วารสาร ภาคพายัพ ฉบับที่ 11 ประจำเดือน กรกฎาคม – กันยายน 2555

Page 1

วารสาร ภาคพายัพ วารสารเพือ่ การประชาสัมพันธ์ และการสือ่ สารองค์กร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ฉบับที่ 11 ประจ�ำเดือน กรกฎาคม – กันยายน 2555

55ปี

ราชมงคลล้านนา

ภาคพายัพ เชียงใหม่ 55 ปี แห่งความภาคภูมใิ จ “มหาวิทยาลัยนวัตกรรม เพือ่ ชุมชน”


บทบรรณาธิการ

สวัสดีผ้ อู า่ นวารสารภาคพายัพ ทุกท่านครับ ฉบับนี ้วารสารภาคพายัพได้ จัดท�ำขึ ้นเป็ นฉบับที่ 11 ประจ�ำเดือน กรกฎาคม – กันยายน 2555 ซึง่ ถือว่า เป็ นช่องทางทีใ่ ห้ ขา่ วสารของมหาวิทยาลัยแก่ผ้ อู า่ นทุกท่านแบบทางเดียว ซึง่ ในอนาคตอันใกล้ นี ้เราจะปรับปรุงวารสารภาคพายัพให้ มีลกั ษณะของ วารสารที่ผ้ อู า่ นมีสว่ นร่วมมากขึ ้น มีประเด็นถามตอบ และที่สำ� คัญเราจะ ท�ำวารสารภาคพายัพออนไลน์ครับ เพื่อให้ ผ้ อู า่ นได้ ติดตามข่าวสารของ เราผ่านมือถือแบบสมาร์ ทโฟน หรื อ แท็บเล็ต วันนี ้เทคโนโลยีถกู พัฒนาโดยฝี มือมนุษย์ให้ สามารถอ�ำนวยความสะดวก ในการด�ำเนินวิถีชีวิต มากยิ่งขึ ้น เช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ทีไ่ ม่หยุดพัฒนาในเรื่องการจัดการ ศึกษาด้ านสายอาชีพ ผลิตบัณฑิตนักปฏิบตั ิส่สู งั คมมาแล้ วกว่า 55 ปี สร้ างประโยชน์ให้ สงั คมอย่างมากมาย น�ำองค์ความรู้ งานวิจยั และบริการ

วิชาการต่าง ๆ ไปบริ การแก่สงั คม สร้ างอาชีพ สร้ างประโยชน์ให้ สงั คม อย่างมากมาย โดยเฉพาะพี่น้องประชาชนตามชนบท วิสาหกิจชุมชน กลุม่ ผู้ประกอบการ OTOP กองทุนหมูบ่ ้ าน กลุม่ อาชีพในชุมชน สถาน ประกอบการต่าง ๆ เป็ นต้ น ในปี 2555 นี ้ มหาวิทยาลัยร่ วมกับภาคีเครื อข่ายจะจัดงานฉลองครบ 55 ปี ราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ขึ ้น ภายใต้ ชื่อ “ราชมงคล ล้ านนาเอ็กซ์โป 55” ในระหว่างวันที่ 29 พฤศจิกายน – 4 ธันวาคม 2555 ณ สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี จังหวัดเชียงใหม่ จึงขอเชิญชวน ผู้อา่ นทุกท่านมาเทีย่ วงานนี ้เพราะมีทงภาควิ ั้ ชาการ ภาคบันเทิง และการ จ�ำหน่ายสินค้ าหัตถกรรม ของกิน ของใช้ ราคาถูก โดยพบผู้ประกอบการ โดยตรง เทศกาลยีเ่ ป็ งนี หากมาเที ้ ย่ วเชียงใหม่อย่าลืมแวะมาทีส่ นามกีฬา สมโภชเชียงใหม่ 700 ปี นะครับ

นายธราดล ดวงสุภา บรรณาธิการ

วารสาร ภาคพายัพ

ฉบับที่ 11 ประจ�ำเดือน กรกฎาคม – กันยายน 2555

ทีป่ รึกษา

อ.สุทิน ประเสริฐสุนทร อ.ประสิทธิ์ อินทร์จันทร์ อ.อิศรา กันแตง อ.ชาคริต ชูวุฒยากร อ.สุพงศ์ แดงสุริยะศรี ผศ.สุรพล มโนวงศ์ ผศ.อ�ำนวย ปทุมปี อ.ประเวศ ทองธรรมชาติ ดร.รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร นายชัยพฤกษ์ สิทธิศักดิ์

กองบรรณาธิการ

2

นายนิวัตร อินต๊ะรัตน์ นางสาวเยาวัลย์ จันทร์ต๊ะมูล นางสาวสิริญญา ณ นคร

วารสาร ภาคพายัพ

รองอธิการบดี มทร.ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ผู้อ�ำนวยการกองบริหารทรัพยากร ผู้อ�ำนวยการกองการศึกษา รองคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ รองคณบดีคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ รองคณบดีคณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผู้อ�ำนวยการศูนย์การจัดการศึกษาพิเศษ (จอมทอง) หัวหน้าสาขาวิทยาศาสตร์ หัวหน้าส�ำนักงานบริหาร ที​ี่ปรึกษามหาวิทยาลัย นางประไพ อินทรศรี นางสาวกิ่งกานต์ สาริวาท นายธันวารักษ์ สุวคนธ์

บรรณาธิการ

อ.ธราดล ดวงสุภา

แผนกประชาสัมพันธ์ กองบริหารทรัพยากร มทร.ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ เลขที่ 128 ถนนห้ ว ยแก้ ว ต� ำ บลช้ า งเผื อ ก อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300 โทร. 0-5392-1444 โทรสาร 0-5321-3183

http://chiangmai.rmutl.ac.th

E-mail : prcm_rmutl@rmutl.ac.th


ผู้ช่วยศาสตราจารย์อ�ำนวย ปทุมปี

ผู้อ�ำนวยการศูนย์การจัดการศึกษาพิเศษ (จอมทอง) ปั จจุบนั ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาสากลของโลกทีใ่ ช้ กนั อย่างแพร่หลาย และมีบทบาทส�ำคัญในวิถีชีวิตของผู้คนจ�ำนวนมาก ความก้ าวหน้ าด้ าน เทคโนโลยีและการสื่อสาร เป็ นอีกปั จจัยหนึ่งที่ส่งเสริ มให้ ภาษาอังกฤษ ทวีความส�ำคัญมากยิ่งขึน้ นอกจากนีป้ ระเทศไทยจะก้ าวสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ซึง่ เหลือเวลาอีก 2 ปี เศษ และกฎบัตร อาเซียนข้ อ 34 บัญญัตวิ า่ “The working language of ASEAN shall be English” จึงท�ำให้ ภาษาอังกฤษยิ่งทบทวีความส�ำคัญและความจ�ำเป็ น มากขึ ้นส�ำหรับคนไทย คงถึงเวลาแล้ วที่จะต้ องมีการวางแผนและเตรี ยม พร้ อมเกี่ยวกับเรื่ องนี ้ จากผลการวิจยั ของบริษัทเอดูเคชัน่ เฟิ ร์สท์ ที่จดั อันดับความสามารถ การใช้ ภาษาอังกฤษในกลุม่ ประเทศที่ไม่ได้ ใช้ ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาแม่ จ�ำนวน 54 ชาติ พบว่าประเทศไทยอยูใ่ นอันดับที่ 53 (นสพ. ไทยรัฐ วันที่ 5 พ.ย. 2555 หน้ า 16) และผลจากการวัดระดับความรู้ทางภาษาอังกฤษ ของคนไทยโดยเฉลี่ยจากคะแนนสอบ TOEFL ของปี 2547 – 2548 ต�่ำ กว่าประเทศเพื่อนบ้ านเป็ นส่วนใหญ่โดยมีคะแนนเฉลี่ยต�่ำกว่า 500 ซึง่ ใกล้ เคียงกับลาวและกัมพูชา (engtoday.exteen.com/ 20120907/entry) นอกจากนี ้ผลการส�ำรวจความสามารถการใช้ ภาษาอังกฤษของบัณฑิต ไทย โดย ศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา ปราบพาล และผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ประกายแก้ ว โอภานนท์-อมตะ พบว่าบัณฑิ ตไทยโดยเฉลีย่ ทัง้ ทีต่ อ้ งการ ศึกษาต่อระดับบัณฑิ ตศึกษาในประเทศและต่างประเทศ จ�ำเป็ นต้องได้ รับการพัฒนาความรู้และทักษะภาษาอังกฤษอย่างเร่ งด่วน 400 – 500 active vocabulary 800 – 1,000 active vocabulary 1,500 – 2,000 active vocabulary 3,000 – 4,000 active vocabulary 8,000 active vocabulary

