วารสาร ภาคพายัพ ฉบับที่ 13 ประจำเดือน มกราคม – มีนาคม 2556

Page 1

วารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์และการสื่อสารองค์กร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

วารสาร ภาคพายัพ ฉบับที่ 13 ประจําเดือน มกราคม - มีนาคม 2556

¤ÍÅ

ÑÁ¹ à

´‹¹

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม พรอมเปนศูนยเชี่ยวชาญ “นวัตกรรมและศูนยกลางวิชาชีพเพื่อชุมชน”

º·¤ÇÒÁ¼ÙŒºÃÔËÒÃ: ¾ÃŒÍÁ¡ŒÒÇÊÙ‹¡ÒÃ໚¹¼ÙŒ¹ํÒ á¹Ð¹ํÒÈÔÉ ࡋÒ: ÊØêÑ à§Ô¹¤ํÒ¤§ ¼ÙŒ»ÃСÒÈ¢‹ÒÇ Ê··.àªÕ§ãËÁ‹ ´ŒÒ¹¹Çѵ¡ÃÃÁáÅÐÈٹ ¡ÅÒ§ÇÔªÒªÕ¾à¾×่ͪØÁª¹

º·¤ÇÒÁ¾ÔàÈÉ:

¹Çѵ¡ÃÃÁáÅЧҹÇÔ¨ÑÂ: öà¢็¹ÊํÒËÃѺ¼ÙŒ¾Ô¡ÒÃ੾ÒÐÃÒÂ

อยูอ่ ย่างนศ. ปี 2500 โดย นายศักดิส์ ทิ ธิ์ ศักดิโ์ สภิณ ช่างโลหะ รุน่ 2/03



บทบรรณาธิการ

วารสารภาคพายัพ ฉบับนี �จัดทําขึ �นเป็ นฉบับที� 13 ประจําปี การศึกษา 2556 ซึง� รวบรวมข่าวสารของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ตังแต่ � เดือนมกราคม ถึง มีนาคม 2556 ถือว่าเป็ น เดือนแห่งการกําเนิด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา เนื�องจาก ในวันที� 18 มกราคม ของทุกปี เป็ นวันสถาปนามหาวิทยาลัยฯ ในปี นี �จึงได้ จัดกิจกรรมทําบุญตักบาตร พิธีเจริ ญพระพุทธมนต์ สืบชะตา ณ บริ เวณ ข่วงกําแพงเวียงเจ็ดลิน เพื�อเป็ นสิริมงคลแก่บุคลากรทุกภาคส่วนของ มหาวิทยาลัย และอีกกิจกรรมเด่นที�ถือเป็ นประเพณีทกุ ปี คือ การจัดงาน วันเด็กแห่งชาติของจังหวัดเชียงใหม่ มีเพื�อนผู้เขียนเคยเล่าให้ ฟังว่าตอน เด็กๆ ทุกปี จะมาร่วมงานวันเด็กที� มทร.ล้ านนนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ เนื�องจากมีกิจกรรม, ของเล่น, และมีขนมแจกมากมาย ส่วนในปี นี �ทาง มหาวิทยาลัยได้ รับเกียรติจากคุณธานินทร์ สุภาแสน ผู้วา่ ราชการจังหวัด เชียงใหม่ มาเป็ นประธานพิธีเปิ ดงานอีกด้ วย

คุ ณ ค่ า ยิ� ง เป็ นที� ต้ องการของสั ง คม เช่ น เดี ย วกั บ ศิ ษ ย์ เ ก่ า สาขา ออกแบบนิ เ ทศศิ ล ป์ คุณ สุร ชัย เงิ น คํ า คง ผู้ป ระกาศข่า วและพิ ธี ก ร สถานีวทิ ยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ จังหวัดเชียงใหม่ ที�ได้ ให้ เกียรติมาแบ่งปั นประสบการณ์ นอกจากนี � มทร.ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ยังได้ สานความร่ วมมือ กับเทศบาลเมืองแม่เหียะ เพื�อบูรณาการองค์ความรู้สชู่ มุ ชน สร้ างอาชีพ สร้ างรายได้ ให้ กบั ชุมชน เป็ นที�ประจักษ์ แล้ วว่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาค พายัพ เชี ย งใหม่ เป็ นมหาวิ ท ยาลัย ที� จัด การเรี ย นการสอนภายใต้ ยุทธศาสตร์ นวัตกรรม และศูนย์กลางวิชาชีพเพือ� ชุมชน เป็ นมหาวิทยาลัย ที�สร้ างความรู้ที�กินได้ ครอบคลุมทุกด้ าน ก่อให้ เกิดการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของประชาชนอย่างยัง� ยืน

นอกจากนี � ในช่วงเวลาเดียวกันนี ข� องทุกปี จะเป็ นช่วงเวลาแห่งการ จัด พิ ธี ปั จ ฉิ ม นิ เ ทศนัก ศึ ก ษาที� สํ า เร็ จ การศึ ก ษา กองบรรณาธิ ก าร วารสารภาคพายั พ ต้ องขอแสดงความยิ น ดี กั บ ว่ า ที� บัณ ฑิ ต ทุ ก คน ซึ�งปลายปี นีก� ็จะได้ เข้ ารับพระราชทานปริ ญญาบัตรฯ นํามาซึ�งความ ภาคภูมิ ใ จให้ กับ พ่ อ แม่ แ ละครอบครั ว จะเห็ น ได้ ว่ า บัณ ฑิ ต ทุก คนที� จบการศึก ษาออกไป มี ค วามสามารถและเป็ นทรั พ ยากรบุค คลที� มี

อาจารยธราดล ดวงสุภา บรรณาธิการ

วารสาร ภาคพายัพ

ปก

ฉบับที่ 13 ประจําเดือน มกราคม – มีนาคม 2556 ทีป่ รึกษา

อาจารยสุทิน ประเสริฐสุนทร รองอธิการบดี มทร.ลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม อาจารยประสิทธิ์ อินทรจันทร ผูอํานวยการกองบริหารทรัพยากร อาจารยอิศรา กันแตง ผูอํานวยการกองการศึกษา อาจารยชาคริต ชูวุฒยากร รองคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร อาจารยสุพงศ แดงสุริยะศรี รองคณบดีคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร ผศ.สุรพล มโนวงศ รองคณบดีคณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร ผศ.อํานวย ปทุมป ผูอํานวยการศูนยการจัดการศึกษาพิเศษ (จอมทอง) อาจารยประเวศ ทองธรรมชาติ หัวหนาสาขาวิทยาศาสตร ดร.รัฐนันท พงศวิริทธิ์ธร หัวหนาสํานักงานบริหาร นายชัยพฤกษ สิทธิศักดิ์ ที​ี่ปรึกษามหาวิทยาลัย อาจารยดิลก ประสานวรกิจกุล รองผูอํานวยการกองบริหารทรัพยากร

กองบรรณาธิการ

นายนิวัตร อินตะรัตน นางสาวเยาวัลย จันทรตะมูล นางสาวสิริญญา ณ นคร

นางประไพ อินทรศรี นางสาวกิ่งกานต สาริวาท นายธันวารักษ สุวคนธ

บรรณาธิการ

อาจารยธราดล ดวงสุภา

ผูช ว ยบรรณาธิการ

อาจารยระพินทร ขัดปก อาจารยอรรถพล วิเวก

แผนกประชาสัมพันธ กองบริหารทรัพยากร มทร.ลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม เลขที่ 128 ถนนห ว ยแก ว ตํ า บลช า งเผื อ ก อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50300 โทร. 0-5392-1444 โทรสาร 0-5321-3183

