วารสาร ภาคพายัพ ฉบับที่ 15 ประจำเดือน กรกฎาคม – กันยายน 2556

Page 1

FREE COPY

อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา

รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทักษ

วารสารเพื่อการประชาสัมพันธ และการสื่อสารองค กร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล านนา ภาคพายัพ เชียงใหม ฉบับที่ 15 ประจําเดือน กรกฎาคม - กันยายน 2556

วารสาร ภาคพายัพ


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา

ขอแสดงความยินดีกับบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ประจําปการศึกษา ๒๕๕๕

ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ครั้งที่ ๒๗ ประจําปการศึกษา ๒๕๕๕

วันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อําเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี

พระครูไพบูลยพัฒนาภิรักษ ปริญญาศิลปบัณฑิต กิตติมศักดิ์ (ทัศนศิลป)

นายเจริญ สิริวัฒนภักดี ปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ (วิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีการอาหาร)

นายเดชา ครุฑทิน นายณรงค ชวสินธุ ปริญญาวิศวกรรมศาสตร ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (วิศวกรรมโยธา) กิตติมศักดิ์ (การตลาด)

นายจุมพร ชมภูรัตน ปริญญาอุตสาหกรรมศาสตร มหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (เทคโนโลยีเครื่องกล)

นายเดชา ศิรนรเศรษฐ ปริญญาวิทยาศาสตรมหา บัณฑิตกิตติมศักดิ์ (คหกรรมศาสตร)

นายสุรพล เกียรติไชยากร นายบุญเลิศ บูรณุปกรณ ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ กิตติมศักดิ์ (การจัดการ) (การทองเที่ยวและการโรงแรม)

นายประสงค ลือเมือง ปริญญาศิลปดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ (ทัศนศิลป)

นายดนัย เอกกมล ปริญญาวิศวกรรมศาสตร มหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (วิศวกรรมเครื่องกล)

นายสะเทื้อม กะดีแดง ปริญญาสถาปตยกรรมศาสตร มหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (เทคโนโลยีสถาปตยกรรม)

นายสายัณห ปานพินิจ ปริญญาวิทยาศาสตร มหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (เทคโนโลยีการอาหาร)


บทบรรณาธิการ

วารสารภาคพายัพฉบับที่ 15 ประจ�าเดือน กรกฎาคม - กันยายน 2556 โดย ในฉบับนี้ทางกองบรรณาธิการ ขอน�าเสนอชีวประวัติของ รศ.ดร.น�ายุทธ สงค์ ธ นาพิ ทัก ษ์ ผู ้ ไ ด้ รั บ เลือกเป็น อธิก ารบดีม หาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา “กว่าจะถึงวันนี้ บนถนนสายการศึกษา” รวมถึงวิสยั ทัศน์ และยุทธศาสตร์ทจี่ ะน�ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาแห่งนีไ้ ปสู่ ความส�าเร็จ

ในส่วนของคอลัมน์ข่าวสารงานวิจัย ในฉบับนี้ น�าเสนองานวิจัยสิ่งประดิษฐ์ เครื่องคั่วกาแฟ ขนาดความจุ 1.5 กิโลกรัม ที่ช่วยให้ธุรกิจร้านกาแฟขนาด เล็ก สามารถประหยัดค่าใช้จา่ ยในการซือ้ เครือ่ งราคาแพงเพือ่ น�ามาคัว่ เมล็ด กาแฟ

ในส่วนของคอลัมน์งานบริการวิชาการ จะกล่าวถึง ศูนย์วฒ ั นธรรมเฉลิมราช วัดพระธาตุดอยสะเก็ด พระอารามหลวง อ�าเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ส�าหรับบทความผู้บริหารประจ�าฉบับนี้ ได้รับเกียรติจากอาจารย์ประสิทธิ์ ที่ มทร.ล้านนา ได้ร่วมเป็นคณะท�างานในการจัดสร้างขึ้น เพื่อเผยแพร่ อินทร์จันทร์ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พระมหากรุณาธิคุณ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และน�าเสนอ ภาคพายัพ เชียงใหม่ จะได้มาเล่าถึง แนวทางในการบริหาร มทร.ล้านนา ศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาคพายัพ เชียงใหม่ ภายใต้วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ของ รศ.ดร.น�ายุทธ สุ ด ท้ า ยนี้ ก องบรรณาธิ ก ารต้ อ งขอแสดงความยิ น ดี กั บว่า ที่บัณ ฑิตของ สงค์ธนาพิทักษ์ ใน “เหลียวหลัง แลหน้า ราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ที่ส�าเร็จการศึกษาและจะเข้า เชียงใหม่ สู่ วิสัยทัศน์ 2020 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา” รับพระราชทานปริญญาบัตร จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม นอกจากนั้น ในคอลัมน์แนะน�าศิษย์เก่า ฉบับนี้ได้รับเกียรติจาก คุณไมตรี บรมราชกุมารี ในวันอังคาร ที่ 5 พฤศจิกายน 2556 ณ หอประชุมใหญ่ อรรถปรียางกูร ประธานศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ระหว่างปี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี พ.ศ. 2533 – 2545 เจ้าของกิจการรับเหมาก่อสร้างงานโยธา ถนน เขื่อน อ่างเก็บน�้า ทั้งในประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน ที่จะมาบอกเล่าแบ่งปัน ประสบการณ์ ให้นักศึกษารุ่นน้องได้น�าไปเป็นแบบอย่างในการประกอบ อาชีพในอนาคตต่อไป

อาจารยธราดล ดวงสุภา บรรณาธิการ

วารสาร ภาคพายัพ

ปก

ฉบับที่ 15 ประจําเดือน กรกฎาคม - กันยายน 2556 ทีป่ รึกษา

อาจารยสุทิน ประเสริฐสุนทร อาจารยประสิทธิ์ อินทรจันทร อาจารยอิศรา กันแตง อาจารยชาคริต ชูวุฒยากร อาจารยสุพงศ แดงสุริยะศรี ผศ.สุรพล มโนวงศ ผศ.อํานวย ปทุมป อาจารยประเวศ ทองธรรมชาติ ดร.รัฐนันท พงศวิริทธิ์ธร นายชัยพฤกษ สิทธิศักดิ์ อาจารยดิลก ประสานวรกิจกุล

กองบรรณาธิการ

นางประไพ อินทรศรี นายนิวัตร อินตะรัตน นส.กิ่งกานต สาริวาท

รองอธิการบดี มทร.ลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม ผูอํานวยการกองบริหารทรัพยากร ผูอํานวยการกองการศึกษา รองคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร รองคณบดีคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร รองคณบดีคณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร ผูอํานวยการศูนยการจัดการศึกษาพิเศษ (จอมทอง) หัวหนาสาขาวิทยาศาสตร หัวหนาสํานักงานบริหาร ที​ี่ปรึกษามหาวิทยาลัย รองผูอํานวยการกองบริหารทรัพยากร นส.เยาวัลย จันทรตะมูล นส.สิริญญา ณ นคร นายธันวารักษ สุวคนธ

นส.ดวงพร ผานามขจี

บรรณาธิการ

อาจารยธราดล ดวงสุภา

ผูช ว ยบรรณาธิการ

อาจารยระพินทร ขัดปก อาจารยอรรถพล วิเวก

งานประชาสัมพันธ มทร.ลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม เลขที่ 128 ถนนห ว ยแก ว ตํ า บลช า งเผื อ ก อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50300 โทรศัพท 0-5392-1444 ตอ 0 , 1020 โทรสาร 0-5392-1444 ตอ 1020

http://chiangmai.rmutl.ac.th

E-mail : prcm_rmutl@rmutl.ac.th


รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทักษ

อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา วัยเด็ก จาก อําเภอพาน สู มหานคร รศ.ดร.น�ายุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2490 ที่อ�าเภอพาน จังหวัดเชียงราย เป็นบุตรชายคนสุดท้องในจ�านวนพี่น้อง 12 คน จาก ครอบครัวคนจีน ทีบ่ า้ นประกอบอาชีพค้าขายวัสดุกอ่ สร้างและสังฆภัณฑ์ รศ.น�ายุทธ ใช้ชวี ติ ในวัยเด็กเหมือนเด็กชายทัว่ ไป ชอบเล่นกีฬาโดยเฉพาะ บาสเกตบอล ทางบ้านก็ส่งเสริมด้านการเรียนจึงมีผลการเรียนดีมาตลอด และหลังจากจบจากโรงเรียนวัฒนศึกษาชั้น ป.4 ก็เข้าศึกษาต่อในชั้น ม.1 โรงเรียนพานประภากร พอจบชั้น ม.3 ทางบ้าน ก็สนับสนุนให้เดิน ทางเข้ากรุงเทพฯ เพื่อเรียนต่อที่โรงเรียนอ�านวยศิลปพระนคร พญาไท จนจบ ม.ศ.5 และได้สอบ Entrance ติดคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ในปีพ.ศ.2510 หรือที่รู้จักกันในรุ่น วศ.10

