Technology and information systems.

Page 1

จัดทำำโดย...

น.ส.กัญญารัตน์ น.ส.สุ รีพร น.ส.ปรารถนา น.ส.เสาวภาคย์

สโมสร ชำานาญ โพธิราแสง อยู่ศิริ

544188007 544188012 544188015 544188135

คบ.2 การประถมศึกษา


บทที่ 2 เรื่อง ระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศ


1. ระบบและวิธีการเชิงระบบ การทำางานใดๆ ให้ ประสบผลสำ าเร็จบรรลุเป้ าหมายได้ อย่ างมี ประสิ ทธิภาพนั้นย่ อมเกิดจากพืน้ ฐานวิธีการทีม่ ลี าำ ดับและขั้นตอนชัดเจน สามารถปฏิบัติซ้ำาๆ ได้ หลายครั้งอย่ างถูกต้ องและสมเหตุสมผลทุกครั้งไป เรา เรียกกระบวนการและขั้นตอนนั้นว่า “ระบบ”


องค์ ประกอบของวิธีระบบ วิธีระบบมีองค์ ประกอบสำ าคัญ 3 ประการ ได้ แก่ 1.ปัจจัยนำาเข้ า (Input) หมายถึงวัตถุสิ่งของต่ างๆ รวมถึงเหตุการณ์ สถานการณ์ วัตถุประสงค์ ปัญหา ความต้ องการ ข้ อกำาหนด กฎเกณฑ์ อัน เป็ นต้ นเหตุของประเด็นปัญหา 2.กระบวนการ (Process) หมายถึง วิธีการ ขั้นตอนในการปฏิบัติงาน การ สร้ างสรรค์ การแก้ปัญหาเกีย่ วกับเนือ้ หาและปัจจัยนำาเข้ าให้ เป็ นไปตาม วัตถุประสงค์หรือความต้ องการ 3.ผลลัพธ์ (Output) หมายถึง ผลงานทีไ่ ด้ จากกระบวนการจัดการวัตถุดบิ หรือปัจจัยนำาเข้ า ผลงานทีไ่ ด้ อาจจะเป็ นวิธีการหรือชิ้นงานก็ได้ ซึ่งสามารถ ประเมินผลและตรวจสอบข้ อมูลย้ อนกลับ (feedback)


2. ระบบสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศ (Information system) คือ การประมวลผลข้ อมูล ข่ าวสารอย่ างเป็ นขั้นตอนและเป็ นกระบวนการเพือ่ ให้ ข้อมูลในรูปของข่ าวสาร ทีเ่ ป็ นประโยชน์ สูงสุ ด และเป็ นข้ อสรุปทีส่ ามารถนำาไปใช้ สนับสนุนการบริหาร และการตัดสิ นใจ ทั้งในระดับปฏิบัติการ ระดับกลาง และระดับสู ง ระบบ สารสนเทศจึงเป็ นระบบทีจ่ ดั ตั้งขึน้ เพือ่ ปฏิบัติการเกีย่ วกับข้ อมูล ดังต่ อไปนี้ 1.รวบรวมข้ อมูลทั้งภายใน ภายนอก ทีจ่ ำาเป็ นต่ อหน่ วยงาน 2.จัดกระทำาเกีย่ วกับข้ อมูลเพือ่ ให้ เป็ นสารสนเทศทีพ่ ร้ อมจะใช้ ประโยชน์ ได้ 3.จัดให้ มีระบบเก็บเป็ นหมวดหมู่ เพือ่ สะดวกต่ อการค้ นหาและนำาไปใช้ 4.มีการปรับปรุ งข้ อมูลเสมอเพือ่ ให้ อยู่ในสภาพทีถ่ ูกต้ องและเป็ นปัจจุบันตลอด เวลา


สารสนเทศโดยทัว่ ไปเป็ นกระบวนการทำางานที่ ประกอบด้ วย คน ข้ อมูล และเครื่องจักรสิ่ งทีจ่ ำาเป็ นในการ ดำาเนินงานระหว่ างองค์ ประกอบสามประการนีไ้ ด้ แก่ การ สื่ อสารข้ อมูลระหว่ างกัน เพือ่ ให้ การทำางานสอดคล้องประสาน กันในทิศทางทีต่ ้ องการ


