Library user guide 2560 ebook

Page 1

ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

TNI LIBRARY

การศึกษาคู่มือการใช้บริการศูนย์วิทย บริ ก าร และระเบี ย บข้ อ ปฏิ บั ติ ต่ า งๆจะทำ � ให้​้ ทราบแนวทางปฏิบัติอย่างถูกต้องและตรงตาม ความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด หากไม่ ไ ด้ รั บ ความสะดวกในการ สืบค้นฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศและการ ใช้บริการในด้านต่างๆ ให้แจ้งบรรณารักษ์ทราบ เพื่อช่วยเหลือและอำ�นวยความสะดวกต่อไป

ศูนย์วทิ ยบริการ สถาบันเทคโนโลยี ไทย-ญีป่ ุน่ มีหน้าที่หลักในการให้บริการวิชาการ และเผยแพร่วิทยาการ เพื่อสนับสนุนการเรียน การสอน การวิจัย ให้สอดคล้องกับหลักสูตรที่ เปิดสอนในสถาบันฯ โดยรวบรวมและจัดเก็บ ทรัพยากรสารสนเทศในรูปแบบสื่อตีพิมพ์ สื่อ ไม่ตีพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ พร้อมทั้งให้ บริการทรัพยากรสารสนเทศหลากหลายสาขา วิ ช าแก่ นั ก ศึ ก ษา คณาจารย์ บุ ค ลากรของ สถาบันฯ และบุคคลภายนอก

ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น พฤษภาคม 2560


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

TNI LIBRARY

เรื่อง

แนะนำ�ศูนย์วทิ ยบริการ...................................................................................... บริการของศูนย์วทิ ยบริการ................................................................................ การจัดวางทรัพยากรสารสนเทศ.................................................................... ... การจัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ........................................................... ... การกำ�หนดสัญลักษณ์พิเศษสำ�หรับทรัพยากรสารสนเทศที่ไม่ใช่หนังสือทั่วไป.. ข้อปฏิบัติในการยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศ.................................................... ระเบียบการยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศและอัตราค่าปรับ............................... การชดใช้ค่าเสียหาย กรณีทรัพยากรสารสนเทศชำ�รุดและสูญหาย................... ความรับผิดชอบของผูย้ มื ทรัพยากรสารสนเทศ.................................................. ข้อปฏิบัติและมารยาทในการใช้ศูนย์วิทยบริการ................................................ ระเบียบข้อปฏิบตั สิ �ำ หรับบุคคลภายนอก........................................................... การสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ........................................................................ การยืมทรัพยากรสารสนเทศด้วยเครื่องยืมหนังสืออัตโนมัติ (Self Checkout) การยืมต่อด้วยตนเองผ่านระบบออนไลน์ (Renew)........................................... การจองทรัพยากรสารสนเทศผ่านระบบออนไลน์.............................................. ประเภทและสัญลักษณ์ของทรัพยากรสารสนเทศที่ให้บริการ............................ ฐานข้อมูลออนไลน์ eBooks eThesis eJournals ที่เปิดให้บริการ..................

หน้า 1 3 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 21 22 23 24 25


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

http://library.tni.ac.th ศู น ย์ วิ ท ยบริ ก ารเปิ ด ดำ � เนิ น การใน วันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2550 พร้อมกับการ เปิ ดการเรี ย นการสอนของสถาบัน ในภาคการ ศึ ก ษาที่ 1 ปี ก ารศึ ก ษา 2550 โดยจั ด ให้ มี ที่ นั่ ง อ่ า นหนั ง สื อ จำ � นวน 90 ที่ นั่ ง และเปิ ด ให้ บ ริ ก ารศู น ย์ ก ารเรี ย นรู้ ด้ ว ยตนเองเพื่ อ ให้ บริการคอมพิวเตอร์ จำ�นวน 24 เครื่อง โดยมี พื้นที่รวมทั้งสิ้น 494 ตารางเมตร ในการเปิดทำ�การครั้งแรกนั้นได้นำ�ระบบ ห้องสมุดอัตโนมัติ CDS\ISIS for Windows มาใช้ ใ นการจั ด การระบบงานต่ า งๆ ต่ อ มาได้ เปลี่ ย นเป็ น ระบบห้ อ งสมุ ด อั ต โนมั ติ ULibM (Union Library Management) จนถึงปัจจุบนั ในปี พ.ศ.2552 จัดให้มีที่นั่งอ่านหนังสือ เพิ่มเป็นจำ�นวน 130 ที่นั่ง และเพิ่มคอมพิวเตอร์ ภายในศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเองเป็น 40 เครื่อง นอกจากนีไ้ ด้จดั ให้มี Edutainment Corner เพือ่ ให้บริการสื่อมัลติมีเดียด้านบันเทิงและสารคดี

เว ล า ทำ � ก า ร ย์ เ ส า ร์ - อ า ท8ิ ต.00 น. 09.00-1

ปิ​ิดทำ�การวันหยุดนักขัตฤกษ์ 1

เ ว ล า ทำ � ก- าศรุ ก ร์ จั น ท ร0์ -18.00 น. 08.0 ปี พ.ศ. 2554 จัดให้มีที่นั่งอ่านหนังสือ เพิ่มอีกเป็นจำ�นวน 170 ที่นั่ง และเพิ่มพื้นที่นั่ง อ่านหนังสือตามอัธยาศัยบริเวณ ชั้น 1 อาคาร A จำ�นวน 130 ที่น่งั และตั้งชื่อห้องว่า Study Lounge ต่อมาได้ยา้ ยศูนย์การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ไปที่ห้อง A308 ชั้น 3 อาคาร A โดยอยู่ในความ ดูแลของศูนย์สารสนเทศและการสื่อสาร (ICC) ปี พ.ศ. 2555 ได้เพิ่มมุมบริการทรัพยากร สารสนเทศเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน (ASEAN Corner) และมุมหนังสือ Abe Shinzo Library ซึ่ ง ให้ บ ริ ก ารทรั พ ยากรสารสนเทศประเภท หนังสือทัว่ ไปภาษาญีป่ นุ่ โดยได้รบั อภินนั ทนาการ จาก Mr. Abe Shinzo นายกรั ฐ มนตรี ข อง ประเทศญี่ปุ่น นอกจากนี้ยังได้ปรับปรุงบริการภายในห้อง Study Lounge ชั้น 1 โดยการนำ�วารสารล่วง เวลาและหนั ง สื อ พิ ม พ์ ฉ บั บ ย้ อ นหลั ง ไปจั ด ให้ บริการอีกด้วย


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

ในปี พ.ศ. 2556 ได้เพิ่มมุมบริการ สหกิจศึกษาและจัดหางานเพื่อให้บริการข้อมูล บริ ษั ท /หน่ ว ยงาน ที่ เ ป็ น เครื อ ข่ า ยโครงการ สหกิ จ ศึ ก ษาและเพิ่ ม มุ ม บริ ก ารหนั ง สื อ น่ า อ่าน (Best Book to Read) ซึ่งให้บริการ แนะนำ � หนั ง สื อ ใหม่ แ ละหนั ง สื อ เตรี ย มสอบ วั ด ระดั บ ภาษาญี่ ปุ่ น และในปี พ.ศ. 2556 ได้นำ�ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ULibM (Union Library Management) มาใช้ในการจัดการ ระบบงานและการให้บริการในรูปแบบต่างๆ ในปี พ.ศ. 2557 ได้ปรับปรุงพื้นที่ บริเวณ ชัน้ 1 อาคาร A (Study Lounge) โดย ฝ่ายบริหารได้เพิ่มพื้นที่บริเวณ ชั้น 1 อาคาร A ให้กับศูนย์วิทยบริการ จึงได้ทำ�การปรับปรุง โดยจัดทำ�ห้องประชุมกลุ่ม (Meeting Room) จำ�นวน 2 ห้อง พร้อมกับจัดทีน่ งั่ ห้องละ 16 ทีน่ งั่ ห้องรับชมภาพยนตร์ (Edutainment Room) จำ�นวน 1 ห้อง พร้อมทีน่ งั่ จำ�นวน 12 ทีน่ งั่ และ เพิ่มมุมบริการคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต จำ�นวน 8 เครื่อง รวมทั้งตกแต่งพื้นที่สำ�หรับให้ บริการและเพิม่ ทีน่ ง่ั อ่านหนังสือ รวมทัง้ สิน้ 222 ทีน่ ง่ั ส่วนพื้นที่บริเวณชั้น 2 อาคาร A ได้ เพิ่มที่นั่งอ่านหนังสือภายในห้องบริการวารสาร และสิง่ พิมพ์ตอ่ เนือ่ ง โดยมีจ�ำ นวนทัง้ สิน้ 62 ทีน่ ง่ั

