Technology and information systems.

Page 1

จัดทำำโดย...

น.ส.พัชรินทร์ มหำหงส์ 544188045 น.ส.วรรณี แท่ นเครือ 544188079 น.ส.สุ ณสิ ำ จะเซิน 544188080


บทที่ 2 เรื่ อง ระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศ


1. ระบบและวิธีกำรเชิงระบบ กำรทำำงำนใดๆ ให้ ประสบผลสำ ำเร็จบรรลุเป้ ำหมำยได้ อย่ ำงมี ประสิ ทธิภำพนั้นย่ อมเกิดจำกพืน้ ฐำนวิธีกำรทีม่ ลี ำำ ดับและขั้นตอน ชัดเจนสำมำรถปฏิบัติซ้ำำๆ ได้ หลำยครั้งอย่ ำงถูกต้ องและสมเหตุสม ผลทุกครั้งไป เรำเรียกกระบวนกำรและขั้นตอนนั้นว่ ำ “ระบบ”


ระบบ (system) หมายถึง การทำางานขององค์ประกอบ ย่อยๆ อย่างอิสระแต่มีปฏิสมั พันธ์ซ่ ึ งกันและกัน จนกลายเป็ น โครงสร้างที่สมบูรณ์ของแต่ละงาน สามารถตรวจสอบและปรับปรุ ง แก้ไขได้ทุกขั้นตอน วิธีเชิงระบบ (System Approach) วิธีเชิงระบบหรื อ วิธีระบบคือคำาๆ เดียวกัน เป็ นกระบวนการคิดหรื อการทำางานอย่างมี แบบแผนชัดเจนในการนำาเนื้ อหาความรู้ดา้ นต่างๆ ซึ่งอาจจะเป็ นวิธี การหรื อผลผลิตมาประยุกต์ใช้อย่างเป็ นขั้นตอน เพื่อให้การดำาเนินงาน บรรลุวตั ถุประสงค์อย่างมีประสิ ทธิภาพ นอกจากนี้ ระบบยังเป็ นการ ช่วยป้ องกันและแก้ไขข้อบกพร่ องที่เกิดขึ้น


องค์ ประกอบของวิธีระบบ วิธีระบบมีองค์ประกอบสำาคัญ 3 ประการ ได้แก่ •ปัจจัยนำาเข้า (Input) หมายถึงวัตถุสิ่งของต่างๆ รวมถึงเหตุการณ์ สถานการณ์ วัตถุประสงค์ ปัญหา ความต้องการ ข้อกำาหนด กฎเกณฑ์ อัน เป็ นต้นเหตุของประเด็นปัญหา •กระบวนการ (Process) หมายถึง วิธีการ ขั้นตอนในการปฏิบตั ิงาน การ สร้างสรรค์ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับเนื้อหาและปัจจัยนำาเข้าให้เป็ นไปตาม วัตถุประสงค์หรื อความต้องการ •ผลลัพธ์ (Output) หมายถึง ผลงานที่ได้จากกระบวนการจัดการวัตถุดิบ หรื อปัจจัยนำาเข้า ผลงานที่ได้อาจจะเป็ นวิธีการหรื อชิ้นงานก็ได้ ซึ่งสามารถ ประเมินผลและตรวจสอบข้อมูลย้อนกลับ (feedback)


2. ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ (Information system) คือ การประมวลผลข้ อมูล ข่าวสารอย่างเป็ นขันตอนและเป็ ้ นกระบวนการเพื่อให้ ข้อมูลในรูปของข่าวสารที่เป็ น ประโยชน์สงู สุด และเป็ นข้ อสรุปที่สามารถนำาไปใช้ สนับสนุนการบริ หาร และการตัดสินใจ ทังในระดั ้ บปฏิบตั กิ าร ระดับกลาง และระดับสูง ระบบสารสนเทศจึงเป็ นระบบที่จดั ตังขึ ้ ้น เพื่อปฏิบตั ิการเกี่ยวกับข้ อมูล ดังต่อไปนี ้ 1.รวบรวมข้ อมูลทังภายใน ภายนอก ที ้ ่จำาเป็ นต่อหน่วยงาน 2.จัดกระทำาเกี่ยวกับข้ อมูลเพื่อให้ เป็ นสารสนเทศที่พร้ อมจะใช้ ประโยชน์ได้ 3.จัดให้ มีระบบเก็บเป็ นหมวดหมู ่ เพื่อสะดวกต่อการค้ นหาและนำาไปใช้ 4.มีการปรับปรุงข้ อมูลเสมอเพื่อให้ อยูใ่ นสภาพที่ถกู ต้ องและเป็ นปั จจุบนั ตลอดเวลา


สารสนเทศโดยทัว่ ไปเป็ นกระบวนการทำางานที่ ประกอบด้วย คน ข้อมูล และเครื่ องจักรสิ่ งที่จาำ เป็ นใน การดำาเนินงานระหว่างองค์ประกอบสามประการนี้ ได้แก่การสื่ อสารข้อมูลระหว่างกัน เพื่อให้การทำางาน สอดคล้องประสานกันในทิศทางที่ตอ้ งการ


3. องค์ ประกอบของระบบสำรสนเทศ ระบบสารสนเทศเป็ นงานที่ตอ้ งใช้ส่วนประกอบหลายอย่าง ในการทำาให้เกิดเป็ น กลไกในการนำาข้อมูลมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ การจำาแนกองค์ประกอบระบบสารสนเทศมีหลายวิธีข้ึนอยูก่ บั เกณฑ์หรื อ วัตถุประสงค์ของแต่ละงานในที่น้ ีจาำ แนกเป็ น 2 ประเภท ได้แก่ 1.องค์ ประกอบหลักของระบบสำรสนเทศ องค์ประกอบหลักของระบบสารสนเทศมีองค์ประกอบหลัก 2 ส่ วน ได้แก่ ระบบการคิด และระบบของเครื่ องมือ ระบบกำรคิด หมายถึง กระบวนการและขั้นตอนในการจัดลำาดับ จำาแนก แจกแจง และจัดหมวดหมู่ขอ้ มูลต่างๆ เพือ่ ความสะดวกในการจัดเก็บและ เผยแพร่


ระบบเครื่องมือ หมายถึง วัสดุอุปกรณ์หรื อเครื่ องมือที่นาำ มาใช้ในการ รวบรวม จัดเก็บ และเผยแพร่ สารสนเทศให้ดาำ เนินไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ปัจจุบนั คอมพิวเตอร์และเครื อข่ายอินเตอร์เน็ตเป็ นเครื่ องมือในการจัด สารสนเทศที่นิยมใช้อย่างแพร่ หลายในองค์กร หน่วยงาน หรื องานธุรกรรม ต่างๆ แทบทุกวงการ จนทำาให้คอมพิวเตอร์และเครื อข่ายอินเตอร์เน็ตกลาย เป็ นสัญลักษณ์ของสารสนเทศ


2. องค์ ประกอบด้ ำนต่ ำงๆ ของระบบสำรสนเทศ เนื่องจากสารสนเทศ เป็ นวิธีการหรื อกระบวนการในการจัดการข้อมูลที่เกี่ยวข้อง กับงานต่างๆ ดังนั้นองค์ประกอบสารสนเทศของงานแต่ละด้านจึงแตกต่างกัน ดังนี้ • องค์ ประกอบของสำรสนเทศด้ ำนจุดมุ่งหมำย ในการแก้ปัญหา มี 4 ประการ ได้แก่ ข้อมูล (Data) สารสนเทศ (Information) ความรู ้ (Knowledge) ปัญญา (Wisdom) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำาเนินงาน Wisdom