http://chiangmai.rmutl.ac.th

E-mail : prcm_rmutl@rmutl.ac.th


พรอมกาวสู

การเปนผูนําดานนวัตกรรม และศูนยกลางวิชาชีพเพื่อชุมชน

บทความผูบ ริหาร

อาจารย์สุทิน ประเสริฐสุนทร

รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลล้ำนนำ ภำคพำยัพ เชียงใหม่ เป็นเขตพื้นที่หนึ่งของ มทร.ล้ำนนำ มีเอกลักษณ์ในด้ำนนวัตกรรมและเป็นศูนย์กลำงวิชำชีพเพื่อชุมชน ได้จัดตั้งศูนย์ ควำมเชี่ยวชำญจ�ำนวน 11 ศูนย์ อำทิ ศูนย์กำรจัดกำรข้อมูลเพื่อกำรวิจัยและพัฒนำศักยภำพชุมชน ศูนย์ฝึกอบรมและบริกำรวิชำกำรวิชำชีพบัญชี ศูนย์บ่มเพำะวิสำหกิจ ศูนย์บริกำรทำงวิชำกำร ทดสอบวัสดุแก่ภำครัฐและเอกชน ศูนย์แมคคำทรอนิกส์และออโตเมชั่น ศูนย์เทคโนโลยีกำรผลิต และวัสดุ ศูนย์วจิ ยั และพัฒนำเครือ่ งจักรและผลิตภัณฑ์ตน้ แบบ ศูนย์พฒ ั นำผลิตภัณฑ์หตั ถกรรมและ เฟอร์นเิ จอร์ และศูนย์แฟชัน่ ล้ำนนำลำภเลิศหล้ำนภำลัย เป็นต้น ศูนย์เหล่ำนีส้ ำมำรถสร้ำงและถ่ำยทอด องค์ควำมรูใ้ หม่ สูก่ ำรเรียนกำรสอนและให้บริกำรวิชำกำรแก่สงั คม ชุมชนได้ รวมถึงกำรสืบสำนไว้ซงึ่ ศิลปวัฒนธรรม ภูมปิ ญ ั ญำท้องถิน่ และกำรสร้ำงมูลค่ำเพิม่ ในผลิตภัณฑ์ชมุ ชน สร้ำงอำชีพ สร้ำงรำยได้ ให้แก่ชมุ ชน พัฒนำศักยภำพวิสำหกิจชุมชน สถำนประกอบกำร ภำคอุตสำหกรรมให้สำมำรถแข่งขันกับ นำนำประเทศได้โดยอำศัยควำมเป็นมืออำชีพของคณำจำรย์ นักศึกษำทีม่ คี วำมเป็นบัณฑิตนักปฏิบตั ิ โดยใช้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีเป็นฐำนในกำรขับเคลื่อนให้ไปสู่เปำหมำย ดังนัน้ กำรพัฒนำนักศึกษำให้เป็นบัณฑิตนักปฏิบตั นิ นั้ อำศัยควำมรูท้ ำงด้ำนวิชำกำรอย่ำงเดียว คงไม่เพียงพอ มทร.ล้ำนนำ ภำคพำยัพ เชียงใหม่ จ�ำเป็นต้องสร้ำงบุคลำกรที่มีควำมเชี่ยวชำญ จำกประสบกำรณ์จริง มีทักษะในด้ำนวิชำชีพ มีจรรยำบรรณ และสำมำรถพึ่งพำตนเองได้ รวมถึง กำรสร้ำงให้เป็นคนที่มองโลกในแง่ดี มีคุณธรรมจริยธรรมและมีโลกทัศน์ที่กว้ำงไกล รักควำมเสมอ ภำคเท่ำเทียมกัน เชื่อมั่นในระบอบประชำธิปไตย อันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข และ ที่ส�ำคัญสำมำรถปรับตัวเข้ำกับสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ได้อย่ำงทันท่วงที "ต้องมองก่อนว่ำผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียหลักของมหำวิทยำลัยฯ คือนักศึกษำ ท�ำอย่ำงไรจะให้เขำ มีคณ ุ ภำพและมีคณ ุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ เป็นทีต่ อ้ งกำรของตลำดแรงงำน หลังจำกนัน้ จึงมองไปทีผ่ ล กระทบต่ออำจำรย์และต่อชุมชน หรือประเทศในแง่ของกำรเพิม่ ขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน ขณะ เดียวกันต้องมีพลวัตในกำรขับเคลื่อนควบคู่กันไป" นอกจำกนี้ยังรวมไปถึงกำรพัฒนำคุณภำพชีวิตของเด็ก เยำวชน คนพิกำร และประชำชนใน เขตภำคเหนือ โดยเฉพำะกำรเสริมสร้ำงโอกำส และลดควำมเหลื่อมล�้ำในกำรเข้ำถึงกำรศึกษำ และ แหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภำพและจะเป็นส่วนส�ำคัญในกำรส่งเสริมและสนับสนุน ผลักดันเยำวชนในเขต ภำคเหนือให้มีควำมพร้อมในทุกๆ ด้ำนที่จ�ำเป็นทั้งด้ำนทักษะวิชำชีพ ด้ำนสำรสนเทศ ด้ำนภำษำ ต่ำงประเทศ ควำมรูค้ วำมสำมำรถในด้ำนวิชำกำร เพือ่ เป็นกำรเตรียมควำมพร้อมด้ำนทรัพยำกรบุคคล รองรับกำรก้ำวสู่ประชำคมอำเซียนในปี 2558 ต่อไป

1

วารสาร ภาคพายัพ


¤ÍÅÑÁ¹ à´‹¹

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม พรอมเปนศูนยเชี่ยวชาญ “นวัตกรรมและศูนยกลางวิชาชีพเพื่อชุมชน” มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม ได้จัดตั้งศูนย์ความเชี่ยวชาญเฉพาะทางภายใต้ยุทธศาสตร์ “นวัตกรรมและศูนย์กลางวิชาชีพเพื่อชุมชน” เน้นให้นักศึกษาได้ฝกปฏิบัติงานจริงรวมกับคณาจารย์ บุคลากร ในการบริการ วิชาชีพแกชุมชน สังคม ในทุกๆ ด้าน ประกอบด้วย • ศูนย์การจัดการข้อมูลเพื่อการวิจัยและพัฒนาศักยภาพชุมชน (ศจพช.) ให้บริกำร วิชำกำร กำรวิจัย เพื่อพัฒนำศักยภำพของชุมชนตำมควำมต้องกำรที่แท้จริงของชุมชน เพื่อสร้ำงควำมเข้มแข็งบนพื้นฐำนปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงให้กับชุมชน • ศูนย์ฝกอบรมและบริการวิชาชีพบัญชี ให้บริกำรอบรมให้ควำมรู้ด้ำนกำรจัดท�ำบัญชี ทักษะวิชำชีพ กำรบัญชี รวมทั้งกำรจัดท�ำบัญชีครัวเรือน เป็นต้น • ศูนย์บมเพาะวิสาหกิจ ฝึกฝนให้นักศึกษำได้น�ำควำมรู้ วิชำกำรมำประยุกต์ใช้ใน กำรบริหำรจัดกำร บริษัทจ�ำลองที่จัดตั้งขึ้นเพื่อฝึกประสบกำรณ์กำรค้ำขำยจริง ฝึก ประสบกำรณ์กำรท�ำงำนก่อนออกสู่ตลำดแรงงำนและสังคม

วารสาร ภาคพายัพ

2


3

• ศูนย์บริการทางวิชาการทดสอบวัสดุแกภาครัฐและเอกชน มหำวิทยำลัยฯ ได้ให้ บริกำรทำงวิชำกำร กำรทดสอบวัสดุให้แก่หน่วยงำนต่ำงๆ มำเป็นระยะเวลำยำวนำน ปัจจุบันได้ปรับปรุงพัฒนำระบบ วิธีกำรให้บริกำรเพื่ออ�ำนวยควำมสะดวก ทันสมัย ได้มำตรฐำน และเป็นที่ยอมรับ • ศู น ย์ แ มคคาทรอนิ ก ส์ แ ละออโตเมชั่ น ให้ บ ริ ก ำรภำคอุ ต สำหกรรม วิ ส ำหกิ จ ชุมชน ส่งเสริมกำรใช้กลไลระบบอัตโนมัติควบคุมเครื่องจักร เพื่อให้กำรท�ำงำนใน ภำคอุตสำหกรรม วิสำหกิจชุมชนมีควำมสะดวก รวดเร็ว และประหยัดเวลำ • ศูนย์แมพิมพ์และผลิตชิ้นสวน ให้บริกำรผลิตชิ้นส่วนของเครื่องจักรอุปกรณ์ต่ำงๆ ในส่วนของโรงงำนอุตสำหกรรมและโรงงำนของวิสำหกิจชุมชน ให้ค�ำปรึกษำและ รั บ จั ด ท� ำ แม่ พิ ม พ์ ป ระเภทต่ ำ งๆ เพื่ อ กำรพั ฒ นำผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องภำคอุ ต สำหกรรม วิสำหกิจชุมชนให้มีคุณภำพดียิ่งขึ้น • ศูนย์เทคโนโลยีการผลิตและวัสดุ ให้ค�ำปรึกษำและสร้ำงเครื่องเครื่องจักรกลส�ำหรับ อุตสำหกรรมขนำดเล็ก อุตสำหกรรมครัวเรือน รวมถึงกำรประยุกต์ใช้พลำสติกยำง ธรรมชำติในภำคอุตสำหกรรม งำนฟำร์ม เป็นต้น • ศูนย์วิจัยและพัฒนาเครื่องจักรและผลิตภัณฑ์ต้นแบบ ให้ค�ำปรึกษำวิจัยกำรผลิต เครื่องจักรต้นแบบเพื่อพัฒนำผลิตภัณฑ์ชุมชน หรือกำรผลิตผลิตภัณฑ์ต้นแบบโดยใช้ วัตถุดิบจำกชุมชนให้เกิดมูลค่ำเพิ่มและคุณค่ำมำกขึ้น วารสาร ภาคพายัพ