ช่วงสอบ:ขยายเวลาใหบ้ ริการ

08.00-19.00 น. เฉพาะจันทร-์ ศุกร์​์

ปี พ.ศ. 2558 ได้จดั หาเครือ่ งยืมหนังสือ อัตโนมัติด้วยตนเอง (Self Checkout) โดยจัด ให้บริการภายในศูนย์วิทยบริการ ชั้น 2 และ ปลายปี พ.ศ. 2558 ได้จัดหาระบบทางเข้า-ออก ใหม่แทนระบบเดิมทีย่ า้ ยไปให้บริการทีศ่ นู ย์วทิ ย บริการ ชั้น 1 เพื่ออำ�นวยความสะดวกในการเข้า ใช้บริการ ซึ่งระบบใหม่นี้เปลี่ยนจากการสแกน บัตรด้วยการอ่านบาร์โค้ดเป็นระบบ RFID ทำ�ให้ สะดวกต่อการใช้งาน ปี พ.ศ. 2559 ได้ เ ปลี่ ย นเครื่ อ ง คอมพิวเตอร์ที่ให้บริการภายในศูนย์วิทยบริการ ชั้น 2 จำ�นวน 8 เครื่อง และเครื่องสำ�หรับสืบค้น ทรัพยากรฯ อีก 2 เครื่อง เป็นจอคอมพิวเอตร์ แบบสัมผัส (Touch Screen) ปี พ.ศ. 2560 ได้นำ�เทคโนโลยี RFID มาใช้ในการจัดการทรัพยากรสารสนเทศ เพื่อ อำ�นวยความสะดวกให้กับผู้ใช้บริการและเพิ่ม ประสิทธิภาพในการตรวจสอบพร้อมทั้งป้องกัน ทรัพยากรสารสนเทศสูญหาย นอกจากนี้ยังได้ ปรับปรุงประตูทางเข้า-ออก โดยการเปลี่ยนเป็น ประตูแบบอัตโนมัติ (Auto Door)

2


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

TNI LIBRARY

บริการยืม–คืน และสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศที่อนุญาตให้ยืมออก ได้แก่ หนังสือ ทั่วไป ตำ�ราเรียนสำ�รอง วารสารฉบับล่วงเวลา นวนิยาย เรื่องสั้น หนังสือสำ�หรับเยาวชน หนังสือการ์ตูน และสื่อ มัลติมีเดีย (วิชาการ) โดยผู้ใช้จะต้องแสดงบัตรประจำ� ตัวนักศึกษาของตนเองต่อเจ้าหน้าที่ทุกครั้งที่ทำ�การยืม บริการวารสารและสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง ให้บริการการอ่าน การค้นคว้าวารสาร หนังสือพิมพ์ และ สิ่ ง พิ ม พ์ ต่ อ เนื่ อ งประเภทอื่ น ๆ มี ทั้ ง วารสารภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ สามารถยืมออกได้เฉพาะวารสารฉบับ ล่วงเวลา สำ�หรับวารสารฉบับปัจจุบันและหนังสือพิมพ์ ไม่อนุญาตให้ยืมออก ผู้ใช้บริการสามารถอ่านและค้นคว้า ภายในศูนย์วิทยบริการเท่านั้น บริการพื้นที่นั่งอ่านและศึกษาค้นคว้า ศูนย์วิทยบริการ ชั้น 1-2 - ชั้น 1 มีพื้นที่นั่งอ่านหนังสือรวมทั้งสิ้น จำ�นวน 222 ที่นั่ง - ชั้น 2 แบ่งพื้นที่นั่งอ่านหนังสือเป็น 2 ส่วน ได้แก่ พื้นที่น่ังอ่านบริเวณหนังสือทั่วไปและพื้นที่นั่งอ่าน ภายในห้องวารสารและสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง รวมที่นั่ง ทั้งสิ้น จำ�นวน 220 ที่นั่ง

3


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

บริการยืมสิ่งพิมพ์ไปถ่ายเอกสาร ผู้ใช้บริการสามารถยืมหนังสือทั่วไปและวารสาร เพื่อนำ�ไป ถ่ายเอกสารภายนอกได้ โดยแลกบัตรประจำ�ตัวนักศึกษาหรือ บัตรประจำ�ตัวประชาชนไว้เป็นหลักฐาน และต้องนำ�มาคืน ภายในวันที่ยืม (บุคคลภายนอกสามารถยืมถ่ายเอกสารได้) การบริการระหว่างห้องสมุด เป็นการให้บริการขอทำ�สำ�เนาทรัพยากรสารสนเทศ การขอ ใช้บริการสืบค้น และขอทำ�สำ�เนาผลการสืบค้นฐานข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ ระหว่างห้องสมุดเครือข่ายที่มีข้อตกลงร่วมกัน ได้แก่ เครือข่ายห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาเอกชน (อพส.) และ สำ�นักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บริการคอมพิวเตอร์ (ศูนย์วิทยบริการ ชั้น 1 และ ชั้น 2) ผู้ใช้สามารถใช้บริการคอมพิวเตอร์เพื่อพิมพ์เอกสาร เพื่อ สื บ ค้ น ข้ อ มู ล ผ่ า นระบบอิ น เทอร์ เ น็ ต และสื บ ค้ น ฐานข้ อ มู ล งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และใช้บริการสื่อมัลติมีเดีย โดยจัดให้ บริการที่ชั้น 1 จำ�นวน 8 เครื่อง และชั้น 2 จำ�นวน 6 เครื่อง บริการสื่อมัลติมีเดีย ให้ บ ริ ก ารสื่ อ มั ล ติ มี เ ดี ย ประเภทซี ดี ร อม/ดี วี ดี วิ ช าการ ที่ประกอบมากับหนังสือ และซีดีรอม/ดีวีดี สำ�หรับฝึกภาษา ต่ า งประเทศ รวมถึ ง eBooks ที่ จั ด ทำ � ในรู ป แบบซี ดี รอม ให้ บ ริ ก ารแบบชั้ น ปิ ด หากต้ อ งการยื ม ให้ แ จ้ ง เจ้ า หน้ า ที่ / บรรณารั ก ษ์ เ พื่ อ ขอยื ม ที่ เ คาน์ เ ตอร์ บ ริ ก ารยื ม -คื น

4


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

บริการ Edutainment Room ให้ บ ริ ก ารสื่ อ มั ล ติ มี เ ดี ย ประเภทบั น เทิ ง (ภาพยนตร์ ) และสารคดี ผู้ใช้บริการสามารถยืมสื่อมัลติมีเดียเพื่อรับ ชมภายใน Edutainment Room และรับชมที่เครื่อง คอมพิวเตอร์ให้บริการที่ศูนย์วิทยบริการ ชัน้ 1 โดยต้อง ส่งคืนภายในวันที่ยืม ห้ามนำ�ออกจากศูนย์วิทยบริการ บริการ Meeting Room ให้บริการห้องประชุมกลุ่มและทบทวนการเรียนที่ศูนย์ วิ ท ยบริ ก าร ชั้ น 1 โดยการจองด้ ว ยระบบออนไลน์ ผ่ า นเว็ บ ไซต์ ศู น ย์ วิ ท ยบริ ก าร ต้ อ งมี ผู้ ใ ช้ บ ริ ก าร กลุ่ ม ละ 5 คนขึ้ น ไป ครั้ ง ละไม่ เ กิ น 2 ชั่ ว โมง/กลุ่ ม และสามารถจองล่วงหน้าก่อนเข้าใช้บริการได้ 1 วัน บริการฐานข้อมูลออนไลน์ eBooks eJournals eThesis ให้ บ ริ ก ารฐานข้ อ มู ล ออนไลน์ ที่ ศู น ย์ วิ ท ยบริ ก ารบอกรั บ เป็นสมาชิก รวมไปถึงฐานข้อมูลทีพ่ ฒ ั นาขึน้ เอง เช่น e-Thesis & Research ของสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น โดยให้บริการ ข้อมูลตั้งแต่รายการบรรณานุกรม บทคัดย่อ และเอกสาร ฉบับเต็ม สามารถเข้าใช้งานผ่านเว็บไซต์ศูนย์วิทยบริการ http://library.tni.ac.th *ฐานข้อมูลออนไลน์และ eBooks แต่ละรายชื่อมีเงื่อนไขในการใช้งานต่างกัน ผู้ใช้บริการ สามารถศึกษาวิธีใช้งานได้จากเว็บไซต์ศูนย์วิทยบริการและคู่มือการใช้ศูนย์วิทยบริการ บริการเครื่องยืมหนังสืออัตโนมัติด้วยตนเอง (Self Checkout)

5

ให้ บ ริ ก ารยื ม หนั ง สื อ ด้ ว ยเครื่ อ งยื ม หนั ง สื อ อั ต โนมั ติ ผู้ใช้บริการสามารถยืมหนังสือได้ด้วยตนเอง ซึ่งจัดให้ บริการอยู่ที่ศูนย์วิทยบริการ ชั้น 2


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

บริการพื้นที่สำ�หรับใช้ Notebook ผู้ ใช้ ส ามารถนำ � คอมพิ ว เตอร์ โ น๊ ต บุ๊ ค เข้ า มาใช้ บ ริ ก าร ภายในศูนย์วิทยบริการตามจุดต่างๆ ที่จัดไว้ให้ โดย มีบริการ Wi-Fi ปลั๊กไฟ และโต๊ะสำ�หรับวางโน้ตบุ๊ค บริการแนะนำ�หนังสือใหม่และหนังสือน่าอ่าน (Best Book to Read) ให้บริการแนะนำ�หนังสือใหม่และหนังสือเตรียมสอบ วัดระดับภาษาญี่ปุ่น รวมทั้งหนังสืออื่นๆ ที่น่าสนใจ บริการมุมหนังสือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET Corner) ให้บริการหนังสือและสิง่ พิมพ์ทางด้านการเงิน การลงทุน และสาขาที่เกี่ยวข้อง โดยได้รับการสนับสนุนทรัพยากร สารสนเทศดังกล่าวจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริการมุมหนังสือประชาคมอาเซียน (ASEAN Corner) ให้บริการหนังสือและสิง่ พิมพ์เกีย่ วกับประชาคมอาเซียน ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ สังคม ภาษาประจำ�ชาติ วัฒนธรรม และแนวคิดต่างๆ ด้านการลงทุนในกลุ่ม ประเทศอาเซียน บริการมุมหนังสือ Abe Shinzo Library ให้บริการหนังสือทางด้านวิชาการ นวนิยาย การ์ตูน ภาษาญี่ปุ่น เพื่อฝึกฝนทักษะในการใช้ภาษาญี่ปุ่น ซึ่ง ได้รับความอนุเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศดังกล่าว จาก Mr. Abe Shinzo นายกรัฐมนตรีของประเทศญี่ปุ่น