Knowledge Information Data

องค์ ประกอบด้ านจุดมุ่งหมายในการแก้ ปัญหา


• องค์ ประกอบของสารสนเทศด้ านขัน้ ตอน ในการดำาเนินงานมี 3 ประการ คือข้ อมูล นำาเข้ า (Input) กระบวนการ (Process) และผลลัพธ์ (Output) การ ทำางานจะเริ่มตังแต่ ้ การเปลี่ยนข้ อมูลดิบที่เข้ ามาสูก่ ารคำานวณประมวลผลหรื อการกลัน่ กรองจนได้ ชิ ้นงานหรื อผลลัพธ์ (output) และจัดเก็บเพื่อนำาออกมาเผยแพร่ในลักษณะ ของสารสนเทศต่อไปนี ้

Input

Process

Output

องค์ ประกอบด้ านกระบวนการในการดำาเนินงาน


• องค์ ประกอบของสารสนเทศในหน่ วยงาน ได้ แก่ บุคคลหรื อองค์กร เทคโนโลยี ข้ อมูล และ ระบบสารสนเทศ เทคโนโลยี

สารสนเทศ ข้ อมูล

บุคคล/องค์ กร


• องค์ ประกอบระบบสำรสนเทศทัว่ ไป (Information Process Systems) ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ดังนี้ คือ เครื่ องคอมพิวเตอร์และเครื อข่ายสื่ อสารข้อมูล (Hardware) ข้อมูล (Data) สารสนเทศ (Information) โปรมแกรมหรื อ ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์ (Peopleware) Hardware

Data

Information

Peopleware

Software

องค์ ประกอบระบบสารสนเทศทั่วไป


4. ขัน้ ตอนการจัดการระบบสารสนเทศ การจัดระบบสารสนเทศเป็ นการกำาหนดขันตอนการดำ ้ าเนินงานและการแก้ ปั ญหาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของงานสารสนเทศ โดยการรวบรวมและวิเคราะห์ปัญหา ข้ อมูล วิธีการ ทรัพยากร เพื่อแก้ ปัญหาและประเมินผลลัพธ์ที่ได้ ให้ มีประสิทธิภาพสูงขึ ้น ซึง่ ประกอบด้ วย 4 ขันตอน ดั ้ งนี ้ ขัน้ ที่1 การวิเคราะห์ ระบบ (system Analysis) วิธีการวิเคราะห์ระบบสารสนเทศ แบ่งออกเป็ น 4 หน่วยย่อยคือ 1) วิธีวเิ คราะห์ แนวทางการปฏิบตั งิ าน (Mission Analysis) คือ การพิจารณาทิศทางในการดำาเนินการและจุดมุง่ หมายของระบบสารสนเทศ เพื่อบรรลุ จุดมุง่ หมายที่ตงไว้ ั ้ ผู้วิเคราะห์ต้องรู้ถงึ องค์ประกอบของกระบวนการแก้ ปัญหาด้ วย สารสนเทศ โดยกำาหนดจุดมุง่ หมายของการปฏิบตั ิงานอย่างกว้ างๆ ให้ ครอบคลุมสภาพ ปั ญหาไปสูส่ ภาพที่พงึ ประสงค์ เพื่อเป็ นเกณฑ์วา่ งานนันสำ ้ าเร็จดีหรื อไม่มีอปุ สรรค ข้ อ บกพร่องหรื อไม่อย่างไร


2) วิเครำะห์ หน้ ำที่ (Functional Analysis) เป็ นการกำาหนดหน้าที่โดยละเอียดตามที่กาำ หนดไว้ในแนวทางปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับ สารสนเทศ 3) วิเครำะห์ งำน (Task Analysis) เป็ นการกำาหนดสิ่ งที่ตอ้ งการกระทำาตามหน้าที่ที่ได้รับ กำาหนดไว้ในขั้นการวิ เคราะห์หน้สที่ การวิเคราะห์หน้าที่และงานเป็ นสิ่ งขยายขั้นการวเคราะห์แนวทาง ปฏิบตั ิงาน 4) วิเครำห์ วธิ ีกำรและสื่ อ (Method-Means Analysis) เป็ นการกำาหนดหลักการปฏิบตั ิกลวิธี และสื่ อที่จะนำาไปสู่ จุดมุ่งหมาย หรื อสิ่ งที่ ต้องการ