บทความผูบ้ ริหาร

เมื่อไรจะพูดได้

จากข้ อมูลปั ญหาดังกล่าวข้ างต้ น มีเสียงสะท้ อนเข้ ามาจากทุกสารทิศ ว่า ท� ำไมคนไทยเรี ยนภาษาอังกฤษมากแต่พูดหรื อสื่อสารไม่ค่อยได้ เมื่อไรจะพูดได้ หลายคนมีมมุ มองและเสนอทางออกที่แตกต่าง จาก ประสบการณ์ของตนเองและข้ อแนะน�ำของผู้ร้ ูทงหลาย ั้ มีความเชื่อมัน่ ว่า หากผู้เรี ยนปฏิบตั ติ ามข้ อชี ้แนะ 3 ประการต่อไปนี ้ ด้ วยความรับผิดชอบ อย่างต่อเนื่อง จะสามารถพูดสื่อสารได้ แน่นอน 1.ฟั งและเลียนแบบ (Listen and imitate) การเรี ยนภาษาที่ได้ ผล ดีสามารถสื่อสารได้ จะต้ องเริ่ มด้ วยการฟั ง เช่นเดียวกับการที่เด็กเรี ยนรู้ ภาษาตังแต่ ้ แรกเกิด ขณะฟั งต้ องสังเกตการออกเสียง เลียนแบบและจดจ�ำ ปั จจุบนั มีสื่อมากมายที่สง่ เสริ มทักษะด้ านนี ้และเพื่อให้ บงั เกิดผลควรฟั ง เป็ นประจ�ำทุกวัน นอกจากเรี ยนรู้จากโปรแกรม TELL ME MORE ขอ แนะน�ำให้ เข้ าไปที่ Google พิมพ์ VOA (Voice of America) เลือก Special English มีหวั ข้ อให้ เลือกฟั งจ�ำนวนมากตามความสนใจ เป็ นภาษาที่ simplify แล้ วและค่อนข้ างช้ า สามารถบันทึกไว้ ฟังบ่อยๆได้ 2.เรี ยนรู้ (master) และสะสมค�ำศัพท์ เพิ่มเติมอยู่เสมอ นัก ภาษาศาสตร์ ที่มีชื่อเลียงทัง้ หลายรวมทัง้ ผลการวิจัยของ McCarthy (1999) ยืนยันว่าผู้ที่เรี ยนรู้ ค�ำศัพท์ที่ใช้ บ่อยๆในชีวิตประจ�ำวัน (active vocabulary) 1,500-2,000 ค�ำ จะสามารถพูดสือ่ สารภาษาอังกฤษในชีวติ ประจ�ำวันได้ คล่อง และมีข้อสรุปเกี่ยวกับเกณฑ์ความรู้และทักษะด้ านค�ำ ศัพท์ที่นา่ สนใจใน testyourvocab.com ดังนี ้

สามารถสื่อสารระดับพื ้นฐานขันต� ้ ่ำ สามารถสื่อสารระดับพื ้นฐาน สามารถสื่อสารในชีวติ ประจ�ำวัน สามารถอ่านหนังสือพิมพ์และวรรณกรรม สามารถสื่อสารได้ เท่ากับชาวยุโรปทัว่ ไป

โดยเฉลีย่ เจ้ าของภาษามีความรู้ active vocabulary ประมาณ 10,000 – 20,000 ค�ำ หรื อ passive vocabulary ประมาณ 50,000 – 100,000 ค�ำ ถ้ าอยากทราบว่าตัวเองมีพลังทางศัพท์อยูท่ ี่ระดับใด สามารถเข้ าไป ทดสอบสมรรถนะได้ ที่ Free Online VOCAB TEST จะได้ ทราบว่า ตนเอง อยูต่ รงไหนและจะต้ องพัฒนาอีกมากน้ อยเพียงใด 3.หาโอกาสพูดบ่ อย ๆ M.A.K. Halliday นักภาษาศาสตร์ ที่มีชื่อ เสียงได้ ให้ ค�ำจ�ำกัดความเกี่ยวกับภาษาว่า “Language is the creature and creator of human society.” กล่าวคือ ภาษาเป็ นสิ่งที่มีชีวิต

และผู้สร้ างสังคมมนุษย์ หมายความว่าการเรี ยนรู้ ภาษาจะต้ องมีการ ปฏิสัมพันธ์ (interaction) ฉะนัน้ ผู้ที่ พยายามแสวงหาโอกาสในการใช้ ภาษา กล้ าที่จะพูด ฝึ กฝนอยูเ่ สมอให้ เคยชินและเป็ นอัตโนมัติ จะประสบ ความส�ำเร็ จแน่นอน ดังที่ Thomas Fuller กล่าวไว้ วา่ “Knowledge is a treasure, but practice is the key to it.” ดังนัน้ ค�ำตอบส�ำหรับค�ำถามที่วา่ “เมื่อไรจะพูดได้ ” น่าจะเห็นแสง ร� ำไรแล้ ว ถ้ าท�ำตามข้ อชี ้แนะ ทัง้ 3 ประการอย่างจริ งจัง และต่อเนื่อง ทังนี ้ ้ มีอยูส่ งิ่ หนึง่ ที่ไม่เคยท�ำให้ ใครผิดหวังเลย สิง่ นันคื ้ อ ความพยายาม

เอกสารอ้ างอิง

กาญจนา ปราบพาล, และประกายแก้ ว โอภานนท์อมตะ. (2543). การส�ำรวจความสามารถการใช้ ภาษาอังกฤษของบัณฑิตไทย. ศูนย์ทดสอบทางวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. “ภาษาอังกฤษของคนไทยอยูร่ ะดับไหนในอาเซียน.” (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://engtoday.exteen.com/20120907/entry. (14 กันยายน 2555). McCarthy, Michael. (1999). What constitutes a basic vocabulary for spoken communication? Studies in English Language and Literature, vol.1: 233-249. วารสาร ภาคพายัพ

3


55 ปี ราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

55 ปี แห่งความภาคภูมใิ จ “มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพือ่ ชุมชน”