• ศูนย์บริการงานออกแบบคณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ วิจัย ฝึกอบรม และให้คำ� ปรึกษางานด้านการออกแบบดีไซน์ งานออกแบบอาคาร ออกแบบบ้านและ งานสถาปัตยกรรมต่างๆ • ศูนย์พัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมและเฟอร์นิเจอร์ บริการให้ค�ำปรึกษาและฝึก อบรม การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ หัตถกรรมหรือเฟอร์นเิ จอร์ทเี่ น้นการดีไซด์ การออกแบบรรจุภณ ั ฑ์ทเี่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และใช้วสั ดุทอ้ งถิน่ เป็นองค์ประกอบ ส�ำคัญ • ศูนย์ทดสอบและพัฒนางานสิ่งทอ ให้ค�ำปรึกษาบริการจัดฝึกอบรมและวิจัยการน�ำ วัสดุจากธรรมชาติมาประยุกต์เป็นสิ่งทอต่างๆ รวมถึงการพัฒนาผ้าทอพื้นเมือง ด้วย การออกแบบให้ร่วมสมัยเป็นที่ต้องการของตลาด • ศูนย์แฟชัน่ ล้านนาลาภเลิศหล้านภาลัย เป็นศูนย์ขอ้ มูลด้านแฟชัน่ ล้านนา ใน 8 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน ให้บริการถ่ายทอดความรู้ ด้านการออกแบบแฟชั่นแบบบูรณา การ บริการวิชการการเรียนการสอน เพื่อพัฒนายกระดับฝีมือ พัฒนาคุณภาพกลุ่ม อาชีพทอผ้า เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชน ทัง้ นี้ หากสถานประกอบการ วิสาหกิจชุมชน บริษทั โรงงานอุตสาหกรรม รวมถึงประชาชน ทั่วไป สนใจเข้ารับบริการศูนย์ความเชี่ยวชาญเหล่านี้ สามารถติดต่อได้ที่ 053-921444 ต่อ 0 หรือ 053-414250-2 หรือที่เว็บไซด์ http://www.chiangmai.rmutl.ac.th วารสาร ภาคพายัพ

4


อยู่อย่างนศ. ปี 2500

โดย นายศักดิ์สิทธิ์ ศักดิ์โสภิณ ช่างโลหะ รุ่น 2/03

3

สวัสดีครับ ขอต้อนรับและเชิญชวนทุกๆ ท่าน ติดตามการใช้ชีวิตของนักศึกษาในรุ่นแรกๆ ของมหาวิทยาลัยฯ “อยูอ่ ย่างนักศึกษา ปี 2500” เป็นเรือ่ งราวชีวติ ความเป็นอยู่ ตลอดถึงบรรยากาศสิง่ แวดล้อมของเชียงใหม่ ในอดีต และความ เป็นมาของวิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ แล้วยกฐานะขึ้นเป็นสถาบัน และมหาวิทยาลัยตามล�ำดับ ผมเรียนจบชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนพิรยิ าลัย จังหวัดแพร่ ในสมัยนัน้ ไม่มคี รูแนะแนวการศึกษาต่อหรือประกอบ อาชีพต้องศึกษาค้นคว้าหาเอาเอง ทีท่ ราบจากครูคอื จังหวัดได้รบั โควต้าเพือ่ ศึกษาต่อมีโรงเรียนฝึกหัดครูอตุ รดิตถ์ 3 คน และ แม่โจ้เชียงใหม่ 3 คน ผมก็สมัครทั้งสองแห่งจากผู้สมัคร 200 กว่าคน ผมสอบไม่ติดทั้ง 2 แห่ง ก็เกิดความทุกข์หนักใจ เพราะ ครอบครัวมีลกู 11 คน ผมเป็นคนที่ 6 ครอบครัวให้โอกาสศึกษาต่อสูงกลว่า ม.6 เป็นคนแรก ผมใช้วธิ วี ดั ดวงจากหมอดูประจ�ำ หมูบ่ า้ น ว่าจะลงไปใต้ไปกรุงเทพฯ สมัครสอบเข้าโรงเรียนช่างกลปทุมวัน กับขึน้ เหนือเชียงใหม่ สมัครสอบเข้าวิทยาลัยเทคนิค ภาคพายัพ กับแม่โจ้ อันไหนดีกว่ากันเพื่ออนาคตต่อไป หมอดูได้บอกว่าขึ้นเหนือดีกว่า ผมก็เลยตัดสินใจขึ้นมาเชียงใหม่ ซึ่ง ได้ศึกษาพอดีมีญาติมาเรียนที่นี่ จากจังหวัดแพร่มาเชียงใหม่ ในอดีตการเดินทางต้องตืน่ ตัง้ แต่ตสี ามเตรียมตัวแล้วออกจากบ้านมารอขึน้ รถยนต์ประจ�ำ ทางเป็นรถยนต์คอกหมูมีคันเดียว ออกตีสี่เพื่อไปอ�ำเภอเด่นชัย ระยะทาง 24 กิโลเมตร ใช้เวลาไม่ต�่ำกว่า 12 ชั่วโมง เพราะ ต้องหยุดรับผู้โดยสาร บางครั้งก็น�ำหมูขึ้นมาด้วย รถไฟสายพิษณุโลกเชียงใหม่ ออกจากสถานีรถไฟเด่นชัยเวลา 06.00 น. มาถึงเชียงใหม่ เวลา 18.00 น. รวมเวลา 12 ชั่วโมง และจะมีรถเสียเวลา 20-30 นาที เป็นของธรรมดา ผมมีโอกาสนั่งรถไฟ เป็นครั้งแรกในชีวิต เมื่อถึงเชียงใหม่ก็ขออาศัยบ้านญาติ ครอบครัว อาจารย์ใหญ่เฉลิม จารุจารี สมัครสอบ รอสอบ และประกาศผลสอบ ผมโชคดีสอบได้วทิ ยาลัยเทคนิคภาคพายัพ ส่วนแม่โจ้ไม่ตดิ เมือ่ ทราบผลก็กลับแพร่ คนในครอบครัว และญาติพนี่ อ้ งต่างแสดง ความดีใจ และเตรียมหลักฐานเพือ่ เข้ารายงานตัวและมอบตัวเป็นนักศึกษาด้วยความภาคภูมใิ จ จากเด็กมัธยมใส่กางเกงสีกากี ขาสั้น เสื้อขาวแขนสั้นจะได้เปลี่ยนมาเป็นกางเกงขายาวสีน�้ำเงินหรือกรมท่า เสื้อขาวแขนสั้นหรือแขนยาวก็ได้ หลังมอบตัวเรียบร้อยผมต้องอาศัยอยู่วัดพระสิงห์ เพราะบ้านญาติคับแคบและอยู่กันหลายคนเป็นบ้านพักราชการ ทั้งนี้การอยู่วัดใหญ่ๆ ไม่ใช่เป็นของง่ายต้องอาศัยการช่วยเหลือเกื้อกูล เจ้าอาวาสวัดพระสิงห์ คือ พระธรรมราชานุวัตร เป็น เจ้าคณะภาคเหนือ เดิมเป็นเจ้าคณะจังหวัดแพร่ เจ้าอาวาสวัดพระบาทมิง่ เมืองครอบครัวของผมเป็นศรัทธาวัดพระบาท ช่วย ทะนุบำ� รุงวัดระดับแนวหน้าท่านเจ้าคุณเลยอนุญาต มอบหมายให้ทา่ นพระครูทที่ ำ� หน้าทีเ่ ลขาด�ำเนินการ เนือ่ งจากมีเด็กมาก ไม่มที วี่ า่ ง ท่านพระครูเลยให้ผมนอนในห้องเก็บเอกสาร ต้องตืน่ แต่เช้าเก็บทีน่ อน อยูป่ ระมาณ 10 กว่าวันก็ให้ไปนอนห้องเณร ซึ่งเด็กวัดที่อยู่ในสังกัดเจ้าอาวาสมี 12 คน ท่านช่วยอนุเคราะห์ให้ค่าอาหารคนละ 1 บาท รวม 12 บาท ส�ำหรับข้าวมีผู้มา ถวายท�ำบุญ มอบให้พระครูควบคุมดูแลไปจ่ายซื้อกับข้าว หุงข้าว ท�ำอาหาร เฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์ งดจ่ายช่วยตัวเอง เรื่องการไปเรียน ในรุ่นที่ 1 ทางวิทยาลัยฯ เริ่มด�ำเนินการขอใช้อาคารบ้านพระอาสาที่แจ่งหัวลินเป็นอาคารเรียน ชั่วคราวในวิชาสามัญ-สัมพันธ์ ช่วงบ่ายก็ไปเรียนวิชาช่างที่ห้วยแก้ว ระยะทางประมาณ 5 กม. ด้วยการปั่นจักรยาน ถนนยัง ไม่เรียบร้อย บางช่วงเป็นถนนลูกรังเป็นน�้ำท่วมไหลผ่าน อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่รุ่นที่ 2 เป็นต้นไป ก็ย้ายไปเรียนที่ห้วยแก้วทั้งหมด เช้าไปเย็นกลับก็ถือว่าการปั่นจักรยาน เป็นการออกก�ำลังกายไปกันเป็นกลุม่ เป็นคูค่ ยุ กันไป บางครัง้ ก็เต็มถนนเพราะไม่มรี ถยนต์ รถมอเตอร์ไซด์ เฉพาะนักศึกษาใช้ รถมอเตอร์ไซด์มีเฉพาะนักศึกษาพณิชยการ รุ่นที่ 2-3 มีพียง 4 คัน แบบสกู๊ดเตอร์ เมื่อน�ำมาจอดก็จะมีนักศึกษาจ้องมองดู รถเพราะสนใจ เท่าทีท่ ราบรถมอเตอร์ไซด์คนั แรกเป็นของคุณชัยรัตน์ ชุนหพงษ์ ใช้ตงั้ แต่เรียนโรงเรียนมงฟอร์ต ปัจจุบนั ถึงแก่ กรรม, คุณพยุง เมธา, คุณวนิดา ชลพันธุ์ ทั้งสามคนเรียนพาณิชยการ รุ่น 2 และคุณประนอม ทองสุข พาณิชยการ รุ่น 3 ถือเป็น 4 คันแรกที่น�ำเข้ามาจอดในโรงรถ นอกนั้นเป็นจักรยานทั้งหมด ย�้ำอีกครั้งว่าตั้งแต่แจ่งหัวลินถึงวิทยาลัยเทคนิคไม่มี โรงเรียน ไม่มีร้านค้าเลย (โรงเรียนสารพัดช่างเชียงใหม่ เปิดสอนปี 2517) วารสาร ภาคพายัพ


วิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ

สถำนภำพในวิทยำลัย มีอำคำรอ�ำนวยกำร 2 ชั้น เป็นส�ำนักงำนผู้บริหำร ครู อำจำรย์ ชั้น 2 เป็นห้องเรียนแผนกพญิชยกำร และเป็นห้องเขียน แบบพื้นฐำนของช่ำง ช่วงนั้นใช้หลักสูตรเข้ำเรียนปี 1 ต้องเรียนทุกช่ำง แบบเดียวกับช่ำงกลปทุมวัน พอขึ้นปีที่ 2 ให้แยกเรียนช่ำงตำมที่ตนเองถนัดถัด จำกอำคำร 2 ชั้น ก็เป็นอำคำรปฏิบัติกำรชั้นเดียว แบ่งเป็น 3 ช่ำงคือ ช่ำงยนต์, ช่ำงโลหะ, ช่ำงไฟฟำ เป็นพื้นที่ปฏิบัติงำนกับห้องเรียนภำคทฤษฎี 1 ห้อง ปัจจุบันได้รื้อถอน สร้ำงอำคำร 2 ชั้น เป็นของช่ำงกลโลหะ ถัดไปซ้ำยมือก็เป็นอำคำรช่ำงก่อสร้ำง, ช่ำงไม้ และต่อมำสร้ำงอำคำรชั่วครำว ระหว่ำงอำคำร 2 ชั้น กับช่ำงไฟฟำ เป็นที่ฝึกงำนช่ำงไม้ พืน้ โรงงำนเป็นลูกรังอัดแน่นโล่งๆ ไม่มฝี ำผนังโดยรอบยกเว้นห้องเก็บเครือ่ งมือ เวลำฝนตกลมแรงต้องหยุดเรียนฝุน ตลบ ยังจ�ำได้งำนก่ออิฐของอำจำรย์จำ� นง หอมสุวรรณ ยังต้องอำศัยใต้ต้นสัก ส่วนวิชำทฤษฎีก็ยกเข่ำขึ้นมำรองเขียน บำงครั้งก็มีใบสักร่วงหล่นลงมำต้องคอยหลบ หรือใช้มือรับก็ถือว่ำแก้ง่วง ปัจจุบันอำคำรของช่ำงไฟฟำ 3 ชั้น สร้ำงเต็มพื้นที่ เดิมเป็นสวนหย่อมมีรำกต้นสัก ดอกกุหลำบ ผู้อ�ำนวยกำรจรัญ ชอบมำดูแล รดน�้ำ และที่เรำไม่ลืม คือ หลังอำคำรชั้นเดียว หลังช่ำงไฟฟำ มีต้นมะละกออยู่ต้นหนึ่งมีลูกดกมำก เป็นของหวำนของเรำ เรำรอให้สุก อำจำรย์จรัญ เดินมำพบเห็นท่ำนพูดว่ำ "เฮ้ยๆ ครูมำปลูกไว้ยังไม่ได้ทำนเลย พวกเธอเอำไปกินหมด" มีเรื่องข�ำๆ คือ มีผู้ปกครองเดินมำถำมว่ำผู้อ�ำนวยกำรอยู่ที่ใด พวกเรำก็ชี้ไปที่ผู้อ�ำนวยกำร ที่ก�ำลังรดน�้ำต้นไม้อยู่ ต่อมำเรำก็ทรำบว่ำผู้ปกครอง เดินไปหำผู้อ�ำนวยกำรแล้วถำมว่ำลุงๆ ผู้อ�ำนวยกำรอยู่ที่ไหน? ผู้อ�ำนวยกำรก็บอกว่ำให้ไปรอที่ห้องผู้อ�ำนวยกำรตึกหน้ำ ต่อมำผู้อ�ำนวยกำรเดินเข้ำห้อง ผู้ปกครองก็ตกใจ อุทำนว่ำอ้ำว ผู้อ�ำนวยกำรหรือ? ผูอ้ ำ� นวยกำรจรัญ สมชะนะ มีวฒ ุ ิ สถ.บ. เป็นผูอ้ ำ� นวยกำร และหัวหน้ำฝำยวิชำช่ำงกล ท่ำนมีควำมรูค้ วำมสำมำรถครบทุกด้ำน งำนอำคำรสถำนที่ งำนบุคลำกรจัดหำผูเ้ ชีย่ วชำญแต่ละวิชำในท้องถิน่ มำช่วยเป็นอำจำรย์พเิ ศษ อุปกรณ์กำรเรียนกำรสอน ในสมัยนัน้ ไม่มนี ำ�้ ประปำ ท่ำนใช้วธิ ขี ดุ บ่อตำมแนว ล�ำเหมืองหลำยๆ บ่อต่อท่อรวมกันแล้วดูดขึ้นแท้งค์ ล�ำเหมืองเป็นน�้ำที่มำจำกน�้ำตกห้วยแก้ว ไหลผ่ำนตลอดน�้ำสะอำดใส เป็นผู้ที่น�ำเอำขบวนกำรผลิต เครื่องใช้ส�ำนักงำน โต๊ะ เก้ำอี้ ตู้ ชั้นวำงของที่ใช้ แปปท่อเหล็กสี่เหลี่ยมและกลม เป็นโครงแทนไม้ ช่วงนั้นในท้องตลำดไม่มีจ�ำหน่ำย ท่ำนจัดท�ำใช้ใน วิทยำลัย แล้วขยำยผลไปยังโรงเรียนต่ำงๆ เช่น โรงเรียนยุพรำช โรงเรียนวัฒโนทัยพำยัพ และศำลำกลำงจังหวัด จึงท�ำให้เกิดงำนผลิตให้ครูอำจำรย์ น�ำเอำนักศึกษำ มำท�ำงำนพิเศษในวันเสำร์-อำทิตย์ และวันหยุดรำชกำร ให้ค่ำแรงนักศึกษำชั้นปีที่ 1 วันละ 10 บำท ชั้นปีที่ 2 วันละ 11 บำท และ ชั้นปีที่ 3 วันละ 12 บำท

โปรดติดตามตอนต่อไป

พ.ศ.2502

ท่ำนผูอ้ ำ� นวยกำร จรัญ สมชนะ ย้ำยไปเป็นผูอ้ ำ� นวยกำรช่ำงกลพระนครเหนือ นั ก ศึ ก ษำวิ ท ยำลั ย เทคนิ ค ภำคพำยั พ มี ค วำมรั ก ผู ก พั น ธ์ เ ป็ น อย่ ำ งยิ่ ง ได้พร้อมใจกันไปส่งท่ำนที่สถำนีรภไฟเชียงใหม่ ระลึกถึงบุญคุณที่ท่ำน ได้บุกเบิกก่อตั้งวิทยำลัยแห่งนี้