3. องค์ ประกอบของระบบสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศเป็ นงานทีต่ ้ องใช้ ส่วนประกอบหลายอย่ าง ในการทำาให้ เกิดเป็ นกลไกในการนำาข้ อมูลมาใช้ ให้ เกิดประโยชน์ ได้ การจำาแนกองค์ ประกอบระบบสารสนเทศมีหลายวิธีขนึ้ อยู่กบั เกณฑ์ หรือวัตถุประสงค์ ของแต่ ละงานในทีน่ ีจ้ ำาแนกเป็ น 2 ประเภท ได้ แก่ 1.องค์ ประกอบหลักของระบบสารสนเทศ องค์ ประกอบหลักของระบบสารสนเทศมีองค์ ประกอบหลัก 2 ส่ วน ได้ แก่ ระบบการคิด และระบบของเครื่องมือ ระบบการคิด หมายถึง กระบวนการและขั้นตอนในการจัดลำาดับ จำาแนก แจกแจง และจัดหมวดหมู่ข้อมูลต่ างๆ เพือ่ ความสะดวกในการจัดเก็บและ เผยแพร่


ระบบเครื่องมือ หมายถึง วัสดุอปุ กรณ์ หรือเครื่องมือทีน่ ำามาใช้ ในการรวบรวม จัดเก็บ และเผยแพร่ สารสนเทศให้ ดาำ เนินไปอย่ างมีประสิ ทธิภาพ ปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ และเครือข่ ายอินเตอร์ เน็ตเป็ นเครื่องมือในการจัด สารสนเทศทีน่ ิยมใช้ อย่ างแพร่ หลายในองค์ กร หน่ วยงาน หรืองาน ธุรกรรมต่ างๆ แทบทุกวงการ จนทำาให้ คอมพิวเตอร์ และเครือข่ าย อินเตอร์ เน็ตกลายเป็ นสั ญลักษณ์ ของสารสนเทศ


2. องค์ ประกอบด้ านต่ างๆ ของระบบสารสนเทศ เนื่องจากสารสนเทศ เป็ นวิธีการหรือกระบวนการในการจัดการ ข้ อมูลทีเ่ กีย่ วข้ องกับงานต่ างๆ ดังนั้นองค์ ประกอบสารสนเทศของงาน แต่ ละด้ านจึงแตกต่ างกัน ดังนี้ • องค์ ประกอบของสารสนเทศด้ านจุดมุ่งหมาย ในการแก้ปัญหา มี 4 ประการ ได้ แก่ ข้ อมูล (Data) สารสนเทศ (Information) ความรู้ (Knowledge) ปัญญา (Wisdom) ทีช่ ่ วยแก้ปัญหาในการดำาเนินงาน


• องค์ ประกอบของสารสนเทศด้ านขั้นตอน ในการดำาเนินงานมี 3 ประการ คือ

ข้ อมูล นำาเข้ า (Input) กระบวนการ (Process) และผลลัพธ์ (Output) การ ทำางานจะเริ่มตั้งแต่ การเปลีย่ นข้ อมูลดิบทีเ่ ข้ ามาสู่ การคำานวณประมวลผลหรือ การกลัน่ กรองจนได้ ชิ้นงานหรือผลลัพธ์ (output) และจัดเก็บเพือ่ นำาออกมาเผย แพร่ ในลักษณะของสารสนเทศต่ อไปนี้ Input

Process

Output

องค์ ประกอบด้ านกระบวนการในการดำาเนินงาน


• องค์ ประกอบของสารสนเทศในหน่ วยงาน ได้ แก่ บุคคล หรือองค์ กร เทคโนโลยี ข้ อมูล และระบบสารสนเทศ เทคโนโลยี ข้ อมูล

บุคคล/องค์ กร สารสนเทศ


• องค์ประกอบระบบสารสนเทศทัว่ ไป (Information Process Systems) ประกอบด้ วย 5 องค์ ประกอบ ดังนี้ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ และเครือข่ ายสื่ อสาร ข้ อมูล (Hardware) ข้ อมูล (Data) สารสนเทศ (Information) โปรมแกรมหรือ ซอฟต์ แวร์ (Software) บุคลากรด้ านคอมพิวเตอร์ (Peopleware) Hardware