ในโลกแห่งยุคทุนนิยม ที่มีเศรษฐกิจเป็นตัวขับเคลื่อนและ ผลั ก ดั น ให้ ป ระเทศต่ า งๆ ก้ า วรุ ด ไปข้ า งหน้ า อย่ า งรวดเร็ ว ประกอบกับประเทศต่างๆ นั้นอยู่รวมกันเป็นสังคมโลก ไม่ สามารถอยู่โดดเดี่ยวเดียวดายได้ ดังนั้นการรวมตัวกันของ ประเทศในแต่ละภูมิภาคเพื่อเพิ่มอ�ำนาจในการต่อรองและเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระหว่างประเทศ เพือ่ ให้ได้ มาซึง่ ผลประโยชน์รว่ มและพัฒนาประเทศในภูมภิ าคไปพร้อมๆ กัน จึงเป็นสิ่งที่กลุ่มประเทศต่างๆในโลก เริ่มรวมตัวกันด้วยเหตุ นี้ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือ อาเซียน ก็เป็นอีกกลุ่ม ประเทศที่มีข้อตกลงให้มีการรวมตัวเป็นประชาคมเดียวกันให้ ส�ำเร็จภายในปี พ.ศ. 2558

4

วารสาร ภาคพายัพ

จากสภาวการณ์ ข้ า งต้ น หากสถาบัน การ ศึ ก ษาซึ่ ง เป็ นหน่ ว ยงานหลัก ในการพั ฒ นา ทรั พยากรมนุษ ย์ ข องประเทศ ยัง ไม่ส ามารถ ผลิตบุคลากรที่ มีศักยภาพสู่ตลาดแรงงานได้ ทัน ก็จะท�ำให้ ประเทศไทยแข่งขันกับประเทศ ที่มีศกั ยภาพสูงอย่างสิงคโปร์ และมาเลเซียได้ ยาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายั พ เชี ย งใหม่ เป็ นสถาบั น การ ศึกษาที่ตระหนักถึงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ อย่างต่อเนื่อง โดยการจัดการศึกษาด้ านสาย อาชี พ ผลิ ต บัณ ฑิ ต นัก ปฏิ บัติ สู่สัง คมมาแล้ ว กว่า 55 ปี ถ้ าเปรี ยบเสมือนบุคคลทัว่ ไปก็อยูใ่ น วัยอาวุโสที่ ผ่านประสบการณ์ มาหลากหลาย รู ปแบบ ซึง่ เห็นได้ ว่าบัณฑิตที่จบจากวิทยาลัย เทคนิ ค ภาคพายัพ วิ ท ยาลัย เทคโนโลยี แ ละ อาชีวศึกษา วิทยาเขตเทคนิคภาคพายัพ สถาบัน เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาค พายัพ เชียงใหม่ มีคณ ุ ภาพและเป็ นทีต่ ้ องการของ สังคม ดังจะเห็นได้ จากการประกอบอาชีพ การ เป็ นที่ยอมรับของสังคม โดยการสร้ างประโยชน์ ให้ สั ง คมอย่ า งมากมาย ทั ง้ ที่ เ ป็ นเจ้ าของ ธุรกิจ รับราชการ ท�ำงานเอกชน นักการเมือง


ท้ องถิ่น เป็ นต้ น รวมถึงงานวิจยั และบริการวิชาการต่างๆ ก็สร้ างอาชีพ สร้ างประโยชน์ให้ สงั คมอย่าง มากมาย โดยเฉพาะพี่น้องประชาชนตามชนบท วิสาหกิจชุมชน กลุม่ ผู้ประกอบการ OTOP กองทุน หมูบ่ ้ าน กลุม่ อาชีพในชุมชน สถานประกอบการต่างๆ เป็ นต้ น รวมถึงการแลกเปลี่ยนบุคลากรทัง้ อาจารย์ นักศึกษา กับนานาประเทศเพื่อน�ำความรู้ที่ได้ รับมาพัฒนาการจัดการศึกษา การบริ การ วิชาการแก่สงั คมให้ สามารถแข่งขันกับสังคมโลกปั จจุบนั ได้ ดังจะเห็นได้ จากรางวัลต่างๆ ที่ได้ รับ ทังในระดั ้ บชาติ และนานาชาติ ซึง่ ตังแต่ ้ ปี พ.ศ. 2500 จวบจนถึงปั จจุบนั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ มีอายุครบ 55 ปี ในโอกาสนี ้จึงได้ จดั งานฉลองครบ 55 ปี โดยใช้ ชื่อว่า “ราชมงคลล้ านนา เอ็กซ์ โป 55”ภายใต้ ปณิ ธาน “มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชน” จัดขึน้ ในระหว่างวันที่ 29 พฤศจิกายน – 4 ธันวาคม 2555 ณ สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี โดยภายในงานจะมีการ แสดงประวัติ ผลงาน เกียรติคณ ุ ต่างๆ ของมหาวิทยาลัยตังแต่ ้ อดีตจนถึงปั จจุบนั ผลงานวิจยั และ บริ การวิชาการ “55 ปี คูค่ ดิ มิตรชุมชน(ทุกปั ญหามีทางออก)” แข่งขันทักษะวิชาการ วิชาชีพ การ แข่งขันกีฬาเวียงเจ็ดลินเกมส์ มหกรรมสินค้ าธงฟ้า ราคาประหยัด สินค้ า OTOP การประกวด ต้ นไม้ การเสวนาด้ านศิลปะ บริ หารธุรกิจ วิศวกรรม และสถาปั ตยกรรมต่างๆ รวมทังการแสดง ้ ศิลปวัฒนธรรม ดนตรี ด้ วย ทังนี ้ ้มหาวิทยาลัยได้ รับเกียรติจาก ฯพณฯ ดร.สมชาย วงศ์สวัสดิ์ นายกรัฐมนตรี คนที่ 26 ซึง่ เคยเป็ นอาจารย์พิเศษของมหาวิทยาลัยเมื่อครัง้ ยังเป็ นวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา และ เป็ นศิษย์เก่า(ดุษฏีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ฯ) ของมหาวิทยาลัย ให้ เกียรติมาเป็ นประธานในพิธีเปิ ดงาน วันที่ 30 พฤศจิกายน นี ้ เวลา 16.00 น. เป็ นต้ นไป ดังนันหากผู ้ ้ อา่ นท่านใดที่มีเวลาหรื อผู้ที่มาจาก ต่างจังหวัด หากมาเที่ยวงานลอยกระทงยี่เป็ งของเชียงใหม่แล้ ว อย่าลืมแวะมาเที่ยวงานราชมงคล ล้ านนาเอ็กซ์โป 55 ณ สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700ปี จังหวัดเชียงใหม่ วารสาร ภาคพายัพ