ขั้นที่ 2 กำรสั งเครำะห์ ระบบ (System ำ กเนื้อหาหรื อภาระ วิธีการสังเคราะห์ระบบช่วยเกลี่ยน้าหนั Synthesis)

งานของขั้นตอนต่างๆ ให้มีความสมดุลในการแก้ปัญหาซึ่งมีข้ นั ตอน ย่อยดังนี้ 1) การเลือวิธีการกรื อกลวิธี เพือ่ หาช่องทางไปสู่ จุดมุ่ง หมายแล้วทดสอบและทดลองกลวิธีเพือ่ ปรับปรุ งให้เหมาะสมกับ สารสนเทศที่วเิ คราะห์และสังเคราะห์ไว้ 2) ดำาเนินการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่ อสาร โดยเลือกกลวิธีที่เหมาะสมที่วางแผนแล้วก่อนใช้กลวิธีน้ นั ดำาเนินการแก้ปัญา 3) ประเมินผลประสิ ทธิ ภาพการดำาเนินงาน ดดยการแก้ ปัญหาแล้วประเมินผลเพือ่ หาประสิ ทธิ ภาพของผลลัพธื ได้


ขัน้ ที่ 3 การสร้ างแบบจำาลอง (Construct a Model) แบบจำาลองเป็ นการถ่ ายทอดความรู้ สึกนึกคิดออกมา เป็ นภาพที่มองเห็นได้ อย่ างชัดเจน ซึ่งอาจเป็ นภาพลายเส้ น หรื อ รู ปสามมิติ แบบจำาลองระบบทำาให้ เข้ าใจโครงสร้ าง องค์ ประกอบ และขัน้ ตอนในการดำาเนินงาน สามารถตรวจสอบหรื อทำานายผล ที่จะเกิดขึน้ ก่ อนที่จะนำาระบบไปใช้ จริง ระบบการทำางานแม้ จะมี จุดมุ่งหมายอย่ างเดียวกัน แต่ อาจจะมีแบบจำาลองระบบไม่ เหมือนกัน


5. ประเภทของระบบสำรสนเทศ กำรจำำแนกสำรสนเทศตำมจำำนวนคนทีเ่ กีย่ วข้ องใน องค์ กร แบ่ งได้ 3 ระดับ คือ ระบบสำรสนเทศระดับบุคคล ระบบสำรสนเทศระดับกลุ่ม และระบบสำรสนเทศระดับองค์กร ระบบสารสนเทศระดั ระบบสารสนเทศระดับบบุบุคคคล คล ระบบสารสนเทศระดั ระบบสารสนเทศระดับบกลุ กลุ่ ม่ ม ระบบสารสนเทศระดั ระบบสารสนเทศระดับบองค์ องค์กกรร


1. ระบบสารสนเทศระดับบุคคล ระบบสารสนเทศระดับบุคคล คือ ระบบข้ อมูลที่เสริ ม ประสิทธิภาพและเพิ่มผลงานให้ บคุ ลากรในแต่ละคนในองค์การ ระบบ สารสนเทศระดับบุคคลนี ้มีแนวทางในการประยุกต์ที่ชว่ ยให้ การทำางาน ในหน้ าที่รับผิดชอบและส่วนตัวของผู้นนมี ั ้ คณ ุ ภาพและประสิทธิภาพ


2. ระบบสำรสนเทศระดับกลุ่ม ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม คือ ระบบสารสนเทศที่ช่วยเสริ มการทำางาน ของกลุ่มบุคคล ที่มีเป้ าหมายการทำางาน ร่ วมกันให้มีประสิ ทธิภาพมากขึ้น


