ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า ตลอดจนโรงงานต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการ ทาบัญชี งานประมวลคา และติดต่อกับหน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม นอกจากนี้งาน อุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ก็ใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการควบคุมการผลิต และการประกอบชิ้นส่วนของ อุปกรณ์ต่างๆ เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ ซึ่งทาให้การผลิตมีคุณภาพดีขึ้นบริษัทยังสามารถรับ หรือ งานธนาคาร ที่ให้บริการถอนเงินผ่านตู้ฝากถอนเงินอัตโนมัติ ( ATM ) และใช้คอมพิวเตอร์คิดดอกเบี้ย ให้กับผู้ฝากเงิน และการโอนเงินระหว่างบัญชี เชื่อมโยงกันเป็นระบบเครือข่าย

2. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สามารถนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในนามาใช้ใน ส่วนของการคานวณที่ค่อนข้างซับซ้อน เช่น งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการส่งจรวด ไปสู่อวกาศ หรืองานทะเบียน การเงิน สถิติ และเป็นอุปกรณ์สาหรับการตรวจรักษาโรคได้ ซึ่งจะให้ผล ที่แม่นยากว่าการตรวจด้วยวิธีเคมีแบบเดิม และให้การรักษาได้รวดเร็วขึ้น

3. งานคมนาคมและสื่อสาร ในส่วนที่เกี่ยวกับการเดินทาง จะใช้คอมพิวเตอร์ในการจองวันเวลา ที่นั่ง ซึ่งมีการเชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได้ ทาให้สะดวกต่อผู้เดินทางที่ไม่ต้อง เสียเวลารอ อีกทั้งยังใช้ในการควบคุมระบบการจราจร เช่น ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทาง อากาศ หรือในการสื่อสารก็ใช้ควบคุมวงโคจรของดาวเทียมเพื่อให้อยู่ในวงโคจร ซึ่งจะช่วยส่งผลต่อ การส่งสัญญาณให้ระบบการสื่อสารมีความชัดเจน

4. งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ หรือ จาลองสภาวการณ์ ต่างๆ เช่น การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผ่นดินไหว โดย คอมพิวเตอร์จะคานวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริง รวมทั้งการใช้ควบคุมและ ติดตามความก้าวหน้าของโครงการต่างๆ เช่น คนงาน เครื่องมือ ผลการทางาน

5. งานราชการ เป็นหน่วยงานที่มีการใช้คอมพิวเตอร์มากที่สุด โดยมีการใช้หลายรูปแบบ ทั้งนี้


ขึ้นอยู่กับบทบาทและหน้าที่ของหน่วยงานนั้นๆ เช่น กระทรวงศึกษาธิการ มีการใช้ระบบประชุม ทางไกลผ่านคอมพิวเตอร์ , กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อเชื่อมโยงไปยังสถาบันต่างๆ , กรมสรรพากร ใช้จัดในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เป็นต้น

6. การศึกษา ได้แก่ การใช้คอมพิวเตอร์ทางด้านการเรียนการสอน ซึ่งมีการนาคอมพิวเตอร์มา ช่วยการสอนในลักษณะบทเรียน CAI หรืองานด้านทะเบียน ซึ่งทาให้สะดวกต่อการค้นหาข้อมูล นักเรียน การเก็บข้อมูลยืมและการส่งคืนหนังสือห้องสมุด


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.