5


กับโบราณสถานได้อย่างมีคุณภาพ เพราะเวียงเจ็ดลิน เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่าของเมืองเชียงใหม่และปร เวียงเจ็ดลิน เป็นเวียงโบราณเชิงดอยสุเทพ จากหลักฐานทางโบราณคดีพบเครื่องมือหิน แสดงว่ามีการตั้งถิ่น เวียงเจ็ ลิน : ถิจนถึ ่นที่ราชมงคลล้ ยั่งรากฝากใบ ก่อนประวั ติศดาสตร์ งชนพื้นเมืานนา อง ทีภาคพายั ่เรียกว่าพ...ได้ “ลัวหะ” (ละว้า หรือ มิลักขุ) ต่อมาร่วมสมัยกับอาณาจักรหร “วังเจ็ดลินถิ่นนี้เหมือนมีมนตรา ใครได้มาจะพาเคลิ้มใจยามมอง...” เพลงวังเจ็ดลิน ตั้งแต่สมัยวิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ ลวงวิลจนถึ ังคะงวัเป็ า แล้ทวยาลั จึงยผสมกลมกลื นเป็นาส่นนา วนหนึ ่งของเมื ในสมั ยอาณาจั กรล้ านนายงเจ็ดลินเพื่อ นนีน้ที่เผูป็้นนมหาวิ เทคโนโลยีราชมงคลล้ นับเป็ นเวลา อ๕๕งเชีปียแงใหม่ ล้ว ที่เราเข้ ามาใช้ พื้นที่บางส่ วนของเวี ประโยชน์ทางการศึกษา การใช้พื้นที่ในอดีตนั้นทับซ้อน หรือ บดบังโบราณสถานเวียงเจ็ดลิน ด้วยความไม่รู้และไม่ได้ให้ความสาคัญ วันนี้เราจะมาทาความรู้จักเวียงเจ็ดลินเพิ่มขึ้น เพื่อที่จะได้ร่วมกันกาหนดอนาคตในการพัฒนาใช้พื้นที่สถานศึกษาให้สามารถอยู่ ร่วมกับโบราณสถานได้อย่างมีคุณภาพ เพราะเวียงเจ็ดลิน เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่าของเมืองเชียงใหม่และประเทศชาติ เวียงเจ็ดลิน เป็นเวียงโบราณเชิงดอยสุเทพ จากหลักฐานทางโบราณคดีพบเครื่องมือหิน แสดงว่ามีการตั้งถิ่นฐานของชุมชน สมัยก่อนประวัติศาสตร์ จนถึงชนพื้นเมือง ที่เรียกว่า “ลัวะ” (ละว้า หรือ มิลักขุ) ต่อมาร่วมสมัยกับอาณาจักรหริภุญไชย โดยมี ขุนหลวงวิลังคะ เป็นผู้นา แล้วจึงผสมกลมกลืนเป็นส่วนหนึ่งของเมืองเชียงใหม่ในสมัยอาณาจักรล้านนา

ขุนหลวงวิลังคะ

ศาลขุนหลวงวิลังคะ

สานักงานจัดการต้นน้าที่ ๑๖

ชาติพันธุ์ลัวะในปัจจุบัน (บ้านบ่อหลวง อ.ฮอด จ.เชียงใหม่)

เมื่อร่วมสมัยกับเมืองเชียขุงใหม่ เวียงเจ็ดลินศาลขุ มีลนักหลวงวิ ษณะเป็ นเวียงบริวาร ชาติสพาหรั บกษัตริย์ใช้ประทับสาราญ สรงน นหลวงวิลังคะ ลังคะ ันธุ์ลัวะในปัจจุบัน ดการต้นน น้าทีการมี ่ ๑๖ อยู่ของคั(บ้นาดิ นบ่น อหลวง อ.ฮอด ยงใหม่) มือง แต่ในยามศึกสงครามจะทาหน้าที่ช่วยรบสานักดังานจั งจะเห็ และคู นจ.เชี ้าขนาดใหญ่ เป็นวงรอบ เวียงเจ็ดลิเมืน่อร่มีวมสมั รูปทรงกลมแบบเรขาคณิ าหนดจุ ดศูวนารย์กสลางเวี ยงที า เส้ ผ่าศูสรงน้ นย์กาลางประมาณ ยกับเมืองเชียงใหม่ เวียงเจ็ดลิตนมีโดยก ลักษณะเป็ นเวียงบริ าหรับกษั ตริย่ต์ใช้าน้ ประทั บสนาราญ ล่าสัตว์ ที่ป่า 90 ใกล้เมืองไร่แต่ในยามศึ สงครามจะท าหน้าทีโ่ชลเมตร ่วยรบ ดังจะเห็ ่ของคันดินน และคู น้าขนาดใหญ่ มาณ ๓๙๘ หรือ ก๐.๖๔ ตารางกิ ขุดคูนนการมี ้าล้ออยูมรอบเป็ วงกลม คันดิเนป็นด้วงรอบ านในสูงกว่าด้านนอก พื้นท เวียงเจ็ดลิน มีรูปทรงกลมแบบเรขาคณิต โดยกาหนดจุดศูนย์กลางเวียงที่ตาน้า เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 900 เมตร พื้นที่ นตก (ดอยสุ ตะวั ออกตารางกิ อิงป่าโลเมตร ที่เป็นขุแหล่ งน้าที่นคั่านจะมี ๗ ลิงกว่นาด้ตามชื ได้แก่ น้ศ ้าห้วย ประมาณเทพ) ๓๙๘สู่ท ไร่ิศหรื อน ๐.๖๔ ดคูนง้าล้อาหาร อมรอบเป็อินวงกลม ดินด้านในสู านนอก่อเรี พื้นยทีก่ลาดเทจากทิ นทิศตะวั ยงใต้เทพ)น้าสาขาย่ ยที่ไอิหลผ่ กขชาติอิงน้มายั น้าด้๗าลินหน้ ามหาวิ 2 สายใหญ่ ตะวันนตกเฉี ตก (ดอยสุ สู่ทิศตะวันอออก งป่าทีา่เนสวนรุ ป็นแหล่งอาหาร าที่นง่าคูจะมี น ตามชื ่อเรียกทยาลั ได้แก่ยน้น้ ้าห้​้าวยแก้ ว ส่งน้าเข้า จากด ด้านทิศตะวั านสวนรุกขชาติ คูน้าด้อาสบกั นหน้าบมหาวิ ทยาลั ย น้​้า่ยน 2 สายใหญ่ จากดอย ผ่านศตะวัน รีโสดา คูมาสบกั นทีน่ขตกเฉี ้างวัยดงใต้หมูน้าสาขาย่ บุ่น แล้อยที วจึ่ไงหลผ่ ไหลโอบมาด้ านทิมายัศงเหนื ห้วยช่ างเคี , น้​้าสาขาย่ อยสุเทพ ด้านทิ ดศรีโสดา มาสบกันที่ข้างวัดหมูบุ่น แล้วจึงไหลโอบมาด้านทิศเหนือสบกับห้วยช่างเคี่ยน , น้​้าสาขาย่อย ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ที่สาคัญวัและที คือ่สตาน้ ยงเจ็ยดงเจ็ลิดนลินทีทีไ่ หลผ่ นเข้ามาในมหาวิ ามาในมหาวิ ย แล้วไหลไปสบกั าคัญ คื้าอกลางเวี ตาน้​้ากลางเวี ไ่ หลผ่าานเข้ ทยาลัยทยาลั แล้วไหลไปสบกั บห้วยช่างเคี่ยบ น ห้วยช่างเคี่ยน

เวียงเจ็ดลินกับเมืองเชียงใหม่

คูน้า

เวียงเจ็ดลินกับเมืองเชียงใหม่

คูน้า

คันดิน

คันดิน เวียงเจ็ดลิน พ.ศ.๒๕๑๐

6

เวียงเจ็ดลิน พ.ศ.๒๕๑๐ วารสาร ภาคพายัพ

เวียงเจ็ดลิน พ.ศ.๒๕๔๘

เวียงเจ็ดลิน พ.ศ.๒๕๔๘

ตาน้ากลางเวียง

ตาน้ากลางเวียง


ระเทศชาติ นฐานของชุมชน ริภุญไชย โดยมี

น้า ล่าสัตว์ ที่ป่า

00 เมตร พื้นที่ ที่ลาดเทจากทิศ ยแก้ว ส่งน้าเข้า ดอย สุเทพ ผ่าน นตกเฉียงเหนือ

วารสาร ภาคพายัพ

7


เครือ่ งขึน้ รูปพอลิเมอร์แบบหมุน ส�ำหรับผลิตพลาสติกเพือ่ บริจาคให้ผปู้ ระสบภัยน�ำ้ ท่วม

