แผนปฏิบัติการแม่บท eid

Page 1


แผนปฏิบัติการแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559)


แผนปฏิบัติการแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559)

เผยแพร่โดย : พิมพ์ครั้งที่ 1 : จำ�นวน : พิมพ์ที่ :

สำ�นักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข กรกฎาคม 2556 12,000 เล่ม สำ�นักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ห้ามลอกเลียนแบบส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือเล่มนี้


คำ�นำ� การจัดทำ�แผนปฏิบัติการแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่อ อุบตั ใิ หม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) เป็นการดำ�เนินงานภายใต้มติคณะกรรมการอำ�นวยการเตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ ตามคำ�สั่งสำ�นักนายกรัฐมนตรี ซึ่งมีนายปลอดประสพ สุรัสวดี รองนายก รัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ และกำ�หนดให้มกี ารจัดทำ�แผนปฏิบตั กิ ารแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) แผนปฏิบัติการแม่บทนี้ เป็นแผนยุทธศาสตร์ที่เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกองค์กรภาคีต่างๆ ทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน ในการจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์ทั้งในส่วนกลางและภูมิภาค โดยพิจารณาสถานการณ์โรคติดต่อ อุบตั ใิ หม่ทสี่ �ำ คัญทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ แนวโน้มของการเกิดโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ มีการกำ�หนดประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน และโครงการ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแผนแม่บท ในการปฏิบัติงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ อุบัติใหม่ โดยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ใช้เป็นแนวทางการขับเคลื่อนและบริหารจัดการแผนงานของหน่วยงานภาครัฐ ร่วมกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อความเป็นเอกภาพและมีประสิทธิภาพต่อไป สำ�หรับแนวทางการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และ แก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) ไปสู่การปฏิบัติ ได้วางแนวทางการขับเคลื่อนและบริหาร จัดการแผนยุทธศาสตร์ ดังนี้ 1. ให้คณะกรรมการอำ�นวยการเตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ เป็นกลไกระดับชาติในการขับเคลื่อน 2. ใช้กระบวนการจัดทำ�แผนปฏิบัติการเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนในภาครัฐ โดยบูรณาการวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และมาตรการ ตามแผนยุทธศาสตร์เข้ากับภารกิจตามอำ�นาจหน้าที่ และกฎระเบียบของหน่วยราชการ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งในส่วนกลาง ระดับจังหวัด และกลุ่มจังหวัด 3. ใช้กระบวนการขับเคลื่อนกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 ยุทธศาสตร์โรคติดต่ออุบัติใหม่ภูมิภาค เอเชียแปซิฟิก และกรอบความร่วมมือในปฏิญญาสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นกลไกเสริม การพัฒนาศักยภาพของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในประเทศและพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศ 4. รัฐบาลโดยคณะกรรมการอำ�นวยการเตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่แห่งชาติ และหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมบทบาท และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ทั้งในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น เพื่อบูรณาการการดำ�เนินงาน ตามภารกิจของตน ให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) 5. ใช้การจัดทำ�แผนประคองกิจการ (Business Continuity Plan ; BCP) เป็นกลยุทธ์เร่งรัดการเรียนรู้และ พัฒนาบทบาทของหน่วยงานภาคส่วนต่างๆ ในการเตรียมความพร้อมรับมือโรคติดต่ออุบัติใหม่และภัยพิบัติต่างๆ 6. ใช้ระบบการติดตามและประเมินผลปฏิบัติราชการ เป็นกลไกกำ�กับ ติดตาม และประเมินผลการทำ�งาน ตามแผนยุทธศาสตร์ในภาครัฐ ส่วนการติดตามและประเมินผลในภาคส่วนอื่นๆ สามารถทำ�ได้โดยใช้ข้อมูลจาก หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องหรือแหล่งข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง คณะผู้จัดทำ� หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนปฏิบัติการแม่บทนี้ จะเป็นประโยชน์ในการเตรียมความพร้อมรับมือ กับปัญหาการระบาดใหญ่ของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทัง้ นี้ สามารถกำ�หนดกิจกรรม แผนงานโครงการ ตามบทบาท และภารกิจของหน่วยงานที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหา โรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) เพิ่มเติม ได้ต่อไป เมษายน 2556 คณะผู้จัดทำ� ก


กิตติกรรมประกาศ แผนปฏิบัติการแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) ฉบับนี้ สำ�เร็จได้ดว้ ยความอนุเคราะห์ของคณะกรรมการอำ�นวยการเตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ และคณะทำ�งานโครงการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) ทีมวิทยากรทีไ่ ด้ให้ความรู้ คำ�แนะนำ� ตรวจทาน และเพิ่มเติมเนื้อหาต่างๆ ด้วยความเอาใจใส่ทุกขั้นตอน เพื่อให้การจัดทำ�แผนปฏิบัติการแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) ฉบับนี้สมบูรณ์ที่สุด คณะผู้จัดทำ�ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ นอกจากนี้ คณะผู้จัดทำ�ขอขอบพระคุณ ผู้ทรงคุณวุฒิ นักวิชาการทุกท่าน ที่ให้คำ�แนะนำ�ในการค้นคว้าข้อมูล ความรู้ในด้านต่างๆ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งขอขอบคุณ ผู้ประสานงาน ผู้เข้าร่วมประชุมจากหน่วยงานต่างๆ ที่ให้ ความช่วยเหลือในการระดมความคิดเห็น แลกเปลี่ยนข้อมูล อำ�นวยความสะดวกในการดำ�เนินการจัดประชุมทุกครั้ง และให้กำ�ลังใจในการจัดทำ�แผนปฏิบัติการแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหา โรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) และทุกท่านที่อยู่เบื้องหลังในความสำ�เร็จที่ได้ให้ความช่วยเหลือ สนับสนุนและให้กำ�ลังใจตลอดมา คณะผู้จัดทำ�


สารบัญ

หน้า คำ�นำ� ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค บทสรุปสำ�หรับผู้บริหาร (Executive Summary) ง บทนำ� 1 ส่วนที่หนึ่ง : แนวคิดและทิศทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ 3  วิสัยทัศน์ของแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อมป้องกัน และแก้ไขปัญหา 4 โรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559)  ผลการดำ�เนินงานก่อนเริ่มแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหา 4 โรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559)  กรอบการดำ�เนินงานตามแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหา 8 โรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) ส่วนที่สอง : แนวทางการดำ�เนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ 9  ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน รักษา และควบคุมโรค ภายใต้แนวคิด 10 สุขภาพหนึ่งเดียว  ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดการระบบการเลี้ยง และสุขภาพสัตว์ และสัตว์ป่า ให้ปลอดโรค 10  ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบจัดการความรู้ และส่งเสริมการวิจัยพัฒนา 10  ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการเชิงบูรณาการและเตรียมความพร้อมตอบโต้ 11 ภาวะฉุกเฉิน  ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสื่อสาร และประชาสัมพันธ์ความเสี่ยงของโรคติดต่ออุบัติใหม่ 11 ส่วนที่สาม : กลไกการนำ�แผนปฏิบัติการแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน 13 และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) ไปสู่การปฏิบัติ  หน่วยงานรับผิดชอบ 14  แนวทางการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล 21 ส่วนที่สี่ : แผนงานตามยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหา 27 โรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559)  ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน รักษา และควบคุมโรค ภายใต้แนวคิด 28 สุขภาพหนึ่งเดียว  ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดการระบบการเลี้ยง และสุขภาพสัตว์ และสัตว์ป่า ให้ปลอดโรค 46  ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบจัดการความรู้ และส่งเสริมการวิจัยพัฒนา 57  ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการเชิงบูรณาการและเตรียมความพร้อมตอบโต้ 62 ภาวะฉุกเฉิน  ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสื่อสาร และประชาสัมพันธ์ความเสี่ยงของโรคติดต่ออุบัติใหม่ 73 ภาคผนวก  รายนามผู้จัดทำ�แผนปฏิบัติการแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน 90 และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) ค


บทสรุปสำ�หรับผู้บริหาร (Executive Summary) ปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่กำ�ลังเป็นปัญหาที่ทั่วโลกให้ความสำ�คัญ เนื่องจากทุกปีจะมี โรคติดต่ออุบตั ใิ หม่เกิดขึน้ ซึง่ ล้วนแล้วแต่มคี วามซับซ้อนในการแก้ปญ ั หา โดยส่วนใหญ่เป็นโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน มักส่งผลกระทบต่อสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคมอย่างมาก โดยพบว่า ในช่วง 3 ทศวรรษที่ผ่านมา มีโรคติดเชื้อ เกิดขึ้นใหม่จำ�นวนมาก และมีโรคที่สำ�คัญ เช่น โรคซาร์ส โรคไข้หวัดนก และ โรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ดังนั้นทุกประเทศ จำ�เป็นต้องเตรียมการเฝ้าระวัง และป้องกันการระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ รวมถึงประสานความร่วมมือระหว่างประเทศ อย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกันและสกัดกั้นการแพร่ระบาดอย่างเต็มที่ โรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ในปัจจุบนั มีแนวโน้มเพิม่ มากขึน้ โดยส่วนใหญ่มตี น้ กำ�เนิดมาจากสัตว์ หรือสัตว์ปา ่ และมีปจั จัย เสี่ยงต่อการเกิดโรค ได้แก่ การเคลื่อนย้ายของประชากร ความชุกชุมของสัตว์พาหะนำ�โรค การขาดความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักในการป้องกันควบคุมโรคของประชาชน การปฏิบตั ติ นไม่ถกู ต้องตามหลักสุขอนามัยหรือสุขลักษณะ การอยู่รวมกันอย่างหนาแน่น ประชาชนบางกลุ่มมีความเสี่ยงที่จะติดโรคเนื่องจากมีความต้านทานโรคตํ่า เช่น เด็กอายุ ตํ่ากว่า 5 ปี ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หญิงตั้งครรภ์ ผู้มีภาวะอ้วน ประชาชนบางกลุ่มที่มีโอกาสสัมผัสโรคมาก เช่น เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งสัตว์ คนทำ�งานในโรงฆ่าสัตว์ คนชำ�แหละเนือ้ สัตว์ สัตวบาล และสัตวแพทย์ ประชาชนบางกลุม่ มีโอกาส แพร่โรคหรือรับโรคได้ง่าย เช่น กลุ่มผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก หรือกลุ่มผู้เดินทางไปต่างประเทศ ดังนั้น จึงได้มีการจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) โดยเป็นการดำ�เนินงานภายใต้คณะกรรมการอำ�นวยการเตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไข ปัญหาโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ ซึง่ มีนายปลอดประสพ สุรสั วดี รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ และมีการจัดทำ�แผน ปฏิบตั กิ ารแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ดงั กล่าว เพือ่ เป็นแนวทางในการดำ�เนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ในการป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ โดยแผนปฏิบัติการแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไข ปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) ประกอบด้วยแนวคิดและทิศทางการป้องกันและแก้ไขปัญหา โรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ แนวทางการดำ�เนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ กลไกการนำ�แผนปฏิบตั กิ ารแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) ไปสู่การปฏิบัติ อันประกอบด้วย หน่วยงานรับผิดชอบ แนวทางการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และแผนงาน ตามยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) แผนปฏิบัติการแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) เป็นแผนงานให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในทุกภาคส่วนนำ�ไปใช้เป็นกรอบการจัดทำ�แผนปฏิบตั ิ ราชการ โดยสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ในการเตรียมความพร้อมรับมือกับปัญหาการระบาดใหญ่ของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยสามารถกำ�หนดกิจกรรม แผนงาน โครงการตามบทบาท และภารกิจของหน่วยงานทีส่ อดคล้อง กับแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) และ ร่วมกันขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ให้บรรลุวัตถุประสงค์ต่อไป


บทนำ� แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) จัดทำ�ขึน้ ต่อเนือ่ งจากแผนยุทธศาสตร์ปอ้ งกัน แก้ไข และเตรียมความพร้อมรับปัญหาโรคไข้หวัดนก และการระบาดใหญ่ ของโรคไข้หวัดใหญ่ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551 - 2553) เพือ่ ใช้เป็นแผนยุทธศาสตร์หลักของประเทศในการป้องกัน แก้ไข และ เตรียมรับสถานการณ์การระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ ซึ่งจากแผนยุทธศาสตร์ป้องกัน แก้ไข และเตรียมความพร้อม รับปัญหาโรคไข้หวัดนก และการระบาดใหญ่ของโรคไข้หวัดใหญ่ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551 - 2553) ที่ผ่านมานั้น สามารถ ลดการระบาดของโรคไข้หวัดนก และไข้หวัดใหญ่ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยได้อย่างชัดเจน เป็นที่ยอมรับของนานาชาติ ในการป้องกันและควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น เพื่อติดตาม ป้องกัน และเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ ระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่ยังเกิดขึ้นอย่ างต่อเนื่อง คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ความเห็นชอบแผนยุทธศาสตร์ เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) เมือ่ วันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2555 ทั้งนี้ ได้มีการจัดทำ�โครงการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) เพื่อให้การจัดการแก้ไขปัญหา และการเตรียมพร้อมรับโรคติดต่ออุบัติใหม่เป็นไป อย่างมีเอกภาพและมีประสิทธิภาพ มีการจัดทำ�แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหา โรคติดต่ออุบัติใหม่ โดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน เพื่อใช้เป็นกรอบในการพิจารณาดำ�เนินงานให้สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม รวมถึงจัดทำ�แผนปฏิบัติการ 4 ปี เพื่อผลักดันให้เกิดกระบวนการแปลงแผนยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติของหน่วยงานภาครัฐ และองค์กรที่เกี่ยวข้อง การจัดทำ�แผนปฏิบัติการแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่อ อุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) จะแสดงถึงการแปลงประเด็นยุทธศาสตร์ มาตรการ และกลยุทธ์ที่องค์กรต่างๆ จะนำ�ไปสู่ “ภารกิจ” ของแต่ละองค์กรที่ต้องการดำ�เนินการ รวมทั้งนำ�เสนอประเด็น ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ที่จะทำ�ให้ภารกิจนั้นบรรลุผลสำ�เร็จ และกำ�หนดเป้าหมาย และตัวชี้วัดผลสำ�เร็จของภารกิจ รวมถึงผลผลิต/โครงการ สำ�คัญทีอ่ งค์กรต่างๆ จะจัดทำ� เพือ่ นำ�ไปสูก่ ารจัดทำ�แผนปฏิบตั กิ ารประจำ�ปีของแต่ละองค์กรภายใต้กรอบแผนปฏิบตั กิ าร 4 ปี เพือ่ เป็นแนวทางในการปฏิบตั งิ าน และเป็นกรอบในการจัดทำ�คำ�ของบประมาณรายจ่ายประจำ�ปีของแต่ละหน่วยงาน รวมถึงการรายงานผลการปฏิบัติราชการสิ้นปีงบประมาณ แผนปฏิบัติการแม่บทนี้ มีเนื้อหาสาระสำ�คัญประกอบด้วยสี่ส่วน ได้แก่ ส่วนที่หนึ่ง แสดงแนวคิดและทิศทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ ส่วนที่สอง แสดงแนวทางการดำ�เนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ ส่วนที่สาม แสดงกลไกการนำ�แผนปฏิบตั กิ ารแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไข ปัญหาโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) ไปสูก่ ารปฏิบตั ิ อันประกอบด้วย หน่วยงาน รับผิดชอบ และแนวทางการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล ส่วนที่สี่ แสดงแผนงานตามยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) ทั้งนี้ แผนปฏิบัติการแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหา โรคติดต่ออุบตั ใิ หม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) มุง่ เน้นการมีสว่ นร่วมของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องทุกภาคส่วน ในการกำ�หนด ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน และโครงการ เพื่อใช้เป็นกรอบการจัดทำ�แผนปฏิบัติราชการในการป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ และการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงานภาครัฐร่วมกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง อย่างเป็นเอกภาพและมีประสิทธิภาพต่อไป 1



ส่วนที่หนึ่ง

แนวคิดและทิศทางการป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่


ส่วนที่หนึ่ง : แนวคิดและทิศทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ ในช่วงหลายทศวรรษที่ผา่ นมา ได้เกิดการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ขึ้นทั่วโลกอย่างต่อเนื่อง ทั้งโรคติดเชื้อ ชนิดใหม่ที่เพิ่งค้นพบการระบาดในมนุษย์ หรือโรคติดเชื้อที่พบในพื้นที่ใหม่ เช่น โรคเอดส์ โรคซาร์ส โรคติดเชื้อไวรัส นิปาห์และไวรัสเฮนดรา (Nipah and Hendra Viral Disease) โรคติดเชือ้ ไวรัสอีโบลา-มาร์บรู ก์ (Ebola-Marburg Viral Disease) โรคไข้เวสต์ไนล์ (West Nile Fever) โรคสมองฝ่อ (Variant-Creutzfeldt-Jakob Disease) หรือเกิดจาก เชื้อโรคที่กลายพันธุ์ เช่น เชื้อไข้หวัดนก (H5N1) เชื้อไข้หวัดใหญ่ A (H1N1) pdm09 ที่ระบาดใหญ่ในปี พ.ศ. 2552 เชื้ออีโคไลโอ 104 (E.coli O104) โรคไข้กาฬหลังแอ่นจากเชื้อสายพันธุ์ใหม่ เชื้อโรคดื้อยา รวมทั้งโรคติดต่ออุบัติซํ้า ซึง่ เป็นโรคติดเชือ้ ทีเ่ คยแพร่ระบาดในอดีตและสงบไปแล้ว แต่กลับระบาดขึน้ ใหม่ เช่น โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (Chikungunya Fever) กาฬโรค รวมถึงความเสี่ยงจากโรคติดเชื้อที่ใช้เป็นอาวุธชีวภาพ (Bioterrorism) เช่น แอนแทรกซ์ ไข้ทรพิษ เป็นต้น โรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ในปัจจุบนั มีแนวโน้มเพิม่ มากขึน้ โดยส่วนใหญ่มตี น้ กำ�เนิดมาจากสัตว์ หรือสัตว์ปา ่ และมีปจั จัย เสี่ยงต่อการเกิดโรค ได้แก่ การเคลื่อนย้ายของประชากร ความชุกชุมของสัตว์พาหะนำ�โรค การขาดความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักในการป้องกันควบคุมโรคของประชาชน การปฏิบตั ติ นไม่ถกู ต้องตามหลักสุขอนามัยหรือสุขลักษณะ การอยู่รวมกันอย่างหนาแน่น ประชาชนบางกลุ่มมีความเสี่ยงที่จะติดโรคเนื่องจากมีความต้านทานโรคตํ่า เช่น เด็กอายุ ตํ่ากว่า 5 ปี ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หญิงตั้งครรภ์ ผู้มีภาวะอ้วน ประชาชนบางกลุ่มที่มีโอกาสสัมผัสโรคมาก เช่น เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งสัตว์ คนทำ�งานในโรงฆ่าสัตว์ คนชำ�แหละเนือ้ สัตว์ สัตวบาล และสัตวแพทย์ ประชาชนบางกลุม่ มีโอกาส แพร่โรคหรือรับโรคได้ง่าย เช่น กลุ่มผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก หรือกลุ่มผู้เดินทางไปต่างประเทศ ทัง้ นี้ โรคติดต่ออุบตั ใิ หม่สว่ นใหญ่มคี วามซับซ้อนยากต่อการจัดการ หากขาดระบบและเครือ่ งมือป้องกันควบคุมโรค ที่มีประสิทธิภาพแล้ว โรคเหล่านี้อาจก่อความสูญเสียต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชน และอาจส่งผลกระทบต่อสังคม และเศรษฐกิจอย่างมหาศาล ด้วยเหตุนี้ จึงได้มีการจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหา โรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) โดยวัตถุประสงค์หลักเพื่อลดการป่วย การตาย และลดผลกระทบ ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม อันเนื่องมาจากการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ นำ�ไปสู่การกำ�หนดประเด็น ยุทธศาสตร์ พร้อมทั้งมาตรการและแนวทางการดำ�เนินการ เพื่อตอบสนองต่อวัตถุประสงค์และเป้าหมายของแต่ละ ยุทธศาสตร์ และสอดรับกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป l วิสัยทัศน์ของแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) “ประเทศไทยสามารถป้องกัน ควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ ของนานาชาติ โดยมีศักยภาพและความพร้อมของระบบบริหารจัดการ บุคลากร และการจัดการองค์ความรู้” l ผลการดำ � เนิ น งานก่ อ นเริ่ ม แผนยุ ท ธศาสตร์ เ ตรี ย มความพร้ อ ม ป้ อ งกั น และแก้ ไขปั ญ หาโรคติ ด ต่ อ อุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) 1. ความเป็นมาของคณะกรรมการอำ�นวยการเตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่อ อุบัติใหม่แห่งชาติ สำ�นักนายกรัฐมนตรี ได้มีคำ�สั่งที่ 149/2555 ลงวันที่ 2 กรกฎาคม 2555 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการ อำ�นวยการเตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ จำ�นวน 43 ท่าน โดยมีรองนายก รัฐมนตรีทนี่ ายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นประธานกรรมการ และกำ�หนดบทบาทหน้าทีห่ ลัก คือ การกำ�หนดนโยบายและ ยุทธศาสตร์ระดับชาติ ในการเตรียมความพร้อม ป้องกัน ควบคุม และแก้ไขสถานการณ์การระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ 4


ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทัง้ กำ�หนดมาตรการช่วยเหลือผูเ้ ดือดร้อนและผูท้ ไี่ ด้รบั ผลกระทบ ซึง่ เดิมนายกรัฐมนตรี มอบหมาย พลเอกยุทธศักดิ์ ศศิประภา รองนายกรัฐมนตรีในขณะนัน้ เป็นประธานคณะกรรมการอำ�นวยการเตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ ภายหลังได้มีการปรับเปลี่ยนคณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรีจึงได้ มอบหมายให้ นายปลอดประสพ สุรัสวดี รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานคณะกรรมการอำ�นวยการดังกล่าวแทน 2. แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) 2.1 ความเป็นมาของแผนยุทธศาสตร์ฯ ในการดำ�เนินงานหลักของคณะกรรมการอำ�นวยการฯ นั้น จะเป็นการดำ�เนินงานภายใต้แผนยุทธศาสตร์ เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) ซึง่ ในการจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์ ดังกล่าว เป็นการดำ�เนินงานภายใต้มติคณะกรรมการอำ�นวยการป้องกัน ควบคุม แก้ไขสถานการณ์โรคไข้หวัดนก และ การเตรียมพร้อมสำ�หรับการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ ตามคำ�สั่งสำ�นักนายกรัฐมนตรี ซึ่งมีพลตรีสนั่น ขจรประศาสน์ รองนายกรัฐมนตรี (ในขณะนั้น) เป็นประธานกรรมการ โดยกำ�หนดให้มีการประเมิน และจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์ ฉบับใหม่ต่อเนื่องจากแผนยุทธศาสตร์ป้องกัน แก้ไข และเตรียมพร้อมรับปัญหาโรคไข้หวัดนก และการระบาดใหญ่ ของโรคไข้หวัดใหญ่ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551 - 2553) ทีไ่ ด้สนิ้ สุดลงในปี พ.ศ. 2553 ประกอบกับมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2552 เสนอต่อคณะรัฐมนตรีให้มีการจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์เพื่อการบริหารจัดการโรคติดต่ออุบัติใหม่ แบบบูรณาการ จึงนำ�มาสูก่ ารจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ใช้เป็นแผนปฏิบตั กิ ารแม่บทในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ใช้เป็นกรอบการจัดทำ�แผนปฏิบัติราชการ และร่วมกันขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ให้บรรลุ วัตถุประสงค์ต่อไป แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) เป็นแผนยุทธศาสตร์ที่เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกองค์กรภาคีต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน ที่ได้มี ส่วนร่วมในการจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์ โดยพิจารณาสถานการณ์โรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ทสี่ �ำ คัญทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ แนวโน้มของการเกิดโรคติดต่ออุบัติใหม่ รวมถึงการดำ�เนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ฯ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551 - 2553) ซึ่งแผนยุทธศาสตร์ฉบับนี้ ได้บูรณาการแนวคิดและทิศทางในการจัดทำ�แผนให้สอดคล้องกับทั้งยุทธศาสตร์ภายใน ประเทศ และพันธสัญญาในกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ เช่น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) กฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 แผนยุทธศาสตร์สำ�หรับโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งภูมิภาค เอเชียแปซิฟิก พ.ศ. 2553 และกรอบการดำ�เนินงานของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) โดยเน้นกระบวนการมีสว่ นร่วมของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องทุกภาคส่วนในการกำ�หนดประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน และโครงการ แผนยุทธศาสตร์ฯ ฉบับนี้ ได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2555 โดยเป็นกรอบและ แนวทางอย่างกว้าง ดังนั้นหน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องในภาคส่วนต่างๆ สามารถกำ�หนดแนวทางและมาตรฐาน เพิ่มเติมในระดับที่จำ�เป็น โดยสอดคล้องกับภารกิจของหน่วยงานและความเหมาะสมทางวิชาการ ตลอดจนการบริหาร จัดการ และความสอดคล้องกับสถานการณ์ของปัญหาและเงื่อนไขการทำ�งานที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ 2.2 สรุปสาระสำ�คัญของแผนยุทธศาสตร์ฯ การจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) เริ่มต้นจากการวิเคราะห์สถานการณ์ด้านโรคติดต่ออุบัตใิ หม่ในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา ประกอบกับวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ภายในและภายนอกประเทศ ประสบการณ์จากการสรุปผลการดำ�เนินงานของแผนยุทธศาสตร์ ป้องกัน แก้ไข 5