ภำพถ่ำยจำกทำงอำกำศ วิทยำลัยเทคนิคภำคพำยัพ ช่วงปี พ.ศ.2500

วารสาร ภาคพายัพ

4


กิจกรรมเดนชาวภาคพายัพ Á·Ã.Ōҹ¹Ò ÀÒ¤¾ÒÂѾ ¨Ñ´Çѹà´็¡áË‹§ªÒµÔ 2556

จังหวัดเชียงใหม่ร่วมกับสํานักงานเขตพื �นที�การศึกษาประถมศึกษา เชียงใหม่เขต 1 และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชี ย งใหม่ จัด งานวัน เด็ ก แห่ ง ชาติ ป ระจํ า ปี 2556 จัง หวัด เชี ย งใหม่ ในวันที� 12 มกราคม 2556 โดยได้ รับเกียรติจากนายธานินทร์ สุภาแสน ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เป็ นประธานในพิ ธี เ ปิ ดงาน โดยมี อาจารย์ ชัย ยง เอื อ� วิ ริ ย านุ กู ล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ราชมงคลล้ านนา กล่าวรายงาน

Çѹʶһ¹Ò ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂà·¤â¹âÅÂÕÃÒªÁ§¤ÅŌҹ¹Ò

อาจารย์ชยั ยง เอื �อวิริยานุกลู อธิการบดี มทร.ล้ านนา และอาจารย์ สุทิ น ประเสริ ฐ สุน ทร รองอธิ ก ารบดี ฯ มทร.ล้ า นนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ พร้ อมคณะผู้บริ หาร คณาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา ทําบุญตักบาตรข้ าวสาร อาหารแห้ ง เนือ� งใน “วันสถาปนามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา” 18 มกราคม 2556 หลังจากนันได้ � ร่วม พิธีเจริ ญพุทธมนต์ สืบชะตา ถวายภัตตาหารเพล พระสงฆ์ 9 รู ป ณ ข่วงกําแพงเมืองเวียงเจ็ดลินและโรงอาหาร มทร.ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

¾Ô¸ÅÕ §¹ÒÁºÑ¹·Ö¡¤ÇÒÁËÇÁÁ×ÍÏ Á·Ã.Ōҹ¹Ò ÀÒ¤¾ÒÂѾ áÅÐà·ÈºÒÅàÁ×ͧáÁ‹àËÕÂÐ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ โดย อาจารย์สทุ นิ ประเสริฐสุนทร รองอธิการบดีฯ ร่วมลงนามบันทึกข้ อตกลง เบื อ� งต้ น ความร่ ว มมื อ ด้ านการบริ ก ารแก่ ชุ ม ชนกั บ เทศบาล เมืองแม่เหียะ โดยนายธนวัฒน์ ยอดใจ นายกเทศมนตรี เมืองแม่เหียะ เมื�อวันที� 19 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้ องประชุม ธนาวรรณ เทศบาล เมืองแม่เหียะ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

3 ¤³Ð ¨Ñ´§Ò¹»˜¨©ÔÁ¹Ôà·È ãˌᡋ¹¡Ñ ÈÖ¡ÉÒ»ÃШํÒ»‚¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ 2555

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชี ย งใหม่ จัด ปั จ ฉิ ม นิ เ ทศทัง� ในระดับ ประกาศนี ย บัต ร วิชาชีพชันสู � งและระดับปริญญาตรี ประจําปี การศึกษา 2555 โดยคณะบริ หารธุรกิ จและศิลปศาสตร์ จัดปั จฉิ มนิ เทศ ในวั น ที� 26 มกราคม 2556 คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ จั ด ปั จฉิ ม นิ เ ทศในวั น ที� 16 กุ ม ภาพั น ธ์ 2556 ณ ห้ องสันพระเนตร โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ ว ในส่วนของ คณะศิ ล ปกรรมและสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ จัด ในวัน ที� 18 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้ องประชุม 3 อาคารเรี ยนรวม มทร.ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ “เป็ นมหาวิทยาลัยนวัตกรรมและเป็ นศูนย์กลางการเรี ยนรู้ ในการพัฒนาวิชาชีพ สูค่ วามเป็ นเลิศเพื�อชุมชน” ในปี การศึกษา 2555 มหาวิทยาลัยฯ ได้ ผลิตบัณฑิตนักปฏิบตั อิ อกสูส่ งั คม จํานวน 2,419 คน

7

วารสาร ภาคพายัพ


นศ.วิศวกรรมเครือ่ งจักรกลเกษตร ควารองชนะเลิศ

จากงานประชุมวิศวกรรมเกษตรแหงชาติ

วิศวกรรมอุตสาหการ บวงสรวงพระวิษณุกรรม

สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ จัดพิธีบวงสรวง พระวิษณุกรรม โดยได้ รับเกียรติจาก อาจารย์สทุ ิน ประเสริ ฐสุนทร รองอธิ ก ารบดี ฯ เป็ นประธาน พร้ อมด้ วย อาจารย์ อ ภิ ช าติ ชัยกลาง หัวหน้ าสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณาจารย์ บุคลากรและ นักศึกษา ร่วมพิธี เมื�อวันที� 29 มกราคม 2556 ณ ลานพระวิษณุกรรม มทร.ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมเครื� องจักรกลเกษตร ชันปี � ที� 3 และ 4 คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ได้ แก่ นายกิตติศกั ดิ� พิทํา, นายมงคล ชื�นอารมณ์, นายวริษฐวัฒน์ ชัยกาวิล, นายธวัชชัย อินต๊ ะปาน, นายทศพร ฉัตรศิขรินทร, นายศุภกานต์ สิงห์ทอน, นายอภิรัฐ วงค์อินต๊ ะวัง และนางสาวสุทิพยรัตน์ ผัดเป้าคว้ ารางวัลรองชนะเลิศอับดับ 1 ภาคบรรยาย จาก “โครงงาน การพัฒนาเครื� องคว้ านเมล็ดลําไยโดยใช้ สายพานลําเลียง” ประเภท โครงงานด้ านการนําไปใช้ ประโยชน์ จากงานประชุมวิชาการโครงการ งานวิ ศ วกรรมเกษตรแห่ ง ชาติ ณ สถาบัน เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า เจ้ าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร เมื�อวันที� 8 กุมภาพันธ์ 2556 โดยมี ดร.นิวตั ร มูลปา เป็ นอาจารย์ที�ปรึกษาโครงการ

นักศึกษาวิศวกรรมคอมพิวเตอร มอบสือ่ การเรียนการสอนแกโรงเรียนสอนคนตาบอด

นศ.วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส

ควารางวัลความคิดสรางสรรคจากYECC2013

เมือ� วันที� 26 กุมภาพันธ์ 2556 ดร.ภาศวรรธน์ วัชรดํารงศักดิ� ผู้อาํ นวยการ สถาบัน วิ จัย และพัฒ นา มทร.ล้ า นนา, อาจารย์ ช าคริ ต ชูวุฒ ยากร รองคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาคพายัพ เชียงใหม่ อาจารย์สาขาวิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ร่ วมพิธีส่งมอบสื�อการเรี ยนการสอน สําหรั บ นั ก เรี ย นที� มี ค วามบกพร่ อ งทางการมองเห็ น โดยมี น ายประมวล พลอยกมลชุ ณ ฑ์ ผู้ อํ า นวยการโรงเรี ย นสอนคนตาบอดภาคเหนื อ ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม่ เป็ นตัวแทนรับมอบดังกล่าว

นายนฤพนธ์ ถาวารี และนายณัฐพงศ์ แก้ งโม่ง นักศึกษาสาขา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ชันปี � ที� 3 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา ภาคพายัพ เชี ย งใหม่ คว้ า รางวัล ความคิดสร้ างสรรค์ พร้ อมทุนการศึกษา 5,000 บาท จากผลงาน ตู้ยาคุณยาย โดยมีอาจารย์ ผดุงศักดิ� วงศ์แก้ วเขียว เป็ นอาจารย์ ทีป� รึกษา และ ด.ช.เจตพล ปวนจอก, ด.ช.จตุพร ร้ องเสียง จากโรงเรียน แม่ริมวิทยาคมร่วมทีม จากการแข่งขัน การประกอบวงจรอิเลคทรอนิกส์ ครัง� ที� 13 Youth s Electronics Circuit contest : YECC 2013 ซึง� จัดขึ �นระหว่างวันที� 12 – 14 กุมภาพันธ์ 2556 ณ หอประชุมมหิศร อาคาร SCB Park Plaza ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) สํานักงานใหญ่ กรุงเทพมหานคร