รายชื่อคณะผู้ร่วมวิจัย เมื่อปี พ.ศ. 2554 ประเทศไทยประสบมหาอุทกภัยครั ง้ ใหญ่ ซึ่งถือว่ าร้ ายแรงที่สุดใน รอบ 50 ปี ครอบคลุมพืน้ ที่มากกว่ า 2 ใน 3 ของประเทศไทย อีกทัง้ กินระยะเวลายาวนาน สร้ างความเสียหายต่ อระบบเศรษฐกิจของไทย ทัง้ ภาครั ฐและเอกชน ตลอดจนระบบ สาธารณูปโภคระบบคมนาคมขนส่ งอย่ างมากมายมหาศาล ทั่วทุกสารทิศทัง้ ในและต่ าง ประเทศต่ างให้ ความช่ วยเหลือแต่ ต้องประสบปั ญหาด้ านการคมนาคม ไม่ สามารถขนส่ ง ทางบกได้ ตามปกติ จึงต้ องเปลี่ยนระบบการขนส่ งทางน�ำ้ ท�ำให้ เรื อเป็ นพาหนะที่มีความ จ�ำเป็ นอย่ างมาก ตัง้ แต่ การย้ ายผู้ประสบอุทกภัยออกจากพืน้ ที่ ตลอดจนถึงการขนส่ ง อุปกรณ์ อาหาร ระบบสาธารณสุข ให้ แก่ ผ้ ูประสบอุทกภัย จากปั ญหาดังกล่าว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้ า นนา ภาคพายัพ เชี ย งใหม่ จึง ได้ มีการประชุมวางแผนเพื่อแก้ ปัญหาเหล่านี ้ ในระยะยาว น�ำโดยนายชัยยง เอื ้อวิริยานุกูล อธิ การบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล ล้ า นนา และนายสุทิ น ประเสริ ฐ สุน ทร รอง อธิ การบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ จึงมีด�ำริ ให้ จัด สร้ างเรื อพลาสติกเพื่อน�ำไปช่วยเหลือผู้ประสบ อุทกภัยในอนาคตได้ คณะผู้จดั ท�ำโครงการน�ำโดย อาจารย์ค�ำรณ แก้ วผัด หัวหน้ าหลักสูตรวิศวกรรมอุตสาหการ

8

ผศ.ดร.นเรศ อินต๊ ะวงค์ หัวหน้ าโครงการวิจยั และคณาจารย์ ป ระจ� ำ สาขาวิ ช าวิ ศ วกรรม อุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้ านนา ภาคพายัพ เชี ยงใหม่ ได้ เล็งเห็นผล กระทบจากมหาอุทกภัยในครัง้ นัน้ จึงได้ คดิ ริเริ่ม จัดท�ำโครงการวิจยั “เครื่ องขึ ้นรูปพอลิเมอร์ แบบ หมุนส�ำหรับผลิตเรื อพลาสติกเพื่อบริ จาคให้ ผ้ ู ประสบภัยน� ้ำท่วม” โดยมีวตั ถุประสงค์ในการ อ�ำนวยความสะดวกในการเดินทางในสภาวะ น� ำ้ ท่ ว ม มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการผลิ ต เรื อ ครั ง้ ละ 2 ล�ำ ในเวลา 1 ชัว่ โมง 30 นาที สามารถ บรรทุกผู้โดยสารได้ 3 ที่นงั่ ต่อหนึง่ ล�ำ ต้ นทุนการ

1. อ.ค�ำรณ แก้วผัด 2. ดร.บัญชา จรัมพร 3. ผศ.ดร.นเรศ อินต๊ะวงค์ 4. อ.สมคิด สระค�ำ 5. ดร.ภาคภูมิ จารุภูมิ 6. อ.นริศ อินต๊ะวงค์ 7. อ.กนต์ธีร์ สุขตากจันทร์ 8. ดร.บรรเจิด แสงจันทร์ 9. อ.วัชรากร ชัยวัฒนพิพัฒน์ 10. อ.ธราดล ดวงสุภา 11. อ.คธายุทธ ก๋ามะโน 12. นักศึกษาสาขาวิชา วิศวกรรมอุตสาหการชั้นปีที่ 4 ผลิต ประมาณล�ำละ 1,800 บาท โดยได้ รับเงิน สนับสนุนจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ภายใต้ การควบคุม ดูแลขันตอนการวิ ้ จยั โดย อ.สุทนิ ประเสริฐสุนทร รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ และ อ.อภิชาติ ชัยกลาง หัวหน้ าสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ###

งานวิจัยดังกล่ าว คณะผู้ทำ� การวิจัยจะพัฒนาต่ อยอดเพื่อลดต้ นทุนการผลิตให้ มากขึน้ รวมทัง้ เตรี ยมความพร้ อมส�ำหรั บถ่ ายทอด เทคโนโลยีการผลิตเรื อดังกล่ าวให้ กับหน่ วยงานภาครั ฐที่รับผิดชอบด้ านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทางน�ำ้ ในอนาคตต่ อไป วารสาร ภาคพายัพ


สหกิจศึกษา

กระบวนการเรียนรู้สู่ บัณฑิตนักปฏิบัติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ได้รับการตอบรับว่าเป็นสถานศึกษาที่เน้นการผลิตบัณฑิตนัก ปฏิบัติ มีความเชี่ยวชาญทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติควบคู่กัน ไป ซึ่งตรงกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรมเป็นอย่างมาก เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถของนักศึกษาให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ มหาวิทยาลัยฯ จึงได้จดั ให้มวี ชิ าว่าด้วยการปฏิบตั งิ านสหกิจศึกษา สหกิจศึกษา เป็นการจัดให้มีการผสม ผสานการเรียนของนักศึกษาในสถานศึกษา ให้ เข้ า กั บ การหาประสบการณ์ จ ริ ง จาก การท� ำ งานในสถานประกอบการ อย่ า ง มี ห ลัก การและเป็นระบบ โดยก�ำ หนดให้ นักศึกษา ออกปฏิบัติงานในสถานประกอบ การ ในฐานะพนักงานเต็มเวลา เป็นระยะ เวลา 1 ภาคการศึกษา โดยเริ่มต้นที่คณะ วิ ศ วกรรมศาสตร์ คณะบริ ห ารธุ ร กิ จ และ ศิลปศาสตร์ และในส่วนของคณะศิลปกรรม และสถาปัตยกรรมศาสตร์คณาจารย์ที่เกี่ยวข้องได้เข้า ร่วมอบรมคณาจารย์นิเทศน์สหกิจศึกษาเพื่อเตรียม ความพร้อมในการปฏิบตั งิ านสหกิจศึกษาของนักศึกษา ในอนาคต ซึ่ ง วั น นี้ เ ป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ แ ล้ ว ว่ า การปฏิ บั ติ ง าน สหกิ จ ศึ ก ษาของนั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ประสบผล ส�ำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ดังจะเห็นได้จากกรณีของ นายสุนทร เมืองใจ นักศึกษาชัน้ ปีที่ 4 สาขาวิศวกรรม อุ ต สาหการ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ ได้ รั บ รางวั ล โครงงานหรือกิจกรรมสหกิจศึกษาดีเด่นระดับเครือ ข่าย สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นตัวแทน ภาคเหนื อ เข้ า ชิ ง รางวั ล ประเภทดั ง กล่ า วในระดั บ ประเทศ เนือ่ งในวันสหกิจศึกษาไทย ครัง้ ที่ ๔ ณ อาคาร ชาแลนเจอร์ อาคารอิ ม แพ็ ค เมื อ งทองธานี โดย นายสุ น ทรได้ ป ฏิ บั ติ ง านสหกิ จ ศึ ก ษา ณ บริ ษั ท ยามาฮ่ามอเตอร์พาร์ทแมนูแฟคเจอร์รงิ่ (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ ได้ รั บ มอบหมายให้