6


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

บริการตู้รับคืนหนังสือนอกเวลา (Book Drop) ผู้ใช้บริการสามารถส่งคืนทรัพยากรฯ นอกเวลาทำ�การ ของศู น ย์ วิ ท ยบริ ก ารได้ ท างตู้ รั บ คื น หนั ง สื อ นอกเวลา ซึง่ ตัง้ อยูด่ า้ นหน้าศูนย์วทิ ยบริการ ชัน้ 2 กรณีมคี า่ ปรับเกิน กำ�หนดส่ง สามารถชำ�ระภายหลังได้ที่เคาน์เตอร์บริการ บริการพิมพ์เอกสาร (Printing Service) ผู้ใช้ต้องชำ�ระเงินค่าพิมพ์เอกสารที่งานการเงิน แล้วนำ� ใบเสร็ จ รั บ เงิ น มาแสดงต่ อ เจ้ า หน้ า ที่ / บรรณารั ก ษ์ ที่ เคาน์เตอร์บริการ ศูนย์วิทยบริการ ชั้น 2 เพื่อเติมเงินเข้า ระบบ Print โดยสามารถใช้บริการพิมพ์เอกสารได้ทศี่ นู ย์วทิ ย บริการ ชัน้ 2 หรือห้องคอมพิวเตอร์ ชัน้ 3 อาคาร A ห้อง A308 (รหัสผ่านสำ�หรับ login คอมพิวเตอร์ เพื่อ Print เอกสาร คือ รหัสทีใ่ ช้ login Window หรือ Login Wi-Fi ของแต่ละบุคคล) บริการเสนอรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศ ผู้ใช้บริการสามารถเสนอรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศ ที่ ต้ อ งการ เพื่ อ จั ด ซื้ อ และให้ บ ริ ก ารภายในศู น ย์ วิ ท ย บริการ โดยขอแบบฟอร์มเสนอซื้อได้ที่เคาน์เตอร์บริการ หรือดาวน์โหลดทางเว็บไซต์ http://library.tni.ac.th บริการตู้รับฝากสิ่งของ (Locker) ผู้ใช้บริการสามารถฝากสิ่งของไว้ที่ตู้ Locker ทางเข้า ศูนย์วิทยบริการชั้น 1 และชั้น 2 และรับฝากได้ภายใน 1วัน หากฝากไว้ขา้ มวันศูนย์วทิ ยบริการจะจำ�หน่ายทิง้ ใน วันถัดไป ผู้ใช้จะต้องศึกษาวิธีการใช้ตู้ Locker ให้เข้าใจ และจดจำ�รหัสในการเปิด-ปิดตู้ด้วยตนเอง

7


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

TNI LIBRARY

ศูนย์วิทยบริการแบ่งพื้นที่จัดวางทรัพยากรสารสนเทศเป็นสัดส่วน และชั้นจัดเก็บต่างๆ ดังนี้ ศูนย์วิทยบริการ ชั้น 2 ชั้นจัดเก็บและให้บริการหนังสือพิมพ์ ชัน้ จัดเก็บวารสาร นิตยสาร วารสารเย็บเล่ม จุลสาร จดหมายข่าว ชั้นหนังสือทั่วไป ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาญี่ปุ่น ชั้นตำ�ราเรียนสำ�รอง (Reserved Book) ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ชั้นหนังสืออ้างอิง ประกอบด้วย พจนานุกรม สารานุกรม และนามานุกรม ชั้นนวนิยาย (Fiction) เรื่องสั้น (Short story) การ์ตูน (Comic) ชั้นหนังสืออ่านนอกเวลาภาษาอังกฤษ (English Reader) มุมหนังสือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET Corner) มุมหนังสือประชาคมอาเซียน (ASEAN Corner) มุมหนังสือ Abe Shinzo Library มุมหนังสือน่าอ่าน (Best Book to Read)

ศูนย์วิทยบริการ ชั้น 1

ชั้นวิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ และรายงานการวิจัย โครงงานสหกิจศึกษา สื่อมัลติมีเดียประเภทบันเทิงและสารคดี (DVD ภาพยนตร์และสารคดี) หมายเหตุ: - หนังสือทั่วไป หนังสืออ้างอิง และตำ�ราเรียนสำ�รองจัดเรียงตามระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (LC) - หนังสือทั่วไป หมายถึง หนังสือในสาขาวิชาต่างๆ หนังสือความรู้ทั่วไป หนังสือที่กำ�หนดสัญลักษณ์ พิเศษ เช่น นวนิยาย เรื่องสั้น การ์ตูน หนังสืออ่านนอกเวลา หนังสือที่จัดเก็บตามมุมต่างๆ (หนังสือทุกประเภทที่ไม่ใช่ตำ�ราเรียนสำ�รองและหนังสืออ้างอิง) - หนังสืออ้างอิง หมายถึง หนังสือสำ�หรับศึกษาค้นคว้าความรู้พื้นฐาน ข้อเท็จจริงในสาขาวิชาต่างๆ ซึ่งให้ใช้บริการภายในศูนย์วิทยบริการเท่านั้น ไม่อนุญาตให้ยืมออก - ตำ�ราเรียนสำ�รอง หมายถึง หนังสือที่อาจารย์หรือบรรณารักษ์สำ�รองไว้ในศูนย์วิทยบริการ เพื่อให้ นักศึกษาใช้ประกอบการเรียนในรายวิชาใดวิชาหนึ่ง

8


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

TNI LIBRARY

ศูนย์วิทยบริการจัดเก็บหนังสือประเภทต่างๆ โดยใช้ระบบการจัดหมวดหมู่แบบ LC หรือ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกนั (Library of Congress Classification System) ซึง่ มีความหมายดังนี้ สัญลักษณ์

9

หมวดวิชา

A

ความรู้ทั่วไป (General works)

B

ปรัญชา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion)

C

ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ (Auxiliary Sciences of History)

D

ประวัติศาสตร์ทั่วไป ประวัติศาสตร์ยุโรป เอเชีย แอฟริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ (History: General, Europe, Asia, Africa, Australia and New Zealand)

E-F

ประวัติศาสตร์อเมริกา (History: America)

G

ภูมิศาสตร์ แผนที่ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, Maps, Anthropology, Recreation)

H

สังคมศาสตร์ (Social Science)

J

รัฐศาสตร์ (Political Science)

K

กฎหมาย (Law)

L

การศึกษา (Education)

M

ดนตรีและหนังสือเกี่ยวกับดนตรี (Music and Books on Music)

N

ศิลปกรรม (Fine Arts)

P

ภาษาและวรรณคดี (Language and Literature)

Q

วิทยาศาสตร์ (Science)

R

แพทยศาสตร์ (Medicine)

S

เกษตรศาสตร์ (Agriculture)

T

เทคโนโลยี (Technology)

U

การทหาร ยุทธศาสตร์ (Military Science)

V

นาวิกศาสตร์ (Naval Science)

Z

บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ ทรัพยากรสารสนเทศ (Bibliography, Library Science, Information Resources)

เป็นการแบ่งสรรพวิชาออกเป็น 20 หมวดใหญ่ โดยใช้ตัวอักษร โรมัน A–Z ผสมกับตัวเลขอารบิค ตั้งแต่เลข 1-9999 และเพิ่มจุด ทศนิยมกับตัวเลขเป็นสัญลักษณ์ แทนเนื้อหาของหนังสือ


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

นอกจากการจัดหมวดหมู่หนังสือด้วยระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันแล้ว ศูนย์วิทยบริการยังมี การจัดหมวดหมู่สิ่งพิมพ์ประเภทอื่นๆ ด้วยสัญลักษณ์ที่ศูนย์วิทยบริการกำ�หนดขึ้นเอง ได้แก่

นว หมายถึง หนังสือนวนิยาย Fic หมายถึง Fiction

ย หมายถึง หนังสือสำ�หรับเยาวชน JVN : Juvenile

รส หมายถึง หนังสือเรื่องสั้น หนังสือ SS หมายถึง Short story

ER : English Reading หมายถึง หนังสืออ่านนอกเวลาภาษาอังกฤษ

CM : Comic หมายถึง หนังสือการ์ตูน

CRT : Co-Operative Project หมายถึง โครงงานสหกิจศึกษา

IS หมายถึง สารนิพนธ์ Thesis หมายถึง วิทยานิพนธ์

วจ หมายถึง รายงานการวิจัย Res หมายถึง Research 10


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

ผู้มีสิทธิ์ยืม

1.1 นักศึกษาของสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น 1.2 กรรมการสภาสถาบันฯ อาจารย์ประจำ� บุคลากร สายสนับสนุน และอาจารย์พิเศษของสถาบันฯ 1.3 สมาชิกสมทบ ได้แก่ บุคลากรและสมาชิกของ ส.ส.ท. 1.4 บุคคลภายนอกที่เป็นสมาชิก ซึ่งผู้ที่สามารถสมัคร เป็นสมาชิกได้ ได้แก่ นักเรียน/นักศึกษาของสถาบันการ ศึกษาอื่นๆ ศิษย์เก่า และบุคคลทั่วไป (รายละเอียดการ สมัครสมาชิก ศึกษาได้จากระเบียบการใช้บริการ)