และเตรียมความพร้อมรับปัญหาโรคไข้หวัดนกและการระบาดใหญ่ของโรคไข้หวัดใหญ่ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551 - 2553) ข้อเสนอแนะของสภาทีป่ รึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และมติทปี่ ระชุมของสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ โดยนำ�แนวคิด มาจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559), กฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548, ยุทธศาสตร์โรคติดต่ออุบัติใหม่ของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก, กรอบความร่วมมืออาเซียน, การเตรียมพร้อมเข้าสู่ประชาคม อาเซียน และแนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว ฯลฯ ทั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อลดการป่วย การตาย และลดผลกระทบ ทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม อันเนื่องมาจากการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ นำ�ไปสู่การกำ�หนดประเด็น ยุทธศาสตร์ พร้อมทั้งแนวทางและมาตรการดำ�เนินการ เพื่อตอบสนองต่อวัตถุประสงค์และเป้าหมายของแต่ละ ยุทธศาสตร์ และสอดรับกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์ 25 กลยุทธ์ 140 มาตรการ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน รักษา และควบคุมโรคภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึง่ เดียว ประกอบด้วย 5 กลยุทธ์ 41 มาตรการ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดการระบบการเลี้ยง และสุขภาพสัตว์ และสัตว์ป่า ให้ปลอดโรค ประกอบด้วย 8 กลยุทธ์ 36 มาตรการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบจัดการความรู้ และส่งเสริมการวิจัยพัฒนา ประกอบด้วย 3 กลยุทธ์ 19 มาตรการ ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการเชิงบูรณาการและเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ 26 มาตรการ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสื่อสาร และประชาสัมพันธ์ความเสี่ยงของโรคติดต่ออุบัติใหม่ ประกอบด้วย 5 กลยุทธ์ 18 มาตรการ 3. การดำ�เนินงานที่ผ่านมา ประเทศไทยได้มีการเตรียมความพร้อมโดยได้ดำ�เนินการตามแผนยุทธศาสตร์ที่ผ่านมาแล้วอย่างต่อเนื่อง 2 ฉบับ ได้แก่ l แผนยุ ท ธศาสตร์ แ ก้ ไขปั ญ หาโรคไข้ ห วั ด นก และแผนยุ ท ธศาสตร์ เ ตรี ย มความพร้ อ มในการป้ อ งกั น และ แก้ปัญหาการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ (พ.ศ. 2548 - 2550) โดยคณะกรรมการพิจารณาแก้ไขสถานการณ์ โรคไข้หวัดนก และคณะทำ�งานแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อมในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดของไข้หวัดใหญ่ l แผนยุทธศาสตร์ปอ ้ งกัน แก้ไข และเตรียมพร้อมรับปัญหาโรคไข้หวัดนก และการระบาดใหญ่ของโรคไข้หวัดใหญ่ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551 - 2553) โดยคณะกรรมการอำ�นวยการป้องกัน ควบคุม แก้ไขสถานการณ์โรคไข้หวัดนก และ การเตรียมพร้อมสำ�หรับการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ และฉบับปัจจุบันเป็นแผนยุทธศาสตร์ฉบับที่ 3 ซึ่งได้แก่ แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไข ปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ (พ.ศ. 2556-2559) ทั้งนี้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้มีการปฏิบัติงานตามภารกิจของตน ตลอดจนได้มกี ารประสานงานเพือ่ การขับเคลือ่ นแผนยุทธศาสตร์ และดำ�เนินงานตามยุทธศาสตร์ทเี่ กีย่ วข้องกับหน่วยงาน ในทางคู่ขนาน ซึ่งผลการดำ�เนินงานมีดังนี้ 3.1 การดำ�เนินงานขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ (พ.ศ. 2556-2559) ได้แก่ 3.1.1 การเสนอคำ�สัง่ แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการอำ�นวยการเตรียมความพร้อม ป้องกัน และ แก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ 6


3.1.2 จัดประชุมคณะกรรมการอำ�นวยการเตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ แห่งชาติ ครั้งที่ 1/2556 3.1.3 จัดทำ�คำ�สัง่ แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการจำ�นวน 8 คณะ ภายใต้คณะกรรมการอำ�นวยการเตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ 3.1.4 การจัดทำ�แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) 3.1.5 การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำ�แผนปฏิบัติการ (Operation Plan) ระดับภาค 3.1.6 การจัดทำ�แผนปฏิบัติการแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหา โรคติดต่ออุบัติใหม่ 3.2 การดำ�เนินงานตามแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ (พ.ศ. 2556-2559) ได้แก่ 3.2.1 ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน รักษา และควบคุมโรคภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว โดย กรมควบคุมโรค ได้ดำ�เนินการดังนี้  จัดประชุมการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือเครือข่ายสุขภาพหนึ่งเดียว วันที่ 25 ธันวาคม 2556  ร่วมจัดประชุม Collaboration One Health Projects by Epidemiological Teams at the Provincial and District Level in Thailand: Learning from field Experiences และร่วมจัดนิทรรศการเครือข่ายสุขภาพ หนึ่งเดียว ในการประชุมวิชาการรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล พ.ศ. 2556 เมื่อวันที่ 29 มกราคม - 2 กุมภาพันธ์ 2556  ดำ�เนินการพัฒนาเว็บไซต์ One Health (www.thaionehealth.org) ให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ  จัดตั้งศูนย์ความร่วมมือสุขภาพหนึ่งเดียว ณ สำ�นักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค  การดำ�เนินงานด้านการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน รักษา และควบคุมโรคภายใต้แนวคิดสุขภาพ หนึ่งเดียว ตามบทบาทภารกิจของหน่วยงาน 3.2.2 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดการระบบการเลี้ยง และสุขภาพสัตว์ และสัตว์ป่า ให้ปลอดโรค  กรมปศุสตั ว์ และกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา ่ และพันธุพ์ ชื ได้ด�ำ เนินงานด้านการจัดการระบบการเลีย้ ง และสุขภาพสัตว์ และสัตว์ป่า ให้ปลอดโรค ตามบทบาทภารกิจของหน่วยงาน 3.2.3 ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบจัดการความรู้ และส่งเสริมการวิจัยพัฒนา  กรมควบคุมโรค ร่วมกับ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เรือ่ ง โรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ : ความท้าทายสำ�หรับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข เมือ่ วันที่ 10 - 11 มกราคม 2556  ดำ�เนินงานพัฒนาระบบจัดการความรู้ และส่งเสริมการวิจัยพัฒนาตามบทบาทภารกิจของหน่วยงาน 3.2.4 ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการเชิงบูรณาการและเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน โดยสำ�นักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค และกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได้ดำ�เนินการดังนี้  การจัดทำ�แผนประคองกิจการของหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน  ผลักดันให้มีการซ้อมแผนการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินของหน่วยงานในกำ�กับ  การเตรียมความพร้อมด้านวัสดุ เวชภัณฑ์ อุปกรณ์ป้องกัน พร้อมทั้งฝึกซ้อมการใช้อุปกรณ์อย่างถูกต้อง  ดำ � เนิ น งานพั ฒ นาระบบบริ ห ารจั ด การเชิ ง บู ร ณาการและเตรี ย มความพร้ อ มตอบโต้ ภาวะฉุ ก เฉิ น ตามบทบาทภารกิจของหน่วยงาน 3.2.5 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสื่อสาร และประชาสัมพันธ์ความเสี่ยงของโรคติดต่ออุบัติใหม่  ดำ�เนินงานด้านการสื่อสาร และประชาสัมพันธ์ความเสี่ยงของโรคติดต่ออุบัติใหม่ ตามบทบาทภารกิจ ของหน่วยงาน 7


กรอบการดำ�เนินงานตามแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) ยุทธศาสตร์ทงั้ 5 ตามแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) มีความสัมพันธ์เชือ่ มโยงกันอย่างเป็นระบบ ตัง้ แต่การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง และป้องกันควบคุมโรค ในคน สัตว์ สัตว์ป่า และสิ่งแวดล้อม ให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อสามารถควบคุมโรคได้อย่างรวดเร็ว ทันการณ์ สร้างความปลอดภัยให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยง และประชาชนทั่วไป ในขณะเดียวกันก็มีก ารเตรียมความพร้อม เพื่อรองรับการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ ซึ่งจะช่วยสร้างศักยภาพให้ประเทศไทยสามารถพึ่งพาตนเองได้ ลดผลเสียหายที่จะเกิดขึ้นทั้งทางเศรษฐกิจ และสังคม นอกจากนี้ ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ และกลไกการบริหาร จัดการเชิงบูรณาการ จะช่วยให้ทุกภาคส่วนในสังคมได้ผนึกกำ�ลังเสริมสร้างศักยภาพและองค์ความรู้ในการป้องกัน ควบคุม และแก้ไขปัญหาร่วมกัน l

วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยสามารถป้องกัน ควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของนานาชาติ โดยมีศักยภาพและความพร้อมของระบบบริหารจัดการ บุคลากร และ การจัดการองค์ความรู้”

เป้าประสงค์

เป้าหมาย

ประเทศไทยสามารถลดการป่วย การตาย และลดผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม อันเนื่องมาจากการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ ประเทศไทยมีความร่วมมือทั้งภาคสุขภาพคน สัตว์ สัตว์ป่า และสิ่งแวดล้อม และมีศักยภาพ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน รักษา และควบคุม โรคติดต่ออุบัติใหม่แบบบูรณาการ ประเทศไทยมีการจัดการระบบ การเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจที่ดี ลดผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากการส่งออกภายในประเทศ เกี่ยวกับสัตว์หรือสินค้าแปรรูป จากสัตว์

ยุทธศาสตร์

8

ประเทศไทยมีระบบบริหารจัดการ และมีความพร้อมในการตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ อย่างมีประสิทธิภาพ ประเทศไทยมีการ จัดการความรู้ด้าน โรคติดต่ออุบัติใหม่ อย่างบูรณาการ และส่งเสริมการวิจัย พัฒนา

ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง ในการป้องกันโรค และ มีความเชื่อมั่นต่อการ แก้ไขปัญหาโรคติดต่อ อุบัติใหม่ของประเทศ

ยุทธศาสตร์ 1 ยุทธศาสตร์ 2 ยุทธศาสตร์ 3 ยุทธศาสตร์ 4 ยุทธศาสตร์ 5

พัฒนาระบบ เฝ้าระวังป้องกัน รักษา และควบคุมโรค ภายใต้แนวคิด สุขภาพหนึ่งเดียว

การจัดการระบบ การเลี้ยง และสุขภาพสัตว์ และสัตว์ป่า ให้ปลอดโรค

พัฒนาระบบ จัดการความรู้ และส่งเสริม การวิจัยพัฒนา

พัฒนาระบบ บริหารจัดการ เชิงบูรณาการ และเตรียม ความพร้อมตอบโต้ ภาวะฉุกเฉิน

การสื่อสาร และ ประชาสัมพันธ์ ความเสี่ยงของ โรคติดต่ออุบัติใหม่


ส่วนที่สอง

แนวทางการดำ�เนินงานป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่


ส่วนที่สอง : แนวทางการดำ�เนินงานป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ แนวทางการดำ�เนินงานป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ เพือ่ ให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องนำ�แผนปฏิบตั กิ าร แม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) ไปสู่ ก ารปฏิ บั ติ ต่ อ ไป ประกอบด้ ว ย 5 ยุ ท ธศาสตร์ 25 กลยุ ท ธ์ 140 มาตรการ โดยได้ มี ก ารปรั บ ปรุ ง แก้ ไข ตามข้อคิดเห็นของหน่วยงานต่างๆ แล้ว ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน รักษา และควบคุมโรค ภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว เพื่อให้หน่วยงานทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ ทั้งภาคสุขภาพคน สัตว์ สัตว์ป่า และสิ่งแวดล้อม สร้างความร่วมมือในด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน รักษา และควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่แบบบูรณาการ ภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึง่ เดียว (One Health) เพือ่ ให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องมีศกั ยภาพการเฝ้าระวัง ป้องกัน รักษา และ ควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย 5 กลยุทธ์ 41 มาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 เสริมสร้างความเข้มแข็งของการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่แบบบูรณาการ กลยุทธ์ที่ 2 บูรณาการระบบเฝ้าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่ระหว่างภาคคน สัตว์ สัตว์ป่า และสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาศักยภาพระบบเครือข่ายทางห้องปฏิบัติการ กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาระบบการวินิจฉัย ดูแลรักษาพยาบาล และควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ กลยุทธ์ที่ 5 เสริมสร้างความเข้มแข็งของการสอบสวน และควบคุมโรคเชิงบูรณาการ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดการระบบการเลี้ยง และสุขภาพสัตว์ และสัตว์ป่า ให้ปลอดโรค เพือ่ จัดการระบบการเลีย้ งสัตว์ ทัง้ สัตว์เศรษฐกิจ และการจัดการสัตว์ป่าให้ปลอดจากโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ เพือ่ ลด ผลกระทบทางเศรษฐกิจ ทั้งด้านธุรกิจภายในประเทศและการส่งออกเกี่ยวกับสัตว์และสินค้าแปรรูปจากสัตว์ รวมทั้ง ลดผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหาร และวิถีชีวิตของเกษตรกร ประกอบด้วย 8 กลยุทธ์ 36 มาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 ปรับปรุง และพัฒนารูปแบบการเลี้ยงสัตว์รายย่อย และการเลี้ยงสัตว์เชิงอุตสาหกรรม กลยุทธ์ที่ 2 ป้องกันการนำ�เข้าโรคติดต่ออุบัติใหม่จากต่างประเทศ กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาบุคลากรและถ่ายทอดความรู้ให้แก่กลุ่มเสี่ยงในกิจการเลี้ยงสัตว์ กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริมระบบการฆ่าสัตว์ให้มีมาตรฐาน กลยุทธ์ที่ 5 ฟื้นฟูระบบการเลี้ยง สายพัน ธุ์ และการตลาดของสั ต ว์ เ ลี้ ย งและสั ต ว์ ปี ก สวยงาม หลั ง ได้ รั บ ผลกระทบจากปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ กลยุทธ์ที่ 6 จัดทำ�ระบบการตรวจสอบย้อนกลับในอุตสาหกรรมสัตว์เชิงธุรกิจ กลยุทธ์ที่ 7 ศึกษาและวิจัยด้านการปรับระบบการเลี้ยงสัตว์ และปัจจัยเสี่ยงของโรคติดต่ออุบัติใหม่ในสัตว์ กลยุทธ์ที่ 8 ศึกษาความมั่นคง และความหลากหลายทางชีวภาพ และพันธุกรรมของสัตว์ป่า ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบจัดการความรู้ และส่งเสริมการวิจัยพัฒนา เพื่อให้ประเทศมีก ารจัดการความรู้เรื่องโรคติดต่ออุบัติใหม่แบบบูรณาการ และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์ อย่างเป็นระบบและยัง่ ยืน โดยส่งเสริมการวิจยั พัฒนาเกีย่ วกับโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่อย่างเหมาะสม ประกอบด้วย 3 กลยุทธ์ 19 มาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 จัดการความรู้อย่างเป็นระบบ กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาองค์ความรู้เชิงบูรณาการ และส่งเสริมการนำ�ความรู้สู่นโยบายและการปฏิบัติ กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาระบบการสนับสนุนงานวิจัยพัฒนา วิศวกรรม และการออกแบบ 10


ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการเชิงบูรณาการและเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้มีระบบบริหารจัดการและประสานงานการป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ ที่เชื่อมโยงกับแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557 โดยให้หน่วยงานทุกภาคส่วน และประชาชนมีความพร้อมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ มีทรัพยากรและการส่งกำ�ลังบำ�รุงเพียงพอ ต่อการแก้ไขสถานการณ์โรคระบาดที่เกิดขึ้น มีระบบการสนับสนุนปฏิบัติการตอบโต้ในภาวะฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพ เพื่อลดการป่วย การตาย และลดผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม อันเนื่องมาจากการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ 26 มาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 จั ด ระบบการบริ ห ารจั ด การ การป้ อ งกั น และแก้ ไขปั ญ หาการระบาดของโรคติ ด ต่ อ อุ บั ติ ใ หม่ แบบบูรณาการ กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนากลไกการประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ กลยุทธ์ที่ 3 เตรียมความพร้อมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนทรัพยากรและการส่งกำ�ลังบำ�รุง ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสื่อสาร และประชาสัมพันธ์ความเสี่ยงของโรคติดต่ออุบัติใหม่ เพื่อมีกลไกการประสานงาน เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารความเสี่ยง เพื่อการป้องกันควบคุม โรคติดต่ออุบัติใหม่ที่รวดเร็ว ถูกต้อง ทันต่อสถานการณ์ และต่อเนื่องในระดับชาติและนานาชาติ เพื่อให้บุคลากร ทีเ่ กีย่ วข้องและประชาชน มีความรูค้ วามเข้าใจทีถ่ กู ต้อง สามารถรักษาพยาบาล ป้องกันและควบคุมโรคอย่างรวดเร็วและ เหมาะสม สังคมมีความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพการรับมือกับสถานการณ์โรคติดต่ออุบัติใหม่ และเพื่อสร้างภาพลักษณ์ ที่ดีของประเทศ และความเชื่อมั่นของนานาชาติต่อประเทศไทย ประกอบด้วย 5 กลยุทธ์ 18 มาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาโครงสร้างและเครือข่ายด้านการสือ่ สารความเสีย่ ง ประชาสัมพันธ์ในทุกภาคส่วนและทุกระดับ กลยุทธ์ที่ 2 จัดทำ�ยุทธศาสตร์ด้านการสื่อสารความเสี่ยงและการประชาสัมพันธ์ของโรคติดต่ออุบัติใหม่ กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาบุคลากรด้านการสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ์ กลยุทธ์ที่ 4 เร่งรัดการดำ�เนินงานเชิงรุกด้านการเผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ เพื่อการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ อุบัติใหม่แก่ประชาชน เพื่อการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาประสิทธิภาพด้านการสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ์

11



ส่วนที่สาม

กลไกการนำ�แผนปฏิบัติการแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหา โรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) ไปสู่การปฏิบัติ


ส่วนที่สาม : กลไกการนำ�แผนปฏิบัติการแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) ไปสู่การปฏิบัติ การขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหา โรคติดต่ออุบตั ใิ หม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) จะขับเคลือ่ นผ่านคณะกรรมการอำ�นวยการเตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ และการจัดทำ�แผนปฏิบัติการ โดยใช้กระบวนการขับเคลื่อนกฎอนามัย ระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 ยุทธศาสตร์โรคติดต่ออุบัติใหม่ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก และกรอบความร่วมมือในปฏิญญา สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นกลไกเสริม และสนับสนุนการมีสว่ นร่วมของภาคีเครือข่ายในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ทัง้ ในส่วนกลาง ส่วนภูมภิ าค และส่วนท้องถิน่ รวมทัง้ จัดทำ�แผนประคอง กิจการ (Business Continuity Plan ; BCP) เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือโรคติดต่ออุบัติใหม่และภัยพิบัติต่างๆ

1. หน่วยงานรับผิดชอบ

กระทรวงสาธารณสุข 1. สนับสนุนการเตรียมความพร้อมและฝึกซ้อมแผนรับมือโรคระบาดในระดับชาติ และระดับภูมิภาค 2. นำ�เสนอข้อมูลเพื่อพิจารณาการประกาศภาวะโรคระบาด และประกาศเขตติดโรค รวมทั้งระดับ ความรุนแรงของการระบาด 3. สำ�รวจ จัดหาทรัพยากร รวมทั้งประสานความร่วมมือด้านการแพทย์และการสาธารณสุข 4. ปรับปรุงข้อมูลด้านสถานพยาบาล บุคลากร อุปกรณ์ทางการแพทย์ ให้ทันสมัยอยู่เสมอ รวมทั้งข้อมูล พื้นที่ปลอดภัยเพื่อรองรับการอพยพถ้ามีความจำ�เป็น 5. จัดเตรียมกำ�ลังคน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ เวชภัณฑ์ ห้องปฏิบัติการ สถานพยาบาลให้มี ความพร้อม 6. จัดระบบและเครือข่ายบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินทั่วประเทศ ที่มีความพร้อมช่วยเหลือผู้ประสบภัย 7. จัดบริการรักษาพยาบาล การอนามัย การสุขาภิบาล การป้องกันโรค แก่ผู้ประสบภัย 8. จัดให้มีระบบการเฝ้าระวังโรคที่เข้มแข็ง มีชุดเคลื่อนที่เร็วเพื่อสอบสวนและควบคุมโรคได้ทันที 9. ให้ความรู้แก่ประชาชนในการป้องกันและควบคุมโรค และด้านการรักษาพยาบาลเบื้องต้น 10. จัดระบบเตือนภัยการระบาด โดยใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัย และเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงาน และเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง 11. ร่วมสำ�รวจความเสียหาย และความต้องการของผู้ประสบภัย 12. ร่วมฟื้นฟูความเสียหายเบื้องต้น รวมถึงการฟื้นฟูสภาพจิตใจของผู้ป่วย และครอบครัวของผู้ป่วย และผู้เสียชีวิต 13. ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานและองค์กรระหว่างประเทศ เพือ่ การเตรียมความพร้อมและการรับมือ แก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรแก่หน่วยงานและภาคส่วนต่างๆ เพื่อสร้าง ความเข้าใจการเตรียมความพร้อมตามแผนยุทธศาสตร์ 14. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกี่ยวข้อง โดยความร่วมมือ ของหน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ l

14


15. สนับสนุนการจัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมรับการระบาดของโรคติดต่อ อุบัติใหม่ทั่วประเทศ l กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1. จัดระบบปศุสัตว์ที่ปลอดโรค แก่ผู้เลี้ยงสัตว์และผู้ประกอบการ ทั้งในภาคเกษตร และภาคอุตสาหกรรม 2. ป้องกันควบคุมโรคระบาดสัตว์ 3. ควบคุม ตรวจสอบการเคลื่อนย้ายสัตว์ และซากสัตว์ 4. จัดให้มีระบบเตือนภัยการระบาดของโรคในสัตว์ 5. จัดให้มีระบบการทำ�ลายสัตว์ การจัดการซากสัตว์ ตลอดจนการค้าสัตว์ที่มีมาตรฐาน 6. พัฒนาบุคลากร ถ่ายทอดความรู้ให้แก่เกษตรกร ผู้ประกอบการ ลูกจ้างในกิจการเลี้ยงสัตว์ 7. เตรียมกำ�ลังคน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ เวชภัณฑ์ ห้องปฏิบัติการเพื่อการป้องกัน ควบคุมและ รักษาโรคติดต่ออุบัติใหม่ 8. จัดให้มีระบบเฝ้าระวังโรคในสัตว์ 9. จัดให้มีชุดเฉพาะกิจเพื่อควบคุมโรค ประจำ�การทั่วทุกพื้นที่ 10. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกี่ยวข้อง โดยความร่วมมือ ของหน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ 11. จัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพื่อเตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่อ อุบัติใหม่ l กระทรวงมหาดไทย 1. สนับสนุนและอำ�นวยความสะดวกในการเตรียมความพร้อม และการฝึกซ้อมแผนรับการระบาดของ โรคติดต่ออุบัติใหม่ของประเทศ 2. ประสานงาน สั่งการ ให้การสนับสนุนแก่จังหวัด หน่วยงานท้องถิ่น ในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ เพื่อการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 3. อำ�นวยการ กำ�กับ ดูแล ช่วยเหลือผู้ประสบภัยในด้านเครื่องอุปโภค บริโภค สวัสดิการอื่นๆ ให้ทั่วถึง รวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ 4. ดำ�เนินการอพยพ จัดหาแหล่งพักพิงชั่วคราวสำ�หรับประชาชนที่ประสบสาธารณภัย 5. ประกาศภัยพิบัติ ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยตามระเบียบกระทรวงการคลังฯ 6. รักษาความสงบเรียบร้อย คุม้ ครองความปลอดภัย ป้องกันและระงับการแตกตืน่ เสียขวัญของประชาชน 7. สงเคราะห์ผู้ประสบภัย ประสานการสนับสนุนจากองค์กรการกุศล และภาคเอกชน 8. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกี่ยวข้อง โดยความร่วมมือ ของหน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ 9. สนับสนุนการจัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพื่อเตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาด ของโรคติดต่ออุบัติใหม่ทั่วประเทศ l กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1. เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อในสัตว์ป่า และสัตว์ในธรรมชาติ 2. พัฒนาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมให้มีความมั่นคง ยั่งยืน ไม่เสี่ยงต่อการเกิดภัย 3. ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการตกค้างจากปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ 15