ชีวิตการทํางาน จาก วิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ สู มทร.ธัญบุรี

1

วารสาร ภาคพายัพ

หลังจากจบการศึกษา รศ.ดร.น�ายุทธ ก็เริม่ ต้นรับราชการครัง้ แรกเมือ่ ปี พ.ศ. 2514 ในต�าแหน่งครูตรี (สมัยนั้น) ประจ�าแผนกอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา ในปัจจุบัน) ของกรมอาชีวศึกษา รับเงินเดือน 1,250 บาท จากนั้นจึงมีโอกาสได้สอบชิงทุน ADAB ไปเรียนต่อ Diploma และ ปรับเป็นปริญญาโทที่ประเทศออสเตรเลีย พอจบมาได้ช่วงเวลาหนึ่ง


‘¡Ç‹Ò¨Ð¶Ö§Çѹ¹Õé º¹¶¹¹ÊÒ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ’

ก็ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดา� รงต�าแหน่งผูช้ ว่ ยผูอ้ า� นวยการฝ่ายวิชาการคนที่ 2 หลังจากนัน้ ก็ได้รบั โอกาสให้ ด�ารงต�าแหน่งทีส่ งู ขึน้ เรือ่ ยมา อาทิ ผูอ้ า� นวยการ คณบดี รองอธิการบดี ปฏิบตั หิ น้าที่ ณ วิทยาเขต ต่างๆ และ ณ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเทเวศร์ กรุงเทพฯ และได้รับการโปรดเกล้า แต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่ง อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ตั้งแต่ พ.ศ.2543 - 2548 และได้รับการโปรดเกล้าแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี ตั้งแต่ พ.ศ. 2548 - 2556

ผลงานที่ภาคภูมิใจ ตลอดช่วงการท�างานของ รศ.ดร.น�ายุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ ได้สร้างสรรค์ผลงานต่างๆ ออกมา มากมาย ด้วยความตั้งใจจริง สามารถสร้างประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติได้ทั้งสิ้น อย่างไรก็ตาม ผลงานที่ถือว่า เป็นจุดพลิกผันและก่อให้เกิดการพัฒนาด้านการศึกษาอีกก้าว หนึ่งก็คือ การปรับเปลี่ยนสถานะของ “สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล” มาเป็น “มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล” ทั้ง 9 แห่ง ภายใต้การสนับสนุน จากรัฐบาลเรียกว่าผลกระทบเชิงบวก เป็นการท�างานที่ต้องทุ่มเท ฟันฝ่า พยายาม กว่าจะผ่านจุดนั้นมาได้ก็จ�าเป็นต้องมีการน�าเสนอ ท�าความเข้าใจกับทุกระดับซึ่งประกอบด้วยคณะกรรมการหลายชุด เนื่องจากต้องสร้างความ เข้าใจให้ทุกภาคส่วนมีความเชื่อมั่นต่อมหาวิทยาลัย จนคณะกรรมการเห็นด้วยว่าเราสามารถ สร้างคนคุณภาพให้ประเทศได้ ท้ายที่สุดก็ได้รับการสนับสนุนจนเข้าสู่สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา จนก้าวมาเป็น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลทั้ง 9 แห่ง โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงลง พระปรมาภิไธยพระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เมือ่ วันที่ 18 มกราคม พ.ศ.2548 ในการท�างานครั้งนี้ถือเป็นความภาคภูมิใจ และเป็นความส�าเร็จร่วมกันของเราชาวราชมงคล ทุกคนที่ตั้งใจตอบแทนคุณแผ่นดิน วารสาร ภาคพายัพ

2


ยุทธศาสตรพัฒนา มทร รศ.ดร.น� า ยุ ท ธ สงค์ ธ นาพิ ทั ก ษ์ ได้ ว างวิ สั ย ทั ศ น์ ใ นการ พัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ให้มุ่งสู่การเป็น มหาวิทยาลัยชั้นนําดานการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ บนฐาน สรางสรรค นวัตกรรม วิจยั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพือ่ ชุมชน และสากล เปนมหาวิทยาลัยดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ที่ ผ ลิ ต บั ณ ฑิ ต นั ก ปฏิ บั ติ ใ ห เ ป น ที่ ย อมรั บ ใน 3 ระดั บ ดั ง นี้

กลับคืนสู... มทร.ลานนา สืบเนือ่ งจากการที่ อาจารย์ชยั ยง เอือ้ วิรยิ านุกลู อธิการบดี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา หมดวาระการท�างานในเดือน สิงหาคม 2556 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จึงต้องด�าเนินการสรรหาผูส้ มควร ด�ารงต�าแหน่งอธิการบดีคนใหม่ รศ.ดร.น�ายุทธ สงค์ธนาพิทกั ษ์ จึงเสนอตัว เข้ามาอาสารับหน้าที่ในการน�ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา บนการเรียกร้องและร้องขอของอาจารย์อาวุโส คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และ นักศึกษา มทร.ล้านนา ที่เห็นพ้องต้องกันว่าอยากให้เกิดการเปลี่ยนแปลง และพร้อมที่จะเดินหน้าเข้าสู่การศึกษาในยุค AEC ซึ่ง รศ.ดร.น�ายุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ ได้รับเสียงสนับสนุน จากสภามหาวิทยาลัยฯ ให้ด�ารง ต�าแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา คนปัจจุบัน

ปรัชญาการทํางาน “การให้เกียรติทุกๆ ระดับชั้น” ถูกยกให้เป็นหลักในการบริหารงาน ของ รศ.ดร.น�ายุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ อธิการบดีคนใหม่ แห่งมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ที่ยึดมั่นมาตลอดระยะเวลาของการท�างาน ด้วยเชื่อว่า ในสังคมการท�างานไม่ว่าจะองค์กรไหนนอกเหนือจากค�า ว่าหน้าที่ที่ต้องยึดถือปฏิบัติแล้ว สิ่งที่ควบคู่กันไปกับการท�างานก็คือ ความเอื้ออาทร การให้เกียรติและให้ความเมตตาจากผู้บริหารเพราะ ไม่เพียงแต่ท�าให้ผู้ปฏิบัติงานท�างานด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจเท่านั้นแต่ยัง ตั้งความหวังให้สังคมสงบสุขด้วย การบริหารบุคลากร ต้องให้ทุกฝ่ายสามารถท�างานร่วมกันได้อย่าง มีความสุข เพราะการท�างานมันเป็นเหมือนกระจกสะท้อนทั้ง 2 ฝ่าย สัง่ งานไปแล้วได้งานกลับคืนมาส�าเร็จสมบูรณ์ ก็ถอื ว่าผูท้ ที่ า� งานได้มโี อกาส แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของตน แต่ถ้างานล้มเหลวหรือไม่บรรลุตาม เป้าหมายเวลา และคุณภาพงานก็อาจมองว่าบุคคลนั้นไม่มีความสามารถ เพียงพอหรือผู้บริหารสั่งการผิด นอกจากนัน้ การท�างานไม่จา� เป็นต้องอยูใ่ นออฟฟิศตลอดเวลา แต่ควร พัฒนาตนเองและเรียนรู้จากภายใน รู้จักปรับปรุงรับฟังความคิดเห็นของ ผู้อื่นและไม่ควรใช้อารมณ์ในการท�างานเพราะจะท�าให้งานไม่สามารถเดิน ต่อไปได้และเกิดปัญหากับเพื่อนร่วมงานตามมา ท�าให้งานสะดุดและเสีย เวลาแก้ไขด้วย

