สารม.อ. ปีที่ 23 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2557

Page 1

ม.อ.จับมือ อบจ.สงขลา ปรับภาพลักษณ์สินค้าท้องถิ่น ให้มีเอกลักษณ์เน้นการใช้ความคิดสร้างสรรค์ 4-5 นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. พบสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ชนิดใหม่ของโลก 3 ชนิด 10-11 กรมวิทยาศาสตร์บริการทุ่มงบ 10 ล้าน จับมือ มอ. ยกระดับคุณภาพสินค้า โอทอปในพื้นที่ภาคใต้ สู่การรับรองมาตรฐาน 12-13 ม.อ.รับรางวัลยอดเยี่ยม มหาวิทยาลัยที่ส่งเสริม งานอาสา จัดโดยองค์การจิตอาสาภาครัฐ-เอกชน 16-17 ศ.ดร.เกษม สุวรรณกุล กับ 36 ปี เพื่อ ม.อ. 18-19


รอบรั้วศรีตรัง

คณะวิทยาการจัดการ ม.อ.ลงนามความร่วมมือทางวิชาการสหกิจศึกษา

กับ บริษัท เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ผศ.จงพิ ศ ศิ ริ รั ต น์ คณบดี ค ณะ วิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ ผศ.ยุ พ าวดี สมบู ร ณกุ ล รองคณบดี ฝ ่ า ยวิ ช าการและบั ณ ฑิ ต ศึกษา และ อาจารย์เยาวเรศ เลขะกุล พรหมอินทร์ หัวหน้าสาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ คณบดี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ลงนามความ ร่วมมือด้านสหกิจศึกษา กับบริษัท เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด

ประกอบด้วยคุณจารุวรรณ งามพิสุทธิ์ไพศาล ผู้อ�ำนวยการฝ่าย ทรัพยากรบุคคล บริษัท เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด คุณวรกมล ศรี แ ก้ ว ผู ้ จั ด การแผนกทรั พ ยากรบุ ค คล บริ ษั ท เซ็ น ทรั ล รี เ ทล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด และคุณอมรรัตน์ แซ่โค้ว ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากร บุคคล บริษัท เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2557 ณ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อให้ นั ก ศึ ก ษาได้ เ รี ย นรู ้ จ ากประสบการณ์ ต รงจากการปฏิ บั ติ ง านจริ ง ณ สถานประกอบการ ด้วยความร่วมมือจากบริษัท เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด

ทีมดงยางคว้ารางวัลชนะเลิศ

โรงไฟฟ้าจะนะเข้ามอบเงินเพื่อสนับสนุน กิจกรรมคอนเสิร์ตเพื่อการกุศล

ถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ และรางวัลเทคนิค ยอดเยี่ยม จากการแข่งขันหุ่นยนต์เพื่อนอัจฉริยะ

ชิงแชมป์ประเทศไทยประจ�ำปี 2557

มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ แสดงความยิ น ดี กั บ ทีมดงยาง คว้ารางวัลชนะเลิศ ถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ และรางวั ล เทคนิ ค ยอดเยี่ ย ม จากการแข่ ง ขั น หุ ่ น ยนต์ เ พื่ อ น อัจฉริยะชิงแชมป์ประเทศไทยประจ�ำปี 2557 เมื่อวันที่ 14 -16 กุมภาพันธ์ 2557 ณ เอสซีจี เอ็กซพีเรียนซ์

เมื่ อ วั น ที่ 24 มกราคม 2557 ที่ผ่านมา คุณด�ำรงค์ ไสยะ Neer’16 ตั ว แทน จากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย(โรงไฟฟ้ า จะนะ) เข้าพบคณะผู้บริหาร คณะวิ ท ยาศาสตร์ ม.อ. และมอบเงินจ�ำนวน 100,000 บาท เพื่อเป็นเงินสนับสนุนกิจกรรม คอนเสิร์ตเพื่อการกุศลคณะวิศวกรรมศาสตร์ โดยมี รศ.คณดิ ถ เจษฎ์พัฒนานนท์ รองคณบดีฝ่ายบริการวิชาการและองค์กรสัมพันธ์ เป็นตัวแทนคณะผู้บริหารในการรับมอบเงินในครั้งนี้


มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ปีที่ 23 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2557

สารบัญ รอบรั้วศรีตรัง

วิจัย

6-7 สถานวิจัยวิศวกรรมฟื้นฟู ม.อ. เพื่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 2 คณะวิทยาการจัดการ ม.อ.ลงนามความร่วมมือทางวิชาการสหกิจ ศึกษา กับ บริษัท เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด และผู้พิการแห่งแรกในภาคใต้ 8-9 คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. จัดกิจกรรมพบสื่อมวลชน น�ำเสนองาน 10-11 นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. พบสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม วิจัย เผยแพร่องค์ความรู้ใหม่สู่ชุมชน ชนิดใหม่ของโลก 3 ชนิด 23 บัณฑิต ม.อ. ต้องท�ำงานเป็น และมีคุณธรรม แนะน�ำหน่วยงาน/บุคคล 24-25 ม.อ.ตรัง เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันโต้วาทีระดับอุดมศึกษา ในจังหวัดตรัง ครั้งที่ 1 14 นายกสโมสรฯ คนใหม่ เน้นสร้างกิจกรรมสานสัมพันธ์ 30 ผู้บริหารมหาวิทยาลัย เยี่ยมคารวะในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ 2557 เชิญชมรมบุคลากรร่วมมือจัดกิจกรรม 31 พิธีพระราชทานเพลิงศพอาจารย์ใหญ่ เป็นกรณีพิเศษ แก่ผู้อุทิศ 18-19 ศ.ดร.เกษม สุวรรณกุล กับ 36 ปี เพื่อ ม.อ. ร่างกายเพื่อการศึกษาประจ�ำปีการศึกษา 2556 20-21 ดร.กันตธีร์ ศุภมงคล ชื่นชม ม.อ. ให้ความส�ำคัญกับการวิจัย มุ่งพัฒนาระบบการศึกษา เน้นสอนวิธีคิด สู่...ชุมชน สังคม 30 แสดงความยินดีกับศิษย์เก่าฯที่ได้รับการแต่งตั้งป็น 4-5 ม.อ.จับมือ อบจ.สงขลา ปรับภาพลักษณ์สินค้าท้องถิ่นให้มี กรรมการผู้จัดการ บ.อินเทล ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ เอกลักษณ์เน้นการใช้ความคิดสร้างสรรค์ 32-33 อาภรณ์ พงษหา คนท�ำงาน... การันตีด้วย 4 รางวัลคุณภาพ 12-13 กรมวิทยาศาสตร์บริการทุ่มงบ 10 ล้าน จับมือ มอ. ยกระดับ คุณภาพสินค้า โอทอปในพื้นที่ภาคใต้ สู่การรับรองมาตรฐาน สู่ประชาคมอาเซียน

ศิลปะและวัฒนธรรม/กีฬา 35 ศูนย์ส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม ม.อ.จัดประกวดภาพถ่าย “@PSU…Life Style = Life Skill”

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ 15 นักศึกษา ม.อ. ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมสัมมนาเยาวชนระหว่าง ญี่ปุ่น-อาเซียน โครงการ JENESYS 2.0 16-17 ม.อ.รับรางวัลยอดเยี่ยม มหาวิทยาลัยที่ส่งเสริมงานอาสา จัดโดยองค์การจิตอาสาภาครัฐ-เอกชน 22 นักศึกษาสถาปัตย์ มอ. คว้า 2 รางวัลใหญ่ ในงาน “สถาปนิก ทักษิณ 2557”

26-27 นักศึกษา ม.อ.ปัตตานี ได้รับทุนฝึกอบรมภาษาและวัฒนธรรม อาหรับ ณ กรุงดูไบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

การศึกษา 34 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เข้าร่วมจัดนิทรรศการตลาดนัด หลักสูตรอุดมศึกษา ครั้งที่ 18 ณ ม.เชียงใหม่ ม.เกษตรศาสตร์ และม.ขอนแก่น

บริการวิชาการ 28-29 ม.อ.ร่วมกรรมาธิการพลังงาน วุฒิสภา ส่งเสริมพลังงานทดแทน ชุมชน สารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็ น สื่ อ กลางประชาสั ม พั น ธ์ ภารกิ จ ของมหาวิ ท ยาลั ย ให้ กั บ หน่ ว ยงานภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัยโดยมุ่งเน้นหน่วยงานภาครัฐและเอกชน สื่อสร้างความเข้าใจ ที่จะท�ำให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวรู้จักมหาวิทยาลัยมากยิ่ งขึ้ น และจะเป็ นจดหมายเหตุ หรือบันทึกความทรงจ�ำภารกิจของสถาบัน

23 กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

3


สู่...ชุมชน/สังคม

ศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ลงนามบันทึกข้อตกลง กั บ นายนิ พ นธ์ บุ ญ ญามณี นายกองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด สงขลา ในโครงการ ครี เ อที ฟ สร้ า งเมื อ ง โดยศู น ย์ ส ร้ า งสรรค์ ง านออกแบบ (ครี เ อที ฟ แลป) มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ จะปรั บ ภาพลั ก ษณ์ สิ น ค้ า ชุ ม ชนให้ มี เ อกลั ก ษณ์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย ว สร้ า ง จุ ด ขายประจ� ำ ท้ อ งถิ่ น และเชื่ อ มโยงสู ่ เ ครื อ ข่ า ยสากล ในอนาคตเมื่ อ วั น ที่ 7 มี น าคม 2557 ณ อ.สิ ง หนคร จั ง หวั ด สงขลาโดยมี น ายศั ก ดิ์ ก รี ย า บิ ล แสละ ประธานกรรมการอิ ส ลาม จั ง หวั ด สงขลา นายธนากร จั น ทร์ ส ว่ า ง รองนายกองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด สงขลา รศ.ดร.พี ร ะพงศ์ ที ฆ สกุ ล รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยระบบวิ จั ย และบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา รศ.ดร.สุ ธ รรม นิ ย มวาส ผู้อ�ำนวยการส�ำนัก วิจัย และพั ฒ นา มหาวิ ท ยาลั ยสงขลานคริ น ทร์ ร่ ว มเป็ น เกี ยรติ ในพิธีลงนาม

ม.อ.จับมือ อบจ.สงขลา ปรับภาพลักษณ์สินค้าท้องถิน่ ให้มีเอกลักษณ์ เน้นการใช้ความคิด สร้างสรรค์

ายนิพนธ์ บุญญามณี นายกองค์การบริหารส่วน จังหวัดสงขลา กล่าวว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัด สงขลา ตระหนักถึงความส�ำคัญ ในการประสานความร่วมมือ ในการส่ ง เสริ ม พั ฒ นาเศรษฐกิ จ สั ง คม ทรั พ ยากรธรรมชาติ การศึ ก ษาและเทคโนโลยี โดยจะร่ ว มมื อ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ ปรับภาพลักษณ์ของสินค้าชุมชน ให้มีความ โดดเด่น เน้นการใช้ความคิดสร้างสรรค์เพื่อยกระดับ สินค้าให้ มีประสิทธิภาพ ยกระดับทรัพยากรของท้องถิ่น ไปสู่สากล และ สร้างมูลค่าเพิ่ม ซึ่งจะส่งผลกระทบในเชิงบวก สร้างรายได้ที่

4

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

มั่นคงให้กับชุมชน ขับเคลื่อนการสร้าง ภาพลักษณ์ ตราสินค้าจังหวัดสงขลา ที่สื่อถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น และสร้างจุด ขาย สร้ า งแบรนด์ เ นมประจ� ำ ท้ อ งถิ่ น เพื่ อ สามารถสนองความต้ อ งการของ กลุ ่ ม ผู ้ บ ริ โ ภค สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ สินค้าและภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้กลาย เป็นของฝากประจ�ำจังหวัดสงขลา เป็น ช่ อ งทางที่ จ ะช่ ว ยชุ ม ชนให้ มี ร ายได้ รวมทั้ ง ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วภายใน จังหวัด นอกเหนือการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ท้องถิ่นแล้ว ยังมีการออกแบบพัฒนา พื้ น ที่ ส าธารณะ การบริ ก ารวิ ช าการ ร่ ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ โดยศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบช่วยด�ำเนินการ รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ กล่าวว่า มหาวิทยาลัยต้องการจะพัฒนาเศรษฐกิจ อย่ า งยั่ ง ยื น เพิ่ ม มู ล ค่ า ให้ กั บ สิ น ค้ า พั ฒ นาจั ง หวั ด สงขลา ไปสู ่ ส ากล ให้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางเศรษฐกิ จ สั ง คม การศึ ก ษา การท่องเที่ยว การกีฬา เป็นเมืองท่องเที่ยว เป็นประตูสู่อาเซียน พัฒนาให้เป็นฐานความรู้ บนพื้นฐานพหุวัฒนธรรม และหลัก เศรษฐกิจพอเพียง ด้วยความเป็นผู้น�ำทางวิชาการและเชื่อม โยงสู่สากล โดยมีศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ เพื่อเพิ่มมูลค่า


ของทรัพยากรในท้องถิ่น พื้นที่สาธารณะ และกิจกรรมต่างๆ ไปสู่ สากล การเปลี่ยนแปลงจะมีผลทางเศรษฐกิจ ให้มีการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง ในการเพิ่มมูลค่าให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น ม.อ.จึงจับมือกับองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา โดย วิธีการ 1. การออกแบบผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นเอกลักษณ์ท้องถิ่นโครงการ หนึ่งต�ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ซึ่งเป็นเสมือน ดีเอ็นเอ จังหวัดสงขลาเช่น ผลิตภัณฑ์จากต้นตาล 2. การออกแบบและพัฒนาพื้นที่สาธารณะ ของจั ง หวั ด สงขลา 3.การรณรงค์ เ ผยแพร่ จั ง หวั ด สงขลา จะมี การบูรณาการและด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง จะส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ สร้ า งสรรค์ ข องจั ง หวั ด สงขลามี มู ล ค่ า สู ง ขึ้ น มี ก ารลงทุ น สู ง ขึ้ น และมีการเคลื่อนย้ายของบุคลากรที่มีศักยภาพสูง เข้ามาในพื้นที่ นายฮัดสัน สิริสุวพงศ์ ผู้อ�ำนวยการศูนย์สร้างสรรค์งาน ออกแบบ กล่ า วว่ า จะมี ก ารพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากต้ น ตาล ซึ่ ง แสดงอัตลักษณ์ จังหวัดสงขลา ให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล และสินค้าOTOP ของจังหวัดสงขลาให้เป็นที่ยอมรับ ร่วมกับ อบจ. และภาคเอกชน เช่น บริษัท หาดใหญ่แคนนิ่ง จ�ำกัด

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

5


การวิจัย

สถานวิจัยวิศวกรรมฟื้นฟู ม.อ. เพื่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการ

แห่งแรกในภาคใต้

นโอกาสที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จ พระราชด�ำเนินมาทรงเปิด “อาคารวิจัยวิศวกรรมประยุกต์ สิรินธร” คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2557 ได้ ทอดพระเนตรนิทรรศการผลงานสถานวิจัยวิศวกรรมฟื้นฟู ซึ่งประกอบด้วย การพัฒนาเท้าเทียมน�้ำหนักเบา และ การฟื้นฟูกล้ามเนื้อด้วยการออกก�ำลังกาย ผ่านเกมส์ ซึ่งเป็นการเล่นเกมส์ด้วย biofeedback จากสัญญาณไฟฟ้ากล้ามเนื้อ เพื่อช่วยเสริมและฟื้นฟูความแข็งแรงให้กับกล้ามเนื้อ โดยผู้สูงอายุไม่เกิดความ เบื่อหน่ายในการออกก�ำลังกาย มีการออกก�ำลังกายสม�่ำเสมอเพื่อความส�ำเร็จ ในการฟื้นฟูรักษา สามารถใช้ส่วนตัวที่บ้านได้ราคาไม่แพง เกมส์ดังกล่าวมีการ วัดอัตราการออกแรงเพื่อการเอาชนะ เช่น เกมส์กระโดดก�ำแพงที่ถ้าออกแรงน้อย ตัวการ์ตูนในเกมส์จะกระโดดข้ามก�ำแพงไม่พ้น เป็นต้น

รศ.บุญเจริญ วงค์กิตติศึกษา

6

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

ศ.บุ ญ เจริ ญ วงศ์ กิ ต ติ ศึ ก ษา ผู ้ อ� ำนวยการสถานวิ จั ย วิ ศ วกรรมฟื ้ น ฟู เปิดเผยว่า สถานวิจัยวิศวกรรมฟื้นฟู จัดตั้งขึ้นภายใต้การสนับสนุนของ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรือ NECTEC เพื่อเป็น ศูนย์วิจัยเฉพาะทางวิศวกรรมฟื้นฟูแห่งแรกในภาคใต้ ตามแนวพระราชด�ำริของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงให้ความส�ำคัญกับผู้สูงอายุ และ ผู้พิการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้พิการจากความไม่สงบ ทั้งพิการทางการเคลื่อนไหว สูญเสียทางการได้ยิน และพิการทางสายตา โดยมีการวิจัยและพัฒนา องค์ความรู้ และผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิต ให้กับผู้สูงอายุและผู้พิการ และร่วมมือกับคณะ แพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โรงพยาบาล ศู น ย์ ใ นจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ เป็ น เครื อ ข่ า ยบริ ก ารด้ า นการฟื ้ น ฟู ส มรรถภาพ ผู้พิการใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้และร่วมกันพัฒนาอุปกรณ์เครื่องช่วยความ พิการ


ผลงานวิจัยของศูนย์ความรู้เฉพาะด้านวิศวกรรมฟื้นฟู สถานวิจัยวิศวกรรมฟื้นฟู ที่ผ่านมาประกอบด้วย เทคโนโลยี ส�ำหรับคนพิการด้านร่างกายและอุปกรณ์การฟื้นฟูสมรรถภาพ เช่ น เครื่ อ งทดสอบเท้ า เที ย ม อุ ป กรณ์ ช ่ ว ยยกและเคลื่ อ น ย้ า ยผู ้ ป ่ ว ย ระบบเฝ้ า ระวั ง การเกิ ด แผลกดทั บ รถเข็ น ไฟฟ้ า ราคาถูกใช้ง่าย เตียงปรับมุมยืนและปรับการเอียง การจดจ�ำ รู ป แบบสั ญ ญาณไฟฟ้ า กล้ า มเนื้ อ ส� ำ หรั บ ระบบควบคุ ม ที่ ใ ช้ สั ญ ญาณไฟฟ้ า กล้ า มเนื้ อ หลายฟั ง ก์ ชั น เทคโนโลยี ส� ำ หรั บ คนพิ ก ารด้ า นการมองเห็ น เช่ น คอมพิ ว เตอร์ พ กพา ที่มีคีย์บอร์ดและจอภาพแสดงผลเป็นอักษรเบรลล์ อุปกรณ์ แสดงผลกราฟิกส�ำหรับผู้พิการด้านการมองเห็น การพัฒนา ระบบช่วยการอ่านหนังสือเสียง ตามมาตรฐานเดซี่จากเครือ ข่ า ยโทรศั พ ท์ แ ละอิ น เตอร์ เ น็ ต เทคโนโลยี ส� ำ หรั บ คนพิ ก าร ด้านการสื่อสาร เช่น อุปกรณ์ขยายสัญญาณจากกล่องเสียง แบบพกพา ผู ้ สู ง อายุ แ ละการด� ำรงชี วิ ต เช่ น ระบบตรวจจั บ การเคลื่ อ นไหวโดยใช้ก ารประมวลผลภาพจาก IP Camera ระบบเฝ้าดูและตรวจจับการล้มส�ำหรับผู้สูงอายุ