ด�ำเนินโครงการออกแบบอุปกรณ์ช่วยในการผลิต คือ การออกแบบ Fixed spray cassette ในเครื่อง Die casting Machine เพื่อผลิตชิ้นงาน Cap for cam shaft ขึน้ เนือ่ งจากเครือ่ ง Die casting Machine ตรงหัวสเปรย์เกิดการคลาดเคลื่อนของต�ำแหน่งการ พ่นน�้ำยาสเปรย์เนื่องจากการดัดก้านสเปรย์ไม่ตรงตาม ต�ำแหน่ง เกิดปัญหาเนือ้ งานไม่ประสานกัน เนือ่ งจากเป่า เศษอะลูมิเนียมออกจากแม่พิมพ์ไม่หมด และที่ส�ำคัญ ท�ำให้เสียเวลาในการดัดก้านสเปรย์ หลังจากรับทราบ ปัญหานายสุนทรได้ออกแบบ ท�ำการผลิต และน�ำมา ประกอบเข้ากับเครื่อง Die casting machineร่วมกับ ผู้ปฏิบัติงานในสายการผลิตดังกล่าวพร้อมทั้งได้ทดลอ งใช้งานพบว่า สามารถพ่นน�้ำยาสเปรย์ได้ตามต�ำแหน่ง ที่ก�ำหนด ท�ำให้ชิ้นงานในแม่พิมพ์มีความสมบูรณ์เกิด ของเสียน้อยที่สุด และลดเวลาที่ใช้ในการติดตั้งและตัด ก้านจากเดิม 20 นาที เป็น 5 นาที โดยสามารถลด เวลาในการผลิตชิ้นงานจากแม่พิมพ์ลงได้ประมาณ 15 นาที วารสาร ภาคพายัพ

9


รางวัลแห่งความภาคภูมใิ จ

นศ.ปี 4 สิง่ ทอ รับพระราชทานรางวัล การออกแบบชุดผ้าไหม สมเด็ จ พระนางเจ้ าสิ ริ กิ ต์ิ พระบรม ราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ พระราชด�ำเนินแทนพระองค์ เป็ นองค์ประธาน เปิ ดงาน “ตรานกยูงพระราชทาน สืบสานต�ำนาน ไหมไทยเฉลิม พระเกี ย รติ สมเด็จพระนางเจ้ า

10

วารสาร ภาคพายัพ

สิ ริ กิ ต์ิ พระบรมราชิ นี น าถ เนื่ อ งในโอกาส มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 12 สิงหาคม 2555” ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติ สิริกิต์ิ ในการนีน้ างสาวนวพร สมานพันธุ์นุวฒ ั น์ นักศึกษาชันปี ้ ที่ 4 สาขาสิง่ ทอ คณะศิลปกรรมและ

สถาปั ตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลโล่พระราชทาน สมเด็ จ พระนางเจ้ าฯ พระบรมราชิ นี น าถ จากการส่ ง ผลงานการออกแบบชุ ด ผ้ าไหม ประเภทชุดแต่งกายประจ�ำวัน Ready to wear ยังความสร้ างความปลื ้มปิ ติแก่นางสาวนวพร สมานพันธุ์นวุ ฒ ั น์ และมหาวิทยาลัยฯ


นศ.มทร.ภาคพายัพ เชียงใหม่ นศ.มทร.ภาคพายัพ เชียงใหม่ คว้าอันดับ 3 ประกวดน์หนังสัน้ ฯ ชนะเลิศ หุน่ ยนต์วงิ่ เปรีย้ ว

นายศราวุธ พรมเกตุ และนางสาวขวัญฤทัย ดนตรี นักศึกษาชัน้ ปี ที่ 3 สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ คณะบริ หารธุรกิจ และศิลปศาสตร์ มทร.ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ (จอมทอง) โดยมี อาจารย์เกิดศิริ ชมภูกาวิน เป็ นอาจารย์ที่ปรึกษา คว้ ารางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 ประเภท ผลงานระดับนิสติ นักศึกษาระดับอุดมศึกษาจากการ ส่งวีดิทศั น์สนั ้ ในหัวข้ อ “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สขุ แห่งมหาชนชาวสยาม” ในโครงการประกวดวีดีทศั น์สนเฉลิ ั ้ มพระเกียรติ รวมใจไทยเป็ นหนึง่ น้ อมร� ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ ในวโรกาสพระบาท สมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลเดชได้ เสด็จขึ ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ 72 ปี บรมราชาภิเษก จัดโดยส�ำนักสภาความมั่นคงแห่งชาติ โดยพิธีมอบ โล่และเกียรติบตั ร เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2555 ณ ท�ำเนียบรัฐบาล กรุงเทพมหานคร

นศ.ออกแบบ บรรจุภณ ั ฑ์ คว้า 9 รางวัล ประกวดออกแบบ บรรจุภณ ั ไ์ ทย

นัก ศึก ษามหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา ภาคพายัพ เชี ยงใหม่ คว้ า 9 รางวัลจากการประกวดผลงานการออกแบบบรรจุ ภัณฑ์ ไทย ประจ�ำปี 2555 (Thai Star packaging Awards 2012) โดยนักศึกษาสาขาออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ ชันปี ้ ที่ 4 คณะศิลปกรรมและ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ มทร.ล้ านนา ภาพายัพ เชียงใหม่ คว้ า 9 รางวัล ดังนี ้ รางวัลชนะเลิศ ประเภทต้ นแบบบรรจุภณ ั ฑ์เพื่อการขนส่ง ส�ำหรับ สินค้ าทัว่ ไป นายธนการ พงษ์ ดา, รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ประเภท ต้ นแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อการขนส่ง ส�ำหรั บสินค้ าทั่วไป นางสาวอิชยา

กลุ่ ม ครุ ศ าสตร์ อุ ต สาหกรรมบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าวิ ศ วกรรม อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ น�ำนักศึกษาเข้ าร่วมการแข่งขัน “หุ่นยนต์ วิ่งเปี ้ยว” ในงานสัปดาห์ วิทยาศาสตร์ แห่งชาติ ประจ� ำปี พ.ศ. 2555 ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ทังนี ้ น้ ายนิติธรร เข็มขาว และนายพีรพงษ์ ทับทิมสามารถคว้ า รางวัลชนะเลิศ ประเภท การแข่งขันหุน่ ยนต์วิ่งเปี ย้ ว ระดับบุคคลทัว่ ไป และนายภานุพงษ์ ศรี แพงมน และนายอภิรัฐ สิริวงษ์ เครื อ คว้ ารางวัล รองชนะเลิศ ประเภท การแข่งขันหุน่ ยนต์วิ่งเปี ย้ ว ระดับบุคคลทัว่ ไป ทังหมดเป็ ้ นนักศึกษาชันปี ้ ที่ 1 สาขาครุศาสตร์ อตุ สาหกรรมบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ โดยมี อาจารย์ภาณุวฒ ั น์ มาละแซม เป็ นอาจารย์ ที่ปรึกษา