ทรัพยากรสารสนเทศที่อนุญาตให้ยืมออก ได้แก่ หนังสือทัว่ ไป ตำ�ราเรียนสำ�รอง สือ่ มัลติมเี ดียวิชาการ และวารสารฉบับล่วงเวลา

การยืมต่อ เมื่อครบกำ�หนดส่งคืน หากมีความประสงค์ จะยืมต่อ ผู้ ใช้บริการสามารถยืมต่อได้ 3 ช่องทาง ดังนี้ 4.1 นำ�ทรัพยากรฯ มาทำ�การยืมต่อที่ เคาน์เตอร์บริการหรือแจ้งความประสงค์ขอยืม ต่อโดยไม่ต้องนำ�ทรัพยากรฯ มา และต้องใช้ บัตรประจำ�ตัวนักศึกษาทุกครัง้ ทีข่ อยืมต่อ 4.2 การยืมต่อทางโทรศัพท์ ผู้ ใช้บริการ สามารถขอยืมต่อทางโทรศัพทไ้ด้ที่หมายเลข

02-7632625-6 4.3 ยืมต่อทางเว็บไซต์ศนู ย์วทิ ยบริการ http://library.tni.ac.th (ดูวิธียืมต่อจาก เว็บไซต์/คูม่ อื )

ทรัพยากรสารสนเทศที่ ไม่อนุญาตให้ยืมออก ได้แก่ หนังสืออ้างอิง วารสารฉบับปัจจุบัน งานวิจยั สารนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สื่อมัลติมีเดียประเภทบั น เทิ ง (ภาพยนตร์) และทรัพยากรฯ อื่นๆ ที่ศูนย์วิทยบริการ ระบุห้ามยืม (สามารถยืมถ่ายเอกสารได้ภายใน 1 วัน โดย จะต้องนำ�มาคืนภายในวันที่ยืม) “การยืมทรัพยากรฯ ทุกครัง้ จะต้องแสดงบัตรนักศึกษา/ บัตรประจำ�ตัวพนักงาน/บัตรสมาชิก ต่อเจ้าหน้าทีท่ กุ ครัง้

“ห้ามนำ�บัตรของผู้อื่นมาใช้ ในการยืม” 11

การคืนหนังสือ ผู้ ใช้บริการสามารถส่งคืนได้ 2 ช่องทาง ได้แก่

5.1 ส่งคืนที่เคาน์เตอร์บริการยืม-คืน ณ ศูนย์วิทยบริการ ชั้น 2

5.2 ส่งคืนที่ตู้รับคืนหนังสือนอกเวลา (Book Drop) ซึง่ ตัง้ อยูด่ า้ นหน้าศูนย์วทิ ยบริการ ชั้น 2 หากมีค่าปรับเกินกำ�หนด บรรณารักษ์ จะบันทึกไว้ ในฐานข้อมูลและผู้ ใช้จะต้องชำ�ระค่า ปรับในการยืมครั้งต่อไป


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

TNI LIBRARY

ประเภทผู้ ใช้บริการ

นักศึกษาปริญญาตรี นักศึกษาปริญญาโท

ประเภททรัพยากร สารสนเทศ หนังสือทั่วไป ซีดี/ดีวีดี ตำ�ราเรียนสำ�รอง วารสาร (ฉบับล่วงเวลา)

กรรมการสภา ผู้บริหาร อาจารย์ประจำ�

14 วัน

ซีดี/ดีวีดี

4 เดือน

ตำ�ราเรียนสำ�รอง

ซีดี/ดีวีดี

2 ครั้ง

10

2 ครั้ง

5

2 ครั้ง

7 วัน 2 เดือน 7 วัน

หนังสือทั่วไป

(บุคลากร/สมาชิกของ ส.ส.ท.) ซีดี/ดีวีดี บุคคลทั่วไปที่ีเป็นสมาชิกรายปี

10

หนังสือทั่วไป

วารสาร (ฉบับล่วงเวลา)

ศิษย์เก่าของสถาบันฯ

2 ครั้ง

7 วัน

ตำ�ราเรียนสำ�รอง

สมาชิกสมทบ

10

หนังสือทั่วไป

วารสาร (ฉบับล่วงเวลา)

บุคลากรสายสนับสนุน อาจารย์พิเศษ

ระยะเวลาการยืม ยิมได้สูงสุด การยืมต่อ ค่าปรับ (จำ�นวน) (Renew) (บาท/เล่ม/วัน)

ตำ�ราเรียนสำ�รอง วารสาร (ฉบับล่วงเวลา)

7 วัน

5 50 30 5 5 50 30 5 5 50 30 5 5 50 30 5

*รายงานการวิจยั /วิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์/โครงงงานสหกิจศึกษา หนังสืออ้างอิง ไม่อนุญาตให้ยืมออก

12


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

TNI LIBRARY

1. กรณีทรัพยากรสารสนเทศชำ�รุด มีอัตรา ค่าปรับ ดังนี้ 1.1 หนังสือปกชำ�รุด ฉีกขาด แต่เจ้าหน้าที่ สามารถซ่อมเองได้ มีอัตราค่าปรับ 50 บาท 1.2 หนังสือปกชำ�รุด และต้องส่งซ่อมเพื่อ ทำ�ปกใหม่ มีอัตราค่าปรับ 150 บาท 1.3 สื่อมัลติมีเดีย (ซีด/ี ดีวดี )ี ชำ�รุด มีอตั รา ค่าปรับ 100 บาท 2. กรณีทรัพยากรสารสนเทศสูญหาย ถ้าทรัพยากรสารสนเทศสูญหายจะต้องรีบ แจ้งเจ้าหน้าที่ทันที และต้องดำ�เนินการจัดหามา ทดแทนหรือชำ�ระค่าเสียหาย โดยเลือกดำ�เนิน การวิธีใดวิธีหนึ่ง ดังนี้ 2.1 ให้ซื้อหนังสือชื่อเรื่องนั้นมาทดแทน พร้อมชำ�ระค่าจัดเตรียมหนังสือก่อนให้บริการ จำ�นวน 50 บาท/เล่ม และหากมีค่าปรับเกิน กำ�หนดส่ง ต้องชำ�ระค่าปรับตามอัตราที่กำ�หนด

13

2.2 ชำ�ระเงินค่าเสียหายเป็น 3 เท่าของ ราคาหนังสือปัจจุบัน ในกรณีทไ่ี ม่สามารถหาราคาปัจจุบนั ได้ ให้ ศูนย์วิทยบริการกำ�หนดราคาตามความเหมาะ สม พร้ อ มทั้ ง ชำ � ระค่ า เตรี ย มหนั ง สื อ ก่ อ นให้ บริการ จำ�นวน 50 บาท/เล่ม และถ้าแจ้งหาย หลังจากครบกำ�หนดคืน ต้องชำ�ระค่าปรับตาม อัตราที่กำ�หนด 2.3 สือ่ มัลติมเี ดีย (ซีด/ี ดีวดี )ี สูญหาย มีอตั รา ค่าปรับ จำ�นวน 100 บาท โดยไม่ต้องจัดหามา ทดแทน 2.4 หากพบทรัพยากรสารสนเทศที่ทำ�หาย ก่อนการซื้อมาทดแทนให้นำ�มาคืนทันที พร้อม ทั้งชำ�ระเงินค่าปรับตามอัตราที่เกินกำ�หนด และ ยังถือว่าทรัพยากรสารสนเทศนั้นเป็นสมบัติของ ศูนย์วิทยบริการ


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

1. ผู้ยืมจะต้องรับทราบสิทธิ์ในการยืม ทรัพยากรสารสนเทศ รวมทัง้ อัตราค่าปรับทีศ่ นู ย์ วิทยบริการประกาศในคูม่ อื การใช้บริการ ประกาศ ทางเว็บไซต์ และติดประกาศที่หน้าเคาน์เตอร์ บริการ เมื่อยืมทรัพยากรสารสนเทศใดๆ แล้ว ให้ถือว่าผู้ยืมรับทราบสิทธิ์ และอัตราค่าปรับ หากทรัพยากรฯ เกินกำ�หนดส่งจะต้องชำ�ระค่า ปรับตามระเบียบของศูนย์วิทยบริการ 2.ผู้ ยื ม จะต้ อ งตรวจสอบกำ � หนดส่ ง ทรัพยากรฯ ที่ยืมไปด้วยตนเอง และนำ�มาคืน ตามกำ � หนดส่ ง หากมี ค่ า ปรั บ จากการค้ า งส่ ง ทรัพยากรฯ ผู้ยืมจะต้องรับผิดชอบชำ�ระค่าปรับ 3. ผูย้ มื ทีค่ า้ งชำ�ระค่าปรับ จะไม่สามารถ ยืมทรัพยากรฯ ได้ จนกว่าจะชำ�ระค่าปรับให้ เรียบร้อยก่อน ทั้งนี้รวมทั้งการยืมต่อด้วยตนเอง การยืมต่อทางโทรศัพท์ และการยืมต่อทางเว็บไซต์