8

วารสาร ภาคพายัพ


นักศึกษาสาขาวิชาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร

ควา 6 รางวัลจาก IT Career Exhibition 2013

พิธีลงนามความรวมมือระหวาง

คณะบริหารธุรกิจ มทร.ลานนา และ ม.แมโจ

เมื�อวันที� 26 มีนาคม 2556 อาจารย์ชยั ยง เอื �อวิริยานุกลู อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ต้ อนรั บคณะผู้บริ หารจาก มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เพื�อร่วมพิธีลงนามความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง คณะบริ หารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้ า นนา กับ คณะบริ ห ารธุ ร กิ จ มหาวิ ท ยาลัย แม่ โ จ้ ด้ า นการเรี ย น การสอน ด้ านการวิจยั ด้ านการบริ การวิชาการและด้ านการทํานุบํารุ ง ศิ ล ปวั ฒ นธรรม เพื� อ เพิ� ม ศั ก ยภาพความเข้ มแข็ ง ให้ กั บ ชุ ม ชน อย่างยัง� ยืน โดยมีอาจารย์คณ ู ธนา เบี �ยวบรรจง คณบดีคณะบริ หารธุรกิจ และศิ ล ปศาสตร์ มหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา และ ดร.ปิ ยวรรณ สิริประเสริ ฐศิลป์ คณบดีคณะบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ เป็ นตัวแทนลงนาม ณ ห้ องประชุม 1 อาคารอํานวยการ

สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ คณะบริ หารธุรกิจ และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ส่งตัวแทนนักศึกษาเข้ าร่วมแข่งงาน IT Career Exhibition 2013 เมื�อวันที� 6 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ศูนย์การค้ าเซ็นทรัลพลาซ่า เชียงใหม่ แอร์ พอร์ ต โดยได้ รับรางวัลต่างๆ กว่า 6 รางวัล ดังนี � รางวัลชนะเลิศการประกวดโครงงาน ประเภทการพัฒนา ระบบ จากโครงการระบบจัดการคลังสินค้ าออนไลน์ และระบบ คลัง สิ น ค้ าบนระบบปฏิ บัติ ก ารแอนดรอยด์ แ อปพลิ เ คชั� น โดย นายธนกานต์ แก้ วสลุด และนางสาวพจนาสิณี กรสังข์ รางวัลชนะเลิศการประกวดโครงงาน ประเภทการจัดทํา เว็บไซต์ เพื�อการพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ จากโครงการ การพัฒนา เว็บไซต์บริ ษัท โบว์ไทย ทราเวล เอเจนซี� จํากัด โดยนางสาวสุพตั รา สุภาฤทธิ� รางวัลชนะเลิศการประกวดโครงงาน ประเภทการพัฒนา โปรแกรมบนโทรศัพท์ เคลื�อนที� จากโครงการระบบจัดการข้ อมูล การรั บ ซื อ� ยอดคงเหลื อ และจํ า หน่ า ยขยะรี ไ ซเคิ ล ออนไลน์ โดย นายศราวุฒิ บุญธิมา และนางสาวเอมิกา ฉลอม รางวัลชมเชยการประกวดโครงงาน ประเภทการพัฒนา ระบบ จากโครงการระบบฐานข้ อมูลสหกิจศึกษา คณะบริ หารธุรกิจ และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ โดยนายอนุสรณ์ เรื อนนุช รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การประกวด Miss TICE 2013 โดย นางสาววริ ศรา สายแก้ ว และ รางวัลชมเชย การประกวด Miss TICE 2013 โดย นางสาวสิริรัตน์ นวลตา

การนักศึกษารวมโครงการ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร กิสัมจมนาสภานั กศึกษาสัมพันธ 9 ราชมงคล ครัง้ ที่ 3

จัดพิธที าํ บุญ ครบรอบ 57 ป

คณะบริ ห ารธุ ร กิ จ และศิ ล ปศาสตร์ มหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ราชมงคลล้ านนาภาคพายัพ เชียงใหม่ จัดพิธีทาํ บุญคณะบริหารธุรกิจ และศิลปศาสตร์ ครบรอบ 57 ปี โดยมีอาจารย์คณ ู ธนา เบี �ยวบรรจง คณบดีคณะบริ หารธุรกิจและศิลปศาสตร์ อาจารย์สพุ งศ์ แดงสุริยศรี รองคณบดีฯ คณาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา ร่วมทําบุญตักบาตร ข้ า วสาร อาหารแห้ ง แด่ พ ระภิ ก ษุ ส งฆ์ 57 รู ป เพื� อ ความเป็ น สิริมงคล เมื�อวันที� 14 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ลานคณะบริ หารธุรกิจและ ศิลปศาสตร์ มทร.ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

9

วารสาร ภาคพายัพ

เมื�อวันที� 20-22 มกราคม 2556 ผศ.ดร.พีระ จูน้อยสุวรรณ รองผู้อาํ นวยการกองการศึกษา และ นายรังสฤษฎ์ เรี ยนทอง ป ร ะ ธ า น ส ภ า นั ก ศึ ก ษ า ปี การศึกษา 2555 และ นางสาวอมรรัตน์ แต้ มดื�ม ประธานสภานักศึกษา ปี การศึกษา 2556 เข้ าร่วมการสัมมนาสภานักศึกษาสัมพันธ์ 9 ราชมงคล ครัง� ที� 3 ณ ฟาวน์เท่นทรี รี สอร์ ท อําเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา จะได้ รับเกียรติให้ เป็ นเจ้ าภาพ ครัง� ต่อไป ในปี การศึกษา 2557


ศาสตราจารย ปรีชา เถาทอง ศิลป นแห งชาติ บรรยายพิเศษทีค่ ณะศิลปกรรมฯ คณะศิลปกรรมและสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ได้ รบั เกียรติจาก ศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง ศิลปิ นแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ บรรยายพิเศษในหัวข้ อ “การสร้ างแรงบันดาลใจในการสร้ างสรรค์งานศิลปะ การออกแบบ และผลงานวิชาการ” และ “การแลกเปลี�ยนแนวความคิดงานศิลปะ การออกแบบ และ ผลงานวิชาการ” ให้ แก่คณาจารย์ นักศึกษาทังภายในและภายนอกมหาวิ � ทยาลัย รวมถึงศิลปิ น ท้ องถิ�นรวมทังสิ � �นกว่า 120 คน เมื�อวันที� 20 มีนาคม 2556 ณ ห้ องโสตทัศนศึกษา อาคาร 2 มทร.ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ (เจ็ดยอด)

ÊÒ¢ÒÍ͡Ẻ ¨Ñ´¹Ô·ÃÃÈ¡Òà Textile new cultural 2013 อำจำรย์ สื บ สกุ ล ชื่ น ชม อำจำรย์ ป ระจ� ำ สำขำวิชำสิง่ ทอและเครือ่ งประดับ คณะศิลปกรรม และสถำปัตยกรรมศำสตร์ น�ำนักศึกษำสำขำวิชำ สิ่งทอและเครื่องประดับชั้นปีที่ 4 ปีกำรศึกษำ 2555 จัดนิทรรศกำรแสดงผลงำนของนักศึกษำ จ�ำนวน 23 ผลงำน “Textile new cultural 2013” โดยมี ผศ.สุรพล มโนวงค์ รองคณบดีคณะ

ศิลปกรรมและสถำปัตยกรรมศำสตร์ มทร.ล้ำนนำ ภำคพำยั พ เชี ย งใหม่ กล่ ำ วรำยงำน และ ดร.จัตตุฤทธิ์ ทองปรอน รองอธิกำรบดีฝำ ยบริหำร มทร.ล้ำนนำ ให้เกียรติเป็นประธำนในพิธีเปิด นิทรรศกำร เมื่อวันที่ 1 กุมภำพันธ์ 2556 ส�ำหรับ ปีนี้นักศึกษำได้ออกแบบผลงำนภำยใต้แนวคิด แสดงผลงำนระหว่ำงวันที่ 1 – 3 กุมภำพันธ์ 2556 วิถีชีวิต วัฒนธรรมและภูมิปัญญำท้องถิ่น โดยจัด ณ ศูนย์กำรค้ำเซ็นทรัลพลำซำ เชียงใหม่ แอร์พอร์ต

