วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษ ฉลองครบรอบ 55 ปี

Page 1

วารสาร ภาคพายัพ วารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ และการสื่อสารองค์กร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

ฉบั บ พิ เ ศษ ฉลองครบรอบ 55 ปี

เวียงเจ็ดลิน

ถิน่ ทีร่ าชมงคลล้านนา ภาคพายัพ...ได้หยัง่ รากฝากใบ


โรงงานแป้งใจเฮง ผลิตจากข้าวคัดพิเศษ ท�ำขนมได้ ทุกชนิด ละเอียด นิ่ม ไม่เปรี้ยว

85 ถนนเถินบุรี ต�ำบลล้อมแรด อ�ำเภอเถิน จังหวัดล�ำปาง 054-291185




สารแสดงความยินดี ดร.สมชาย วงศ์สวัสดิ์ นายกรัฐมนตรีคนที่ 26

สิ่งส�ำคัญในการพัฒนาประเทศให้ เจริ ญก้ าวหน้ า ทั ด เที ย มนานาประเทศ อั น ดั บ แรกคื อ การพั ฒ นา ทรัพยากรมนุษย์ให้ มีศกั ยภาพ ความรู้ทางด้ านวิชาการ อย่ า งเดี ย วคงไม่ เ พี ย งพอ ต้ องสร้ างบุ ค ลากรที่ มี ความเชี่ยวชาญจากประสบการณ์จริ ง มีทกั ษะในด้ าน วิชาชีพ และสามารถพึ่งพาตนเองได้ รวมถึงการสร้ าง ให้ เป็ นคนที่มองโลกในแง่ดี มีคณ ุ ธรรมจริ ยธรรมและมีโลกทัศน์ที่กว้ างไกล รักความเสมอภาคเท่าเทียมกัน เชื่อมัน่ ในระบอบ ประชาธิปไตย และที่ส�ำคัญสามารถปรับตัวเข้ ากับสถานการณ์ตา่ งๆ ได้ อย่างทันท่วงที มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา เป็ นสถาบันการศึกษาที่มีภารกิจในการจัดการศึกษาเพื่อให้ เยาวชน นักศึกษา มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้ านวิชาชีพ โดยเฉพาะด้ านการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม มุง่ เน้ นพัฒนานักศึกษา ให้ มคี วามเชีย่ วชาญเชิงปฏิบตั กิ าร และสร้ างสรรค์งานวิจยั องค์ความรู้ทางวิชาการโดยมาจากความต้ องการทีแ่ ท้ จริงของสังคม รวมถึงการให้ บริ การองค์ความรู้ สิ่งประดิษฐ์ เทคโนโลยีที่มีสว่ นส�ำคัญในการพัฒนาวิชาชีพ ความเป็ นอยูใ่ ห้ แก่ชมุ ชนและ สังคมอย่างต่อเนื่อง ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตความเป็ นอยูข่ องประชาชนให้ ดียิ่งขึ ้น ดังนันการด� ้ ำเนินงานของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ที่ผา่ นมาจึงมีความส�ำคัญต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อีกทางหนึง่ เนื่ อ งในโอกาส ครบรอบ ๕๕ ปี การสถาปนามหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา ภาคพายัพ เชี ย งใหม่ ผมขอแสดงความยินดีและขอขอบคุณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ ที่ได้ ท�ำหน้ าที่ ดังที่กล่าวมาข้ างต้ นด้ วยความมุ่งมัน่ และรับผิดชอบมาตลอดระยะเวลาอันยาวนานถึง ๕๕ ปี อนึ่งการที่มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับองค์กรทังภาครั ้ ฐ และเอกชนร่วมกันจัดงาน “ราชมงคลล้ านนา เอ็กซ์โป ๕๕ ” ภายใต้ แนวคิด “มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชน” ขึ ้น เพื่อเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เป็ นประโยชน์ ต่อสังคม การสร้ างความร่ วมมือในการพัฒนางานด้ านวิชาการและทักษะทางวิชาชีพที่เกี่ยวข้ อง ท�ำให้ มีความเชื่อได้ ว่า จะช่วยกระตุ้นความสนใจในการศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับวิทยาการใหม่ๆ ให้ แก่เยาวชนคนรุ่นใหม่ ชุมชน และสังคมมากขึ ้น ผมขออวยพรให้ การด�ำเนินงานประสบผลส�ำเร็จตามเจตจ�ำนงทุกประการและขอให้ ผ้ ทู ี่เกี่ยวข้ องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ และการจัดงานประสบแต่ความสุข ความเจริญโดยทัว่ กัน คิดหวังสิง่ ใดขอให้ สมั ฤทธิ์ผล ในสิง่ อันพึงปรารถนาตลอดไป

( ดร.สมชาย วงศ์สวัสดิ์ ) อดีตนายกรัฐมนตรี


สารแสดงความยินดี

นายธานินทร์ สุภาแสน ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่

ขอแสดงความชืน่ ชมยินดีกบั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ที่จะมีอายุครบ ๕๕ ปี และได้ จดั งานฉลองภายใต้ ชื่อ “ราชมงคลล้ านนา เอ็กซ์โป ๕๕ ” ระหว่างวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน – ๔ ธันวาคม ๒๕๕๕ นับเป็ นความส�ำเร็จอีกขันหนึ ้ ง่ ของมหาวิทยาลัยฯ บทบาทและภารกิ จที่ ส�ำคัญยิ่งของสถาบันอุดมศึกษา นอกจากการเรี ยนการสอน หรื อการวิจัยแล้ วก็ คือบทบาท ในด้ านการให้ บริการวิชาการแก่สงั คม ทีผ่ า่ นมาจะเห็นได้ วา่ คณะครู อาจารย์ นักศึกษา ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ได้ ปฏิบตั ิภารกิจนี ้ด้ วยดีตลอดมา ด้ วยการน�ำองค์ความรู้ ให้ บริ การทางวิชาการแก่สงั คม ในสาขาวิชาต่างๆ ทีต่ นเองมีความช�ำนาญหรือมีผลงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้ อง โดยค�ำนึงถึงความเหมาะสมสอดคล้ องกับความต้ องการ ของพี่น้องประชาชนในทุกรู ปแบบ ทังในรู ้ ปแบบการฝึ กอบรมหลักสูตรระยะสัน้ การพัฒนาอาชีพในชนบทและในรู ปแบบ อื่นๆ ที่สามารถด�ำเนินการได้ ในการร่ วมมือกับชุมชนอยู่หลายด้ านแล้ ว และกิจกรรมล่าสุดที่ได้ รับทราบคือการมีสว่ นร่ วม ในการจัดท�ำแผนพัฒนา ๓ ปี (พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๕๘) ของเทศบาลต�ำบลเวียงพร้ าว อ�ำเภอพร้ าว จังหวัดเชียงใหม่ ในทุกๆ ด้ าน อาทิ การพัฒนากลุม่ อาชีพ การอนุรักษ์ สงิ่ แวดล้ อม การพัฒนาระบบการจัดเก็บภาษี การอนุรักษ์ ไว้ ซงึ่ ประเพณี วัฒนธรรม ศาสนสถานต่างๆ เพื่อยกระดับคุณชีวิตของพี่น้องประชาชนให้ มีคณ ุ ภาพชีวิตที่ดีขึ ้น รวมถึงการมีส่วนร่ วมจัดท�ำระบบ สารสนเทศการรายงานผลการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ที่จงั หวัดเชียงใหม่เป็ นเจ้ าภาพในปี นี ้ อีกด้ วย การจัด การศึก ษาของมหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา ภาคพายัพ เชี ย งใหม่ จึง มี ส่ว นส� ำ คัญ อย่า งยิ่ ง ในการพัฒนาเยาวชนในพื ้นทีจ่ งั หวัดเชียงใหม่และจังหวัดใกล้ เคียงเข้ าศึกษาต่อให้ มากยิง่ ขึ ้น ผมคิดว่าเด็กส่วนใหญ่อยากเข้ า เรียนในมหาวิทยาลัยแห่งนี ้ เพราะอยูใ่ กล้ บ้าน ใกล้ ชิดกับครอบครัว ลดปั ญหาการเดินทางไกลและค่าใช้ จา่ ยที่เหมาะสมกับ ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ผู้ด้อยโอกาสหรือผู้ทปี่ ฏิบตั งิ านในอาชีพต่างๆ ในจังหวัดเชียงใหม่หรือใกล้ เคียงสามารถเข้ าศึกษา ได้ ตามระบบการเรี ยนที่เหมาะสม ซึ่งบัณฑิตที่จบออกมาส่วนใหญ่ เป็ นบุคคลที่ปฏิบัติการได้ จริ ง มีความเชี่ ยวชาญ ด้ านเทคโนโลยี และสามารถน�ำองค์ความรู้มาสร้ างอาชีพด้ วยตนเองได้ ขอขอบคุณคณาจารย์ เจ้ าหน้ าที่ นักศึกษาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชี ยงใหม่ ที่มีส่วนเกี่ยวข้ องในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของพี่น้องประชาชนให้ ดีขึน้ ในตลอดระยะเวลา ๕๕ ปี ที่ผ่านมา และหวัง เป็ นอย่างยิ่งว่า คงจะรักษาคุณความดีเช่นนี ้อย่างต่อเนื่องและตลอดไป ขออ�ำนวยอวยพรให้ การจัดงานฉลองครบรอบ ๕๕ ปี “ราชมงคลล้ านนาเอ็กซ์โป ๕๕: มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชน” ส�ำเร็ จลุลว่ งไปด้ วยดีตามความมุง่ หมายทุกประการ

( นายธานินทร์ สุภาแสน ) ผู้วา่ ราชการจังหวัดเชียงใหม่


สารแสดงความยินดี นายบุญเลิศ บูรณุปกรณ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่

ขอแสดงความชืน่ ชมยินดีกบั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ทมี่ อี ายุครบ ๕๕ ปี แห่ ง การสถาปนามหาวิ ท ยาลัย ในปี พุ ท ธศัก ราช ๒๕๕๕ นี ้ องค์การบริ หารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ต้ องขอขอบคุณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ทีผ่ ลิตบัณฑิตได้ ตรงตามความต้ องการของสังคม และสามารถปฏิบตั งิ านได้ จริงดังจะเห็นได้ จากบุคลากรทังในระดั ้ บผู้บริหาร เจ้ าหน้ าที่ปฏิบตั ิการที่มีสว่ นร่ วมในการให้ บริ การเพื่อบ�ำบัดทุกข์บ�ำรุ งสุขแก่ประชาชน และส่งเสริ มให้ องค์การบริ หารส่วน จังหวัดเชียงใหม่ในปั จจุบนั เป็ นองค์กรทีม่ มี าตรฐานการบริการทีด่ ี มีคณ ุ ภาพ ประสิทธิภาพ สะดวก รวดเร็ว ฉับไวเพือ่ ให้ บริการ ต่อประชาชนได้ อย่างทันใจ สร้ างความพึงพอใจแก่ประชาชน และร่วมกันพัฒนาเมืองเชียงใหม่ให้ สามารถธ�ำรงรักษามรดก วัฒนธรรม ประเพณีซงึ่ มีเอกลักษณ์สืบต่อไปสูอ่ นุชนรุ่นหลัง รวมทังการพั ้ ฒนาเมืองเชียงใหม่ด้านสภาพแวดล้ อม เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ให้ เป็ นเมืองที่นา่ อยูน่ า่ อาศัยจนเป็ นที่ประจักษ์ ตอ่ สาธารณชนชาวไทยและต่างประเทศที่ได้ ให้ การยอมรับ ว่าจังหวัดเชียงใหม่เป็ นเมืองที่นา่ อยูอ่ าศัยระดับโลก ในโอกาสที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่จะก้ าวเข้ าสูป่ ี ๕๖ ผมเชื่อมัน่ ในศักยภาพ ของมหาวิทยาลัยในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็ก เยาวชน และประชาชนชาวจังหวัดเชียงใหม่ โดยเฉพาะการเสริ มสร้ าง โอกาส และลดความเหลื่อมล� ้ำในการเข้ าถึงการศึกษา และแหล่งเรี ยนรู้ที่มีคณ ุ ภาพและจะมีสว่ นส�ำคัญในการส่งเสริ มและ สนับสนุน ผลักดันเยาวชนในจังหวัดเชียงใหม่ให้ มีความพร้ อมในทุกๆด้ านที่จ�ำเป็ นทังด้ ้ านสารสนเทศ ด้ านภาษาต่างประเทศ ความรู้ความสามารถในด้ านวิชาการ เพื่อเป็ นการเตรี ยมความพร้ อมด้ านทรัพยากรบุคคลรองรับการก้ าวสูป่ ระชาคมอาเซียน ในปี 2558 ผมในนามพี่น้องประชาชนชาวจังหวัดเชียงใหม่ ผู้บริ หาร เจ้ าหน้ าที่องค์การบริ หารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ทกุ คนขอแสดง ความยินดีกบั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ที่มีอายุครบ ๕๕ ปี ในปี พุทธศักราช ๒๕๕๕ นี ้ และยินดีให้ การสนับสนุนการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัย ขอให้ การจัดงานฉลองครบรอบ ๕๕ ปี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ “ราชมงคลล้ านนาเอ็กซ์โป ๕๕: มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชน” ที่จะจัดขึ ้น ในระหว่างวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน – ๔ ธันวาคม ๒๕๕๕ นี ้ ส�ำเร็ จลุลว่ งไปได้ ด้วยดีตรงตามวัตถุประสงค์ที่ตงไว้ ั ้ ทกุ ประการ

( นายบุญเลิศ บูรณุปกรณ์ ) นายกองค์การบริ หารส่วนจังหวัดเชียงใหม่


สารแสดงความยินดี

ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร นายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

ขอแสดงความชื่ นชมยินดีกับมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ในโอกาสครบรอบ ๕๕ ปี แห่ ง การสถาปนา มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ มีประวัตศิ าสตร์ ที่โดดเด่นทางวิชาการบน ฐานของวิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ เป็ นสถาบันการศึกษาที่มีภารกิจในการจัดการศึกษาเพื่อให้ นกั ศึกษามี ความรู้และความเชี่ยวชาญด้ านวิชาชีพ มีบคุ ลากรทีม่ คี วามเชี่ยวชาญในศาสตร์ หลากหลายสาขา มีความโดด เด่นเฉพาะทาง ตังปณิ ้ ธานที่จะเป็ นมหาวิทยาลัยแห่งนวัตกรรม บริ การองค์ความรู้ สิง่ ประดิษฐ์ เทคโนโลยีที่ เหมาะสมกับการพัฒนาอาชีพ ความเป็ นอยูข่ องชุมชนและสังคมให้ มีคณ ุ ภาพชีวติ ที่ดขี ึ ้น ที่ผา่ นมาการด�ำเนิน งานของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ จึงมีความส�ำคัญต่อการยกระดับ คุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจของเชียงใหม่และภาคเหนือ โอกาสนี ข้ ออวยพรให้ อ าจารย์ เจ้ า หน้ า ที่ และนัก ศึก ษา รวมทัง้ ศิ ษ ย์ เ ก่ า มหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ทกุ ท่าน จงประสบแต่ความสุข ความเจริ ญ เพื่อสร้ างความรุ่งเรื องให้ แก่มหาวิทยาลัยสืบไป

( ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร ) นายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา


สารแสดงความยินดี อาจารย์ชัยยง เอื้อวิริยานุกูล อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