4. ดำ�เนินการฟื้นฟูและรักษาสิ่งแวดล้อมให้มีความสมดุล เหมาะสมต่อการดำ�รงชีวิตของประชาชนและ สิ่งมีชีวิต 5. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกี่ยวข้อง โดยความร่วมมือ ของหน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ 6. จัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพื่อเตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่อ อุบัติใหม่ l กระทรวงกลาโหม 1. อำ�นวยการ ประสานงาน สัง่ การ กำ�กับดูแลการปฏิบตั ขิ องส่วนราชการกระทรวงกลาโหม ในการช่วยเหลือ ผูป้ ระสบภัยพิบตั ิ รวมทัง้ การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า การฟืน้ ฟูบรู ณะความเสียหาย ทัง้ ในส่วนกลาง ส่วนภูมภิ าค ให้เป็นไป อย่างรวดเร็ว มีเอกภาพและประสิทธิภาพ (รวมทัง้ สนับสนุนหน่วยงานราชการทีเ่ กีย่ วข้องในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า) 2. ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ตามระเบียบกระทรวงการคลังฯ 3. อำ�นวยการ ดำ�เนินการให้มกี ารประชาสัมพันธ์ โดยใช้เครือ่ งมือของส่วนราชการในกระทรวงกลาโหม หรือ ผ่านสื่อมวลชนอื่นๆ เพื่อเตือนภัย รายงานสถานการณ์ของเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น รวมทั้งให้คำ�แนะนำ�ในการปฏิบัติ แก่ผู้ประสบภัยพิบัติ 4. สนับสนุน อำ�นวยความสะดวกในการเตรียมความพร้อมและการฝึกซ้อมแผนรับการระบาดของโรคติดต่อ อุบัติใหม่ทั่วประเทศ 5. สนับสนุนทางด้านการแพทย์และอื่นๆ ตามที่ได้รับการร้องขอ 6. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกี่ยวข้อง โดยความร่วมมือ ของหน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ 7. จัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ l กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. จัดเตรียมบุคลากร อุปกรณ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. ศึกษา ค้นคว้า สนับสนุนการวิจยั และพัฒนาเครือ่ งมือ รวมทัง้ ยาและวัคซีนสำ�หรับการป้องกัน และแก้ไข ปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ 3. สนับสนุนการจัดการความรู้ แก่หน่วยงานและเครือข่ายวิจัย เกี่ยวกับโรคติดต่ออุบัติใหม่ 4. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกี่ยวข้อง โดยความร่วมมือ ของหน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ 5. จัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ l กระทรวงการต่างประเทศ 1. ประสานหน่วยงาน องค์การระหว่างประเทศ เพื่อสนับสนุนในการเจรจาการค้าระหว่างประเทศ 2. ประชาสัมพันธ์เกีย่ วกับการคัดกรองผูเ้ ดินทางระหว่างประเทศ ณ ท่าอากาศยาน หรือจุดผ่านแดนระหว่าง ประเทศ 3. ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศในการป้องกัน ควบคุม และรักษาสิทธิประโยชน์ของประเทศไทย 4. สร้างความเข้าใจที่ถูกต้องต่อนานาประเทศเกี่ยวกับสถานการณ์โรคในประเทศไทย 5. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกี่ยวข้อง โดยความร่วมมือ ของหน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ 6. จัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ 16


สำ�นักนายกรัฐมนตรี 1. จัดทำ�แผนปฏิบตั กิ ารเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์สร้างความรูค้ วามเข้าใจแก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน ทั้งในภาวะปกติและภาวะวิกฤติ 2. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกี่ยวข้อง โดยความร่วมมือ ของหน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ 3. จัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ l กระทรวงคมนาคม 1. ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่ออุบัติใหม่ รวมทั้งวิธีการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคให้แก่ บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการขนส่งสาธารณะ 2. ดำ�เนินการป้องกันและควบคุมพืน้ ทีแ่ ละยานพาหนะ มิให้เป็นแหล่งแพร่เชือ้ โรค รวมถึงการจัดพืน้ ทีเ่ ฉพาะ สำ�หรับการคัดกรองและแยกผู้ป่วย เพื่อรองรับระบบการดูแลรักษาทางการแพทย์และสาธารณสุขต่อไป 3. กำ�หนดมาตรการทีเ่ หมาะสมเพือ่ ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ ในการใช้บริการในระบบ ขนส่งสาธารณะที่ปลอดภัย 4. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ผู้ใช้บริการในระบบขนส่งสาธารณะเกี่ยวกับโรคติดต่ออุบัติใหม่ รวมถึง คำ�แนะนำ�การใช้บริการขนส่งสาธารณะที่ปลอดภัย 5. จัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ 6. สนับสนุนยานพาหนะและพนักงานประจำ�ยานพาหนะ เพื่อใช้ในการเคลื่อนย้ายผู้ต้องสงสัยหรือผู้ป่วย 7. จัดอำ�นวยความสะดวกการเดินทางในเส้นทางและยานพาหนะให้แก่เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการในเส้นทาง ความรับผิดชอบ 8. ให้ความร่วมมือและสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง การฝึกซ้อมการปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ l กระทรวงแรงงาน 1. ให้นายจ้างจัดการให้ลกู จ้างได้รบั การอบรมและฝึกปฏิบตั ิ เพือ่ สามารถทำ�งานได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ในสถานประกอบกิจการ 2. จัดเตรียม จัดหา เกณฑ์แรงงานที่มีความรู้ทางเทคนิค เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและบรรเทาภัย 3. ร่วมสนับสนุนในการพัฒนาและคุม้ ครองแรงงานในสถานประกอบการเลีย้ งสัตว์ปกี และกิจการทีเ่ กีย่ วข้อง 4. ให้ความรู้ด้านอาชีพแก่ครอบครัวที่ประสบภัย 5. ส่งเสริมการฝึกอาชีพระยะสั้น ให้กับลูกจ้างและเกษตรกรที่ต้องการเปลี่ยนอาชีพ ภายในสถาบัน และ ศูนย์พฒ ั นาฝีมอื แรงงาน หรือสถานประกอบการทีใ่ ห้ความร่วมมือ รวมทัง้ จัดชุดฝึกอบรมเคลือ่ นทีเ่ ข้าปฏิบตั กิ ารในพืน้ ที่ เป้าหมาย 6. สร้างเครือข่ายตลาดแรงงาน จัดหางานใหม่ให้กับแรงงานที่มีปัญหาไม่สามารถทำ�งานเดิมต่อไปได้ หรือต้องการเปลี่ยนอาชีพ 7. คุม้ ครองดูแลสวัสดิการแรงงาน การประกันสังคม โดยตรวจเยีย่ มประชาสัมพันธ์ ให้ผปู้ ระกอบการกิจการ เลี้ยงสัตว์ทราบ และปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน 8. จัดการด้านพัฒนากฎหมายและสวัสดิการแรงงานในภาวะวิกฤติ เช่น ค่าตอบแทนการลาของลูกจ้าง l

17


9. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกี่ยวข้อง โดยความร่วมมือ ของหน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ 10. จดั ทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ l กระทรวงศึกษาธิการ และมหาวิทยาลัย 1. จัดให้มกี ารเรียนการสอนเกีย่ วกับองค์ความรูด้ า้ นสุขอนามัย รวมถึงโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ แก่นกั เรียน นิสติ นักศึกษา 2. จัดให้มีการเรียนการสอนในพื้นที่รองรับการอพยพประชาชน ตามความจำ�เป็น 3. ส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต นักศึกษา มีบทบาทในการช่วยเหลือ สนับสนุนการป้องกัน และบรรเทา สาธารณภัย 4. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกี่ยวข้อง โดยความร่วมมือ ของหน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ฯ 5. จัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ l สถาบันอุดมศึกษา (โรงพยาบาลสังกัดคณะแพทยศาสตร์) 1. รักษาพยาบาลผู้ป่วย พร้อมทั้งเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล 2. ตรวจวิเคราะห์โรคทางห้องปฏิบัติการ ร่วมดำ�เนินการในเครือข่ายการเฝ้าระวังโรค 3. ระดมนิสิต นักศึกษา เพื่อช่วยสนับสนุน ช่วยเหลือผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน 4. จัดหลักสูตรการเรียนการสอน การแพทย์และการสาธารณสุข ให้ครอบคลุมเรื่องโรคติดต่ออุบัติใหม่ 5. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกี่ยวข้อง โดยความร่วมมือ ของหน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ฯ 6. จัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ l กระทรวงพาณิชย์ 1. จัดให้มีเครื่องอุปโภคบริโภคอย่างเพียงพอ 2. จัดระบบการปันส่วนและควบคุมสินค้าในภาวะขาดแคลน 3. ตรวจสอบผลิตภัณฑ์สัตว์ที่จำ�หน่ายในตลาดและซุปเปอร์มาร์เก็ตให้มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภคและ เป็นมาตรฐานทั่วประเทศ 4. ประสานหน่วยงาน องค์การระหว่างประเทศ เพื่อสนับสนุนในการเจรจาการค้าระหว่างประเทศ 5. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกี่ยวข้อง โดยความร่วมมือ ของหน่วยงานทุกภาคส่วนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ฯ 6. จัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ l กระทรวงอุตสาหกรรม 1. ให้ความร่วมมือสนับสนุนข้อมูลเกี่ยวกับโรงงานอุตสาหกรรม 2. ให้ความร่วมมือการเผยแพร่ข่าวสารเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ 3. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกี่ยวข้อง โดยความร่วมมือ ของหน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ฯ 4. สนับสนุนการจัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพื่อเตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาด ของโรคติดต่ออุบัติใหม่ของหน่วยงานในสังกัดและภาคธุรกิจเอกชน 18


กระทรวงพลังงาน 1. จั ด หาและผลิ ต นํ้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง และพลั ง งาน ให้ เ พี ย งพอต่ อ ความต้ อ งการในการป้ อ งกั น แก้ ไข เตรียมพร้อมรับปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ 2. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกี่ยวข้อง โดยความร่วมมือ ของหน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ฯ 3. จัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ l กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1. จัดทำ� และสนับสนุนอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ในการสื่อสาร 2. จัดช่องทางการสื่อสารหลัก ช่องทางสื่อสารสำ�รอง เพื่อใช้ในภาวะฉุกเฉิน 3. สนับสนุนกำ�ลังคนเพื่อบริหารติดต่อสื่อสารได้ตลอดระยะเวลา ระหว่างพื้นที่เกิดภัย กับพื้นที่ภายนอก เพื่อให้ความช่วยเหลือได้ทันเวลา 4. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลือ่ นนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกีย่ วข้อง โดยความร่วมมือของ หน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ฯ 5. จัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ l กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 1. เสริมสร้างเครือข่ายด้านการพัฒนาสังคมและสวัสดิการสังคม 2. ฟื้นฟูจิตใจให้แก่ผู้ประสบภัย 3. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลือ่ นนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกีย่ วข้อง โดยความร่วมมือของ หน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ฯ 4. จัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ l สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ 1. รักษาความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ให้บริการทางสังคม 2. ประเมินสถานการณ์ วางแผนปฏิบัติการ เตรียมจัดกำ�ลังปฏิบัติเตรียมการอำ�นวยการ ให้การสนับสนุน แลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างหน่วยปฏิบัติการ 3. จัดระบบจราจร กรณีเส้นทางคมนาคมถูกตัดขาด หรือมีสิ่งกีดขวางสนับสนุนการปฏิบัติงานของ หน่วยงานอื่น ดำ�เนินการให้การช่วยเหลือบรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย 4. ดูแลการดำ�เนินงานของด่านตรวจคนเข้าเมือง 5. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลือ่ นนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกีย่ วข้อง โดยความร่วมมือของ หน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ฯ 6. จัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ l กระทรวงยุติธรรม 1. ปรับปรุงแก้ไขและเสนอกฎหมาย เพื่อลดการแพร่กระจายของโรค 2. ให้ความเป็นธรรมกับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน และประชาชนโดยสอดคล้องกับสถานการณ์การระบาด 3. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกี่ยวข้อง โดยความร่วมมือ ของหน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ฯ 4. จัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ l

19


กระทรวงวัฒนธรรม 1. ประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างวัฒนธรรม และจิตสาธารณะ ในการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาด ของโรค 2. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลือ่ นนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกีย่ วข้อง โดยความร่วมมือของ หน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ฯ 3. จัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ l กระทรวงการคลัง 1. สนับสนุนงบประมาณ และเอื้ออำ�นวยให้ความสะดวกในระเบียบการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 2. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลือ่ นนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกีย่ วข้อง โดยความร่วมมือของ หน่วยงานทุกภาคส่วนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ฯ 3. จัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ l กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 1. ประชาสัมพันธ์เพื่อให้เกิดความมั่นใจแก่นักท่องเที่ยว 2. จัดมาตรการช่วยเหลือนักท่องเที่ยวผู้ประสบภัย 3. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลือ่ นนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกีย่ วข้อง โดยความร่วมมือของ หน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ฯ 4. จัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ l การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย, การไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 1. อำ�นวยความสะดวกในด้านการให้พลังงานไฟฟ้าขณะเกิดภัย 2. ควบคุมและป้องกันอันตรายอันอาจเกิดจากกระแสไฟฟ้าในขณะเกิดภัย 3. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลือ่ นนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกีย่ วข้อง โดยความร่วมมือของ หน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ฯ 4. จัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ l การประปานครหลวง การประปาส่วนภูมิภาค และการประปาอื่นๆ 1. อำ�นวยความสะดวกในด้านการประปา ให้มีนํ้าดื่มนํ้าใช้ตามปกติ 2. ควบคุม และป้องกันอันตรายอันเกิดจากการประปาชำ�รุด รัว่ ไหล พร้อมดัดแปลง แก้ไข ให้ทนั ต่อเหตุการณ์ ในขณะเกิดภัย 3. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลือ่ นนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกีย่ วข้อง โดยความร่วมมือของ หน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ฯ 4. จัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ l สภากาชาดไทย 1. จัดหาและเตรียมโลหิต ยา เวชภัณฑ์ วัสดุอปุ กรณ์ตา่ งๆ ตลอดจนเครือ่ งอุปโภคบริโภค เพือ่ ใช้บรรเทาทุกข์ และสงเคราะห์ผู้ประสบภัย 2. ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ สมาชิกสภากาชาดไทย อาสากาชาด เหล่ากาชาดจังหวัด รวมทั้งประชาชน เพือ่ เตรียมพร้อมรับภัยพิบตั ิ โดยให้ความรูเ้ กีย่ วกับการปฐมพยาบาลและการสาธารณสุข เพือ่ ให้สามารถช่วยเหลือตนเอง และผู้อื่นได้เมื่อประสบภัย l

20


3. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกี่ยวข้อง โดยความร่วมมือ ของหน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ฯ 4. จัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ l สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย, สภาหอการค้าไทย, สมาคมธนาคารไทย, และสมาคมโรงพยาบาล เอกชน 1. ให้การสนับสนุนช่วยเหลือแก่ศูนย์ปฏิบัติการระดับประเทศ ในการป้องกันและควบคุมการระบาดของ โรคติดต่ออุบัติใหม่ 2. ร่วมปฏิบัติงานตามที่ทางราชการร้องขอ 3. ร่วมจัดทำ� ประสาน และขับเคลือ่ นนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการที่เกีย่ วข้อง โดยความร่วมมือของ หน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ฯ 4. จัดทำ�แผนประคองกิจการภายในองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ l มูลนิธิส่งเสริมการศึกษาไข้หวัดใหญ่ 1. ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากร ทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจ ให้มีความรู้และสามารถเตรียมความพร้อมสำ�หรับ การระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ 2. ร่วมเผยแพร่ความรู้และความเข้าใจแก่ประชาชนทั่วไป ผ่านช่องทางต่างๆ รวมทั้งทางสื่อสารมวลชน และเว็บไซต์ 3. ให้ความร่วมมือกับทางราชการในภารกิจอื่นๆ เมื่อได้รับการร้องขอ l ภาคเอกชน องค์กรเอกชน สมาคมและมูลนิธิอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และภาคประชาชน 1. ให้การสนับสนุนช่วยเหลือ และให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐ 2. ให้ความร่วมมือในเครือข่ายการปฏิบตั งิ าน และการสือ่ สารประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ความรู้ สร้างความร่วมมือ ในหมู่ประชาชนและประชาสังคม เพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่

2. แนวทางการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล

การปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติการแม่บท ภายใต้การดำ�เนินงานตามแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) ได้ดำ�เนินการตามที่กำ�หนดไว้ใน พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ซึ่งนำ�แนวคิดมาจากแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11, กฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548, ยุทธศาสตร์โรคติดต่ออุบัติใหม่ ของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก, กรอบความร่วมมืออาเซียน, การเตรียมพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และแนวคิดสุขภาพ หนึง่ เดียว ฯลฯ โดยมีสาระสำ�คัญเพือ่ ตอบสนองต่อวัตถุประสงค์และเป้าหมายของแต่ละยุทธศาสตร์ ผลสัมฤทธิข์ องงาน ส่วนราชการหรือบุคคลที่จะรับผิดชอบในแต่ละภารกิจ ระยะเวลาการดำ�เนินการ และการติดตามประเมินผล สำ�หรับแนวทางการปฏิบัติเพื่อติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลได้กำ�หนดเป็น 3 แนวทาง ดังนี้

21


2.1 การวัดผลการดำ�เนินงานตามแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่อ อุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) ภายหลังจากการจัดทำ�แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และจัดทำ�แผนปฏิบัติการแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) แล้วเสร็จ ส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้องจะต้องนำ�แนวทางดังกล่าวไปเพื่อกำ�หนดกิจกรรม แผนงาน/โครงการตามบทบาท ภารกิจของหน่วยงานที่ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) และทรัพยากรทีจ่ �ำ เป็นต่อการปฏิบตั งิ าน เพือ่ ใช้ประกอบการของบประมาณและจัดทำ�แผนปฏิบตั ริ าชการประจำ�ปี ทัง้ นี้ ทุกส่วนราชการที่เกี่ยวข้องควรมีการสรุปผลการดำ�เนินงาน และประเมินผลการปฏิบัติงานดังกล่าว 2.2 การติดตามประเมินผลแผนปฏิบัติการแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และ แก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2556 มาตรา 14 กำ�หนดให้ตอ้ งมีการติดตามประเมินผล และสอดคล้องตามแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหา โรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) จึงได้กำ�หนดขั้นตอนการติดตามประเมินผลความก้าวหน้า การปฏิบัติงานออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การติดตามผลความก้าวหน้าประจำ�ปี เป็นการติดตามความก้าวหน้าการดำ�เนินงานตามตัวชี้วัด ต่างๆ ในแต่ละมาตราการ เพื่อตรวจสอบความคลาดเคลื่อนระหว่างเป้าหมายที่กำ�หนดไว้กับผลที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งจะนำ� ไปสู่การแก้ไขและอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างการดำ�เนินการ ตลอดจนการทบทวนเป้าหมายและกลยุทธ์ให้เหมาะกับ สถานการณ์ที่อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น ระยะที่ 2 การประเมินผลในระยะครึง่ แผน เป็นการประเมินผลในระหว่างทีม่ กี ารปฏิบตั ติ ามแผนปฏิบตั กิ าร แม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) เป็นการทบทวนผลความก้าวหน้า และปัญหาอุปสรรคต่างๆ รวมทั้งวิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในประเทศ และนอกประเทศ เพือ่ นำ�ไปสูก่ ารทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ มาตรการ ตัวชีว้ ดั กลยุทธ์ เพือ่ การปรับเปลีย่ นแผนปฏิบตั กิ าร ของส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ในกรณีที่มีความจำ�เป็นให้เหมาะสมต่อไป ระยะที่ 3 การประเมินผลเมือ่ สิน้ สุดแผน เป็นการประเมินผลเมือ่ ครบกำ�หนดระยะเวลาการใช้แผน เพือ่ สรุป การปฏิบตั งิ านและประเมินผลสัมฤทธิท์ เี่ กิดขึน้ รวมทัง้ ผลกระทบต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ตลอดระยะเวลาทีใ่ ช้แผนปฏิบตั กิ ารแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) 2.3 การกำ�กับการดำ�เนินการตามแผนและการตรวจสอบเชิงยุทธศาสตร์ เพือ่ ให้การขับเคลือ่ นแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) สู่เป้าหมายที่กำ�หนดไว้ ทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข มีกลไกขับเคลื่อนและกระบวนการบริหารการจัดการ โดยหน่วยงานภาครัฐร่วมกับภาคส่วนอื่นๆ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ ตามแผนยุทธศาสตร์ คือ ประเทศไทยสามารถป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของสังคมไทยและสังคมโลก โดยมีแนวทางสำ�คัญในการขับเคลื่อนและบริหารจัดการแผนยุทธศาสตร์ 22


ผ่านกลไกคณะกรรมการอำ�นวยการเตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ แต่งตั้ง ตามคำ�สั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 149/2555 ซึ่งมีรองนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงต่างๆ และหน่วยงาน ราชการที่เกี่ยวข้อง จะเป็นผู้พิจารณาเสนอต่อรัฐบาลให้มอบหมายหน่วยงานที่เหมาะสมทำ�หน้าที่เป็นหน่วยงานหลัก กำ�กับดูแล บูรณาการการจัดทำ�แผนปฏิบตั ริ าชการและแผนงบประมาณ โดยบูรณาการเข้ากับภารกิจของหน่วยราชการ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งในส่วนกลาง ระดับจังหวัด ใช้กระบวนการขับเคลื่อนกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 (IHR 2005) ยุทธศาสตร์โรคติดต่ออุบัติใหม่ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก (APSED) และกรอบความร่วมมือในปฏิญญาสมาคมประชาชาติ แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Declaration of ASEAN Concord) ในการสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ รวมถึง ใช้กระบวนการจัดทำ�แผนประคองกิจการ (Business Continuity Plan ; BCP) และการติดตามประเมินผลการดำ�เนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์ ซึ่งจะขับเคลื่อนผ่านคณะอนุกรรมรายยุทธศาสตร์ จำ�นวน 5 ยุทธศาสตร์ โดยทีมเลขานุการแต่ละ คณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์มีบทบาทหน้าที่ในการดำ�เนินงานตามยุทธศาสตร์ และสรุปผลการดำ�เนินงานในแต่ละ ยุทธศาสตร์ นำ�เสนอต่อคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่อ อุบตั ใิ หม่ ซึง่ มีบทบาทหน้าทีก่ �ำ กับดูแลและติดตามประเมินผลการดำ�เนินงาน และประสานการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค ในการดำ�เนินงาน ให้เป็นไปตามแผนปฏิบตั กิ ารให้ทนั ต่อสถานการณ์ทเี่ ปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว เป็นกลไกกำ�กับ ติดตาม และประเมินผลตามแผนยุทธศาสตร์ในภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคส่วนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

23


การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหา โรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 – 2559) สู่การปฏิบัติ แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหา โรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) ยุทธศาสตร์ที่ 1

ยุทธศาสตร์ที่ 2

พัฒนาระบบเฝ้าระวัง การจัดการระบบ ป้องกัน รักษา และควบคุมโรค การเลี้ยง และสุขภาพสัตว์ ภายใต้แนวคิดสุขภาพ และสัตว์ป่า ให้ปลอดโรค หนึ่งเดียว

คณะอนุกรรมการ พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน รักษา และควบคุมโรค ภายใต้ แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว

ยุทธศาสตร์ที่ 3

พัฒนาระบบจัดการ ความรู้ และส่งเสริม การวิจัยพัฒนา

คณะอนุกรรมการ คณะอนุกรรมการ จัดการระบบ พัฒนาระบบ การเลี้ยง และสุขภาพสัตว์ จัดการความรู้ และส่งเสริม และสัตว์ป่า ให้ปลอดโรค การวิจัยพัฒนา

ยุทธศาสตร์ที่ 4

ยุทธศาสตร์ที่ 5

พัฒนาระบบบริหารจัดการ เชิงบูรณาการ และ เตรียมความพร้อม ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน

การสื่อสาร และ ประชาสัมพันธ์ความเสี่ยง ของโรคติดต่ออุบัติใหม่

คณะอนุกรรมการ พัฒนาระบบบริหารจัดการ เชิงบูรณาการ และเตรียมความพร้อม ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน

คณะอนุกรรมการ สื่อสาร และประชาสัมพันธ์ ความเสี่ยงของ โรคติดต่ออุบัติใหม่

คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่

ภาครัฐ

(ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น)

แผนปฏิบัติการแม่บท แผนปฏิบัติราชการ / แผนงาน / โครงการ

ภาคเอกชน

IHR 2005 / APSED / ASEAN

ภาคประชาชน

การจัดทำ�แผนประคองกิจการ การมีส่วนร่วมของ ประชาชน/ภาคีเครือข่าย

24

กฎระเบียบ/งบประมาณ/ ประชาสัมพันธ์

การติดตาม ประเมินผล การดำ�เนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์ เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไข ปัญหาโรคติดต่อ อุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559)


แผนภาพระบบติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล

การวางนโยบาย l แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่อ อุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) l แผนปฏิบัติการแม่บท

ติดตามและประเมินผล การทบทวน ตรวจสอบ และประเมินสถานการณ์

การวางแผนปฏิบัติการ l แผนปฏิบัติการแม่บท (โครงการ กิจกรรม ทรัพยากร)

วัดผลการดำ�เนินงาน ตามแผนปฏิบัติการแม่บท

25



ส่วนที่สี่

แผนงานตามยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559)