“ปัญหาที่เกิดจากการใช้เ ทคโนโลยี คือ ผูส้ งู อายุจะไม่คนุ้ เคยกับการเล่นเกมส์ ซึ่งเป็นที่นิยมของของวัยรุ่น จึงต้องมี การคิ ด เกมส์ ที่ จู ง ใจผู ้ สู ง อายุ รวมทั้ ง การติ ด อุ ป กรณ์ ต ามร่ า งกายจะท� ำ ให้ ผู ้ สู ง อายุ รู ้ สึ ก ร� ำ คาญและเกิ ด ความ ไม่ ส ะดวก จึ ง ต้ อ งมี ก ารค้ น คว้ า วิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นาด้ า นอุ ป กรณ์ ใ ห้ มี ข นาด กะทั ด รั ด ไม่ ซั บ ซ้ อ น ไม่ ขั ด ขวางชี วิ ต ประจ�ำวัน” รศ. บุญเจริญ วงศ์กิตติศึกษา กล่าว

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

7


รอบรั้วศรีตรัง

คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. จัดกิจกรรมพบสื่อมวลชน น�ำเสนองานวิจัย เผยแพร่องค์ความรู้ใหม่สู่ชุมชน

ณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ น�ำเสนอผลงานวิจัยของคณาจารย์ และนักศึกษาที่ร่วมกันผลิตองค์ความรู้ด้านวิชาการที่ เป็นประโยชน์ต่อสังคม ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีบทบาทส�ำคัญเกี่ยวข้องกับการด�ำรงชีวิตประจ�ำวัน เชิญสื่อมวลชน ร่วมเผยแพร่ผลงานวิจัยสู่ชุมชน เมื่อ วันที่ 24 มกราคม ที่ผ่านมา ณ ห้องนิทรรศการ ตึก ปฏิบัติการคณะวิทยาศาสตร์ BSC คณะวิทยาศาสตร์ โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.วิไลวรรณ โชติเกียรติ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ ดร.ภูวดล ธนะเกียรติไกร ผู ้ ช ่ ว ยคณบดี ฝ ่ า ยวิ เ ทศสั ม พั น ธ์ แ ละประชาสั ม พั น ธ์ พร้ อ มด้ ว ยผู ้ บ ริ ห ารคณะ และ ที ม นั ก วิ จั ย ร่ ว มจั ด นิทรรศการและน�ำเสนอผลงาน

รองศาสตราจารย์ ดร. วิ ไ ล ว ร ร ณ โ ช ติ เ กี ย ร ติ คณบดี ค ณะวิ ท ยาศาสตร์ กล่ า วว่ า คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผลิตงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ มีการพัฒนาองค์ความรู้และ ทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพให้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผลจาก การศึ ก ษาวิ จั ย สามารถพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ให้ ดี ขึ้ น เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ สามารถแข่ ง ขั น กั บ นานาประเทศ จึงต้องเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ที่มีประโยชน์ต่อ ประชาชนโดยงานวิจัยเด่นๆ ที่น�ำเสนอในครั้งนี้ เป็นงานวิจัยที่ เป็นประโยชน์และสามารถใช้งานได้อย่างเป็นรูปธรรม ได้แก่ ชุ ด ทดสอบสั ง กะสี ภ าคสนามในดิ น และในยางพารา โดย ผศ.ดร. วรากร ลิ่ ม บุ ต ร ภาควิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ ป ระยุ ก ต์ หัวหน้าทีมวิจัย เป็นชุดทดสอบสังกะสี ในน�้ำยางพาราเพื่อลด การหนื ด ของน�้ ำ ยางพารา ซึ่ ง น�้ ำ ยางพาราหากเกิ ด การหนื ด เกินไปจะเกิดครีมแข็งขณะให้ความร้อนในกระบวนการขึ้นรูป ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ไม่ได้มาตรฐาน อีกทั้งชุดทดสอบดังกล่าว สามารถทดสอบปริมาณ สังกะสีในดินและปุ๋ย แก้ปัญหาให้ แก่ เ กษตรกรโดยเฉพาะพื้นที่เพาะปลูก พืชที่ไ วต่อ ภาวะขาด สังกะสี เช่น ข้าว ข้าวโพด ถั่ว ชา กาแฟ หากพืชได้รับสังกะสี

8

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

ในปริ ม าณไม่ เ พี ย งพอ ส่ ง ผลให้ ผ ลผลิ ต ทางการเกษตรต�่ ำ คุณภาพไม่ดี เป็นโรคได้ง่าย จุดเด่นของชุดทดสอบดังกล่าว สามารถใช้ได้ง่าย ราคาถูก พกพาได้สะดวก ใช้เวลาตรวจวัด ภายใน 5 นาที ผู ้ ส นใจสอบถามรายละเอี ย ด ได้ ท่ี ภาควิ ช า วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. โทร. 0 7428 8563 โครงการปลู ก ฝั ง คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมโดยผ่ า น อาจารย์ ใ หญ่ “ครู ผู ้ ไ ร้ เ สี ย ง” โดย ผศ.ดร. อุ ร าพร วงศ์วัชรานนท์ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ โครงการดังกล่าว จั ด ขึ้ น เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาแพทย์ ทั น ตแพทย์ พยาบาล เภสั ช กายภาพบ� ำ บั ด แพทย์ แ ผนไทย และเทคนิ ค การแพทย์ ได้ ศึกษาเรียนรู้จากร่างอาจารย์ใหญ่ ผู้อุทิศร่างกายเพื่อการเรียน การสอน และปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้แก่นักศึกษา ปลูกฝัง ค่านิยม “ขอให้ถือประโยชน์ส่วนตนเป็นที่สอง ประโยชน์ของ เพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง ” บูรณาการการเรียนการสอนกับการ ท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม โดยผ่านพิธีไหว้ครู (อาจารย์ใหญ่) และการจัดพิธีพระราชทานเพลิงศพอาจารย์ใหญ่ เป็นกรณี พิเศษ ผู้ประสงค์จะบริจาคร่างกายติดต่อได้ที่ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ โทร. 0 7428 8131 ดาวน์ โ หลด แบบฟอร์มได้ที่ www.sc.psu.ac.th/Department/Anatomy


แอปพลิเคชันค�ำนวณเวลาละหมาดพร้อมระบุทิศ กิบลัตบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ โดย ผศ.เถกิ ง วงศ์ ศิ ริ โ ชติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อ สาร แอปพลิ เ คชั น ดั ง กล่ า วออกแบบให้ ท� ำ งาน อย่างเรียบง่ายส่งเสริมการปฏิบัติศาสนกิจของชาวมุสลิมให้ มีความสะดวกถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม มีเมนูส�ำหรับ การแสดงทิศทางการละหมาด (กิบลัต)ในรูปแบบเข็มทิศและ ชี้ไปยังทิศทางการละหมาด บอกเวลาละหมาด ค�ำนวณเวลา ละหมาดทั้ง 5 เวลา มีเมนูตั้งค่า และเมนูช่วยเหลือ ผู้สนใจ ใช้ แ อปพลิ เ คชั น ค� ำ นวณเวลาละหมาดบนอุ ป กรณ์ เ คลื่ อ นที่ ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เวอร์ชัน 1.0 ได้ที่ Google Play หรือ https://play.google.com/store/apps/details? Id=th. ac.psu.sci.ict.qiblat.PrayTimes โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย INFOGRAFHIC สื่อทางเลือกใหม่ของคนไทยในยุค ที่อ่านหนังสือน้อยลง โดย อาจารย์คมวิทย์ สุรชาติ สาขา วิ ช าเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร อิ น โฟกราฟิ ก ส์ เป็นการแสดงผลข้อมูลหรือความรู้โดยภาพที่อ่านและเข้าใจ ง่ายโดยเป็นการย่อยข้อมูลทางสถิติ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ หรือความรู้อื่นๆ ให้เหลือแต่ใจความส�ำคัญ เพื่อจุดประกาย ให้ผู้อ่านสนใจ ปัจจุบันอินโฟกราฟิกส์เป็นสื่อที่นิยมแพร่หลาย ในสื่ อ สั ง คมออนไลน์ อ ย่ า งเฟชบุ ค องค์ ก รต่ า งๆ ได้ เ ล็ ง เห็ น ช่องทางในการประชาสัมพันธ์และเข้าถึงผู้อ่านได้อย่างอิสระ ผ่านช่องทางนี้ อินโฟกราฟิกส์สามารถท�ำให้ผู้อ่านจดจ�ำเรื่อง ที่ ต ้ อ งการน� ำ เสนอได้ น านกว่ า การใช้ เ พี ย งข้ อ ความเพี ย ง อย่างเดียว อีกทั้งยังสามารถใช้ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ ผลงานการวิจัยที่ต้องการจะเผยแพร่ไปยังชุมชน การพิ สู จ น์ ผ ลของใบกระท่ อ มต่ อ สมองด้ ว ย เอกลั ก ษณ์ คลื่ น ไฟฟ้า สมอง โดย ผศ.ดร.เอกสิท ธิ์ กุ ม าร เวชสิทธิ์ ภาควิชาสรีรวิทยา ซึ่งเป็นการพิสูจน์โดยการผ่าตัด ฝังอิเล็กโตรดในหนูทดลอง ทั้งนี้การท�ำงานของสมองมีความ ซั บ ซ้ อ นประกอบด้ ว ยกลุ ่ ม เซลล์ ป ระสาทจ� ำ นวนมาก มี ก าร ส่ ง สั ญ ญาณเชื่ อ มโยงระหว่ า งกั น เกิ ด คลื่ น ไฟฟ้ า ที่ ส ามารถ บันทึกและวิเคราะห์ความถี่ของคลื่นที่เปลี่ยนแปลงในรูปแบบ ต่างๆ เมื่อมีการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบคลื่นไฟฟ้า สมองและปัจจัยที่ได้รับ เช่นการได้รับยากล่อมประสาทหรือยา กระตุ้นประสาท จนกระทั่งสามารถยืนยันความจ�ำเพาะของ รูปแบบคลื่นไฟฟ้าสมองกับชนิดของยาได้แล้วก็สามารถน�ำ

ลักษณะรูปแบบคลื่นที่วิเคราะห์ได้มาใช้เป็นเอกลักษณ์คลื่น ไฟฟ้าสมอง ของยาชนิดนั้นๆ รวมทั้งสารสกัดจากพืชสมุนไพร เช่น กระท่อม ส�ำหรับเก็บไว้เป็นฐานข้อมูล เพื่อยกระดับงานวิจัย ด้านระบบประสาทและสมุนไพรของไทย การค้นพบเอกลักษณ์ คลื่นไฟฟ้าสมองของพืชกระท่อม ท�ำให้สามารถอธิบายกลไก ระดั บ สมองได้ อ ย่ า งเป็ น รู ป ธรรมและน� ำ ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ไ ด้ อย่างมีหลักการ ล่าสุดได้น�ำอัลกอริธึม มาประยุกต์จนได้วิธี น�ำเสนอเอกลักษณ์คลื่นไฟฟ้าสมอง ส�ำหรับการแจงผลของ ยาหรือสารออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม

พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานธรรมชาติ วิ ท ยา 50 พรรษา สยามบรมราชกุมารี ได้จัดนิทรรศการความลับของกระดูก นิทรรศการบ้านสัตว์ นอกจากนี้ทีมนักวิจัยจากประเทศไทย ลาว และสหราชอาณาจักร น�ำโดย รศ.ดร.จุฑามาส ศตสุข ผู้อ�ำนวยการพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาฯ ม.อ. ร่วมกันค้น พบสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดใหม่ 3 ชนิด ประกอบด้วย พญา กระรอกบิน จากประเทศลาว 1 ชนิด ได้รับการตั้งชื่อว่า พญา กระรอกบินลาว เป็นกระรอกบินขนาดใหญ่ ความยาว 107.5 เซนติเมตร หนัก 1.8 กิโลกรัม และ ค้างคาวจากประเทศไทย 2 ชนิด คือค้างคาวจมูกหลอดบาลา เป็นค้างคาวกินแมลง พบ ที่ป่าบาลา จ.นราธิวาส อีกชนิดเป็นฟอสซิลค้างคาว อายุกว่า สองพันปี พบที่ถ�้ำในอ�ำเภอสะเดา จ.สงขลา

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

9


วิจัย

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ม.อ.

พบสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดใหม่ ของโลก 3 ชนิด

ร.พิ พั ฒ น์ สร้ อ ยสุ ข นั ก วิ จั ย ประจ� ำ พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานธรรมชาติ วิ ท ยา 50 พรรษา สยามบรมราชกุ ม ารี คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ ได้ เ ปิ ด เผยถึ ง ผล การค้นพบสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดใหม่ของโลก 3 ชนิด ในงานคณะวิทยาศาสตร์พบสื่อมวลชนประจ�ำปี 2556 ซึ่ง เป็ น ความร่ ว มมื อ กั น ของที ม งานนั ก วิ จั ย นานาชาติ จ าก ประเทศไทย ลาว และสหราชอาณาจักร ประกอบด้วย

ค้างคาวจมูกหลอดบาลา หรือ Bala Tube-nosed Bat ซึ่งเป็น ค้างคาวกินแมลง และสามารถพบได้ในพื้นที่ป่าดิบชื้นและที่ราบต�่ำ บริ เ วณผื น ป่ า บาลา อ.แว้ ง จ.นราธิ ว าส เพี ย งแห่ ง เดี ย วเท่ า นั้ น โดย ลักษณะเด่นอยู่ที่ขนด้านหลังเป็นสีทอง ขนด้านท้องเป็นสีเทา ขนาด ล�ำตัวประมาณ 28-31 มิลลิเมตร และมีแง่ง หรือ Cingulrcusp ที่ฟัน เขี้ยวบน ส่วนจมูกที่เป็นหลอดก�ำลังอยู่ในระหว่างการศึกษาในเชิงลึกว่า มีประโยชน์อย่างไรกันแน่

10

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557


อีกหนึ่งประเภทนั้นคือ การค้นพบซากฟอสซิลค้างคาวชนิดใหม่ที่มีชิวิตอยู่เมื่อปลาย ยุคไพลสโตซีน หรือเมื่อประมาณ 16,350 ปี ที่ผ่านมา ซึ่งทีมวิจัยได้ค้นพบภายในถ�้ำหินปูนใน อ.สะเดา จ.สงขลา และได้ตั้งชื่อว่าค้างคาวท้องสีน�้ำตาลอาจารย์จุฑามาส หรือ Chutamas’s Serotine เพื่อเป็นเกียรติให้แก่ รศ.ดร.จุฑามาส ศตสุข ผอ.พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา 50 พรรษา สยามบรมราชกุมารี คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. ซึ่งเป็นหัวหน้าทีมวิจัย โดยค้างคาว ชนิดนี้เบื้องต้นพบว่าเป็นค้างคาวขนาดเล็กเช่นเดียวกับค้างคาวจมูกหลอดบาลา และปัจจุบัน ได้สูญพันธุ์ไปแล้ว และสุดท้ายคือการค้นพบพญากระรอกบินลาว หรือ Laotian Giant Flying Squirrel ซึ่งเป็นพญากระรอกบินชนิดใหม่ที่ของโลกที่ค้นเป็นครั้งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้บริเวณ แขวงบอลิค�ำไซ ทางตอนกลางของประเทศลาว หลังจากที่พญากระรอกบินชนิดแรกของสกุล นี้ถูกค้นพบที่ประเทศอินเดียเมื่อปี พ.ศ.2524 โดยพญากระรอกบินลาวเป็นกระรอกบินขนาด ใหญ่ มีความยาวจากหัวถึงหาง 107.5 เซนติเมตร หนัก 1.8 กิโลกรัม ซึ่งอาศัยอยู่ในป่าลึกและ หาพบได้ยากมากทั้งนี้ ทางทีมวิจัยได้ท�ำการตั้งชื่อชนิด และสายพันธุ์ทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งศึกษาเกี่ยวกับสัตว์ ชนิดใหม่ที่ค้นพบอย่างละเอียด เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลใน การน�ำเสนอ และส่งต่อไปยังเครือข่ายและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องได้เผยแพร่ และหาแนวทางในการร่วมกันอนุรักษ์ สัตว์หายากเหล่านี้ให้คงอยู่ เนื่องจากพื้นที่ป่าไม้ ซึ่งเป็นที่ อาศัยและหากินได้ถูกมนุษย์บุกรุกแผ้วถางอย่างต่อเนื่อง สอบถามข้ อ มู ล ข่ า วเพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถาน ธรรมชาติ วิ ท ยา 50 พรรษา สยามบรมราชกุ ม ารี คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โทร.074 288067

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

11


สู่...ชุมชน/สังคม

กรมวิทยาศาสตร์บริการทุ่มงบ 10 ล้าน จับมือ มอ. ยกระดับคุณภาพสินค้า

โอทอปในพื้นที่ภาคใต้ สู่การรับรองมาตรฐาน “ปัญหาและอุปสรรคของผู้ประกอบ การในระดั บ วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน มั ก พบว่ า คุ ณ ภาพสิ น ค้ า ในการผลิ ต แต่ ล ะรอบมี คุ ณ ภาพไม่ ค งที่ และไม่ ได้ ต ามมาตรฐานด้ า นสุ ข อนามั ย และความปลอดภั ย เนื่ อ งจากผู ้ ประกอบการยั ง ขาดองค์ ค วามรู ้ ทางวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี การผลิ ต ท� ำ ให้ เ กิ ด ปั ญ หาเชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย ์ ป นเปื ้ อ นในผลิ ต ภั ณ ฑ์ ”

รมวิทยาศาสตร์บริการ ร่วมกับศูนย์พัฒนาอุตสาหกรรม เกษตรเพื่ อ การส่ ง ออก คณะอุ ต สาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดโครงการยกระดับคุณภาพสินค้าโอทอป ในภาคใต้สู่การรับรองมาตรฐานเพื่อให้ผู้ประกอบการโอทอปภาคใต้ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจ ชุมชน ให้สามารถยกระดับคุณภาพและความปลอดภัยของสินค้า นางสาวเสาวณี มุ สิ แ ดง อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์บริการ เปิดโครงการยกระดับคุณภาพสินค้าโอทอปในภาคใต้ สู่การรับรอง มาตรฐาน เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 ณ โรงแรม บุรีศรีภู อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดยร่วมกับศูนย์พัฒนาอุตสาหกรรม เกษตรเพื่อการส่งออก คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในภาคใต้ อาทิ อุตสาหกรรม จังหวัด พัฒนาชุมชน สาธารณสุขจังหวัด เกษตรจังหวัด เครือข่าย ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนโอทอปภาคใต้ ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร โดยมุ่งเป้าผู้เข้าร่วมโครงการ 100 รายใน พื้นที่ภาคใต้ ครอบคลุมภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ได้แก่ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง ภาคใต้ฝั่งอันดามัน ประกอบด้วย ระนอง ตรัง กระบี่ พังงา ภูเก็ต ภาคใต้ชายแดน ได้แก่ ปัตตานี ยะลา สตูล นราธิ วาส สงขลา และจะผลักดันให้สินค้าโอทอปในภาคใต้ ยื่ น ขอการรั บ รอง ไม่ น ้ อ ยกว่ า 300 ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ภายใต้ ง บประมาณ ทั้ ง สิ้ น 10 ล้ า นบาท และโครงการดั ง กล่ า ว ยั ง รวมไปถึ ง การจั ด ฝึกอบรมสัมมนาถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านมาตรฐานการผลิตขั้นต้น (Primary GMP) และมาตรฐาน ต่างๆ แก่ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน โอทอปอีกไม่น้อยกว่า 1,200 คน ทั่วพื้นที่ภาคใต้