3

วารสาร ภาคพายัพ

เปน 1 ใน 5 ระดับชาติ ป 2558 เปน 1 ใน 10 ระดับภูมิภาค ป 2560 เปน 1 ใน 100 ระดับโลก ป 2564 โดยได้กา� หนดยุทธศาสตรเพือ่ สรางความเขมแข็งและ ความแตกตางบนพืน้ ฐานการผลิตบัณฑิตนักปฏิบตั ิ ดังนี้ Change: ปรั บปรุ ง และพั ฒ นาระบบการบริห าร จัดการด้านวิชาการวิจัยและนวัตกรรม การบริหารจัดการ องค์กร โครงสร้างการปฏิบัติงาน และการกระจายอ�านาจ ให้สอดคล้องกับภารกิจและเป็นมาตรฐานสากลเพื่อเสริมสร้าง ความเข้มแข็งและโดดเด่นในทุกเขตพื้นที่ โดยการมีส่วนร่วมของ ทุกภาคส่วน Challenge: สร้างความแตกต่างในการผลิตบัณฑิตนักปฏิบตั ิ ที่มีความโดดเด่นเฉพาะด้าน (Differential Focus Strategy) สู ่ ค วามเป็ น เลิ ศ ภายใต้ ค� า ขวั ญ ที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ กั น ทั่ ว ไปคื อ “ราชมงคลสร้างคนสู่งานเชี่ยวชาญเทคโนโลยี” เป็นการสร้างชื่อ เสียงและสร้างโอกาสให้บัณฑิตในการมีงานท�า Chance: สร้างโอกาสในการก้าวสู่การเป็นมหาวิทยาลัย ชั้นน�าด้านการผลิต บนฐานความคิดสร้างสรรค์ สร้างนวัตกรรม เพื่อชุมชน ท้องถิ่นทั้งในและต่างประเทศ


ร.ลานนา วิสัยทัศน 2020 เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามเป้ า หมายดั ง กล่ า ว รศ.ดร.น� า ยุ ท ธ สงค์ ธ นาพิ ทั ก ษ์ จึ ง ได้ ว าง นโยบาย กรอบแนวคิด กลยุทธ์ และมาตรการ ในการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (พ.ศ. 2557-2560) เป็นไปตามแผนพัฒนามหาวิทยาลัยฯ กรอบระยะเวลา 15 ปี (พ.ศ. 2552-2566) ทีไ่ ด้ดา� เนินการมาระยะหนึง่ และมีการวิเคราะห์แนวทางไว้อย่างสมบูรณ์ ประกอบกับการศึกษาข้อมูล ในสภาพพืน้ ทีก่ ารให้บริการการศึกษาทัง้ 6 แห่ง การถอดบทเรียนจากการด�าเนินงาน การศึกษาปัญหา อุปสรรค ในการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้น ในบริบทต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในศตวรรษที่ 21 การพัฒนา อุดมศึกษาไทย จ�าเป็นจะต้องพัฒนาบัณฑิตเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของสังคม ชุมชน ท้องถิ่น และน�าพาประเทศไปสู่ความยั่งยืน โดยใช้หลักการในการขับเคลื่อน 3 ประการ คือ การเปลี่ยนแปลง ความท้าทาย และการก�าหนดทิศทาง (Change Challenge Chance) ภายใต้นโยบาย 9 ด้าน ดังนี้ นโยบายที่ 1 : การพัฒนาด้านการจัดการศึกษา (Competency) นโยบายที่ 2 : การพัฒนาด้านวิจัยและนวัตกรรม สร้างสรรค์ (Creativity) นโยบายที่ 3 : การพัฒนาด้านการบริการวิชาการ แก่สังคม (Community) นโยบายที่ 4 : การท�านุบ�ารุงศิลปวัฒนธรรม และรักษาสิ่งแวดล้อม (Culture) นโยบายที่ 5 : การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและ ศิษย์เก่าสัมพันธ์ (Customer) นโยบายที่ 6 : การพัฒนาบุคลากรสายวิชาการและ สายสนับสนุน (Care) นโยบายที่ 7 : การบริหารจัดการสร้างสรรค์ (Commitment) นโยบายที่ 8 : การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การเรียนรูแ้ ละบริหารจัดการ (Computeracy) นโยบายที่ 9 : การสร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งระดับชาติและนานาชาติ (Communication & Collaboration) นอกจากนี้ ยังเน้นในการสร้างวัฒนธรรมองค์กร ซึ่งเป็นสิ่งส�าคัญยิ่งที่จ�าเป็นจะต้องสื่อสารให้ บุคลากรภายในองค์กร มีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและชัดเจน จนเป็นเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัย เพื่อจดจ�าง่ายและสะดวกต่อการปฏิบัติ จึงก�าหนดจากอักษรย่อภาษาอังกฤษของมหาวิทยาลัยฯ Rajamangala University of Technology Lanna (RMUTL) R : Responsibility M : Morality U : Ubiquity T : Technology L : Linkage

รับผิดชอบ ต่อภารกิจ ต่อชุมชน สังคม ประเทศชาติ ยึดมั่นใน คุณธรรม ความงาม ความดี ส่งเสริมการเรียนรู้ในทุกที่ ทุกโอกาส วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นฐานการพัฒนา ประสานผนึกพลัง เชื่อมโยง โลก ชุมชน

อย่างไรก็ตามการแปลง “ยุทธศาสตร์” สู่ “การปฏิบัติ” นั้น จะต้องมีการด�าเนินการที่สอดคล้อง กันตั้งแต่ระดับนโยบายจนถึงผู้ปฏิบัติ เพราะมหาวิทยาลัยฯ ไม่เพียงแต่ให้ความรู้และปริญญาเท่านั้น แต่จะต้องให้ปัญญา และสร้างความเป็นตัวตนของบัณฑิต คือการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ตอบสนอง ความต้องการของประเทศ บนสภาวะการแข่งขัน การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาทีส่ งู มากขึน้ เรือ่ ย ๆ รศ.นํายุทธ สงคธนาพิทกั ษ ใหความเชือ่ มัน่ วา จะใชประสบการณการบริหารงานมหาวิทยาลัย ทีผ่ า นมา รวมถึงความรวมมือของเครือขายดานการศึกษา ทัง้ ภายในและตางประเทศ ทีม่ อี ยูใ หเกิด ประโยชนสงู สุด ตอการพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ทัง้ ปจจุบนั และในอนาคต ดวยแนวคิดรวมทํารวมพัฒนา รวมสรางพลัง บนพื้นฐานของการทํางานแบบใหเกียรติซึ่งกันและ กัน ใหเปนมหาวิทยาลัยอันเปนมงคลแหงพระราชา อยางสมภาคภูมิ วารสาร ภาคพายัพ

4


ºทคÇาม ¼ÙŒºรÔËาร

เหลียวหลัง แลหนา สู วิสัยทัศน 2020 ราชมงคลลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา

โดย อาจารยประสิทธิ์ อินทรจันทร

รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม

ท่ามกลางวิกฤตเศรษฐกิจโลก ทั้งสหรัฐอเมริกา ทวีปยุโรป รวมถึงประเทศใหญ่ๆ ของทวีป เอเชีย เช่น จีน ญี่ปุ่น เกิดการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ ประเทศไทยซึ่งเป็นหนึ่งในประชาคมโลกที่ตก อยู่ในสภาวการณ์ดังกล่าว ในสภาพเช่นนี้จึงมีความจ�าเป็นที่ประเทศไทย จะต้องเตรียมการพัฒนา ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพื่อที่จะให้อยู่รอดในภาวการณ์ปัจจุบันหรือในอนาคต ต่อไป นอกจากนีย้ งั มีการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน พร้อมทัง้ ความพยายามทีจ่ ะเชือ่ มโยงกันของ กลุ่มประเทศอาเซียนกับนอกภูมิภาคอาเซียนอีกด้วยนั้น การจะสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน จึงจ�าเป็นต้องพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และระบบการคมนาคม การสื่อสาร ซึ่งภาคการศึกษามีส่วน ส�าคัญยิ่งในการเสริมสร้างศักยภาพดังกล่าวคือ "การพัฒนาคน" การศึกษาไทยต้องเดินหน้าสู่การ สร้าง การพัฒนา เตรียมความพร้อมให้สอดคล้องกับสังคมโลก เราจึงต้องสร้างคนที่มีความสามารถ มีทักษะ ความถนัด ความช�านาญพร้อมจะขับเคลื่อนและยกระดับการพัฒนาประเทศสู่การเป็น ประเทศพัฒนาในระดับที่สูงขึ้น ภายใต้วสิ ยั ทัศน์ 2020 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (RMUTL 2020) โดย รศ.ดร. น�ายุทธ สงค์ธนาพิทกั ษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาคนใหม่ ได้ระบุชดั ในการ ที่จะน�าพามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ก้าวสู่การเป็นมหาวิทยาลัยชั้นน�าด้านการผลิต บัณฑิตนักปฏิบัติ บนฐานการสร้างสรรค์ นวัตกรรม การวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อ ชุมชน และสากล ซึง่ เน้นการสร้างคนทีม่ ปี ญ ั ญาผนวกกับมีใบปริญญาเป็นสิง่ เบิกทาง เพือ่ รองรับการ เปลีย่ นแปลงของโลกในปัจจุบนั โดยได้วางเป้าหมายในการเป็นมหาวิทยาลัยชัน้ น�า 1 ใน 100 ของโลก ในปีค.ศ.2020 หรือ พ.ศ. 2564 ซึง่ เป็นโจทย์ทที่ า้ ทายส�าหรับบุคลากรทุกระดับชัน้ ของมหาวิทยาลัย

5

จากสภาวการณ์ของโลกในปัจจุบัน และ วิสัยทัศน์ของอธิการบดีคนใหม่ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัยจะต้องตระหนัก และพร้อมที่จะปฏิบัติภายใต้วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ พันธกิจ ที่อาจจะต้องมีการปรับปรุงและพัฒนา ระบบการบริหารจัดการด้านวิชาการ วิจัยและนวัตกรรม การบริหารจัดการองค์ความรู้ใหม่ โดยเน้น การมีสว่ นร่วมและกระจายอ�านาจมากขึน้ รวมถึงการสร้างความแตกต่างในการผลิตบัณฑิตนักปฏิบตั ิ จะต้องชัดเจนและมีความเป็นเลิศเฉพาะด้าน บัณฑิตที่จบมาแล้วต้องมีงานท�าที่ตรงกับสิ่งที่เรียนมา อีกทัง้ จะต้องสร้างโอกาสในการรับสิง่ ใหม่ โดยต้องเริม่ ต้นจากตัวเรา หน่วยงานทีส่ งั กัด จึงจะเกิดการ เปลี่ยนแปลงในระดับภาพรวมของมหาวิทยาลัย ดังนั้นวันนี้การที่มหาวิทยาลัยจะพัฒนาไปข้างหน้า ได้ทุกคนในองค์กรจะต้องมีความรับผิดชอบต่อภารกิจที่ได้รับโดยยึดหลักคุณธรรมเป็นที่ตั้ง และ จะต้องเรียนรู้ตลอดเวลา บนฐานของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่พิสูจน์ทราบได้เพื่อที่จะสามารถ เชื่อมโยงเอาองค์ความรู้ที่อยู่ภายนอกมาพัฒนามหาวิทยาลัยและน�าองค์ความรู้จากมหาวิทยาลัยไป พัฒนาสังคม ชุมชน ให้เกิดประโยชน์สูงสุดทั้งในระดับชาติ และนานาชาติต่อไป วารสาร ภาคพายัพ


แนะนําศิษย์เก่า

นายไมตรี อรรถปรียางกูร

ศิษยเกามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา สําเร็จการศึกษา

- วิศวกรรมศาสตรมหาบัณทิต (วิศวกรรมและการบริหารการกอสราง) และ - ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตรการเมือง) จาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม - สถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (เทคโนโลยีสถาปตยกรรม) จาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา - ศิลปศาสตรบัณฑิต (พัฒนาสังคม) จาก มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา - ประกาศนียบัตรวิชาชีพ แผนกสถาปตยกรรม จาก วิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ เชียงใหม

ความประทับใจตอสถาบัน ผมเข้าศึกษาในสถาบันนี้ตั้งแต่เป็นวิทยาลัย เทคนิคภาคพายัพ ในแผนกสถาปัตยกรรม ปี การศึกษา 2516 โดยเลือกเรียนภาคบ่าย เพื่อที่ ในช่วงเช้าจะได้มเี วลาไปดูงานรับเหมาก่อสร้างกับ หน่วยงานราชการและเอกชน หลังจากจบมาแล้ว ก็ไม่ได้เรียนต่อในระดับปริญญาตรี ซึ่งในสมัยนั้น ต้องเข้าไปเรียนต่อที่ กทม.ประกอบกับคิดว่าความรู้ เพียงเท่านีก้ เ็ พียงพอกับการประกอบธุรกิจได้แล้ว แต่ภายหลังก็ตอ้ งยอมรับว่าหากจะให้ประสบความ ส�าเร็จในชีวติ ให้เร็วขึน้ ก็ตอ้ งหาความรูเ้ พิม่ เติมให้ แก่ตวั เองอยูต่ ลอดเวลา เพือ่ ทีจ่ ะอยูก่ บั สังคม ธุรกิจ การค้า การด�าเนินชีวิตให้รู้อย่างเท่าทันกับยุค โลกาภิวัตน์ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ผลงานเดน ผมเริม่ ท�างานเต็มเวลาตัง้ แต่ปพี .ศ. 2521 โดย เป็นคูส่ ญ ั ญากับหน่วยงานราชการต่างๆ เช่น กรม ทางหลวง กรมทางหลวงชนบท กรมโยธาธิการและ ผังเมือง กรมชลประทาน และบริษทั ท่าอากาศยาน แห่งประเทศไทย ทัว่ ราชอาณาจักร และในประเทศ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทั้งนี้ มี ผลงานทีผ่ มมีความภาคภูมใิ จโดยสรุปดังนี้ ก่อสร้าง ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 44 (Southern Seaboard) สายกระบี่ - ขนอม, ก่อสร้างทางวิ่ง ทางขับ และขยายทางวิง่ ท่าอากาศยานเชียงใหม่, ก่อสร้างเขือ่ นห้วยแม่โกรน อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ และ ก่อสร้างถนน อนุสาวรียไ์ ชยสมรภูมิ – บึงธาตุหลวง ภายในก�าแพงนครเวียงจันทน์ ประเทศสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นต้น