เนื่ อ งในโอกาสการสถาปนามหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ครบรอบ ๕๕ ปี ผมขอแสดงความยิ น ดี แ ละ ส่ ง ความปรารถนาดี ม ายัง ผู้บ ริ ห าร อาจารย์ เจ้ าหน้ าที่รวมถึงนักศึกษาทุกคน ในสถานการณ์ ปั จ จุบัน ที่ โ ลกมี ค วามเจริ ญ ทางเทคโนโลยี สูง อีกทังมี ้ การเปลี่ยนแปลงทังทางเศรษฐกิ ้ จ สังคม และวัฒนธรรมอย่างรวดเร็ ว ส่งผลให้ คนในสังคมจ�ำเป็ น จะต้ องหาความรู้เพิม่ เติมตลอดเวลาเพื่อก้ าวทันต่อการเปลีย่ นแปลง ดังนันการจั ้ ดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิต นักปฏิบตั ิที่มีคณ ุ ภาพและมีความรับผิดชอบต่อสังคม ตามปรัชญาของมหาวิทยาลัยจึงเป็ นปั จจัยพื ้นฐาน ที่ส�ำคัญในการพัฒนาทรั พยากรมนุษย์ ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศได้ อย่างยั่งยืน การทีมหาวิทยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ านนา ภาคพายั พ เชี ย งใหม่ ไ ด้ ผลิ ต บั ณ ฑิ ต จนเป็ นที่ ย อมรั บ ในการรั บ ใช้ ภาคสังคมมานานกว่า ๕๕ ปี นัน้ นับว่าเป็ นสิ่งที่ดีท่ีควรรั กษาไว้ และผมมีความเชื่อมั่นว่าความร่ วมมือ ของทุกท่านในการท�ำงานร่วมกันจะส่งผลให้ เกิดการพัฒนามหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่องเพื่อรักษาชื่อเสียงและ มาตรฐานของการเป็ นสถาบันการศึกษาที่ผลิตบัณฑิตนักปฏิบตั ใิ ห้ เจริ ญก้ าวหน้ าในอนาคต ในโอกาสนี ้ ผมขอแสดงความยินดีอีกครัง้ หนึ่ง ขออ�ำนวยพรให้ การก้ าวสู่ปีที่ ๕๖ เป็ นไปอย่างมัน่ คง ขออ�ำนาจคุณพระศรี รัตนตรั ยและสิ่งศักดิ์สิทธ์ ทัง้ หลายได้ โปรดดลบันดาลให้ คณะผู้บริ หารคณาจารย์ เจ้ าหน้ าที่ ตลอดจนนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ทุกท่าน ประสบแต่ความสุข ความเจริ ญ มีก�ำลังกาย ก�ำลังใจ สติปัญญาพร้ อมในสร้ างประโยชน์ให้ กบั สังคมและ ประเทศชาติตอ่ ไป

(อาจารย์ชยั ยง เอื ้อวิริยานุกลู ) อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา


สารแสดงความยินดี

อาจารย์สุทิน ประเสริฐสุนทร

รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

ภาคพายัพ เชียงใหม่

“ปี นี ”้ เป็ นปี ครบรอบ ๕๕ ปี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ของพวกเรา “ต้ น แคฝรั่ งต้ น นี ”้ มั่นคง แข็งแรง ผลิดอกออกผล งามสะพรั่ ง พร้ อมคุณวุฒิ คุณธรรม คุณภาพ ทัว่ ประเทศไทย “บัณฑิต ราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ” ประสบความส�ำเร็จ ประพฤติปฏิบตั ดิ ี มีความเจริญ รุ่ งเรื อง รับผิดชอบหน้ าที่ เป็ นตัวอย่างที่ดีในสังคม เป็ นความภาคภูมิใจอย่างยิ่งของครู อาจารย์ ครอบครัว และสังคมไทย “หลายคน” ส่งข่าวคราวถึงมหาวิทยาลัย หลายคนกลับมาเยี่ยมเยือน หลายคนติดต่อช่วยเหลือกัน หลายคนจัดงาน พบปะสังสรรค์กนั ต่างคนต่างกลุ่มต่างกิจกรรม แต่รวมใจกันเพื่อมิตรภาพ “มาถึงปี นี ้ ครบรอบ ๕๕ ปี ” พวกเราชาวราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ จะกลับคืนสู่ “อ้ อมกอดราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ” อีกครัง้

( อาจารย์สทุ ิน ประเสริ ฐสุนทร) รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่


สารแสดงความยินดี นายกู้เกียรติ ประภัสระกูล

นายกสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา มหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา ภาคพายั พ เชี ย งใหม่ สถาบั น การศึ ก ษา อันทรงเกียรติแห่งนี ้ ได้ เปิ ดการเรี ยนการสอนมา เป็ นเวลายาวนานตังแต่ ้ ปี พ.ศ. ๒๕๐๐ ซึง่ ในอดีต มี ชื่ อ ว่ า “วิ ท ยาลัย เทคนิ ค ภาคพายั พ ” เปิ ด ท�ำการสอนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเพียงระดับเดียว ปั จจุบนั นี ้ได้ รับการยกฐานะให้ เป็ นมหาวิทยาลัย มีภารกิจผลิตนักศึกษาและบัณฑิตออกสูส่ งั คมทังในระดั ้ บประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสู ้ งและปริ ญญาตรี ในวาระครบรอบ ๕๕ ปี ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ กระผม ใคร่ ขอเชิญชวนให้ ศิษย์เก่าทุกระดับ ได้ กลับมาเยี่ยมเยือนมหาวิทยาลัย ให้ ความช่วยเหลือ หรื อสนับสนุน การด�ำเนินการต่างๆ ของมหาวิทยาลัยฯ เพื่อให้ มหาวิทยาลัยของเราได้ พฒ ั นา รุ่งเรื อง สืบต่อไป ในนามของสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ขอแสดงความยินดีกบั มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ในโอกาสครบรอบ ๕๕ ปี มา ณ โอกาสนี ้ด้ วย

( นายกู้เกียรติ ประภัสระกูล ) นายกสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา


ขอแสดงความยินดีในโอกาส ครบรอบ 55 ปี

มทร.ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

บริษัท เอชดีเจ มอเตอร์ จ�ำกัด (นิธิบูรณ์)

122/18 ถ.โชตนา ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50300 โทร. 053-891511-4 Fax. 053-891515


บทบรรณาธิการ

วารสารภาคพายัพ ฉบับพิเศษฉบับนี ้จัดท�ำขึ ้นเนื่องในโอกาสฉลอง ครบรอบ ๕๕ ปี การสถาปนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ หรื อที่ทุกท่านรู้ จักในนามว่า “วิทยาลัยเทคนิค ภาคพายัพ” “วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิทยาเขตเทคนิค ภาคพายัพ” หรื อ “สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ” นัน่ เอง เริ่ มก่อตังโดยวางศิ ้ ลาฤกษ์ เมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๐๐ ตังอยู ้ ่ ภายในพื น้ ที่ เ มื อ งโบราณเวี ย งเจ็ ด ลิ น หรื อ เมื อ งเชษฐปุ รี ถนน ห้ วยแก้ ว ต�ำบลช้ างเผือก อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เริ่มแรกมีการเรียน การสอนในระดับ ปวช. แผนกช่างยนต์ ช่างโลหะ ช่างไฟฟ้า ช่างก่อสร้ าง ช่างไม้ ครุภณ ั ฑ์ และพณิชยการ จากวันนันจนถึ ้ งวันนี ้๕๕ ปี มีพฒ ั นาการทีด่ เี รื่ อยมา ดังจะเห็นได้ จาก ชื่อของสถาบันที่มีการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยและการจัดการศึกษา ในระดับทีส่ งู ขึ ้น จวบจนปัจจุบนั มีนกั ศึกษาประมาณ ๑๒,๐๐๐ คน ครอบคลุม

๔ ศาสตร์ คือ วิศวกรรมศาสตร์ บริ หารธุรกิจ ศิลปศาสตร์ ศิลปกรรม สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ทังงานวิ ้ จยั บริ การวิชาการ องค์ความรู้ตา่ ง ๆ ได้บรู ณาการไปยังหมูบ่ ้าน ชุมชน รวมถึงสถานประกอบการ บริ ษัทต่าง ๆ ก่อให้ เกิดการพัฒนาในอาชีพ สร้ างรายได้ และที่ส�ำคัญ บัณฑิตที่ส�ำเร็ จการศึกษาแล้ วส่วนใหญ่เป็ นที่ต้องการของสังคม ซึง่ เป็ น ไปตามวิสยั ทัศน์ และพันธกิจของมหาวิทยาลัยในการเป็ นผู้น�ำทางการ จัดการศึกษาด้ านวิชาชีพบนพื ้นฐานวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มุง่ ผลิต บัณฑิตนักปฏิบตั ิ สู้งาน เชี่ยวชาญเทคโนโลยี และพึง่ พาตนเองได้ ด้ วยความมุง่ มัน่ ของผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้ าหน้ าที่ ศิษย์ปัจจุบนั และ ที่ส�ำคัญคือพลังจากศิษย์เก่าทุกท่านจะเป็ นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนา ให้ มหาวิทยาลัยแห่งนี ้มีความสมบูรณ์พร้ อมทีจ่ ะผลิตบัณฑิตด้ านวิชาชีพ เพื่อรับใช้ สงั คมตลอดไป

อาจารย์ธราดล ดวงสุภา บรรณาธิการ

วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษ ฉลองครบรอบ ๕๕ ปี

ทีป่ รึกษา

อาจารย์สุทิน ประเสริฐสุนทร อาจารย์ประสิทธิ์ อินทร์จันทร์ อาจารย์อิศรา กันแตง อาจารย์ชาคริต ชูวุฒยากร อาจารย์สุพงศ์ แดงสุริยะศรี ผศ.สุรพล มโนวงศ์ ผศ.อ�ำนวย ปทุมปี อาจารย์ประเวศ ทองธรรมชาติ ดร.รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร นายชัยพฤกษ์ สิทธิศักดิ์

กองบรรณาธิการ

นายนิวัตร อินต๊ะรัตน์ นางสาวเยาวัลย์ จันทร์ต๊ะมูล นางสาวสิริญญา ณ นคร

รองอธิการบดี มทร.ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ผู้อ�ำนวยการกองบริหารทรัพยากร ผู้อ�ำนวยการกองการศึกษา รองคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ รองคณบดีคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ รองคณบดีคณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผู้อ�ำนวยการศูนย์การจัดการศึกษาพิเศษ (จอมทอง) หัวหน้าสาขาวิทยาศาสตร์ หัวหน้าส�ำนักงานบริหาร ที​ี่ปรึกษามหาวิทยาลัยฯ นางประไพ อินทรศรี นางสาวกิ่งกานต์ สาริวาท นายธันวารักษ์ สุวคนธ์

บรรณาธิการ

อาจารย์ธราดล ดวงสุภา

แผนกประชาสัมพันธ์ กองบริหารทรัพยากร มทร.ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ เลขที่ ๑๒๘ ถนนห้วยแก้ว ต�ำบลช้างเผือก อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ๕๐๓๐๐ โทร. ๐-๕๓๙๒-๑๔๔๔ โทรสาร ๐-๕๓๙๒-๑๔๔๔ ต่อ ๑๐๒๐

http://chiangmai.rmutl.ac.th

E-mail : prcm_rmutl@rmutl.ac.th


ด้วยส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ พระราชทานนามราชมงคล

ชาวราชมงคลทุกคนต่างรูเ้ ป็นอย่างดีวา่ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ แก่ ช าวราชมงคลและประสกนิ ก รชาวไทยเป็ น ล้ น พ้ น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาได้น้อมน�ำเอา หลักการทรงงาน แนวพระราชด�ำริ พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ฯ มาเป็ น แนวทาง ในการบริหารงานและการสอนของมหาวิทยาลัย ก่อให้เกิด สัมฤทธิผลอย่างมากมาย อันจะเห็นได้จากบัณฑิตที่จบ การศึกษาไปแล้วนั้นได้สร้างประโยชน์นานัปการต่อสังคม โดยรวมของประเทศและอารยประเทศต่างๆ เนื่ อ งในวโรกาสที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ ๕ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๓๐ ประกอบกั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ อย่ า งหาที่ สุ ด มิ ไ ด้ ข อง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงเมตตาต่อวิทยาลัย เทคโนโลยีและอาชีวศึกษา (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลล้านนา ในสมัยนั้น) โดยเสด็จพระราชด�ำเนินมา พระราชทานปริ ญ ญาบั ต รแก่ บั ณ ฑิ ต ที่ ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษา ด้ ว ยพระองค์ เ องทุ ก ครั้ ง ยั ง ความปลื้ ม ปิ ติ แ ละซาบซึ้ ง 14 วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี

ในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ สภาวิทยาลัยฯ เห็นสมควรขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตอัญเชิญ พระปรมาภิ ไ ธยพระบาทสมเด็ จพระเจ้ าอยู ่ หั ว เป็ น ตรา สัญลักษณ์ของวิทยาลัยฯ หรือขอพระราชทานนามวิทยาลัย ตามที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ในการนี้ ส�ำนักราชเลขาธิการ แจ้งตามหนังสือส�ำนัก ราชเลขาธิการ ลงวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๓๑ ว่า พระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ได้ พ ระราชทานนาม “สถาบั น เทคโนโลยีราชมงคล” ซึง่ หมายความว่า สถาบันเทคโนโลยี อันเป็นมิ่งมงคลแห่งพระราชา โดยวิทยาลัยได้ด�ำเนิน การแก้ไขเปลี่ยนชื่อวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา เป็นสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และเปลี่ยนชื่อพระราช บัญญัติวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา พุทธศักราช ๒๕๑๘ เป็นพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๑๘ และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ วันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๓๒ และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๓๒ เป็นต้นมา


ราชมงคลล้านนา ตราสัญลักษณ์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้อัญเชิญตราสัญลักษณ์เดิมมาเป็นเครื่องหมายราชการ มีลักษณะเป็นตรา รูปวงกลมมีดอกบัว ๘ กลีบล้อมรอบ หมายถึงทางแห่งความส�ำเร็จมรรค ๘ และความสดชื่นเบิกบานที่ก่อให้เกิดปัญญา แผ่ขจรไปทั่วสารทิศ ภายในดอกบัวเป็นดวงตราพระราชลัญจกรบรรจุอยู่ อันเป็นสัญลักษณ์และเครื่องหมายประจ�ำองค์ พระมหากษัตริยร์ ชั กาลที่ ๙ ซึง่ พระองค์ทา่ นได้พระราชทานนาม “ราชมงคล” บนตรารูปวงกลมมีพระมหาพิชยั มงกุฎครอบ และมีเลข ๙ บรรจุอยู่ หมายถึงรัชกาลที่ ๙ ด้านล่างของตรารูปวงกลมท�ำเป็นกรอบโค้งรองรับ มีชื่อมหาวิทยาลัยบรรจุ อยู่ภายในว่า “มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา” คั่นปิดหัวท้ายของกรอบด้วยลวดลายดอกไม้ทิพย์ประจ�ำยาม ทั้งสองข้าง อันสืบเนื่องมาจากเครื่องหมายราชการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

มิ่งมหามงคลแห่งบัณฑิต

ด้วยพระมหากรุณาธิคุณที่มีมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชด�ำเนินเป็นองค์ประธานในการพระราชทาน ปริ ญ ญาบั ต รแก่ บั ณ ฑิ ต ที่ ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาจากวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี แ ละ อาชีวศึกษา ณ อาคารใหม่สวนอัมพร เป็นครั้งปฐมฤกษ์ในวันที่ ๒๙ – ๓๑ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๒๔ ยังความปลื้มปิติและความภาคภูมิใจแก่ บัณฑิตและคณาจารย์อย่างหาที่สุดมิได้ ที่บัณฑิตสายอาชีวศึกษามีโอกาสรับ พระราชทานปริญญาบัตรจากพระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งนับเป็นความฝันอันสูงสุดของทุกคน การพระราชทานปริญญาบัตรครัง้ ที่ ๒ ปีพทุ ธศักราช ๒๕๒๗ และครัง้ ที่ ๓ ปีพทุ ธศักราช ๒๕๓o พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ได้เสด็จพระราชด�ำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี การพระราชทานปริญญาบัตรครั้งที่ ๔ เมื่อวันที่ ๑๙ – ๒๑ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๓ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชด�ำเนินมาเพียงพระองค์เดียว ซึ่งเป็นการพระราชทานปริญญาบัตร ในนาม “สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล” การพระราชทานปริ ญ ญาบั ต รครั้ ง ที่ ๕ ปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๓๔ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนิน แทนพระองค์เป็นครั้งแรกและต่อเนื่องเป็นประจ�ำทุกปีจวบจนปัจจุบัน วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี

15


ในการพระราชทานปริญญาบัตรครั้งที่ ๑๑ ปีพุทธศักราช ที่พระราชทานแก่บัณฑิตเมื่อครั้งปฐมฤกษ์ วันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๔o ได้เปลี่ยนสถานที่จัดงานพิธี จากอาคารใหม่สวนอัมพร พุทธศักราช ๒๕๒๔ ความตอนหนึง่ ว่า “...บัณฑิตแต่ละคนทีส่ ำ� เร็จ เป็นหอประชุมใหญ่ศูนย์กลางสถาบัน ฯ อ�ำเภอธัญบุรี จังหวัด การศึกษาแล้วจึงมีหน้าที่รับผิดชอบเกิดขึ้นผูกพันทันที ในอันที่จะ ปทุมธานี ครั้นถึงปีพุทธศักราช ๒๕๔๘ “สถาบันเทคโนโลยีราช ต้องท�ำประโยชน์ให้แก่บ้านเมืองตามความถนัดของตน ข้าพเจ้า มงคล” ได้สถาปนาขึน้ เป็น “มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล” ใคร่จะท�ำความเข้าใจกับทุกคนว่า ประโยชน์หรือการสร้างสรรค์ ดังนั้น พิธีพระราชทานปริญญาบัตรครั้งที่ ๑๙ วันที่ ๑๓ – ๑๕ ในสิ่งที่ดีนั้นจะเกิดขึ้นได้ก็ด้วยการลงมือท�ำ หมายความว่าจะต้อง กันยายน พุทธศักราช ๒๕๔๘ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ น�ำความรู้ความสามารถที่มีอยู่นั้นมาใช้งาน ลงมือเมื่อไหร่เพียงใด สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชด�ำเนินเป็นองค์ประธานพิธี ประโยชน์จะเกิดขึ้นเมื่อนั้น เพียงนั้น เมื่อยังไม่ลงมือท�ำประโยชน์ จึงเป็นจัดพิธใี นนามมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลเป็นครัง้ แรก ก็ยังไม่เกิดขึ้น เพราะฉะนั้นถึงหากจะมีความรู้ความสามารถ การพระราชทานปริ ญ ญาบั ต รแต่ ล ะครั้ ง พระบาทสมเด็ จ มากมายสักเพียงใด ถ้าไม่ลงมือท�ำ ก็ปราศจากประโยชน์ บ้านเมือง พระเจ้าอยูห่ วั ได้พระราชทานพระบรมราโชวาทแก่บณ ั ฑิต เกีย่ วกับ ของเราเวลานี้ อ ยู ่ ใ นสภาวะที่ ต ้ อ งพั ฒ นาหรื อ ปรั บ ปรุ ง ตั ว เอง การด�ำเนินชีวติ และการท�ำงาน กระตุน้ จิตส�ำนึกให้บณ ั ฑิตน�ำความรู้ อย่างรวดเร็วในทุก ๆ ทาง เพื่อให้สามารถก้าวไปทันผู้อื่นเขาได้ ความสามารถไปใช้ เพื่อสร้างสรรค์พัฒนาสังคมอย่างเต็มก�ำลัง อย่างมั่นคงและปลอดภัยทุกคน โดยเฉพาะผู้มีความรู้ จึงต้อง ความรูค้ วามสามารถ ด้วยความวิรยิ ะ อุตสาหะ ดังพระบรมราโชวาท ขวนขวายท�ำงานให้เต็มก�ำลัง...” พิธีพระราชทานปริญญาบัตรครั้งที่ ๒๑ วันที่ ๙ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๔๙ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทานพระราโชวาทแก่ บัณฑิตว่า “...การให้การศึกษานัน้ มีเป้าหมายส�ำคัญทีจ่ ะปลูกฝังความเจริญงอกงามให้แก่ บุคคลให้พร้อมทุกด้าน คือ ให้มีความรู้ในวิชาการในสาขาใดสาขาหนึ่ง และให้มีคุณธรรม ความดีประกอบอยู่ด้วย เพื่อเป็นรากฐานส่งเสริมให้บุคคลสามารถปฏิบัติงานสร้างสรรค์ ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความรู้กับคุณธรรมนี้เป็นสิ่งส�ำคัญที่ต้องอบรมฝึกฝน ให้เกิดมีเสมอกัน ทั้งจ�ำเป็นต้องใช้ควบคู่กันเสมอ มิฉะนั้นจะหวังผลอันพึงประสงค์ไม่ได้ ข้อนีถ้ า้ พิจารณาให้ดี ก็จะเห็นจริงว่าคนทีม่ ากด้วยความรูค้ วามสามารถแต่ขาดคุณธรรมนัน้ เป็นภัยเพียงใด คนดีแต่เปีย่ มคุณธรรมแต่ขาดความรูค้ วามเฉลียวฉลาดก็ไม่อาจท�ำงานใหญ่ ที่ส�ำคัญ ๆ ให้ส�ำเร็จได้เช่นกัน จึงขอให้บัณฑิตทุกคนได้ศึกษาเรื่องความรู้ และคุณธรรม ที่กล่าวมาให้ทราบชัด แล้วฝึกหัดอบรมให้มีความสมบูรณ์พร้อมขึ้นในตนจักได้ปฏิบัติตน ปฏิบัติงานทุกอย่าง ให้บังเกิดเป็นประโยชน์อันแท้จริงทั้งแก่ตนและแก่ส่วนรวมต่อไป...” นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อมทั้งสองพระองค์ทรงมีต่อเหล่าบัณฑิตนักศึกษา ข้าราชการและคณาจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ทีจ่ ะขอน้อมรับใส่เกล้าใส่กระหม่อม อัญเชิญไว้เป็นเครือ่ งเตือนใจและรับไปปฏิบตั ใิ ห้สมั ฤทธิผล ตามพระราชประสงค์เพื่อประโยชน์แก่ชาติบ้านเมืองสืบไป และขอจารึกพระมหากรุณาธิคุณไว้ด้วยดวงจิตภักดีมั่นนิรันดร 16 วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี


รอยพระบาทยาตรา ถิ่นราชมงคลล้านนา

วันที่ ๒๒ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๓o เสด็จพระราชด�ำเนินทอดพระเนตรการพิมพ์ระบบออฟเซท และระบบซิลค์สกรีน การถักทอ พิมพ์ภาพ ช่างทองรูปพรรณ พลาสติก เซรามิก จิตรกรรมและประติมากรรมของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ (เจ็ดยอด)

วันที่ ๒๑ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๕๑ เสด็จพระราชด�ำเนินเป็นการส่วนพระองค์ยังมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ โดยนายชูชาติ กีฬาแปง รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ดร. กฤษณพงศ์ กีรติกร นายกสภามหาวิทยาลัย นายชัยยง เอื้อวิริยานุกูล อธิการบดีพร้อมคณะผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่และนักศึกษา เฝ้ารับเสด็จฯ วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี

17


๕๕

ปี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช

มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ เดิมชื่อ วิทยาลัยเทคนิค ภาคพายัพ เป็นสถาบันการศึกษาวิชาชีพประจ�ำ ภาค สังกัดกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้จดั ตัง้ ขึน้ โดยประกอบพิธวี างศิลาฤกษ์ ในวันที่ ๘ สิ ง หาคม พ.ศ.๒๕๐๐ ตั้ ง อยู ่ ภ ายในพื้ น ที่ เมื อ งโบราณ เวี ย งเจ็ ด ลิ น หรื อ เมื อ งเชษฐปุ รี เลขที่ ๑๒๘ ถนนห้ ว ยแก้ ว ต� ำ บลช้ า งเผื อ ก อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ห่างจากตัวเมือง เชียงใหม่ประมาณ ๖ กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ ๙๐ ไร่ และต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๒๓ วิทยาเขตฯ ได้รับอนุมัติจากกระทรวงมหาดไทย ให้ใช้ที่ดิน สาธารณประโยชน์ ป ระจ� ำ หมู ่ บ ้ า นช่ า งเคี่ ย น อีกจ�ำนวน ๒๕ ไร่ รวมเนื้อที่ทั้งสิ้น ๑๑๕ ไร่ ในปี เ ริ่ ม แรกได้ เ ปิ ด สอนหลั ก สู ต รระดั บ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ใน ๖ แผนกวิชา คือ ช่างยนต์ ช่างกลโลหะ ช่างไฟฟ้า ช่างก่อสร้าง ช่างไม้ ครุภัณฑ์ และพณิชยการ ต่อมาได้ปรับปรุงและ ขยายงาน ทัง้ ในด้านสถานที่ อาคารเรียน อุปกรณ์ เครื่องมือ บุคลากร และขยายการศึกษาโดยเปิด แผนกวิชาต่างๆ ในระดับที่สูงขึ้น

18 วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี

นอกจากเปิ ด สอนวิ ช าชี พ เพื่ อ งานในทาง อุ ต สาหกรรม พณิ ช ยกรรม และศิ ล ปกรรม ทั้ ง ในระดั บ ประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ ระดั บ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และระดับปริญญา ตรีแล้ว วิทยาเขตฯ ยังได้มีโครงการสนับสนุนส่ง เสริมศิลปหัตถกรรมภาคเหนือ โดยใช้ที่ดินซึ่งได้ รับบริจาคจากคุณหญิงดารา ไชยยศสมบัติ จ�ำนวน ๕ ไร่ และวิทยาเขตฯ จัดซื้อเพิ่มอีก ๕ ไร่ รวม เป็น ๑๐ ไร่ บริเวณข้างวัดเจ็ดยอดโพธาราม และ โรงเรียนวัดเจ็ดยอด โดยมีแผนกวิชาออกแบบ ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แผนกวิชาอุตสาหกรรม เครื่องปั้นดินเผา แผนกวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ สิ่งทอ แผนกวิชาช่างอุตสาหกรรมเครื่องประดับ แผนกวิชาจิตรกรรม แผนกวิชาประติมากรรม แผนกวิชาศิลปะภาพพิมพ์ แผนกวิชาการพิมพ์ และแผนกวิ ช านิ เ ทศศิ ล ป์ เข้ า ไปปฏิ บั ติ ต าม โครงการดังกล่าว ในปี พ.ศ.๒๕๑๘ ได้มีการโอนกิจการของ วิ ท ยาลั ย เทคนิ ค ภาคพายั พ ไปสั ง กั ด วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีและอาชีวศึกษา มีช่ือว่า “วิทยาลัย เทคโนโลยี แ ละอาชี ว ศึ ก ษา วิ ท ยาเขตเทคนิ ค

ภาคพายัพ” และมีการเปิดสอนในระดับปริญญา เป็นครั้งแรกของสถาบัน จนกระทั่งในปี พ.ศ.๒๕๓๑ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ ภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทานนามสถาบันใหม่ว่า “สถาบั น เทคโนโลยี ร าชมงคล” “มงคลแห่ ง พระราชา” เมือ่ วันที่ ๑๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๓๓ ซึง่ ชาวราชมงคลถือว่าวันดังกล่าวเป็น “วันราชมงคล” ต่อมาปี พ.ศ.๒๕๔๘ ได้มีพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ.๒๕๔๘ ประกาศยกฐานะสถาบั น เทคโนโลยีราชมงคล ขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ๙ แห่ง ท�ำให้สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาค พายัพ และอีก ๕ วิทยาเขต คือ วิทยาเขตเชียงราย วิทยาเขตล�ำปาง วิทยาเขตน่าน วิทยาเขตตาก และ วิทยาเขตพิษณุโลก ได้รับการยกฐานะเป็น มหาวิทยาลัย โดยใช้ชอื่ ว่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ สังกัด ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวง ศึกษาธิการ เปิดสอนระดับต�่ำกว่าปริญญา ระดับ ปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา


รายนามผูอ้ ำ� นวยการ/รองอธิการบดีเขตพืน้ ที่ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗.

อาจารย์จรัญ อาจารย์เจนจิตต์ อาจารย์สวาสดิ์ อาจารย์ชลิต อาจารย์ภพ อาจารย์สุพจน์ อาจารย์จรัญ

สมชะนะ กุณฑลบุตร ไชยคุนา สุวัตถี เลาหไพบูลย์ พุทธาภิสิทธิ์กุล สมชะนะ

๒๕oo - ๒๕o๓ ๒๕o๓ - ๒๕o๖ ๒๕o๖ - ๒๕๑๕ ๒๕๑๕ - ๒๕๑๖ (รักษาการ) ๒๕๑๖ - ๒๕๑๗ (รักษาการ) ๒๕๑๗ (รักษาการ) ๒๕๑๗ - ๒๕๑๙

๘. อาจารย์โสภณ ๙. อาจารย์ดิเรก ๑๐. อาจารย์สุพจน์ ๑๑. อาจารย์ไพรัตน์ ๑๒. อาจารย์เฉลิม ๑๓. อาจารย์อัศดา ๑๔. อาจารย์ชัยยง ๑๕. ดร.จัตตุฤทธิ์ ๑๖. อาจารย์สุทิน

แสงไพโรจน์ ๒๕๑๙ - ๒๕๒๒ มานะพงษ์ ๒๕๒๒ - ๒๕๓๓ พุทธาภิสิทธิกุล ๒๕๓๓ - ๒๕๓๕ (รักษาการ) รุ้งรุจิเมฆ ๒๕๓๕ - ๒๕๓๗ เลาหะเพ็ญแสง ๒๕๓๗ - ๒๕๓๘ จิตต์ปรารพ ๒๕๓๘ - ๒๕๔๒ เอื้อวิริยานุกูล ๒๕๔๓ - ๒๕๕๐ ทองปรอน ๒๕๕๐ - ๒๕๕๑ ประเสริฐสุนทร ๒๕๕๑ - ปัจจุบัน

ชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

การจัดการศึกษาในปัจจุบนั

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ จัดการศึกษาแบ่งออกเป็น ๓ คณะ

RMUTL Time Line

คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ เปิ ด สอน ใ น ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า ต รี แ ล ะ ร ะ ดั บ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ใน ๖ กลุ่ม สาขาวิชา คือ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า สาขา วิ ศ วกรรมโยธาและสิ่ ง แวดล้ อ ม สาขา วิศวกรรมเครื่องกล และสาขาวิศวกรรม อุตสาหการ

คณะบริ ห ารธุ ร กิ จ และศิ ล ปศาสตร์ เปิดสอนในระดับปริญญาตรี และระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ใน ๓ กลุ่ม สาขาวิชา คือ สาขาบริหารธุรกิจ สาขา การบัญชี และสาขาศิลปศาสตร์

คณะศิ ล ปกรรมและสถาปั ต ยกรรม ศาสตร์ เปิ ด สอนในระดั บ ปริ ญ ญาตรี แ ล ะ ร ะ ดั บ ป ร ะ ก า ศ นี ย บั ต ร วิ ช า ชี พ ชั้ น สู ง ใน ๓ กลุ ่ ม สาขาวิ ช า คื อ สาขา สถาปั ต ยกรรมศาสตร์ สาขาศิ ล ปกรรม สาขาเทคโนโลยีศิลป์ สาขาการออกแบบ