การประยุกต์ใช้ งานคอมพิวเตอร์ ในลักษณะ ของการทำางานเป็ นกลุม่ สามารถใช้ กบั งานต่างๆ ได้ เช่น แสดงตัวอย่างระบบบริ การลูกค้ า หรื อ การ เสนอขายสินค้ าผ่านทางสื่อโทรศัพท์ พนักงานในทีม งานอาจจะมีอยูห่ ลายคนและใช้ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ในการเก็บข้ อมูลกลางของลูกค้ าร่วมกัน


3. ระบบสำรสนเทศระดับองค์กร ระบบสารสนเทศระดับองค์การ คือ ระบบสารสนเทศที่ สนับสนุนงานขององค์การในภาพรวม ระบบในลักษณะนี้ จะเกี่ยวข้อง กับการปฏิบตั ิงานร่ วมกันของหลายแผนก โดยการใช้ขอ้ มูลที่เกี่ยวข้อง และส่ งผ่านถึงกันจากแผนกหนึ่งข้ามไปอีกแผนกหนึ่งได้ ระบบการประสานงานเพือ่ การสร้างรายได้ให้กบั ธุรกิจการค้า เป็ นตัวอย่างระบบสารสนเทศระดับองค์การในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการ ขายสิ นค้า


6. ข้ อมูลและสารสนเทส ในปั จจุบนั การแข่งขันทางธุรกิจต้ องอาศัย ข้ อมูลเป็ นหลักจึงมีการนำาเอาเทคโนโลยีมาช่วย จัดการข้ อมูลอย่างมาก ดังจะเห็นได้ จากการแข่งขัน การให้ บริ การของธนาคารพาณิชย์การใช้ ข้อมูลใน การตัดสินใจประกอบการตัดสินใจลงทุนซื ้อขาย


ข้ อมูล (Data) ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริ งหรื อสาระต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับงานที่ปฏิบตั ิ อาจเป็ นตัวเลข หรื อข้อความที่เกิดขึ้นจาก การ ดำาเนินงาน หรื อที่ได้จากหน่วยงานอื่น ๆ ข้อมูลเหล่านี้ ยัง ไม่สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ ในการตัดสิ นใจได้ทนั ที จะนำาไปใช้ได้กต็ ่อเมื่อผ่าน กระบวนการประมวลผลแล้ว ลักษณะข้ อมูล 1. ข้อมูลที่คาำ นวณไม่ได้ ได้แก่ ตัวอักษร ตัวเลข รู ปภาพ รหัสประจำาตัว 2. ข้อมูลที่คาำ นวณได้ ได้แก่ ตัวเลขที่มีความหมายในการคำานวณ ประเภทของข้ อมูล 1. ข้อมูลเพื่อการวางแผน หมายถึง ข้อมูลที่มีความสำาคัญเกี่ยวกับการวางแผนงานการบริ หาร ใช้ใน การควบคุม การตัดสิ นใจ โดยได้มีการสรุ ปเป็ นหมวดหมู่เป็ นตาราง มีการคำานวณ จัดเรี ยงลำาดับ ซึ่ งเรี ยก กันทัว่ ไปว่า สารสนเทศ 2. ข้อมูลการปฏิบตั ิงาน หมายถึง ข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการปฏิบตั ิงานที่เกิดขึ้นเป็ นประจำา 3. ข้อมูลอ้างอิง หมายถึง ข้อมูลที่เก็บไว้สาำ หรับอ้างอิง


" กล่ ำวโดยสรุป ข้ อมูล คือ ข้ อเท็จ จริงทีย่ งั ไม่ ผ่ำนกำรประมวลผล"