ความภาคภูมิใจที่ได้มีโอกาสเข้าไปท�างานใน ต�าแหน่งทางการเมืองและสังคมที่ผ่านมา โดย สังเขปดังนี้ กรรมการบริหารพรรคเพื่อไทย ชุดที่ 2, กรรมการบริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย 11 ต�าแหน่ง, ทีป่ รึกษาศูนย์ทนุ่ ระเบิดแห่งชาติ กอง บัญชาการทหารสูงสุด, กรรมการบริหารสมาคม มวยสากลสมัครเล่นแห่งประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์, ผู้ช่วยด�าเนินงาน ส.ส.จ.เชียงใหม่ (นายพรชัย อรรถปรียางกูร) พรรคไทยรักไทย, ที่ ปรึกษา สมาคมศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา และ นายกสมาคมศิษย์เก่า สถาปัตยกรรม มทร. ส�าหรับบทความทางวิชาการที่ภาคภูมิใจนั้น ผมเป็นผู้น�าเสนอบทความทางวิชาการในการ ประชุมวิชาการรัฐศาสตร์แห่งชาติ ครัง้ ที่ 10 เรือ่ ง "สงครามประชาชน : การอภิวัฒน์ของชนชั้นราก หญ้าในสังคมไทย (People Militia : Grassroots Revolution in Thai Society)" และเป็นผู้ร่วม ด�าเนินงานวิจยั และได้รบั การถ่ายทอดเทคโนโลยี เรื่อง "การใช้ยางพาราผสมยางมะตอยราดถนน" จากสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ฝากถึงอาจารยและนองๆ ตลอดระยะเวลา 36 ปีทผี่ า่ นมาชีวติ การท�างาน ในหลากหลายมิติ ปัจจัยหลักทีส่ า� คัญๆ ในการท�างาน ของผมคือ "ความกตัญูกตเวที" หมายถึง ความ รู้คุณ รู้อุปการคุณที่ผู้อื่นกระท�าแล้วแก่ตน ความ กตัญูไม่ใช่สว่ นเติมเต็ม ให้เป็นคนดีโดยสมบูรณ์ แต่เป็นพืน้ ฐานของคนดี ถ้าหากไม่มี สิง่ นีต้ งั้ แต่ตน้ ก็ ไ ม่ มี ท างเป็ น คนดี ที่ ส มบู ร ณ์ ไ ด้ ดั่ ง ภาษิ ต จี น

บทหนึ่ง คือ 饮水不忘挖井人 (หยินสุ่ย ปูวั่ง วาจิ่ง เหริน) หมายถึง ดื่มน�้าอย่าลืมคนขุดบ่อ หมายถึง ความกตัญู รูค้ ณ ุ บิดา มารดา รูค้ ณ ุ ครูบาอาจารย์ บุคคลอื่น และรู้คุณสถานศึกษา นอกจากนั้น กลยุทธ์หนึ่งที่อยากจะฝาก เมื่อ นักศึกษาจบออกไปสู่สังคม คือ Guanxi (关系) “กวานซี่” เป็นค�าภาษาจีนกลางที่มีความหมาย ว่า "สายสัมพันธ์" หรือ Connection ซึ่งถือเป็น วัฒนธรรมและประเพณีอีกรูปแบบหนึ่งของชาว จีนที่สืบต่อกันมาอย่างยาวนานในภูมิภาคโลก ตะวันออกเป็นหลักปฏิบตั เิ กีย่ วกับการเสริมสร้าง สายสัมพันธ์ มิตรภาพกับบุคคลรอบข้างทีย่ ดึ หลัก ครอบครัว หรือเชือ้ แซ่วงศ์ตระกูลในแบบฉบับของ ชาวจีน ซึ่ีงกลยุทธ์ Guanxi ที่ว่านี้สามารถน�ามา ประยุกต์ใช้ในการท�าธุรกิจ การท�างานให้ประสบ ความส�าเร็จเป็นมาก ในปี พ.ศ.2558 ประเทศไทยจะเข้าสู่การรวม ประชาคมอาเซียน สิง่ ทีจ่ ะเกิดขึน้ มีทงั้ โอกาสและ อันตราย สิง่ ส�าคัญขึน้ อยูก่ บั เราว่าจะมองเห็นโอกาส นั้นได้อย่างไร ผมขอแนะน�าให้ใช้ SWOT หาจุด แข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค แล้วแก้ไขจุด อ่อนให้เป็นจุดแข็ง รักษาจุดแข็งให้คงไว้ ส�าหรับ จุดอ่อนของประเทศไทยทีต่ อ้ งปรับปรุงเป็นอันดับ แรกก็คอื เรือ่ งภาษา ส่วนเรือ่ งอืน่ ๆ ก็คงต้องลงราย ละเอียดไปในแต่ละคน สุดทายนี้ อยากจะฝากขอแนะนําใหกบั นองๆ ก็คือการเปนบัณฑิตนักปฏิบัติที่พัฒนาตนอยู ตลอดเวลา คือ “เรียนใหกวาง รูใหลึก นึกให เปนระบบ จบดวยการพัฒนาอยางตอเนื่อง” ขอใหโชคดีทุกคนครับ... วารสาร ภาคพายัพ

6


กิจกรรมเดนชาวภาคพายัพ

งานมุฑิตาจิตผู เกษียณอายุราชการ ประจําป 2556

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ จัด งานแสดงมุฑติ าจิตผู้เกษียณอายุราชการ ประจ�าปี 2556 “ร้ อยความรัก ร้ อยดวงใจ ร้ อยสายใย มิลืมเลือน” แด่คณาจารย์และบุคลากรของ มหาวิทยาลัยฯ ที่เกษี ยณอายุราชการประจ�าปี 2556 โดยได้ รับเกียรติ จาก รศ.น�ายุทธ สงค์ธนาพิทกั ษ์ ผู้ได้รับการสรรหาให้ด�ารงต�าแหน่ง อธิการบดี มทร.ล้านนา กล่าวเชิดชูเกียรติและมอบเข็มเชิดชูเกียรติให้ แก่ ผู้เกษียณอายุราชการทังสิ ้ ้น 20 ท่าน ส�าหรับปี 2556 ทางมหาวิทยาลัยฯ ได้ เชิญผู้เกษี ยณอายุราชการทัง้ 5 เขตพืน้ ที่ร่วมงานด้ วย ณ ห้ อง เอ็มเพรสแกรนด์ ฮอลล์ ศูนย์ประชุมนานาชาติเอ็มเพรส โรงแรมเชียงใหม่ ดิเอ็มเพรส เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2556

Çันส¶า»นา “ราªมงคÅภาคพายัพ” »‚ 2556

เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2556 งานศิลปะและวัฒนธรรม กองการ ศึกษา มทร.ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ จัดงาน “วันสถาปนา ราชมงคลภาคพายัพ และพิธีมอบโล่และเกียรติบตั รโครงการ คน ดี เด่น ดัง วังเจ็ดลิน ประจ�าปี 2556” โดยได้ รับเกียรติจากอาจารย์ ชัยยง เอื ้อวิริยานุกลู อธิการบดี มทร.ล้ านนา เป็ นประธานในพิธี อาจารย์ สุทิน ประเสริ ฐสุนทร รองอธิการบดีฯ, อาจารย์ประสิทธิ์ อินทร์ จนั ทร์ ผู้อ� า นวยการกองบริ ห ารทรั พ ยากร และอาจารย์ อิ ศ รา กัน แตง ผู้อ� า นวยการกองการศึก ษา เป็ นผู้ม อบโล่แ ละเกี ย รติ บัต รให้ กับ คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ที่ได้ รับรางวัล จ�านวน 117 คน ณ ห้ องประชุม 3 อาคารเรี ยนรวม

มทร.ÅŒานนา ร่ÇมÅงนาม MOU กัº กสทª.

เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2556 ผศ.ประพัฒน์ เชื ้อไทย รักษาการ อธิการบดี มทร.ล้ านนา อาจารย์ประสิทธิ์ อินทร์ จนั ทร์ รักษาการรอง อธิการบดี ภาคพายัพ เชียงใหม่ พร้ อมคณะเดินทาง ร่วมลงนามบันทึก ข้ อตกลงความร่ วมมือ การทดสอบมาตรฐานทางเทคนิคของเครื่ อง ส่งวิทยุกระจายเสียงส�าหรับการทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจาย เสียง กับ กสทช. โดยทาง กสทช. สนับสนุนเงินทุนจ�านวน 2,435,000 บาท แก่ มทร.ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ณ ส�านักงาน กสทช. โดย มี พล.อ.อ.ธเรศ ปุณศรี ประธาน กสทช. เป็ นประธานในพิธี