พ.ศ. ๒๕๐๐ ได้มกี ารจัดตัง้ “วิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ” (วท.พ) สังกัด กรมอาชีวศึกษา] กระทรวงศึกษาธิการ  พ.ศ. ๒๕๑๘ ได้เข้าเป็นวิทยาเขตของ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา โดยใช้ชื่อวิทยาเขตว่า “วิทยาเขต เทคนิคภาคพายัพ” (วข.พ) ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ  พ.ศ. ๒๕๓๑ “วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิทยาเขตเทคนิคภาคพายัพ” ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “สถาบัน เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ” (วข.พ) สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ  พ.ศ. ๒๕๔๘ “สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ” ยกฐานะเป็น “มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่” สังกัด กระทรวงศึกษาธิการ ดังเช่นปัจจุบัน 

วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี

19


สถานทีต่ งั้ ม สถานที่ตั้งมหาวิทยาลัย

มทร.ล ภาคพายัพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ (เจ็ดลิน)

ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ ๑๒๘ ถนนห้ ว ยแก้ ว ต� ำ บลช้ า งเผื อ ก อ� ำ เภอเมื อ งเชี ย งใหม่ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ มี เ นื้ อ ที่ ๑๑๕ ไร่ ตั้ ง อยู ่ ณ พื้นที่ของเวียงเจ็ดลินเดิม

พืน้ ทีอ่ ำ� เภอดอยสะเก็ด ตั้งอยู่ ๙๘ หมู่ ๘ ต�ำบลป่าป้อง อ�ำเภอ ดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ มีเนือ้ ที่ ๑,๐๐๐ ไร่ เริ่มเปิดท�ำการสอนในปี ๒๕๕๑

20 วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี


มหาวิทยาลัย

ล้พาเชีนนา ยงใหม พื้นที่เจ็ดยอด

ตัง้ อยูเ่ ลขที่ ๙๕ ถนนเชียงใหม่-ล�ำปาง ต�ำบลช้างเผือก อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ มีเนือ้ ที่ ๑๐ ไร่

พืน้ ทีอ่ ำ� เภอจอมทอง

ตั้งอยู่ ๑๙๙ ต�ำบลบ้านหลวง อ�ำเภอ จอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เปิดท�ำการสอน ครั้งแรกเมื่อวันที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๕๐ วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี

21


เวียงเจ็ดลิน

อาจารย์อิศรา กันแตง ผู้อ�ำนวยการกองการศึกษา

ถิน่ ทีร่ าชมงคลล้านนา ภาคพายัพ...ได้หยัง่ รากฝากใบ

ขุนหลวงวิลังคะ

คูน�้ำ

เวียงเจ็ดลิน พ.ศ.๒๕๑๐ 22 วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี

“วังเจ็ดลินถิ่นนี้เหมือนมีมนตรา ใครได้มาจะพาเคลิ้มใจยามมอง...” เพลงวังเจ็ดลิน ตั้งแต่สมัยวิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ จนถึงวันนี้ที่เป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา นับเป็นเวลา ๕๕ ปีแล้ว ทีเ่ ราเข้ามาใช้พนื้ ทีบ่ างส่วนของเวียงเจ็ดลินเพือ่ ประโยชน์ ทางการศึกษา การใช้พื้นที่ในอดีตนั้นทับซ้อน หรือ บดบังโบราณสถานเวียงเจ็ดลิน ด้วย ความไม่รแู้ ละไม่ได้ให้ความส�ำคัญ วันนีเ้ ราจะมาท�ำความรูจ้ กั เวียงเจ็ดลินเพิม่ ขึน้ เพือ่ ทีจ่ ะ ได้ร่วมกันก�ำหนดอนาคตในการพัฒนาใช้พื้นที่สถานศึกษาให้สามารถอยู่ร่วมกับโบราณ สถานได้อย่างมีคุณภาพ เพราะเวียงเจ็ดลิน เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่าของเมือง เชียงใหม่และประเทศชาติ เวียงเจ็ดลิน เป็นเวียงโบราณเชิงดอยสุเทพ จากหลักฐานทางโบราณคดีพบเครือ่ งมือหิน แสดงว่ามีการตั้งถิ่นฐานของชุมชนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ จนถึงชนพื้นเมือง ที่เรียกว่า “ลัวะ” (ละว้า หรือ มิลกั ขุ) ต่อมาร่วมสมัยกับอาณาจักรหริภญ ุ ไชย โดยมี ขุนหลวงวิลงั คะ เป็นผู้น�ำ แล้วจึงผสมกลมกลืนเป็นส่วนหนึ่งของเมืองเชียงใหม่ในสมัยอาณาจักรล้านนา เมื่อร่วมสมัยกับเมืองเชียงใหม่ เวียงเจ็ดลินมีลักษณะเป็นเวียงบริวาร ส�ำหรับกษัตริย์ ใช้ประทับส�ำราญ สรงน�้ำ ล่าสัตว์ ที่ป่าใกล้เมือง แต่ในยามศึกสงครามจะท�ำหน้าที่ ช่วยรบ ดังจะเห็นการมีอยู่ของคันดินและคูน�้ำขนาดใหญ่เป็นวงรอบ

คันดิน

ตาน�้ำกลางเวียง

เวียงเจ็ดลิน มีรูปทรงกลมแบบเรขาคณิต โดยก�ำหนดจุดศูนย์กลางเวียงที่ตาน�้ำ เส้น ผ่าศูนย์กลางประมาณ ๙๐๐ เมตร พื้นที่ประมาณ ๓๙๘ ไร่ หรือ ๐.๖๔ ตารางกิโลเมตร ขุดคูน�้ำล้อมรอบเป็นวงกลม คันดินด้านในสูงกว่าด้านนอก พื้นที่ลาดเทจากทิศตะวันตก (ดอยสุเทพ) สู่ทิศตะวันออก อิงป่าที่เป็นแหล่งอาหาร อิงน�้ำที่น่าจะมี ๗ ลิน ตามชื่อเรียก ได้แก่ น�ำ้ ห้วยแก้ว ส่งน�ำ้ เข้า คูดา้ นทิศตะวันตกเฉียงใต้ น�ำ้ สาขาย่อยทีไ่ หลผ่านสวนรุกขชาติ มายังคูนำ�้ ด้านหน้ามหาวิทยาลัย น�ำ้ ๒ สายใหญ่ จากดอยสุเทพ ผ่านวัดศรีโสดา มาสบกัน ที่ข้างวัดหมูบุ่น แล้วจึงไหลโอบมาด้านทิศเหนือสบกับห้วยช่างเคี่ยน น�้ำสาขาย่อย ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และที่ส�ำคัญ คือ ตาน�้ำกลางเวียงเจ็ดลิน ที่ไหลผ่านเข้ามา ในมหาวิทยาลัย แล้วไหลไปสบกับห้วยช่างเคี่ยน


เวียงเจ็ดลินในบริเวณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ใช้พนื้ ทีเ่ สีย้ วเล็กๆ ด้านทิศตะวันออกของเวียงเจ็ดลิน เป็นทีต่ งั้ ของ สถานศึกษา ร่องรอยโบราณสถานเวียงเจ็ดลินที่มองเห็นได้ด้วยตา เริ่มตั้งแต่บนถนนห้วยแก้วบริเวณป้ายชื่อมหาวิทยาลัยก่อนที่จะ เลี้ยวเข้าสู่ประตู เป็นคูน�้ำของเวียงที่ถูกถมดินวางท่อลอดขณะ สร้างถนนห้วยแก้ว แนวคูน�้ำจะต่อเนื่องกันทั้งด้านซ้ายและขวา ของถนน เมื่อเข้าสู่มหาวิทยาลัย “วังหน้า” พื้นที่ด้านขวามือ ตัง้ แต่หน้าประตู ศาลพ่อปู่ โรงอาหาร สโมสรนักศึกษา จะเห็นคูนำ�้ เป็นวงโค้งต่อเนื่องมาจนถึงแนวถนนที่ท�ำหน้าที่เป็นฝายน�้ำล้น ตัดข้ามคูน�้ำ ไปสู่พื้นที่ “วังหลัง” แต่แนวคูน�้ำตั้งแต่บริเวณอาคาร เรียนสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ไปถึงกลุ่มบ้านพักอาจารย์ อ้อมไปจน สุดเขตพื้นที่มหาวิทยาลัย น�้ำถูกระบายออกเพื่อใช้พื้นที่ ส่วนคันดินจะเห็นเป็นแนวชัดเจนในบริเวณสวนรุกขชาติ แต่ใน มหาวิทยาลัยส่วนใหญ่ถูกไถออกเพื่อสร้างอาคาร คงเหลือเฉพาะ

ช่วงสั้นๆ บริเวณศาลพ่อปู่ บริเวณหลังอาคารวิศวกรรมไฟฟ้า บริเวณหน้าบ้านพักอาจารย์ และที่ปลายสุดของเขตมหาวิทยาลัย ด้านทิศเหนือ (โรงอาหาร สโมสรนักศึกษา อาคารเรียนและบ้านพัก อาจารย์บางส่วน สร้างทับซ้อนอยู่บนแนวคันดินของเวียงเจ็ดลิน) ในอดี ต เมื่ อ บ้ า นเมื อ งต้ อ งการพั ฒ นา เวี ย งร้ า ง วั ด ร้ า ง ก็จะถูกปรับใช้พนื้ ทีใ่ ห้ทนั สมัย แต่สำ� หรับปัจจุบนั เมือ่ โลกเปิดกว้าง ความมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวของแต่ละพื้นที่เป็นคุณค่าที่ควรแก่ การสงวนรักษาไว้ คุณค่าของเวียงเจ็ดลิน คือ การเป็น “เวียงทรง กลมแบบเรขาคณิต” ซึง่ หาได้ยาก หรือ อาจเป็นเพียงแห่งเดียวของ ประเทศไทยและไม่กแี่ ห่งในโลกนี้ ภูมปิ ญ ั ญาทีน่ า่ ทึง่ ของคนโบราณ ในการเลือกที่ตั้งและวางผัง ความเพียรพยายามในการขุดคูน�้ำ คันดินทีง่ ดงามลงตัวด้วยแรงงานมนุษย์ การเป็นเวียงทีต่ งั้ อิงป่า อิงน�ำ้ อันอุดมสมบูรณ์ และกลายเป็นองค์ประกอบส�ำคัญ ในฐานะเวียง บริวารของเมืองเชียงใหม่ เมืองหลวงของอาณาจักรล้านนา

ด้วยตระหนักถึงคุณค่าทางประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี ผังเมืองและศิลปวัฒนธรรม ในภูมปิ ญ ั ญาของชาวลัวะและชาวเชียงใหม่ทสี่ ร้าง และสืบสานเวียงทรงกลมแห่งสายน�้ำทั้ง ๗ นี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ จึงมีนโยบายที่จะฟื้นฟู และอนุรักษ์เวียงเจ็ดลินควบคู่ไปกับการพัฒนาการเรียนการสอนและภารกิจด้านอื่น ถึงเวลาแล้ว....ที่เราจะได้ตอบแทนแก่ผืนดิน ถิ่นที่เราได้หยั่งรากฝากใบ ให้เวียงเจ็ดลินกลับมาสง่างาม ทั้งกายภาพและจิตวิญญาณ เพื่อให้มหาวิทยาลัยแห่งนี้ เป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้ด้านเทคโนโลยีที่ประสานกลมกลืนเป็นหนึ่งเดียวกับศิลปวัฒนธรรมและสภาพแวดล้อม วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี 23


การขุดค้นทางโบราณคดี

เวียงเจ็ดลิน

เวียงเจ็ดลิน มีการขุดค้นทางโบราณคดี ครั้งที่ ๑ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๑ และขุดค้นทางโบราณคดี ครั้งที่ ๒ ในปี พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๕๒ โดยท�ำการ ขุดค้น ๕ ต�ำแหน่ง ซึ่งพบโบราณวัตถุร่วมสมัยปัจจุบัน สมัยล้านนา และ ก่อนประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจตามรายงานการขุดค้นทางโบราณคดีเวียง เจ็ดลินฯ ภายใต้โครงการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองประวัติศาสตร์เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ทีห่ า้ งหุน้ ส่วนจ�ำกัด โบราณนุรกั ษ์ เสนอต่อส�ำนักศิลปากร ที่ ๘ เชียงใหม่กรมศิลปากร ดังนี้ หลุมขุดค้นที่ ๑ และ ๑/๑ การขุดค้นหลุมที่ ๑ บริเวณใกล้ตาน�ำ้ ผุดศูนย์กลางเวียงเจ็ดลิน ขุดลึกลงไป ๓๐ ซม. พบน�้ำใต้ดิน ขุดต่อไปที่ระดับ ๔๕ ซม. ก็หยุดเพราะมีน�้ำมากเกินไป ต้องขยับห่างออกไปขุดค้นที่หลุม ๑/๑ แทน โดยใช้เครื่องช่วยสูบออก พบโบราณวัตถุ สมัยล้านนา และร่วมสมัยปัจจุบัน แต่เนื่องจากดินเหลวมาก ท�ำให้วัตถุต่างๆ ปะปนกัน เศษภาชนะดินเผาทีพ่ บ มีขอบมน หรือสึกกร่อน แสดงว่าโบราณวัตถุสว่ นใหญ่กลิง้ ไหลมา หลุมขุดค้นที่ ๒ ด้านทิศตะวันตกของเวียงเจ็ดลิน เป็นพืน้ ทีเ่ ชิงเขาลาดเอียงไปทางทิศ ตะวันออก พบเศษภาชนะเนือ้ ดิน และเนือ้ ดินแกร่งหลายชิน้ แม้พนื้ ทีจ่ ะมีความลาดเอียง แต่ก็คงมีการอยู่อาศัยร่วมสมัยปัจจุบัน และสมัยล้านนา หลุมขุดค้นที่ ๓ ด้านทิศเหนือของเวียงเจ็ดลิน บนเนินขนาดเล็กริมร่องน�้ำใกล้ ต้นมะม่วงป่า พบโบราณวัตถุสมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยล้านนาและร่วมสมัยปัจจุบัน โบราณวัตถุสมัยล้านนา พบในชัน้ ดินตอนบนของหลุม ได้แก่ เศษภาชนะเนือ้ ดิน และเนือ้ แกร่ง ซึง่ ตัดขาดแยกจากชัน้ ดินสมัยก่อน ประวัตศิ าสตร์ทยี่ งั ไม่สามารถระบุกลุม่ วัฒนธรรมได้ แต่พอทราบว่า เป็นกลุม่ คนทีม่ เี คลือ่ นย้ายสูงและเดินทางไกลมาเพือ่ หากินบริเวณนี้ เพราะ เครื่องมือหินที่พบ เป็นหินจากพื้นที่ห่างไกลออกไปมาก

24 วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี


หลุมขุดค้นที่ ๔ ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ ของเวียงเจ็ดลิน บริเวณสวนรุกขชาติพบ โบราณวั ต ถุ ม ากกว่ า หลุ ม ขุ ด ค้ น ที่ ๑-๓ แสดงว่าเป็นพืน้ ทีท่ มี่ กี ารใช้ทำ� กิจกรรมมาก ประเภทโบราณวัตถุหลากหลายและเป็น ชิ้ น ส่ ว น อาจเพราะไม่ มี ก ารอยู ่ อ าศั ย ในบริเวณนี้มายาวนาน หรือโบราณวัตถุ ถูกน�้ำไหลพัดพามารวมกัน เพราะเป็นที่ต�่ำ หลุมขุดค้นที่ ๔/๑ บนไหล่ก�ำแพงเมือง ใกล้หลุมที่ ๔ พบหลักฐานร่วมสมัยปัจจุบัน ร่วมสมัยล้านนา โดยพบโบราณวัตถุมากกว่าหลุมที่ ๔ แต่เป็นบริเวณคันดินซึ่งไม่เป็นพื้นที่ ส�ำหรับอยู่อาศัย เป็นเศษภาชนะที่มีสภาพเกือบสมบูรณ์