12

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

นางสาวเสาวณี มุสิแดง อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์บริการ

ประเภทสินค้าที่สามารถสมัครเข้าร่วมโครงการ ได้แก่ อาหาร เครื่องดื่ม ผ้าและเครื่องแต่งกาย ของใช้ ของ ประดับและตกแต่ง และของที่ระลึก ผลิตภัณฑ์สมุนไพร ทั้ ง นี้ สิ น ค้ า หนึ่ ง ต� ำ บลหนึ่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ (โอทอป) ประเภทผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารแปรรู ป เป็ น สิ น ค้ า ที่ ห ลาย ชุ ม ชนนิ ย มผลิ ต ตามกรรมวิ ธี ก ารผลิ ต ที่ สื บ ทอดต่ อ กั น มา ซึ่ ง มั ก เป็ น การผลิ ต ในระดั บ ครั ว เรื อ น และเป็ น สินค้าที่นักท่องเที่ยวต่างถิ่นนิยมซื้อไปเป็นของฝากของ ที่ ร ะลึ ก ด้ ว ยความมี เ อกลั ก ษณ์ ข องท้ อ งถิ่ น และบาง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ด้ พั ฒ นาเป็ น สิ น ค้ า เพื่ อ สุ ข ภาพ จึ ง ท� ำ ให้ สินค้าประเภทอาหารและเครื่องดื่ม เป็นสินค้าที่มีความ ส�ำคัญต่อเศรษฐกิจชุมชนและประเทศในระดับสูง อย่างไรก็ตาม ปัญหาและอุปสรรคของผู้ประกอบ การในระดับวิสาหกิจชุมชน มักพบว่าคุณภาพสินค้าใน


การผลิตแต่ละรอบมีคุณภาพไม่คงที่ และไม่ได้ตามมาตรฐาน ด้านสุขอนามัยและความปลอดภัย เนื่องจากผู้ประกอบการ ยังขาดองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการผลิต ท�ำให้เกิดปัญหาเชื้อจุลินทรีย์ปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์ ส่งผลต่อ คุณภาพ และอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการขอ การรั บ รองมาตรฐานของผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารแปรรู ป ในระดั บ วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน มั ก ประสบปั ญ หาหลั ก คื อ การไม่ มี โ รงเรื อ น ผลิตที่แยกเป็นสัดส่วนจากบริเวณที่พักอาศัย จึงท�ำให้ไม่ผ่าน มาตรฐานทางด้านอาหารและยา ปี ง บประมาณ พ.ศ. 2557 นี้ จึ ง ร่ ว มกั บ ศู น ย์ พั ฒ นา อุตสาหกรรมเกษตรเพื่อการส่งออก คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ มุ ่ ง น� ำเทคโนโลยี ไ ปปรั บ ปรุ ง คุณภาพสินค้าและบริการสังคม รวมทั้งการตรวจสอบคุณภาพ สินค้า โอทอปเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค นางสาวเสาวณี มุสิแดง อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์บริการ กล่าวว่า กรมวิทยาศาสตร์บริการพร้อมที่จะช่วยอุดช่องโหว่ ก� ำ จั ด จุ ด อ่ อ นของสิ น ค้ า ในท้ อ งถิ่ น โลกเปลี่ ย น รู ป แบบ เศรษฐกิ จ เปลี่ ย นไป เราเคยน� ำ สิ น ค้ า ไปขายที่ ต ลาดนั ด แต่ ปัจจุบัน เพื่อนเขาน�ำสินค้าไปขายในห้างสรรพสินค้า เราจะท�ำ แบบเดิ ม ๆ ไม่ ไ ด้ คนอื่ น เขาปรั บ ปรุ ง รู ป แบบสิ น ค้ า อย่ า งไร เราต้ อ งศึ ก ษา เพื่ อ เปลี่ ย นแปลง โดยทางกรมวิ ท ยาศาสตร์ บริการจะช่วยเหลือโดยต้องร่วมมือกันกับสาธารณสุขจังหวัด มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กรมพัฒนาชุมชนเพื่อผลักดัน เป็ น สิ น ค้ า โอทอป ยกตัวอย่างเช่นผลิต ภัณฑ์ชื่อ ดังของภาค อี ส าน คื อ ปลาส้ ม ชาวใต้ อ าจท� ำ ไปแข่ ง ขั น ได้ เพราะเรามี จุดแข็งที่ใกล้แหล่งผลิตมากกว่า

ประโยชน์ ที่ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการจะได้ รั บ จากกรม วิทยาศาสตร์บริการ คือ 1.สามารถเข้าร่วมกิจกรรมการฝึกอบรม รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี ด้านการจัดการตามมาตรฐานการ ผลิตขั้นต้น เพื่อให้ผลิตภัณฑ์เป็นไปตามมาตรฐาน 2. เข้ารับ การปรึกษาเชิงลึกรายสถานประกอบการ พร้อมเสนอแนะแนว ทางการแก้ไขปัญหา 3. ได้เข้าร่วมดูงานสถานประกอบการ ต้นแบบ 4. สินค้าโอทอปที่ประสงค์จะขอรับรองตามมาตรฐาน

จะได้น�ำไปทดสอบคุณภาพ ณ ห้องปฎิบัติการหรือหน่วยงาน ภายนอกที่ขึ้นทะเบียนไว้กับส�ำนักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม รศ.ดร.พี ร ะพงศ์ ฑี ฆ สกุ ล รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยระบบ วิจัยและบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า 3 องค์กร คือ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กรมวิทยาศาสตร์ บริ ก าร และผู ้ ป ระกอบการจะร่ ว มมื อ กั น ผลั ก ดั น การไปสู ่ สินค้าโอทอป และได้รับการรับรองมาตรฐานซึ่งศูนย์พัฒนา อุตสาหกรรมเกษตรเพื่อการส่งออก คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เป็ น หน่ ว ยงานที่ มี ศั ก ยภาพ และมี ผ ลงานด้ า นการพั ฒ นาวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน มี ค วามพร้ อ ม ของห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารทดสอบเคมี แ ละจุ ล ชี ว วิ ท ยาที่ ไ ด้ รั บ การ รั บ รองมาตรฐาน รวมทั้ ง เป็ น ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารเครื อ ข่ า ยที่ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมทดสอบ และมี โ รงงานต้ น แบบ ที่ มี เ ครื่ อ งจั ก ร ทั น สมั ย มี ก ารออกแบบตามหลั ก สุ ข ลั ก ษณะที่ ดี ใ นการ ผลิ ต (Good Manufacturing Practice; GMP) พร้ อ มทั้ ง มี บุคลากรที่มีทักษะในการผลิตตามหลัก GMP และมาตรฐาน ฮาลาล มี ค วามพร้ อ มที่ จ ะเป็ น พี่ เ ลี้ ย งให้ แ ก่ ผู ้ ป ระกอบ การที่ ส นใจ อั น จะส่ ง ผลให้ โ ครงการนี้ ป ระสบผลส� ำ เร็ จ รศ.ดร. วิโรจน์ ยูรวงศ์ ค ณ บ ดี ค ณ ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม เกษตร มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา น ค ริ น ท ร ์ ก ล ่ า ว ว ่ า ค ณ ะ อุตสาหกรรมเกษตร ยินดีที่จะ เป็ น พี่ เ ลี้ ย งให้ กั บ ผู ้ ป ระกอบ การที่ ส นใจ การผลิ ต ตาม กรรมวิ ธี แ บบเดิ ม ๆ ที่ สื บ ทอด กันมาในครัวเรือนอาจพบปัญหา สินค้าไม่ได้มาตรฐาน คณะ อุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีนักวิชาการ และมีศูนย์พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรเพื่อการส่งออก ยินดีช่วย เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการในการยกระดับ คุณภาพและความปลอดภัยของสินค้า กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

13


แนะน�ำหน่วยงาน/บุคคล

นายกสโมสรฯ คนใหม่

เน้นสร้างกิจกรรมสานสัมพันธ์

เชิญชมรมบุคลากรร่วมมือจัดกิจกรรม

นายวรรณโน สนธิพิพัฒน์ หั ว หน้ า งานพั ฒ นากี ฬ า กอง กิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขต หาดใหญ่ ได้ รั บ การคั ด เลื อ ก จากคณาจารย์ และ บุ ค ลากร วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ ให้ ด� ำ รง ต�ำแหน่งนายกสโมสรอาจารย์และข้าราชการ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ โดยมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง 2 ปี เข้า รับต�ำแหน่ง ตั้งแต่วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2557 เน้นการจัดกิจกรรมสร้าง ความสัมพันธ์ให้กับบุคลากรภายใน ทั้ง 5 วิทยาเขต หน่วยงานภายนอก สถาบั น การศึ ก ษา และ มหาวิ ท ยาลั ย ในประเทศมาเลเซี ย และ อิ น โดนี เ ซี ย ด้ ว ยการจั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ า และ การแสดงศิ ล ปะและ วัฒนธรรม ประสานชมรมบุคลากรทั้ง 15 ชมรม ในวิทยาเขตหาดใหญ่ ร่วมจัดกิจกรรม นายวรรณโน เปิ ด เผยว่ า มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ เข้าร่วมโครงการเชื่อมความสัมพันธ์สโมสรข้าราชการและบุคลากร 3 มหาวิทยาลัย ระหว่าง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัย ขอนแก่ น และ มหาวิ ท ยาลัยเชียงใหม่ โดยได้ลงนามความร่ ว มมื อ เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2557 ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดย อาจารย์ พิชิต เรืองแสงวัฒนา รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รศ.ดร.กิ ต ติ ชั ย ไตรรั ต นศิ ริ ชั ย อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น และ รองประธานสภาพนั ก งาน มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ โดยจะมี ความร่ ว มมื อ เพื่ อ สานสั ม พั น ธ์ ด ้ ว ยกิ จ กรรมการแข่ ง ขั น กี ฬ า และ กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรม กิ จ กรรมแลกเปลี่ ย นการท� ำ งานระหว่ า งสโมสรฯ ทั้ ง 3 มหาวิ ท ยาลั ย จะมี ลั ก ษณะที่ ใ กล้ เ คี ย งกั น ยกเว้ น ชื่ อ ของสโมสรฯ

14

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น และมหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ จะใช้ ช่ื อ สโมสร ข้าราชการและบุคลากร ส�ำหรับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จะได้ มีการปรับเปลี่ยนซึ่งต้องมีการแก้ไขระเบียบ และน�ำเสนอที่ประชุม คณบดี พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ชอบ การจั ด กิ จ กรรมแข่ ง ขั น กี ฬ า สานสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง 3 มหาวิ ท ยาลั ย ในครั้ ง ต่ อ ไป ซึ่ ง เป็ น ครั้ ง ที่ 2 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รับเป็นเจ้าภาพจะจัดขึ้นในช่วงกลางปี 2557 โดยในครั้งแรกจัดขึ้นที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น ส� ำ หรั บ แผนการด� ำ เนิ น การจั ด กิ จ กรรมของสโมสรอาจารย์ และข้ า ราชการ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ ได้ มี ก ารหารื อ คณะกรรมการ บริ ห ารสโมสรฯ ในระยะแรกได้ ก� ำ หนดจั ด แข่ ง ขั น กี ฬ าสานสั ม พั น ธ์ บุคลากรภายใน วิทยาเขตหาดใหญ่ และสร้างความสัมพันธ์กับหน่วย งานภายนอกได้ แ ก่ เทศบาลเมื อ งคอหงส์ เทศบาลนครหาดใหญ่ และ ค่ า ยเสนาณรงค์ รวมทั้ ง มี แ ผนจั ด แข่ ง ขั น กี ฬ าสานสั ม พั น ธ์ กั บ บุ ค ลากรมหาวิ ท ยาลั ย ในประเทศมาเลเซี ย และ อิ น โดนี เ ซี ย ทั้ ง นี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มีเครือข่าย IMT- GT ซึ่งเป็นการแข่งขัน กี ฬ า สั ม มนาเชิ ง วิ ช าการ และ แลกเปลี่ ย นศิ ล ปวั ฒ นธรรมสร้ า ง ความสัมพันธ์ ในกลุ่มนักศึกษามหาวิทยาลัย ทั้ง 3 ประเทศอยู่แล้ว ในส่วนร้านอาหารสโมสรอาจารย์และข้าราชการ ซึ่งอยู่ตรงข้าม อ่างเก็บน�้ำ ม.อ. จะมีการปรับปรุงซ่อมแซมอาคารสถานที่ให้เหมาะสม เน้นความสะดวกสบาย ปรับปรุงห้องประชุม สิ่งอ�ำนวยความสะดวก ต่างๆ และพัฒนาในเรื่องการให้การบริการ เพื่อรองรับการเป็นเจ้าภาพ จัดการแข่งขันกีฬาสานสัมพันธ์ 3 มหาวิทยาลัย ที่จะมีขึ้นประมาณ กลางปี 2557 นอกจากนี้ จะสนับสนุนการจัดกิจกรรมของชมรมต่างๆ ของวิ ท ยาเขตหาดใหญ่ โดยให้ แ ต่ ล ะชมรมได้ มี ส ่ ว นร่ ว มในการจั ด กิจกรรม อีกทั้ง สโมสรอาจารย์และข้าราชการฯ จะได้เข้าร่วมกิจกรรม ในโอกาสต่ า งๆ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย จั ด ขึ้ น ตามความเหมาะสม อาทิ งานวันสงกรานต์ งานวันลอยกระทง ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 21–24 มีนาคม 2557 ได้มีการแข่งขัน กี ฬ าบุ ค ลากร 5 วิ ท ยาเขต ซึ่ ง วิ ท ยาเขตตรั ง เป็ น เจ้ า ภาพ จั ด การแข่ ง ขั น โดยมี ก ารแข่ ง ขั น ฟุ ต บอล วอลเล่ ย ์ บ อล แชร์บอล ฟุตซอล เปตอง และ กรีฑา และในโอกาสเดียวกันนี้ ได้มีการคัดเลือกนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาบุคลากร ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ครั้งที่ 33 “อ่างแก้ว เกมส์” ซึ่ง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นเจ้าภาพ จัดขึ้นระหว่าง วันที่ 1–8 พฤษภาคม 2557 โดยการแข่งขันกีฬาบุคลากร 5 วิ ท ยาเขต มี พิ ธี เ ปิ ด การแข่ ง ขั น และงานเลี้ ย งรั บ รอง เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2557 เริ่มเวลา 18.00 น. ณ ลานอาคาร กิ จ กรรมนั ก ศึ ก ษา วิ ท ยาเขตตรั ง ซึ่ ง เป็ น หนึ่ ง ในกิ จ กรรม ที่ ส โมสรอาจารย์ แ ละข้ า ราชการ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ จะได้ ร่ ว มสนั บ สนุ น และส่ ง นั ก กี ฬ าเข้ า ร่ ว มการแข่ ง ขั น กี ฬ า และจัดกิจกรรมในครั้งนี้


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

นักศึกษา ม.อ.

ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมสัมมนาเยาวชนระหว่าง

ญี่ปุ่น-อาเซียน โครงการ JENESYS 2.0

ายซายูตี สาหล�ำ นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ และ นายธนชิต โกสิยาภรณ์ นักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้รับคัดเลือกจาก ส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (สท.) เพื่อเป็นตัวแทนเยาวชนไทยเข้าร่วมสัมมนาเยาวชนระหว่างญี่ปุ่น-อาเซียน โครงการ JENESYS 2.0 (Japan-ASEAN Student Conference) วั น ที่ 6 - 16 ธันวาคม 2556 ณ ประเทศญี่ปุ่น โดย นายซายูติ สาหล�ำ ได้รับคัดเลือก ให้เป็นหัวหน้าคณะเยาวชนไทย (Thai National Leader) เข้าร่วมโครงการ ในครั้งนี้ Theme ของโครงการฯ เป็นรูปแบบ “Student Conference” ของประชาชนในประเทศญี่ปุ่น โดยแบ่งกลุ่มสัมมนาในประเด็น ต่างๆ ทั้ ง นี้ เมื่ อ วั น ที่ 13 - 15 ธั น วาคม 2556 ได้ มี ก ารประชุ ม สุ ด ยอด ได้ แ ก่ การศึ ก ษา การประกอบการ สิ่ ง แวดล้ อ มและกิ จ กรรมเพื่ อ อาเซียน-ญี่ปุ่น สมัยพิเศษ นักศึกษาไทยที่ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วม สังคม อาสาสมัครเยาวชนกับกิจกรรมเพื่อสังคม และ ศิลปวัฒนธรรม โครงการฯ ในปีนี้ มีจ�ำนวน 15 คน เป็นนักศึกษาจากสถาบันการศึกษา ต่างๆ ได้แก่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ จั น ทรเกษม มหาวิ ท ยาลั ย บู ร พา จากการเข้าร่วมสัม มนาในครั้งนี้ นายซายู ตี สาหล� ำ และ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มหาวิทยาลัยทักษิณ และมหาวิทยาลัยรังสิต มีนักศึกษาในกลุ่มประเทศอาเซียน ประเทศละ นายธนชิต โกสิยาภรณ์ กล่าวว่า “รู้สึกดีใจและมีความภาคภูมิใจ 15 คน ร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์กับนักศึกษา เป็นอย่างยิ่งที่ถือว่าได้รับโอกาสที่ดีที่สุดอีกครั้งหนึ่งในชีวิต ในการ เป็นตัวแทนของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และในฐานะตัวแทน ในประเทศญี่ปุ่น ส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (สท.) จัด เยาวชนไทย ที่ได้ไปเข้าร่วมโครงการสัมมนาเยาวชนญี่ปุ่น-อาเซียน โครงการดังกล่าวขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี โดยรัฐบาลญี่ปุ่นได้จัดสรรทุน ณ ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งการเข้าร่วมโครงการ เราได้รับความรู้ทั้งทางด้าน เพื่ อ เปิ ด โอกาสให้ เ ยาวชนไทย ได้ น� ำ เสนอความรู ้ แลกเปลี่ ย น วิชาการและด้านประสบการณ์ในการท�ำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนจาก ประสบการณ์ กั บ เยาวชนในกลุ ่ ม ประเทศอาเซี ย น ผ่ า นกิ จ กรรม กลุ่ม ประเทศอาเซีย นทั้ง 10 ประเทศกว่า 150 คน และเพื่อ นจาก ทัศนศึกษาสถานที่ต่างๆ ศึกษาศิลปะวัฒนธรรม ชีวิตความเป็นอยู่ ประเทศญี่ปุ่นอีกกว่า 60 คน และจากวิทยากรที่ให้ความรู้ เราได้มี โอกาสสัมมนาและหารือแลกเปลี่ยนในเรื่องราวและหัวข้อ เช่น ด้าน การศึกษา ด้านกิจกรรมจิตอาสา ด้านศิลปวัฒนธรรม ด้านธุรกิจเพื่อ สังคม และด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น ท�ำให้เรามีความ รู้สึกดีใจและภาคภูมิใจร่วมกันกับเพื่อนอีก 13 คน จากหลากหลาย มหาวิทยาลัย ที่เป็นตัวแทนเยาวชนไทยในการเข้าร่วมกิจกรรมใน ครั้งนี้อีกด้วย โดยเราได้พยายามท�ำหน้าที่และสร้างชื่อเสียงให้แก่ ประเทศชาติอย่างดีที่สุดเต็มความสามารถของเราที่มีอยู่ทั้งหมด ขอ ขอบคุณมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ ส�ำนักงานพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ (สท.) ที่ได้ให้โอกาสแก่พวกเราในครั้งนี้”