ข้ อมูลดิบ (Raw data) เรี ยกได้ ว่าเป็ นสิ่ งที่ได้จากการสังเกต ปรากฏการณ์ การกระทำาหรื อลักษณะต่าง ๆ ของวัตถุ สิ่ งของ คน สัตว์ หรื อพืช แล้วบันทึกไว้เป็ น ตัวเลข สัญลักษณ์ ภาพหรื อเสี ยง ที่มี คุณลักษณะหรื อคุณสมบัติอยูใ่ นสภาพเดิม เช่น ก้อนหิ น ต้นไม้ ท่อนฟื น ต้นข้าว ฟาง ำ อน ทราย จาน น้าำ น้าร้


สำรสนเทศ (Informational) สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการดำาเนินชีวติ ของมนุษย์ หรื อ อาจกล่าวได้วา่ สารสนเทศ เกิดจากการนำาข้อมูล ผ่านระบบการประมวลผล คำานวณ วิเคราะห์และแปลความหมายเป็ นข้อความที่สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น สารสนเทศที่เป็ น ความรู ้ที่เกิดจากวิทยุ โทรศัพท์มือถือ ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ รอบตัวเราซึ่งอาจมาจาก วิทยุ โทรทัศน์ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ดาวเทียม โทรศัพท์ เครื่ องจักร ที่เกี่ยวกับสารสนเทศได้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ระบบสื่ อสารโทรคมนาคมสมัย ใหม่ เช่น การฝาก ถอนเงินผ่านเครื่ อง ATM การจองตัว๋ เครื่ องบิน การลงทะเบียน ฯลฯ


คุณสมบัตขิ องข้ อมูลสารสนเทศที่ดี ข้ อมูลสารสนเทศที่ดีจะต้ องมีคุณสมบัตดิ งั ต่ อไปนี ้

1. ความถูกต้ อง หากมีการเก็บรวบรวมข้ อมูลแล้ ว ข้ อมูลเหล่านันเชื ้ ่อถือไม่ได้ จะทำาให้ เกิดผลเสียอย่าง มาก ผู้ใช้ ไม่กล้ าอ้ างอิงหรื อนำาเอาไปใช้ ประโยชน์ ซึง่ เป็ นเหตุให้ การตัดสินใจของผู้บริ หารขาดความแม่นยำา และอาจมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้ างข้ อมูล ที่ออก แบบต้ องคำานึงถึงกรรมวิธีการดำาเนินงานเพื่อให้ ได้ ความถูกต้ องแม่นยำามากที่สดุ โดยปกติความผิดพลาด ของสารสนเทศ ส่วนใหญ่ มาจากข้ อมูลที่ไม่มีความถูก ต้ องซึง่ อาจมีสาเหตุมาจากคนหรือเครื่ องจักร การ ออกแบบระบบจึงต้ องคำานึงถึงในเรื่ องนี ้


2. ทันเวลำ ข้อมูลสารสนเทศต้องมีลกั ษณะเป็ นปัจจุบนั เสมอ สามารถปรับปรุ ง เปลี่ยนแปลงให้ทนั ท้วงเวลาและเหตุการณ์อยูต่ ลอดเวลา 3. สอดคล้ องกับงำน ข้อมูลสารสนเทศต้องสอดคล้องและครอบคลุมกับงานที่ กำาลังดำาเนินการอยู่ ไม่ใช่ขอ้ มูลอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง 4. สำมำรถตรวจสอบได้ ข้อมูลสารสนเทศที่ดีตอ้ งสามารถตรวจสอบได้วา่ ถูก ต้อง น่าเชื่อถือหรื อไม่ สามารถอ้างอิงและตรวจสอบได้ 5. มีควำมสมบูรณ์ ครบถ้ วน ข้อมูลสารสนเทศที่ดีจะต้องมีเนื้ อหาสาระรวมถึง ขั้นตอนและกระบวนการหรื อวิธีการครอบคลุมการดำาเนินงานโดยรวม