ศรี ใจวงษ์ , รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ประเภทต้ นแบบบรรจุภณ ั ฑ์เพื่อ การขนส่ง ส�ำหรับสินค้ าทัว่ ไป นายธนกร พงษ์ ดา, รางวัลชมเชย ประเภท ต้ นแบบบรรจุภณ ั ฑ์เพื่อการขนส่ง ส�ำหรับสินค้ าทัว่ ไป นายชัยเทพ ปติวนั นายสุขมุ พัฒน์ เพียรนา นางสาวนริสสา สุริยะ นายครรชิต ฟูกนั นายณัฐวุฒิ อินมนหาญ และนายสิทธิ์ศกั ดิ์ น� ้ำสา ส�ำหรับการมอบรางวัลอย่างเป็ นทางการ ทางกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม จะจัดขึ ้นในช่วงปลายปี 2555

11

วารสาร ภาคพายัพ


ผศ.ดร.พีระ น�ำทีมสโมฯนศ. คว้ารางวัลจาก SIFE Thailand

ผศ.ดร.พีระ จูน้อยสุวรรณ น�ำทีมสโมสรนักศึกษา มทร.ล้ านนา ภาค พายัพ เชียงใหม่ ประกวด “โครงการพัฒนาชุมชนระดับอุดมศึกษาทัว่ ประเทศ” 2012 SIFE Thailand National Exposition จัดโดยมูลนิธิราก แก้ ว ระหว่าง 29 – 30 กรกฎาคม 2555 ณ มหาวิทยาลัยศรี นริ นทร์ วิโรฒ ทีมของมหาวิทยาลัยฯ ได้ รับการคัดเลือกให้ เป็ นโครงการที่มีความโดด เด่นด้ านสังคมและรางวัลโครงการที่มีความมุ่งมัน่ จากโครงการพัฒนา สังคม ณ บ้ านสงเคราะห์เด็กชายเชียงใหม่ ปี 2555 พร้ อมกันนี ้ ผศ.ดร. พีระ จูน้อยสุวรรณ ได้ รับคัดเลือกให้ เป็ นอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการดีเด่น รับโอกาสศึกษาดูงาน การแข่งขันระดับโลก “SIFE World Cup ” ณ กรุง วอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริ กา ปลายเดือนตุลาคม 2555 ร่วมกับทีมชนะเลิศ และกรรมการของ SIFE Thailand

อ.ยุรธร รับรางวัล อาจารย์ดเี ด่น ระดับชาติ

อ.ยุรธร จีนา อาจารย์ประจ�ำ แผนกวิ ช าสัง คมศาสตร์ สาขา ศิ ล ปศาสตร์ คณะบริ ห ารธุ ร กิ จ และศิ ล ปศาสตร์ มหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาค พายัพ เชียงใหม่ เข้ ารับโล่รางวัล เชิ ด ชูเ กี ย รติ รองชนะเลิศ อัน ดับ 2 ระดับ อุด มศึก ษา ประเภทสื่ อ อิ เ ลคทรอนิ ก ส์ ระดั บ ประเทศ พร้ อมเกียรติบตั ร จาก ศ.ดร.สุชาติ ธาราด� ำ รงเวช รมว. กระทรวง ศึ ก ษาธิ การ ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร กรุ งเทพมหานคร เมื่อ วันที่ 9 กันยายน 2555 โดยการคัดเลือกจากผลงานของผู้เข้ าประกวด ในโครงการ ยกย่องเชิดชูเกียรติครูและบุคลากรทางการศึกษา ประจ�ำ ปี 2555 จัดขึ ้นโดยศูนย์พฒ ั นาคุณภาพชีวติ ครู ส�ำนักงานคณะกรรมการ สนับ สนุน สวัส ดิ ก ารและสวัส ดิ ภ าพครู แ ละบุค ลากรทางการศึก ษา (สกสค.) และนอกจากนี ้ยังได้ รับสิทธิ์เดินทางไปทัศนศึกษาดูงาน พร้ อม เข้ าร่ วมการประชุม “ครู อาเซียน” ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ร่วมกับคณะครูอาจารย์ที่ได้ รับรางวัล ระหว่างวันที่ 8-10 ธันวาคม 2555

‘น้องไผ่’ นศ วิศวะฯ ขายปลาหมึก ส่งตัวเองเรียน

“จะไม่มวี น ั แพ้... หากทุกก้าวยังมีหวัง...”

“จะไม่มวี นั แพ้... หากทุกก้าวยังมีหวัง” คือคติประจ�ำใจของ จักรพงษ์ ประทุมมา (น้องไผ่) จากอาชีพปิ้งปลาหมึกขายเพื่อ ส่งเสียตัวเองเรียน จนเป็นกระแสด้านบวกของนักเรียนอาชีวะ หรือช่างกล ที่มักก่อปัญหาให้กับสังคม กับอีกด้านหนึ่งของ นักเรียนช่างกล ผู้มีความขยัน ไม่อายท�ำกิน ไม่หมิ่นเงินน้อย จนเป็นกระแสในโลก Social Network และ Social Media จากเว็บยอดนิยม Youtube, pantip และ Kapook จนท�ำให้ มียอดคนดูคลิปกว่าแสนครั้ง ภายในเวลาไม่ถึง 1 สัปดาห์ นายจักรพงษ์ ประทุมมา หรือน้องไผ่ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 ระดับปริญญาตรี (เทียบโอน) สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้าน นา ภาคพายัพ เชียงใหม่ กับชีวิตที่ไม่สมบูรณ์ อาศัยอยู่กับย่า ทีจ่ งั หวัดสกลนคร และต้องท�ำงานส่งตัวเองเรียนตัง้ แต่เป็นเด็ก นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาจนเรียนในระดับอุดมศึกษา ด้วยความ มุมานะ อุตสาหะ ไม่ย่อท้อต่อความล�ำบาก โดยยึดอาชีพขาย ปลาหมึกปิ้งหลังเลิกเรียน เพื่อใช้เป็นค่าเทอม ค่าหอพักและ ค่าใช้จ่ายประจ�ำวัน

12

.: ร่วมเป็นก�ำลังใจให้น้องไผ่ทาง : http://www.youtube.com/watch?v=UUZjSE9eOT0 :. วารสาร ภาคพายัพ


กิจกรรม

ถวายพระพร 12 สิงหา

อาจารย์สทุ ิน ประเสริ ฐสุนทร รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาค พายัพ เชียงใหม่พร้ อมคณาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา ร่ วมพิธีเฉลิมพระเกียรติ “12 สิงหา บรมราชิ นี น าถ ประจ� ำ ปี 2555”เพื่ อ แสดงถึ ง ความจงรั ก ภั ก ดี สมเด็ จ พระนางเจ้ าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในปี มหามงคล ทรงเจริ ญพระชนมพรรษาครบ 80 พรรษา ร่วมลงนาม ถวายพระพร เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2555 ณ ศาลาราชมงคล มทร.ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

ถวายเทียนพรรษา

คณาจารย์และนักศึกษา มทร.ล้ านนา ภาค พายัพ เชี ยงใหม่ ร่ วมสืบสานและท� ำนุบ�ำรุ ง พระพุทธศาสนา ถวายเที ยนพรรษาเนื่ องใน วันเข้ าพรรษาและถวายเป็ นพุทธบูชา ฉลอง พุ ท ธชยั น ตี 2600 ปี แห่ ง การตรั ส รู้ ของ พระพุทธเจ้ า ณ วัดต่างๆ กว่า 20 วัด ในจังหวัด เชียงใหม่