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

15


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

ม.อ.รับรางวัลยอดเยี่ยม มหาวิทยาลัยที่ส่งเสริมงานอาสา จัดโดยองค์การจิตอาสาภาครัฐ-เอกชน

ศ.วรวุธ วิสุทธิ์เมธางกูร รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ แจ้งว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับรางวัลยอดเยี่ยม รางวัลโล่ พระราชทาน ประเภทสถาบันการศึกษาที่ส่งเสริมงานอาสาสมัครในสถาบันการศึกษา จากการ ประกวดโครงการงานมหกรรมจิ ต อาสาในสถาบั น การศึ ก ษา ปี 2 (2556) ระดั บ อุ ด มศึ ก ษา (Education & Volunteer Expo 2013) จัดโดย สถาบันคลังสมองของชาติ ส�ำนักบัณฑิตอาสา สมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส) และเครือข่ายจิตอาสา ทั้งนี้ ในวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2557 รศ. ดร.ชูศักดิ์ ลิ่ ม สกุ ล ได้ เ ข้ า ร่ ว มอภิ ป รายแลกเปลี่ ย นในหั ว ข้ อ “สถาบั น การศึ ก ษาจะสร้ า งส� ำ นึ ก พลเมื อ ง ได้ อ ย่ า งไร” พร้ อ มผู ้ บ ริ ห ารมหาวิ ท ยาลั ย จาก 6 สถาบั น ในงานมหกรรมจิ ต อาสา ที่ ส ถานี โทรทัศน์ไทยพีบีเอส

16

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557


งานมหกรรมจิตอาสาในสถาบันการศึกษา จั ด ขึ้ น เพื่ อ สร้ า งพื้ น ที่ เ รี ย นรู ้ ป ระสบการณ์ แ ละ กระบวนการท�ำงานอาสาสมัครผ่านประสบการณ์ ของสถาบั น องค์ ก รที่ ท� ำ งานส่ ง เสริ ม อาสาสมั ค ร ทั้งในประเทศไทย และจากประเทศในประชาคม อาเซี ย น เพื่ อ ขยายผลสู ่ ก ารสร้ า งพลเมื อ งอาสา สมัครไทยสู่สังคมอาเซียนต่อไป มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ น ้ อ มน� ำ ค� ำ สอนของ สมเด็จพระบรมราชชนกที่ “ให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์ เป็ น กิ จ ที่ ห นึ่ ง ” มาเป็ น แนวทางในการด� ำ เนิ น งานของ มหาวิ ท ยาลั ย และแนวทางการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ของนั ก ศึ ก ษา บุคลากร และศิษย์เก่า ตลอดเวลากว่า 45 ปี เช่น การก�ำหนด ให้นักศึกษาที่จะจบหลักสูตร จะต้องเข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อย 100 ชม. ซึ่ ง หนึ่ ง ในกิ จ กรรมนั้ น คื อ การเสริ ม สร้ า งจิ ต ส� ำนึ ก สาธารณะ พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและความมีวินัย มีการ ส่งเสริมยกย่องบุคคลผู้อุทิศตนเพื่อประโยชน์ส่วนรวมเพื่อเป็น แบบอย่างให้บุคลากรและนักศึกษา และก�ำหนดให้ วันมหิดล ซึ่งตรงวันที่ 24กันยายน เป็น “วันประโยชน์เพื่อนมนุษย์เป็น กิจที่หนึ่ง” โดยได้จัดกิจกรรมอาสาบ�ำเพ็ญประโยชน์ ยกย่อง เชิดชูเกียรติบุคลากร มีการน�ำนโยบายการรอการลงโทษกับ

นักศึกษาที่ประพฤติผิดทางวินัย โดยให้บ�ำเพ็ญประโยชน์ ให้กับชุมชนแทนการให้พักการเรียน มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ มี บ ทบาทในการ พัฒนาภาคใต้ภายใต้กิจกรรมจิตอาสา ทั้งการจัดการความ ขัดแย้งและการสร้างสันติภาพ โครงการบัณฑิตอาสากับ จังหวัดชายแดนใต้ การเยียวยา/สร้างความสมานฉันท์ การ ฟื้นฟูกายและจิตใจส�ำหรับผู้ได้รับผลกระทบ การพัฒนา หมู่บ้านประมงต้นแบบน�ำร่องโดยส่งเสริมการมีส่วนร่วม การสอนแนวพหุวัฒนธรรมศึกษา การเข้าไปมีบทบาทใน การพัฒนาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม การปกป้องสิ่งแวดล้อม และการจัดการภัยพิบัติ การพัฒนาศักยภาพกลไกชุมชน และเครือข่ายทางสังคมเพื่อการจัดการสาธารณภัยและ การช่วยเหลือผู้ยากไร้ เป็นต้น

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

17


แนะน�ำบุคคล/หน่วยงาน

ศ.ดร.เกษม สุวรรณกุล

กับ 36 ปี เพื่อ ม.อ. ห

ลั ง จากการประชุ ม สภามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เมื่ อ วั น เสาร์ ที่ 8 มี น าคม 2557 ได้ มี ก ารจั ด งานเพื่ อ ขอบพระคุ ณ ศาสตราจารย์ ดร.เกษม สุ ว รรณกุ ล นายกสภา มหาวิทยาลัย ในโอกาสที่ครบวาระการด�ำรงต�ำแหน่งนายกสภา ของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ เป็นการขอบพระคุณที่ท่านได้กรุณา สละเวลา ก� ำ ลั ง กาย ก� ำ ลั ง ความคิ ด ให้ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย ของเรามา เป็นเวลาถึง 36 ปี ที่โรงแรมอิมพีเรียล ควีนส์ปาร์ค กรุงเทพมหานคร “ผมมีความผูกพันกับมหาวิทยาลัยแห่งนี้ มาตั้งแต่ครั้ง

พันเอกถนัด คอมันตร์ เป็นนายกสภามหาวิทยาลัย (2515) และได้ ท� ำ งานใกล้ ชิ ด ผู ้ บ ริ ห ารมหาวิ ท ยาลั ย แต่ อ ดี ต ตั้ ง แต่ ศาสตราจารย์ นพ.สวัสดิ์ สกุลไทย เป็นอธิการบดี และ ได้ ท� ำ งานร่ ว มกั บ อดี ต นายกสภามหาวิ ท ยาลั ย ทุ ก ท่ า น เช่ น คุ ณ โอสถ โกศิ น คุ ณ เกษม จาติ ก วณิ ช ดี ใ จที่ ไ ด้ มี โ อกาส ร่วมสร้างสรรค์มหาวิทยาลัยและได้ร่วมแก้ ไขปัญหาต่างๆ ที่ บางปั ญ หาเป็ น เรื่ อ งใหญ่ แ ละใช้ เ วลานานให้ ส� ำ เร็ จ ลุ ล ่ ว งไป ด้ ว ยดี โดยหลั ง จากนี้ ยั ง ยิ น ดี ท� ำ งานร่ ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย ต่ อ ไปแม้ ไ ม่ ไ ด้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง สภามหาวิ ท ยาลั ย แล้ ว ก็ ต าม”

ท่านนายกสภามหาวิทยาลัย กล่าวความรู้สึกในงานครั้งนี้

18

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557


ศาสตราจารย์ ดร.เกษม สุวรรณกุล ได้เข้าสู่สภามหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ ตั้ ง แต่ ส ถาบั น อุ ด ม ศึกษาแห่งนี้ ได้เริ่มสถาปนามาเพียง 10 ปี โดยเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการสภา มหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ตั้งแต่วันที่ 11 เมษายน 2521 ถึงวันที่ 4 กันยายน 2532 ต่อจากนั้น เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2532 ได้มีพระบรมราชโองการแต่งตั้ง ท่าน เป็นนายกสภามหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ คนที่ 5 และ ได้ด�ำรงต�ำแหน่งนี้ ติ ด ต่ อ กั น หลายสมั ย มาจนถึ ง ปั จ จุ บั น ตลอดระยะเวลา 11 ปี ในต�ำแหน่ง กรรมการสภามหาวิ ท ยาลั ย ผู ้ ท รง คุ ณ วุ ฒิ กั บ อี ก 25 ปี ที่ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง นายกสภามหาวิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ มี อ ธิ ก ารบดี ผ ลั ด เปลี่ยนมาเป็นผู้บริหารจ�ำนวน 8 ท่าน ศาสตราจารย์ ดร.เกษม สุวรรณกุล ได้ทุ่มเทสติปัญญา ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์การเป็นนักบริหาร ขับเคลื่อนโครงการต่างๆ พร้อมช่วยชี้แนะแนวทางแก้ปัญหาในระดับนโยบาย และติดตามผลการท�ำงาน เพื่อพัฒนา จนท�ำให้มหาวิทยาลัยแห่งนี้ก้าวจาก มหาวิทยาลัยของภาคใต้ สู่มหาวิทยาลัยชั้นน�ำแห่งหนึ่งของประเทศ และสู่ สถาบันอุดมศึกษาระดับนานาชาติ ท่านยังเป็นคณะกรรมการในกิจกรรมที่ ส�ำคัญของมหาวิทยาลัย เช่น ประธานคณะอนุกรรมการคัดเลือกผู้สมควรได้รับ รางวัลอนุสรณ์สงขลานครินทร์ กรรมการมูลนิธิมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

นอกจากต�ำแหน่งในสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ท่ า นยั ง ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง อื่ น ๆ ที่ ส� ำ คั ญ ระดั บ ชาติ ไม่ ว ่ า จะเป็ น รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยให้กับท่านนายกรัฐมนตรี 5 ท่ า น เป็ น นายกสภามหาวิ ท ยาลั ย หลายแห่ ง ในประเทศ เป็นกรรมการ กรรมาธิการ ที่ปรึกษา ให้กับหน่วยงาน โครงการ ต่างๆ ในระดับชาติเป็นจ�ำนวนมาก ในระหว่างการด�ำรงต�ำแหน่ง ทุกคนที่ได้เคยสัมผัสกับ ท่านนายกสภาฯ ทั้งในเรื่องการงานและส่วนตัว จะทราบว่า ท่าน เป็นนักบริหารที่มีทั้งความจริงจังและความนุ่มนวลอยู่ในตัว ท่านได้ใช้ประสบการณ์การเป็นนักบริหารขับเคลื่อนโครงการ

ต่ า งๆ พร้ อ มช่ ว ยชี้ แ นะแนวทางแก้ ป ั ญ หาในระดั บ นโยบาย และติ ด ตามผลการท� ำ งาน เพื่ อ พั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง นี้ หลายครั้ ง เมื่ อ การประชุ ม มี ก ารให้ ค วามเห็ น กั น อย่ า ง เข้มข้น เคร่งเครียด แต่ในตอนท้ายท่านมักจะมีค�ำพูดที่เปลี่ยน บรรยากาศและเรียกเสียงหัวเราะจากที่ประชุมอยู่เป็นประจ�ำ ท่านไม่ได้เพียงแต่มีส่วนร่วมในการประชุมระดับบริหารเท่านั้น แต่จะเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของมหาวิทยาลัยทุกครั้งที่โอกาส เช่ น งานพิ ธี พ ระราชทานปริ ญ ญาบั ต ร วั น สงขลานคริ น ทร์ งาน ม.อ.วิชาการ เป็นต้น

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

19


แนะน�ำบุคคล/หน่วยงาน

ดร.กันตธีร์ ศุภมงคล

ชื่นชม ม.อ. ให้ความส�ำคัญกับการวิจัย มุ่งพัฒนาระบบการศึกษา เน้นสอนวิธีคิด

ร.กันตธีร์ ศุภมงคล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ทายาทคุ ณ หญิ ง หลง อรรถกระวี สุ น ทร ผู ้ บ ริ จ าคที่ ดิ น ให้ เ ป็ น ที่ ตั้ ง มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ เยี่ ย มชมมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ และศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร โดยมี รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี สรุปการด�ำเนินงานของมหาวิทยาลัย อ.เจษฎา โมกขกุ ล ผู้อ�ำนวยการส�ำนักทรัพยากรการเรียนรู้ฯ กล่าวถึงการ ด�ำเนินงานและน�ำชมส�ำนักทรัพยากรการเรียนรู้ฯ พร้อมด้วย คณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัย ให้การต้อนรับ เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2557 รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี กล่าวว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มุ่งเน้นจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาชุมชนในภาคใต้ เป็นมหาวิทยาลัยหลาย วิทยาเขต มีพื้นที่รวม 5 วิทยาเขต ประมาณ 4,000 ไร่ เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ แห่งเดียวที่เปิดสอนด้านอิสลามศึกษา ส�ำนักจุฬาราชมนตรีได้ให้มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์เปิดการเรียนการสอนด้านอิสลามศึกษาที่กรุงเทพมหานคร และหลั ก สู ต รสาขาที่ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ เ ฉพาะของมหาวิ ท ยาลั ย และของพื้ น ที่ ซึ่งขณะนี้ มหาวิทยาลัยก�ำลังด�ำเนินการเรื่องพื้นที่ก่อสร้างอาคารและเตรียม คณาจารย์เพื่อรองรับการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มีโครงการ ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศกว่า 170 แห่ง ใน 30 ประเทศ และเป็ น สมาชิ ก เครื อ ข่ า ยอาเซี ย น ด้ า นการวิ จั ย มหาวิ ท ยาลั ย มองปั ญ หา ของพื้นที่เป็นฐานการวิจัย โดยได้มีการศึกษาวิจัยครอบคลุมหลายด้าน อาทิ ด้านยางพารา ปาล์ม การเพาะเลี้ยงชายฝั่ง ด้านพลังงาน อุตสาหกรรมการ

20

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

“ ”

จุดส�ำคัญของการศึกษา คือสอนวิธีคิด มากกว่าการท่องจ�ำ


ยุ ท ธศาสตร์ ม องโลกทั้ ง ใบให้ เ ป็ น ประโยชน์ ดั ง นั้ น จึ ง ต้องปรับความคิดให้ ได้ เชื่อมั่นมีมุมมองที่สะท้อนต่อ ความเป็ น จริ ง ต่ อ ศั ก ยภาพของเรา มหาวิ ท ยาลั ย มี ส่ว นส�ำคัญในการสร้างและเปลี่ยนความคิดนี้ ให้ เ รา เป็นผู้น�ำในการสร้างประเทศไทยออกสู่เวทีโลก”

ท่องเที่ยว วิทยาศาสตร์การแพทย์ ภัยพิบัติต่างๆ มีงบประมาณ สนั บ สนุ น การวิ จั ย ประมาณ 200 กว่ า ล้ า น มี วิ สั ย ทั ศ น์ น� ำ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น น� ำ ของ อาเซียน โดยมีผลงานวิจัยที่มีคุณภาพและเป็นที่พึ่งของชุมชน ผลิ ต บั ณ ฑิ ต ที่ มี ค วามรู ้ คู ่ คุ ณ ธรรม และเตรี ย มพร้ อ มเข้ า สู ่ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และ AEC ในปี 2558 ดร.กันตธีร์ ศุภมงคล กล่าวว่า รู้สึกยินดีที่ได้มาเยี่ยม มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ เ ห็ น การพั ฒ นาของ มหาวิ ท ยาลั ย รวดเร็ ว มาก และดี ใ จที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ให้ ค วาม ส�ำคัญและเป็นผู้น�ำในเรื่องการวิจัยซึ่งจะส่งผลดีต่ออนาคต ของนั ก ศึ ก ษาและประเทศไทย งานวิ จั ย เป็ น กุ ญ แจส� ำ คั ญ สู ่ ความส�ำเร็จในการก้าวหน้า ในเรื่องการจัดระบบการเรียนการ สอน ยินดีที่จะประสานเพื่อสร้างความร่วมมือกับ มหาวิทยาลัย แคลิ ฟ อร์ เ นี ย ลอสแอนเจลิ ส (UCLA) ในการแลกเปลี่ ย น นักศึกษา การศึกษาค้นคว้าวิจัยประเด็นต่างๆ ในเรื่องความ ขัดแย้ง นาโนเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อมทางทะเล ศึกษาปัญหา ชายแดน ด้านสังคม การค้า หรือศาสนา ท�ำอย่างไรให้ทุกคน มองความแตกต่างในทางบวก มีความอิสระในความคิดเห็น แตกต่ า งกั น และเป็ น มิ ต รกั น ได้ เพื่ อ ร่ ว มกั น แก้ ป ั ญ หาของ ประเทศและภูมิภาค ดังนั้นมหาวิทยาลัยควรมองระบบการ เรี ย นการสอน “จุ ด ส� ำ คั ญ ของการศึ ก ษาคื อ สอนวิ ธี

อ.เจษฎา โมกขกุล ผู้อ�ำนวยการส�ำนักทรัพยากรการ เรียนรู้ฯ กล่าวว่า “ส�ำนักทรัพยากรการเรียนรู้ ฯ เป็นคลังสมอง ของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ มี ต� ำ ราทั้ ง ภาษาไทยและ ต่างประเทศกว่า 100,000 เล่ม มีระบบ E-Journals วารสาร อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ และฐานข้ อ มู ล วารสารไทย 11 ฐานข้ อ มู ล และวารสารข้ อ มู ล ต่ า งประเทศ 31 ข้ อ มู ล ผู ้ ส นใจสามารถ เข้าถึงข้อมูลในระบบได้ ระบบการท�ำงานของห้องสมุดมีการ แลกเปลี่ยนทรัพยากรและฐานข้อมูลเป็นเครือข่ายเชื่อมโยง ทั้ง 5 วิทยาเขต มีห้องละหมาดส�ำหรับนักศึกษามุสลิม ห้อง คอมพิ ว เตอร์ IT ZONE นอกจากนี้ ห้ อ งสมุ ด มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ยังเป็นสมาชิกเครือข่ายห้องสมุดมหาวิทยาลัย ในภู มิ ภ าคทั่ ว ประเทศ (เครื อ ข่ า ย PULINET) ซึ่ ง มี 20 แห่ ง มีการแบ่งปันวารสาร หนังสือ ฐานข้อมูล เกิดประโยชน์ร่วมกัน ประหยัดงบประมาณ และทรัพยากร” หลั ง จากเยี่ ย มชมส� ำ นั ก ทรั พ ยากรการเรี ย นรู ้ ฯ แล้ ว ดร.กันตธีร์ ได้เข้าชมพื้นที่ส่วนขยายของมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ซึ่งอยู่บริเวณต�ำบลทุ่งใหญ่ มีพื้นที่ ประมาณ 450 ไร่ ในอนาคตจะเป็นที่ตั้งของอุทยานวิทยาศาสตร์ คิดมากกว่าการท่องจ�ำ” วิธีคิดน�ำไปสู่ความสามารถ ศู น ย์ วิ จั ย การเรี ย นการสอน ของคณะทรั พ ยากรธรรมชาติ ในการก�ำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แข่งขันกับประเทศ โครงการจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ และ ศูนย์วิทยาศาสตร์ คู ่ แ ข่ ง ซึ่ ง การท� ำ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท เอกชนอย่ า งเช่ น การกีฬา

ประเทศญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และสหรัฐอเมริกา เขาจะมีหลัก การคิ ด ในการท� ำ ธุ ร กิ จ อยู ่ ส องข้ อ หลั ก คื อ 1. ดู ว ่ า ธุ ร กิ จ ประเภทใดที่ เ ขาจะได้ เ ปรี ย บคู ่ แ ข่ ง ขั น ณ ขณะ นั้น 2. ประเภทธุรกิจนั้น บริษัทใดในโลกที่พัฒนาสินค้า เป็ น อั น ดั บ ที่ 1 เมื่ อ มี ข ้ อ มู ล ดั ง กล่ า ว ก็ จ ะก� ำ หนด ยุ ท ธศาสตร์ เ พื่ อ ท� ำ ให้ สิ น ค้ า ดั ง กล่ า วของเขาดี ห รื อ เหนื อ กว่ า สิ น ค้ า ของคู ่ แ ข่ ง ระดั บ โลก เพี ย งแค่ 5% ก็ จะสามารถครองอั น ดั บ 1 ได้ แ ล้ ว ฉะนั้ น เราต้ อ งมี กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

21


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

นักศึกษาสถาปัตย์ ม.อ. คว้า 2 รางวัลใหญ่ ในงาน

“สถาปนิกทักษิณ 2557” ง

านสถาปนิกทักษิณ ‘57 จัดขึ้นโดยกรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ และสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่ 7-9 กุมภาพันธ์ 2557 ณ หาดใหญ่ ฮอลล์ ห้างสรรพสินค้า เซ็นทรัลเฟสติวัล อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เพื่อพัฒนาวงการวิชาชีพด้านสถาปัตยกรรม ทั้งระดับสถาบันการศึกษาและระดับสถาปนิกวิชาชีพ โดยเปิดโอกาสให้ สถาบันอุดมศึกษาด้านสถาปัตยกรรมทั่วประเทศส่งผลงานการออกแบบ ของนักศึกษาเข้าร่วมประกวดแบบและส่งตัวแทนนักศึกษาเข้าแข่งขัน ทักษะด้านสถาปัตยกรรม โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ ได้ ส ่ ง นั ก ศึ ก ษาเป็ น ตั ว แทนเข้ า แข่ ง ขั น ในครั้ ง นี้ ด ้ ว ย โดยผลการตัดสินของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ปรากฏว่า นักศึกษา คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ ส ามารถคว้ า มาได้ 2 รางวั ล ด้ ว ยกั น โดยมี รองอธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขตตรั ง ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ พั ก ตรา คู บุ รั ต ถ์ ร่วมแสดงความยินดี รางวัลที่ได้รับมีดังนี้ 1) รางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่ง การแข่งขันทักษะ Sketch Design ระดับ ปวส. และ ปริญญาตรี รับเงินรางวัล 3,000 บาท พร้อมประกาศนียบัตร และแผ่นประกาศเกียรติคุณ ได้แก่ • นายพีรณัฐ ช่างทองเครือ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 • นายณัฐพนธ์ ผลโสดา นักศึกษาชั้นปีที่ 1 2) รางวัลรองชนะเลิศอันดับสอง การประกวดแบบอาคารสถานีขนส่ง ขนาดเล็ ก (บ้ า น-เมื อ ง-ใจดี ) ระดั บ ปวส. และ ปริ ญ ญาตรี รั บ เงิ น รางวั ล 1,500 บาท พร้อมประกาศนียบัตร และแผ่นประกาศเกียรติคุณ ได้แก่ • นายสิทธิกร สุวรรณรัตน์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 • นายสิทธารถ์ พันธุ์ชนะ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 • นายฆนาการ ธนปิยังกูร นักศึกษาชั้นปีที่ 2

22

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557


รอบรั้วศรีตรัง

รศ.ดร.วรวุธ วิสุทธิ์เมธางกูร รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา และศิษย์เก่าสัมพันธ์ น�ำเสนอแนวนโยบายและแนวทางการพัฒนา นั กศึก ษา มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ ต่ อ สภามหาวิ ท ยาลั ยใน การประชุมเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2557 โดยกล่าวว่า มหาวิทยาลัย มี ก ารพั ฒ นานั ก ศึ ก ษา ทั้ ง ในและนอกหลั ก สู ต ร เพื่ อ ให้ ไ ด้ บั ณ ฑิ ต ที่ “เก่ ง ดี มี สุ ข ” ตามแนวพระราชปณิ ธ านของพระบรมราชชนกที่ ใ ห้ ยึ ด ถื อ “ประโยชน์เพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง” โดยมีการพัฒนาต่อเนื่องในหลายรูปแบบ เช่น

บัณฑิต ต้องท�ำงานเป็น

ม.อ. และมีคุณธรรม

อาศั ย เครื อ ข่ า ย หน่ ว ยงาน อาจารย์ บุ ค ลากร เพื่ อ น นักศึกษา ศิษย์เก่า ผู้ปกครอง สถาบันศาสนา หน่วยงานทั้ง ราชการและเอกชน บูรณาการการเรียนการสอน การวิจัย การ บริ ก ารวิ ช าการ การท� ำ กิ จ กรรม การใช้ ชี วิ ต สร้ า งต้ น แบบ ตั ว อย่ า ง จากอาจารย์ บุ ค ลากร เพื่ อ นนั ก ศึ ก ษา ศิ ษ ย์ เ ก่ า นอกจากนั้นยังมี กิ จ กรรมเสริ ม หลั ก สู ต รทั้งกิจกรรมบังคับ เลื อ ก และ กิ จ กรรมเลื อ กเข้ า ร่ ว ม เพื่ อ เสริ ม สร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก สาธารณะ คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมความมี วิ นั ย ทั ก ษะทางสั ง คม วิ ช าการหรื อ วิ ช าชี พ สมรรถนะสากลบนพื้ น ฐานความเป็ น ไทย ความภาคภูมิใจในสถาบัน ความเป็นลูกพระบิดา ความ เป็ น หนึ่ ง เดี ย ว ความเข้ า ใจในพหุ วั ฒ นธรรมและความเป็ น

ประชาธิ ป ไตยโดยมี พ ระมหากษั ต ริ ย ์ ท รงเป็ น พระประมุ ข กรรมการสภามหาวิ ท ยาลั ย ให้ ค วามสนใจกั บ เรื่ อ ง แนวทางการพั ฒ นานั ก ศึ ก ษาที่ น� ำ เสนอโดยเห็ น ว่ า การ พัฒนาคนในระดับอุดมศึกษา จะต้องเน้นไปที่การฝึกให้คิด วิเคราะห์ การมองข้ามศาสตร์เพื่อการใช้ชีวิตอยู่อย่างยั่งยืน การคิ ด เป็ น การมี ค วามสามารถในการสื่ อ สาร การท�ำ งาน เป็ น ที ม และที่ ส� ำ คั ญ ต้ อ งท� ำ งานเป็ น และมี คุ ณ ธรรม โดย อาจารย์จะเป็นผู้มีบทบาทในการสร้างสิ่งดังกล่าวให้เกิดขึ้น โดยวิธีการที่เข้ากับยุคสมัย การเน้นให้คนเก่งวิชาการอย่าง เดียวจะท�ำให้คนกระด้างเกินไป ดังนั้นหลายสถาบันจึงก�ำลัง เน้ น ค� ำ ขวั ญ ประจ� ำ สถาบั น และหลั ก สู ต รที่ แ ทรกคุ ณ ธรรม และกิ จ กรรม ซึ่ ง การที่ ม หาวิ ท ยาลั ย น� ำ แนวพระราชปณิธานที่ให้ “ถือประโยชน์ ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง” มาเป็น วัฒนธรรมองค์กร จึงเป็นแนวทางที่ถูกต้อง อย่ า งไรก็ ต าม มหาวิ ท ยาลั ย อาจเป็นปลายทางของการพัฒนา เพราะ การพัฒนาคนจะต้องมีการหล่อหลอมมา ตั้งแต่เล็กโดยผ่านครอบครัว โรงเรียน จนถึง นโยบายของรัฐที่มีส่วนก�ำหนดวัฒนธรรม ของประเทศ มหาวิ ท ยาลั ย สามารถเข้ า ไปมี ส ่ ว นร่ ว มได้ ใ นระดั บ โรงเรี ย นโดย การสร้ า งเครื อ ข่ า ย ท� ำ ความรู ้ จั ก และ สร้างกิจกรรมร่วมกันกับครูและโรงเรียน โดยวิ ธี ก ารดั ง กล่ า วจะเป็ น การสร้ า ง วัตถุดิบที่มีคุณภาพให้มหาวิทยาลัยด้วย

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

23


รอบรั้วศรีตรัง

ม.อ.ตรังเป็นเจ้าภาพ

แข่งขันโต้วาทีระดับอุดมศึกษา ในจังหวัดตรัง ครั้งที่ 1 โครงการประเพณีโต้วาทีอุดมศึกษาจังหวัด ตรั ง จั ด ขึ้ น เพื่ อ มุ ่ ง เน้ น ผลประโยชน์ แ ก่ ตั ว นั ก ศึ ก ษาผู ้ เ ข้ า ร่ ว มแข่ ง ขั น ได้ ฝ ึ ก ทั ก ษะการ ใช้ภาษา และการท�ำงานร่วมกับผู้อื่น อีกทั้ง เพื่อสร้างประโยชน์แก่บุคคลทั่วไปที่เข้ารับชม การแข่งขัน โดยยึดหลักโครงการคือ “แตกต่าง ด้วยเหตุผล”

หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ในฐานะ เจ้ า ภาพได้ จั ด แข่ ง ขั น โต้ ว าที ร ะดั บ อุ ด มศึ ก ษา ใน จังหวัดตรัง ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2557 ขึ้น ณ สวน ทั บ เที่ ย ง อ� ำ เภอเมื อ งตรั ง เพื่ อ สร้ า งความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง นั ก ศึ ก ษา ซึ่ ง การแข่ ง ขั น ในครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ให้ นักศึกษาได้มีโอกาสท�ำกิจกรรมร่วมกัน อีกทั้งยังเป็นการส่ง เสริมให้นักศึกษามีความรู้ในประเด็นต่างๆ จากการตั้งญัตติ ในการโต้ ว าที แ ละอาจส่ ง ผลไปสู ่ ก ารตระหนั ก ในประเด็ น

24

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

ปั ญ หาของสั ง คมผ่ า นความคิ ด เห็ น ข้ อ เท็ จ จริ ง จากการ โต้ ว าที โดยมี นั ก ศึ ก ษาเข้ า ร่ ว มทั้ ง หมด 7 สถาบั น ประกอบ ด้วย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง, วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี จั ง หวั ด ตรั ง , สถาบั น การพลศึ ก ษา วิ ท ยาเขต ตรัง, วิทยาลัยสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดตรัง, มหาวิทยาลัย รามค� ำแหงสาขาวิ ท ยบริ ก ารเฉลิ ม พระเกี ย รติ วิ ท ยาเขตตรั ง เเละ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้งตรัง


ทีมที่ชนะเลิศในการแข่งขันครั้งนี้คือทีมนักโต้วาทีจาก วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดตรัง โดยทีมที่ชนะเลิศ ได้รับถ้วยรางวัลพร้อมเกียรติบัตร รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ได้ แ ก่ ที ม จากมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตตรั ง และรองชนะเลิศ อันดับ 2 ได้แก่ทีม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง นายนภัส ฉุ้นย่อง ผู้จัดการแข่งขันในครั้งนี้กล่าวว่า “ตามที่ ส ถาบั น การศึ ก ษาในจั ง หวั ด ตรั ง 7 สถาบั น และอี ก 2 องค์กรภาคเอกชนได้มีข้อตกลงความร่วมมือตามพันธกิจ MOU 7 สถาบั น การศึ ก ษา 2 องค์ ก รภาคเอกชนในจั ง หวั ด ตรังที่ผ่านมานั้น ด้านงานกิจการนักศึกษาของแต่ละสถาบัน ได้มีความเห็นร่วมกันว่า จะริเริ่มจัดโครงการประเพณีโต้วาที สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาจั ง หวั ด ตรั ง ขึ้ น เพื่ อ กระชั บ ความร่ ว มมื อ ในส่ ว นงานกิ จ กรรมนั ก ศึ ก ษา และงานด้ า นศิ ล ปวั ฒ นธรรม โดยยึ ด แนวปฏิ บั ติ เ ดี ย วกั บ การจั ด แข่ ง ขั น กี ฬ า 7 สถาบั น คือ การหมุนเวียนกันเป็นเจ้าภาพในการแข่งขัน แต่ในปีการ ศึ ก ษานี้ ท างมหาวิ ทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรั ง ใน ฐานะประธานกลุ ่ ม กิ จ กรรมนั ก ศึ ก ษาได้ รั บ เกี ย รติ ใ ห้ เ ป็ น

ผู้ด�ำเนินการริเริ่มจัดการแข่งขัน ครั้งที่ 1 เมื่ อ วั น ที่ 8 กุ ม ภาพั น ธ์ 2557 ซึ่ ง มี ที ม ที่ส่งเข้าร่วมแข่งขันจาก 7 สถาบันการ ศึกษา โดยแบ่งเป็นการแข่งขันรอบเช้า “รอบคั ด เลื อ ก” และในรอบบ่ า ย “รอบ ชิงชนะเลิศอันดับ 3 และ 1 ตามล�ำดับ” โดยญั ต ติ ใ นการแข่ ง ขั น อาทิ “ใช้ ชี วิ ต อยู่ต่างจังหวัด ดีกว่าใช้ชีวิตอยู่ในเมือง กรุง” “วัฒนธรรมไทยไฉไลกว่าวัฒนธรรม ต่างชาติ” เป็นต้น ดร.นิ พั ฒ น์ โพธิ์ วิ จิ ต ร คณบดี คณะพาณิ ช ยศาสตร์ แ ละการจั ด การ ประธานในพิธีเปิดการแข่งขันกล่าวว่า รู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้เป็นส่วนหนึ่ง ในการจั ด โครงการประเพณี โ ต้ ว าที อุ ด มศึ ก ษาจั ง หวั ด ตรั ง ครั้ ง ที่ 1 และรู ้ สึ ก ภาคภู มิ ใ จที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตตรังได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขัน ครั้งที่ 1 ในครั้งนี้ โครงการ ประเพณี โ ต้ ว าที อุ ด มศึ ก ษาจั ง หวั ด ตรั ง จั ด ขึ้นเพื่อมุ่งเน้นผลประโยชน์แก่ตัวนักศึกษาผู้เข้าร่วมแข่งขัน ได้ ฝ ึ ก ทั ก ษะการใช้ ภ าษา และการท� ำ งานร่ ว มกั บ ผู ้ อื่ น อี ก ทั้ ง เพื่ อ สร้ า งประโยชน์ แ ก่ บุ ค คลทั่ ว ไปที่ เ ข้ า รั บ ชมการ แข่ ง ขั น โดยยึ ด หลั ก โครงการคื อ “แตกต่ า งด้ ว ยเหตุ ผ ล” ซึ่ ง ในแต่ ล ะญั ต ติ ก ารแข่ ง ขั น ล้ ว นแต่ เ ป็ น ญั ต ติ ที่ ถู ก คั ด สรรมา เพื่อสร้างความรู้ มุมมอง และทัศนคติแก่ผู้ชมทุกท่าน

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

25


สู่...ประชาคมอาเซียน

นักศึกษา ม.อ.ปัตตานี

ได้รับทุนฝึกอบรมภาษาและวัฒนธรรมอาหรับ

ณ กรุงดูไบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

นั

นั ก ศึ ก ษาวิ ชาเอกภาษาอาหรั บ คณะมนุษยศาสตร์ และสั ง คมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้รับการคัดเลือกจากสถานกงสุลใหญ่ ประจ�ำกร­ุงดูไบ ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ หรือยูเออี รวม 4 ราย ได้ แ ก่ นายสุ รั ต น์ สุ ด ด� ำ นายวุ ฒิ ชั ย รั ก ษา นายอิ ส มาแอ มะซะ และนายรอเชด บู เ ดี ย ะ ไปร่ ว มศึ ก ษา ภาษาอาหรับ และภาษาอังกฤษเป็นเวลา 1 เดือน เมื่อวันที่ 8 กันยายน – 6 ตุลาคม 2556 ตามโครงการส่งเสริมโอกาสการ ศึกษาแก่เยาวชนไทยมุสลิมของสถานกงสุลใหญ่ประจ�ำกร­ุง ดูไบ เพื่อเข้าร่วมโครงการส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาแด่ เยาวชนไทยมุสลิมจากจังหวัดชายแดนใต้ โดยเข้ารับการฝึก อบรมภาษาและวัฒนธรรมอาหรับระยะสั้น ณ University of Wollongong in Dubai (UOWD) เป็นระยะเวลา 1 เดือน เพื่อ ส่งเสริมความร่วมมือด้านการศึกษา วัฒนธรรม สังคม และ เปิดโลกทัศน์สำ� หรับเยาวชนไทยมุสลิมจากจังหวัดชายแดนใต้

าจารย์ อัสสมิง กาเซ็ง หัวหน้าภาควิชาภาษาตะวันออก คณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี กล่าวว่า โครงการส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาแด่ เยาวชนไทยมุสลิมจากจังหวัดชายแดนใต้ เป็น โครงการของสถานกงสุ ล ใหญ่ ป ระจ� ำกร­ุง ดู ไ บ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษาไทยมุสลิม จากจั ง หวั ด ชายแดนใต้ ไ ด้ เ ปิ ด โลกทั ศ น์ และ แลกเปลี่ยนความรู้ วัฒนธรรม ตลอดจนสัมผัส ชีวิตความเป็นอยู่ของประเทศมุสลิมสายกลาง เพื่ อ โอกาสในการขยายความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง สถาบันการศึกษาอย่างยั่งยืน อีกทั้งเป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์ และยก ระดับบทบาทของไทยในด้านการศึกษา โดยเป็นการส่งเสริมและเพิ่มพูน บทบาทของประเทศไทยใน การปลูกฝังการอยู่ร่วมกันในสังคมแก่เยาวชน และประชาสัมพันธ์บทบาทของไทยในการใช้การศึกษาแก้ไข ปัญหาความ ขัดแย้งในจังหวัดชายแดนใต้ด้วย และนับเป็นโอกาสที่ดีที่นักศึกษาจาก แผนกวิชาภาษาอาหรับ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้เข้ารับ การฝึกอบรมภาษาและวัฒนธรรมอาหรับระยะสั้น ณ UOWD ซึ่งหลักสูตร ดังกล่าวมีการสอนภาษาอารบิก โดยเน้นบทสนทนาและการฝึกไวยกรณ์ ภาษาอารบิก ตลอดจนการพาคณะนักศึกษาทัศนศึกษาสถานที่ส�ำคัญ ต่าง ๆ ในดูไบ อาทิ Jumeirah Mosque, ตลาดท้องถิ่น ตลาดทอง ตลาด ปลา พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นดูไบ เขตเมืองเก่า ฯลฯ เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษา ได้สัมผัสถึงชีวิตความเป็นอยู่ของชาว UAE และชาวต่างชาติในดูไบ ตลอด จนฝึกฝนการใช้ภาษาอารบิกในชีวิตประจ�ำวันในสถานการณ์ต่าง ๆ