ªมรมดนµรีสากÅ จัด “»าร์µนี้ มี้ แี µ่...นม” äม่มแี ÍÅกÍÎÍÅ์ ก็สนØกäดŒ เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2556 ชมรมดนตรี สากล สโมสรนักศึกษา มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ จัดกิจกรรม ปาร์ ตี ้นี ้มีแต่ “นม” กิจกรรม รณรงค์นกั ศึกษา ลด ละ เลิก เครื่ องดืม่ ที่มีสว่ นผสมของแอลกอฮอลล์ ภายในแนวคิด ไม่มี แอลกอฮอล์ ก็สนุกได้ โดยได้ รบั เกียรติจาก ผศ.ประพัฒน์ เชื ้อไทย รองอธิการบดี มทร.ล้ านนา เป็ นประธานเปิ ดงาน โดยมีนกั ศึกษาทุกคณะเข้ าร่ วมกิจกรรมดังกล่าวอย่างมากมาย ณ อาคารวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

7

วารสาร ภาคพายัพ


นักศึกษาสาขาวิชาการตลาด ชัน้ ปีที่ 1

นศ.การตลาด ชัน้ ปีที่ 3 จัด

นักศึกษาสาขาวิชาการตลาด ระดับปริญญาตรี เทียบโอน(สมทบ) ชันปี ้ ที่ 1 คณะบริ หารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มทร.ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ คว้ ารางวัลชนะเลิศ โครงการ Marketing Plan Contest #6 By A.P. Honda ประเภท New Scoopy i Aloha… ซ่านิยม เขต ภาคเหนือ (จังหวัดเชียงใหม่) ประจ�ำปี การศึกษา 2556 ภายใต้ ชื่อทีม Scoopy i Grand Pirates โจรสลัด สะบัดซ่า เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2556 ณ ศูนย์การค้ าเซ็นทรัลพลาซ่า เชียงใหม่ แอร์ พอร์ ต สมาชิ กประกอบด้ วย นางสาวแพรววดี อินตายวง, นางสาว กัลย์ สุดา โนชัย, นางสาวสกาวเดือน สายพรม, นางสาวพิภาพร ปิ นไชย, นางสาวพัชราภรณ์ กันทะวงค์, นางสาวปภัสสร ริ มแจ่ม และ นางสาวธัญญาลักษณ์ ศรี เรื องฤทธิ์

นัก ศึก ษาสาขาวิ ช าการตลาด ชัน้ ปี ที่ 3 คณะบริ ห ารธุ ร กิ จ และ ศิ ล ปศาสตร์ มหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ จัดงาน “กาดหมัว้ คัวกิ๋น ย้ อนถิ่น เวียงเจ็ดลิน” ครัง้ ที่ 3 ส�ำหรับ การจัดงานดังกล่าวเป็ นหนึ่งในวิชาการเรี ยนการสอนของสาขาวิชาการ ตลาด โดยมีวัตถุประสงค์ ให้ นักศึกษาได้ ทราบถึงการจัดแสดงสินค้ า ร้ านค้ า ตลอดจนความสามัคคีในการท�ำงาน เพื่อน�ำเป็ นประสบการณ์ ในการเรี ยนต่อไป โดยได้ รับเกียรติจากอาจารย์ประสิทธิ์ อินทร์ จนั ทร์ ผู้อ�ำนวยการกองบริ หารทรัพยากร เป็ นประธานเปิ ดงาน และอาจารย์ อุษามาศ รัตนวงศ์ หัวหน้ าสาขาบริ หารธุรกิจ ผู้กล่าวรายงาน เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2556 ณ โถงชัน้ 1 อาคารบริ หารธุรกิจ 3 มทร.ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

ชนะเลิศ Marketing Plan Contest #6 By A.P. Honda

“กาดหมัว้ คัวกิน๋ ย้อนถิน่ เวียงเจ็ดลิน” ครัง้ ที่ 3

สโมสรนักศึกษา จัดงานแข่งขันกีฬาภายใน “ภาคพายัพ เกมส์ ครั้งที่ 15”

สโมสรนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ จัด งานแข่งขันกีฬาภายใน “ภาคพายัพ เกมส์ ครั้งที่ 15” โดยมีพิธีปิดการแข่งขันเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2556 ณ สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี ได้รบั เกียรติจาก ผศ.สนิท พิพธิ สมบัติ รักษาการรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและกิจการนักศึกษา มทร.ล้านนา เป็นประธานในพิธี และนายไพโรจน์ เป็งเมืองลอง นายกสโมสรนักศึกษาเป็นผู้กล่าวรายงาน ส�ำหรับการแข่งขันกีฬาครัง้ นี้ แบ่งนักศึกษาออกเป็น 5 กลุม่ สี ได้แก่ สีชมพู ประกอบด้วย วิศวกรรมอุตสาหการ สาขาการบัญชี สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก สาขาระบบสารสนเทศ ทางคอมพิวเตอร์และสาขาภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สารสากล, สีสม้ ประกอบด้วย วิศวกรรม โยธา สาขาภาษาอังกฤษธุรกิจ สาขาการตลาด, สีฟ้า ประกอบด้วย วิศวกรรมไฟฟ้า สาขา ศิลปศาสตร์ สาขาสถาปัตยกรรม, สีแดง ประกอบด้วยศิลปกรรมศาสตร์ (เจ็ดยอด), สีม่วง ประกอบด้วย วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมอาหาร สาขา การจัดการและ สาขา IBM ร่วมแข่งขันกีฬา 16 ชนิด อันได้แก่ ฟุตบอล, ฟุตซอล, บาสเกตบอล, แบดมินตัน, วอลเลย์บอล, เซปักตะกร้อ, เทนนิส, เทเบิล เทนนิส, เปตอง, หมากกระดาน, กรีฑา, RMUTL DANCING CONTEST, เชียร์ลีดเดอร์, กองเชียร์, เชียร์ลีดเดอร์พิเศษและขบวนพาเหรด โดยมีนักศึกษา ทุกชั้นปีเข้าร่วมกิจกรรมอย่างพร้อมเพรียง วารสาร ภาคพายัพ

8


งานคลินกิ เทคโนโลยี จัดโครงการเติมความรู ให กบั อสวท. ประจําป 2556”

งานคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ร่วมกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี จัดด�าเนิน “โครงการจัดกิจกรรมเติมความรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพด้ านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ให้ กบั สมาชิกอาสาสมัครวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี ประจ�าปี งบประมาณ พ.ศ.2556” พิธีเปิ ดโครงการ เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2556 โดยนายฤทธิ์พงศ์ เตชะพันธุ์ รองผู้วา่ ราชการจังหวัด เชียงใหม่ กล่าวต้ อนรับโดย ผศ.ประพัฒน์ เชื ้อไทย รักษาการอธิการบดี มทร.ล้ านนา และกล่าวรายการโดย อาจารย์ประสิทธิ์ อินทร์ จนั ทร์ รักษาการรองอธิการบดี ภาคพายัพ เชียงใหม่ ณ โรงแรมลานนา พาเลซ 2004 จังหวัดเชียงใหม่

ค³ÐÇÔศÇกรรมศาสµร์ จัด “แนÐแนÇ»รÐสºการ³์จรÔงจากรØน่ พีส่ ร่Ù น่Ø นŒÍง ครัง้ ที่ 3”

สาขาวิ ช าช่ า งยนต์ ร่ วมกั บ สาขาวิ ช า วิ ศ วกรรมเครื่ อ งกล คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ จัดโครงการ “แนะแนว ประสบการณ์ จริ งจากรุ่ นพี่ส่รู ุ่ นน้ อง ครัง้ ที่ 3” เพื่อเตรี ยมความพร้ อมให้ กบั นักศึกษาก่อนการ

ท� า งานจริ ง และเล่า ถึ ง ประสบการณ์ ใ นการ ท�างาน การปรับตัวให้ เข้ ากับเพื่อนร่วมงาน โดย ได้ รับเกียรติจาก ผศ.สมศักดิ์ อินทะไชย หัวหน้ า สาขาวิศวกรรมเครื่ องกล เป็ นประธานเปิ ดงาน มีศิษย์เก่า 9 ท่าน ร่ วมให้ ประสบการณ์ ได้ แก่ คุณวราวุฒิ นันนา, คุณประสิทธิ์ สอนปั นติ, คุณ