Data

Information

Peopleware

Software

องค์ประกอบระบบสารสนเทศทัว่ ไป


4. ขั้นตอนการจัดการระบบสารสนเทศ การจัดระบบสารสนเทศเป็ นการกำาหนดขั้นตอนการดำาเนินงานและ การแก้ปัญหาเพือ่ เพิม่ ประสิ ทธิภาพของงานสารสนเทศ โดยการรวบรวมและ วิเคราะห์ ปัญหา ข้ อมูล วิธีการ ทรัพยากร เพือ่ แก้ปัญหาและประเมินผลลัพธ์ ทีไ่ ด้ ให้ มีประสิ ทธิภาพสู งขึน้ ซึ่งประกอบด้ วย 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่1 การวิเคราะห์ ระบบ (system Analysis) วิธีการวิเคราะห์ ระบบสารสนเทศ แบ่ งออกเป็ น 4 หน่ วยย่ อยคือ 1) วิธีวเิ คราะห์ แนวทางการปฏิบัติงาน (Mission Analysis) คือการ พิจารณาทิศทางในการดำาเนินการและจุดมุ่งหมายของระบบสารสนเทศ เพือ่ บรรลุจุดมุ่งหมายทีต่ ้งั ไว้ ผู้วเิ คราะห์ ต้องรู้ถงึ องค์ ประกอบของกระบวนการ แก้ ปัญหาด้ วยสารสนเทศ โดยกำาหนดจุดมุ่งหมายของการปฏิบัติงานอย่ างก ว้ างๆ ให้ ครอบคลุมสภาพปัญหาไปสู่ สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ เพือ่ เป็ นเกณฑ์ ว่า งานนั้นสำ าเร็จดีหรือไม่ มอี ุปสรรค ข้ อบกพร่ องหรือไม่ อย่ างไร


2) วิเคราะห์ หน้ าที่ (Functional Analysis) เป็ นการกำาหนดหน้ าทีโ่ ดยละเอียดตามทีก่ าำ หนดไว้ในแนวทางปฏิบัติ งานเกีย่ วกับสารสนเทศ 3) วิเคราะห์ งาน (Task Analysis) เป็ นการกำาหนดสิ่ งทีต่ ้ องการกระทำาตามหน้ าทีท่ ไี่ ด้ รับ กำาหนดไว้ ในขั้น การวิเคราะห์ หน้ สที่ การวิเคราะห์ หน้ าทีแ่ ละงานเป็ นสิ่ งขยายขั้นการว เคราะห์ แนวทางปฏิบัติงาน 4) วิเคราห์ วธิ ีการและสื่ อ (Method-Means Analysis) เป็ นการกำาหนดหลักการปฏิบัติกลวิธี และสื่ อทีจ่ ะนำาไปสู่ จุดมุ่งหมาย หรือสิ่ งทีต่ ้ องการ


ขั้นที่ 2 การสั งเคราะห์ ระบบ (System Synthesis) วิธีการสั งเคราะห์ ระบบช่ วยเกลีย่ น้ำ าหนักเนือ้ หาหรือภาระงานของ ขั้นตอนต่ างๆ ให้ มคี วามสมดุลในการแก้ปัญหาซึ่งมีข้นั ตอนย่ อยดังนี้ 1) การเลือวิธีการกรือกลวิธี เพือ่ หาช่ องทางไปสู่ จุดมุ่งหมายแล้ ว ทดสอบและทดลองกลวิธีเพือ่ ปรับปรุ งให้ เหมาะสมกับสารสนเทศทีว่ เิ คราะห์ และสั งเคราะห์ ไว้ 2) ดำาเนินการแก้ ปัญหาด้ วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร โดยเลือกกลวิธีทเี่ หมาะสมทีว่ างแผนแล้วก่อนใช้ กลวิธีน้ันดำาเนินการแก้ปัญา 3) ประเมินผลประสิ ทธิภาพการดำาเนินงาน ดดยการแก้ปัญหาแล้ว ประเมินผลเพือ่ หาประสิ ทธิภาพของผลลัพธืได้