26

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

นอกจากนี้ สถานกงสุลใหญ่ประจ�ำกร­ุงดูไบ ยังได้จัด ให้คณะนักศึกษา เดินทางเยี่ยมชม Sheikh Zayed Grand Mosque ซึ่ ง เป็ น สถานที่ ส� ำ คั ญ ทางศาสนาของ UAE โดย มัสยิดดังกล่าว เป็นสถานที่ใช้ส�ำหรับประกอบพิธีทางศาสนา ที่ส�ำคัญของชาติ และเป็นสถานที่ฝังพระศพของ H.H. Sheikh Zayed bin Sultan Al Nahyan อดี ต ผู ้ ก ่ อ ตั้ ง ประเทศ และ ประธานาธิบดี UAE ตลอดจนเดินทางเยี่ยมเยือนและพบปะ พูดคุยกับนักเรียนไทยมุสลิม ที่ได้รับทุนจากรัฐบาล UAE ให้ ศึกษาเล่าเรียนในระดับมัธยมศึกษาที่เมืองอัลเอน เพื่อแลก เปลี่ยนประสบการณ์และความคิดเห็นระหว่างกันด้วย ทั้งนี้ ระหว่างช่วงเวลาที่คณะนักศึกษาพ�ำนักอยู่ในดูไบ ยังได้เข้า ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่ สถานกงสุลใหญ่ประจ�ำกร­ุงดูไบ ร่วม กับชุมชนไทยในดูไบและรัฐใกล้เคียงได้จัดขึ้น อาทิ การเข้า ร่วมการแข่งขันโยนโบว์ลิ่งกระชับความสัมพันธ์ของชุมชนไทย และเข้าร่วมเป็นกองเชียร์ทีมวอลเล่ย์บอลไทยในการแข่งขัน วอลเล่ย์บอลชาย ชิงแชมป์เอเชีย ครั้งที่ 17 ณ เมืองดูไบอีกด้วย ประสบการณ์เมืองดูไบ ประทับใจเป็นไหน ๆ โดยนายสุรัต สุดด�ำ, นายวุฒิชัย รักษา, นายรอเชด บู เ ดี ย ะ, นายอิ ส มาเเอ มะซะ นั ก ศึ ก ษาวิ ช าเอกภาษา อาหรับ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ได้เช้าร่วม โครงการฝึกอบรมภาษาและวัฒนธรรมอาหรับณ กรุงดูไบ ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ “ดู ไ บเป็ น เมื อ งที่ เ จริ ญ และร�่ ำ รวยมากเมื อ งหนึ่ ง มี การพัฒนาอยู่ตลอดเวลา มีตึกระฟ้าที่สวยงามและโดดเด่น หลากหลายรูปแบบที่แสดงถึงการพัฒนาอย่างไม่หยุดนิ่ง ของเมืองนี้แ ละยัง เป็น เมืองที่เปิด เสรีด ้านเศรษฐกิจมีการ สนับสนุนด้านการท่องเที่ยวอย่างเต็มรูปแบบจึงท�ำให้เมือง ดู ไ บเต็ ม ไปด้ ว ยนั ก ธุ ร กิ จ นั ก ท่ อ งเที่ ย วและคนงานจาก


หลากหลายเชื้ อ ชาติม าอยู่ร วมกันการใช้ชีวิตจึงค่อนข้างเป็น พหุ วั ฒ นธรรมต้ อ งท� ำ ความเข้ า ใจถึ ง วั ฒ นธรรมของซึ่ ง กั น และกัน ต้องใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อสื่อสารเพราะถือว่า เป็ น ภาษากลางของโลก (ส� ำ หรั บ คนที่ ยั ง ไม่ เ คยได้ ไ ปเยื อ นที่ ดู ไบอาจจะคิดว่าดูไบเป็น เมืองอาหรับและแน่นอนคนที่นั้นก็ต้อง พูดภาษาอาหรับแต่จริง ๆ แล้วคนอาหรับสวนใหญ่ท่ีนี่เขาจะใช้ ภาษาอังกฤษได้และสามารถที่จะติดต่อกับชาวต่างชาติได้สบาย)

ส�ำหรับตลอดช่วงเวลาที่เราอยู่ที่ดูไบหนึ่งเดือนเต็ม คือ ตั้งแต่วันที่ 8 กันยายน ถึง 7 ตุลาคม 2556 เราก็ได้พยายามใช้ เวลาให้คุ้มค่าที่สุดโดยทุกๆ วัน เราจะขึ้น แท็กซี่จากโรงแรมไปยัง มหาวิทยาลัยและใช้เวลาสามชั่วโมงเต็มในการเรียน หลังจากนั้น เราก็จะกลับไปยังโรงแรมโดยขึ้นรถมหาวิทยาลัยบ้างแท็กซี่บ้าง หรือบางวัน เราก็เดินกลับท่ามกลางแดดที่ร้อนจัด แต่ส่วนใหญ่ พวกเราจะใช้เวลาหลังเรียนขึ้นรถไฟฟ้าเพื่อชมเมืองดูไบและไปยัง สถานที่ต่างๆ และเมื่อถึงวันหยุดศุกร์เสาร์ พี่ๆจากสถานกงสุล ก็ได้จัดกิจกรรมโดยพาพวกเราไปเที่ยวที่สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ เช่ น ทะเลทรายซาฟารี มั ส ยิ ด ชี ค ซายิ ด และภู เ ขาฮาฟี ต ส่ ว น กิ จ กรรมที่ ท างมหาวิ ท ยาลั ย University of Wollongong in Dubai ซึ่งเป็นสถานที่ที่เราไปเรียนภาษาอาหรับ อาจารย์ก็ได้พา พวกเราไปทัศนศึกษา ณ สถานที่ต่างๆ เช่นกัน เช่นพิพิธภัณฑ์ ดูไบ อิบนูบาตูตามอลล์และร้านอาหารเลบานอน เป็นต้น การได้ ไปใช้ชีวิตที่ดูไบถือเป็นประสบการณ์อันล�้ำค่ามากทีเดียวส�ำหรับ เราซึ่งเป็นนักศึกษาวิชาเอกภาษาอาหรับ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ ม.อ.ปัตตานี เพราะเราได้สัมผัสกับความเป็นพหุ วัฒนธรรมอย่างแท้จริงและได้ ใช้ชีวิตอยู่กับคนที่มาจากหลาก หลายประเทศ ท� ำ ให้ เ ราได้ เ รี ย นรู ้ กั บ หลายสิ่ ง หลายอย่ า ง อี ก ทั้งท�ำให้มุมมองการมองโลก โดยเฉพาะโลกอาหรับที่หลายคน อาจคิดว่าเป็นประเทศที่ไม่ค่อยเปิดรับวัฒนธรรมจากข้างนอก หรือวัฒนธรรมตะวันตก แต่ในความเป็นจริงแล้ว เป็นเรื่องที่เรา คิดกันไปเอง ในหลาย ๆ เรื่องที่ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (United Arab Emirates) มี ค วามเจริ ญ ก้าวหน้า ไม่ว่าเรื่องการค้า การลงทุน การ ติดต่อสื่อสาร เทคโนโลยี ตลอดจนภาษา โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ซึ่งกลายเป็นภาษา ที่จ�ำเป็นส�ำหรับนักศึกษาทุกคน ที่ต้องก้าว ไปสู ่ โ ลกแห่ ง การแข่ ง ขั น ที่ สู ง มากในขณะนี้ ส่วนของบรรยากาศของการเรียน เป็นบรรยากาศที่สบายๆ แต่ก็มีตื่นเต้นบ้าง

ในช่วงแรกๆ เพราะทุกวันมีการน�ำเสนอหน้าชั้นเรียนโดยให้เล่าถึง เรือ่ งราวความต่างกันในแง่ของประเพณี ความเชือ่ และวัฒนธรรม การใช้ชีวิตระหว่างสองประเทศ ดูเหมือนกับว่าเราก�ำลังท�ำหน้าที่ เป็นทูตวัฒนธรรมอย่างไงอย่างงั้น ทั้งนี้เพื่อเป็นการฝึกฝนทักษะ การพู ด และการใช้ ค� ำ ภาษาอาหรั บ ซึ่ ง พวกเราต้ อ งเตรี ย มตั ว และหาข้ อ มู ล ในการน� ำ เสนอทุ ก วั น และในหนึ่ ง สั ป ดาห์ ท าง มหาวิ ท ยาลั ย จะจั ด ให้ ไ ปศึ ก ษาตามสถานที่ ต ่ า งๆ เช่ น ตลาด พื้ น เมื อ ง สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย ว ร้ า นอาหาร เป็ น ต้ น เพื่ อ ให้ เ รา ได้ ใช้ภาษาอาหรับที่เรียนในห้องเรียนกับเจ้าของภาษาในสถาน ที่ จ ริ ง การเรี ย นแบบนี้ ก็ ส นุ ก ไปอี ก แบบและท้ า ทายสติ ป ั ญ ญา ของเราเป็ น อย่ า งดี อี ก ทั้ ง มี ก ารพบปะนั ก ศึ ก ษากลุ ่ ม อื่ น ที่ ม า เรียนภาษาอาหรับที่นี่ เป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และการ สร้ า งกระบวนการเรี ย นที่ ดี ม าก เพราะการเรี ย นให้ ห ้ อ งเรี ย น ถื อ เป็ น ห้ อ งแล็ ป และเราต้ อ งน� ำ องค์ ค วามรู ้ เ หล่ า นั้ น ไปใช้ จริ ง กั บ สถานที่ แ ละชี วิ ต จริ ง กระบวนการเรี ย นรู ้ ใ นลั ก ษณะ นี้ ท� ำ ให้ เ ราเข้ า ใจชี วิ ต จริ ง มากขึ้ น รู ้ จั ก ที่ จ ะปรั บ ตั ว เข้ า หากั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม สุ ด ท้ า ยคื อ อาจารย์ ไ ม่ ต ้ อ งคอยมาจี้ ใ ห้ เ ราอ่ า น บอกให้ เ ราท่ อ ง แต่ เ ป็ น กระบวนการที่ ท� ำ ให้ ผู ้ เ รี ย นแต่ ล ะคนมี จิ ต ส� ำ นึ ก และมี ค วามตระหนั ก ที่ จ ะเรี ย นรู ้ ด ้ ว ยตนเอง ซึ่ ง เรา คิ ด ว่ า เป็ น สิ่ ง ที่ ดี ม าก ๆ ส� ำ หรั บ การสร้ า งนิ สั ย รั ก ที่ จ ะเรี ย นรู ้ สุ ด ท้ า ยนี้ ต้ อ งขอขอบพระคุ ณ ทางสถานกงสุ ล ใหญ่ ประจ�ำเมืองดูไบ ที่หยิบยื่นโอกาสดี ๆ แบบนี้ให้ การได้รับโอกาส ครั้ ง นี้ ถื อ เป็ น ประสบการอั น ล�้ ำ ค่ า ที่ ท� ำ ให้ พ วกเราได้ เ รี ย นรู ้ สิ่ ง ใหม่ ๆ บนโลกอั น กว้ า งใหญ่ ใ บนี้ และการได้ รั บ โอกาสใน ครั้งนี้ยังเป็น แรงบันดาลใจให้กับเราทั้งสี่คน ในการที่จะไขว่คว้า หาความรู้ ในเรื่องของภาษาอาหรับให้ไปสู่ในระดับที่สูงขึ้น ต่อ ไป และต้องขอขอบพระคุณพี่ ๆ ที่ท�ำงานในสถานกงสุลอย่าง พี่ อ ้ อ ม พี่ ช าลี และพี่ ตั้ ล จากไทยเทรด ซึ่ ง เป็ น รุ ่ น พี่ ที่ จ บเอก ภาษาอาหรั บ ที่ ค ณะมนุ ษ ย์ ฯ ม.อ.ปั ต ตานี และขณะนี้ ท� ำ งานที่ ส� ำ นั ก งานการค้ า ระหว่ า งประเทศที่ ก รุ ง ดู ไ บ ที่ ค อยช่ ว ยเหลื อ พวกเราทุก ๆ อย่าง ตลอดระยะเวลาเข้าร่วมโครงการในครั้ง นี้ และยังคอยจัดโปรแกรมเที่ยวและจัดกิจกรรมต่างๆในช่วงวัน หยุด และต้องขอขอบพระคุณท่านคณบดี รศ.อาหวัง ล่านุ้ย รองคณบดี ดร.บดินทร์ แวลาเตะ หัวหน้าภาควิชาภาษาตะวัน ออก อาจารย์อัสมิง กาเซ็ง และคณาจารย์ทุกท่านในแผนกภาษา อาหรับ ที่ส่งเสริมและผลักดันให้โครงการนี้เกิดผลเป็นรูปธรรม หวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงการนี้จะยังคงมีต่อไปในปีถัดไป โครงการนี้ถือเป็นโครงการที่นักศึกษาในวิชาเอกภาษาอาหรับ จะได้ มีโอกาสเรียนรู้กับเจ้าของภาษา ในถิ่นที่ใช้ภาษาอาหรับเป็นภาษา แม่ เพื่อต่อยอดองค์ความรู้ และพัฒนาระดับของภาษาให้สูงขึ้นไป

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

27


บริการวิชาการ

ม.อ.ร่วมกรรมาธิการพลังงาน วุฒิสภา

ส่งเสริมพลังงานทดแทนชุมชน ค

ณะกรรมาธิ ก ารพลั ง งาน วุ ฒิ ส ภา ร่ ว มกั บ กระทรวงพลั ง งาน ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการ วิ จั ย แห่ ง ชาติ ร่ ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ร่ ว มจั ด ท� ำ โครงการ “ตามรอยพระบาทร่ ว มใจส่ ง เสริ ม พลั ง งานทดแทน สู ่ ชุ ม ชน” การส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาพลั ง งานชุ ม ชน พอเพี ย ง เป็ น ทางเลื อ กที่ จ ะเป็ น ทางออกของ ประเทศไทยในการพึ่ ง พาตนเองทางด้ า นพลั ง งาน เป้ า หมายเพื่ อ เพิ่ ม สั ด ส่ ว นการใช้ พ ลั ง งานทดแทน ให้ เ ป็ น ร้ อ ยละ 20 ของการใช้พ ลังงานของประเทศ ภายในปี 2565 และส่งเสริมการคิดค้นผลิตพลังงาน ทดแทนเพื่อการพัฒนาประเทศ

รศ.นรี ว รรณ จิ น ตกานนท์ รองประธานคณะกรรมาธิการพลังงาน วุฒิสภา เปิดเผยถึงโครงการ “ตามรอยพระบาทร่วมใจส่งเสริมพลังงาน ทดแทนสู่ชุมชน” ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นต้นแบบทางความคิด และแรงบันดาลใจในการพัฒนาพลังงานเพื่อชุมชนพอเพียง เพื่อเสริมสร้าง เครื อ ข่ า ยการส่ ง เสริ ม การวิ จั ย และต่ อ ยอดการพั ฒ นาพลั ง งานทดแทน ในการพัฒนาชุมชนอย่างต่อเนื่อง อันน�ำไปสู่การหามาตรการและแนวทาง การส่งเสริมและพลังงานชุมชนอย่างยั่งยืน และส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชน หรือ สินค้าโอทอป โดยด�ำเนินการใน 4 ภูมิภาคทั่วประเทศ โดยจัดกิจกรรมสัมมนา ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตามล�ำดับ

28

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557


โครงการตามรอยพระบาทร่วมใจส่งเสริม พลั ง งานทดแทนชุ ม ชนได้ จั ด การสั ม มนา “เพิ่ ม รายได้ ด้ ว ยพลั ง งานชุ ม ชน” โดยรศ.ดร.สุ เ มธ ไชยประพัทธ์ ผู้อ�ำนวยการโครงการจัดตั้งสถาบัน วิ จั ย ระบบพลั ง งาน และผศ.พยอม รั ต นมณี บรรยายพิ เ ศษ เรื่ อ ง ทิ ศ ทางพลั ง งานชุ ม ชนพอ เพี ย งสู ่ อ นาคตชุ ม ชนไทย เพื่ อ ส่ ง เสริ ม เครื อ ข่ า ย การวิ จั ย และต่ อ ยอดในการส่ ง เสริ ม และพั ฒ นา พลังงานชุมชนพอเพียง เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2556 ณ อาคารปฎิบัติการพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดย อาจารย์ พิ ชิ ต เรื อ งแสงวั ฒ นา รองอธิก ารบดี เปิดการสัมนา พลังงานที่น่าสนใจและมีการ สนับสนุนในท้องถิ่นได้แก่ เชื้อเพลิง ชี ว ภาพที่ น� ำ มาใช้ เ ป็ น พลั ง งาน ทดแทนในปั จ จุ บั น ได้ แ ก่ แก๊ ส ชีวภาพ ซึ่งเป็นแก๊สที่ได้จากการหมัก พื ช มู ล สั ต ว์ ก่ อ ให้ เ กิ ด แก๊ ส มี เ ทน สามารถน� ำ ไปเป็ น เชื้ อ เพลิ ง ในการ ปรุงอาหารและกิจกรรมอื่นๆในชุมชน ด้วยสายพระเนตรอันยาวไกล พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัว มีพระราชด�ำริให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สร้าง โรงงานสกั ด น�้ ำ มั น ปาล์ ม ขนาดเล็ ก ที่ นิ ค มอ่ า วลึ ก จั ง หวั ด กระบี่ และศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ จังหวัดนราธิวาส เมื่อ พ.ศ.2526 และโครงการ ส่ ว นพระองค์ สวนจิ ต รลดา และกองงานส่ ว นพระองค์ วังไกลกังวล อ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้ทดลอง น�ำน�้ำมันปาล์มบริสุทธิ์มาใช้กับเครื่องยนต์ดีเซล ในปี พ.ศ. 2534 ทรงเป็ น ต้ น แบบทางความคิ ด และแรงบั น ดาลใจ ในการส่งเสริมและพัฒนาด้านพลังงานทดแทนแก่หน่วยงาน ของรัฐ เอกชน และพสกนิกร