กมลศักดิ์ เจริ ญชัยพูนผล, คุณนพดล คล้ ายโต, คุณ อิ ส ระ เรื อ งภูมิ , คุณ ชณัต ถ์ ตุม มาราช, คุณพงศกร แก้ วมูล, คุณจักรพงศ์ เลิศพิทกั ษ์ และคุณเอกชัย อภิธนัง เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2556 ณ อาคารโยธา 4 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

แผนกวิทยาศาสตร จัดอบรมเคมีพื้นฐาน สําหรับนักเรียนมัธยมปลาย จํานวน 100 คน

แผนกวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ จัด “โครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร เคมีพืน้ ฐาน ส�าหรั บนักเรี ยนมัธยมศึกษา ตอนปลาย” โดยได้ รับเกียรติจาก ผศ.ดร. เอมอร ไชยโรจน์ รองคณบดี ค ณะ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ล้ านนา เป็ นประธานกล่าวเปิ ดงาน และมีนกั เรี ยนชัน้ มัธยมศึกษา ชันปี ้ ที่ 4 โรงเรี ยนพระหฤทัย เชียงใหม่ จ�านวน 100 คน เข้ าร่วมอบรม ส�าหรับโครงการ ดังกล่าวมีวตั ถุประสงค์ให้ ผ้ เู ข้ าอบรมมีความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับปฏิบตั กิ ารเคมีพื ้นฐาน ได้ ทราบ แนวทางและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทถี่ กู ต้ องและปลอดภัย พร้ อมทังให้ ้ ผ้ เู ข้ าอบรมได้ นา� ความรู้ทไี่ ด้ จากการอบรมไปประยุกต์ใช้ ในการด้ านวิทยาศาสตร์ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2556 ณ อาคารศึกษาทัว่ ไป มทร.ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

9

วารสาร ภาคพายัพ


ศูนยแฟชัน่ ลานนาลาภเลิศหลานภาลัยจัด “อัตลักษณสนั ทราย ลาภเลิศหลานภาลัย”

3 นักศึกษาสาขาวิชาสถาปตยกรรม

กวาด 3 รางวัลจาก โครงการประกวดออกแบบห้องสวย ผศ.ดร.รจนา ชื่นศิริกุลชัย หัวหน้ าศูนย์แฟชัน่ ล้ านนาลาภเลิศหล้ า นภาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ร่วมกับ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยน อ�าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ น�า แฟชัน่ จากการออกแบบร่วมกันระหว่างนักศึกษาสิง่ ทอกับผู้ประกอบการ ในพื ้นที่สนั ทราย ภายใต้ งาน “อัตลักษณ์สนั ทราย ลาภเลิศหล้ านภาลัย” GLORIOUS SKY: IDENTITY OF SAN SAI เป็ นผลสืบเนื่องจากโครงการ อบรมเชิงปฏิบตั ิการพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการในพื ้นที่อ�าเภอ สันทราย ออกแสดงสูส่ ายตาสาธารณะชน ณ ลานอนุสาวรี ย์สามกษัตริ ย์ งานถนนคนเดินเชียงใหม่ ประจ�าอาทิตย์ที่ 18 สิงหาคม 2556 โดยมี รศ.สุรพล มโนวงค์ รองคณบดีคณะศิลปกรรมและสถาปั ตยกรรมศาสตร์ เป็ นผู้กล่าวรายงานสรุ ปโครงการ และได้ รับเกียรติจาก ผศ.ประพัฒน์ เชื ้อไทย รักษาการอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา เป็ นประธานในพิ ธี เ ปิ ดภายในงานมี ก ารแสดงผลงานการออกแบบ เครื่ องประดับ เครื่ องกาย และแสดงแฟชัน่ โชว์โดยนายแบบ – นางแบบ กิตติมศักดิ์ และนายแบบ นางแบบ มืออาชีพ

3 นักศึกษาสาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน ชัน้ ปีที่ 3 คณะศิลปกรรม และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชามงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ กวาด 3 รางวัลจาก โครงการประกวดออกแบบ ห้องสวยด้วย KACEE (KACEE CREATIVE DESIGNER CONTEST SEASON 1) ได้แก่ ชนะเลิศ รับเงินรางวัล 100,000 บาท พร้อมประกาศนียบัตร นาย ธนกฤต โอสถจันทร์ รองชนะเลิศล�าดับที่ 2 รับเงินรางวัล 30,000 บาท พร้อมประกาศนียบัตร นายชินดนัย ปาปลูกรางวัลชมเชย รับเงินรางวัล 10,000 บาท พร้อมประกาศนียบัตร น.ส.พิสิฐตรา สิทธิธรรม

นศ.ออกแบบเครือ่ งเรือน

ผศ.อภิญญา วิไล คว้ารางวัลชนะเลิศ จัดงานแสดงผลงานการออกแบบโซฟา จากการประกวดออกแบบผลิตภัณฑเซรามิก ผศ.อภิญญา วิไล อาจารย์ประจ�าสาขาเทคโนโลยีเซรามิก คณะ ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ คว้ารางวัลชนะเลิศ จากผลงาน Blue Galaxia ในการประกวดออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก (Ceramic Design) ประเภทเครื่องประดับสตรี 4 ชิ้น) รับรางวัลเงินสด 40,000 บาท พร้อม โล่และเกียรติบัตร เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2556 ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล พลาซ่าล�าปาง จังหวัดล�าปาง

นักศึกษาสาขาวิชาออกแบบเครื่ องเรื อน ชันปี ้ ที่ 4 คณะศิลปกรรม และสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มทร.ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ จัดงาน “LOVE STORY” งานแสดงผลงานการออกแบบโซฟาของนักศึกษา ซึง่ เป็ นส่วนหนึ่งของการเรี ยนการสอนวิชา Furniture Upholstery เพื่อให้ นักศึกษาได้ น�าวิชาทีเ่ รี ยนมาใช้ ในการออกแบบและจัดท�าโซฟาได้ จริง ฝึ ก กระบวนการคิด การเรี ยนรู้อย่างเป็ นระบบ โดยได้ รับเกียรติจาก อาจารย์ ธรรมนูญ นิลวรรณ หัวหน้ าสาขาวิชาออกแบบ เป็ นประธานเปิ ดงาน เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2556 ณ สาขาออกแบบเครื่ องเรื อน มทร.ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ วารสาร ภาคพายัพ

10


¡ÒÃÍ͡ẺáÅÐÊÌҧà¤Ã×Íè §¤ÑÇè àÁÅç´¡Òá¿

อาจารย์ธราดล ดวงสุภา หัวหน้าโครงการวิจัย นายวิเชียร บุญเรือง นายศรัณญ์ กันทะปง และนายศราวุธ เผือกไร่ ผู้ช่วยนักวิจัย สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

การ

ออกแบบและสร้ า งเครื่ อ ง คั่ ว เมล็ ด กาแฟขนาดความ จุ 1.5 กิโลกรัม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วย เหลือผู้ประกอบการร้านขายกาแฟขนาด ย่อมในการลดต้นทุน เนื่องจากการจ้างคั่ว เมล็ดกาแฟให้ในแต่ละครั้ง มีการก�าหนด ปริมาณขั้นต�่า 10 กิโลกรัม โดยผู้ให้บริการ คิดค่าบริการในการคั่ว 60 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่งท�าให้ไม่สามารถคั่วในปริมาณที่น้อยห รือตามที่ต้องการได้ ประกอบกับสถานที่ที่ ให้บริการคั่วเมล็ดกาแฟจะอยู่ห่างไกลจาก สถานประกอบการซึ่งจะต้องเสียค่าใช้จ่าย ในการเดินทางเพิ่มและท�าให้ต้นทุนในการ ขายเมล็ดกาแฟเพิ่มตามไปด้วย