อาจารย มทร.ลานนา รวมงานสัมมนา อาจารยทปี่ รึกษา โครงการรากแกว 2556

เมือ่ วันที่ 25-27 มกรำคม 2556 ทีผ่ ำ่ นมำ ผศ.ดร.พีระ จูนอ้ ยสุวรรณ รองผูอ้ ำ� นวยกำรกองกำรศึกษำ และอำจำรย์อนุวตั ร ศรีนวล หัวหน้ำสำขำ เทคโนโลยี เ ครื่ อ งกล มหำวิ ท ยำลั ย เทคโนโลยี ร ำชมงคลล้ ำ นนำ ภำคพำยัพ เชียงใหม่ ได้เข้ำร่วมสัมมนำอำจำรย์ทปี่ รึกษำโครงกำรรำกแก้ว ประจ�ำปี 2556 จัดโดยมูลนิธิรำกแก้ว ณ ศูนย์ฝึกอบรมและสัมมนำ ส�ำนักงำนสลำกกินแบ่งรัฐบำล อ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยมีสถำบันอุดมศึกษำจำกทั่วภูมิภำคของประเทศและวิทยำลัยชุมชน เข้ำร่วมกว่ำ 50 สถำบัน

ÊÒ¢Ò¡ÒÃÍ͡Ẻ Ὺѹ่ âªÇ ÍѵÅѡɳ Ὺѹ่ ÍÒà«Õ¹ÅÒÀàÅÔÈËŌҹÀÒÅÑÂ

สำขำกำรออกแบบ คณะศิลปกรรมและสถำปัตยกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีล้ำนนำ วิทยำเขตภำคพำยัพ จัดแสดงแฟชั่น โชว์ “อัตลักษณ์แฟชั่นชนเผ่ำ ลำภเลิศหล้ำนภำลัย” โดยแสดงผลงำน กำรออกแบบของนักศึกษำหลักสูตรกำรออกแบบสิ่งทอ โดยออกแบบ จำกผ้ำทอไทย 48 รูปแบบ ดึงเอำควำมเป็นอัตลักษณ์ของชนเผ่ำต่ำงๆ มำเป็ น แรงบั น ดำลใจในกำรออกแบบ นอกจำกนี้ ใ นงำนยั ง มี กำรสัมมนำเชิงปฏิบตั กิ ำร กำรแสดงนิทรรศกำรอัตลักษณ์แฟชัน่ ดอกไม้, กำรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติกำรกระเปำชนเผ่ำ 29 รูปแบบ อีกด้วย

ÍÒ¨Òà-¹Ñ¡ÈÖ¡ÉÒ ÃѺÃÒ§ÇÑÅàªÔ´ªÙà¡ÕÂõԹѡ¡Ô¨¡ÃÃÁ·Ò§Êѧ¤Á

เมื่อวันที่ 10 กุมภำพันธ์ 2556 ผศ.ดร.พีระ จูน้อยสุวรรณ รองผู้อ�ำนวยกำรกองกำรศึกษำ ในฐำนะอำจำรย์ ที่ ปรึ ก ษำสโมสรนั ก ศึ ก ษำ และนำยอำนุ ภ ำพ มี ช ะคะ นำยกสโมสรนักศึกษำ ปีกำรศึกษำ 2555 เข้ำรับประกำศนียบัตรเชิดชูเกียรติแก่นักกิจกรรมทำงสังคม ซึ่งมอบโดยนำยอดิศร ก�ำเนิดศิริ รองผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเชียงใหม่ ณ ลำนหน้ำพิพิธภัณฑ์พื้นถิ่นล้ำนนำเชียงใหม่ กิจกรรม ครัง้ นีจ้ ดั ขึน้ โดย สถำบันนำนำชำติไอโอจีที เอ็นทีโอ มูฟเมนท์ ส�ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรสร้ำงเสริม สุขภำพ และส�ำนักงำนเครือข่ำยองค์กรงดเหล้ำ ในกำรนี้ยังได้มีกำรสัมภำษณ์นักกิจกรรมทำงสังคม เหล่ำนี้ เพื่อตีพิมพ์ลงในหนังสือ “บุก_ คนสำธำรณะ” เพื่อเป็นแบบอย่ำงและแรงบันดำลใจให้แก่ เยำวชนรุ่นหลังต่อไป วารสาร ภาคพายัพ

10


รถเข็นสําหรับผูพิการเฉพาะราย สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม จัดสร้างอุปกรณ์ รถเข็นกึ่งอัตโนมัติเพื่อผู้พิการเฉพาะราย ภายใต้โครงการ “เทคโนโลยีราชมงคลเพื่อชุมชน จัดสร้างอุปกรณ์เพื่อผู้พิการเฉพาะราย” มอบให้กับ นายสมจิตร เกษตรกรผู้พิการที่ต้องนอนทํางานการเกษตร ผศ.ธี ร ะยุ ท ธ บุ น นำค หั ว หน้ ำ โครงกำร กล่ำวว่ำ เมื่อวันที่ 21 มกรำคม 2551 สมเด็จ พระเทพรั ต นรำชสุ ด ำฯ สยำมบรมรำชกุ ม ำรี เสด็ จ พระรำชด� ำ เนิ น ทรงประกอบพิ ธี เ ปิ ด “อำคำรเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษำ” ณ มูลนิธิ สิ ริ วั ฒ นำ เชสเชี ย ร์ ในพระบรมรำชิ นู ป ถั ม ภ์ ในกำรนี้ ได้มีพระรำชกระแสรับสั่งกับประธำน มูลนิธสิ ริ วิ ฒ ั นำ เชสเชียร์ฯ ให้ขอทำงมหำวิทยำลัย เทคโนโลยี ร ำชมงคลล้ ำ นนำ ภำคพำยั พ เชียงใหม่ ช่วยออกแบบรถเข็นให้แก่นำยสมจิตร สมำชิกชำยของมูลนิธิสิริวัฒนำ เชสเชียร์ ใน พระบรมรำชิ นู ป ถั ม ภ์ ที่ ป ระกอบอำชี พ เกษตรกรรม โดยต้องนอนท�ำงำนกำรเกษตรซึ่ง ท�ำให้เกิดแผลกดทับ เพื่อให้ได้รับควำมสะดวก ยิ่งขึ้นในกำรท�ำงำนกำรเกษตร ในปัจจุบันมีผู้ปวยและคนพิกำรกลุ่มหนึ่งที่มี ลักษณะกล้ำมเนื้อแขนอ่อนแรง และไม่สำมำรถ นัง่ ทรงตัวในท่ำปกติได้เวลำนัง่ อยูบ่ นรถคนพิกำร ส่ ง ผลให้ ค นพิ ก ำรเหล่ ำ นี้ ท� ำ ให้ ไ ม่ ส ำมำรถใช้ รถคนพิกำรทั่วๆ ไปได้

11

วารสาร ภาคพายัพ

ด้วยเหตุนี้ สำขำวิชำวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยี รำชมงคลล้ำนนำ ภำคพำยัพ เชียงใหม่ จึงจัด โครงกำร “เทคโนโลยี ร ำชมงคลเพื่ อ ชุ ม ชน จัดสร้ำงอุปกรณ์เพื่อผู้พิกำรเฉพำะรำย” ซึ่งได้ ด�ำเนินกำรปรับปรุงและพัฒนำตำมล�ำดับ จน เป็นรถคันที่ 3 และท�ำกำรส่งมอบรถเข็นให้แก่ นำยสมจิ ต ร เมื่ อ วั น ที่ 29 มี น ำคม 2556 ณ บ้ำนทองอยู่ เชสเชียร์เชียงใหม่ โดยรถเข็นกึ่งอัตโนมัติดังกล่ำว จะมีระบบ ปรับเอียง ซึ่งจะท�ำให้รถเข็นสำมำรถปรับมุม องศำจำกแนวนอนมำเป็ น ระดั บ ของเก้ ำ อี้ นั่ ง ทั่วไป 90 องศำ ได้ เป็นประโยชน์ต่อผู้พิกำร กลุ่มที่กล่ำวไปข้ำงต้นได้ นอกจำกนี้ ในส่วนของ กำรขับเคลื่อนรถเข็นกึ่งอัตโนมัติ จะเป็นกำร ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยมอเตอร์ ไ ฟฟ ำ กระแสตรง ซึ่ ง ได้ออกแบบสร้ำงวงจรควบคุมกำรท�ำงำนของ มอเตอร์ โดยกำรใช้ไมโครคอนโทรเลอร์ ท�ำงำน ร่วมกับ Joystick เพือ่ ใช้ในกำรควบคุมทิศทำงให้ สำมำรถสัง่ กำรกำรเคลือ่ นทีไ่ ด้ตำมทีผ่ ใู้ ช้ตอ้ งกำร