ชนิดของข้ อมูล ข้อมูลมีหลายชนิดขึ้นอยูก่ บั เกณฑ์ในการจำาแนก ในที่น้ ี จาำ แนกข้อมูล ตามลักษณะการจัดเก็บ แบ่งออกเป็ น 4 ชนิด คือ 1) ข้ อมูลทีเ่ ป็ นตัวเลข คือ ข้อมูลที่ใช้แทนจำานวนที่สามารถนำาไปใช้การคำานวณ ได้ มี 2 รู ปแบบ 1.1 ข้อมูลที่เป็ นตัวเลขจำานวนเต็ม เช่น ๙ , ๒๐ , ๕๑๕ เป็ นต้น 1.2 ข้อมูลที่เป็ นตัวเลขทศนิยม เช่น ๙.๕, ๒๐.๑๑๖, ๕๑๕.๘๐๗ เป็ นต้น 2) ข้ อมูลทีเ่ ป็ นตัวอักขระ หมายถึง ข้อมูลที่ไม่สามารถนำาไปคำานวณได้ แต่อาจ เรี ยงลำาดับหรื อแจกแจงได้ ได้แก่ ตัวหนังสื อ หรื อเครื่ องหมายต่างๆ 3) ข้ อมูลทีเ่ ป็ นตัวอักษร หมายถึง มีท้ งั ตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์พิเศษต่างๆ 4)ข้ อมูลมัลติมเี ดีย คือ ข้อมูลที่ได้จากการถ่ายภาพ การวาดภาพ ภาพจากโทรทัศน์ หรื อวีดีทศั น์ ข้อมูลที่ได้จากเสี ยงต่างๆที่มีการเก็บบันทึกไว้โดยการจดบันทึกหรื อ บันทึกไว้ในแถบบันทึกเสี ยง


กำรประมวลผลข้ อมูลให้ เป็ นสำรสนเทศ การสร้างสารสนเทศได้ตอ้ งอาศัยกระบวนการ รวบรวมและการประมวลผลโดยมีวธิ ีการจัดการดังนี้ 1) ขั้นตอนกำรประมวลผลข้ อมูล เนื่องจากข้อมูลในโลกนี้ มีมากมายหลายชนิด การ จะหาข้อมูลที่ดีได้จะต้องมีการประมวลผลตามขั้นตอน ต่างๆ ที่เหมาะสม ดังนี้ 1. การรวบรวมข้อมูล 2. การบำารุ งรักษาและประมวลผลข้อมูล 3. การจัดการข้อมูล 4. การควบคุมข้อมูล 5. การสร้างสารสนเทศ


2) วิธีกำรเก็บข้ อมูล ข้อมูลอาจเกิดขึ้นได้เองหรื อ เกิดจากการสร้าง การทดลอง และการประมวลผล เมื่อต้องการทราบความ หมายหรื อคุณค่าสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง เราต้องเก็บข้อมูลของสิ่ ง นั้น เพือ่ นำามาประมวลผลให้เป็ นสารสนเทศ 1) การสำารวจด้วยแบบสอบถาม 2) การสัมภาษณ์ผทู ้ ี่เกี่ยวข้อง หรื อเป็ นเจ้าของ ข้อมูล อาจใช้วธิ ี การเก็บข้อมูลด้วยการแจก แบบสอบถามให้กบั กลุ่มเป้ าหมายที่เรา ต้องการทราบข้อมูล ผูต้ อบจะเขียนตอบ หรื อ ไม่กไ็ ด้ 3) การนับจำานวนหรื อวัดขนาดของตนเอง หรื อโดยใช้อุปกรณ์อตั โนมัติ เช่น จำานวน ต้นไม้ในป่ า


ในการเก็บข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ อาจต้องมีเครื่ องมือวัดพิเศษ เช่น เครื่ องวัด ความเข้มแสง เครื่ องวัดแรงดัน เครื่ องวัด อุณหภูมิ เครื่ องวัดความชื่น โดยเครื่ องมือ เหล่านี้ มีอุปกรณ์พิเศษเป็ นตัวรับรู ้ปริ มาณ ของสิ่ งที่ตอ้ งการวัด เรี ยกว่า ตัวตรวจจับ สัญญาณ หรื อ เซนเซอร์ (Sensors ) หรื อ ทรานดิวเซอร์ (Transducers)