4. ศูนย์วทิ ยบริการจะประกาศรายชือ่ นักศึกษา ที่ ค้ า งชำ � ระค่ า ปรั บ และค้ า งส่ ง ทรั พ ยากรฯ ที่ บอร์ดประชาสัมพันธ์หน้าศูนย์วิทยบริการ ชั้น 2 และทางเว็บไซต์ http://library.tni.ac.th ซึ่ง ตลอด ระยะเวลา 1 ภาคการศึกษา ผู้ยืมจะต้อง รับผิดชอบการยืม–คืนทรัพยากรสารสนเทศ ด้วยตนเอง หากมีค่าปรับผู้ยืมจะต้องชำ�ระค่า ปรับทุกกรณี โดยไม่มีข้อยกเว้น 5. นักศึกษาทีค่ า้ งส่งทรัพยากรฯ หรือยังดำ�เนิน การชำ�ระค่าปรับไม่เสร็จสิ้น หรือไม่ดำ�เนินการ ใดๆ จนใกล้จบการศึกษา จะต้องดำ�เนินการชำ�ระ หนี้สินให้เรียบร้อยก่อนจบการศึกษา มิฉะนั้นจะ ไม่ได้รับอนุมัติให้จบการศึกษา ทรัพยากรฯใดๆ แล้ว ให้ถือว่าผู้ยืมรับทราบสิทธิ์และอัตราค่าปรับ หากเกินกำ�หนดส่งจะต้องชำ�ระค่าปรับ โดยไม่มีข้อยกเว้น!

14


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

15


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

การเข้าใช้บริการรายวันสำ�หรับบุคคลภายนอก ผูท้ ่ีไม่ได้สมัครสมาชิกศูนย์วทิ ยบริการจะไม่อนุญาตให้ยมื ทรัพยากรสารสนเทศใดๆ แต่สามารถนัง่ อ่านและค้นคว้า ภายในศูนย์วทิ ยบริการได้ โดยยืน่ บัตรประจำ�ตัวประชาชน/บัตรนักศึกษา และชำ�ระค่าเข้าใช้บริการตามอัตรา ดังนี้ 1. นักเรียน/นักศึกษาของสถาบันการศึกษาอื่น ค่าบริการรายวัน วันละ 10 บาท 2. บุคคลทั่วไป ค่าบริการรายวัน วันละ 50 บาท

การสมัครสมาชิกรายปีสำ�หรับบุคคลภายนอก หากบุคคลภายนอกต้องการยืมทรัพยากรสารสนเทศออกจากศูนย์วิทยบริการ สามารถสมัครสมาชิกรายปีได้ (สมาชิกมีอายุ 1 ปี) โดยต้องชำ�ระค่าสมาชิกรายปี และค่าประกันสิ่งพิมพ์/ทรัพย์สินเสียหาย ดังนี้ 1. นักเรียน/นักศึกษาของสถาบันการศึกษาอื่นๆ ค่าสมัครสมาชิกปีละ 500 บาท 2. บุคคลทั่วไป ค่าสมัครสมาชิกปีละ 1,000 บาท 3. ศิษย์เก่า ไม่ต้องชำ�ระค่าสมัครสมาชิก (ฟรี) แต่ต้องมีหลักฐานมาแสดง 4. สมาชิกทุกประเภทต้องชำ�ระค่าประกันสิ่งพิมพ์/ทรัพย์สินเสียหาย จำ�นวน 2,000 บาท 5. สมาชิกทุกประเภทที่ได้ชำ�ระค่าประกันสิ่งพิมพ์/ทรัพย์สินเสียหายไว้ จะได้รับคืนเมื่อลาออกจากการเป็น สมาชิกภายใน 30 วันหลังจากตรวจสอบภาระหนี้สินต่างๆ เรียบร้อยแล้ว

บุคคลภายนอกที่ ได้รบั การยกเว้นค่าเข้าใช้บริการรายวัน (ฟรี!) 1. ศิษย์เก่า (จะต้องมีหลักฐานมาแสดง) 2. ผูป้ กครองของนักศึกษาสถาบันฯ 3. ผูเ้ ข้าอบรมหลักสูตรระยะสัน้ ของสถาบันฯ และผูป้ กครอง 4. บุตร/ญาติ ของบุคลากรสถาบันฯ 5. บุคคลทัว่ ไปทีอ่ าศัยอยู่ในเขตชุมชนใกล้เคียง (แขวง/เขตสวนหลวง)

เอกสารประกอบการสมัครสมาชิกรายปี 1. สำ�เนาบัตรประจำ�ตัวประชาชน/สำ�เนาบัตรข้าราชการ/สำ�เนาพาสสปอร์ต (Photocoppy Passport) จำ�นวน 1 ใบ 2. รูปถ่ายขนาด 1 นิว้ จำ�นวน 2 รูป 3. สำ�เนาทะเบียนบ้าน จำ�นวน 1 ใบ 4. ชาวต่างชาติ ให้ ใช้ส�ำ เนาหนังสือประจำ�ตัวของคนต่างด้าว จำ�นวน 1 ใบ 5. ศิษย์เก่า ต้องใช้ส�ำ เนาทรานสคริป (Transcript) หรือสำ�เนาปริญญาบัตร /บัตรศิษย์เก่า จำ�นวน 1 ใบ 16


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

การสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศมี 2 รูปแบบ ได้แก่ 1. การสืบค้นแบบง่าย (Basic Search) 2. การสืบค้นแบบซับซ้อน (Advance Search) การสืบค้นแบบง่าย (ฺBasic Search) การสืบค้นแบบง่าย (ฺBasic Search) มีขั้นตอนดังนี้ 1. เมื่อเข้าสู่เว็บไซต์ http://library.tni.ac.th ให้คลิกที่ ที่แถบเมนูด้านบน จะปรากฏหน้าจอการสืบค้นแบบ Basic Search ดังภาพที่ 1

หรือ Search

Search

ภาพที่ 1 การสืบค้นแบบ Basic Search และการกำ�หนดประเภทของคำ�ค้น 2. พิมพ์คำ�ค้นในช่องประเภทของคำ�ค้นที่ต้องการค้นหา ได้แก่ ผู้แต่ง (Author) ชื่อเรื่อง (Title) ISBN (เลขมาตรฐานสากลประจำ�หนังสือ) เลขเรียก (Call Number) หัวเรื่อง (Subject) คำ�สำ�คัญ (Keyword) อย่างใดอย่างหนึ่ง จากนั้นคลิกที่ ค้นหา ดังภาพที่ 2 ประเภทคําค้ น

คลิก ค้ นหา

17

พิมพ์คําค้ นที�ต้องการ

ภาพที่ 2 การเลือกประเภทของคำ�ค้นและกำ�หนดคำ�ค้น


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

3. ผลการสืบค้นที่ปรากฏจะตรงกับคำ�ค้น ซึ่งจะแสดงรายละเอียด ได้แก่ ชื่อเรื่อง ชื่อผู้แต่ง ปีพิมพ์ ประเภททรัพยากรสารสนเทศ และเลขเรียกหนังสือ จากนั้นคลิกชื่อเรื่องที่ต้องการ ดังภาพที่ 3

คลิกชื�อเรื�องที�ต้อ งการโดยดูช ื�อผู้แ ต่ง, ปี พิมพ์ว่าตรงกับที� ต้องการหรือไม่ เลขเรียกหนังสือ

ภาพที่ 3 รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศ ที่ตรงกับคำ�ค้น

4. จะปรากฏรายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศชื่อเรื่องนั้นๆ ดังภาพที่ 4 รายละเอียดทีป� รากฏ ได้ แก่ -ISBN -ชื�อผู้แต่ง -ชื�อเรื� อง -พิม พลักษณ์ -เลขเรี ยกหนังสือ -รู ปเล่ม -หัวเรื� อง -ประเภททรั พยากรฯ -สถานทีจ� ัดเก็บ -สถานะ (บนชั �น/ถูกยืม) -หนังสือเล่ม นีมี� ซีดรี อม ประกอบ

ภาพที่ 4 รายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศที่ค้นหา

18


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

การสืบค้นแบบซับซ้อน (Advance Search) การสืบค้นแบบซับซ้อน (Advance Search) เป็นการสืบค้นโดยใช้คำ�เชื่อมระหว่าง คำ�ค้น 2 คำ� เพือ่ จำ�กัดขอบเขตของเนื้อหา ซึ่งคำ�เชื่อมที่ใช้ ได้แก่ and, or, not โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1.จากหน้าจอการสืบค้นแบบง่าย (Basic Search) ให้คลิกที่ Advance search ดังภาพที่ 5

Advanced Search Advance Search

ภาพที่ 5 การสืบค้นแบบ Advance Search 2. พิมพ์คำ�ค้นและเลือกประเภทคำ�ค้นที่ต้องการ จากนั้นคลิกที่ เครื่องหมาย เพื่อใส่ คำ�เชื่อมในการสืบค้น ได้แก่ and, or, not 2.1 พิมพ์คำ�ค้นและเลือกประเภทของคำ�ค้นที่ต้องการเชื่อมกับคำ�ค้นแรก จากนั้นคลิก ที่ จะปรากฏผลการสืบค้นที่ตรงกับคำ�ค้นแรกและคำ�ค้นที่สอง ซึ่งเชื่อมโดย and, or, not ดังภาพที่ 6