หลุ ม ขุ ด ค้ น ที่ ๕ ด้ า นทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ของเวี ย ง เจ็ดลิน ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พบกระเบือ้ ง ดินของสมัยล้านนาจ�ำนวนมาก พบวัตถุที่ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เช่น เศษภาชนะดินเผาเนื้อดิน เนื้อแกร่ง ตะคันดินเผา แท่นหิน บดยา และเบี้ยดินเผา แสดงว่าเป็นพื้นที่ๆ มีการอยู่อาศัยของคน ในกลุม่ วัฒนธรรมล้านนา และอาจมีอาคารทีม่ งุ หลังคาด้วยกระเบือ้ ง ดินขออยู่ในบริเวณใกล้เคียง

วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี

25


เวียงเจ็ดลิน

อาจารย์จ�ำเหลาะ สมจิตต์ อาจารย์อาวุโส มทร.ล้านนา ภาคพายัพ

นครรัฐเก่าแก่เชิงดอยสุเทพก่อนนพบุรศี รีนครพิงค์เชียงใหม่

จารึกดินเหนียวลัวะเจ็ดลิน

เวียงเจ็ดลิน กับ เมืองเชียงใหม่

เวียงเจ็ดลิน หรือเวียงเชษฐบุรี หรือเวียงลัวะ มีพญา สระเกศ เป็นผู้ปกครององค์แรก และมีพญาปกครองสืบต่อมาอีกเป็นเวลานาน มีอายุประมาณ ๑๖๐๐ ปี (หลักฐานอาจ ขัดแย้งกันบ้าง แต่กเ็ ป็นสิง่ ทีน่ กั ประวิตศิ าสตร์นา่ จะศึกษาค้นคว้าความเป็นมาและขุดค้น เวียงเจ็ดลิน เพื่อจะได้เป็นกุญแจส�ำคัญในการศึกษาชนเผ่าลัวะ กับ ไต ชนชาติที่อาศัยอยู่ ในบริเวณนี้อย่างชัดแจ้งยิ่งขึ้น) เมื่อท้าวค�ำแดงราชบุตร สร้างเวียงล้านนาที่ดอยอ่างสลุง (ดอยอ่างสรง) ในเขต เชียงดาวแล้วให้ลวั ะชือ่ มามุตตะลาง ปกครองเป็นพญาองค์แรกและให้ลวั ะในเวียงล้านนา ถือสัจจะรักษาศีลบ้านเมืองอยู่ดีมีสุข มีพญาปกครองสือทอดต่อมาหลายชั่วจนเมืองหล่ม ในสมัยพญาคาว เนื่องจากเอาปลาฝาเผือก (ตะพาบน�้ำ) มากิน คนที่หนีรอดพามากัน มาสร้างเวียงใหม่ชื่อ เวียงนารัฐะมีพญามินนราช อันสืบแต่พญาคาวครองเป็นองค์แรก และมีลูกหลานสืบต่อกันมาไม่กี่เช่นท้าวจนถึงพญามุนินนพิชชะ เวียงนารัฐหล่มลงอีก เพราะคนขาดศีลขาดสัจจะ ก่อนที่เวียงจะหล่มลง ฤษีได้มาชักชวนผู้คนให้ออกจากเวียง แล้วหาที่สร้างเวียงใหม่ตามความในประชุมพงศาวดารลานนา หน้า ๑๔๐ บันทึกไว้ว่า “...ทีนั้นพระฤษีตนผู้ (มีเมตตามหากรุณา ก็ลงมาแล้วชี้ที่เวียงเจ็ดลินนั้นหื้อเขาทั้งหลาย และเมื่อนั้นเป็นแพะ (ป่า) อยู่หล้างแห่งยังเป็นดงอยู่ เขาก็ชวนกันแผ้วแล้วก็ชวนกัน แปงรั้วแปงเวียงอยู่ที่นั้น ที่จิ่มข้างทิศตะวันออกตีนเขาอุสุบรรพตนั้นก็มีแล เจ้าฤษีใส่ ชื่อว่าเมืองเชษฐบุรี (คือ เวียงเจ็ดลิน) เจ้าตนเสวยเมืองนั้นชื่อว่า พระยาสระเกศเป็น เค้าภายขรพะกูลลัวะ มีพระยาวีวอ (วิงวอ) เป็นเค้าเป็นประธานและเขาก็ฟู่กันอยู่เป็นสุข คติคะมะณาเป็นดีด้วยเข้าของสมบัติแท้แล” ท้าวพญาครองสืบกันมาตั้งแต่พญาสระเกศ และอีก ๑๕ ท้าว เวียงเชษฐบุรีก็มีผีขอก ฟ้าตายืน (พงศาวดารโยนก ว่า แถวมานตาทอบขอบฟ้าตายืน เรียกแถวแมนว่า ผีด�ำ อาจ หมายถึงขอม ขอบฟ้าตายีน คือ ฝั่งทะเล ผีที่ล้อมเวียงเจ็ดลิน อาจเป็นขอมด�ำที่อยู่ทางฝั่ง ตะวันออก (ทะเล) ของประเทศเขมรในปัจจุบนั ก็ได้) เวียงเจ็ดลินทีถ่ กู ผีดำ� ล้อมอยูเ่ ป็นสมัย ที่พญาวีวอปกครอง มีชาวลัวะกับชาวไตอาศัยร่วมกันในเวียง ในสมัยขุนวิลงั คะ (มิลกั ขะ) ปกครองเวียงเจ็ดลินตรงกับสมัยพระนางจามเทวีปกครอง หริภุญไชย (พ.ศ.๑๒๐๒ หนังสือชินกาลมาลีปกรณ์, พ.ศ. ๑๓๑๑-๑๓๑๒ หนังสือล้านนา ไทย) ถ้าประมาณอายุของเวียงเจ็ดลินจากสมัย ขุนวิลงั คะ ถึงปัจจุบนั จะตกราว ๑,๒๐๐ ปี หรือ ๑,๓๐๐ ปี ถ้านับอายุประมาณตั้งแต่พญาสระเกศ ผู้ปกครองเชษฐบุรีองค์แรก น่าจะมีอายุระหว่าง ๑,๖๐๐-๑,๗๐๐ ปี นับว่าเวียงเจ็ดลินเป็นเวียงเก่าแก่เวียงหนึง่ ในกลุม่ นครรัฐที่ราบลุ่มแม่น�้ำแม่ปิง

เมือ่ ขุนวิลงั คะครองเวียงเชษฐบุรี กล่าวในประวัตพิ ระนางจามเทวี ว่า... “พระนางจามเทวี หันก�ำลังฤทธีพระยาลัวะฉันนั้น จึงเอายังผืนผ้านุ่งชั้นในมาซักหื้อขาวดีแล้ว มาตัดหยิล (เย็บ) เป็นหมวกประดับ ด้วยแก้วด้วยค�ำ แต่งคนใช้น�ำไปถวายขุนวิลังคะหั้นแล พระยาลัวะก็ยินดีร�ำเพิง (ร�ำพึง) ว่า กูจักได้นางจามเทวีเป็นเมียแท้ชะแล ว่าอั้น ซ�้ำพุ่งเสน้าแถมก�ำหนึ่งก็บ่พ้นดอย เหตุว่ามันเสียก�ำลังฤทธีไปด้วยหมวกแห่งนางนั้นแลขุนวิลังคะบังเกิดโกธะนัก จิ่งขับเอารี้พลโยธา แห่งตนประมาณว่า ได้ ๘๐,๐๐๐ ลงมาตึ้งทัพอยู่วันตกเต็ม ๓ โท่งจึงได้ชื่อว่า สามทวง และสันมหาพล หั้นแล”

26 วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี


อาณาจักรหริภญ ุ ไชยมีชยั ชนะเหนือเวียงเจ็ดลินทีข่ นุ วิลงั คะปกครองอยู่ เวียงเจ็ดลินคงมีการปกครองตนเองสืบต่อมา จนหริภญ ุ ไชย เกิดอหิวาตกโรคระบาด ในปี พ.ศ. ๑๕๙๐ ชาวเมืองที่มีเชื้อสายมอญได้พากันอพยพหนีภัยไปสู่เมืองสะเทิม หรือสุธรรมนคร และเมือง พะโคในพม่าเป็นเวลา ๖ ปี แล้วจึงหลับสูห่ ริภญ ุ ไชย ในครัง้ นีล้ วั ะเวียงเจ็ดลินจะต้องรูข้ า่ วหรืออหิวาตกโรคอาจระบาดมาถึงเวียงเจ็ดลิน ด้วย ท�ำให้ผคู้ นภัยออกจากเวียงเจ็ดลินด้วย ท�ำให้ผคู้ นภัยออกจากเวียงเจ็ดลิน จนเวียงร้างชัว่ ระยะเวลาหนึง่ (แต่ไม่ทราบว่าหนีไปแห่งใด เพราะไม่ปรากฏหลักฐาน) พ.ศ.๑๘๒๔ พญามังรายตีนครหริภุญไชยได้จากพญายี่บา และเข้าครองหริภุญไชยอยู่ ๒ ปี จึงเวรให้อ้ายฟ้าขุนนางผู้เป็นไส้ศึก ในหริภุญไชยปกครองสืบไป (อ้ายฟ้าเป็นลัวะ จากการเล่าของชาวลัวะที่อาฆาตแค้นที่ขุนหลวงวิลังคะพ่ายแพ้ต่อพระนางจามเทวีว่า “เวียงหริภญ ุ ไชยจะต้องหล่มลงเพราะลัวะ”) ต่อมาพญามังรายได้นำ� ผูค้ นมาสร้างเวียงกุมกามในปี พ.ศ. ๑๘๒๙ แต่เวียงกุมกามก็มปี ญ ั หา เรือ่ งเวียงหล่ม พญามังรายจึงได้เสด็จออกหาชัยภูมสิ ร้างนพบุรศี รีนครพิงค์เชียงใหม่ ในปี พ.ศ.๑๘๓๕ ซึง่ ต�ำนานพืน้ เมืองเชียงใหม่ บันทึก ไว้วา่ “เจ้าคืนมาอยูก่ มุ กามหมดฤดูหนาวแล้ว เจ้ามังรายก็ทรงช้างมงคล ตัวประเสริฐมีหมูโ่ ยธาแวดล้อมเป็นบริวาร ไปแอ่วเลียบตีนดอย อุชปุ ตั ตา คือว่าดอยสุเทพ ก็หอื้ พรานป่าทังหลายไปไล่ปา่ ไล่เนือ้ ตามตีนดอย เกีย้ วออกทิศวินออกตามราวป่า ก็ไปพบป่าเลาลอมคาทีห่ นึง่ ” การหานิมติ ของพญามังรายเพือ่ สร้างเวียงใหม่นนั้ ได้ขนึ้ มาถึงเชิงดอยสุเทพอันเป็นทีต่ งั้ เวียงเจ็ดลินเพือ่ มองหาท�ำเลทีต่ งั้ เวียงแห่งใหม่ แล้วร�ำพึงว่า “แต่กูมาแอ่วหาที่จักตั้งเวียงก็หลายที่หลายแห่งแล้วบ่พบสักแห่ง จึงมาพบที่นี้เป็นชัยภูมิ์ควรสร้างเวียงกรอมที่นี้ หื้อเห็น ชัยนครควรแลในที่ลอมคานี้กูจักตั้งคุ้มวังมณเฑียรหอนอนได้อยู่หื้อทรงหื้อเป็นสุขสวัสดีแล ว่าอั้น” สถานที่ที่พญามังรายได้มายืนเพื่อ ดูชัยภูมิ มีหลักฐานโบราณวัตถุในเวลาต่อมาว่า คือวัดหมูบุ่น ทางทิศเหนือของเวียงเจ็ดลินเป็นเนินเขาสูงพอที่จะมองเห็นชัยภูมิของตัว เมืองเชียงใหม่ได้เป็นอย่างดี ต่อมาพญามังรายได้สร้างวัดหมูบุ่นให้พระมเหสี เนื่องจากพระมเหสีเห็นหมูบุ่นอยู่บริเวณเนินนั้น เมื่อตาม เข้าไปกลับไม่พบซี่งเป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก พ.ศ. ๑๙๘๑ มีการกล่าวถึงเวียงเจ็ดลินเรื่องเจ้ายี่กุมกามกินเมืองเชียงราย ร�ำถึงว่า “เป็นพี่แต่ไม่ได้เป็นเจ้ากินเมืองเชียงใหม่ แต่ พระเจ้าสามฝั่งแกนผู้น้องกลับได้กินเมืองเชียงใหม่” จึงยกทัพมาจากเชียงรายเพื่อแย่งเมืองเชียงใหม่แต่พ่ายแพ้กลับไป เจ้ายี่กุมกามไป พึ่งพญาไสลือ เมืองสุโขทัยขอทัพมาช่วยตีเชียงใหม่ พญาไสลือยกพลมาช่วยตั้งทัพอยู่ตีนดอยเจ็ดลิน ตั้งแต่หัวลินจนถึงดอยเจ็ดลิมตาม ต�ำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ หน้า ๔๖ กล่าวไว้ว่า “วันนั้นพระยาไสสือไปนอนหนองไผ่ จิ่มแง่ง�้ำ แล้วขึ้นเหนือแม่ปิงมาวันตกไปตาทางเป็นเถื่อน วันหนี่งพระยาไสสือว่า กูได้กินน�้ำ ๗ ริน ยินร�ำแก่ใจนัก น�้ำที่ใดจะเป็นดังน�้ำ ๗ รินนั้นจา ว่าอั้น ด้วยอนุภาวะแห่งพระยาไสสือ น�้ำจึงแตกแต่ดอยนั้นมาหื้อพระยาได้เสวยล�ำ ดังน�ำ้ ๗ รินนัน้ เลยได้ชอื่ ว่าดอยน�ำ้ รินมาต่อเท้าบัดนี”้ อีกตอนหนีง่ กล่าวถึงพระเจ้าสามฝัง่ แกน ทีบ่ รู ณะเวียงเจ็ดลินไว้วา่ “เมือ่ นัน้ พระ สามผะหยาฝัง่ แก่น เอานิมติ อันพระยาไสสือเอาพลศึกไปตัง้ อยูต่ นี ดอยเจ็ดรินแล้วขึน้ ไปด�ำหัวสรงเกษยังผาลาดหลวง มีใจกลัวริพลชาว เชียงใหม่มากนัก เจ้าสามผะหยาฝั่งแก่นจึงหื้อสร้างเวียงเจ็ดลินไว้เป็นที่ชัยชนะแก่ข้าศึกศัตรูก็มี หั้นแล” เวียงเจ็ดลินเป็นเวียงที่ประทับของพระยาสามผญาฝั่งแก่น มีกล่าวไว้ในเรื่องท้าวลก โอรสองค์ที่ ๖ ที่ท�ำผิดอาชญาในขณะทีครอง เวียงพร้าวอยู่ พระราชบิดาจึงให้ไปอยู่เวียงยวมใต้ต่อมานายสามเด็กย้อยคิดไม่ซื่อต่อพระยาสามผญาฝั่งแก่น โดยคิดจะให้ท้าวลกพระ โอรสกินเมืองเชียงใหม่ จึงให้คนไปเชิญท้าวลกจากยวมใต้เข้ามาในเมืองเชียงใหม่โดยไม่มใี ครรู้ ซึง่ ต�ำนานพืน้ เมืองเชียงใหม่กล่าวไว้ดงั นี้ “ในขณะนัน้ พระยาสามผญาฝัง่ แก่นบ่ออยูใ่ นเวียงเชียงใหม่ เท่าอยูเ่ วียง ๗ ลิน เป็นปกติบน่ านเท่าใด ยังมีในวันหนึง่ นามจักใกล้เทีย่ งคืน นายสามเด็กย้อยเอาไฟเจาะประสาทเจ้าพระยาสามผญายังเวียง ๗ ลินเสียสิ้นเสี้ยงแล้วหนี เข้ามาอยู่เวียงยามจักใกล้รุ่งพระยาสาม ผญารูว้ า่ ลูกตนเข้ามาอยูเ่ วียงเจ้าก็ทรงม้าแล่นแต่เวียง ๗ ลิน เข้ามาถึงคุม้ จึงรูว้ า่ ลูกตนมาอยูใ่ นราชมณเฑียรแล้ว รุง่ เช้าเจ้าพระยาพ่อลูก จึงออกนัง่ ตัง่ ตันและอันอยูข่ า้ งโรงหลวง เบือ้ งเหนือเจ้าท้าวติลกหือ้ เป็นพระยาว่าอัน้ จึงเอาน�ำ้ ต้นคันธีทำ� มาหยาดเวนเมืองหือ้ แก่ลกู ตน...” เวียงเจ็ดลินเป็นพระราชวังประทับร้อนของพระเจ้าสามฝั่งแกน กษัตริย์ราชวงศ์มังรายองค์ที่ ๑๑ ครองราชย์ พ.ศ.๑๙๔๕-๑๙๘๕ และต่อมาพระเจ้าติโลกราชพระราชโอรส ซึง่ ครองราชย์เป็นกษัตริยอ์ งค์ที่ ๑๒ ได้ทำ� นุบำ� รุงพระศาสนาไว้มากในเชียงใหม่ และได้บรู ณะ เวียงเจ็ดลินทีไ่ ฟไหม้ให้เรียบร้อยเสียใหม่ เพือ่ เป็นทีป่ ระทับของพระองค์และกษัตริยร์ าชวงศ์มงั รายองค์ตอ่ ๆมา จนถึง พ.ศ. ๒๐๖๙ พม่า เข้าครองเชียงใหม่ เวียงเจ็ดลินมิได้ถูกกล่าวถึงอีกเลย จนกระทั่งมีการตั้งโรงเรียนมหาดเล็กหลวง (พ.ศ.๒๔๕๙-๒๔๖๘) ที่เวียงเจ็ดลิน ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เวียงเจ็ดลินปัจจุบันเป็นที่ตั้งของสถานที่ราชการ เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ สวนรุกขชาติ ศูนย์ราชการกรมปศุสตั ว์เชียงใหม่ สวนสัตว์เชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึง่ อยูใ่ นเวียงปูปวงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ ๙๐๐ เมตร มหัศจรรย์ยิ่งที่ยังเหลืออยู่ให้ทุกคนช่วยกันอนุรักษ์ต่อไป วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี

27


กระทรวงพาณิ ช ย์ Ministry of Commerce ขอแสดงความยินดี

ในโอกาส ครบรอบ

55ปี มทร.ล้านนา

ภาคพายัพ เชี ย งใหม่ กระทรวงพาณิชย์...

“เพือ่ ความอยูด่ กี นิ ดี ...ของประชาชน”

กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ 44 /100 ถนน นนทบุรี 1 ต�ำบลบางกระสอ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี 28 วารสาร โทร. 0-2507-6111 โทรสาร 0-2547-5361

นายบุญทรง เตริยาภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์


๙ กา้ ว

ผลงานเด่ น ต่อไปราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

นศ.ปี 4 สิง่ ทอ รับพระราชทานรางวัล การออกแบบชุดผ้าไหม สมเด็จพระนางเจ้ าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้ าฯ ให้ สมเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ พระราชด�ำเนินแทนพระองค์ เป็ นองค์ประธาน เปิ ดงาน “ตรานกยูงพระราชทาน สืบสานต�ำนาน ไหมไทยเฉลิ มพระเกี ยรติ สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริกิติ์ พระบรมราชิ นีนาถ เนือ่ งในวโอกาสมหา มงคลเฉลิ มพระชนมพรรษา 80 พรรษา 12 สิ งหาคม 2555” ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติ สิริกิต์ิ

ในการนีน้ างสาวนวพร สมานพันธุ์นุวฒ ั น์ นักศึกษาชันปี ้ ที่ 4 สาขาสิง่ ทอ คณะศิลปกรรม และสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ ได้ เ ข้ า รั บ รางวัล โล่ พ ระราชทานสมเด็ จ พระนางเจ้ าสิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ จากการส่ ง ผลงาน การออกแบบชุดผ้ าไหม ประเภทชุดแต่งกาย ประจ�ำวัน Ready to wear ยังความสร้ างความ ปลื ้มปิ ตแิ ก่นางสาวนวพร สมานพันธุ์นวุ ฒ ั น์ และ มหาวิทยาลัย อย่างหาที่สดุ มิได้ วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี

29


องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่

ขอแสดงความยินดีกบั มทร.ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

เนือ่ งในโอกาส ฉลองครบรอบ

๕๕ ปี นายบุญเลิศ บูรณุปกรณ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่

30 วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี


นักศึกษาวิศวะ คว้าแชมป์ M-150 Ideology 2 ปี ซ้อน!

นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ได้ ครองถ้ วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และทุนการศึกษาจาก บริ ษัท โอสถสภา จ�ำกัด เป็ นเจ้ าภาพจัดการแข่งขัน โครงการ M-150 Ideology 2 ปี ติดต่อกัน คือ ปี 2553 ทีมพยัคฆ์ล้านนา ได้ รับรางวัลชนะเลิศจากโครงการระบบผลิตไฟฟ้าพลังงาน ทดแทนเพื่ออุปกรณ์ สื่อการเรี ยนการสอน โรงเรี ยนบ้ านพลัง่ แท อ� ำเภออมก๋อย จังหวัด เชียงใหม่ ปี 2554 ทีมพยัคฆ์ล้านนา 2 ได้ รับรางวัลชนะเลิศจากโครงการระบบผลิตไฟฟ้าพลังงาน โซลาร์ เซลล์ส�ำหรับศูนย์บม่ เพาะยุวชน ICT โรงเรี ยนต�ำรวจตระเวนชายแดนชมรมอนุรักษ์ พุทธศิลปไทยอนุสรณ์ บ้ านแสนค�ำลือ ณ โรงเรี ยนต�ำรวจตระเวนชายแดนชมรมอนุรักษ์ พุทธศิลปไทยอนุสรณ์ บ้ านแสนค�ำลือ หมูท่ ี่ 2 ต.ถ� ้ำลอด อ.ปางมะผ้ า จ.แม่ฮอ่ งสอน จากรางวัลที่ได้ รับ แสดงให้ เห็นถึงศักยภาพของบัณฑิตนักปฏิบตั ิ ที่ได้ น�ำองค์ความรู้ มาสร้ างสรรค์เป็ นประโยชน์ตอ่ สังคมอย่างแท้ จริ ง

วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี

31


¢ÍáÊ´§¤ÇÒÁÂÔ¹´Õ ã¹âÍ¡ÒÊ

¤ÃºÃͺ 55 »‚

ÁËÒÇÔ · ÂÒÅÑ Â à·¤â¹âÅÂÕ Ã ÒªÁ§¤ÅÅé Ò ¹¹Ò ÀÒ¤¾ÒÂÑ ¾ àªÕ  §ãËÁè

บริษัท โตโยต ้านครพิงค์ เชียงใหม่ จ�ำกัด 130/555 หมู่ 9 เชียงใหม่-ฮอด ต.แม่เหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50100 โทร.053-999888

¢ÍáÊ´§¤ÇÒÁÂÔ¹´Õ ã¹âÍ¡ÒÊ

¤ÃºÃͺ 55 »‚

ÁËÒÇÔ · ÂÒÅÑ Â à·¤â¹âÅÂÕ Ã ÒªÁ§¤ÅÅé Ò ¹¹Ò ÀÒ¤¾ÒÂÑ ¾ àªÕ  §ãËÁè

ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี 32 วารสาร บริษัท ธาราอีซซ ู ุ จ�ำกัด 99/10 ม. 5 ถ.เชียงใหม่-ดอยสะเก็ด ต.หนองป่ าครั่ง อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000 โทร.053-244671-7


นศ.วิศวะคอมฯ คว้ารางวัล

To Be Number One Teen Dancercise Thailand Championship 2012 นั ก ศึ ก ษาสาขาวิ ศ วกรรมคอมพิ ว เตอร์ เข้ า ร่ ว มการแข่ ง ขัน To Be Number One Dancercise Thailand Championship 2012 ใน นามตัวแทน ณ MCC ฮอล์ล เดอะมอลล์บางกะปิ กรุ งเทพ โดยได้ รับรางวัลชมเชย จากทัง้ หมด ทั่ว ประเทศ 72 ที ม และได้ รั บ พระราชทาน รางวั ล ชมเชยจาก ทู ล กระหม่ อ มหญิ ง อุบลรัตนราชกัญญา สิริวฒ ั นาพรรณวดี

วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี

33


สมาคมศิษย์เก่า

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

ขอแสดงความยินดีใน โอกาส ครบรอบ 55 ปี

มทร.ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

ขอแสดงความยินดีในโอกาส ครบรอบ 55 ปี

มทร.ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

ขอแสดงความยินดีในโอกาส ครบรอบ 55 ปี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

ขอแสดงความยินดีในโอกาส ครบรอบ 55 ปี

มทร.ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

34 วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี

(IPPC) International Precision Products Co.Ltd 19 T.Makhuajae, A.Muang, Lamphun 51000 Telephone :- +66 53 503997, +66 53 559500-1 Fax :- +66 53 503073, +66 53 559509 E-mail :- contact@i-p-p-c.com


นักศึกษาศิลปกรรมฯ คว้ารางวัลยอดเยีย่ ม Asia Star Packaging Awards 5 ปี ซ้อน!

นักศึกษาจากสาขาออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ คณะศิลปกรรมและสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มทร.ล้ านนา ภาคพายัพ เชี ยงใหม่ ได้ รับ รางวัล The winner จากการแข่งขัน Asia Star Packaging Awards 2 ปี ติดต่อกัน ซึง่ การแข่งขันดังกล่าวเป็ นเวทีแห่งแรงผลักดัน ผลงานการออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ใหม่ ทีม่ าจาก ความคิ ด ริ เ ริ่ ม สร้ างสรรค์ และค� ำ นึ ง ถึ ง ความส�ำคัญด้ านสิง่ แวดล้ อม อีกทังสามารถ ้ น�ำไปใช้ ประโยชน์และสร้ างมูลค่าเพิ่มได้ ในปี 2551 นายภัทรกร ออแก้ ว ได้ รับ รางวัล The Winner จากการประกวด Asia Star Packaging Award 2008 จากผลงาน การออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์หวั โขน ในปี 2552 นายชัยวุฒิ อินต๊ ะสาร ได้ รับ รางวัล The Winner จากการประกวด Asia Star Packaging Award 2009 จากผลงาน การ ออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ถ้วยเซรามิกรู ปดอกไม้ ขณะที่ นางสาวพิมพรรณ นะงอลา ได้ รับ

รางวัลจากผลงาน การออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ ชุดถ้ วยน� ้ำชา-ช้ างศิลาดล ในปี 2553 นางสาวพิมพรรณ นะงอลา ได้ รับรางวัล The Winner จากการประกวด Asia Star Packaging Award 2010 จาก ผลงาน บรรจุภณ ั ฑ์ชดุ แจกันดอกไม้ เซรามิก Rotate 360 ํ นายอนุรกั ษ์ เครือติบ๊ ได้ รบั รางวัล จากผลงานบรรจุภณ ั ฑ์เรื อส�ำเภา Yin และ นางสาวนนทิรา สีทิ ได้ รับรางวัลจากผลงาน โคมไฟลายฉลุ ในปี 2554 นางสาวศรัณญา ค�ำสอน ได้ รับรางวัลยอดเยีย่ ม Asia Star 2011 winners ประเภทต้ นแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อการขนส่ง ระดับนักศึกษา ในชื่อผลงาน Packaging of a Carved Wooden Elephant Candle Holder และ นายมัง กร สมองดี ได้ รั บ รางวัลยอดเยี่ยม Asia Star 2011 winners ประเภทต้ นแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อการขนส่ง ระดับนักศึกษา ในชื่อผลงาน Packaging of

a Figure of Deva candle ในปี 2555 นายธนากร พงษ์ ดา ได้ รับ รางวัล ยอดเยี่ ย ม 2 รางวัล จากผลงาน ฮิมปิ ง บรรจุภัณฑ์ เรื อหางแมงป่ องจ�ำลอง และผลงาน M-Crown บรรจุภัณฑ์ แจกัน เซรามิก นางสาวอิชยา ศรี ใจวงค์ ได้ รับ รางวัลยอดเยี่ยม จากผลงาน Home Candle บรรจุภณ ั ฑ์เชิงเทียนเซรามิก และนายครรชิต ฟูกัน ได้ รั บ รางวัล ยอดเยี่ ย ม จากผลงาน Salaklai บรรจุภณ ั ฑ์เชิงเทียนไม้ แกะสลัก วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี 35


ขอแสดงความยินดี

ในโอกาส ครบรอบ

55 ปี มทร.ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

การกีฬาแห่งประเทศไทย

Sports Authority of Thailand

เทศบาลนครเชียงใหม่ ขอแสดงความยินดี ในโอกาส ครบรอบ 55 ปี มทร.ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ นายทัศนัย บูรณุปกรณ์ นายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่

ขอแสดงความยินดีในโอกาส ครบรอบ 55 ปี

มทร.ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

36 วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี


สโมสร นศ. มทร.ล้านนาภาคพายัพฯ คว้ารางวัลพัฒนาชุมชนดีเด่นระดับประเทศ

จาก SIFE Thailand

ผศ.ดร.พีระ จูน้อยสุวรรณ น�ำทีมสโมสรนักศึกษา มทร.ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ เข้ าร่ วมประกวด “โครงการพัฒนาชุมชนระดับอุดมศึกษาทัว่ ประเทศ” 2012 SIFE Thailand National Exposition จัดโดยมูลนิธิรากแก้ ว ระหว่าง 29 – 30 กรกฎาคม 2555 ณ มหาวิทยาลัย ศรี นริ นทร์ วิโรฒ โดยทีมของมหาวิทยาลัยฯ ได้ รับการคัดเลือกให้ เป็ นโครงการที่มีความโดดเด่น ด้ านสังคมและรางวัลโครงการที่มีความมุ่งมัน่ จากโครงการพัฒนาสังคม ณ บ้ านสงเคราะห์ เด็กชายเชียงใหม่ ปี 2555 พร้ อมกันนี ้ ผศ.ดร.พีระ จูน้อยสุวรรณ ได้ รับคัดเลือกให้ เป็ นอาจารย์ ที่ปรึ กษาโครงการดีเด่น รั บโอกาสศึกษาดูงาน การแข่งขันระดับโลก “SIFE World Cup” ณ กรุงวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริ กา ปลายเดือนตุลาคม 2555 ร่วมกับทีมชนะเลิศและกรรมการ ของ SIFE Thailand ซึง่ ได้ รับเกียรติจาก หม่อมราชวงศ์ ดิศนัดดา ดิศกุล ประธานมูลนิธิรากแก้ ว เป็ นผู้มอบรางวัล

วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี

37


ขอแสดงความยินดีในโอกาส ครบรอบ 55 ปี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