ขั้นที่ 3 การสร้ างแบบจำาลอง (Construct a Model) แบบจำาลองเป็ นการถ่ ายทอดความรู้สึกนึกคิดออกมาเป็ นภาพทีม่ อง เห็นได้ อย่ างชัดเจน ซึ่งอาจเป็ นภาพลายเส้ น หรือรูปสามมิติ แบบจำาลอง ระบบทำาให้ เข้ าใจโครงสร้ าง องค์ ประกอบ และขั้นตอนในการดำาเนินงาน สามารถตรวจสอบหรือทำานายผลทีจ่ ะเกิดขึน้ ก่อนทีจ่ ะนำาระบบไปใช้ จริง ระบบการทำางานแม้ จะมีจุดมุ่งหมายอย่างเดียวกัน แต่ อาจจะมีแบบจำาลอง ระบบไม่ เหมือนกัน


5. ประเภทของระบบสารสนเทศ การจำาแนกสารสนเทศตามจำานวนคนที่ เกีย่ วข้ องในองค์ กร แบ่ งได้ 3 ระดับ คือ ระบบ สารสนเทศระดับบุคคล ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม และระบบสารสนเทศระดับองค์กร ระบบสำรสนเทศระดับบุคคล ระบบสำรสนเทศระดับกลุ่ม ระบบสำรสนเทศระดับองค์กร


1. ระบบสารสนเทศระดับบุคคล ระบบสารสนเทศระดับบุคคล คือ ระบบข้ อมูลทีเ่ สริมประสิ ทธิภาพ และเพิม่ ผลงานให้ บุคลากรในแต่ ละคนในองค์การ ระบบสารสนเทศระดับ บุคคลนีม้ ีแนวทางในการประยุกต์ ทชี่ ่ วยให้ การทำางานในหน้ าทีร่ ับผิดชอบและ ส่ วนตัวของผู้น้ันมีคุณภาพและประสิ ทธิภาพ


2. ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม คือ ระบบสารสนเทศทีช่ ่ วยเสริมการ ทำางานของกลุ่มบุคคล ทีม่ ีเป้ าหมายการทำางานร่ วมกันให้ มี ประสิ ทธิภาพมากขึน้


การประยุกต์ ใช้ งานคอมพิวเตอร์ ในลักษณะของการทำางานเป็ นกลุ่ม สามารถใช้ กบั งานต่ างๆ ได้ เช่ น แสดงตัวอย่ างระบบบริการลูกค้า หรือ การเสนอขายสิ นค้ าผ่ านทาง สื่ อโทรศัพท์ พนักงานในทีมงานอาจจะมีอยู่หลายคนและใช้ เครือ ข่ ายคอมพิวเตอร์ ในการเก็บข้ อมูลกลางของลูกค้ าร่ วมกัน


3. ระบบสารสนเทศระดับองค์ กร ระบบสารสนเทศระดับองค์การ คือ ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนงานของ องค์การในภาพรวม ระบบในลักษณะนี้ จะเกี่ยวข้องกับการปฏิบตั ิงานร่ วมกันของหลาย แผนก โดยกาใช้ขอ้ มูลที่เกี่ยวข้องแลส่ งผ่านถึงกันจากแผนกหนึ่งข้ามไปอีกแผนกหนึ่งด้ ระบบการประสานงานเพือ่ การสร้างรายได้ให้กบั ธุรกิจการค้า เป็ นตัวอย่าง ระบบสารสนเทศระดับองค์การในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการขายสิ นค้า


6. ข้ อมูลและสารสนเทส ในปั จจุบนั การแข่งขันทางธุรกิจต้องอาศัยข้อมูลเป็ นหลักจึงมีการนำาเอา เทคโนโลยีมาช่วยจัดการข้อมูลอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากการแข่งขันการให้ บริ การของธนาคารพาณิ ชย์การใช้ขอ้ มูลในการตัดสิ นใจประกอบการตัดสิ นใจ ลงทุนซื้ อขาย