คําเชื�อม and, or, not

เลือกประเภทคําค้ น

คําค้ น � คํา (ชื�อเรื� องและชื�อผู้แต่ง)

ภาพที่ 6 การกำ�หนดคำ�ค้นและคำ�เชื่อม

19


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

ส่วน กํา หนดขอบเขต

ภาพที่ 7 แสดงผลการสืบค้นที่ตรงกับคำ�ค้นและคำ�เชื่อม ในหน้าจอแสดงผลการสืบค้นทั้ง 2 รูปแบบ จะมีคอลัมน์ “กำ�หนดขอบเขต” อยู่ทางด้าน ซ้ายมือ ซึ่งอธิบายแยกเป็นส่วนๆ ได้ ดังนี้ 1

2

3

4

5

1. ส่วน “สืบค้นที่ไหนดี” จะแสดงว่าคำ�ค้นที่สืบค้นนั้นค้นพบทรัพยากรฯ กี่รายการ โดยแยกตามประเภทของคำ�ค้น ได้แก่ คำ�สำ�คัญ ชื่อเรื่อง ชื่อผู้แต่ง และหัวเรื่อง ตัวเลข ในวงเล็บที่อยู่ด้านหลัง หมายถึง จำ�นวนรายการที่ค้นพบตามประเภทคำ�ค้นนั้นๆ 2. ส่วน “มีประเภทวัสดุ” จะบอกว่า ในรายการทั้งหมดที่สืบค้นได้ มีประเภทวัสดุอะไร บ้าง จำ�นวนเท่าไหร่ เช่น ซีดีรอม ภาษาไทย (100), หนังสือทั่วไป ภาษาไทย (93) เป็นต้น หากคลิกที่ชื่อประเภทวัสดุ ก็จะเป็นการกำ�หนดข้อมูลที่ค้นพบให้แคบลง โดยจะแสดงผลการสืบค้นเฉพาะรายการวัสดุที่เลือกเท่านั้น 3. ส่วน “สถานที่จัดเก็บ” จะบอกว่า ในรายการทั้งหมดที่สืบค้นได้ถูกจัดเก็บอยู่ที่ใดบ้าง หากคลิกที่ชื่อสถานที่ จะเป็นการจำ�กัดเฉพาะรายการที่ถูกจัดเก็บอยู่ ณ สถานที่ที่เราเลือก 4. ส่วน “ภาษา” ส่วนนี้จะแสดงภาษาของรายการที่เราสืบค้นได้ หากคลิกที่ชื่อของภาษา จะเป็นการจำ�กัดให้แสดงเฉพาะรายการที่เป็นภาษานั้นๆ 5. ส่วน “ปี” เป็นรายการปีที่ผลิต/ปีพิมพ์ทั้งหมดของผลการสืบค้น หากคลิกไปที่ปีใดๆ จะเป็นการจำ�กัดผลการสืบค้นให้แคบหรือน้อยลง โดยแสดงเฉพาะรายการที่ผลิต/ปี พิมพ์ในปีนั้นๆ

“หากต้องการยืมทรัพยากรฯ รายการนั้นๆ ให้ดูรายละเอียดว่าเป็น ทรัพยากรฯ ประเภทใด ภาษาอะไร และหมวดหมู่อะไร แล้วไปค้นหาที่ชั้นหนังสือ ซึ่งจะมีป้ายบอกหมวดหมู่ และเลขหมู่ติดอยู่ที่ชั้น และถ้าเป็นซีดี/ดีวีดี ให้ติดต่อ ขอยืมที่เคาน์เตอร์บริการ”

20


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

เลือก

ภาษา ที่ต้องการ จากนั้นเลือก ยืมหนังสือ

สแกนบาร์ โค้ดบัตรประจำ�ตัว (บัตรนักศึกษา/บัตรพนักงาน/ บัตรสมาชิกห้องสมุด)

วางหนังสือไว้บนตำ�แหน่งที่กำ�หนด (ดังรูป)

โดยสามารถวางหนังสือซ้อนกันได้หลายเล่ม (ความสูงรวมกันทุกเล่มไม่เกิน 10 นิ้ว)

รอจนกว่ารายการหนังสือจะปรากฎ บนหน้าจอการยืมครบตามจำ�นวนที่ยืม

พิมพ์ ใบบันทึกรายการ

และรับใบบันทึกรายการ 21

*เก็บใบบันทึกรายการไว้เป็น หลักฐานจนกว่าจะนำ�หนังสือ มาส่งคืนศูนย์วิทยบริการ


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

บริการยืมต่อผ่านระบบออนไลน์เป็นอีกหนึ่งช่องทางที่ผู้ใช้บริการสามารถยืมต่อได้นอกเหนือ จากการยืมต่อที่เคาน์เตอร์บริการและการยืมต่อทางโทรศัพท์ โดยมีขั้นตอนดังนี้

1

เข้าสู่เว็บไซต์ศูนย์วิทยบริการ http://library.tni.ac.th ให้คลิกที่

2

จะปรากฏหน้าจอดังภาพที่ 8 จากนั้นใส่รหัส ประจำ�ตัวนักศึกษา หรือรหัสพนักงานในช่อง “รหัส สมาชิก” โดยไม่ต้องใส่รหัสผ่าน แต่หากต้องการ กำ�หนดรหัสผ่านสามารถกำ�หนดได้เอง หลังจาก เข้าใช้งานครั้งแรก จากนั้น คลิก “เข้าสู่ระบบ”

3

จะปรากฏหน้าจอดังภาพที่ 9 จากนั้นคลิกที่ “หน้าหลักสมาชิก” ชื�อผู้ยมื

หน้ าหลักสมาชิก

แก้ ไขข้ อมูลส่วนตัว

ภาพที่ 8 การ login เข้าสู่ระบบ

วิธีกำ�หนดรหัสผ่าน หลังจากที่มีการเข้าระบบครั้งแรก จะปรากฏหน้าจอดังภาพที่ 9 ให้คลิกที่ “แก้ ไขข้อมูลส่วนตัว” ซึ่งอยู่มุมบนขวา จากนัน้ ให้แก้ ไขข้อมูลส่วนตัว กำ�หนดรหัส ผ่านและเพิ่มข้อมูลส่วนตัวตามต้องการ

ภาพที่ 9 แสดงชื่อผู้ยืม หน้าหลักสมาชิก/แก้ไขข้อมูลส่วนตัว

4

หน้าหลักสมาชิกจะมีข้อมูลส่วนตัว ข้อมูลการยืม (ชื่อเรื่อง บาร์โค้ด ประเภททรัพยากรฯ วันยืม วัน กำ�หนดคืน) หากทรัพยากรฯ รายการใดสามารถ ยืมต่อได้ จะพบคำ�ว่า “Renew” (ยืมต่อ) ให้ คลิกตรงคำ�ว่า Renew (ยืมต่อ) โดยสามารถคลิก สถานะยืมต่อได้ ยืมต่อได้ทีละรายการหรือยืมต่อได้พร้อมกันทุก รายการ โดยคลิกที่ Renew all ภาพที่ 10 แสดงข้อมูลส่วนตัว และรายการที่จะยืมต่อ

“การยืมต่อจะทำ�ได้เฉพาะทรัพยากรฯ ที่ไม่เกิน กำ�หนดส่งและยืมต่อล่วงหน้าก่อนถึงกำ�หนด ส่ง 3 วัน หากเกินกำ�หนดส่งแล้ว จะต้องนำ� ทรัพยากรฯ มาส่งคืนและชำ�ระค่าปรับ”

22


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

ผูใ้ ช้บริการสามารถจองทรัพยากรสารสนเทศผ่านระบบออนไลน์ได้ทเี่ ว็บไซต์ศนู ย์วทิ ยบริการ http://library.tni.ac.th ตามขั้นตอนดังนี้ เมื่อสืบค้นทรัพยากรฯ ที่ต้องการแล้วพบว่าทรัพยากรฯ นั้นถูกยืมหมดทุกรายการ ซึ่งจะ แสดง วันกำ�หนดคืน ในช่องสถานะ หมายความว่า เล่มที่ต้องการไม่มีบนชั้นแล้ว หากต้องการจอง ให้ปฏิบัติดังนี้ 1. จากหน้าจอแสดงผลการสืบค้น จะพบรายละเอียดเกี่ยวกับทรัพยากรฯ พร้ อ มทั้ ง สถานะว่ า ถู ก ยื ม หรื อ อยู่ บ น ชั้ น หากรายการใดถู ก ยื ม จะปรากฏ คำ�ว่า “Request” หรือ “จอง” อยู่ ด้ า นล่ า งวั น กำ � หนดคื น ดั ง ภาพที่ 12

ภาพที่ 11 แสดงหน้าจอสืบค้นทรัพยากรฯ ที่ต้องการ

2. จากนั้นให้คลิกที่ “Request” หรือ “จอง” จะปรากฏหน้าจอเพือ่ ทำ�การจอง โดย ให้ใส่รหัสนักศึกษา/รหัสประจำ�ตัวพนักงาน และรหัสผ่าน จากนัน้ คลิก Submit ดังภาพที่ 13 ภาพที่ 12 แสดงผลการสืบค้นทรัพยากรฯ และสถานะการยืม