ว ม ร  า ข เ ิ ญ ช ขอเ

11

วารสาร ภาคพายัพ

¢¹Ò´¤ÇÒÁ¨Ø 1.5 ¡ÔâÅ¡ÃÑÁ

โดยเครื่องคั่ว เมล็ ด กาแฟที่ อ อกแบบและ จั ด สร้ า งขึ้ น นี้ มี ข นาดความกว้ า ง 760 มิลลิเมตร ยาว 1,000 มิลลิเมตร และสูง 1,100 มิลลิเมตร ใช้ต้นก�าลังเป็นมอเตอร์จ�านวน 3 ตัว เป็นมอเตอร์ขนาด 40 วัตต์, 50 วัตต์ และ 1/3 แรงม้า อย่างละ 1 ตัว ใช้หวั แกสเป็น ตัวให้ความร้อน ซึ่งจะอยู่ใต้ถังคั่ว โดยถังคั่ว จะหมุนตามแนวนอนที่ความเร็วรอบ 30 รอบต่อนาที ใบกวนเย็นจะหมุนที่ความเร็ว รอบ 60 รอบต่อนาที เชื้อเพลิงที่ใช้เป็น แกสหุ้งต้ม (LPG) จะส่งผ่านไปตามท่อแกส ที่ได้วางไว้โดยมีเครื่องควบคุมอุณหภูมิเป็น ตัวควบคุมโซรีนอยวาวล์ในการส่งจ่ายแกส

จากการทดสอบเครื่องคั่วเมล็ดกาแฟขนาด ความจุ 1.5 กิโลกรัม โดยใช้เมล็ดกาแฟ พันธุ์อราบิก้า พบว่าที่ระดับอุณหภูมิ 230 องศาเซลเซี ย ส เป็ น อุ ณ หภู มิ ที่ เ หมาะสม ส�าหรับการคั่วเมล็ดกาแฟ ซึ่งการคั่วเมล็ด กาแฟที่ระดับการคั่วอ่อนใช้เวลาในการคั่ว เฉลี่ย 16 นาที การคั่วเมล็ดกาแฟที่ระดับ การคั่วกลางใช้เวลาในการคั่วเฉลี่ย 17 นาที การคัว่ เมล็ดกาแฟทีร่ ะดับการคัว่ เข้มใช้เวลา ในการคั่วเฉลี่ย 18 นาที เมล็ดกาแฟมีการ แตกหักจากการคั่วเมล็ดกาแฟเฉลี่ย 2.65 เปอร์เซ็นต์ และสีของเมล็ดกาแฟคั่วที่ไม่ได้ ตามมาตรฐานสีเฉลี่ย 3.72 เปอร์เซ็นต์ โดย ได้รับความอนุเคราะห์เมล็ดกาแฟเพื่อใช้ ท�าการคั่วทดลองจากศูนย์วิจัยเกษตรหลวง เชียงใหม่ (ขุนวาง)


บริการวิชาการ

ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ภายใต้หลักการ “ร่วมคิด ร่วมท�า และร่วมเป็นเจ้าของ” ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราช วัดพระธาตุ ดอยสะเก็ด พระอารามหลวง ได้มีพิธีเปิดอย่าง เป็นทางการ ในวันที่ 12 กันยายน 2556 ซึ่ง รศ.ดร.น�ายุทธ สงค์ธนาพิทกั ษ์ ผูไ้ ด้รบั การสรรหา ให้ด�ารงต�าแหน่งอธิการบดี มทร.ล้านนา พร้อม ด้วย ผศ.ประพัฒน์ เชื้อไทย รักษาการอธิการบดี มทร.ล้ า นนา ได้ เข้ า ร่ ว มและให้ ก ารต้ อ นรั บ เจ้าดวงเดือน ณ เชียงใหม่ ประธานสภาวัฒนธรรม เชียงใหม่ พร้อมด้วย นายธานินทร์ สุภาแสน ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ และ นายบุญเลิศ บูรณุปกรณ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด เชียงใหม่ ที่ได้ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิด และเข้าเยี่ยมชมนิทรรศการในศูนย์วัฒนธรรม เฉลิมราช วัดพระธาตุดอยสะเก็ดฯ ซึง่ มทร.ล้านนา เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดนิทรรศการครั้งนี้ ทั้ ง นี้ ตลอดระยะเวลาด� า เนิ น การที่ ผ่านมา ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราช วัดพระธาตุ ดอยสะเก็ด พระอารามหลวง สามารถท�าให้ ผู้ที่มาเยี่ยมชม ได้ชื่นชมพระอัจฉริยะภาพของ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ฯ สร้ า งความ ชื่นชมยินดีและซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณ ที่มีต่อพสกนิกรชาวอ�าเภอดอยสะเก็ด และได้ เรียนรูเ้ กีย่ วกับพระราชประวัตขิ องรัชกาลที่ 4, 5

Èٹ Dz Ñ ¹¸ÃÃÁà©ÅÔÁÃÒª

ÇÑ´¾ÃиҵشÍÂÊÐà¡ç´ ¾ÃÐÍÒÃÒÁËÅǧ ÍíÒàÀÍ´ÍÂÊÐà¡ç´ ¨Ñ§ËÇÑ´àªÕ§ãËÁ‹

ศู

นย์วัฒนธรรมเฉลิมราช วัดพระธาตุดอยสะเก็ด พระอาราม หลวง อ�าเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โดย ส�านักงาน วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ร่ ว มกั บ วั ด พระธาตุ ด อยสะเก็ ด ฯ โดยพระเดชพระคุ ณ หลวงพ่ อ ดร.พระโพธิรังษี เจ้าคณะอ�าเภอดอยสะเก็ด และเจ้าอาวาสวัดพระธาตุ ดอยสะเก็ดฯ สภาวัฒนธรรม ส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐและเอกชนในเขตอ�าเภอดอยสะเก็ด ตลอดจนผูน้ า� ชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้จดั สร้าง ขึ้น เพื่อเผยแพร่พระมหากรุณาธิคุณ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทีม่ ตี อ่ พสกนิกร และน�าเสนอศิลปวัฒนธรรม ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ และรวบรวม องค์ความรูใ้ นด้านต่างๆ ของชาวล้านนา ให้กบั เยาวชน และผูส้ นใจทัว่ ไปใน การเข้าไปเรียนรูแ้ ละศึกษา เพือ่ ให้เยาวชน ประชาชนได้เรียนรูแ้ ละตระหนัก ถึงความงดงามและความส�าคัญของวัฒนธรรมท้องถิ่น และเกิดความ ภาคภูมิใจในรากเหง้าของแผ่นดินเกิดของตน รวมไปถึงนักท่องเที่ยวหรือ ผูส้ นใจจากท้องถิน่ อืน่ เข้ามาเยีย่ มชมจนเกิดความซาบซึง้ และได้แลกเปลีย่ น วั ฒ นธรรมท้ อ งถิ่ น จากถิ่ น อื่ น และเรี ย นรู ้ ก ารอยู ่ ร ่ ว มกั น ท่ า มกลาง

และ 6 รวมทั้งยังได้เรียนรู้วิถีชีวิตความเป็นอยู่ ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ประเพณี และศาสนาของ ชาวไทลื้อ ซึ่งเป็นชนกลุ่มหนึ่งที่อพยพมาจาก สิบสองปันนา โดยจะท�าเป็นนิทรรศการหมุนเวียน 4 เดือนครั้ง ซึ่งในอ�าเภอดอยสะเก็ดมีกลุ่มคน หลายชาติพนั ธุ์ เช่น ลัวะ, ไทยโยนกหรือไทยยวน (คนเมือง เงี้ยวหรือไตใหญ่), ไทเขิน กลุ่มอินเดีย ที่นับถือศาสนาอิสลาม ฮ่อ ,จีน, กระเหรี่ยง, ขมุ, พม่าและคนไทยในภาคอื่นๆ สํ า ห รั บ ผู  ที่ ส น ใจ ส า ม า ร ถ เ ยี่ ย ม ชมศู น ย วั ฒ นธรรมเฉลิ ม ราช วั ด พระธาตุ ดอยสะเก็ ด พระอารามหลวง ได ทุ ก วั น ตั้งแตเวลา 08:30 น. – 16:30 น. หรือติดตอ ไดที่ วัดพระธาตุดอยสะเก็ด ตําบลเชิงดอย อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม โทรศัพท 0-5349-5490 วารสาร ภาคพายัพ

12


ั ั

ั​ั


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.