ข้ อมูล (Data) ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริ งหรื อสาระต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับงานที่ปฏิบตั ิ อาจเป็ นตัวเลข หรื อข้อความที่เกิดขึ้นจาก การ ดำาเนินงาน หรื อที่ได้จากหน่วยงานอื่น ๆ ข้อมูลเหล่านี้ ยัง ไม่สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ ในการตัดสิ นใจได้ทนั ที จะนำาไปใช้ได้กต็ ่อเมื่อผ่าน กระบวนการประมวลผลแล้ว ลัก ษณะข้ อมูล 1. ข้อมูลที่คาำ นวณไม่ได้ ได้แก่ ตัวอักษร ตัวเลข รู ปภาพ รหัสประจำาตัว 2. ข้อมูลที่คาำ นวณได้ ได้แก่ ตัวเลขที่มีความหมายในการคำานวณ ประเภทของข้ อมูล 1. ข้อมูลเพื่อการวางแผน หมายถึง ข้อมูลที่มีความสำาคัญเกี่ยวกับการวางแผนงานการ บริ หาร ใช้ในการควบคุม การตัดสิ นใจ โดยได้มีการสรุ ปเป็ นหมวดหมู่เป็ นตาราง มีการ คำานวณ จัดเรี ยงลำาดับ ซึ่ งเรี ยกกันทัว่ ไปว่า สารสนเทศ 2. ข้อมูลการปฏิบตั ิงาน หมายถึง ข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการปฏิบตั ิงานที่เกิดขึ้นเป็ นประจำา 3. ข้อมูลอ้างอิง หมายถึง ข้อมูลที่เก็บไว้สาำ หรับอ้างอิง


" กล่ำวโดยสรุป ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงที่ ยังไม่ผ่ำนกำรประมวลผล"


สารสนเทศ (Informational)

สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการดำาเนินชีวิตของมนุษย์ หรื ออาจกล่าวได้วา่ สารสนเทศ เกิดจากการนำาข้อมูล ผ่านระบบการประมวลผล คำานวณ วิเคราะห์และแปลความหมายเป็ นข้อความที่สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น สารสนเทศที่เป็ น ความรู ้ที่เกิดจากวิทยุ โทรศัพท์มือถือ ข้อมูลข่าวสาร ต่าง ๆ รอบตัวเราซึ่งอาจมาจาก วิทยุ โทรทัศน์ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ดาวเทียม โทรศัพท์ เครื่ องจักร ที่เกี่ยวกับสารสนเทศได้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ระบบสื่ อสาร โทรคมนาคมสมัยใหม่ เช่น การฝาก ถอนเงินผ่านเครื่ อง ATM การจองตัว๋ เครื่ อง บิน การลงทะเบียน ฯลฯ


คุณสมบัติของข้ อมูลสารสนเทศทีด่ ี ข้ อมูลสารสนเทศทีด่ จี ะต้ องมีคุณสมบัติดงั ต่ อไปนี้ 1. ความถูกต้ อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ ได้จะทำาให้เกิดผลเสี ยอย่างมาก ผูใ้ ช้ไม่กล้าอ้างอิงหรื อนำาเอาไปใช้ ประโยชน์ ซึ่งเป็ นเหตุให้การตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารขาดความแม่นยำา และ อาจมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูล ที่ออก แบบต้องคำานึงถึง กรรมวิธีการดำาเนินงานเพื่อให้ได้ความถูกต้องแม่นยำามากที่สุด โดยปกติ ความผิดพลาดของสารสนเทศ ส่ วนใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้อง ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากคนหรื อเครื่ องจักร การออกแบบระบบจึงต้องคำานึง ถึงในเรื่ องนี้


2. ทันเวลา ข้อมูลสารสนเทศต้องมีลกั ษณะเป็ นปัจจุบนั เสมอ สามารถปรับปรุ ง เปลี่ยนแปลงให้ทนั ท้วงเวลาและเหตุการณ์อยูต่ ลอดเวลา 3. สอดคล้องกับงาน ข้อมูลสารสนเทศต้องสอดคล้องและครอบคลุมกับงานที่กาำ ลัง ดำาเนินการอยู ่ ไม่ใช่ขอ้ มูลอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง 4. สามารถตรวจสอบได้ ข้อมูลสารสนเทศที่ดีตอ้ งสามารถตรวจสอบได้วา่ ถูกต้อง น่าเชื่อถือหรื อไม่ สามารถอ้างอิงและตรวจสอบได้ 5. มีความสมบูรณ์ ครบถ้ วน ข้อมูลสารสนเทศที่ดีจะต้องมีเนื้ อหาสาระรวมถึงขั้น ตอนและกระบวนการหรื อวิธีการครอบคลุมการดำาเนินงานโดยรวม