แอลดีอาร์

เทอร์ มิสเตอร์


ข้อความบนระเบียนประวัตินกั เรี ยนด้านบน ทำาให้ทราบว่า เพชร แข็งขัน เป็ นนักเรี ยนชาย เกิดวันที่ 12 ม.ค. 2525 ที่อยูบ่ น ระเบียนประวัตินกั เรี ยนจึงเป็ นข้อมูล


ถ้ามีการนำาข้อมูลเกี่ยวกับปี เกิด ของนักเรี ยนทั้งโรงเรี ยนจาก ระเบียนประวัติไปแจกแจงตามปี เกิดดังนี้

จำานวนนักเรี ยนที่ได้จากการแจกแจง ข้อมูลตามปี เกิดจะเป็ นสารสนเทศที่เกิดจากการนำา ข้อมูลไปทำาการประมวล


เครื่ องคอมพิวเตอร์ และเครื อข่ ายสื่อสารข้ อมูล หมายถึง คอมพิวเตอร์ ที่เป็ นเครื่ องประมวลผลข้ อมูล ซึง่ มีอยู ่ 2 ประเภท คือ 1. สถานีงาน หมายถึง คอมพิวเตอร์ ที่ใช้ งาน ณ จุดที่จดั ไว้ ให้ ผ้ ใุ ช้ มาใช้ ร่วม กัน หรื อจัดไว้ ที่โต๊ ะทำางานของผู้ใช้ แต่ละคน เรี ยกว่า คอมพิวเตอร์ สว่ นบุคคล หมายถึง คอมพิวเตอร์ ที่ผ้ ใู ช้ ใช้ สว่ นตัว เช่น คอมพิวเตอร์ ตงโต๊ ั ้ ะ คอมพิวเตอร์ โน๊ ตบุค

คอมพิวเตอร์ ตงโต๊ ั ้ ะ

คอมพิวเตอร์ โน๊ ตบุค


2.เครื่องบริกำร เป็ นเครื่ องขนาดใหญ่ ที่ใช้ร่วมกันหลายคนเป็ นเครื่ องที่ใช้เก็บฐาน ข้อมูลหรื อโปรแกรมสำาเร็ จประยุกต์จาำ นวนมาก ที่สามารถใช้ร่วมกันโดยการสัง่ งานด้วย คอมพิวเตอร์ เครื่ องบริ การจะมีโปรแกรม ควบคุมการทำางานซึ่งเรี ยกว่า ระบบปฏิบตั ิการ เครื อข่าย


Linux server

UNIX server


เครือข่ ำยสื่ อสำรข้ อมูล คือ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ซ่ ึงใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกันให้ สามารถใช้ขอ้ มูลร่ วมกัน โดยใช้สายสื่ อสารข้อมูลที่ทาำ จากทองแดงหรื อ เส้นใยแก้วนำาแสง นิยมแบ่งเครอข่ายตามขนาดพื้นที่และจำานวนเครื่ องที่ใช้งาน ได้แก่ 1. แลน (LAN) คือเครื อข่ายบริ เวณเฉพาะที่ จำากัดเขตเฉพาะภายใน บริ เวณอาคารหรื อกลุ่มอาคารที่อยูใ่ กล้กนั 2. แวน (WAN) คือเครื อข่ายบริ เวณกว้าง ระยะทาง มากกว่า10 กิโลเมตรขึ้นไปจนมากกว่าหลายพันกิโลเมตร 3. อินเทอร์เน็ต (Internet) คือเครื อข่ายขนาดใหญ่


จบการนำาเสนอ ขอบคุณคะ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.