28

กิจกรรม

กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด

กรมควบคุมโรค กระทรวงแรงงาน กระทรวงมหาดไทย สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

- - - -

- - - - - - -

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

ยุทธศาสตร์ 1 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน รักษา และควบคุมโรคภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว กลยุทธ์ (1) เสริมสร้างความเข้มแข็งของการป้องกัน โรคติดต่ออุบัติใหม่แบบบูรณาการ มาตรการ 1.1 ประเมิ น และกำ � หนดนโยบาย - มีระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูล 2557 ในการลดความเสี่ ย งของโรคติ ด ต่ อ ระหว่ า งสั ต ว์ - แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการพั ฒ นาระบบเฝ้ า ระวั ง และคนอย่างเป็นระบบด้วยความร่วมมือแบบพหุภาคี ป้องกันรักษา และควบคุมโรคภายใต้แนวคิด สุขภาพหนึง่ เดียวระดับจังหวัดและกำ�หนดหน้าที่ ที่ชัดเจน - วิเคราะห์ปัญหาและจัดลำ�ดับความสำ�คัญของ ปั ญ หาในการเฝ้ า ระวั ง ป้ อ งกั น รั ก ษา และ ควบคุมโรค มาตรการ 1.2 ทบทวนและปรับปรุงกฎหมายที่เป็น - พิ จ ารณาการนำ � กฎอนามั ย ระหว่ า งประเทศ 2557-2559 ประโยชน์กบั การป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ (IHR 2005) เป็นส่วนหนึ่งของพระราชบัญญัติ อุบัติใหม่ให้เหมาะสม โรคติดต่อที่ต้องรายงาน - ผลั ก ดั น ให้ มี ก ารใช้ ก ฎหมายที่ เ ป็ น ประโยชน์ กับการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ อุบัติใหม่ให้เหมาะสม - สร้ า งกฎหมาย/เทศบั ญ ญั ติ / ข้ อ บั ญ ญั ติ / เพื่ อ เป็นการบังคับใช้กฎหมาย

ประเด็นนโยบาย

ส่วนที่4 : แผนงานตามยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559)


29

กิจกรรม

- - - - - - - -

กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กระทรวงแรงงาน กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา สำ�นักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

- มีการบังคับใช้กฎหมายในแรงงานต่างด้าว - มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวดในการตรวจ คัดกรอง/กักกันคน สัตว์ และสัตว์ป่า ตลอดจน ให้การดูแลรักษาโรค จนกว่าจะพ้นระยะแพร่โรค มาตรการ 1.3 ส่งเสริมการป้องกันควบคุมโรคในคน - จัดระบบการคัดกรองโรคร้ายแรงให้กับแรงงาน 2557-2559 สัตว์ และสัตว์ป่า ที่บริเวณช่องทางเข้าออกประเทศ ต่างด้าว ทั้งทางบก ทางนํ้า และทางอากาศ รวมทั้งการเตรียม - มีการสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง ในการคัดกรอง ความพร้ อ มในการตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น ทางด้ า น โรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ทมี่ แี นวโน้มทีจ่ ะระบาดในคน สาธารณสุ ข ตามแนวทางของกฎอนามั ย ระหว่ า ง สัตว์ และสัตว์ป่าให้เข้มแข็งและต่อเนื่อง ประเทศ (พ.ศ. 2548) - มีการประสานและขอความร่วมมือกับองค์การ ส่วนท้องถิ่นในเรื่องระบบจัดการสิ่งแวดล้อม - กำ � หนดเงื่ อ นไขการตรวจโรคสำ � คั ญ และ มีการคัดกรองโรคสำ�คัญในสัตว์ป่าที่ระบุไว้ตาม อนุสญ ั ญา CITES และสัตว์ป่าทีร่ ฐั มนตรีก�ำ หนด - พัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังระหว่างคน ด่าน สัตว์ สัตว์ป่า และเครือข่ายชายแดน - จัดทำ�บันทึกข้อตกลงร่วมกันระหว่างหน่วยงาน - บริ ษั ท ทั ว ร์ ก ารท่ อ งเที่ ย วมี ก ารเฝ้ า ระวั ง โรค ให้แก่นักท่องเที่ยว - มีระบบบันทึกข้อมูลทะเบียนของแรงงานต่างด้าว - มีการสำ�รวจและขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าว

ประเด็นนโยบาย


30

กิจกรรม

กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช สำ�นักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด กรมควบคุมโรค กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมปศุสัตว์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงศึกษาธิการ มหาวิทยาลัย สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมการจัดหางาน กรมการปกครอง กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

- - - - - - - - - - - - - - - -

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

- จั ด ตั้ ง ระบบการตรวจคั ด กรองโรคในคนและ สัตว์ รวมทั้งมีระบบคัดกรองโรคร้ายแรงในกลุ่ม แรงงานต่างด้าว โดยครอบคลุมทุกกลุม่ เป้าหมาย - จัดทำ�ข้อกำ�หนดให้เจ้าของสถานประกอบการ แจ้ ง ข้ อ มู ล การเคลื่ อ นย้ า ยเข้ า และออกของ แรงงานต่างด้าว มาตรการ 1.4 พั ฒ นางานด่ า นควบคุ ม โรคติ ด ต่ อ - มีการจัดการฝึกซ้อมแผนรับมือโรคติดต่อบริเวณ 2557-2559 ระหว่างประเทศ รวมทั้งด่านบริเวณชายแดน ชายแดน - พิ จ ารณาจั ด สรรอั ต รากำ � ลั ง ของบุ ค ลากร ด้ า นด่ า นควบคุ ม โรคติ ด ต่ อ ระหว่ า งประเทศ รวมทั้งด่านบริเวณชายแดนให้เพียงพอ - พั ฒ นาบุ ค ลากรด่ า นควบคุ ม โรคให้ มี ค วามรู้ และทักษะในการดำ�เนินการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคในพื้นที่ มาตรการ 1.5 พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการป้องกัน - จัดอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจบทบาทหน้าที่ 2557-2559 โรคติ ด ต่ อ อุ บั ติ ใ หม่ ตามช่ อ งทางเข้ า ออกประเทศ ให้เข้มแข็งขึ้น และแนวชายแดน - ประเมินประสิทธิภาพการทำ�งานของบุคลากร - จัดอบรมภาษาต่างประเทศให้กับบุคลากรเพื่อ รองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน - พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความต่อเนื่องใน การปฏิบัติงานเฝ้าระวัง - จัดอบรมเครือข่ายภาคประชาชนในการคัดกรอง ผูป้ ว่ ยโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ เพือ่ ปฏิบตั งิ านร่วมกับ บุคลากรประจำ�ด่าน

ประเด็นนโยบาย


31

-

- -

มาตรการ 1.6 ปลู ก ฝั ง จิ ต สำ � นึ ก การปฏิ บั ติ ง าน - ตอบสนองแบบสหสาขา ภายใต้ แ นวคิ ด สุ ข ภาพ หนึ่ ง เดี ย ว ในการจั ด การศึ ก ษาระดั บ ต่ า งๆ ของ - หลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์สุขภาพ

ประเด็นนโยบาย

กรมเจ้าท่า กรมการขนส่งทางบก กรมการบินพลเรือน การรถไฟแห่งประเทศไทย การท่าเรือแห่งประเทศไทย บริษัท ขนส่ง จำ�กัด บริษัท การบินไทย จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงศึกษาธิการ มหาวิทยาลัย สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

- - - - - - - - - - จั ด ประชุ ม ผู้ เชี่ ย วชาญในการจั ด ทำ � หลั ก สู ต ร 2557-2559 - สุขภาพหนึ่งเดียว (One Health) - ส่งเสริมให้มีการขยายขอบเขตความคิดสุขภาพ - หนึ่งเดียว (One Health) แบบสหสาขา เช่น - นิเวศวิทยา ชีววิทยาสิ่งแวดล้อม - จัดระบบสนับสนุนผู้ที่ปฏิบัติงานตามกฎหมาย - พัฒนาระบบประสานงานระหว่างผูป้ ฏิบตั งิ านใน - พื้นที่ - พั ฒ นาสมรรถนะของบุ ค ลากรที่ ป ฏิ บั ติ ง าน ภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว ในด้านการ เฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรค

กิจกรรม


32 - - -

-

- -

กลยุทธ์ (2) บูรณาการระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ อุบตั ใิ หม่ ระหว่างภาคคน สัตว์ สัตว์ปา ่ และสิง่ แวดล้อม มาตรการ 2.1 จัดให้มีกลไกความร่วมมือระดับชาติ - ในการเฝ้าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่แบบบูรณาการ ระหว่ า งภาคคน สั ต ว์ สั ต ว์ ป่ า และสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยเชื่ อ มโยงกั บ งานระบาดวิ ท ยาภาคสนาม และ - ระบาดวิ ท ยาโมเลกุ ล เพื่ อ การแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล - ระหว่างภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และต่างประเทศ

ประเด็นนโยบาย กรมควบคุมโรค สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช องค์การอนามัยโลกประจำ�ประเทศไทย ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค (ประเทศไทย) ศูนย์ความร่วมมือไทย - สหรัฐ ด้านสาธารณสุข องค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ สำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 สำ�นักงานปศุสัตว์เขต 1-9 สำ�นักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1-16 สำ�นักประชาสัมพันธ์เขต 1-8 ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 1-18 - สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด - สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัด

- - - - - - - - - - - - - - -

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

แต่งตั้งคณะกรรมการที่รับผิดชอบงานระบาด 2556-2559 วิทยาภาคสนามและระบาดวิทยาภาคโมเลกุล เพื่อทำ�งานร่วมกัน จัดประชุมอย่างสมํ่าเสมอ พั ฒ นาเครื อ ข่ า ยระดั บ ชาติ ในการเฝ้ า ระวั ง โรคติ ด ต่ อ อุ บั ติ ใ หม่ แ บบบู ร ณาการระหว่ า ง ภาคคน สัตว์ สัตว์ป่าและสิ่งแวดล้อม จัดทำ�บันทึกข้อตกลงร่วมกันระหว่างหน่วยงาน จัดตัง้ คณะกรรมการร่วมระหว่างหน่วยงาน และ มีการกำ�กับติดตาม จัดประชุมหาความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน ให้ทราบถึงภารกิจและบทบาทหน้าที่ จัดซ้อมแผนการทำ�งานระหว่างหน่วยงาน จัดประชุม/สัมมนาร่วมกันเพือ่ แลกเปลีย่ นข้อมูล จั ด การประชุ ม บู ร ณาการแผนอย่ า งเป็ น รูปธรรมและกำ�หนดบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ อย่ า งชั ด เจน โดยมี ก ารระดมทรั พ ยากร (คน/เงิน/ของ) ทุกภาคส่วน

กิจกรรม


33

-

มาตรการ 2.3 ให้ความรู้ที่จำ�เป็นเกี่ยวกับโรคติดต่อ - อุ บั ติ ใ หม่ ที่ มี แ นวโน้ ม จะเกิ ด การแพร่ ร ะบาดแก่ บุคลากรที่เกี่ยวข้องอย่างทั่วถึง -

-

- -

มาตรการ 2.2 เสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบ - ติดตามการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่เกิดขึ้น ในต่างประเทศ -

ประเด็นนโยบาย

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

- สำ�นักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม จังหวัด - สำ�นักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด - สำ�นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัด แต่ ง ตั้ ง ผู้ ป ระสานงานหลั ก (Focal Point) 2557-2559 - กรมควบคุมโรค ในการติดตามข่าวด้านคน สัตว์และสัตว์ป่า - กรมปศุสัตว์ จัดทำ�แนวทางประสานงานระหว่างผู้ประสาน - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช งานหลัก (Focal Point) - องค์การอนามัยโลกประจำ�ประเทศไทย จัดทำ�ทำ�เนียบเครือข่าย - ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค (ประเทศไทย) จั ด ทำ � รายงานประจำ � เดื อ น/เสนอผู้ บ ริ ห าร - ศูนย์ความร่วมมือไทย - สหรัฐ ด้านสาธารณสุข รับทราบ - องค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ มีการรายงานสถานการณ์เร่งด่วนและแจ้งเตือน - องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ เครื อ ข่ า ยติ ด ตามการระบาดของโรคติ ด ต่ อ อุบัติใหม่ จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคติดต่ออุบัติใหม่ให้กับ 2557-2559 - กรมควบคุมโรค กลุ่มเสี่ยง เช่น นายจ้าง ลูกจ้างแรงงานต่างด้าว - กระทรวงแรงงาน จั ด ทำ � องค์ ค วามรู้ สื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ และ - กระทรวงศึกษาธิการ เผยแพร่ให้กับกลุ่มเป้าหมาย - สำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 จัดอบรมให้ความรูเ้ รือ่ งโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ให้กบั - สำ�นักงานปศุสัตว์เขต 1-9 เจ้าหน้าที่และสื่อมวลชน - สำ�นักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1-16 - สำ�นักประชาสัมพันธ์เขต 1-8 - ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 1-18

กิจกรรม


34

- มาตรการ 2.6 จั ด ให้ มี ร ะบบเฝ้ า ระวั ง โรคสำ � หรั บ - โรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ทสี่ �ำ คัญ และมีแนวโน้มทีจ่ ะระบาด ในสัตว์ในพื้นที่เสี่ยง -

มาตรการ 2.5 ส่งเสริมประสิทธิภาพการเฝ้าระวัง - โรคติดต่ออุบัติใหม่ โดยใช้การวินิจฉัยและรายงานโรค ตามกลุ่มอาการอย่างเหมาะสม -

มาตรการ 2.4 ทบทวนและซั ก ซ้ อ มการแจ้ ง ข่ า ว - การระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่อย่างสมํ่าเสมอ -

ประเด็นนโยบาย

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

- สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด - สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัด - สำ�นักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม จังหวัด - สำ�นักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด - สำ�นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัด ประเมินระบบการแจ้งข่าว 2557-2559 - กรมควบคุมโรค จัดประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารเพือ่ ซักซ้อมการแจ้งข่าว - กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ การระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ - กรมประชาสัมพันธ์ - กรมปศุสัตว์ - กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น - สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด จัดประชุมเครือข่ายองค์กรแพทย์ สัตวแพทย์ทงั้ 2557-2559 - กรมควบคุมโรค ภาครัฐและเอกชน - กรมปศุสัตว์ มี ร ะบบการแจ้ ง เตื อ น เช่ น การจั ด ประชุ ม - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช การส่งข้อมูลผ่านทาง E-mail การประชาสัมพันธ์ - กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จัดทำ�ระบบเครือข่ายเฝ้าระวังโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ - กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ พั ฒ นาระบบ E-Smart Surveillance 2556-2559 - กรมปศุสัตว์ ในการรายงานโรคจากสัตว์ - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จัดตั้งระบบการสุ่มตรวจและเฝ้าระวังโรคติดต่อ - กรมควบคุมโรค จากสัตว์ป่าสู่คน - กรมอนามัย

กิจกรรม


35

ประเด็นนโยบาย - จั ด ตั้ ง ระบบตรวจคั ด กรองโรคจากสั ต ว์ สู่ ค น ตามด่านตรวจสัตว์ป่ากลุ่มสำ�คัญ - มี ก ารเฝ้ า ระวั ง เชิ ง รุ ก ในโรคที่ มี แ นวโน้ ม จะระบาดในสั ต ว์ แ ละสั ต ว์ ป่ า เพื่ อ ตรวจหา โรคติดต่ออุบัติใหม่ - มีระบบการเฝ้าระวังโรคในสัตว์และสัตว์ป่า - จัดระบบการเลีย้ งและการดูแลสัตว์ปา่ ของกลาง - เพิ่มอัตรากำ�ลังเจ้าหน้าที่ในการคัดกรองสัตว์ - จัดตั้งศูนย์ Hotline ระดับจังหวัดรับแจ้งข่าว โรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ - อุบตั ซิ า ํ้ และเชือ่ มโยงไปยัง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ใช้ระบบการเฝ้าระวังโรคในชุมชน (Community -Based Surveillance) ที่มีการดำ�เนินการ ในหลายพื้ น ที่ จากความจำ � เป็ น ของปั ญ หา และความร่ ว มมื อ ของภาครั ฐ และท้ อ งถิ่ น เช่ น ร้ า นค้ า ร้ า นสะดวกซื้ อ /การเฝ้ า ระวั ง เข้มข้นในช่วงที่มีปัญหา โดยใช้ข้อมูลส่วนใหญ่ จากบุคลากรในท้องถิ่น (อบต., อสม.) และ เครือข่ายภาคประชาชน - ทบทวน พั ฒ นาระบบเฝ้ า ระวั ง โรคติ ด ต่ อ อุบัติใหม่ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อให้สามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ทุกหน่วยงาน

กิจกรรม - - - - - -

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัด สำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์จังหวัด

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)


36

กิจกรรม

พัฒนาระบบการเฝ้าระวังโรค 2557 จัดตัง้ ศูนย์ขอ้ มูล/ประสานงานความร่วมมือแบบ บูรณาการ มีระบบรายงานและกำ�กับติดตามประเมินผล จัดประชุมเพื่อประสานความร่วมมือกับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เรื่องเกี่ยวกับโรคติดต่ออุบัติใหม่ มาตรการ 2.9 ส่ ง เสริ ม บทบาทของหน่ ว ยงาน - จั ด อบรม อสม., อสป., อสต. (อาสาสมั ค ร 2557-2559 ในท้องถิ่น ประชาชนและอาสาสมัครในการเฝ้าระวัง สาธารณสุ ข ต่ า งด้ า ว) ในการเฝ้ า ระวั ง และ และรายงานโรคและกลุ่ ม อาการแสดงที่ อ าจบ่ ง ถึ ง รายงานโรคและกลุ่ ม อาการแสดงที่ อ าจบ่ ง การระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ เช่น สัตว์ป่วย ถึ ง การระบาดของโรคติ ด ต่ อ อุ บั ติ ใ หม่ เช่ น หรือตายผิดปกติ การขาดเรียนหรือขาดงานผิดปกติ สัตว์ป่วย หรือตายผิดปกติ - เสริ ม สร้ า งระบบการเฝ้ า ระวั ง โรคให้ กั บ อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน

มาตรการ 2.8 ประสานความร่วมมือระหว่างภาคส่วน - ในการรายงานการระบาดของโรคติ ด ต่ อ อุ บั ติ ใ หม่ - ในสัตว์ และคน - -

- - - - - - -

กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมการปกครอง สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด

- กรมควบคุมโรค - กรมปศุสัตว์ - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ - กระทรวงมหาดไทย - องค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) - องค์การแพทย์ไร้พรมแดน (MASA) - สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด - กรมควบคุมโรค - กรมปศุสัตว์ - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ - สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

มาตรการ 2.7 จัดให้มรี ะบบเฝ้าระวังโรคเชิงรุกสำ�หรับ - จั ด ทำ � การเฝ้ า ระวั ง เชิ ง รุ ก ในเขตพื้ น ที่ เ สี่ ย ง 2557-2559 โรคติ ด ต่ อ อุ บั ติ ใ หม่ ที่ สำ � คั ญ และมี แ นวโน้ ม ที่ จ ะ เช่น ศูนย์พักพิงชั่วคราว ระบาดในคน รวมถึงโรคในกลุ่มอาการที่สำ�คัญ เช่น - พัฒนาระบบเฝ้าระวังเชิงรุกในพื้นที่เสี่ยง สมองอักเสบ (Encephalitis) เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis) และปอดอักเสบอย่างรุนแรง (Severe Pneumonia)

ประเด็นนโยบาย


37

กิจกรรม

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมการแพทย์ กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มหาวิทยาลัย กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร กระทรวงวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)

- - - - - - - - - - - - - - -

- หน่วยงานที่ดูแลศูนย์พักพิงแรงงานต่างด้าว

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

- จัดอบรมให้ความรูเ้ กีย่ วกับโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่แก่ ผู้ประกอบการโดยกรมควบคุมโรค - ฝึกอบรมอาสาสมัครสาธารณสุข/อาสาสมัคร ปศุ สั ต ว์ ในการเฝ้ า ระวั ง เหตุ ก ารณ์ ผิ ด ปกติ และแจ้งเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง มาตรการ 2.10 พั ฒ นาระบบเฝ้ า ระวั ง เชื้ อ ดื้ อ ยา - สำ�รวจระบบเฝ้าระวังเชือ้ ดือ้ ยาทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั 2556-2559 ทั้งในคนและสัตว์ ของสถานพยาบาล - ประสานงานการจัดระบบการเฝ้าระวังเชือ้ ดือ้ ยา - พัฒนาห้องปฏิบตั กิ ารตรวจเชือ้ ยา บุคลากรและ สือ่ ทีเ่ กีย่ วข้อง และเทคโนโลยีการเก็บข้อมูลและ การวิเคราะห์ข้อมูลและการรายงานข้อมูลผล การเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาในคนและสัตว์ มาตรการ 2.11 จัดทำ�ระบบมาตรฐานข้อมูลและ - จัดตั้งศูนย์ข้อมูลสารสนเทศแต่ละหน่วยงาน 2557-2559 นำ � ระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศใหม่ ๆ มาใช้ เ พื่ อ - มี ศู น ย์ ข้ อ มู ล เฝ้ า ระวั ง โรคแบบบู ร ณาการ การเฝ้าระวัง ซึ่งเชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศแต่ละหน่วยงาน - พัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศโดยใช้ ฐานข้อมูลที่มีอยู่แล้ว - ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการคัดกรองสัตว์ - จัดตั้งศูนย์ข้อมูลกลางในการเฝ้าระวังโรคในคน สัตว์ และสัตว์ป่า โดยให้มีการเชื่อมโยงกัน - สร้างระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติ งาน เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารและฐานข้อมูล โรคติดต่ออุบัติใหม่ระหว่างหน่วยงาน

ประเด็นนโยบาย


38

กิจกรรม

มาตรการ 3.3 พั ฒ นาเครื อ ข่ า ยห้ อ งปฏิ บั ติ ท าง - พัฒนาและดำ�เนินการจัดการซ้อมแผนและสร้าง 2557-2559 - สาธารณสุข เพื่อให้สามารถสนับสนุนงานด้านการ แนวทางการปฏิบัติทางห้องปฏิบัติการทั้งด้าน - เฝ้าระวังและควบคุมโรคในสภาวะทีม่ กี ารระบาดใหญ่ สาธารณสุข ปศุสตั ว์ และสัตว์ปา ่ หากเกิดสภาวะ - ที่มีการระบาดใหญ่ - มาตรการ 3.4 จัดหากำ�ลังคนด้านห้องปฏิบัติการให้ - พัฒนาและจัดหากำ�ลังคนด้านห้องปฏิบตั กิ ารทัง้ 2557-2559 - เพียงพอสำ�หรับการรับมือโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ทงั้ สภาวะ ด้านสาธารณสุข ปศุสัตว์ และสัตว์ป่า ในสภาวะ - ปกติ และในสภาวะที่มีการระบาดใหญ่ ปกติและสภาวะที่มีการระบาดใหญ่ -

- - - - - มาตราการ 3.2 สร้ างห้องปฏิบัติก ารชีวนิรภัยที่มี - เตรียมความพร้อมทางห้องปฏิบัติการชีวนิรภัย 2557-2559 - มาตรฐานเพียงพอ เพื่อการตรวจหาเชื้อโรคติดต่อ ทั้งด้านสาธารณสุข ปศุสัตว์ และสัตว์ป่า เพื่อ - อุบัติใหม่ รองรับโรคระบาด ภัยพิบตั ิ และโรคข้ามพรมแดน - - จั ด ตั้ ง ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารชี ว นิ ร ภั ย กลางที่ ใช้ ใ น - การชันสูตรเชื้อที่มีความรุนแรงสูง ทั้งจากในคน - และสัตว์ -

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมปศุสัตว์ กรมแพทย์ทหาร กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช มหาวิทยาลัย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กระทรวงกลาโหม มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช มหาวิทยาลัย สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมแพทย์ทหาร มหาวิทยาลัย

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

กลยุทธ์ (3) พัฒนาศักยภาพระบบเครือข่ายทางห้อง ปฏิบัติการ มาตรการ 3.1 พัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการอ้างอิง - เตรี ย มความพร้ อ มในห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารทั้ ง ด้ า น 2557-2559 ระดั บ ชาติ ให้ มี ม าตรฐานสากลด้ า นการประกั น สาธารณสุข ปศุสัตว์ และสัตว์ป่า เพื่อรองรับ คุณภาพ และระบบชีวนิรภัยทางห้องปฏิบัติการ โรคระบาด ภัยพิบัติ และโรคข้ามพรมแดน - เพิ่มศักยภาพห้องปฏิบัติการ

ประเด็นนโยบาย


39

กิจกรรม

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมปศุสัตว์ กรมควบคุมโรค กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช มหาวิทยาลัย สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช มหาวิทยาลัย