ชนิดของข้ อมูล ข้อมูลมีหลายชนิดขึ้นอยูก่ บั เกณฑ์ในการจำาแนก ในที่น้ี จาำ แนกข้อมูลตาม ลักษณะการจัดเก็บ แบ่งออกเป็ น 4 ชนิด คือ 1) ข้ อมูลทีเ่ ป็ นตัวเลข คือ ข้อมูลที่ใช้แทนจำานวนที่สามารถนำาไปใช้การคำานวณได้ มี 2 รู ปแบบ 1.1 ข้อมูลที่เป็ นตัวเลขจำานวนเต็ม เช่น ๙ , ๒๐ , ๕๑๕ เป็ นต้น 1.2 ข้อมูลที่เป็ นตัวเลขทศนิยม เช่น ๙.๕, ๒๐.๑๑๖, ๕๑๕.๘๐๗ เป็ นต้น 2) ข้ อมูลทีเ่ ป็ นตัวอักขระ หมายถึง ข้อมูลที่ไม่สามารถนำาไปคำานวณได้ แต่อาจเรี ยง ลำาดับหรื อแจกแจงได้ ได้แก่ ตัวหนังสื อ หรื อเครื่ องหมายต่างๆ 3) ข้ อมูลทีเ่ ป็ นตัวอักษร หมายถึง มีท้ งั ตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์พิเศษต่างๆ 4)ข้ อมูลมัลติมเี ดีย คือ ข้อมูลที่ได้จากการถ่ายภาพ การวาดภาพ ภาพจากโทรทัศน์ หรื อวีดีทศั น์ ข้อมูลที่ได้จากเสี ยงต่างๆที่มีการเก็บบันทึกไว้โดยการจดบันทึกหรื อ บันทึกไว้ในแถบบันทึกเสี ยง


การประมวลผลข้ อมูลให้ เป็ นสารสนเทศ การสร้างสารสนเทศได้ตอ้ งอาศัยกระบวนการรวบรวมและการ ประมวลผลโดยมีวิธีการจัดการดังนี้ 1) ขั้นตอนการประมวลผลข้ อมูล เนื่องจากข้อมูลในโลกนี้ มีมากมายหลายชนิด การจะหาข้อมูลที่ดีได้ จะต้องมีการประมวลผลตามขั้นตอนต่างๆ ที่เหมาะสม ดังนี้ 1. การรวบรวมข้อมูล 2. การบำารุ งรักษาและประมวลผลข้อมูล 3. การจัดการข้อมูล 4. การควบคุมข้อมูล 5. การสร้างสารสนเทศ


2) วิธีการเก็บข้ อมูล ข้อมูลอาจเกิดขึ้นได้เองหรื อ เกิดจากการสร้าง การทดลอง และ การประมวลผล เมื่อต้องการทราบความหมายหรื อคุณค่าสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง เราต้องเก็บข้อมูลของสิ่ งนั้น เพื่อนำามาประมวลผลให้เป็ นสารสนเทศ 1) การสำารวจด้วยแบบสอบถาม 2) การสัมภาษณ์ผทู้ ี่เกี่ยวข้อง หรื อเป็ นเจ้าของข้อมูลอาจใช้วิธี การเก็บข้อมูลด้วยการแจกแบบสอบถามให้กบั กลุ่มเป้ าหมายที่เรา ต้องการทราบข้อมูล ผูต้ อบจะเขียนตอบ หรื อไม่กไ็ ด้ 3) การนับจำานวนหรื อวัดขนาดของตนเอง หรื อโดยใช้อุปกรณ์ อัตโนมัติ เช่น จำานวนต้นไม้ในป่ า


จบการนำาเสนอ ขอบคุณค่ะ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.