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

29


รอบรั้วศรีตรัง

ผู้บริหารมหาวิทยาลัย

เยี่ยมคารวะในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ 2557

นโอกาสวันขึ้นปีใหม่ 2557 ผู้บริหารมหาวิทยาลัย ประกอบด้วย ท่ า นอธิ ก ารบดี รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยต่ า งๆ ที่ ป รึ ก ษาอธิ ก ารบดี ผู ้ ช ่ ว ยอธิ ก ารบดี ผู ้ อ� ำ นวยการกอง นั ก ศึ ก ษาเก่ า ได้ เ ข้ า เยี่ ย มคารวะ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้มีส่วนสนับสนุนมหาวิทยาลัย และ ผู้น�ำทางจิตใจใน สังคม ศาสตราจารย์ ดร.เกษม สุวรรณกุล นายกสภามหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ศาสตราจารย์ นพ.จรัส สุวรรณเวลา อุปนายกสภา ร้อยตรีไพโรจน์ รัตตกุล อดีตประธานคณะกรรมการส่งเสริม ภราดา ดร.ประที ป มาร์ ติ น โกมลมาศ อดี ต กรรมการผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ส ภา มหาวิ ท ยาลั ย ศาสตราจารย์ ดร.ศกรณ์ มงคลสุ ข คณบดี ค ณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (บุตร ศาสตราจารย์ ดร.สตางค์ มงคลสุข) ดร.รัตน์ ประธานราษฎร์นิกร อดีตกรรมการส่งเสริม ผู้มีอุปการคุณ ต่อมหาวิทยาลัย นายอาศิส พิทักษ์คุมพล จุฬาราชมนตรี นายบัญญัติ

จันทน์เสนะ ประธานกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย ประธาน มูลนิธิมหาวิทยาลัย พระธรรมวงศาจารย์ วัดโคกสมานคุณ เจ้าคณะสงฆ์ภาค 18 พระศรีรัตนวิมล เจ้าคณะจังหวัดสงขลา คุณกมลาสิริ อิศรางกูร ณ อยุธยา รอง กก.ผอ.ใหญ่ ช่อง 9 อสมท ม.ร.ว.ศรีเฉลิม กาญจนภู ส�ำนักงานมูลนิธิชัยพัฒนา คุณภากมล รัตตเสรี ส�ำนักงาน มูลนิธิชัยพัฒนา คุณรังสิมา จารุภ า รองเลขาธิการ ส�ำนักงาน ก.พ. คุ ณ วชิ ร า ตี ร กรวิ เ ศษภั ก ดี ผ.อ. ศู น ย์ จั ด การศึ ก ษาในต่ า งประเทศ และบริหารความรู้ คุณวิโชค อาจหาญ ผู้จัดการทั่วไปบริษัท Totoda Gosei Rubber คุ ณ มหรรณพ นวลสุ ว รรณ์ บรรณาธิการศูนย์ข่าว ภาคใต้ ส�ำนักข่าวไทย(ช่อง 9 อสมท) คุณวันพจน์ ราชมณี บรรณาธิการ ประจ�ำกอง บก. ช่อง 7 คุณนิพัฒน์ เบญจพลไชยโชติ บรรณาธิการ ศูนย์ข่าวภาคใต้ ช่อง 5 ผู้บริหารบริษัท CSR เอสซีจี

แสดงความยินดีกับศิษย์เก่าฯ ที่ได้รับการแต่งตั้ง

เป็นกรรมการผู้จัดการ บ.อินเทล ไมโครอิเล็กทรอนิกส์

หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ขอแสดงความยินดีกับคุณสนธิญา หนูจีนเส้ง (Neer’22) ศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ รุ่นที่ 22 สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่ง บริษัท อินเทล ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด แต่งตั้งนายสนธิญา หนูจีนเส้ง จากเดิ ม ต� ำ แหน่ ง ผู ้ อ� ำ นวยการขายและพั ฒ นาธุ ร กิ จ เป็ น กรรมการผู ้ จั ด การ ต่ อ จาก นายเอกรัศมิ์ อวยสินประเสริฐ ซึ่งแจ้งเกษียณอายุหลังเข้ารับต�ำแหน่งมายาวนานกว่า 35 ปี อูเดย์ มาร์ตี้ ผู้อ�ำนวยการอินเทล ภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กล่าวว่า “ผม และพนักงานอินเทลขอขอบคุณในความมุ่งมั่นทุ่มเทตลอดมาของคุณเอกรัศมิ์ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ท�ำให้ท่านประสบความส�ำเร็จ และบรรลุเป้าหมายในหน้าที่การงาน และเราขอส่งความปรารถนาดีแด่คุณเอกรัศมิ์ให้ประสบแต่ความสุขในชีวิตหลัง เกษียณ และผมมั่นใจว่าคุณสนธิญาจะสามารถสานต่อหน้าที่ของคุณเอกรัศมิ์ ใน การเป็นผู้น�ำองค์กรที่แข็งแกร่งส�ำหรับตลาดประเทศไทยซึ่งเป็นหนึ่งในตลาดที่มี ความส�ำคัญอย่างยิ่งต่ออินเทล เป็นหนึ่งในตลาดที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็วที่สุด”

30

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

คุณสนธิญา หนูจีนเส้ง


รอบรั้วศรีตรัง

สาเหตุที่ต้องใช้ “อาจารย์ใหญ่” ซึ่งเป็นร่างกายคนจริงๆ ก็เพราะว่าไม่มีอุปกรณ์การศึกษาใดที่จะดีไปกว่านี้ และไม่มีวันที่จะมีเทคโนโลยีใดๆ มาทดแทน

พิธีพระราชทานเพลิงศพอาจารย์ใหญ่ เป็นกรณีพิเศษ แก่ผู้อุทิศร่างกายเพื่อการศึกษาประจ�ำปีการศึกษา 2556 เมื่ อ วั น อาทิ ต ย์ ที่ 9 มี น าคม 2557 ที่ ผ ่ า นมา ภาควิ ช ากายวิ ภ าคศาสตร์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ จั ด พิ ธี พระราชทานเพลิงศพอาจารย์ใหญ่ เป็นกรณีพิเศษ แก่ผู้อุทิศร่างกายเพื่อการศึกษา ประจ�ำปีการศึกษา 2556 เพื่อร�ำลึกถึงครูผู้ไร้ลมหายใจ ผู้อุทิศร่างเป็นต�ำราให้เป็น วิทยาทาน แก่การศึกษาเล่าเรียนของนักศึกษา ซึ่งมีจ�ำนวน 89 ร่าง งานนี้เป็นการ บ�ำเพ็ญกุศลรวมถึงฌาปนกิจอาจารย์ใหญ่ ณ วัดคลองเรียน อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา และพระราชเพลิงศพ ในเวลา 14.45 น. โดยมี พระธรรมวงศาจารย์ เจ้าคณะภาค 18 เจ้ า อาวาสวั ด โคกสมานคุ ณ พระอารามหลวง เป็ น ประธานพิ ธี พ ระราชทาน เพลิงศพ ฝ่ายสงฆ์ และรองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ เป็นประธานพิธีพระราชทานเพลิงศพ

“อาจารย์ ใหญ่” เป็นค�ำที่นักศึกษาแพทย์ ใช้เรียกครูผู้ ไร้วิญญาณ ที่ได้สละร่างกายเพื่อการศึกษาและการค้นคว้าวิจัยทางกายวิภาคศาสตร์ สาเหตุที่ต้องใช้ “อาจารย์ ใหญ่” ซึ่งเป็นร่างกายคนจริงๆ ก็เพราะว่าไม่มี อุปกรณ์การศึกษาใดที่จะดีไปกว่านี้ และไม่มีวันที่จะมีเ ทคโนโลยี ใดๆ มา ทดแทน เพราะแบบฝึกหัดชุดนี้คือของจริงที่นักศึกษาไม่ต้องมีจินตนาการ

“อาจารย์ใหญ่” มีบุญคุณต่อวงการแพทย์มานาน และได้รับความเคารพ และการยกย่องจากนักศึกษาแพทย์ เนื่องจากผู้เป็นเจ้าของร่างกาย ทุกท่านได้แสดง เจตจ�ำนงไว้เมื่อยังมีชีวิตที่จะอุทิศร่างไว้ให้นักศึกษาแพทย์เรียน ซึ่งถือเป็นกุศลเจตนา ที่แสนบริสุทธิ์ แสดงถึงสัจธรรมอย่างหนึ่งว่า แม้มนุษย์จะเลือกเกิดไม่ได้ แต่สามารถ เลือกที่จะท�ำประโยชน์ให้แก่ผู้อื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งส�ำหรับแพทย์ที่จะได้น�ำความรู้ ไปสร้างประโยชน์แก่มวลมนุษย์อีกมากมาย ในปั จ จุ บั น จะเห็ น ว่ า ผู ้ ที่ อุ ทิ ศ ร่ า งกายเพื่ อ การศึ ก ษาแพทย์ นั้ น ยั ง สร้ า ง คุณูปการต่อแพทย์เฉพาะทางได้อีกหลายสาขา ศึกษาวิธีการผ่าตัดแบบใหม่ๆ เพื่อ ให้ได้ผลการรักษา ถือเป็นประโยชน์ต่อประชาชนผู้เจ็บป่วยโดยตรง เรียกว่าเป็นการ

ต่อยอดความรู้ ความสามารถ จึงอาจกล่าวได้ว่าการเรียนรู้ จาก “อาจารย์ใหญ่” นั้น ไม่สิ้นสุด และไม่มีเทคโนโลยีใดๆ เลยที่จะมาทดแทนความรู้ที่ได้จาก “อาจารย์ใหญ่” ได้ ส�ำหรับผู้ท่ีประสงค์จะสร้างกุศลครั้งยิ่งใหญ่ของ ชี วิ ต ที่ เ กิ ด มาเป็ น มนุ ษ ย์ ท้ั ง ที สามารถบริ จ าคได้ เพียงครั้งเดียว และถ้าต้องการบริจาคให้กับ ภาควิชา กายวิ ภ าคศาสตร์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ สามารถติ ด ต่ อ สอบถามได้ ที่ เ บอร์ 0 7428 8132

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

31


แนะน�ำบุคคล/หน่วยงาน

อาภรณ์ พงษหา

คนท�ำงาน... การันตีด้วย 4 รางวัลคุณภาพ ความทุ่มเท ความมุ่งมั่นในการท�ำงานเพื่อให้ ประสบผลส�ำเร็จ มีคุณภาพ การท�ำงานของเรา ทุกงานจะตั้งใจท�ำให้ดี ไม่ละเลยในรายละเอียด ไม่ว่าจะวิธีการท�ำงาน หรือการให้ความส�ำคัญ ต่อเพื่อนร่วมงาน

“ก่อนที่เราจะให้คนภายนอกยอมรับเราต้องได้รับการยอมรับ จากภายในก่อน” ค� ำ พู ด นี้ ยื น ยั น ตั ว ตนคนท� ำ งาน ที่ ชื่ อ อาภรณ์ พงษหา ได้ เป็ น อย่ า งดี เพราะ 4 รางวั ล คุ ณ ภาพที่ ไ ด้ รั บ จากหน่ ว ยงานภายใน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และองค์กรอื่นภายนอก ล้วนแต่บ่งบอก ถึงการท�ำหน้าที่ของคนที่ได้ชื่อว่าเป็น พยาบาล ได้เป็นอย่างดี เพราะ การท�ำงานรักษาพยาบาลที่มีคุณภาพ หมายถึง การดูแลผู้ป่วยได้ดี และมีการท�ำงานที่ได้มาตรฐาน และที่ส�ำคัญผู้ป่วยรู้สึกดีและประทับใจ ในการรักษาพยาบาล ท�ำงานอย่างไรจึงได้รับการยอมรับ หรือท�ำงาน อย่ า งไรจนได้ ร างวั ล ไปติ ด ตามเคล็ ด ลั บ ได้ ใ นบทสั ม ภาษณ์ ข อง คุณอาภรณ์ พงษหา คนท�ำงาน การันตีด้วย 4 รางวัลคุณภาพ เริ่มท�ำงานในคณะแพทย์ เริ่มท�ำงานในคณะแพทย์ครั้งแรกในต�ำแหน่งผู้ช่วยพยาบาล ตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ.2526 ต่อมาได้สอบเข้าเรียนในคณะพยาบาล

32

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ส�ำเร็จการศึกษาพยาบาลศาสตร บั ณ ฑิ ต ปี พ .ศ. 2536 และได้ ป รั บ ต� ำแหน่ ง เป็ น พยาบาลประจ� ำการ ตั้งแต่นั้นมาจนถึงปัจจุบัน และส�ำเร็จการศึกษาปริญญาโทพยาบาล ศาสตรมหาบัณฑิต ปีพ.ศ. 2551 สาขาบริหารการพยาบาล มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ปัจจุบันเป็นพยาบาลช�ำนาญการพิเศษ ประจ�ำหอผู้ป่วย ศัลยกรรมชาย 1 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ เหตุผลของการท�ำหน้าที่พยาบาล พยาบาลเป็นอาชีพที่ท�ำให้เราได้ใช้วิชาชีพที่เรียนมาช่วยเหลือ ดูแลผู้คนที่เจ็บป่วย ได้เป็นส่วนหนึ่งของทีมงานช่วยชีวิตคนอื่นๆ ได้พบปะ ผู้คนที่มีปัญหาด้านสุขภาพ ทุกคนที่มาโรงพยาบาล ต้องการหายจาก อาการเจ็บป่วยสามารถกลับไปใช้ชีวิตได้ปกติเหมือนเช่นคนอื่นๆ ทั่วไป การได้ท�ำอาชีพนี้ก็เหมือนกับเราได้ท�ำบุญไปในตัว ได้ท�ำบุญทุกวัน และ ที่ส�ำคัญอาชีพพยาบาลเป็นอาชีพที่จบแล้วมีงานท�ำ ไม่ต้องวิ่งหางาน สิ่งส�ำคัญในการท�ำหน้าที่พยาบาล พยาบาลเป็นอาชีพที่ต้องใช้ความรอบคอบ เอาใจใส่ ต้องรักและ ชอบในงานที่ ท� ำ ต้ อ งเสี ย สละเป็ น อย่ า งมาก เพราะงานของเราต้ อ ง รับผิดชอบต่อสุขภาพ และชีวิตของผู้ป่วย ปรารถนาจะให้ผู้ป่วยพ้นจาก ความทุ ก ข์ ท รมาน รวมถึ ง เรื่ อ งของการมี น�้ ำ ใจช่ ว ยเหลื อ เห็ น อก เห็นใจ เข้าใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และให้การช่วยเหลือ เมื่อผู้ป่วยหรือญาติ ต้ อ งการความช่ ว ยเหลื อ บางครั้ ง เราเห็ น คนที่ ม าจากต่ า งจั ง หวั ด เดิ น ไปเดิ น มาอยู ่ ใ นโรงพยาบาลดู เ หมื อ นก� ำ ลั ง ต้ อ งการจะหา หรื อ ท� ำ อะไรสั ก อย่ า ง สั ง เกตดู ก็ รู ้ ว ่ า เขาคงไม่ ก ล้ า ถามใครหรื อ ขอความ ช่ ว ยเหลื อ จากใคร เราก็ เ ข้ า ไปถาม รอยยิ้ ม ที่ เ ราได้ รั บ จากผู ้ ที่ ม ารั บ บริการ จากคนที่เราให้การช่วยเหลือ มันเป็นความสุขเป็นก�ำลังใจที่ ไม่ต้องลงทุนอะไรมาก นอกจากนี้ความมีน�้ำใจ การเต็มใจให้ความ ช่ ว ยเหลื อ กั บ คนที่ ม าใช้ บ ริ ก ารในโรงพยาบาล ของเรา สิ่ ง ที่ พ วกเรา ท� ำ มั น ยั ง เป็ น ภาพสะท้ อ นถึ ง ภาพลั ก ษณ์ ที่ ดี ข ององค์ ก รที่ เ รารั ก ด้ ว ย จากหน้าที่ สู่รางวัลการันตี จากการท� ำ งานมาเป็ น ระยะเวลานาน สั่ ง สมประสบการณ์ ปัญหา และความรู้ต่างๆ ท�ำให้เราเรียนรู้ที่จะพัฒนาและปรับปรุงงาน หลายอย่าง จนเข้าตากรรมการ ได้รับการเสนอชื่อเข้ารับรางวัลต่างๆ ส�ำหรับปีนี้รางวัลที่เกี่ยวข้องกับการท�ำงานมี 4 รางวัล เป็นรางวัลกลุ่ม 1 รางวัลและรางวัลบุคคลอีก 3 รางวัล ประกอบด้วย รางวั ล แรก เป็ น รางวั ล ที ม ปฏิ บั ติ ก ารพยาบาลดี เ ด่ น ระดั บ ตติยภูมิ โอกาสที่ดีในการขยายงานการดูแลแบบประคับประคอง จาก สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคใต้ เป็นรางวัลกลุ่ม ชื่อกลุ่ม ว่า Songklanagarind Palliative Care Team ซึ่งข่าวคณะแพทย์ประจ�ำ เดือนกันยายน-ตุลาคม พ.ศ.2556 ได้เคยน�ำเสนอไปแล้ว รางวัลที่สอง รางวัลศิษย์เก่าผู้อุทิศตนท�ำประโยชน์ให้กับสังคม และมหาวิ ท ยาลั ย ซึ่ ง มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เป็ น ผู ้ พิ จ ารณา