13

วารสาร ภาคพายัพ


แนะน�ำศิษย์เก่า

คุณสุนทร ยามศิริ

รองนายกเทศมนตรีเทศบาลนครเชียงใหม่ ส�ำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาช่างยนต์ จากวิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ เมื่อปี พ.ศ. 2517

การท�ำงาน เริม่ ท�ำงานด้านสายการเมือง เมือ่ พ.ศ. 2533 – ปจั จุบนั นับจากลงเลือก ตัง้ สมาชิกเทศบาลนครเชียงใหม่ และได้รบั เลือกเป็ นเทศมนตรี ดูแลส�ำนักการ สาธารณสุขเทศบาลนครเชียงใหม่ ในสมัยคุณวรกร ตันตรานนท์ เป็ นนายก เทศมนตรีเทศบาลนครเชียงใหม่ ถึงวันนี้ 22 ปี ของการท�ำงานด้านการเมือง การปกครอง ได้มโี อกาสร่วมท�ำงานกับนายกฯ ถึง 4 คน ปจั จุบนั คุณสุนทร ยามศิร ิ ด�ำรงต�ำแหน่ ง รองนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ ก�ำกับดูแลส�ำนัก การศึกษา (โรงเรียนในสังกัดเทศบาล 11 โรงเรียน) กองวิชาการ งานป้องกัน ภัยและบรรเทาสาธารณภัย โดยมีคณ ุ ทัศนัย บูรณุปกรณ์ ด�ำรงต�ำแหน่งนายก เทศมนตรีเทศบาลนครเชียงใหม่

ความภาคภูมิใจ เมือ่ พ.ศ. 2538 ประเทศไทยได้เป็นเจ้าภาพจัดกีฬาซีเกมส์ ครัง้ ที1่ 8 จังหวัด เชียงใหม่ ได้รบั เลือกเป็ นสถานทีใ่ นการจัดการแข่งขันกีฬาบางชนิด พิธเี ปิ ด และพิธปี ิด เทศบาลนครเชียงใหม่โดยคุณสุนทรได้รบั ผิดชอบ ด้านระบบรักษา ความปลอดภัย (อัคคีภยั ) ซึง่ ขณะนัน้ จังหวัดเชียงใหม่ยงั ไม่มคี วามพร้อมทัง้ ด้านบุคลากรและอุปกรณ์ รถกระเช้า รถดับเพลิงทีม่ ปี ระสิทธิภาพ คุณสุนทร ประสานงานจากส่วนกลางจัดหาครุภณ ั ฑ์ เครื่องไม้ เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ ยานพาหนะ ตลอดจนดูแลความเรียบร้อยจนการแข่งขันแล้วเสร็จ จึงท�ำให้ จังหวัดเชียงใหม่ มีอุปกรณ์ทท่ี นั สมัยและครบครันจนถึงทุกวันนี้

ฝากถึงน้องๆ นศ.ของราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ อยากฝากถึงรุน่ น้องให้ตงั ้ ใจศึกษาเล่าเรียน เรียนให้สามารถน�ำปฏิบตั ไิ ด้จริง และเมือ่ ส�ำเร็จการศึกษาแล้วอย่าได้ลมื สถาบันฯ ทีใ่ ห้ความรูป้ ระสิทธิ ์ ประสาท วิชาให้กบั พวกเรา ขอให้สมัครสมานสมัครช่วยเหลือ เกือ้ กูลกัน ร่วมกันพัฒนา บ้านเมืองและสังคม

14

วารสาร ภาคพายัพ


คุณทองอยู่ อานนทวิลาส รองประธานกรรมการฯ บริษัท นพดลพานิช จ�ำกัด ส�ำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาพาณิชยการ จากวิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ เมื่อปี พ.ศ. 2508

ความประทับใจต่อสถาบัน

ั บนั คือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี เมือ่ ได้เรียนทีว่ ทิ ยาลัยเทคนิคภาคพายัพ (ปจจุ ราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่) รูส้ กึ ถึงความรัก ความอบอุ่น สมัย นัน้ มีนกั เรียนอยูร่ นุ่ ละ 300 คน ทุกคนจะเป็ นเพือ่ นกันหมด รูจ้ กั อาจารย์ทุก คน รูจ้ กั เพือ่ นทุกคน ทุกสาขาเลยก็วา่ ได้ เมือ่ ส�ำเร็จการศึกษาในระดับ ปวช. คุณทองอยูไ่ ม่ได้ศกึ ษาต่อทันที เพราะเป็ นพีส่ าวคนโตจึงต้องพักเรือ่ งเรียนไว้ ก่อนเพราะต้องช่วยกิจการของครอบครัว (ร้านหลีเฮง) พ.ศ. 2515 สมรสกับ คุณนพดล อานนทวิลาส ร่วมท�ำธุรกิจขายวัสดุก่อสร้าง พัฒนาจนมีช่อื เสียง ล�ำดับต้นๆ ของจังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้ชอ่ื "บริษทั นพดลพานิช จ�ำกัด" เมื่อเทคโนฯ เปิ ดการศึกษาต่อในระดับ ปวส. และปริญญาตรี อาจารย์ จ�ำเหลาะห์ สมจิตร โทรมาชักชวนให้เรียนต่อ สอนและก�ำลังใจเสมอว่า “เธอต้อง เรียนต่อนะ เธอท�ำได้ ครูเชือ่ ว่าเธอท�ำได้” เป็ นแรงผลักดันมาจนถึงวันนี้และยัง ระลึกถึงค�ำสอนของอาจารย์ จ�ำเหลาะห์ สมจิตร เสมอมา

ฝากถึงน้องๆ นศ.ของราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ เมือ่ นึกถึงเด็กเทคโนฯ ส่วนใหญ่ทไ่ี ด้รว่ มงานจะท�ำงานได้คอ่ นข้างดี ศิษย์ ของเราค่อนข้างสมบูรณ์แบบแต่ในชีวติ การท�ำงาน ย่อมไม่เหมือนทีเ่ รียนมา การปรับตัวเป็ นสิง่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ต�ำราหนังสือเรียนทุกอย่างทีเ่ รียนมาอย่าเก็บ ใส่กล่องทิง้ ไว้ เพราะนันคื ่ อพืน้ ฐานทีต่ อ้ งน�ำมาประยุกต์ใช้ ในการท�ำงาน “ชีวติ ทุกคนต้องสู้ ไม่มใี ครสมบูรณ์แบบมาตัง้ แต่เกิด ความรูต้ อ้ งเสาะแสวงหา ด้วยตัวเอง" คุณทองอยู่ ฝากข้อคิดส�ำหรับนักศึกษาปจั จุบนั คุณทองอยู่ เริม่ ท�ำงานโดยเป็ นกิจการของครอบครัว ธุรกิจร้านของวัสดุ ก่อสร้าง (ร้านหลีเฮง) และเมือ่ ปี พ.ศ. 2515 สมรสกับคุณนพดล อานนทวิลาส ร่วมท�ำธุรกิจขายวัสดุก่อสร้าง พัฒนาจนมีช่อื เสียงล�ำดับต้นๆ ของจังหวัด เชียงใหม่ ในนาม “บริษทั นพดลพานิช จ�ำกัด” และนอกจากนัน้ ยังท�ำงานเพือ่ สังคม โดยเป็ นผูพ้ พิ ากษาสมทบศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดเชียงใหม่ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2540 ถึงปจั จุบนั

15

วารสาร ภาคพายัพ



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.