- - - - - -

- - - - -

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

มาตรการ 3.5 ฝึกอบรมและพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ - จั ด อบรมและพั ฒ นาศั ก ยภาพเจ้ า หน้ า ที่ 2557-2559 ห้องปฏิบัติการในการตรวจหาเชื้อโรคติดต่ออุบัติใหม่ ห้องปฏิบัติการทั้งด้านสาธารณสุข ปศุสัตว์และ และจัดการข้อมูลทางระบาดวิทยา สัตว์ป่า ในการตรวจหาเชื้อโรคติดต่ออุบัติใหม่ และจัดการข้อมูลทางระบาดวิทยา - ฝึ ก อบรมเจ้ า หน้ า ที่ ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารของ กรมปศุ สั ต ว์ ใ นเรื่ อ งการวิ นิ จ ฉั ย โรคในสั ต ว์ และสัตว์ปา่ - จัดฝึกอบรมการปฏิบัติการควบคุมป้องกันโรค และการเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบตั กิ าร มาตรการ 3.6 จัดทำ�แนวทางและมาตรฐานการปฏิบตั ิ - ป ร ะ ชุ ม จั ด ทำ � แ น ว ท า ง แ ล ะ ม า ต ร ฐ า น 2557-2559 งานระดับชาติ สำ�หรับการตรวจทางห้องปฏิบัติการ การปฏิ บั ติ ง านเครื อ ข่ า ยห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร ของโรคติดต่ออุบัติใหม่ ทั้งด้านสาธารณสุข ปศุสัตว์ และสัตว์ป่า - ผลิตคู่มือมาตรฐานการตรวจวินิจฉัยทางด้าน ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารทั้ ง ด้ า นสาธารณสุ ข ปศุ สั ต ว์ และสัตว์ป่า - จัดทำ�คู่มือความรู้โรคติดต่ออุบัติใหม่ แนวทาง การส่ ง ตรวจทางห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร และการ รายงานผล - จัดทำ�คู่มือมาตรฐานการเก็บตัวอย่าง - การส่งตัวอย่างโรคติดต่ออุบัติใหม่

ประเด็นนโยบาย


40

กิจกรรม

- - - - -

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช มหาวิทยาลัย

- กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ - สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข - มหาวิทยาลัย

- กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ - มหาวิทยาลัย

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

มาตรการ 3.7 พั ฒ นาระบบและแผนการจั ด เก็ บ - พัฒนาเครือข่ายห้องปฏิบตั กิ ารทัง้ ด้านสาธารณสุข 2557-2559 รวมทั้งการส่งต่อสิ่งส่งตรวจให้มีคุณภาพ ปลอดภัย ปศุสัตว์ และสัตว์ป่า และมีการฝึกซ้อมแผนอย่างสมํ่าเสมอ - พั ฒ นาและดำ � เนิ น การจั ด การซ้ อ มแผนใน การจัดเก็บ ส่งตัวอย่าง - จัดประชุมเครือข่ายทางห้องปฏิบัติการทั้งด้าน สาธารณสุข ปศุสัตว์ และสัตว์ป่า - ผลิตคูม่ อื การจัดเก็บรวมทัง้ การส่งต่อสิง่ ส่งตรวจ มาตรการ 3.8 ให้องค์กรตามกฎหมายดำ�เนินการ - เสนอพระราชบั ญ ญั ติ ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารทาง 2557 ควบคุ ม ประเมิ น คุ ณ ภาพตามมาตรฐานสากล การแพทย์และสาธารณสุข เพื่ อ ให้ ก ารรั บ รองคุ ณ ภาพนํ้ า ยาชุ ด ทดสอบที่ ใช้ ในงานบริ ก ารสำ � หรั บ การวิ นิ จ ฉั ย ผู้ ป่ ว ยทั้ ง ที่ ผ ลิ ต ในประเทศและนำ � เข้ า จากต่ า งประเทศ เพื่ อ เป็ น การประกันคุณภาพและการคุ้มครองผู้บริโภค มาตรการ 3.9 พั ฒ นาระบบรายงานผลเพื่ อ ให้ - พั ฒ นาระบบการแจ้ ง ผลทางห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร 2557-2559 สามารถแจ้ ง ผลการตรวจทางห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารถึ ง ออนไลน์ ให้สัมพันธ์กับ รง. 506 ผู้เกี่ยวข้องได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และทันเหตุการณ์ - มี ก ารพั ฒ นาระบบการรายงานผลทาง ห้องปฏิบัติการระหว่างหน่วยงานของกระทรวง สาธารณสุข กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - รายงานผลทางห้องปฏิบัติการประจำ�สัปดาห์

ประเด็นนโยบาย


41

กลยุทธ์ (4) พัฒนาระบบการวินิจฉัย ดูแลรักษา พยาบาล และควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ มาตรการ 4.1 ส่งเสริมการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน - โรงพยาบาลระดับต่างๆ ให้มีขีดความสามารถในการ ตรวจวิ นิ จ ฉั ย ดู แ ลรั ก ษาพยาบาลผู้ ป่ ว ยโรคติ ด ต่ อ อุบัติใหม่ -

มาตรการ 3.10 จัดตั้งศูนย์ข้อมูลเชื้อโรคที่รวบรวม - ข้ อ มู ล สำ � คั ญ เช่ น ข้ อ มู ล ความไวและการดื้ อ ต่ อ - ยาต้านจุลชีพ ข้อมูลพันธุกรรมของเชือ้ โรคติดต่อ รวมทัง้ ปรั บ ปรุ ง ระบบการแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ระหว่ า งห้ อ ง ปฏิบัติการเครือข่าย ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่าง รวดเร็ว และทันเหตุการณ์โดยผ่านทางอินเทอร์เน็ต มาตรการ 3.11 จัดให้มีเครือข่ายของศูนย์เชี่ยวชาญ - เฉพาะทางทีม่ ปี ระสบการณ์สงู ในการตรวจวินจิ ฉัยทาง ห้องปฏิบัติการของกลุ่มโรคต่างๆ -

ประเด็นนโยบาย

2557

- - - - - -

- - - - -

2557-2559 - - - - -

กรมการแพทย์ สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค กรมแพทย์ทหารบก กรมแพทย์ทหารอากาศ กรมแพทย์ทหารเรือ

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช มหาวิทยาลัย

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช มหาวิทยาลัย

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

ส่ ง เสริ ม ให้ ห น่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งมี น โยบาย 2557-2559 ในการพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานในการตรวจ วิ นิ จ ฉั ย ดู แ ลรั ก ษาพยาบาลผู้ ป่ ว ยโรคติ ด ต่ อ อุบัติใหม่ สร้างระบบการตรวจคัดกรองที่เข้มแข็ง

จั ด ทำ � ทำ � เนี ย บผู้ เ ชี่ ย วชาญของกระทรวง สาธารณสุข กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช สร้างห้องปฏิบัติการของกรมอุทยานฯ ในเรื่อง การวินิจฉัยโรคสัตว์ และสัตว์ป่า

จัดตั้งศูนย์ทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ เฝ้าระวังและศูนย์ข้อมูลเชื้อดื้อยา

กิจกรรม


42

มาตรการ 4.4 พัฒนาระบบเครือข่าย การวินิจฉัยโรค - การดู แ ลรั ก ษาพยาบาล การป้ อ งกั น และควบคุ ม โรคติดเชื้อในสถานพยาบาล และในชุมชน รวมถึง ระบบการปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ - -

มาตรการ 4.3 พัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร - ทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข ทั้ ง ภาครั ฐ และ ภาคเอกชน ในด้า นการวิ นิ จ ฉั ย โรค และการดู แ ล รั ก ษาพยาบาล และการป้ อ งกั น และควบคุ ม โรคติดเชื้อในสถานพยาบาล

2557

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

- สำ�นักสาธารณสุขฉุกเฉิน สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข - กรมการแพทย์ - กรมแพทย์ทหารบก - กรมแพทย์ทหารอากาศ - กรมแพทย์ทหารเรือ จัดอบรมเพิม่ พูนความรูแ้ ละทักษะทีเ่ กีย่ วข้องให้ 2557-2559 - กรมการแพทย์ กับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ทั้ง - กรมควบคุมโรค ภาครัฐ และภาคเอกชน - สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข - สำ�นักการแพทย์ - กรมแพทย์ทหารบก - กรมแพทย์ทหารอากาศ - กรมแพทย์ทหารเรือ พัฒนาระบบเครือข่าย การวินิจฉัยโรค การดูแล 2557-2559 - กรมควบคุมโรค รักษาพยาบาล การป้องกันและควบคุมโรคติดเชือ้ - กรมการแพทย์ ในสถานพยาบาล และในชุมชน - สำ�นักบริหารการสาธารณสุข จัดทำ�ทำ�เนียบผู้เชี่ยวชาญ แบบออนไลน์ สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พัฒนาระบบการดูแลรักษา ป้องกัน ควบคุมโรค และมีระบบติดตามผูป้ ว่ ยทัง้ คน สัตว์ และสัตว์ปา่

กิจกรรม

มาตรการ 4.2 จั ด ระบบรองรั บ การดู แ ลรั ก ษา - จัดทำ�แผน และซ้อมแผนในทุกระดับ ผู้ป่วยในสถานการณ์ระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ และจัดซ้อมแผนอย่างสมํ่าเสมอ

ประเด็นนโยบาย


43

กิจกรรม

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

มาตรการ 4.5 เสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบ - พัฒนาแนวทางการส่งต่อผู้ป่วย และการสำ�รอง 2557-2559 - กรมการแพทย์ การส่งต่อผู้ป่วย และการสำ�รองทรัพยากรที่จำ�เป็น ทรัพยากรที่จำ�เป็นกรณีโรคติดต่ออุบัติใหม่ - สำ�นักบริหารการสาธารณสุข สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มาตรการ 4.6 จั ด ทำ � คู่ มื อ แนวทางการเตรี ย ม - จัดทำ�คู่มือและฝึกซ้อมแผน 2557 - กรมการแพทย์ ความพร้อมระดับชาติ ด้านการวินิจฉัยโรค การดูแล - จัดทำ�แนวทางปฏิบัติ (SOP) ในการควบคุม - กรมควบคุมโรค รักษาพยาบาล การป้องกัน และการควบคุมการติดเชือ้ ป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ และฝึกซ้อมอย่างสมํ่าเสมอ กลยุทธ์ (5) เสริมสร้างความเข้มแข็งของการสอบสวน และควบคุมโรคเชิงบูรณาการ มาตรการ 5.1 พัฒนากลไกการประสานความร่วมมือ - จัดตั้งศูนย์ประสานงานกลาง 2557 - กรมควบคุมโรค ระหว่างภาคส่วนสาธารณสุข ปศุสัตว์ สุขภาพสัตว์ป่า - จัดทำ�คู่มือประสานความร่วมมือ - กรมปศุสัตว์ สิง่ แวดล้อม และภาคส่วนอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้อง ในการสอบสวน - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช และควบคุมโรคติดต่อ - สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด มาตรการ 5.2 พั ฒ นาศั ก ยภาพของบุ ค ลากร - จั ด อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารด้ า นการสอบสวน 2557-2559 - กรมควบคุมโรค - กรมปศุสัตว์ ในการสอบสวน และควบคุ ม โรคติ ด ต่ อ ทั้ ง ในภาค และควบคุ ม โรค แก่ เจ้ า หน้ า ที่ ที่ ทำ � งานด้ า น สุขภาพสัตว์และสาธารณสุข ทั้งในภาครัฐและเอกชน สาธารณสุข ปศุสตั ว์และสัตว์ปา ่ (FETP, FETPV) - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ - พัฒนาสมรรถนะบุคลากรผู้ปฏิบัติงานภายใต้ สุขภาพหนึ่งเดียว ในด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรค - พัฒนาศักยภาพทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลือ่ นทีเ่ ร็ว (SRRT) และทีมด่านควบคุมโรค

ประเด็นนโยบาย


44

กิจกรรม กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมการแพทย์ สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ องค์การอนามัยโลกประจำ�ประเทศไทย ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค (ประเทศไทย) ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐ ด้านสาธารณสุข

- - - -

- - - - - - - - - - -

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

มาตรการ 5.3 สนับสนุนการสอบสวน และควบคุม - สนั บ สนุ น เชิ ง นโยบายและการดำ � เนิ น งาน 2557-2559 โรคติดเชื้อ ทั้งในชุมชน สถานพยาบาล และห้อง ในการสอบสวนควบคุมโรคให้แก่ทีมเฝ้าระวัง ปฏิบัติการ สอบสวนเคลือ่ นทีเ่ ร็ว แพทย์ เจ้าหน้าทีเ่ วชกรรม และเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ - พัฒนาระบบแจ้งเตือน เฝ้าระวังและสอบสวน เหตุการณ์ผิดปกติทั้งในคน สัตว์ และสัตว์ป่า - พั ฒ นาระบบติ ด ตามประเมิ น ผลที ม เฝ้า ระวั ง สอบสวนเคลื่ อ นที่ เร็ ว (SRRT) และการเก็ บ ตัวอย่างส่งตรวจ - เสริมสร้างศักยภาพของเครือข่าย SRRT ตำ�บล ในการเฝ้าระวังและรายงานเหตุการณ์โรคติดต่อ อุบัติใหม่ ทั้งในคนและในสัตว์ มาตรการ 5.4 ปรับปรุงระบบการแยกผูป้ ว่ ย (Isolation) - จัดทำ�คู่มือแนวทาง มาตรฐานของระบบแยก 2557-2559 และการแยกกัก (Quarantine) ผู้สัมผัสโรค ผู้ป่วยและการแยกกัก - ตรวจสอบ ประเมินมาตรฐานของระบบผู้ป่วย และการแยกกัก มาตรการ 5.5 พั ฒนาเครื อ ข่ า ยความร่ ว มมื อ และ - จัดตั้งศูนย์การประสานการดำ�เนินการระหว่าง 2557-2559 การแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างประเทศในการเตรียม เครือข่ายระหว่างประเทศ ความพร้อมป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ - พัฒนาระบบการแลกเปลี่ยนฐานข้อมูลระหว่าง เครือข่าย - จัดทำ�บันทึกข้อตกลงระหว่างชาติ โดยเครือข่าย ฝึกอบรมระบาดวิทยาภาคสนาม (Field Epidemiology Training Network ; FETN)

ประเด็นนโยบาย


45

-

-

-

มาตรการ 5.7 ดำ � เนิ น การตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น - ด้ า นโรคติ ด ต่ อ อุ บั ติ ใ หม่ อ ย่ า งบู ร ณาการ ระหว่ า ง ภาคสาธารณสุข ปศุสัตว์ สัตว์ป่าและสิ่งแวดล้อม

องค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มหาวิทยาลัย กรมอนามัย กรมควบคุมโรค กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กรุงเทพมหานคร กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

- - - - - - - - - - - แต่งตั้งคณะกรรมการการเตรียมความพร้อม 2557-2559 - ตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น ด้ า นโรคติ ด ต่ อ อุ บั ติ ใ หม่ - ทั้ ง ด้ า นสาธารณสุ ข ปศุ สั ต ว์ สั ต ว์ ป่ า และ - สิ่งแวดล้อม - จั ด ทำ � แผนการเตรี ย มความพร้ อ มตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ ทั้งด้าน สาธารณสุข ปศุสัตว์ สัตว์ป่าและสิ่งแวดล้อม ประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ การเพื่ อ ซั ก ซ้ อ มการเตรี ย ม ความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านโรคติดต่อ อุบัติใหม่ ทั้งด้านสาธารณสุข ปศุสัตว์ สัตว์ป่า และสิ่งแวดล้อม มีระบบการตรวจสอบข่าวกรองและข้อมูลที่ได้ รับแจ้ง

กิจกรรม

- ประชุมเครือข่ายระหว่างประเทศ - เพิ่ ม ช่ อ งทางสื่ อ สารในระบบเฝ้ า ระวั ง และ ผู้รับผิดชอบหลัก - จัดระบบการประสานงาน มาตรการ 5.6 ส่งเสริมการประสานความร่วมมือ - ศู น ย์ ป ระสานงานความร่ ว มมื อ ระหว่ า งภาคี 2557-2559 ระหว่างภาคีเครือข่าย ในการควบคุมโรคจากสิง่ แวดล้อม เครือข่าย โดยเฉพาะการปรับปรุงสุขาภิบาลทั้งในเขตเมืองและ - เฝ้าระวังการทิ้งของเสียข้ามแดน ชนบท - ควบคุมมลภาวะจากฟาร์มสัตว์สู่สิ่งแวดล้อม - ควบคุมโรคจากมลภาวะและจุลชีวะจากโรงงาน

ประเด็นนโยบาย


46

กิจกรรม

- - มาตรการ 1.2 พัฒนาและตรวจสอบระบบการเลี้ยง - พั ฒ นาและตรวจสอบระบบการเลี้ ย งและ 2556-2559 - และการป้องกันโรคในสัตว์เลี้ยงเชิงอุตสาหกรรมเป็น การป้ อ งกั น โรคในสั ต ว์ เ ลี้ ย งเชิ ง อุ ต สาหกรรม - ระบบการป้องกันโรคตามหลักความปลอดภัยทาง เป็ น ระบบการป้ อ งกั น โรคตามหลั ก ความ - ชีวภาพ (Biosecurity) ปลอดภัยทางชีวภาพ - - จัดทำ�ฟาร์มปลอดโรค และการอบรมสัตวแพทย์ - ผู้ควบคุมฟาร์ม - จั ด ระบบการเลี้ ย งสั ต ว์ ใ นสถานี เ พาะเลี้ ย ง - สัตว์ป่าทุกสถานีและแหล่งเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า - ของเอกชน ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำ�หนดไว้

- - - - -

กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมปศุสัตว์ สำ�นักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1-16 สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัด สำ�นักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม จังหวัด สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด มหาวิทยาลัย กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช สำ�นักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1-16 สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัด สำ�นักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม จังหวัด สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด มหาวิทยาลัย

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

พัฒนา ปรับปรุง และรณรงค์ระบบการเลีย้ งสัตว์ 2556-2559 และการป้องกันโรคในกิจการเลี้ยงและขยาย พันธุ์สัตว์รายย่อยให้มีมาตรฐาน แต่งตัง้ คณะกรรมการพัฒนาระบบการเลีย้ ง และ สุขภาพสัตว์ และฟาร์มปลอดโรค กรมปศุสัตว์ - จั ด ระบบการบู ร ณาการระหว่ า งหน่ ว ยงาน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

ยุทธศาสตร์ 2 การจัดการระบบการเลีย้ งและสุขภาพ สัตว์ และสัตว์ป่า ให้ปลอดโรค กลยุทธ์ (1) ปรับปรุงและพัฒนารูปแบบการเลี้ยง สัตว์รายย่อย และการเลี้ยงสัตว์เชิงอุตสาหกรรม มาตรการ 1.1 จัดระบบการเลีย้ ง และการป้องกันโรค - ในกิจการเลีย้ งสัตว์รายย่อย เช่น การจัดตัง้ ฝูงปลอดโรค หมู่บ้านปลอดโรค และสหกรณ์ปลอดโรค เป็นต้น -

ประเด็นนโยบาย


47

มาตรการ 1.4 ศึกษาติดตาม และเผยแพร่ความรู้ ความ - เข้าใจเกี่ยวกับระบบห่วงโซ่การผลิต (Supply Chain)

-

-

- -

-

มาตรการ 1.3 จั ด ระบบสถานที่ เ กี่ ย วกั บ กิ จ การ - สัตว์เลี้ยง และสัตว์ป่า เช่น สวนสัตว์ ตลาดนัดค้าสัตว์ สนามไก่ ช น สนามซ้ อ มชนไก่ ให้ ส ามารถป้ อ งกั น - โรคติดต่ออุบัติใหม่ได้ -

ประเด็นนโยบาย

- - - - -

กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ มหาวิทยาลัย ภาคเอกชนที่มีธุรกิจครบวงจร

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำ�นักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1-16 สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด สำ�นักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม จังหวัด - มหาวิทยาลัย - องค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs)

- - - - - - - - -

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

แต่งตัง้ คณะกรรมการพัฒนาระบบการเลีย้ ง และ 2556-2559 สุขภาพสัตว์ จัดทำ�ระบบมาตรฐาน และตรวจสอบการดำ�เนิน กิจการสวนสัตว์และสถานเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า จัดทำ�ระบบป้องกันโรคตามหลักความปลอดภัย ทางชีวภาพ (Biosecurity) ในตลาดนัดค้าสัตว์ สนามไก่ชน สนามซ้อมไก่ ดำ�เนินการจัดสรรและสนับสนุนงบประมาณใน การควบคุมประชากรสัตว์ และสัตว์ป่าที่เป็น ปัญหาในชุมชน สร้างระบบจำ�กัดพื้นที่ของประชากรสัตว์ จัดทำ�กฎระเบียบการขึ้นทะเบียนก่อนการส่ง สัตว์เข้าประกวด จำ�กัดสัตว์ธรรมชาติ/สัตว์ทเี่ ป็นพาหะนำ�โรคโดย วิธกี ารต่างๆ เช่น การทำ�หมัน ฝังฮอร์โมน ล้อมรัว้ ไฟฟ้า เป็นต้น จำ�กัดการให้อาหารสัตว์และสัตว์ปา่ ทีเ่ ป็นปัญหา ในชุมชน ถ่ายทอด เผยแพร่ความรู้ให้กับเกษตรกร ให้แก่ 2557-2559 ฟาร์มสมาชิก (Contract Farm)

กิจกรรม


48

กิจกรรม

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

มาตรการ 1.5 ศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง - ศึ ก ษาปั จ จั ย ทางสิ่ ง แวดล้ อ มที่ มี ต่ อ ระบบ 2556-2559 - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทางสิ่งแวดล้อมที่มีต่อระบบการเลี้ยงสัตว์ การเลี้ยงสัตว์ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กรมควบคุมมลพิษ - กรมปศุสัตว์ - องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ - มหาวิทยาลัย กลยุทธ์ (2) ป้องกันการนำ�เข้าโรคติดต่ออุบัติใหม่ จากต่างประเทศ มาตรการ 2.1 กำ�หนดเงื่อนไขการนำ�เข้าสัตว์ และ - ปรั บ ปรุ ง กฎหมายในการนำ � สั ต ว์ เข้ า ประเทศ 2557-2559 - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช สัตว์ป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์สัตว์จากต่างประเทศ และ และเน้ น บทลงโทษให้ มี ค วามรุ น แรงมากขึ้ น - กรมควบคุมโรค จัดระบบการตรวจสอบความปลอดภัยของแหล่งที่มา (ในกรณีที่เป็นการลักลอบนำ�เข้า) - กรมประมง ตามมาตรฐานสากล รวมถึงการปรับปรุงกฎหมาย - กำ � หนดเงื่ อ นไขการอนุ ญ าต การตรวจสอบ - กรมปศุสัตว์ ที่เกี่ยวข้อง การนำ�เข้าสัตว์ และสัตว์ป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์ - กรมการปกครอง สัตว์จากต่างประเทศ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการระหว่ า งหน่ ว ยงานที่ - กระทรวงกลาโหม เกี่ยวข้อง - สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ - บังคับใช้ขอ้ บังคับองค์การปกครองท้องถิน่ อย่าง - สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด เข้มงวด - สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัด - บั ง คั บ ใช้ ก ฎหมาย/ข้ อ บั ญ ญั ติ ท้ อ งถิ่ น ที่ มี - ด่านกักกันสัตว์ ประสิ ท ธิ ภ าพในการควบคุ ม ผู้ ป ระกอบการ - ด่านตรวจคนเข้าเมือง ในการเลี้ยงสัตว์ให้เป็นไปตามหลักวิชาการ - หน่วยเคลื่อนที่เร็วจากส่วนกลางที่เกี่ยวข้อง - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - สมาคมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

ประเด็นนโยบาย


49

กิจกรรม

- - - - - - - - - - - - มาตรการ 2.4 จัดระบบการประเมินความเสี่ยงจาก - จัดทำ�ระบบประเมินความเสี่ยงจากการนำ�เข้า 2556-2559 - การนำ�เข้าสัตว์ และสัตว์ปา ่ รวมถึงผลิตภัณฑ์สตั ว์ จาก สัตว์ และสัตว์ป่า รวมถึงผลิตภัณฑ์สัตว์จาก - ต่างประเทศ ต่างประเทศ - - จัดตัง้ ศูนย์เฝ้าระวัง และติดตามโรคจากสัตว์ตาม ถิ่นอพยพ ศึกษา วิจัย ตรวจวินิจฉัย ฝึกอบรม ถ่ายทอดองค์ความรู้

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กระทรวงกลาโหม กรมการปกครอง สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด ด่านกักกันสัตว์ ด่านตรวจคนเข้าเมือง หน่วยเคลื่อนที่เร็วจากส่วนกลางที่เกี่ยวข้อง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สมาคมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ศูนย์เฝ้าระวังและติดตามโรคจากสัตว์ป่า สัตว์ต่างถิ่นและสัตว์อพยพ (MOZWE)

- กรมปศุสัตว์ - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - ด่านตรวจสัตว์ป่า