38 วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี


นศ.วิศวะไฟฟ้า ประกาศศักดาคว้าเหรียญ

จากแข่งขันฝีมอื แรงงานอาเซียน สาธารณรัฐอินโดนีเซีย กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน กระทรวงแรงงาน น�ำตัวแทนเยาวชน ไทย แข่งขันฝี มือแรงงานอาเซียน ครัง้ ที่ 9 ระหว่างวันที่ 15-17 พฤศจิ ก ายน ที่ ผ่ า นมา ณ จาการ์ ต าคอนเวนชั่น เซ็ น เตอร์ กรุ งจาการ์ ตา สาธารณรั ฐอินโดนี เซีย มี ผ้ ูเข้ าร่ วมการแข่งขัน กว่า 300 คน จาก 9 ประเทศในกลุม่ อาเซียน โดยไทยส่งเยาวชน ลงแข่งขัน 34 คน ใน 17 สาขา ผลปรากฏว่า เด็กไทยคว้ ามาได้ 5 เหรี ยญทอง 2 เหรี ยญเงิน 4 เหรี ยญทองแดง 12 รางวัลชมเชย ทัง้ นี ้ นายประจัก ษ์ เชื่ อ มศรี จัน ทร์ และ นายญาณวิ ท ย์ กิ่ ม บางยาง นัก ศึก ษาสาขาวิ ช าวิ ศ วกรรมไฟฟ้ าก� ำ ลัง คณะ วิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา สามารถคว้ าเหรี ยญทองแดง 1 เหรี ยญ จากการแข่งขันใน สาขา เมคคาทรอนิกส์ (ทีม) ผลงานของทังคู ้ ่ นับเป็ นการพิสจู น์ให้ นานาประเทศรับรู้ถงึ ฝี มือ ของนักศึกษาชาวราชมงคล ทีเ่ ก่งกาจไม่เป็ นรองใครในเวทีอาเซียน ได้ อย่างเต็มภาคภูมิ

วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี

39


ธนาคารออมสิน ภาค 8 ขอแสดงความยินดี

55 ปี

เนือ่ งในโอกาสฉลองครบรอบ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ขอแสดงความยินดีในโอกาส

ครบรอบ 55 ปี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

40 วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี


นศ.การตลาด เจ๋งคว้า “โครงการดีเด่นระดับภาคเหนือ”

จาการแข่งขัน “กรุงไทยต้นกล้าสีขาว”

นักศึกษาสาขาวิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มทร.ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ รับรางวัล “โครงการดีเด่นระดับภาคเหนือ” คว้ าถ้ วย พระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และรางวัล ศึกษาดูงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ พร้ อมทุนการศึกษา รวม มูลค่า 50,000 บาท จากการแข่งขันวางแผนกลยุทธ์ บนแนวทางการจัดการ ที่ยงั่ ยืนเศรษฐกิจพอเพียง “กรุ งไทยต้ นกล้ าสีขาว” เฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั เนือ่ งในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธั น วาคม 2554” เมื่ อ วัน ที่ 20 มกราคม 2555 ณ อาคาร 1 บมจ.กรุงไทย โดยนายอ�ำพล เสนาณรงค์ องคมนตรี ผู้มอบรางวัล ส� ำ หรั บ โครงการดัง กล่า ว จัด โดย บมจ.ธนาคารกรุ ง ไทย ได้ น้ อ มน� ำ พระราชด�ำริ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระเจ้ าอยูห่ วั มาเป็ นแนวทางในการจัดท�ำ โครงการ “กรุงไทย ต้ นกล้ า สีขาว” ตังแต่ ้ ปี 2550 โดยเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2555 นักศึกษาทีม TN 052 ร่วมถ่ายรูปกับคณะผู้บริ หารของมหาวิทยาลัยฯ รายชื่อทีม TN 052 ต้ นกล้ าทองค�ำ ตามรอยพ่อ ตามรอยแม่แมะ ประกอบด้ วย น.ส.กัลยารัตน์ บริ สทุ ธิ์ น.ส.กรณ์ นิภา มะโนศรี น.ส.รัตนภรณ์ แสงกาศ น.ส.สุจิณณา หินสด น.ส.สุรีย์รัตน์ สารสมบัติ อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ชรัญญา สุวรรณเสรี รักษ์ และอาจารย์ สุชาดา เลิศค�ำฟู

วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี

41


ขอแสดงความยินดีในโอกาส

ครบรอบ 55 ปี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

๕๕

ขอแสดงความยินดี เนือ่ งในโอกาส...

ครบรอบ 42 วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี

ปี มทร.ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่


อาจารย์ ศิลปกรรมฯ

คว้า 2 รางวัล Innovative Craft Award ศูนย์ส่งเสริ มศิลปาชีพระห่างประเทศ (องค์การมหาชน) หรื อ ศ.ศ.ป. SACICT จัด โครงการประกวดหัตถกรรมเชิงสร้ างสรรค์ หรื อ Innovative Craft Award เพื่อเปิ ดเวทีคดั สรร ช่างฝี มืองานศิลปหัตถกรรมและนักสร้ างสรรค์ของไทยในกลุม่ จักสานและเครื่ องปั น้ ดินเผา โดยมีการจัดแสดงผลงานและประกาศผลรางวัลในงาน BIG & BIH ระหว่างวันที่ 16 – 21 ตุลาคม 2555 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค กรุงเทพมหานคร ผศ.วาสนา สายมา อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาออกแบบอุตสาหกรรม คว้ ารางวัลชนะเลิศ ประเภทเครื่ องจักสาน จากผลงาน “โคมไฟรังนก” แนวคิดมาจากลักษณะกล้ วยไม้ ไอยเรศ ด้ วยการน� ำไม้ ไผ่ซึ่งเป็ น วัตถุดบิ ทีม่ อี ยูใ่ นท้ องถิ่นมาใช้ ขดั สานขึ ้นลวดลายเป็ นรูปดอกกล้ วยไม้ ชื่อไอยเรศ จากรูปลักษณ์ของความกลมเกลียวในตัวชิ ้นงานได้ น�ำมา เกาะเกี่ยวให้ เกิดรูป รับรางวัลเงินสด 20,000 บาท พร้ อมเกียรติบตั ร ผศ.ประกรณ์ วิไล อาจารย์ประจ�ำสาขาเทคโนโลยีเซรามิค คว้ า รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ประเภทเครื่ องปั น้ ดินเผา จากผลงาน “ก้ อนดิน” แนวคิดการน�ำก้ อนดินมารังสรรค์ปัน้ แต่ง ขึ ้นรู ปด้ วยมือ ทีละเม็ดพร้ อมการน�ำศาสตร์ แห่งธาตุทงั ้ 4 มาประยุกต์ใช้ แปรเปลีย่ น ก้ อนดินให้ เป็ นเครื่ องประดับ รับรางวัลเงินสด 20,000 บาท พร้ อม เกียรติบตั ร ส� ำ หรั บ โครงการประกวดหัต ถกรรมเชิ ง สร้ างสรรค์ Innovative Craft Award เกิดจากศูนย์ส่งเสริ มศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์ ก ารมหาชน) หรื อ ศ.ศ.ป. (SACICT) หน่ ว ยงานภายใต้ การก�ำกับดูแลของกระทรวงพาณิชย์ ซึง่ ด�ำเนินการส่งเสริ ม สนับสนุน และพัฒนางานศิลปะหัตกรรมพื ้นบ้ าน ตามโครงการส่งเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้ าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และยังเป็ นศูนย์กลาง ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาผลิตภัณฑ์ศลิ ปาชีพไทยให้ เป็ นทีร่ ้ ูจกั และ การยอมรั บจากทั่วโลก โดยมุ่งพัฒนาศักยภาพทัง้ ด้ านผลิตภัณฑ์ การออกแบบ ขยายตลาดงานหัตถกรรม ตลอดจนพัฒนางานช่างฝี มอื ของคนไทยสูร่ ะดับสากล

วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี

43


¢ÍáÊ´§¤ÇÒÁÂÔ¹´Õ ã¹âÍ¡ÒÊ

ดร.ชัยวัฒน์ แต้ไพสิฐพงษ์ ประธานกรรมการเครือเบทาโกร

¤ÃºÃͺ 55 »‚ ÁËÒÇÔ · ÂÒÅÑ Â à·¤â¹âÅÂÕ Ã ÒªÁ§¤ÅÅé Ò ¹¹Ò ÀÒ¤¾ÒÂÑ ¾ àªÕ  §ãËÁè

เครือเบทาโกร อาคารเบทาโกร ทาวเวอร์ (นอร์ทปาร์ค) 323 ถนนวิภาวดีรังสิต หลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทร. 02-8338000 โทรสาร 02-8338001

44 วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี


นศ.สารสนเทศฯ คว้ารองอันดับ 2 ประกวดวีดทิ ศั น์ เฉลิมพระเกียรติ ระดับประเทศ

นายศราวุธ พรมเกตุ และนางสาวขวัญฤทัย ดนตรี นักศึกษา ชันปี ้ ที่ 3 สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ คณะบริหารธุรกิจ และศิลปศาสตร์ มทร.ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ (จอมทอง) โดยมีอาจารย์เกิดศิริ ชมภูกาวิน เป็ นอาจารย์ที่ปรึกษา คว้ ารางวัล รองชนะเลิศอันดับ 2 ประเภท ผลงานระดับนิสิต นักศึกษาระดับ อุดมศึกษาจากการส่งวีดิทัศน์ สนั ้ ในหัวข้ อ “เราจะครองแผ่นดิน

โดยธรรมเพื่ อ ประโยชน์ สุข แห่ง มหาชนชาวสยาม” ในโครงการ ประกวดวีดีทศั น์สนเฉลิ ั ้ มพระเกียรติรวมใจไทยเป็ นหนึง่ น้ อมร� ำลึก ถึงพระมหากรุ ณาธิ คุณ ในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ภูมพิ ลอดุลเดชได้ เสด็จขึ ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ 72 ปี บรมราชาภิเษก จัดโดยส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติโดยพิธมี อบโล่และเกียรติบตั ร เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2555 ณ ท�ำเนียบรัฐบาล กทม. วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี 45


ดร.เอนก เพิ่มวงศ์เสนีย์ กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ บมจ. อสมท. จ�ำกัด (มหาชน)

ขอแสดงความยินดี ในโอกาส

ครบรอบ 55 ปี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

46 วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี


Longan seeds

ครีม “ลองกานอยด์”

จากสารสกัดเมล็ดล�ำไย...งานวิจัยจากหิ้งเพื่อผู้บริโภค ศ.ดร.อุษณีย์ วินิจเขตค�ำนวณ ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

หลักการและเหตุผลในการคิด/ประดิษฐ์ : การสร้ างมูลค่ าเพิ่มให้ แก่ ลำ� ไย การสร้ างมูลค่าเพิม่ ทางเศรษฐกิจให้ แก่เมล็ดล�ำไยซึง่ เป็ นของเหลือทิ ้ง โดยการพัฒนาให้ เป็ นสารสกัดมาตรฐาน ที่ มีผลงานวิจัยรองรั บประสิทธิ ผลการยับยัง้ การเสื่อมสลายของกระดูกอ่อนและประดิษฐ์ ให้ เป็ นผลิตภัณฑ์ เพื่อสุขภาพในรูปแบบครี มนวดใช้ ทาภายนอก เช่นนวดหัวเข่าและนวดกล้ ามเนื ้อรวมถึงเอ็นที่อกั เสบ นวดเพื่อชะลอ การเสื่อมของกระดูกอ่อนที่เป็ นสาเหตุหลักของโรคปวดตามข้ อต่างๆ เช่นโรคกระดูกเสื่อม โรคข้ อเสื่อม-รูมาตอยด์ และกล้ ามเนื ้ออักเสบเรื อ้ รังที่เป็ นปั ญหาด้ านสาธารณสุขทังประเทศไทยและต่ ้ างประเทศ ครี มนวดลองกานอยด์ ไม่เพียงระงับปวดได้ ยังสามารถแก้ ไขปั ญหาโรคกระดูกและกล้ ามเนื ้อเสื่อมตังแต่ ้ ต้นเหตุ เพราะประสิทธิภาพของ สารสกัดเมล็ดล�ำไยช่วยป้องกันและยับยังเอนไซม์ ้ ทจี่ ะสลายโครงสร้ างกระดูกอ่อนตามบริเวณข้ อต่อรวมทังกล้ ้ ามเนื ้อ คอลลาเจนและอิลาสตินได้ เป็ นอย่างดี ซึง่ สาระส�ำคัญในสารสกัดเมล็ดล�ำไย อาทิเช่น กัลป์ลิกแอซิด เอลาจิคแอซิด และสารอื่นๆ ที่อยู่ในกลุ่มโพลีฟีนอล มีผลวิจยั สนับสนุนจากต่างประเทศเช่นกันถึงฤทธิ์ยบั ยังการอั ้ กเสบและ การเสื่อมของกระดูกอ่อน การสร้ างผลิตภัณฑ์ สุขภาพที่เหมาะสมกับผู้บริโภค เนื่องจากปั จจุบนั ที่โรคข้ อเข่าอักเสบ ข้ อเข่าเสี่อม เป็ นปั ญหาของสุขภาพที่เกิดขึ ้นบ่อยในผู้ที่สงู วัย และเป็ น ปั ญหาที่พบทัว่ โลก ท�ำให้ ผ้ ปู ระสบปั ญหาเกิดความทรมานจากความเจ็บป่ วยตลอดจนปั่ นทอนทังสุ ้ ขภาพจิตและ สุขภาพกาย การใช้ ยารักษาเป็ นเพียงการบรรเทาความเจ็บป่ วยแต่กลับท�ำให้ เกิดผลข้ างเคียงทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ตามมา เนื่องจากยารักษาโรคปวดเข่าหรื อข้ อเข่าอักเสบในปั จจุบนั มักเป็ นยากลุม่ สเตียรอยด์หรื อยากลุม่ หรื อยากลุม่ ไม่ใช่ สเตียรอยด์ (NSAID; Non steroid anti-inflammatory drug) ซึง่ ท�ำให้ เกิดอาการข้ างเคียงที่ไม่พงึ ประสงค์หลาย ประการ โดยเฉพาะไม่เหมาะสมต่อผู้ป่วยสูงอายุที่มีอาการเจ็บป่ วยอื่นร่วมด้ วย เช่น โรคความดันโลหิต โรคหัวใจ โรคกระเพาะอาหาร เพราะท�ำให้ อาการเจ็บป่ วยเหล่านี ้แสดงอาการที่รุนแรงขึ ้นจนเกิดอันตรายตามมา ถึงแม้ วา่ ในปั จจุบนั จะมีการน�ำกลุม่ ยา selective NSAID drug มาใช้ แต่ก็มีต้นทุนสูงมากและยังเป็ นการน�ำเข้ าวัตถุดิบ จากต่างประเทศท�ำให้ ประเทศไทยเสียดุลการค้ า ผลิตภัณฑ์ครี มนวดลองกานอยด์เพื่อสุขภาพที่เหมาะสมกับผู้บริโภค ได้ แก่ บุคคลที่มีปัญหาเกี่ยวกับโรคข้ อเข่า อักเสบและปวดเมื่อยกล้ ามเนื ้อ นักกีฬา ผู้ที่เป็ นโรคออฟฟิ ศซินโดรมและผู้ที่รักษ์ สขุ ภาพทุกคน ผลิตภัณฑ์ที่พฒ ั นา มีประโยชน์มหาศาลทังด้ ้ านกายภาพ และจิตใจต่อผู้ที่มีปัญหาข้ อเข่าอักเสบ ปวดเมื่อยกล้ ามเนื ้อ นอกจากจะท�ำให้ ประหยัดทังเงิ ้ นที่จะต้ องใช้ ในการรักษาโรคโดยตรงและรักษาอาการข้ างเคียง ยังเป็ นการน�ำสารจากธรรมชาติ และเป็ นวัสดุเหลือทิง้ จากการเกษตรมาแปรรู ปให้ ใช้ ได้ และเป็ นผลิตภัณฑ์ เพื่อสุขภาพที่เป็ นที่นิยม นอกจาก เป็ นการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้ แก่เมล็ดล�ำไย ซึ่งเป็ นของเหลือทิ ้งจากอุตสาหกรรมอบแห้ งเนื ้อล�ำไยสีทอง ยังเป็ นผลิตภัณฑ์นวัตกรรมจากธรรมชาติที่สามารถน�ำไปใช้ ป้องกันและรักษาอาการข้ อเข่าอักเสบ/ข้ อเข่าเสื่อม สามารถประหยัดงบประมาณ ในการรักษาโรคข้ างเคียงที่เกิดมาจากการใช้ ยาที่น�ำเข้ าจากต่างประเทศที่ก่อผล ข้ างเคียงไม่พงึ ประสงค์จากการใช้ ยาเป็ นเวลานานต่อเนื่องเป็ นการเกื ้อหนุนโครงการประกันสุขภาพถ้ วนหน้ าของ รัฐบาลและแพทย์ทางเลือก (alternative medicine) และมีสว่ นส่งเสริ มให้ เกษตรกรสวนล�ำไยมีรายได้ เพิ่มขึ ้นจาก เมล็ดล�ำไย

กิตติกรรมประกาศ ผลงานวิจยั จากโครงการวิจยั ได้ รับการสนับสนุนจากส�ำนักงานพัฒนาและวิจยั การเกษตร (องค์การมหาชน) , สวก. พ.ศ. 2551 รางวัล 1.2552 รางวัลนวัตกรรมดีเด่นระดับชาติ กรรมวิธีการเตรียมสารสกัดจากเมล็ดล�ำไยอบแห้ งทีม่ ฤี ทธิ์ต้านอนุมลู อิสระและยับยังการสลายกระดู ้ กอ่อน จากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2.2554 รางวัลนวัตกรยอดเยี่ยม จากคณะบริ หารธุรกิจและการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี

47


ของแสดงความยินดีในโอกาสครบรอบ55ปี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

นพดลพานิช ขอแสดงความยินดี เนือ่ งในโอกาสครบรอบ...