*ในการเข้าระบบจองครั้งแรกไม่ต้องใส่รหัสผ่าน เช่นเดียวกับการยืมต่อ แต่หากได้ท�ำ การกำ�หนดรหัส ผ่านแล้วผู้ใช้จะต้องใส่รหัสผ่านที่ตนเองกำ�หนดขึ้น*

23

ภาพที่ 13 แสดงหน้าจอ login เข้าระบบจอง

“เมื่อทรัพยากรฯ ที่ทำ�การจองถูกส่งคืนมายังศูนย์วิทยบริการ เจ้าหน้าที่จะแจ้งให้มารับ ทรัพยากรฯ ทีจ่ องไว้ หรือให้มาติดต่อขอยืมได้ทเี่ คาน์เตอร์บริการเมือ่ ถึงวันกำ�หนดคืน ซึง่ สามารถ ตรวจสอบวันกำ�หนดคืนได้เองจากผลการสืบค้นที่พบ หรือโทรศัพท์สอบถามข้อมูลการจองได้ที่ หมายเลข 02-7632625-6”


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

ประเภทและสัญลักษณ์ของทรัพยากรสารสนเทศ สัญลักษณ์

ภาษา

ประเภททรัพยากรสารสนเทศ หนังสือทั่วไป : General Books

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น

หนังสือตำาราเรียนสำารอง : Reserved books

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น

นวนิยาย : Fiction

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น

หนังสืออ้างอิง : : Reference books

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น

หนังสืออาเซียน : ASEAN Books

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ

มุมความรู้ตลาดทุน : SET Corner

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ

หนังสืออ่านนอกเวลา : Reading books

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ

เรื่องสั้น : Short story

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ

การ์ตูน : Comic

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น

หนังสือเยาวชน : Juvenile Books

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ

วิทยานิพนธ์ : Thesis

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ

รายงานการวิ จัย : Research งานวิ จัย : Research

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ

โครงงานสหกิจศึกษา : Co-Operative projects

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ

วารสาร : Journal

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น

วารสารเย็บเล่ม : Bound-Serial

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น

ซีดีรอม : CD-ROM

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น

ภาพยนตร์ : Movie

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาอื่นๆ

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ : eBooks

ภาษาอังกฤษ

24


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

ชื่อฐานข้อมูล

WebOPAC (ฐานข้ อ มู ล รวบรวม ทรัพยากรสารสนเทศ ของศูนย์วิทยบริการ)

e-Thesis & Research

Thai Digital Collection (TDC)

25

รายละเอียด

เว็บไซต์

เป็นฐานข้อมูลรายการบรรณานุกรม http://library.tni.ac.th ทรัพยากรสารสนเทศที่ให้บริการ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ไม่จำ�กัดสถานที่ ภายในศูนย์วิทยบริการของสถาบัน เทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่นทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นหนังสือ สื่อมัลติมีเดีย รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ ฯลฯ

การเข้าใช้งาน ไม่ต้องใช้รหัสผ่าน

เป็ น ฐานข้ อ มู ล อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ท่ี http://library.tni.ac.th ไม่ต้องใช้รหัสผ่าน จัดเก็บและรวบรวมงานวิจัย สาร http://ethesis.tni.ac.th นิพนธ์ วิทยานิพนธ์ของนักศึกษา ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ปริญญาโท และโครงงานสหกิจศึกษา ภายในสถาบันเท่านั้น ของนักศึกษาปริญญาตรี สถาบัน เทคโนโลยีไทย-ญีป่ นุ่ จัดเก็บและให้ บริการในรูปแบบฉบับเต็ม (Fulltext) เป็ น ฐานข้ อ มู ล เอกสารฉบั บ เต็ ม ในรู ป อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ จั ด ทำ � โดย สำ � นั ก งานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา (สกอ.) มีเป้าหมายเพื่อ ให้บริการสืบค้นเอกสารฉบับเต็ม ประเภทวิทยานิพนธ์ ปริญญานิพนธ์ และงานวิจัย รวบรวมจากสถาบัน อุดมศึกษาทั่วประเทศ

http://library.tni.ac.th ไม่ต้องใช้รหัสผ่าน http://tdc.thailis.or.th/tdc ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ภายในสถาบัน *หากต้องการสืบค้นจาก ภายนอก สามารถสมัคร เป็นสมาชิกและ login ใช้งานเฉพาะบุคคลได้


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

ชื่อฐานข้อมูล

McGraw-Hill eBook Library

ASIA Books eBoooks

Cengage Learning eBoooks

ebrary

Cambridge

Core

รายละเอียด

เว็บไซต์

เปิดใช้เฉพาะเนื้อหาทางด้านภาษา http://library.tni.ac.th (Language Collection) สามารถ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เปิดอ่าน ดาวน์โหลด และสั่งพิมพ์ ภายในสถาบันเท่านั้น เนื้ อ หาฉบั บ เต็ ม ในรู ป แบบ PDF ได้ทั้งเล่ม

การเข้าใช้งาน ไม่ต้องใช้รหัสผ่าน

เป็น eBooks ที่ให้บริการหนังสือ http://library.tni.ac.th login เข้าใช้งานโดย ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เ ปิ ด ดู ร หั ส ผ่ า น ไ ด้ หลากหลายสาขาวิ ช า ไม่ ว่ า จะ ไม่จำ�กัดสถานที่ จากเว็บไซต์ศูนย์วิทย เป็ น ด้ า นวิ ช าการ วิ ท ยาศาสตร์ บริการ (ต้อง Sign In เทคโนโลยี บันเทิง นวนิยาย ฯลฯ e-mail@tni.ac.th เปิดอ่านได้ทั้งบน PC, Notebook, ก่อนจึงจะสามารถเปิด iPad, Smart Phone และ Tablet ดูรหัสผ่านได้) เป็นฐานข้อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ http://library.tni.ac.th (eBooks) ภาษาต่ า งประเทศ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถเลื อ กการแปลเนื้ อ หา ภายในสถาบันเท่านั้น เป็นภาษาของประเทศต่างๆ ตาม ต้ อ งการ และออกเสี ย งให้ ฟั ง ได้ ตามภาษาที่ส่ังแปล นอกจากนี้ยัง สามารถดาวน์โหลดไฟล์เสียงที่อ่าน ไปเก็บไว้ในรูปแบบ MP3 ใช้งานได้ กับ PC, Notebook, iPad, Smart Phone และ Tablet

ไม่ต้องใช้รหัสผ่าน

เป็นฐานข้อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ http://site.ebrary.com/ lib/tni (eBooks) ภาษาต่างประเทศ สห สาขาวิ ช า สามารถเปิ ด อ่ า นและ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ภายในสถาบันเท่านั้น ดาวน์โหลดในรูปแบบ PDF

ไม่ต้องใช้รหัสผ่าน

เป็นฐานข้อมูลหนังสือ http://library.tni.ac.th อิเล็กทรอนิกส์ (eBooks) ภาษา ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ต่างประเทศของสำ�นักพิมพ์ Cam- ภายในสถาบันเท่านั้น bridge University Press และ บริการ Open Access Journals ครอบคลุมเนื้อหาสหสาขาวิชา

ไม่ต้องใช้รหัสผ่าน

26


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

ชื่อฐานข้อมูล

Circuit Cellar

รายละเอียด

เว็บไซต์

การเข้าใช้งาน

เป็นวารสารฉบับออนไลน์ภาษาต่าง http://library.tni.ac.th login เข้าใช้งานโดย ประเทศ ประกอบด้วยเนื้อหาด้าน http://www.cc-access.com เปิ ด ดู ร หั ส ผ่ า นได้ วิศวกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จากเว็บไซต์ศนู ย์วทิ ย ไม่จำ�กัดสถานที่ คอมพิวเตอร์ นำ�เสนอข้อมูลในรูป บริการ (ต้อง Sign In แบบบทความฉบับเต็ม (Full Text) e-mail@tni.ac.th ก่ อ นจึ ง จะสามารถ เปิดดูรหัสผ่านได้) เป็นวารสารฉบับออนไลน์ภาษา ต่างประเทศ มีเนื้อหาเกี่ยวกับการ ใช้ภาษาอังกฤษ เหมาะสำ�หรับ ประกอบการเรียนการสอนภาษา อังกฤษ สำ�หรับผู้เรียนที่ใช้ภาษา อื่นเป็นภาษาหลักทุกระดับชั้น

http://library.tni.ac.th ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ภายในสถาบันเท่านั้น

ไม่ต้องใช้รหัสผ่าน

เป็ น หนั ง สื อ พิ ม พ์ ฉ บั บ ออนไลน์ ภาษาต่างประเทศ นำ�เสนอเนื้อหา The Wall เกี่ ย วกั บ ความเคลื่ อ นไหวด้ า น Street Journal เศรษฐกิจ สังคม สถานการณ์โลก ความเคลื่อนไหวของตลาด องค์กร วัฒนธรรม เทคโนโลยี และข่าวสาร ประจำ�วันจากทั่วโลก

http://library.tni.ac.th ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ไม่จำ�กัดสถานที่

login เข้าใช้งานโดย เปิ ด ดู ร หั ส ผ่ า นได้ จากเว็บไซต์ศนู ย์วทิ ย บริการ (ต้อง Sign In e-mail@tni.ac.th ก่ อ นจึ ง จะสามารถ เปิดดูรหัสผ่านได้)