คัดเลือกจากศิษย์เก่าที่กระจายกันออกไปประกอบอาชีพอยู่ทั่วประเทศ ได้รับเมื่อ 16 กันยายน พ.ศ.2556 รางวั ล ที่ ส าม รางวั ล ตาราอวอร์ ด เป็ น รางวั ล ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ ท� ำ ประโยชน์ เ พื่ อ สั ง คมจากเสถี ย รธรรมสถานและสาวิ ก าสิ ก ขาลั ย โดย มีหลักเกณฑ์การพิจารณาจากผู้เสนอเข้ารับรางวัลจากทั่วประเทศที่ ใช้ชีวิตหรือมีวิถีชีวิตต่อการเอื้อเฟื้อประโยชน์ต่อผู้อื่นด้วยการท�ำงาน เพื่อสังคมตั้งแต่ในระดับครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่นจนถึงระดับมหภาค คือ สังคมประเทศไทยและสังคมโลก คุณสมบัติของผู้ได้รับรางวัลต้อง 1) มีวิถีชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง สุข 3 ขั้น ได้แก่ สุขง่าย...ใช้น้อย สุข...เมื่อสร้าง และสุข...เมื่อให้ 2) มีวิถีแห่งความคิดที่เป็นคุณธรรม 8 ประการคือ ท�ำงานอย่างไม่มีความถือตัวอวดดี ไม่มีความโง่เขลา ไม่มีความอาฆาตพยาบาททั้งปวง ไม่มีความอิจฉาริษยา ไม่มีความ คิดเห็นที่ผิด ไม่มีความโลภ ไม่มีความยึดมั่นถือมั่น ไม่มีความยึดติด ความเคลือบแคลงสงสัย 3) มีวิถีแห่งการเอื้อประโยชน์ต่อผู้อื่น ด้วยการ ท�ำงานเพื่อสังคมได้รับรางวัลนี้เมื่อ 31 ตุลาคม พ.ศ.2556 รางวั ล ที่ สี่ รางวั ล เชิ ด ชู เ กี ย รติ จ ากสมาคมพยาบาลแห่ ง ประเทศไทยฯ สาขาภาคใต้ ประจ�ำปี 2556 ซึ่งมีผลต่อเนื่องมาจากการ ที่ได้รับรางวัล ตาราอวอร์ด รางวัลนี้ได้รับเมื่อ 15 พฤศจิกายน พ.ศ.2556 ความรู้สึกกับรางวัลที่ได้รับ จริงๆ แล้วเชื่อว่าคนท�ำงานทุกคนท�ำงานก็คงไม่ได้มุ่งหวังกับ รางวัลอะไร แต่เมื่อได้รับรางวัล ก็คงเหมือนกับทุกคนคือ มีความสุข และรู ้ สึ ก ภาคภู มิ ใ จ ความรู ้ สึ ก ลึ ก ๆ อี ก อย่ า งคื อ ท� ำ ให้ เ รามี ก� ำ ลั ง ใจ และยังเป็นเครื่องยืนยันว่างานหรือกิจกรรมที่เราท�ำอยู่เป็นสิ่งที่ถูกต้อง และท�ำให้ผู้อื่นเห็นคุณค่า เหตุผลของการได้รับรางวัล ความทุ่มเท ความมุ่งมั่นในการท�ำงานเพื่อให้ประสบผลส�ำเร็จ มีคุณภาพ การท�ำงานของเรา ทุกงานจะตั้งใจท�ำให้ดี ไม่ละเลยในราย ละเอียด ไม่ว่าจะวิธีการท�ำงาน หรือการให้ความส�ำคัญต่อเพื่อนร่วม งาน ไม่ใช่แค่ท�ำให้เสร็จแต่ต้องท�ำให้ดีให้สมกับที่ได้รับความไว้วางใจ โดยเฉพาะหากเป็นงานที่ได้รับมอบหมายเป็นพิเศษยิ่งต้องให้ความ ส�ำคัญเพิ่มขึ้น และการใช้เวลาส่วนตัวท�ำกิจกรรมจิตอาสาต่างๆ ทั้ง ที่เราเคยท�ำในอดีตและยังคงด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ อยู่ จนถึงปัจจุบัน การท�ำงานแล้วต้องได้รับรางวัล ต้องเป็นคนที่ท�ำงานมากกว่า คนอื่นจริงหรือ ในส่วนของงานประจ�ำหากดูที่ปริมาณงานคงไม่แตกต่างกันมาก แต่อาจจะแตกต่างกันบ้างในเรื่องรายละเอียดบางประการ หากเป็นงาน เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยคงจะเป็นเรื่องของความเอาใจใส่ การมีน�้ำใจ ช่วยเหลือ การมีปฏิสัมพันธ์และสัมพันธภาพกับผู้ป่วยและญาติผู้ป่วย กั บ เพื่ อ นร่ ว มวิ ช าชี พ นอกจากนี้ ก ารใช้ เ วลาว่ า งหรื อ เวลาส่ ว นตั ว ท�ำ กิ จ กรรมจิ ต อาสา กิ จ กรรมเพื่ อ สั ง คม ซึ่ ง การกระท� ำ ทุ ก อย่ า งต้ อ งท� ำ ด้วยใจไม่ได้มุ่งหวังอะไร นอกจากท�ำแล้วสุขใจ รางวัลที่ประทับใจมากที่สุด จริงแล้วรู้สึกประทับใจในทุกรางวัล ในแต่ละรางวัลล้วนมีส่วน เกี่ ย วข้ อ งหลายฝ่ า ยที่ เ ข้ า มาช่ ว ยเหลื อ ผลั ก ดั น การท� ำ งานของเราให้ ประสบผลส� ำ เร็ จ แต่ ห ากจะให้ เ ลื อ กขอเลื อ ก 2 รางวั ล คื อ รางวั ล ศิษย์เก่าผู้อุทิศตนท�ำประโยชน์ให้กับสังคมและมหาวิทยาลัย ซึ่งทาง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เป็นผู้มอบให้ คิดว่าก่อนที่เราจะให้คน

ภายนอกยอมรับเราต้องได้ รับการยอมรับจากภายใน ก่ อ น และอี ก หนึ่ ง รางวั ล คื อ รางวั ล ตาราอวอร์ ด รางวัลนี้ผู้ได้รับรางวัลเป็น บุคคลจากทุกสาขาวิชาชีพ ที่ได้รับคัดเลือกมาจากทั่ว ประเทศ รางวั ล นี้ จึ ง เป็ น ความภาคภู มิ ใ จในฐานะ ที่ เ ราเป็ น ลู ก ของพระบิ ด า เป็นข้าแผ่นดินของในหลวง อุปสรรคในการท�ำงาน หากมีอุปสรรคก็จะค่อยๆ แก้ ไ ขด้ ว ยตั ว เราเองก่ อ น การมองโลกในแง่ดีมันก็ช่วยให้เราไม่รู้สึกท้อ หากเป็นเรื่องที่ไม่สามารถ ท�ำได้ด้วยตัวเองก็จะขอค�ำปรึกษาจากผู้ใหญ่หรือผู้รู้ ที่ผ่านมาค่อนข้าง โชคดีที่เรามีกัลยาณมิตรค่อนข้างมาก บางปัญหาที่ดูเหมือนจะยาก ก็ ก ลายเป็ น เรื่ อ งง่ า ย และหากรู ้ สึ ก เหนื่ อ ยล้ า เครี ย ด หนั ก ตื้ อ ก็ จ ะ กลับบ้าน ก�ำลังใจที่ดีที่สุดคือสมาชิกทุกคนที่บ้าน ขอบคุณ ขอขอบคุณท่านคณบดี ผู้บริหาร โรงพยาบาล ผู้บริหารฝ่าย บริการพยาบาลและคณะผู้บริหารคณะแพทยศาสตร์ที่ให้โอกาส ในการท� ำ งาน และได้ พั ฒ นาตนเองจนมาถึ ง ทุ ก วั น นี้ ขอบคุ ณ แม่ชีศันสนีย์ เสถียรสุตและทีมงานเสถียรธรรมสถาน ขอบคุณ รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะกรรมการศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ขอบคุณ คณะกรรมการสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคใต้ ที่พิจารณามอบรางวัลให้ ขอขอบคุณ รศ.ดร.นงนุช บุญยัง ผู้ซึ่งคอย ให้ ค� ำ ปรึ ก ษาทุ ก ปั ญ หาและคอยสนั บ สนุ น ให้ ก� ำ ลั ง ใจอย่ า ง สม�่ำเสมอมา ขอขอบคุณคุณโกสุมภ์ หมู่ขจรพันธ์ หัวหน้าฝ่าย บริการพยาบาล และคุณสุดจิต ไตรประคอง ผู้ตรวจการพยาบาล ผู ้ บ ริ ห ารฝ่ า ยบริ ก ารพยาบาลทุ ก ท่ า นที่ ใ ห้ เ กี ย รติ เ สนอชื่ อ ว่ า มี คุ ณ สมบั ติ ที่ จ ะได้ รั บ รางวั ล ต่ า งๆ ขอขอบคุ ณ คุ ณ จุ ฑ ารั ต น์ เกี ย รติ ศิ ริ โ รจน์ ผู้ตรวจการพยาบาล ที่เกษียณไปแล้วผู้ซึ่งเป็น ต้นแบบในการท�ำความดี เป็นแบบอย่างในการท�ำงานจิตอาสา ขอบคุณคณะกรรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายฝ่ายบริการพยาบาล ขอบคุณคุณอรพรรณ ไชยเพชร หัวหน้าหอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย 1 ที่ ส นั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง าน การท� ำ กิ จ กรรมขอบคุ ณ เจ้ า หน้ า ที่ หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย 1 ทุกท่าน และเพื่อนๆ ผู้ร่วมงานจิตอาสา ทุ ก คนที่ มี ส ่ ว นส� ำ คั ญ อย่ า งมากที่ ท� ำ ให้ ไ ด้ รั บ รางวั ล ต่ า งๆ และ ขอขอบคุ ณ ครอบครั ว ที่ เ ข้ า ใจการท� ำ งานและคอยเป็ น ก� ำ ลั ง ใจ ให้ ก ารสนั บ สนุ น ในการท� ำ งานและกิ จ กรรมหลายๆ กิ จ กรรม ที่ ค รอบครั ว ได้ เ ข้ า มามี ส ่ ว นร่ ว มด้ ว ย สุ ด ท้ า ยสิ่ ง ที่ อ ยากเห็ น ในคณะแพทยศาสตร์ คือทุกคนท�ำงานอย่างมีความสุข มีความ เอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ยิ้มให้กันและมีความรักต่อกัน ที่มา...ข่าวคณะแพทย์ ปีที่ 32 ฉบับที่ 225 ประจ�ำเดือนมกราคม 2557

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

33


การศึกษา

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เข้าร่วมจัดนิทรรศการตลาดนัดหลักสูตรอุดมศึกษา ครั้งที่ 18

ณ ม.เชียงใหม่ ม.เกษตรศาสตร์ และม.ขอนแก่น

หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เข้ า ร่ ว มการจั ด นิ ท รรศการ “ตลาดนั ด หลั ก สู ต รอุ ด มศึ ก ษา ครั้ ง ที่ 18” เมื่ อ วั น ที่ 14 - 15 พฤศจิ ก ายน 2556 ณ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ วั น ที่ 21-22 พฤศจิกายน 2556 และมหาวิทยาลัยขอนแก่น วันที่ 30 -31 มกราคม 2557 การจั ด นิ ท รรศการดั ง กล่ า วมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เผยแพร่ ข ้ อ มู ล หลั ก สู ต รระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ทั้งหลักสูตรภาษาไทยและนานาชาติ การได้กระจายโอกาสให้ นักเรียน นิสิต นักศึกษา ครู ผู้ปกครอง หน่วยงานและผู้ที่สนใจ ทั่วไปทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคให้เข้าถึงข้อมูลหลักสูตร และข้อมูลทางการศึกษาอื่นๆ โดยทัดเทียมกัน โดยเฉพาะการ เป็นศูนย์กลางแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข้อมูลในการศึกษา ต่ อ ระหว่ า งสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา สิ่ ง ส� ำ คั ญ เป็ น การส่ ง เสริ ม ให้มีการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาในประเทศเพิ่มมากขึ้น ในการเข้าร่วมจัดนิทรรศการดังกล่าวมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ได้น�ำหลักสูตรกว่า 309 สาขามาแนะน�ำและโครงการพิเศษ ต่างๆ โดยเฉพาะการเปิดรับสมัครโครงการ “SCISEED สานฝัน คนพันธุ์วิทย์” ประจ�ำปีการศึกษา 2557 ของคณะวิทยาศาสตร์ ส�ำหรับวิทยาเขตปัตตานีได้จัดสรรทุนการศึกษาจากส�ำนักงานคณะ กรรมการการอุดมศึกษาเพื่อจูงใจนักเรียนต่างพื้นที่เข้าศึกษาใน สถาบันอุดมศึกษาเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาค ใต้ เพื่อเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จ� ำ นวน 250 ทุ น ภายใต้ เ งื่ อ นไขต่ า ง ๆ ของคณะ โดยรั บ สมั ค ร นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย วิทยาเขตตรัง ได้น�ำหลักสูตร และสาขาใหม่ๆ มาแนะน�ำ อาทิ สาขาศิลปะและการแสดง ส่วน วิทยาเขตภูเก็ต ได้น�ำกิจกรรมให้น้องๆ ได้ร่วมสนุกกับการกด like ใน

34

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

การเข้าสู่คณะต่างๆ ของวิทยาเขต รวมทั้งคณะวิทยาศาสตร์ที่ได้น�ำ กิจกรรมกด like พร้อมมอบของที่ระลึกมากมายแก่ผู้ที่มาร่วมสนุก อีกด้วย นอกจากการจัดกิจกรรมที่บูทแล้ว มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ยังได้ท�ำกิจกรรมบนเวทีแนะน�ำหลักสูตรต่างๆ ซึ่งเป็นทาง เลือกหนึ่งในการเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดย มี ผศ.ดร.ภัทร อัยรักษ์ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ ให้ข้อมูลในด้านการศึกษา ในงานนิทรรศการครั้งนี้อีกด้วย อนึ่งการจัดงานนิทรรศการครั้งนี้ ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุ ด มศึ ก ษาร่ ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย ภู มิ ภ าคต่ า งๆ ในประเทศ หมุ น เวี ย นกั น เป็ น เจ้ า ภาพทางวิ ช าการและการจั ด นิ ท รรศการ ตลาดนัดหลักสูตรอุดมศึกษาครั้งที่ 18 ประจ�ำปี 2557 โดยภาค เหนื อ จั ด ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ มหาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ ้ า หลวง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัย อุ บ ลราชธานี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี สุ ร นารี ภาคกลาง จั ด ที่ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ และมหาวิ ท ยาลั ย คริ ส เตี ย น และภาคใต้ จัดที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์


ศิลปะและวัฒนธรรม/กีฬา

ศูนย์ส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม ม.อ. จัดการประกวดภาพถ่าย

“@PSU...Life Style=Life Skill” ทุกสิ่งต้องการ “การเอาใจใส่”

ลงานภาพถ่ า ย ภายใต้ แ นวคิ ด ทุ ก สิ่ ง ต้ อ งการ “การเอาใจใส่” ของนางสาวณัฐภัทร การะด�ำ นั ก ศึ ก ษา ชั้ น ปี ที่ 2 คณะทรั พ ยากรธรรมชาติ ชนะใจ กรรมการตัดสิน รับรางวัลชนะเลิศ การประกวดภาพถ่าย “@PSU…Life Style = Life Skill” จั ด โดย ศู น ย์ ส ่ ง เสริ ม ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษา ถ่ายทอดประสบการณ์การใช้ ชีวิตภายในรั้วมหาวิทยาลัยผ่านภาพถ่าย สร้างความรัก และภาคภูมิใจในสถาบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิสิตา บ�ำรุงวงศ์ ผู้อ�ำนวยการศูนย์ส่งเสริม ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า การจัดประกวด ภาพถ่าย “@PSU…Life Style = Life Skill” (ณ ม.อ. ....วิถีชีวิต = ทักษะ ชีวิต) จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้พัฒนาทักษะในการถ่ายภาพ การใช้ เทคโนโลยีและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่างๆ พร้อมกับการตกผลึกทางความ คิดจากประสบการณ์ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยกลั่นกรองเป็นถ้อยค�ำและ ภาพถ่ายภายในมหาวิทยาลัย แล้วน�ำผลงานไปเผยแพร่เพื่อแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Facebook) ตลอดจนสร้างพื้นที่ให้ นักศึกษาทั้งที่เป็นผู้สร้างสรรค์ผลงานและผู้รับชมผลงาน ได้หันกลับมามอง คุณค่าชีวิต และศักดิ์ศรีความเป็นนักศึกษา พร้อมกับ ความรักและความ

ภาคภูมิใจในลูกสงขลานครินทร์ โดยมี นางสาวศจีพรรณ เลาหวิริยะกมล นั ก วิ ช าการศึ ก ษา ศู น ย์ ส ่ ง เสริ ม ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม เป็ น ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบ โครงการ ผลงานของนักศึกษา ที่ได้รับรางวัลจากการประกวดในครั้งนี้ • ชนะเลิศ ได้แก่ นางสาวณัฐภัทร การะด�ำ คณะทรัพยากรธรรมชาติ ชั้นปีที่ 2 • รองชนะเลิศอันดับ 1 นายสมเจตน์ สุวรรณโน คณะเทคนิคการแพทย์ ชั้นปีที่ 1 • รองชนะเลิศอันดับ 2 นางสาวสกาวเดือน รุณกิจ คณะศิลปศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 • รางวัลชมเชย นายอภินันท์ สีเสน คณะทรัพยากรธรรมชาติ ชั้นปีที่ 4 • รางวัลชมเชย นางสาวอัญชิสา นวกิจรังสรรค์ คณะเศรษฐศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 • รางวัลชมเชยและ รางวัล Popular Vote นายศตพร ชูนิ่ม คณะเทคนิค การแพทย์ ปี 1

ซึ่ ง ได้ ม อบรางวั ล เมื่ อ วั น ที่ 27 กุ ม ภาพั น ธ์ 2557 โดย ผู ้ ช ่ ว ย ศาสตราจารย์ นิ สิ ต า บ� ำ รุ ง วงศ์ ผู ้ อ� ำ นวยการศู น ย์ ส ่ ง เสริ ม ศิ ล ปะและ วัฒนธรรม มอบรางวัลให้กับนักศึกษา ที่ได้รับรางวัลดังกล่าว นางสาวณัฐภัทร การะด�ำ ผู้ได้รับรางวัลชนะเลิศ กล่าวว่า ภาพที่ ส่งเข้าประกวดเป็นภาพที่ถ่ายไว้ตอนลงแปลงเรียนเมื่อตอนปี 1 เห็นเพื่อนๆ ก�ำลังดูแลแปลง เป็นการดูแลเอาใจใส่ ช่วงนั้นเป็นช่วงใกล้สอบเลยน�ำมา ปรับใช้โดยถึงนึกตัวเองว่า เมื่อตอนเข้ามาเรียนแรกๆ ตอนปี 1 ก็เรียน ไป แบบไม่ คิ ด อะไรมาก เกรดที่ อ อกมาก็ ไ ด้ น ้ อ ย พอขึ้ น เทอม 2 ก็ เ ริ่ ม ตั้ ง ใจ เรียนมากขึ้น เกรดก็ออกมาดีขึ้น เลยมาคิดอีกทีว่า ถ้าเราตั้งใจตั้งแต่แรก เราก็สามารถท�ำได้ ไม่ใช่ว่าเราท�ำไม่ได้ เลยน�ำมาเป็นแรงบันดาลใจเขียน เป็นข้อคิดประกอบภาพนี้ รู้สึกดีใจมาก ที่ทราบว่าภาพของตัวเองได้รับ รางวัลชนะเลิศ เพราะจากที่เห็นผลงานของเพื่อนๆ พี่ๆ ทุกคนสวยและมี ข้อคิดดีๆ ทุกภาพ ภาพของตัวเองก็ดูธรรมดา และคิดว่าคงไม่ได้รับรางวัล โครงการนี้เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ที่ชอบถ่ายภาพแต่ไม่มีกล้อง แบบมืออาชีพได้เข้าร่วม และเปิดโอกาสให้ได้เห็นแนวคิดของผู้อื่นๆ ที่ มีแนวคิดแตกต่างกัน วิถีชีวิตก็เหมือนการเข้ามาในแต่ละคณะที่แตกต่าง กัน เช่น แผนการเรียนของแต่ละคณะก็ไม่เหมือนกันอยู่แล้ว การเรียน การปฏิบัติของแต่ละคน แต่ละคณะก็แตกต่างกันไป แต่เราสามารถ น�ำประสบการณ์ทางความคิดของเราไปแลกเปลี่ยนให้คนอื่นได้รู้ และ เราก็สามารถน�ำวิถีชีวิตของผู้อื่นมาปรับใช้กับเราได้เช่นกัน ผู้สนใจ ชมผลงานได้ที่ https://www.facebook.com/acc.photo.quote.contest

กุมภาพันธฺ์ - มีนาคม 2557

35



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.