55 ปี 48 วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี

มทร.ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่


ศิษย์เก่า

จากใจ... ถึง...ราชมงคลล้านนาภาคพายัพ เชียงใหม่ คุณประสิทธิ์ ตาสุวรรณ ศิษย์เก่าแผนกไฟฟ้า

คุณกู้เกียรติ ประภัสระกูล ศิษย์เก่าแผนกช่างยนต์

ทางสถาบั น ให้ ความรู้ ให้ วิ ช าชี พ ให้ อาชี พ สามารถน� ำไปประกอบอาชี พ เพื่อหาเลี ้ยงตัวเอง และครอบครัวได้ อย่าง สุขสบายไปตลอดชีวิต

ชี วิ ต ที่ มี ทุ ก วั น นี ไ้ ด้ มาจากสถาบั น การศึกษาแห่งนี ้ถือเป็ นส่วนหนึ่งของชีวิต เพราะมหาวิทยาลัยแห่งนี ้จึงท�ำให้ มีความ ก้ าวหน้ าทังด้ ้ านครอบครัว การงาน และมี ธุรกิจที่ดีขึ ้น มีความส�ำเร็ จที่เป็ นจุดสูงสุด ในชีวิตที่ใฝ่ ฝั น รู้ สึกซาบซึง้ ใจอย่างมาก ที่มีมหาวิทยาลัยแห่งนี ้เป็ นครูสอนชีวิต

คุณยอดยิ่ง(บุญยิ่ง) ศรีสวัสดิ์ ศิษย์เก่าแผนกไฟฟ้า

นายสมโภช สายเทพ ศิษย์เก่าแผนกสถาปัตยกรรม

ผมและเพื่ อ นๆ มี ค วามรั ก ความ ห ว ง แ ห น ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ท ค โ น โ ล ยี ราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ แห่ ง นี ม้ าก และขอฝากไว้ กับ นัก ศึก ษา รุ่ น หลัง ทุก คน อาจารย์ ทุก ท่ า นได้ ช่ ว ย จรรโลงมหาวิทยาลัยแห่งนี ใ้ ห้ วัฒนาสืบ ต่อไป

ผมมี ค วามฝั นอยากเป็ นสถาปนิ ก และอยากเรี ย นที่ ร าชมงคลภาคพายัพ พอเข้ า มาเรี ย นเพื่ อ นๆ เป็ นกัน เองและ หลากหลายที่ ครูอาจารย์ก็มีความใกล้ ชิด กับศิษย์ เรี ยนแล้ วมีความสุข ที่ส�ำคัญคือ สถาบันแห่งนี ้ “สร้ างกรวดทราย ให้ เป็ น เพชรได้ จริ งๆ”

นายจรวด มัทธวรัตน์ ศิษย์เก่าแผนกอิเล็กทรอนิกส์

ผศ.ถาวร ฝั้นชมภู ศิษย์เก่าแผนกจิตกรรม

ผมชื่นชมมหาวิทยาลัยมาก ท�ำให้ เรา มีโอกาสประสบความส�ำเร็จในการท�ำงาน เพื่อนรุ่ นเดียวกันทุกคนประสบผลส�ำเร็ จ ในหน้ าที่การงาน อยากบอกว่านักศึกษา ทุกคนทีจ่ บจากทีน่ เี่ ก่งในเรื่องชันเชิ ้ งปฏิบตั ิ หากองค์กรใดได้ รับไว้ ร่วมงานจะไม่ยงุ่ ยาก ในการบริ หารจัดการ

มทร.ล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่เป็ น องค์กรแห่งความอบอุน่ เกื ้อหนุนกันและกัน ตั ง้ แต่ นั ก ศึ ก ษา เจ้ าหน้ าที่ อาจารย์ ผู้บริ หาร อยากให้ องค์กรนี ้คงรักษาความ เป็ นครอบครั ว แห่ ง ความอบอุ่ น แบบนี ้ จากรุ่นสูร่ ุ่นสืบไป

คุณทองอยู่ อานนทวิลาส ศิษย์เก่าแผนกพาณิชยการ

คุณสุนทร ยามศิริ ศิษย์เก่าแผนกช่างยนต์

เมือ่ ได้ เรียนทีน่ ี่ ก็ร้ ูสกึ ถึงความรัก ความ อบอุน่ สมัยนันมี ้ นกั เรี ยนอยูร่ ุ่นละ 300 คน ทุกคนจะเป็ นเพือ่ นกันหมด รู้จกั อาจารย์ทกุ คน รู้ จักเพื่อนทุกคน เด็กเทคโนฯ ส่วนใหญ่ ที่ได้ ร่วมงานจะท�ำงานได้ คอ่ นข้ างดี ศิษย์ ของเราค่อนข้ างสมบูรณ์แบบ

อยากฝากถึ ง รุ่ น น้ องว่ า เมื่ อ ส� ำ เร็ จ การศึกษาแล้ วอย่าได้ ลืมสถาบันฯ ที่ ให้ ความรู้ประสิทธิ์ ประสาทวิชาให้ กบั พวกเรา ขอให้ ส มัค รสมานช่ ว ยเหลื อ เกื อ้ กูล กัน ร่วมกันพัฒนาบ้ านเมืองและสังคม วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี

49


นายสถาพร สุขใหญ่ ศิษย์เก่าแผนกก่อสร้าง

คุณเฉลิมศรี โตน้อย ศิษย์เก่าแผนกพาณิชยการ

ในโอกาสจัด งานฉลองครบรอบ 55 ปี การก่อตังมหาวิ ้ ทยาลัยฯ ครัง้ นี ้ เป็ นความปลาบปลื ้มใจกับคณาจารย์ บุค ลากร ศิ ษ ย์ เ ก่ า และศิ ษ ย์ ปั จ จุบัน ทุกคน ที่เฝ้ามองเห็นความส�ำเร็ จของ สถาบันแห่งนี ้ ด้ วยความชื่นชมยินดียิ่ง เป็ น 55 ปี แห่ ง ความเจริ ญ เติ บ โต ก้ าวหน้ า ที่ ผลิตบัณฑิ ตออกไปรั บใช้ สังคมและประเทศชาติ อย่างมีคณ ุ ภาพ และต่อเนื่อง

มี ค ว า ม รั ก แ ล ะ ค ว า ม ผู ก พั น กั บ มหาวิ ท ยาลัย แห่ ง นี ม้ าก เพราะเป็ นที่ ประสิทธิ์ ประศาสตร์ วิชาทังด้ ้ านวิชาการ และวิชาชีพ น�ำไปใช้ ในการประกอบอาชีพ จนประสบความส�ำเร็ จในชีวิต อีกทังยั ้ งได้ รับรางวัลมากมาย เช่น รางวัลข้ าราชการ ดี เ ด่น และได้ รั บ เกี ย รติ ย ศมหาบัณ ฑิ ต กิตติมศักดิ์ การจัดการบริ หารธุรกิจ ท�ำให้ สามารถยืนหยัดบนสังคมได้ อย่างมีเกียรติ และภาคภูมิใจ

คุณชฎาธรรม หล้ากวี ศิษย์เก่าแผนกเหมืองแร่

นายนพดล วิริยะตระกูลธร

มี ค ว า ม รู้ สึ ก ภ า ค ภู มิ ใ จ ม า ก ที่ครั ง้ หนึ่ง ได้ มาเล่าเรี ยนความรู้ จาก วิ ท ยาเขตเทคนิ ค ภาคพายั พ แห่ ง นี ้ ซึ่งเป็ นสถาบันอันทรงเกี ยรติ และได้ น�ำความรู้ ดังกล่าวไปใช้ ในชีวิตทัง้ ต่อ ครอบครั ว และประเทศชาติ แล้ วยัง ผลิตบุคลากรที่มีคณ ุ ภาพ ให้ กบั ภาครัฐ และเอกชน จึงมีสว่ นท�ำให้ ชาติพฒ ั นา มากขึ ้น

ดร.จัตตุฤทธิ์ ทองปรอน ศิษย์เก่าแผนกไฟฟ้าก�ำลัง

ผ ม ภู มิ ใ จ แ ล ะ มี ค ว า ม ผู ก พั น กั บ มหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง นี ม้ าก เป็ น มหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง ความใฝ่ ฝั นของ นักศึกษาสายอาชีพ ซึง่ ผมก็เป็ นคนหนึง่ ในนันที ้ ใ่ ฝ่ ฝั นอยากเรียนทีน่ ี่ พอมีโอกาส เข้ ามาเรี ย น เรี ย นจบได้ เข้ าท� ำ งานที่ มหาวิทยาลัยแห่งนี ผมตั ้ งใจที ้ จ่ ะท�ำงาน ให้ ดที สี่ ดุ เพือ่ พัฒนามหาวิทยาลัยแห่งนี ้ ให้ สมเป็ นมหาวิทยาลัยแห่งความใฝ่ ฝั น ของนักศึกษาสายอาชีพตลอดไป

คุณนิภาวรรณ อินทะพันธ์ ศิษย์เก่าพาณิชยการ บริหารธุรกิจ

รู้ สกึ ภูมิใจ สถาบันของเรามีเกียรติ แต่ ล ะคนที่ เ ข้ า มาเรี ย นอาจารย์ ท่ า น เมตตามาก รุ่ นพี่ รุ่ นน้ องรู้ จักกันหมด ถึ ง แม้ สมัย ที่ เ รี ย นมี นัก เรี ย นจ� ำ นวน ไม่มาก แต่เวลาท�ำกิจกรรมก็ร่วมแรง ร่วมใจกัน เข้ ามาเรี ยนที่นี ้เรี ยนในสถาน ที่ที่อบอุน่ ภูมิใจที่จบจากที่นี่ แต่ละคน ทีจ่ บออกมาแล้ วได้ ท�ำงานดีๆ กันทุกคน ขึน้ ชื่อว่าจบเทคนิคภาคพายัพ ที่ไหน เขาก็รับเข้ าท�ำงานหมด

50 วารสาร ภาคพายัพ ฉบับพิเศษครบรอบ 55 ปี

ศิษย์เก่าแผนกช่างกลโรงงาน และสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ

ผมรู้ สึกประทับใจและภูมิใจสถาบัน การศึกษาแห่งนี ้แบ่งออกเป็ น 3 ส่วน คือ 1. สถาบั น สถาบัน ปลูก ฝั ง นัก ศึ ก ษา แต่ละรุ่ นมีประสิทธิ ภาพ เป็ นเยี่ยงอย่าง ของรุ่ น ต่อ ๆ ไป ไปไหนพบปะศิ ษ ย์ เ ก่ า แห่ ง นี ม้ ี ค วามภาคภูมิ ใ จ สัง คมให้ ก าร ต้ อนรับ 2. บุคลากร อาจารย์ เจ้ าหน้ าที่ แตกต่างจากที่อื่น คือมีความใกล้ ชิดกับ นักศึกษา ท�ำให้ ซมึ ซับความรู้จากอาจารย์ ได้ มาก 3.นักศึกษา เพือ่ นร่วมรุ่นตอนเรียน ปั จจุบนั ก็ยงั มีการติดต่อสื่อสาร มีเวลาไป ท�ำงานร่ วมกัน สามัคคี ให้ ความร่ วมมือ ที่ดีตอ่ กัน

นายกฤษณุ ภู่ประเสริฐ ศิษย์เก่าแผนกไฟฟ้าก�ำลัง และสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า เมื่อได้ เรี ยนที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ผม รู้ สึกภาคภูมิใจในสถาบัน และประทับใจ คณาจารย์ ผ้ ูสอนที่ มีความรู้ ความสามารถ โดยเฉพาะอาจารย์ ชัยยง เอื ้อวิริยานุกลู อธิการบดี มทร.ล้ านนา ซึง่ สมัยนันท่ ้ านเป็ น อาจารย์สอนสาขาไฟฟ้า นอกจากท่านจะเป็ นอาจารย์ผ้ ูสอนแล้ ว ท่านยังมีวิสยั ทัศน์ที่กว้ างไกล มองถึงอนาคตของลูกศิษย์ วางแผน ปูทางการท�ำงานให้ กบั ลูกศิษย์ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2540 ได้ ย้ายไปเป็ นผู้จดั การ ณ การไฟฟ้า อ�ำเภอพาน จังหวัดเชียงราย และในปี นันเอง ้ ที่ทางมหาวิทยาลัยฯ ได้ เปิ ดการเรี ยนการสอนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา เขตพื ้นที่เชียงราย และประสบปั ญหาเรื่ องระบบไฟฟ้า ผมจึงอ�ำนวย ความสะดวกด้ านระบบไฟฟ้าจนลุลว่ งไปด้ วยดี รู้สกึ ภาคภูมิใจมาก ทีไ่ ด้ เป็ นส่วนหนึง่ ทีท่ ำ� ให้ มหาวิทยาลัยฯ เปิ ดการเรียนการสอนได้ และ ที่สำ� คัญถือเป็ นการทดแทนบุญคุณต่อสถาบันที่ได้ ท�ำให้ ผมมีวนั นี ้ได้


1

P.D.S CHIANGMAI ENGINEERING CO.,LTD.

123 Moo 1 T.Sarapee A.Sarapee Chiangmai 50140 Thailand Tel : (66) 0-5396-3138, 0-5342-0042 Fax : 053-963115 E-mail : pds_cm@hotmail.com, padungsilp.s@pdscm.co.th


ครบรอบ ๕๕ ปี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

ซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจ รับใช้ประชาชน

นายจุมพร ชมภูรัตน์ นายกเทศมนตรีต�ำบลล้อมแรด ศิษย์เก่าช่างยนต์รุ่นที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๐๔

“ ”

อุปสรรค คือ ความแข็งแกร่ง และท�ำปัจจุบันให้ดีที่สุด เทศบาลต�ำบลล้อมแรด อ�ำเภอเถิน จังหวัดล�ำปาง http://www.lomrad.com โทร : ๐๕๔ - ๒๙๑๕๒๐ โทรสาร : ๐๕๔ - ๒๙๒๑๐๓


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.