เป็นวารสารฉบับออนไลน์ภาษาต่าง ประเทศ นำ�เสนอข้อมูลในรูปแบบ บทความฉบับเต็ม เนื้อหาเกี่ยวกับ การเรี ย นการสอนภาษาอั ง กฤษ แสดงข้อมูลในรูปแบบ PDF สัง่ พิมพ์ และดาวน์โหลดได้

http://library.tni.ac.th ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ไม่จำ�กัดสถานที่

login เข้าใช้งานโดย เปิ ด ดู ร หั ส ผ่ า นได้ จากเว็บไซต์ศนู ย์วทิ ย บริการ (ต้อง Sign In e-mail@tni.ac.th ก่ อ นจึ ง จะสามารถ เปิดดูรหัสผ่านได้)

TESOL Journal

English Teaching Professional

27


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

ชื่อฐานข้อมูล

Language Learning in Higher Education

Cognitive Linguistics

Automotive Engineering

Corpus Linguistics Theory

รายละเอียด

เว็บไซต์

การเข้าใช้งาน

เป็ น วารสารออนไลน์ ภ าษาต่ า ง http://library.tni.ac.th ประเทศ เนื้ อ หาครอบคลุ ม ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ด้ า นการเรี ย นการสอนภาษาใน ภายในสถาบันเท่านั้น ระดั บ อุ ด มศึ ก ษา สามารถอ่ า น บทความและติ ด ตามข่ า วสาร ความเคลื่อนไหวต่างๆ ทางด้าน การเรียนการสอนภาษาได้จนถึง ปัจจุบัน

ไม่ต้องใช้รหัสผ่าน

เป็ น วารสารออน ไลน์ ภ าษา http://library.tni.ac.th ต่ า งประเทศ มี เ นื้ อ หาด้ า น ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ภาษาศาสตร์ ให้บริการข่าวสาร ภายในสถาบันเท่านั้น บทความวิชาการที่ทันสมัยเหมาะ สำ�หรับการวิจัยค้นคว้า และการ เรียนการสอนด้านภาษา

ไม่ต้องใช้รหัสผ่าน

เป็ น วารสารออนไลน์ ภ าษาต่ า ง http://library.tni.ac.th login เข้าใช้งานโดย ประเทศ มีเนื้อหาด้านวิศวกรรม ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เ ปิ ด ดู ร หั ส ผ่ า น ไ ด้ ยานยนต์ อุตสาหกรรมยานยนต์ ไม่จำ�กัดสถานที่ จากเว็บไซต์ศูนย์วิทย และความเคลื่อนไหวต่างๆ เกี่ยว บริ ก าร (ต้ อ ง Sign กับรถยนต์ In e-mail@tni.ac.th ก่อนจึงจะสามารถเปิด ดูรหัสผ่านได้) เป็ น วารสารออนไลน์ ภ าษาต่ า ง http://library.tni.ac.th ประเทศ นำ � เสนองานวิ จั ย โดย ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มุ่ ง เน้ น ประเด็ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งด้ า น ภายในสถาบันเท่านั้น ภาษาศาสตร์ แ ละประเด็ น อื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ด้ า นภาษา เป็ น วารสารที่ ไ ด้ ก ารยอมรั บ ว่ า มี คุณภาพสูง

ไม่ต้องใช้รหัสผ่าน

28


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

ชื่อฐานข้อมูล

EBSCO

(Computers & Applied Sciences Complete)

The Japan Times

International Journal of corpus Linguistics (IJCL)

Studies in Second Language Acquisition 29

รายละเอียด

เว็บไซต์

การเข้าใช้งาน

เ ป็ น ฐ า น ข้ อ มู ล ว า ร ส า ร ที่ http://library.tni.ac.th ใช้งานภายใน TNI ไม่ตอ้ ง ครอบคลุ ม งานวิ จั ย ในสาขา ใช้งานผ่านเครือข่าย ใส่รหัสผ่าน วิ ช าวิ ท ยาการคอมพิ ว เตอร์ อินเทอร์เน็ตทั้งภายในและ *แต่หากต้องการใช้งาน วิ ศ วกรรมคอมพิ ว เตอร์ และ ภายนอกสถาบัน นอกเครือข่าย TNI ต้อง วิทยาศาสตร์ประยุกต์ มีดรรชนี ใช้ ร หั ส ผ่ า น โดยเปิ ด ดู และสาระสั ง เขปจากจำ � นวน รหัสผ่านได้จากเว็บไซต์ วารสารมากกว่า 2,200 รายชือ่ ศู น ย์ วิ ท ยบริ ก าร (ต้ อ ง และข้อมูลฉบับเต็มจากวารสาร Sign In e-mail@tni. มากกว่า 1,020 บทความ ac.th ก่อนจึงจะสามารถ เปิดดูรหัสผ่านได้) เป็นหนังสือพิมพ์ออนไลน์ภาษา http://library.tni.ac.th ต่างประเทศ นำ�เสนอข่าวสาร ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ของประเทศญี่ ปุ่ น ทั้ ง ด้ า น ไม่จำ�กัดสถานที่ ธุ ร กิ จ การเมื อ ง วั ฒ นธรรม ชีวติ และสไตล์ บันเทิง และกีฬา รวมทั้ง ภู มิภ าคเอเชี ย แปซิ ฟิก login เข้าใช้งานโดยเปิด ครอบคลุมข่าวสารจากทั่วทุก ดูรหัสผ่านได้จากเว็บไซต์ มุมโลก ศู น ย์ วิ ท ยบริ ก าร (ต้ อ ง เป็นวารสารออนไลน์ภาษาต่าง http://library.tni.ac.th Sign In e-mail@tni. ประเทศ นำ�เสนอเนื้อหาเกี่ยว ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ac.th ก่อนจึงจะสามารถ เปิดดูรหัสผ่านได้) กับงานวิจัย บทความทางด้าน ไม่จำ�กัดสถานที่ ภาษาศาสตร์ในบริบทต่างๆ เช่น พจน์ ไวยากรณ์ ภาษาศาสตร์ เชิงสังคม ภาษาศาสตร์ประยุกต์ และภาษาศาสตร์ ใ นด้ า นการ เรียนการสอน เป็นต้น เป็นวารสารออนไลน์ภาษาต่าง http://library.tni.ac.th ประเทศ มีเนื้อหาเกี่ยวกับการ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ศึกษาภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ ภายในสถาบันเท่านั้น สอง นำ�เสนอแนวคิดและทฤษฎี เกีย่ วกับการเรียนการสอน รวม ทั้งงานวิจัยและบทความ

ไม่ต้องใช้รหัสผ่าน


ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

ชื่อฐานข้อมูล

รายละเอียด

เว็บไซต์

การเข้าใช้งาน

เป็ น นิ ต ยสารออนไลน์ ภ าษาต่ า ง

The economist ประเทศ วิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจที่

สำ � คั ญ ในระดั บ ท้ อ งถิ่ น รวมทั้ ง ความคิดเห็นด้านการเมือง การเงิน วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

Collins WordBanks Online

OokBee e-Magazine

อักขราวิสุทธิ์

login เข้าใช้งานโดย เ ปิ ด ดู ร หั ส ผ่ า น ไ ด้ http://library.tni.ac.th จากเว็บไซต์ศูนย์วิทย เป็นคลังข้อมูลภาษาออนไลน์ ภาษา ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต บริการ (ต้อง Sign In ต่ า งประเทศ ประกอบด้ ว ยคลั ง ไม่จำ�กัดสถานที่ e-mail@tni.ac.th ภาษากว่า 550 ล้านคำ� มากกว่า 8 ก่อนจึงจะสามารถเปิด กลุ่มชนิดของภาษาอังกฤษ มีการ ดูรหัสผ่านได้) วิเคราะห์ภาษาเชิงลึกสำ�หรับการ วิจัย วิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และ คำ�ศัพท์ที่ใช้ในห้องเรียน เป็ น Application ที่ ร วบรวม http://library.tni.ac.th login เข้าใช้งานและ วารสาร/นิตยสาร และหนังสือพิมพ์ App Store ดาวน์โหลด Applicaฉบับออนไลน์ มากกว่า 100 ชือ่ เรือ่ ง Google Play tion โดยเปิ ด ดู ร หั ส สามารถใช้งานผ่าน Smartphone ผ่านได้จากเว็บไซต์ศนู ย์ และ Tablet โดยติดตั้ง App. ได้ วิทยบริการ (ต้อง Sign จาก App Store และ Google Play In e-mail@tni.ac.th ก่อนจึงจะสามารถเปิด ดูรหัสผ่านได้) เป็ น โปรแกรมสำ � หรั บ ตรวจสอบ http://library.tni.ac.th ใช้งานได้เฉพาะผู้ที่มี งานเขี ย น งานวิ จั ย วิ ท ยานิ พนธ์ http://plag.grad.chula. e-mail ของสถาบัน สารนิ พ นธ์ วารสารทางวิ ช าการ ac.th/ เทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น เพื่ อ ค้ น หาข้ อ ความที่ อ าจจะเป็ น เท่านั้น การลอกเลี ย น ผลงานผู้ อื่ น ด้ ว ย ฐานข้อมูลทางวิชาการขนาดใหญ่ พัฒนาโปรแกรมโดย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และบริษัทอินสไป ก้า จำ�กัด

30



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.