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

มาตรการ 2.2 ตั้งจุดตรวจการเคลื่อนย้ายสัตว์และ - จัดทำ�ระบบการตรวจด่านการเคลื่อนย้ายสัตว์ 2556-2559 ซากสัตว์ และดำ�เนินการอย่างเคร่งครัด และสัตว์ป่า - จั ด เจ้ า หน้ า ที่ เ พื่ อ เข้ า สำ � รวจอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่อการเฝ้าระวัง มาตรการ 2.3 พั ฒ นาระบบการออกใบอนุ ญ าต - พัฒนาระบบการออกใบอนุญาตเคลือ่ นย้ายสัตว์ 2557-2559 เคลื่อนย้าย และการตรวจสอบการเคลื่อนย้ายสัตว์ และสัตว์ป่า โดยทางอินเทอร์เน็ต ซึ่งให้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน - พั ฒ น า เ ค รื อ ข่ า ย ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ใ น ด้ า น การเคลื่อนย้ายสัตว์

ประเด็นนโยบาย


50

มาตรการ 3.2 พัฒนาบุคลากร สัตวแพทย์ สารวัตร กรมปศุสัตว์ และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องกับการควบคุม โรคและการเคลื่อนย้ายสัตว์ ให้มีความรู้ความชำ�นาญ ในการใช้กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง และสามารถใช้กฎหมาย ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มาตรการ 3.3 ฝึกอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรที่เลี้ยง สัตว์ให้ดำ�เนินการเลี้ยงอย่างถูกต้อง สามารถป้องกัน โรคได้ มีผลผลิตคุณภาพดี และมีรายได้เพียงพอแก่ การดำ�รงชีพ -

- - - -

มาตรการ 2.5 ปรับปรุงระบบสนับสนุนการป้องกันโรค - เช่น การเตรียมธนาคารวัคซีน ระบบความเย็น เพื่อคง คุณภาพวัคซีน กลยุทธ์ (3) พัฒนาบุคลากรและถ่ายทอดความรู้ ให้แก่กลุ่มเสี่ยงในกิจการเลี้ยงสัตว์ มาตรการ 3.1 ฝึกอบรมและส่งเสริมการแลกเปลี่ยน - ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานแก่เจ้าหน้าที่ -

ประเด็นนโยบาย

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

- - - - - พัฒนาสถาบันบริหารจัดการองค์ความรูส้ วนสัตว์ 2557-2559 - จัดอบรมให้ความรู้ด้านกฎหมายแก่เจ้าหน้าที่ - เพิ่มอัตรากำ�ลังในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - เพิม่ ศักยภาพหน่วยเคลือ่ นทีใ่ นการเฝ้าระวังและ - รักษาโรคสัตว์ป่า ฝึกอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์ และ 2557-2559 - ทีม่ ฟี าร์มสัตว์ปา ่ ให้ด�ำ เนินการเลีย้ งอย่างถูกต้อง - สามารถป้องกันโรคได้ มีผลผลิตคุณภาพดี และ - มีรายได้เพียงพอแก่การดำ�รงชีพ -

อบรมนายสัตวแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านระบาด 2557-2559 วิทยาภาคสนาม (FETPV) พั ฒ นาระบบเฝ้ า ระวั ง เพื่ อ ค้ น หาโรคติ ด ต่ อ อุบัติใหม่จากสัตว์ป่าสู่คน (FETPW)

กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ มหาวิทยาลัย

กรมปศุสัตว์ กรมควบคุมโรค กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ มหาวิทยาลัย กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ มหาวิทยาลัย

จั ด ทำ � ระบบสนั บ สนุ น การป้ อ งกั น โรค เช่ น 2556-2559 - กรมปศุสัตว์ การเตรี ย มธนาคารวั ค ซี น ระบบความเย็ น - กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เพื่อคงคุณภาพวัคซีน - สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด

กิจกรรม


51

มาตรการ 3.5 สร้างเครือข่ายตลาดแรงงาน และ - จั ด หางานใหม่ ใ ห้ กั บ แรงงานในกิ จ การเลี้ ย งสั ต ว์ ที่ ไ ม่ ส ามารถทำ � งานเดิ ม ต่ อ ไปได้ หรื อ ต้ อ งการ เปลี่ยนอาชีพ มาตรการ 3.6 สื่ อ สารประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ ค วามรู้ - แก่ เ กษตรกรและผู้ ป ระกอบการด้ า นปศุ สั ต ว์ โดยให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นา รูปแบบการเลี้ยงสัตว์ และโรงฆ่าสัตว์ มาตรการ 3.7 ประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ เ กษตรกรและ - ผู้ ป ระกอบการด้ า นปศุ สั ต ว์ ให้ ค วามร่ ว มมื อ ในการเคลือ่ นย้ายสัตว์ให้เป็นไปตามระเบียบ กฎหมาย และมี ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ โรคติ ด ต่ อ อุ บั ติ ใ หม่ รวมทั้ ง สามารถลดผลกระทบจากการเกิดโรค -

มาตราการ 3.4 ส่ ง เสริ ม การฝึ ก อาชี พ ระยะสั้ น - แก่ ลู ก จ้ า งและเกษตรกรที่ ต้ อ งการเปลี่ ย นอาชี พ - ภายในสถาบั น และศู น ย์ พั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน หรื อ สถานประกอบการที่ ใ ห้ ค วามร่ ว มมื อ รวมทั้ ง จัดชุดฝึกอบรมเคลื่อนที่

ประเด็นนโยบาย

กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กระทรวงแรงงาน สํานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น - สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด - มหาวิทยาลัย

- - - -

- กรมปศุสัตว์ - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - มหาวิทยาลัย

- กระทรวงแรงงาน - กระทรวงมหาดไทย

- กระทรวงแรงงาน - มหาวิทยาลัย

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

แต่งตั้งผู้ประสานงานระหว่างกรม, กระทรวง 2557-2559 ฝึ ก อบรมอาชี พ ระยะสั้ น และจั ด ชุ ด ฝึ ก อบรม เคลื่ อ นที่ แ ก่ ลู ก จ้ า งและเกษตรกรที่ ต้ อ งการ เปลี่ยนอาชีพ ภายในสถาบันและศูนย์พัฒนา ฝี มื อ แรงงาน หรื อ สถานประกอบการที่ ใ ห้ ความร่วมมืออาชีพ สร้ า งเครื อ ข่ า ยตลาดแรงงาน และจั ด หา 2559 งานใหม่ ใ ห้ กั บ แรงงานในกิ จ การเลี้ ย งสั ต ว์ ที่ไม่สามารถทำ�งานเดิมต่อไปได้ หรือต้องการ เปลี่ยนอาชีพ รณรงค์ และประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ ค วามรู้ แ ก่ 2556-2559 เกษตรกรและผู้ ป ระกอบการด้ า นปศุ สั ต ว์ โดยให้ความสำ�คัญกับการปรับปรุงและพัฒนา รูปแบบการเลี้ยงสัตว์ และโรงฆ่าสัตว์ รณรงค์ และประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรและ 2556-2559 ผู้ประกอบการด้านปศุสัตว์ ให้ความร่วมมือใน การเคลื่ อ นย้ า ยสั ต ว์ ใ ห้ เ ป็ น ไปตามระเบี ย บ กฎหมาย และมีความรูเ้ กีย่ วกับโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ รวมทั้งสามารถลดผลกระทบจากการเกิดโรค จัดเวทีเสวนาภาคประชาชนเพือ่ นำ�ไปเป็นข้อมูล ในการทำ�ข้อบัญญัตขิ องท้องถิน่ เพือ่ การป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อจากสัตว์

กิจกรรม


52

กิจกรรม

มาตรการ 4.4 ฝึ ก อบรมและพั ฒ นาบุ ค ลากร - ออกใบอาชญาบัตร เจ้าหน้าที่ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ที่เกี่ยวข้องกับ - พั ฒ นาบุ ค ลากรที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ โรงฆ่ า สั ต ว์ โรงฆ่าสัตว์ และโรงงานแปรรูปสัตว์ และโรงงานแปรรูปสัตว์

- - - 2556-2559 -

กรมปศุสัตว์ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมปศุสัตว์

- กรมปศุสัตว์ - สำ�นักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร แห่งชาติ - กรมอนามัย - กรมปศุสัตว์ - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

- กระทรวงแรงงาน - กรมปศุสัตว์ - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

มาตรการ 3.8 ดูแลคุม้ ครองสวัสดิการแรงงานและการ - ประชาสัมพันธ์ ดูแลคุ้มครองสวัสดิการแรงงาน 2559 ประกันสังคม โดยการตรวจเยีย่ มและประชาสัมพันธ์ให้ และการประกันสังคม ให้ผู้ประกอบการกิจการ ผู้ประกอบการกิจการเลี้ยงสัตว์ทราบและปฏิบัติตาม เลีย้ งสัตว์ทราบ และปฏิบตั ติ ามกฎหมายแรงงาน กฎหมายแรงงาน - สร้างแรงจูงใจให้ผปู้ ระกอบการทีส่ ามารถป้องกัน และควบคุมโรคได้ตามเกณฑ์ที่กำ�หนด กลยุทธ์ (4) ส่งเสริมระบบการฆ่าสัตว์ให้มมี าตรฐาน มาตรการ 4.1 เพิ่มศักยภาพการตรวจรับรองคุณภาพ - พัฒนาการตรวจรับรองคุณภาพสินค้า 2556-2559 สินค้าของโรงฆ่าสัตว์ และโรงงานแปรรูป เพื่อการ - พัฒนาโรงฆ่าสัตว์ในท้องถิ่น ส่งออก มาตรการ 4.2 พัฒนาแหล่งจำ�หน่ายเนื้อสัตว์ให้ได้ - พัฒนาโครงการตลาดปลอดภัย ตลาดสดน่าซื้อ 2556-2559 มาตรฐานความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค รวมทั้ ง พั ฒ นาตลาดที่ ลั ก ลอบจำ � หน่ า ย ให้ มี ความปลอดภัย ได้มาตรฐาน - พัฒนาโครงการเขียงสะอาด - พัฒนาโครงการเครื่องหมายรับรองมาตรฐาน สินค้าเกษตรและอาหาร หรือ “Q” มาตรการ 4.3 บังคับใช้กฎหมายในกิจการโรงฆ่าสัตว์ - ตรวจโรงฆ่าสัตว์ให้ปฏิบัติตามกฎหมาย 2556-2559

ประเด็นนโยบาย


53

กิจกรรม

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

มาตรการ 4.5 พั ฒ นาระบบการตรวจสอบ และ - จัดทำ�ระบบตรวจสอบย้อนกลับ 2556-2559 - กรมปศุสัตว์ การบันทึกข้อมูลจากโรงฆ่าสัตว์ โรงงานแปรรูปสัตว์ รวมทั้ ง ระบบเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล ทางอิ เ ลคทรอนิ ค ส์ ให้สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ กลยุทธ์ (5) ฟื้นฟูระบบการเลี้ยง สายพันธุ์ และ การตลาดของสั ต ว์ เ ลี้ ย งและสั ต ว์ ปี ก สวยงาม หลังได้รับผลกระทบจากปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ มาตรการ 5.1 พัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคให้มีคุณภาพ - ตัง้ หน่วยงานตรวจสอบสัตว์ต่างถิ่น 2556-2559 - กรมปศุสัตว์ มาตรฐาน เพื่อการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ - พัฒนาระบบข้อมูลเฝ้าระวังโรคในสัตว์และระบบ - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช การประสานงานโดยมีผรู้ บั ผิดชอบหลักทีช่ ดั เจน - ศูนย์เฝ้าระวังและติดตามโรคจากสัตว์ป่า และได้มาตรฐาน สัตว์ต่างถิน่ และสัตว์อพยพ (MOZWE) - กรมประมง - มหาวิทยาลัย มาตรการ 5.2 ถ่ายทอดความรู้แก่ประชาชน และกลุ่ม - รณรงค์ ดูแล เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ 2556-2559 - กรมปศุสัตว์ เป้าหมายที่เกี่ยวข้อง ในการดูแล เฝ้าระวัง ป้องกัน อุบัติใหม่ - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ - ศูนย์เฝ้าระวังและติดตามโรคจากสัตว์ป่า สัตว์ต่างถิ่นและสัตว์อพยพ (MOZWE) - กรมประชาสัมพันธ์ - สมาพันธ์สัตว์ปีกสวยงามแห่งประเทศไทย มาตรการ 5.3 จั ด ระบบการเตรี ย มความพร้ อ ม - จัดระบบการเตรียมความพร้อม เพื่อจัดการเหตุ 2556-2559 - กรมปศุสัตว์ เพื่อจัดการเหตุฉุกเฉินทางสุขภาพสัตว์ ฉุกเฉินทางสุขภาพสัตว์ (ซ้อมแผน) - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - พัฒนาระบบการตรวจตัวอย่างสัตว์ (Mobile - กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย Lab) บริเวณด่านชายแดน - สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ - กระทรวงกลาโหม - องค์กรเอกชน

ประเด็นนโยบาย


54

กิจกรรม

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

มาตรการ 5.4 ศึกษาวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์สัตว์ - ศึกษาวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์สัตว์ เพื่อสร้าง 2556-2559 - กรมปศุสัตว์ เพื่ อ สร้ า งภู มิ คุ้ ม กั น ต่ อ โรคระบาด และโรคติ ด ต่ อ ภูมคิ มุ้ กันต่อโรคระบาด และโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช อุบัติใหม่ - สมาพันธ์สัตว์ปีกสวยงามแห่งประเทศไทย - มหาวิทยาลัย กลยุทธ์ (6) จัดทำ�ระบบการตรวจสอบย้อนกลับ ในอุตสาหกรรมสัตว์เชิงธุรกิจ มาตรการ 6.1 จั ด ระบบทะเบี ย นแก่ ช มรมกลุ่ ม - จั ด ทำ � แ ล ะ พั ฒ น า ร ะ บ บ ท ะ เ บี ย น ข อ ง 2556-2559 - กรมปศุสัตว์ เกษตรกร ผูป้ ระกอบการฟาร์มเลีย้ งสัตว์ ผูป้ ระกอบการ ผู้ประกอบการเลี้ยงสัตว์ และสัตว์สวยงาม - กรมประมง โรงงานเชื อ ด ผู้ ป ระกอบการโรงงานแปรรู ป และ ผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์สัตว์ มาตรการ 6.2 จัดระบบตรวจสอบรับรองและออก - จั ด ทำ � ระบบรั บ รองและออกใบอนุ ญ าต 2556-2559 - กรมปศุสัตว์ ใบอนุญาตแก่การเคลื่อนย้ายสัตว์ ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ การเคลื่อนย้ายสัตว์, ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ - สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ รวมทั้งการออกใบรับรองสุขอนามัยสินค้า - ตรวจและออกใบรับรองสุขอนามัยสัตว์ มาตรการ 6.3 จัดระบบข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ - จัดทำ�และพัฒนาระบบการทำ�เครื่องหมายระบุ 2556-2559 - กรมปศุสัตว์ ทั้งระบบการนำ�เข้า การตรวจสอบย้อนกลับ และ ตัวสัตว์ป่า - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ระบบอ้างอิงข้อมูล - พัฒนาระบบทะเบียนสัตว์ และสัตว์ป่า - จัดทำ�สมุดประจำ�ตัวสัตว์ที่มีความเสี่ยงจะเป็น พาหะนำ�โรค

ประเด็นนโยบาย


55

กิจกรรม

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

กลยุ ท ธ์ (7) ศึ ก ษาและวิ จั ย ด้ า นการปรั บ ระบบ การเลี้ ย งสั ต ว์ และปั จ จั ย เสี่ ย งของโรคติ ด ต่ อ อุบัติใหม่ในสัตว์ มาตรการ 7.1 ศึ ก ษาวิ จั ย เกี่ ย วกั บ การปรั บ ระบบ - จัดทำ�รูปแบบการเลี้ยงต้นแบบในสัตว์ป่า 2557-2559 - กรมปศุสัตว์ การเลี้ยงสัตว์ โดยเน้นการพัฒนาเทคโนโลยี และ - ศึกษา ค้นคว้า และพัฒนาเทคโนโลยีการเลี้ยง - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช รูปแบบการเลี้ยงต้นแบบ สัตว์ให้ทันสมัยอยู่เสมอ - มหาวิทยาลัย - สำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ - องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาตรการ 7.2 ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงรวมถึง - ศึกษาปัจจัยเสี่ยงในการแพร่กระจายโรคจาก 2557-2559 - ศูนย์เฝ้าระวังและติดตามโรคจากสัตว์ป่า วิ ธี ก ารจั ด การความเสี่ ย งของโรคติ ด ต่ อ อุ บั ติ ใ หม่ สัตว์ป่าระหว่างการเคลื่อนย้าย สัตว์ต่างถิ่นและสัตว์อพยพ (MOZWE) ในสถานทีต่ า่ งๆ เช่น สนามชนไก่ ตลาดนัดค้าสัตว์ และ - ควบคุม และป้องกันวัณโรคในช้างและในคนเลีย้ ง - กรมปศุสัตว์ แหล่งรวมสัตว์อนื่ ๆ และในระหว่างการเคลือ่ นย้ายสัตว์ - ศึกษาปัจจัยเสี่ยงในการเลี้ยงปศุสัตว์ในรอยต่อ - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช และซากสัตว์ พื้นที่อนุรักษ์ - สำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ - เฝ้าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่ในแหล่งรวมสัตว์ - องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ต่างๆ - มหาวิทยาลัย มาตรการ 7.3 ศึ ก ษาวิ เ คราะห์ ร ะบบการผลิ ต - ศึกษา วิเคราะห์ผลกระทบจากการปรับปรุง 2556-2559 - กรมปศุสัตว์ การตลาด ตลอดห่วงโซ่ของการผลิตสัตว์ที่ได้รับผล ระบบการเลี้ยงสัตว์ต่างๆ - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จากการปรับปรุงระบบการเลี้ยง เช่น การปรับปรุง - ศึ ก ษาแนวทางการปรั บ ปรุ ง กฎหมาย และ - มหาวิทยาลัย ระบบการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง การปรับปรุงระบบการเลี้ยง ระเบี ย บเพื่ อ บั ง คั บ ใช้ ใ ห้ ทั น โรคที่ เ กิ ด ขึ้ น ใหม่ - สำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ สุกรรายย่อย โคนม เป็นต้น รวมทั้งศึกษาแนวทาง นอกบัญชีรายชื่อในกฎหมาย - องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ การปรับปรุงกฎหมายรับรอง การปรับระบบการเลีย้ ง

ประเด็นนโยบาย


56

กิจกรรม

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

มาตรการ 7.4 ศึกษาแนวทางการสร้างฝูงพืน้ ทีป่ ลอดโรค - พัฒนาระบบการเลี้ยงแบบแยกส่วนของฟาร์ม 2556-2559 - มหาวิทยาลัย เช่น ระบบแยกส่วนการเลีย้ ง (Compartmentalization) ต่างๆ เพื่อขยายพื้นที่ปลอดโรคให้มากขึ้น - กรมปศุสัตว์ ฟาร์มปลอดโรคติดต่ออุบัติใหม่ เป็นต้น - สำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ - องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ กลยุทธ์ (8) ศึกษาความมัน่ คง และความหลากหลาย ทางชีวภาพ และพันธุกรรมของสัตว์ป่า มาตรการ 8.1 บู ร ณาการความเชื่ อ มโยงกั บ - จั ด ตั้ ง ศู น ย์ ก ลางเครื อ ข่ า ยข้ อ มู ล องค์ ค วามรู้ 2556-2559 - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช แนวทางการวิ จั ย ความหลากหลายทางชี ว ภาพ งานวิจยั ความหลากหลายทางชีวภาพระดับชาติ - กรมปศุสัตว์ ที่ จำ � เป็ น และตอบสนองเป้ าหมายของแผนกลยุทธ์ - ศึ ก ษา วิ จั ย ความหลากหลายทางชี ว ภาพ - องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ อนุสญ ั ญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ระยะ เพื่อให้ได้มาซึ่งองค์ความรู้ - มหาวิทยาลัย 2011- 2020 (พ.ศ. 2554- 2563) เป้าหมายที่ 9 - ศูนย์แรกรับและฟื้นฟูสุขภาพสัตว์ป่าไทรโยค ซึง่ เกีย่ วข้องกับการวิจยั ชนิดพันธุต์ า่ งถิน่ ทีร่ กุ ราน และ จังหวัดกาญจนบุรี เส้นทางการระบาด ควบคุมหรือกำ�จัดชนิดพันธุ์ที่มี ลำ�ดับความสำ�คัญสูงและดำ�เนินมาตรการเพื่อจัดการ เส้นทางแพร่ระบาดเพื่อป้องกันการนำ�เข้าและการตั้ง ถิ่นฐานรุกราน มาตรการ 8.2 การจัดการสุขภาพสัตว์ป่า และศึกษา - จัดตั้งศูนย์สุขภาพสัตว์ป่าแห่งชาติ 2557 - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ความหลากหลายทางพันธุกรรมของสัตว์ป่า - พัฒนาศูนย์ชันสูตรและเฝ้าระวังโรคสัตว์ป่า - องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ - พัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่ใน - ศูนย์เฝ้าระวังและติดตามโรคจากสัตว์ป่า สัตว์ป่าระบบสุขภาพหนึ่งเดียว (One Health) สัตว์ต่างถิ่นและสัตว์อพยพ (MOZWE) - จัดตัง้ ห้องปฏิบตั กิ ารตรวจวินจิ ฉัยและรักษาโรค - สำ�นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ สัตว์ป่า และสิ่งแวดล้อม - ศูนย์สุขภาพสัตว์ป่าแห่งชาติ - National Wild Life Health Center มหาวิทยาลัยมหิดล - สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ

ประเด็นนโยบาย


57

กิจกรรม

- สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ - สำ�นักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค - สภาวิจัยแห่งชาติ - กรมปศุสัตว์

- สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ - กรมควบคุมโรค - กรมปศุสัตว์ - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - สำ�นักกิจการพิเศษ กระทรวงศึกษาธิการ - สำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ - สำ�นักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

ยุ ท ธศาสตร์ 3 พั ฒ นาระบบจั ด การความรู้ และส่งเสริม การวิจัยพัฒนา กลยุทธ์ (1) จัดการความรู้อย่างเป็นระบบ มาตราการ 1.1 จัดตั้งศูนย์กลางการจัดการความรู้ - ทำ � บั น ทึ ก ข้ อ ตกลงร่ ว มกั น ระหว่า งหน่ ว ยงาน 2557-2558 และการศึ ก ษาวิ จั ย เกี่ ย วกั บ โรคติ ด ต่ อ อุ บั ติ ใ หม่ (MOU) เพื่ อ พั ฒ นาองค์ ค วามรู้ ที่ จำ � เป็ น ต่ อ รวมทั้งศูนย์เก็บรักษาสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ การกำ � หนดมาตรฐานในการจั ด การความรู้ และการศึกษาวิจัยโรคติดต่ออุบัติใหม่ - พัฒนาศูนย์เก็บรักษาสิง่ ส่งตรวจทางห้องปฏิบตั กิ าร ให้มีคุณภาพเทียบเท่ามาตรฐานคุณภาพระดับ สากลเพื่อรองรับความต้องการของหน่วยงาน เครือข่ายได้ทั้งหมด 100% เช่น สามารถสืบค้น ข้อมูลย้อนหลังได้ภายใน 3 นาที และมีขอ้ มูลทาง สถิติเกี่ยวกับโรคติดต่ออุบัติใหม่ - มีผลงานทางด้านวิชาการโรคติดต่ออุบัติใหม่ เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ เช่น ผลงานทาง วิชาการได้รบั การตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการระดับ ประเทศ หรือมีผลงานได้รับรางวัลในเวทีระดับ ภูมิภาค มาตรการ 1.2 กำ�หนดนโยบายด้านการจัดการความรู้ - กำ � หนดนโยบายและแผนการดำ � เนิ น งาน 2556-2559 และการศึกษาวิจัย เพื่อสนับสนุนการป้องกัน ควบคุม จากคณะกรรมการร่วมระหว่างหน่วยงาน และลดความเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ - มีศนู ย์ขอ้ มูล และพัฒนาข้อมูลโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ อุบัติใหม่ -อุ บั ติ ซํ้ า และโรคที่ อ าจติ ด มาจากการเข้ า สู่ ประชาคมอาเซียน อย่างต่อเนื่อง

ประเด็นนโยบาย


58 -

มาตรการ 1.5 จัดการเผยแพร่ แลกเปลี่ยนความรู้ - ทีท่ นั สมัย เกีย่ วกับการป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในทุกภาคส่วน และทุกระดับ -

มาตรการ 1.4 สร้างกลไกการประสานความร่วมมือ - ทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ระหว่างสถาบัน องค์ ก ร หน่ ว ยงาน และผู้ เชี่ ย วชาญทางวิ ช าการ ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ

-

มาตรการ 1.3 จัดทำ�แผนที่การศึกษาวิจัย เพื่อสร้าง - องค์ความรู้ที่จำ�เป็นเกี่ยวกับโรคติดต่ออุบัติใหม่ ทั้งใน ด้านคน สัตว์ สัตว์ป่า และสิ่งแวดล้อม -

ประเด็นนโยบาย

สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ สำ�นักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค สภาวิจัยแห่งชาติ มหาวิทยาลัย กรมควบคุมโรค กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมปศุสัตว์ สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ

กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช สำ�นักกิจการพิเศษ กระทรวงศึกษาธิการ สำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ มหาวิทยาลัย สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ กรมควบคุมโรค กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมปศุสัตว์