ส� ำ หรั บ โครงกำรดั ง กล่ ำ ว เป็ น ควำม ร่วมมือระหว่ำงมูลนิธิสิริวัฒนำ เชสเชียร์ ใน พระบรมรำชินูปถัมภ์ บ้ำนทองอยู่ เชสเชียร์ เชียงใหม่ และสำขำวิชำวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยี รำชมงคลล้ ำ นนำ ภำคพำยั พ เชี ย งใหม่ โดยมี ผศ.ธีระยุทธ บุนนำค เป็นหัวหน้ำโครงกำร, อำจำรย์ภำณุเดช ทิพย์อักษร , อำจำรย์จักรภพ ใหม่เสน, อำจำรย์สมนึก สุระธง , อำจำรย์อรรถพล วิ เ วก และนั ก ศึ ก ษำสำขำวิ ช ำวิ ศ วกรรรม คอมพิ ว เตอร์ ป ี ที่ 5 คณะวิ ศ วกรรมศำสตร์ ปีกำรศึกษำ 2555 คณะผู้ด�ำเนินงำน ส อ บ ถ ำ ม ร ำ ย ล ะ เ อี ย ด เ พิ่ ม เ ติ ม ไ ด ้ ที่ ผศ.ธี ร ะยุ ท ธ บุ น นำค สำขำวิ ช ำวิ ศ วกรรม คอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัย เทคโนโลยี ร ำชมงคลล้ ำ นนำ ภำคพำยั พ เชียงใหม่ 053-921444 ต่อ 2130 หรือที่แผนก ประชำสัมพันธ์ 053-921444 ต่อ 0, 1020 E-mail: prcm_rmutl@rmutl.ac.th


แนะนําศิษยเกา

สุรชัย เงินคําคง

ผูประกาศขาว/พิธีกร สถานีวิทยุโทรทัศนแหงประเทศไทยจังหวัดเชียงใหม สําเร็จการศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ แผนกวิชาศิลปกรรม ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชานิเทศศิลป ระดับปริญญาตรี สาขาวิชา ออกแบบนิเทศศิลป สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ

ความประทับใจต อสถาบัน

สมัยทีผ� มเรียน สถานศึกษาของเรา ยังใช้ชอ�ื ว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ มีความรูส้ กึ ผูกพันธ์ทงั � กับอาจารย์ เจ้าหน้าที� เพือ� นๆ สถานที� แม้กระทังแม่ � คา้ ทีข� ายอาหารในโรงอาหาร เพราะ ในชีวติ การศึกษา ตัง� แต่อนุ บาล-ปริญญาโท ถือว่าเรียนทีส� ถาบันแห่งนี�นานทีส� ุด รวม 7 ปี ตัง� แต่ ปวช. ปวส. จนถึงปริญญาตรี สมัยเรียนผมได้ทาํ กิจกรรมมากมาย เพราะเพือ� น พีน� ้อง เลือกให้เป็ นประธานนักศึกษา ของคณะ และยังเป็นประธานกีฬากลุม่ สีดว้ ย จากการทีไ� ด้พบปะ พูดคุย วางแผน และดําเนิน กิจกรรมต่างๆ อีกทัง� ได้รบั การอบรมสังสอนจากอาจารย์ � ในสถาบันของเราทุกท่าน จึงทําให้ ผมมีวนั นี�ได้ วันทีไ� ด้มโี อกาสรับใช้สงั คม และประเทศชาติ ด้านการสือ� สารมวลชน

ผลงานเด น

ทุกวันนี� ทํางานด้านการสือ� สารมวลชน ถือว่าเป็นการทํางานเพือ� สาธารณะ ได้ถา่ ยทอด ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน ทางสถานีวทิ ยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ ไม่วา่ จะเป็ นรายการมองเมืองเหนือ รายการเวทีประชาคมเพือ� ชุมชนเข้มแข็ง รายการถนน ประชาสัมพันธ์ และรายการถ่ายทอดสดงานพิธสี าํ คัญต่างๆ ทัง� ในระดับภาคเหนือ และ ระดับประเทศ นอกจากนี�ผมยังได้รบั เกียรติจากสถาบันการศึกษา เชิญไปเป็ นอาจารย์พเิ ศษสอน นักศึกษาระดับปริญญาตรี รวมถึงการช่วยงานหน่ วยงานองค์กรต่างๆ ทัง� การเป็ น วิทยากรบรรยายให้ความรู้ และพิธกี รในงาน ซึง� ทุกงานล้วนเป็ นผลงานทีน� ํามาซึง� ภาคภูมใิ จทัง� สิน�

ฝากถึงอาจารย และน องๆ ในมหาวิทยาลัยฯ

ปจั จุบนั วงการศึกษามีการแข่งขันค่อนข้างสูง ทัง� ในเชิงวิชาการ และปฏิบตั กิ าร ผมได้มโี อกาสเจอน้องๆ นักศึกษาจากหลายสถาบัน จึงเห็น ความแตกต่าง จุดอ่อนจุดแข็ง ของแต่ละแห่งจึงขอฝากให้ทา่ นอาจารย์ผสู้ อนได้เน้น ทัง� วิชาการ และปฏิบตั กิ าร ควบคูก่ นั ไปอย่างเข้มข้น และ รักษามาตรฐานการสอนทีด� ไี ว้ และขอฝากถึงน้องๆนักศึกษา ให้ตงั � ใจศึกษาเล่าเรียน และมีสว่ นร่วมกับกิจกรรมของมหาวิทยาลัยทุกกิจกรรม เพราะจะทําให้น้องๆ ได้รบั ประสบการณ์ชวี ติ ในรัว� มหาวิทยาลัยทีม� คี ณ ุ ค่ายิง� และสามารถนําไปพัฒนาตนเองได้ และเมือ� สําเร็จการศึกษาไปแล้ว ก็ขอให้ได้ชว่ ยกันสร้างชือ� เสียงให้กบั สถาบันของเรา เหมือนกับรุน่ พีๆ� ทีท� า่ นได้สร้างชือ� เสียงไว้ให้พวกเราได้ภาคภูมใิ จ และสามารถดํารงตนอยู่ ในสังคมได้อย่างสง่างาม มาจวบจนบัดนี� วารสาร ภาคพายัพ

12


ÃѺÊÁѤüٌÊÁ¤ÇÃࢌÒËÇÁ¡ÒÃÊÃÃËÒãËŒ´ํÒçµํÒá˹‹§

͸ԡÒú´Õ

ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂà·¤â¹âÅÂÕÃÒªÁ§¤ÅŌҹ¹Ò

ด้วยคณะกรรมการสรรหาอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้ประกาศรับสมัครและการเสนอรายชื่อผู้สมควรเข้ารับ การสรรหาให้ดํารงตําแหนงอธิการบดี (แทนผู้ดํารงตําแหนงเดิมที่จะพ้นจากตําแหนงตามวาระในเดือนสิงหาคม 2556) โดยผู้ที่ประสงค์สมัคร เข้ารับการสรรหา หรือสวนราชการใน มทร.ล้านนา ทีจ่ ะเสนอชือ่ บุคคลเข้ารับการสรรหา สามารถสงใบสมัครได้ดว้ ยตนเองหรือ ยืน่ เอกสารการเสนอชือ่ ได้ที่ กองกลาง สํานักงานอธิการบดี มทร.ล้านนา ในวันที่ 17 - 28 มิถุนายน 2556 (เวลา 8.30 น. - 16.30 น.) โดยสามารถยื่นใบสมัครทางไปรษณีย์ลงทะเบียนดวนพิเศษ (EMS) สงถึง ประธานคณะกรรมการสรรหาอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา กองกลาง สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 128 ถ.ห้วยแก้ว ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม 50300 ภายในวันที่ 28 มิถุนายน 2556

สอบถามรายละเอียดได้ท่ี โทรศัพท์ 053-921444 ต่อ 1011 และ 1015 หรือที่เว็บไซด์ http://www.rmutl.ac.th/

ทีàËÃÕÂ่รÞ¤ÃÙะลึºÒ਌กÒÈÃÕÇ55 ป แ ห ง ความภาคภู ม ใ ิ จ ÔªÑÂ●ᡌǹíéÒ●àÊ×éÍÂ×´●¡ÃÐ້ÒàÍ¡ÊÒÃ●¡ÃÐ້ÒËÙËÔéÇ●»Ò¡¡Ò

เชิญทุกทานรวมเปนเจาของ สินคาที่ระลึกพิเศษเนื่องในโอกาส ฉลองครบรอบ 55 ป แหงความภาคภูมิใจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชน ควรคาแกการมอบใหเปนของขวัญของชํารวย เนื่องในโอกาส สําคัญตางๆ

สนใจติดตอ งานทรัพยสนิ และสิทธิประโยชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม โทร. 053-921-444 ตอ 1703 หรือกด 0 โทรสาร 053-921-444 ตอ 1708 Website: http://chiangmai.rmutl.ac.th/


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.