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

- - - - สร้ า งกลไกเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง 2557-2559 - เครือข่าย Nation Network of Excellent Center สร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน โดยแต่งตัง้ - คณะกรรมการอำ�นวยการร่วม คณะอนุกรรมการ - รายยุ ท ธศาสตร์ คณะทำ � งานผู้ เชี่ ย วชาญใน - แต่ละด้าน บูรณาการงานวิจัยของแต่ละหน่วยงานร่วมกัน เป็นหนึ่งเดียว สร้างเครือข่าย Nation Network of Excellent 2557-2559 - Center - - - จั ด ฝึ ก อบรมเพื่ อ ถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู้ ด้ า น 2557-2559 - การป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ ให้บคุ ลากร - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - จั ด ทำ � สื่ อ ต้ น แบบในการเผยแพร่ อ งค์ ค วามรู้ ด้านการวิจัย ฯลฯ - จัดประชุม/เวทีถ่ายทอดองค์ความรู้/งานวิจัย - ทีเ่ กีย่ วข้องกับโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ระหว่างหน่วยงาน -

กิจกรรม


59

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

- สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ - กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

- สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ - กรมควบคุมโรค

บูรณาการหน่วยงานต่างๆที่มีความเชื่อมโยงกัน 2557-2559 - สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่ อ งองค์ ค วามรู้ แ ละฐานข้ อ มู ล ด้ า นการวิ จั ย แห่งชาติ โรคติดต่ออุบัติใหม่ ในคนและสัตว์ - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

ทำ � บั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการ 2557-2559 - สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (MOU) ระหว่างหน่วยงานในการแลกเปลี่ยน แห่งชาติ ฐานข้อมูล - กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร

กิจกรรม

ส่งเสริมการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนา 2557-2559 องค์ ค วามรู้ นวั ต กรรมเพื่ อ นำ � มาจั ด ทำ � คู่ มื อ และแนวทางการพัฒนาองค์ความรู้ฯ หน่วยงานและเครือข่ายทีเ่ กีย่ วข้อง เฝ้าระวังและ ติดตามสถานการณ์โรคในคนและสัตว์อยู่เสมอ มาตรการ 2.3 พัฒนาเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์ทจี่ �ำ เป็น - จัดทำ�โครงการพัฒนาเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์ 2557-2559 สำ�หรับการตรวจวินจิ ฉัย เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุม ที่ จำ � เป็ น สำ � หรั บ การตรวจวิ นิ จ ฉั ย เฝ้ า ระวั ง โรคติดต่ออุบัติใหม่ ป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ โดยขอ ทุนจากหน่วยงานภายในและต่างประเทศ

มาตรการ 1.6 พัฒนาระบบฐานข้อมูลกลาง เพื่อ - รวบรวมและเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อ อุบัติใหม่ ที่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลตั้งแต่ระดับชาติ ระดับจังหวัด ถึงระดับชุมชน กลยุทธ์ (2) พัฒนาองค์ความรู้เชิงบูรณาการ และ ส่งเสริมการนำ�ความรู้สู่นโยบายและการปฏิบัติ มาตรการ 2.1 พัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับชีววิทยา - นิเวศวิทยา และระบบฐานข้อมูลประชากรสัตว์ป่าที่ อาจเกีย่ วข้องกับการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ ให้ มี ข้ อ มู ล ที่ ทั น สมั ย เพื่ อ ประกอบการตั ด สิ น ใจ ด้านนโยบายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มาตรการ 2.2 พัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับการระบาด - และการกลายพันธุ์ของเชื้อโรค ทั้งในสัตว์และในคน รวมทัง้ ความรูเ้ กีย่ วกับการติดเชือ้ ระหว่างสายพันธุใ์ นสัตว์ -

ประเด็นนโยบาย


60

กิจกรรม

- สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ - กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

- สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ

- สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ - สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ - สำ�นักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค

- สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ - สถาบันวัคซีนแห่งชาติ

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

มาตรการ 2.4 ส่งเสริมการวิจัยพัฒนาวัคซีนป้องกัน - สนับสนุนโครงการวิจัยการพัฒนาวัคซีนป้องกัน 2557-2559 โรคติดต่ออุบัติใหม่ สนับสนุนการพัฒนาต่อยอดสู่ โรคติดต่ออุบัติใหม่ การผลิตระดับอุตสาหกรรม - มีการประมาณการแนวโน้มและความต้องการ ในการใช้วคั ซีนในระดับประเทศ ร่วมกับสถาบัน วัคซีนแห่งชาติ มาตรการ 2.5 ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด เครื อ ข่ า ยของศู น ย์ - สนับสนุนผู้เชี่ยวชาญ เพื่อร่วมสร้างเครือข่าย 2557-2559 เชี่ยวชาญของกลุ่มโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ต่างๆ โรคติดต่ออุบัติใหม่ในระดับประเทศ มาตรการ 2.6 พั ฒ นาองค์ ค วามรู้ เชิ ง ระบบ ด้ า น - คัดเลือกผู้เชี่ยวชาญในแต่ละด้าน ในรูปแบบ 2557-2559 สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ที่สัมพันธ์กับ คณะทำ�งานเพื่อบูรณาการองค์ความรู้เชิงระบบ โรคติดต่ออุบัติใหม่ ที่มีความสัมพันธ์กับโรคติดต่ออุบัติใหม่ กลยุทธ์ (3) พัฒนาระบบการสนับสนุนงานวิจัย พัฒนา วิศวกรรม และการออกแบบ มาตรการ 3.1 จัดระบบให้คำ�ปรึกษาแนะนำ�เรื่อง - สร้างผู้เชี่ยวชาญในการให้คำ�ปรึกษา แนะนำ� 2557-2559 ทรัพย์สินทางปัญญา ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยพัฒนา และถ่ายทอดองค์ความรู้ เรื่องทรัพย์สินทาง ปัญญากับงานวิจัยและพัฒนาเพื่อคุ้มครองสิทธิ ์ ของผู้สร้างสรรค์ผลงานเพื่อเป็นแรงจูงใจหรือ กระตุ้ น ให้ เ กิ ด การสร้ า งสรรค์ ใ หม่ ๆ ที่ เ ป็ น ประโยชน์แก่สังคม มาตราการ 3.2 พัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ รองรับ การศึกษา - พัฒนาห้องปฏิบ้ติการให้มีความปลอดภัยระดับ 2557-2559 วิจัยที่ทันสมัย เช่น เทคโนโลยีก ารตรวจหาลำ�ดับ สูงและได้มาตรฐานสากลเพื่อเป็นศูนย์กลางใน สารพันธุกรรมของจุลชีพ และการสังเคราะห์จลุ นิ ทรีย์ การศึกษาวิจัยในระดับภูมิภาค รวมทั้งเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ - พัฒนาศูนย์เทคโนโลยีกลางด้านสารสนเทศเพื่อ เป็นศูนย์กลางในภูมิภาค

ประเด็นนโยบาย


61

-

มาตรการ 3.5 จั ด ศู น ย์ ฝึ ก อบรมต้ น แบบด้ า น - การป้องกันควบคุมโรคติดต่อ สำ�หรับชุมชน มาตรการ 3.6 พัฒนาระบบการตรวจสอบความถูกต้อง - ของเครือ่ งมือการตรวจวินจิ ฉัย การทดสอบความชำ�นาญ (Proficiency Test) และการเตรียมตัวอย่างอ้างอิง เช่น ซีรัม และตัวอย่างตรวจอื่นๆ

-

-

มาตรการ 3.3 พัฒนาเทคโนโลยีทางการสื่อสาร และ - ขยายช่องทางการสือ่ สาร เพือ่ การเผยแพร่องค์ความรู้ - สู่บุคลากรและประชาชน เช่น เว็บไซต์, ข้อความสั้น ทางโทรศัพท์มือถือ มาตรการ 3.4 สนั บ สนุ น การพั ฒ นาบุ ค ลากร ใน - หน่วยงานต่างๆ ให้มีความสามารถจัดการความรู้และ ศึกษาวิจัย -

ประเด็นนโยบาย

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

สนับสนุนทุนในการวิจยั เพือ่ พัฒนาบุคลากรของ 2557-2559 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในด้านการจัดการความรู้ และศึกษาวิจัย อบรมบุคลากรในพืน้ ทีเ่ พือ่ ใช้ขอ้ มูลในพืน้ ทีส่ ร้าง แผนวิจัยระดับชาติ สร้ า งงานวิ จั ย ในภาวะฉุ ก เฉิ น พฤติ ก รรม นอกเหนือจากวิจัยทางห้องปฏิบัติการ จัดหาทุนเพื่อส่งเสริมศักยภาพของบุคลากรใน ด้านการวิจยั เช่น การขอทุนงานวิจยั ในประเทศ และต่างประเทศ เพิ่ ม องค์ ค วามรู้ ด้ า นโรคติ ด ต่ อ อุ บั ติ ใ หม่ 2557-2559 ในหลักสูตรการฝึกอบรมของแต่ละหน่วยงาน จั ด ทำ � แนวทางพั ฒ นาระบบการตรวจสอบ 2557-2559 ความถู ก ต้ อ งของเครื่ อ งมื อ การตรวจวิ นิ จ ฉั ย การทดสอบความชำ�นาญ (Proficiency Test) และการเตรียมตัวอย่างอ้างอิง ให้ได้ตามมาตรฐาน สากล จั ด ทำ � คู่ มื อ เผยแพร่ เ กี่ ย วกั บ การส่ ง ตั ว อย่ า ง สิ่งส่งตรวจ

- สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ - กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

- กรมควบคุมโรค

- กรมควบคุมโรค - สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ - สภาวิจัยแห่งชาติ - มหาวิทยาลัย

จัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมของแต่ละหน่วยงาน 2557-2559 - สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพิ่มช่องทางการสื่อสารให้มีความหลากหลาย แห่งชาติ มากขึ้น

กิจกรรม


62 -

-

มาตรการ 1.2 จั ด ตั้ ง คณะกรรมการอำ � นวยการฯ - ระดับชาติ ระดับกระทรวง และระดับจังหวัดทีม่ ผี แู้ ทน ภาคส่วนต่างๆ -

มาตรการ 3.7 จั ด โครงสร้า งพื้ น ฐานและอุ ป กรณ์ - ที่จำ�เป็น สำ�หรับการวิเคราะห์ลำ�ดับสารพันธุกรรม (เช่ น คอมพิ ว เตอร์ ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง ) การทดสอบ - ผลิ ต ภั ณ ฑ์ สำ � หรั บ การป้ อ งกั น และควบคุ ม โรค - (เช่น ห้องปฏิบัติการชีวนิรภัยที่มีมาตรฐานเพียงพอ สถานทีท่ ดสอบผลิตภัณฑ์ในสัตว์ทดลองทีไ่ ด้มาตรฐาน (Good Laboratory Practice ; GLP) สถานที่ผลิต ผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน (Good Manufacturing Practice ; GMP) และศู น ย์ เ ก็ บ รั ก ษาเชื้ อ โรค (National Repositories) ยุ ท ธศาสตร์ 4 พั ฒ นาระบบบริ ห ารจั ด การเชิ ง บูรณาการและเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กลยุทธ์ (1) จัดระบบการบริหารจัดการการป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ แบบบูรณาการ มาตรการ 1.1 จัดให้มีศูนย์บัญชาการในภาวะฉุกเฉิน - ด้านสาธารณสุขระดับชาติ

ประเด็นนโยบาย - สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ - กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ - กรมควบคุมโรค - สำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

- กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - สำ�นักสาธารณสุขฉุกเฉิน สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข - กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - กระทรวงที่เกี่ยวข้อง - จังหวัด และกรุงเทพมหานคร

ออกแบบโครงสร้างศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ 2556-2559 (Incident Command System ; ICS) ระดับชาติ จั ด ตั้ ง กองบั ญ ชาการป้ อ งกั น และบรรเทา 2556-2559 สาธารณภัยแห่งชาติ จั ด ตั้ ง ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารฉุ ก เฉิ น (Emergency Operation Center ; EOC) จั ด ตั้ ง ศู น ย์ อำ � นวยการเฉพาะกิ จ จั ง หวั ด (เมื่อเกิดภัย) แต่งตัง้ คณะกรรมการ และกำ�หนดบทบาทหน้าที่ ของในแต่ละหน่วยงาน

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

พั ฒ นาห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร, บุ ค ลากร, เครื่ อ งมื อ 2557-2559 ในพื้นที่ให้ได้มาตรฐาน พัฒนาระบบสารสนเทศ และศูนย์ขอ้ มูลงานวิจยั พั ฒ นาระบบการส่ ง ตรวจที่ ส ามารถเข้ า ถึ ง ได้ โดยผ่านระบบ Online โดยการจำ�กัดสิทธิ์ใน ระดับต่างๆ

กิจกรรม


63

กิจกรรม

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

มาตรการ 1.3 พัฒนาระบบการอำ�นวยการสั่งการ - พัฒนาระบบการอำ�นวยการสั่งการ 2556-2559 - กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ทั้งระดับชาติ ระดับจังหวัด และระดับท้องถิ่น เพื่อ - จัดทำ�ระบบสือ่ สารหลักและระบบสือ่ สารสำ�รอง - กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร บัญชาการเหตุการณ์ในแต่ละระดับอย่างชัดเจน และ ในการสั่งการ - กรมควบคุมโรค มีประสิทธิภาพ - จัดระบบเครือข่ายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - จังหวัด และกรุงเทพมหานคร - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรการ 1.4 จัดทำ�แผนปฏิบตั กิ ารและแผนเผชิญเหตุ - มีการประชุมร่วมจัดทำ�แผนปฏิบัติการ และ 2556-2559 - กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ระดับชาติ ระดับกระทรวง ระดับจังหวัด และระดับ แผนเผชิ ญ เหตุ โดยมี การบู ร ณาการระหว่า ง - กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ท้องถิน่ โดยส่วนร่วมของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง รวมทัง้ ภาครั ฐ ภาคเอกชน และหน่ ว ยงานอื่ น ๆ - กรมการปกครอง ภาคประชาชน ที่เกี่ยวข้อง - กรมควบคุมโรค - ระบุ ค วามเสี่ ย งโรคและภั ย สุ ข ภาพที่ เ กิ ด หลั ง - กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ภัยพิบัติต่างๆ - กรมปศุสัตว์ - กรมโรงงานอุตสาหกรรม - กรมควบคุมมลพิษ - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน - กรมประชาสัมพันธ์ - มหาวิทยาลัย - สำ�นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัด - สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด - สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัด - สำ�นักงานส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด

ประเด็นนโยบาย


64

มาตรการ 1.6 บูรณาการการฝึกซ้อมแผนปฏิบัติการ - ในพื้ น ที่ เ สี่ ย งภั ย และแผนเผชิ ญ เหตุ ใ นทุ ก ระดั บ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

-

-

มาตรการ 1.5 บูรณาการกลไกการทำ�งานและระบบ - งบประมาณของหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ทุ ก ระดั บ เพื่อประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ -

ประเด็นนโยบาย

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กรมการปกครอง กรมควบคุมโรค กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมปศุสัตว์ กรมประชาสัมพันธ์

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ด่านตรวจคนเข้าเมือง ผู้นำ�ศาสนา / ผู้นำ�ชุมชน ทุกกระทรวงที่เกี่ยวข้อง กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง สำ�นักงบประมาณ สำ�นักนายกรัฐมนตรี สำ�นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรมควบคุมโรค องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

- - - - ปรั บ ปรุ ง ระบบงบประมาณเพื่ อ รองรั บ ภาวะ 2558-2559 - ฉุกเฉิน - จัดประชุมเกีย่ วกับการบูรณาการงบประมาณใน - หน่วยงานที่รับผิดชอบ - ปรับเพิม่ ประกาศเรือ่ งระบบสุขภาพ โดยมีระบบ - งบประมาณที่สอดคล้องกับการบริหารจัดการ กรณีการเกิดโรคติดต่ออุบัติใหม่ สนั บ สนุ น งบประมาณในการฝึ ก ซ้ อ มแผน โรคติดต่ออุบัติใหม่-อุบัติซํ้าอย่างต่อเนื่อง จั ด กิ จ กรรมประกาศให้ โรคติ ด ต่ อ อุ บั ติ ใ หม่ 2558-2559 - เป็นวาระจังหวัดและกิจกรรมบันทึกข้อตกลง - - ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง กั บ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ในการจั ด ให้ มี ก ารฝึ ก ซ้ อ มแผนปฏิ บั ติ ก ารใน - พื้ น ที่ เ สี่ ย งภั ย และแผนเผชิ ญ เหตุ ต ามระดั บ - ความรุนแรงของภัย ภายใต้แผนการป้องกันและ - บรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ และแผนยุทธศาสตร์ -

กิจกรรม


65

มาตรการ 1.9 จัดระบบการช่วยเหลือชาวต่างชาติ - ในประเทศไทยที่ได้รับผลกระทบ

-

มาตรการ 1.8 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านวิชาการ - เพื่อการป้องกัน ควบคุม และแก้ไขปัญหาโรคติดต่อ - อุบัติใหม่

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

- สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - สำ�นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัด - สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัด - สำ�นักงานส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด - มหาวิทยาลัย - ด่านตรวจคนเข้าเมือง - ผู้นำ�ศาสนา / ผู้นำ�ชุมชน - ทุกกระทรวงที่เกี่ยวข้อง ปรับปรุงระเบียบพัสดุเพื่อรองรับเรื่องฉุกเฉิน 2558-2559 - สำ�นักงบประมาณ สำ�นักนายกรัฐมนตรี พัฒนาเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติในการเฝ้าระวัง/ - กระทรวงสาธารณสุข คัดกรองผู้ป่วยสำ�หรับทุกภาคส่วน บรรจุในหลักสูตรของสถานศึกษาแต่ละระดับ 2556-2559 - กระทรวงสาธารณสุข เผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสาร/ช่องทางทีก่ ลุม่ เป้าหมาย - กระทรวงศึกษาธิการ เข้าถึงได้งา่ ยและเข้าใจง่าย โดยความร่วมมือของ - สถาบันวิชาชีพ ทุกภาคส่วนและเอกชน - มหาวิทยาลัย พัฒนาระบบสนับสนุนด้านวิชาการและแก้ไข ปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ มีระบบประสานหน่วยงานต่างประเทศและหรือ 2558-2559 - กระทรวงการต่างประเทศ องค์กรระหว่างประเทศ เพือ่ สนับสนุนรัฐบาลไทย - กระทรวงสาธารณสุข เมื่อเกิดสาธารณภัย

กิจกรรม เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหา โรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ ในทุกภาคส่วน โดย มี ป ระเด็ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การตอบโต้ ร ะบบ การจั ด การข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ มี ค วามเสี่ ย งสู ง / โรคติดต่ออุบัติใหม่ ระดับจังหวัด และบริเวณ ชายแดน - จัดอบรมเจ้าหน้าที่ให้มีความรู้ในการปฏิบัติงาน ในพื้นที่เสี่ยงภัย เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน

มาตรการ 1.7 พัฒนาและปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ - หลักเกณฑ์ -

ประเด็นนโยบาย


66 - ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการคัดกรองผู้เดินทาง ระหว่างประเทศ ณ ท่าอากาศยานหรือจุดผ่านแดน ระหว่างประเทศ - ประสาน ชี้แจง และให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ สาธารณภัยกับต่างชาติ และฝ่ายต่างประเทศ รวมทัง้ สถานทูตต่างประเทศประจำ�ประเทศไทย เพื่อดำ�เนินการตามอำ�นาจหน้าที่

กิจกรรม

- - - - - - -

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สำ�นักงานแรงงานจังหวัด กระทรวงแรงงาน สำ�นักงานการท่องเที่ยวกีฬาจังหวัด กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

- กระทรวงสาธารณสุข - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

กลยุทธ์ (2) พัฒนากลไกการประสานความร่วมมือ กับภาคีเครือข่าย ทัง้ ในประเทศ และระหว่างประเทศ มาตรการ 2.1 พัฒนาระบบการแจ้งเตือนภัย การแจ้ง - มีระบบการแจ้งเตือนภัยตามระดับความรุนแรง 2556-2559 ข้อมูลข่าวสารการระบาดของโรค การประสานงาน และแจ้ ง แนวทางในการปฏิ บั ติ ต น โดยการ ในการเตรียมความพร้อมและตอบโต้ต่อภัยโรคติดต่อ ประสานงานในการเตรียมความพร้อมร่วมกับ อุบัติใหม่ทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ ทุกภาคส่วน - จั ด ทำ � ระบบแจ้ ง เตื อ นภั ย อย่ า งทั น ท่ ว งที แ ละ ทันเหตุการณ์ มาตรการ 2.2 พั ฒ นากลไกความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง - จัดทำ�ทำ�เนียบเครือข่ายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2556-2559 หน่วยราชการ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - จั ด ประชุ ม หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อ หา ผูร้ บั ผิดชอบหลักและผูป้ ระสานงานหลักระหว่าง หน่วยงาน - จัดทำ�บันทึกข้อตกลงระหว่างหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง - พัฒนากลไกความร่วมมือระหว่างภาครัฐ, เอกชน และท้องถิ่น

ประเด็นนโยบาย


67

- จัดหาสิง่ สาธารณูปโภคให้เพียงพอ ทัง้ ในภาวะปกติ และภาวะฉุกเฉิน

กิจกรรม

กรมควบคุมโรค กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด สำ�นักงานควบคุมป้องกันโรคที่ 1-12 สำ�นักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1-16 ด่านตรวจสัตว์ป่าจังหวัด สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัด สำ�นักงานปศุสัตว์เขต 1-9 ด่านกักกันสัตว์ ด่านตรวจคนเข้าเมือง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

- - - - - - - - - มาตรการ 2.3 สนั บ สนุ นการตอบโต้ ภาวะฉุ ก เฉิ น - จัดให้มีระบบการเชื่อมโยงข้อมูลเป็นเครือข่าย 2556-2559 - แบบบูรณาการระหว่างภาคสาธารณสุข ปศุสตั ว์ สัตว์ปา ่ ในรู ป เทคโนโลยี ส ารสนเทศ (Information - และสิ่งแวดล้อม Technology ; IT) - - จัดให้มีคลังข้อมูล - - กลยุ ท ธ์ (3) เตรี ย มความพร้ อ มในการตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ มาตรการ 3.1 เตรี ย มความพร้ อ มของหน่ ว ยงาน - จั ด อบรมให้ ค วามรู้ แ ละแนวทางปฏิ บั ติ ต น 2556-2559 - ทั่วประเทศ ในการป้องกัน และตอบโต้โรคติดต่อ เพื่อการป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ - อุบัติใหม่ตามแผนงานที่จัดทำ�ไว้ - ผลักดันให้ชุมชนจัดทำ�แผนเตรียมความพร้อม - รองรับการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ - - แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินความเสี่ยงและ - ฝึกซ้อมแผนโรคติดต่ออุบัติใหม่-อุบัติซํ้า

ประเด็นนโยบาย


68

กิจกรรม

- - - - - - -

กรมควบคุมโรค กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

- มีการประเมินความเสีย่ งในคณะกรรมการระดับ จังหวัด และซ้อมแผนโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่-อุบตั ซิ า ํ้ ตามผลการประเมิ น โดยแยกตามโรคและ ภัยสุขภาพเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ ในพื้นที่ - จัดตัง้ โรงพยาบาลสนาม กรณีเกิดการระบาดของ โรคติดต่ออุบัติใหม่ในวงกว้าง มาตรการ 3.2 พัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มสี มรรถนะ - การพัฒนาความรู้ของบุคลากร โดยส่งบุคลากร 2556-2559 พร้อมสำ�หรับตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉินด้านโรคติดต่อ เข้ า รั บ การอบรม เพื่ อ ให้ มี ค วามพร้ อ มใน อุบัติใหม่ การรับภาวะฉุกเฉินด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ - จัดฝึกอบรม/ฝึกปฏิบัติ/ประชุมเชิงปฏิบัติการ ในการเตรียมความพร้อมรับโรคติดต่ออุบัติใหม่ แก่บุคลากรทุกระดับ - จัดฝึกอบรมเรือ่ งโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ให้กบั นายจ้าง/ ผู้ประกอบการโรงงาน - มีการถ่ายทอดแผนการฝึกซ้อมที่เกี่ยวข้องกับ โรคติดต่ออุบัติใหม่-อุบัติซํ้าอย่างต่อเนื่อง - กำ�หนดบทบาทหน้าที่ และอบรมบุคลากรให้มี ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกซ้อมแผนโรคติดต่อ อุบัติใหม่-อุบัติซํ้า - มีการถอดบทเรียนการฝึกซ้อมแผนโรคติดต่อ อุบัติใหม่-อุบัติซํ้าร่วมกัน

ประเด็นนโยบาย


69

-

มาตรการ 3.4 สนับสนุนการจัดทำ�แผนประคองกิจการ - (Business Continuity Plan ; BCP) สำ � หรั บ ทุ ก องค์ ก รและหน่ ว ยงาน ทั้ ง ภาครั ฐ รั ฐ วิ ส าหกิ จ - และเอกชนให้เป็นรูปธรรม

-

มาตรการ 3.3 เตรี ย มความพร้ อ มภาคประชาชน - ให้ มี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจของโรคติ ด ต่ อ อุ บั ติ ใ หม่ - รวมทั้งการป้องกันโรคอย่างถูกต้อง -

ประเด็นนโยบาย

- - - - - - - - - - - -

กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กรมประชาสัมพันธ์ กระทรวงแรงงาน กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร กระทรวงอุตสาหกรรม สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทุกกระทรวงที่เกี่ยวข้อง

กรมควบคุมโรค กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ - สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

- - - -

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

จัดทำ�สื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชน 2556-2559 จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ในแต่ละท้องถิ่น เพื่อ สร้างความตระหนักให้กับประชาชน นำ�เข้าข้อมูลในศูนย์ขอ้ มูลภาครัฐ (Government Data Center Consolidation) ทั้งนี้เป็นการ บู ร ณาการศู น ย์ ข้ อ มู ล ภาครั ฐ เข้ า ด้ ว ยกั น ภายใต้ โ ครงสร้ า งพื้ น ฐานความเร็ ว สู ง ด้ า น เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT; Information และ Network Infrastructure) พัฒนาช่องทางการสื่อสาร เช่น สายด่วน, Call center ฯลฯ ให้ครอบคลุมประชากรทุกพื้นที่ มี ก ารบู ร ณาการจั ด ทำ � แผนประคองกิ จ การ 2559 ร่วมกับทุกหน่วยงาน ปรั บ ปรุ ง กฎหมายให้ ห น่ ว ยงานต่ า งๆ จั ด ทำ � แผนประคองกิจการรองรับภาวะฉุกเฉินจาก โรคติดต่ออุบัติใหม่ จั ด ฝึ ก อบรมให้ ค วามรู้ แ ก่ บุ ค ลากรเพื่ อ ให้ สามารถปฏิ บั ติ ท ดแทนได้ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความ ต่อเนื่องในการทำ�งานของแต่ละหน่วยงาน

กิจกรรม


70

กิจกรรม

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

มาตรการ 3.5 เสริมสร้างความร่วมมือในการป้องกัน - จัดเวทีประสานเครือข่ายความร่วมมือการป้องกัน 2556-2559 - กรมควบคุมโรค ควบคุ ม โรค ระหว่ า งบุ ค ลากรภาคส่ ว นต่ า งๆ เช่ น ควบคุมโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ในทุกภาคส่วน - กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข บุคลากรด้าน - จัดทีมปฏิบัติการเฉพาะกิจ เพื่อดำ�เนินงานตาม - กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ปศุสัตว์ อาสาสมัคร ทหาร ตำ�รวจ เป็นต้น ภารกิจ - กรมการปกครอง - กรมปศุสัตว์ - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - กระทรวงกลาโหม - สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ - สำ�นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด - ศูนย์ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 1-18 - สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด - สำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 - สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัด - สำ�นักงานปศุสัตว์เขต 1-9 - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - สำ�นักงานอำ�เภอ มาตรการ 3.6 ส่งเสริมการป้องกันและควบคุมโรคโดย - รณรงค์การป้องกันควบคุมโรคโดยมาตรการต่างๆ 2556-2559 - กรมควบคุมโรค มาตรการทีเ่ หมาะสม รวมทัง้ มาตรการทีไ่ ม่ใช้เวชภัณฑ์ เช่น การสวมหน้ากากอนามัย การล้างมือ การให้ - กรมประชาสัมพันธ์ (Non-Pharmaceutical Interventions ; NPI) ผู้ป่วยหยุดงาน/หยุดเรียนอยู่บ้าน ฯลฯ - กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพือ่ ให้ประชาชนทัว่ ประเทศมีความสามารถพึง่ ตนเอง - การส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกัน - กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ในการป้องกันโรค และลดความสูญเสียจากการระบาด ควบคุมโรคโดยมาตรการที่เหมาะสม - สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด ของโรคติดต่ออุบัติใหม่ - จัดระบบการติดตามกลุม่ ประชากรทีม่ คี วามซับซ้อน - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ประเด็นนโยบาย


71

กิจกรรม

กรมควบคุมโรค กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กรมการปกครอง สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

กรมควบคุมโรค กรมประชาสัมพันธ์ กระทรวงการต่างประเทศ สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมควบคุมโรค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

มาตรการ 3.7 ประชาสัมพันธ์ และแจ้งเตือนผูเ้ ดินทาง - จัดทำ�คำ�แนะนำ�และเผยแพร่ให้กับผู้เดินทาง 2556-2559 - ระหว่างประเทศ เพื่อการป้องกันโรคติดต่อ ระหว่างประเทศ เพื่อการป้องกันโรคติดต่อ - - - มาตรการ 3.8 จัดการระบบช่วยเหลือฟืน้ ฟูผปู้ ระสบภัย - มีการประเมินความเสียหายและแบ่งขอบเขต 2558-2559 - โรคติดต่อ และบูรณะสิง่ แวดล้อมให้กลับคืนสูส่ ภาพเดิม ความรั บ ผิ ด ชอบในการช่ ว ยเหลื อ ฟื้ น ฟู - ผูป้ ระสบภัยโรคติดต่อ และบูรณะสิง่ แวดล้อมให้ - กลับสู่สภาพเดิม - - - - กลยุทธ์ (4) พัฒนาระบบสนับสนุนทรัพยากรและ การส่งกำ�ลังบำ�รุง มาตรการ 4.1 พั ฒ นาแนวทางการสนั บ สนุ น ด้ า น - จั ด ทำ � แผนการสนั บ สนุ น ด้ า นทรั พ ยากรและ 2556-2559 - ทรัพยากรและส่งกำ�ลังบำ�รุง เพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ส่ ง กำ � ลั ง บำ � รุ ง เพื่ อ ตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น จาก - จากโรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคติดต่ออุบัติใหม่ - - - -

ประเด็นนโยบาย


72

กิจกรรม

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

มาตรการ 4.2 พัฒนาบุคลากรด้านการจัดสรรทรัพยากร - มีการฝึกซ้อมแผนด้านการจัดสรรทรัพยากรและ 2558-2559 - กรมควบคุมโรค และส่งกำ�ลังบำ�รุง รวมทั้งจัดการฝึกซ้อมเป็นระยะ ส่งกำ�ลังบำ�รุง ในทุกระดับ โดยการบูรณาการ - กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพือ่ ให้มคี วามพร้อมทีจ่ ะทำ�งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทุกภาคส่วน - สำ�นักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ - สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรการ 4.3 จัดระบบการตัง้ และเบิกจ่ายงบประมาณ - จั ด ระบบการเบิ ก จ่ า ยให้ มี ค วามยื ด หยุ่ น 2556-2559 - กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ที่มีความยืดหยุ่นสูง และเอื้อต่อการบริหารจัดการใน ในภาวะฉุกเฉิน - สำ�นักงบประมาณ สำ�นักนายกรัฐมนตรี ภาวะฉุกเฉินได้ทุกระดับ ตามแผนการป้องกันและ - กรมควบคุมโรค บรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553- 2557 - กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - ธนาคาร (บางแห่งที่รัฐกำ�หนด) มาตรการ 4.4 ระดมความร่วมมือและทรัพยากรภายใน - บู ร ณาการและจั ด ทำ � ระบบภู มิ ส ารสนเทศ 2559 - กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ประเทศ จากทั้งภาครัฐและภาคเอกชน และจัดทำ� กลางของประเทศ (National Geographic - กรมควบคุมโรค แผนที่ทรัพยากรไว้ล่วงหน้า Information System) และให้แต่ละหน่วยงาน - กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จัดทำ�ระบบของตนเพื่อรองรับ - กรมปศุสัตว์ - ร่วมเฝ้าระวังและแจ้งข่าวการระบาดในแต่ละ - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช หน่วยงาน - สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด - จัดหาทรัพยากร และพัฒนาการจัดหาทรัพยากร - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำ�รองไว้ใช้ในกรณีทเี่ กิดภาวะฉุกเฉิน ให้เพียงพอ กับความต้องการ - จัดทำ�ฐานข้อมูลทรัพยากร

ประเด็นนโยบาย


73

ยุ ท ธศาสตร์ 5 การสื่ อ สาร และประชาสั ม พั น ธ์ ความเสี่ยงของโรคติดต่ออุบัติใหม่ กลยุทธ์ (1) พัฒนาโครงสร้างและเครือข่ายด้านการ สื่อสารความเสี่ยง ประชาสัมพันธ์ในทุกภาคส่วน และทุกระดับ มาตรการ 1.1 พัฒนาโครงสร้าง และกลไกด้านการ - สื่อสารความเสี่ยง ประชาสัมพันธ์ในทุกภาคส่วนและ ทุกระดับ ตั้งแต่ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และระดับชุมชน โดยปรับโครงสร้างและจัดระเบียบ คณะกรรมการด้านการสื่อสาร ให้มีความร่วมมือจาก - หน่วยงานและบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องอย่างกว้างขวาง พัฒนา หน่วยงานด้านการสื่อสารความเสี่ยงภายในหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ให้มีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ ขึ้นรับผิดชอบ เพื่อดำ�เนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ - มีศักยภาพในการให้ข่าวกับสื่อมวลชนต่างประเทศได้ และพัฒนากลไกการเชื่อมโยงเครือข่ายการสื่อสาร - ทุกภาคส่วน ทุกระดับ

มาตรการ 4.5 พัฒนาระบบการจัดหา สำ�รอง และ - กระจายเวชภัณฑ์ อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย และวัสดุ อุ ป กรณ์ ต่ า งๆ ที่ จำ �เป็ นในการป้อ งกั นและตอบโต้ โรคติดต่ออุบัติใหม่ มาตรการ 4.6 พัฒนาศักยภาพการวิจยั พัฒนาและผลิต - วัคซีนและยาทีจ่ �ำ เป็นในประเทศ เพือ่ การพึง่ พาตนเอง ในระยะยาว โดยความร่วมมือกับภาคธุรกิจ

ประเด็นนโยบาย

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

จัดการอบรมหลักสูตร “การเขียนข่าวให้นา่ สนใจ” 2556-2559 และ “ภาษาต่ า งประเทศเพื่ อ การสื่ อ สาร” ให้กับบุคลากรที่เข้าอบรม เจ้าหน้าที่หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกับโรคติดต่ออุบัติใหม่ จัดทำ�ร่างแผนแม่บทด้านการสื่อสารความเสี่ยง โรคติ ด ต่ อ อุ บั ติ ใ หม่ ใ นภาวะวิ ก ฤต โดยเชิ ญ ผู้ เชี่ ย วชาญด้ า นการสื่ อ สารในทุ ก ด้ า นและ ทุกหน่วยงานเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการจัดทำ�ร่างฯ ปรับโครงสร้างและจัดระเบียบคณะกรรมการ ด้านการสื่อสารทุกภาคส่วน ดำ�เนินการพัฒนากลไกการเชื่อมโยงเครือข่าย การสื่อสาร ทุกภาคส่วน ทุกระดับ

- - - - - - - - - - - -

กรมประชาสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช สำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 สำ�นักงานปศุสัตว์เขต 1-9 สำ�นักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1-16 ศูนย์ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 1-18 สำ�นักประชาสัมพันธ์เขต 1-8 สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัด

จัดระบบการจัดหา สำ�รอง และกระจายเวชภัณฑ์ 2556-2559 - กรมควบคุมโรค อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย และวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ - สำ�นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ที่จำ�เป็นในการป้องกันและตอบโต้โรคติดต่อ - สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด อุบัติใหม่ - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดทำ�แผนงานและดำ�เนินการพัฒนาศักยภาพ 2556-2559 - สถาบันวัคซีนแห่งชาติ การวิจัยพัฒนาและผลิตวัคซีนและยาที่จำ�เป็น - สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในประเทศ แห่งชาติ - องค์การเภสัชกรรม

กิจกรรม


74

กิจกรรม - สำ�นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัด - สำ�นักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด - กรมประชาสัมพันธ์ - สำ�นักสารนิเทศ สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข - ศูนย์เทคโนโลยีชุมชน กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร - กรมควบคุมโรค - กรมปศุสัตว์ - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - สำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 - สำ�นักงานปศุสัตว์เขต 1-9 - ศูนย์ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต1-18 - สำ�นักประชาสัมพันธ์เขต 1-8 - สำ�นักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1-16 - สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด - สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัด - สำ�นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัด - สำ�นักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

- แต่ ง ตั้ ง คณะทำ � งานเพื่ อ วางแผนแนวทาง การทำ � งานจากทุ ก ภาคส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การสื่อสาร/สื่อมวลชน มาตรการ 1.2 พัฒนาและสนับสนุนการมีส่วนร่วม - สัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารเครือข่ายการประชาสัมพันธ์ 2557-2559 ของเครือข่ายสื่อสารประชาสัมพันธ์ และเครือข่าย เจ้าหน้าที/่ สือ่ มวลชน/ผูน้ �ำ ชุมชน ภาคประชาชน ในการป้ อ งกั น ควบคุ ม โรคติ ด ต่ อ - ประสานขอความร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐ อุบัติใหม่ ต่างๆ ที่มีเครือข่ายภาคประชาชน เพื่อจัดทำ� ทำ�เนียบรายชือ่ /ทีอ่ ยู/่ หมายเลขติดต่อประสาน/ เว็ บ ไซต์ / อี เ มล์ เ ครื อ ข่ า ย เพื่ อ นำ � ไปจั ด เก็ บ รวบรวมเป็นฐานข้อมูล - จัดทำ� Banner ประชาสัมพันธ์โรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ เชือ่ มต่อกับ Website หน่วยงานต่างๆ - จัดให้มฐี านข้อมูลเครือข่ายสือ่ สารภาคประชาชน เช่น สถานีวิทยุชุมชน เคเบิลทีวี หนังสือพิมพ์ ท้องถิ่น เป็นต้น - สำ�รวจเครือข่าย และจัดให้มีการประชุมของ เครือข่าย - ดำ�เนินการสนับสนุนการมีสว่ นร่วมของเครือข่าย - จัดเพิ่มช่องทางการสื่อสารข้อมูลภายในองค์กร ให้มากขึน้ โดยแจ้งให้บคุ ลากรในองค์กรรับทราบ ร่วมกัน - ส่งเสริมการสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคลากร ภายในองค์กร

ประเด็นนโยบาย


75

กิจกรรม

- สำ�นักสารนิเทศ สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข - กรมปศุสัตว์ - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - กรมประชาสัมพันธ์ - กรมการท่องเที่ยว - กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน - สำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 - สำ�นักงานปศุสัตว์เขต 1-9 - สำ�นักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1-16 - สำ�นักประชาสัมพันธ์เขต 1-8 - สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด - สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัด - ด่านตรวจสัตว์ป่าจังหวัด - ด่านกักกันสัตว์ - ด่านตรวจคนเข้าเมือง - สำ�นักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด - สำ�นักงานท่องเที่ยวกีฬาจังหวัด - สำ�นักงานแรงงานจังหวัด - กรมควบคุมโรค

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

มาตรการ 1.3 จัดระบบการเฝ้าระวังข้อมูลข่าวสาร - แต่งตัง้ กลุม่ งานทีร่ บั ผิดชอบในการติดตามข้อมูล 2556-2559 ทำ�การวิเคราะห์ขา่ ว ใช้ประกอบการกำ�หนดยุทธศาสตร์ ข่าวสาร (Monitor) ข่าว วิเคราะห์ขา่ ว ทีเ่ กีย่ วข้อง การสื่อสารสาธารณะอย่างสมํ่าเสมอในทุกระดับ กั บ โรคติ ด ต่ อ อุ บั ติ ใ หม่ สรุ ป และนำ � เสนอ หากมีประเด็นทีน่ า่ สนใจ นำ�เสนอผูบ้ ริหาร/ชีแ้ จง ให้สัมภาษณ์ - อบรมบุคลากร/พัฒนาศักยภาพในการวิเคราะห์ ข่าว นำ�เสนอประเด็นข่าว การคัดเลือกข่าว - จัดระบบการเฝ้าระวังข้อมูลข่าวสาร - หน่วยงานจังหวัดจัดตั้งศูนย์บริหารการจัดการ ความรู้

ประเด็นนโยบาย


76

กิจกรรม

กลยุ ท ธ์ (2) จั ด ทำ � ยุ ท ธศาสตร์ ด้ า นการสื่ อ สาร ความเสีย่ งและการประชาสัมพันธ์เกีย่ วกับโรคติดต่อ อุบัติใหม่

- -

- -

- - - - - - - - - -

กรมประชาสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช สำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 สำ�นักประชาสัมพันธ์เขต 1-8 สำ�นักงานปศุสัตว์เขต 1-9 สำ�นักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1-16 ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 1-18 สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัด สำ�นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัด สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด สำ�นักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

มาตรการ 1.4 จัดหาและพัฒนาวัสดุและอุปกรณ์ - จั ด ทำ � ข้ อ มู ล วั ส ดุ อุ ป ก ร ณ์ ที่ จำ � เ ป็ น ใ น 2556-2559 ที่ จำ � เป็ น ในการสื่ อ สารประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ เ พี ย งพอ การประชาสัมพันธ์ ทั น สมั ย และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สามารถรองรั บ กั บ กระแสสังคม ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

ประเด็นนโยบาย


77

กิจกรรม - - - - -

กรมควบคุมโรค กรมประชาสัมพันธ์ กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการพิ จ ารณา (ร่ า ง) แผน 2556-2559 ยุทธศาสตร์ฯ จัดประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารวิพากษ์แผนยุทธศาสตร์ฯ เสนอผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ จัดทำ�เป็น แผนยุ ท ธศาสตร์ ฯ เสนอเข้ า คณะรั ฐ มนตรี พิจารณา ประชุมชีแ้ จงแผนยุทธศาสตร์ฯ ให้ทกุ หน่วยงาน รับทราบ - ฝึกซ้อมแผนตามแผนยุทธศาสตร์ฯ (Table Top, Function Exercise, Drill Exercise) - จัดทำ�คูม่ อื การดำ�เนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ฯ - ศึ ก ษาบทบาทหน้ า ที่ ข องหน่ ว ยงานต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง เช่ น ก ร ม ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ สำ�นักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สาร สำ�นักงานคณะกรรมการกิจการ กระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น์ แ ละกิ จ การ โทรคมนาคมแห่งชาติ กรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย

มาตรการ 2.1 จัดทำ�แผนยุทธศาสตร์ด้านการสื่อสาร - ความเสี่ ย งและการประชาสั ม พั น ธ์ ข องโรคติ ด ต่ อ อุบัติใหม่ ในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องและทุกระดับ - โดยบูรณาการกับการสื่อสารความเสี่ยงด้านอุบัติภัย - ซึ่งครอบคลุมทั้งระยะก่อนเกิดอุบัติภัย ระยะอุบัติภัย และระยะหลังอุบัติภัย -

ประเด็นนโยบาย


78

กิจกรรม

กรมควบคุมโรค กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมปศุสัตว์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมประชาสัมพันธ์ สำ�นักประชาสัมพันธ์เขต 1-8 สำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 สำ�นักงานปศุสัตว์เขต 1-9 สำ�นักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1-16 ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 1-18 สำ�นักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัด สำ�นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด

- - - - - - - - - - - - - -

กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมประชาสัมพันธ์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

- - - - -

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

แต่งตัง้ คณะทำ�งานจัดทำ�แผนกระจายข้อมูลข่าวสาร 2557-2559 จั ด ประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร ชี้ แ จงแนวทาง/ การดำ�เนินงานของแผน พิมพ์คู่มือการดำ�เนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ฯ กระจายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดทำ�คลังความรู้ข้อมูลโรคติดต่ออุบัติใหม่ จั ด ทำ � ระบบข้ อ มู ล ภู มิ ศ าสตร์ ส ารสนเทศ (Geographic Information System ; GIS) โรคติดต่ออุบัติใหม่ มาตรการ 2.3 จัดทำ�แนวทางและเกณฑ์มาตรฐาน - จัดตัง้ คณะทำ�งานและประชุมเพือ่ จัดทำ�แนวทาง 2556-2559 การสื่ อ สารความเสี่ ย ง ทั้ ง ในภาวะปกติ แ ละ และเกณฑ์ ม าตรฐานการสื่ อ สารความเสี่ ย ง ภาวะฉุกเฉิน ซึ่งสอดคล้องกันจากระดับชาติถึงระดับ โดยการมีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้อง ท้องถิ่น - จัดทำ�คู่มือกำ�หนดแนวทาง และเกณฑ์ในการ ดำ�เนินงานการสื่อสารความเสี่ยง - จัดทำ�คูม่ อื ในการปฏิบตั ดิ า้ นการสือ่ สารความเสีย่ ง

มาตรการ 2.2 จัดทำ�แผนการกระจายข้อมูลข่าวสาร - ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถสื่อสารข้อมูล - ได้ทั่วถึง รวดเร็ว ทันสถานการณ์ ครอบคลุมกลุ่ม เป้าหมายอย่างทั่วถึง ทั้งประชาชนและหน่วยงานใน - ประเทศ และกลุม่ เป้าหมายทีเ่ กีย่ วข้องในต่างประเทศ รวมถึ ง การใช้ สื่ อ สั ง คมออนไลน์ เครื อ ข่ า ยบุ ค คล - และชุมชน -

ประเด็นนโยบาย


79

กิจกรรม

- - - - - - - - - - - - - - - - - มาตรการ 3.2 เสริมสร้างศักยภาพและทักษะการ - อบรมบุ ค ลากรฝึ ก เตรี ย มซ้ อ มแผนป้ อ งกั น 2557-2559 - สื่อสารความเสี่ยงและการประชาสัมพันธ์ ด้วยภาษา ความเสี่ยงโรคติดต่ออุบัติใหม่ - ต่างประเทศ แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้อง รวมถึงจัดการ - นำ�คณะบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้อง ศึกษาดูงานความเสีย่ ง - ฝึกอบรม ศึกษาดูงาน การสือ่ สารความเสีย่ งในองค์กร ในพืน้ ทีป่ ระสบภัยในและต่างประเทศ

กรมควบคุมโรค กรมประชาสัมพันธ์ กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 สำ�นักประชาสัมพันธ์เขต 1-8 สำ�นักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1-16 สำ�นักงานปศุสัตว์เขต 1-9 สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัด ด่านตรวจสัตว์ป่าจังหวัด ด่านกักกันสัตว์ ด่านตรวจคนเข้าเมือง สำ�นักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด สำ�นักงานแรงงานจังหวัด สำ�นักงานท่องเที่ยวกีฬาจังหวัด กรมควบคุมโรค กระทรวงศึกษาธิการ สำ�นักบริหารแรงงานต่างด้าว กระทรวงแรงงาน

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

กลยุทธ์ (3) พัฒนาบุคลากรด้านการสือ่ สารความเสีย่ ง และประชาสัมพันธ์ มาตรการ 3.1 จัดการฝึกอบรมบุคลากรด้านการสือ่ สาร - ดำ � เนิ น การสำ � รวจสมรรถนะบุ ค ลากรด้ า น 2556-2559 ความเสี่ยง รวมทั้งบุคลากรที่เกี่ยวข้อง การสื่อสาร - จัดอบรมบุคลากร เพื่อเป็นวิทยากรแนะนำ�เรื่อง มาตรการเตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไข ปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ - จัดอบรมหลักสูตรส่งเสริมด้านการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพ เช่น การเขียนข่าวสือ่ สารความเสีย่ ง เป็นต้น เพื่อสร้างทักษะให้กับบุคลากร - จัดฝึกอบรมความรูเ้ รือ่ งโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ให้กบั บุคลากรในหน่วยงานทุกระดับ - จัดอบรมภาษาต่างประเทศให้กับทีมเฝ้าระวัง สอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) - อบรมมั ค คุ เ ทศก์ ใ ห้ มี ค วามรู้ ด้ า นโรคติ ด ต่ อ อุบัติใหม่

ประเด็นนโยบาย


80

กิจกรรม

กลยุทธ์ (4) เร่งรัดการดำ�เนินงานเชิงรุกด้านการ เผยแพร่ และประชาสั ม พั น ธ์ เพื่ อ การป้ อ งกั น ควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ แก่ประชาชน เพื่อการ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

กรมประชาสัมพันธ์ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร สำ�นักประชาสัมพันธ์เขต 1-8 สำ�นักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด อาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว ศูนย์ประสานงานแรงงานต่างด้าว/มูลนิธิ ครูภาษาต่างๆ ในท้องถิ่น การศึกษาตามอัธยาศัย

กรมประชาสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

- - - - - - - -

- - - - -

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

ระหว่ า งประเทศ และในต่ า งประเทศ เพื่ อ เพิ่ ม - ขยายเครือข่ายประชาสัมพันธ์ ให้ความรูแ้ ก่ภาคี ประสบการณ์ และเรียนรูร้ ปู แบบการดำ�เนินงานอันเป็น เครือข่ายและเยาวชน แบบอย่างที่ดีในการสื่อสารความเสี่ยง - การจั ด ฝึ ก อบรมบุ ค ลากรให้ มี ค วามสามารถ ในการสนทนา/สื่ อ สารภาษาต่ า งประเทศ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เช่ น ภาษาเขมร, พม่ า เป็ น ต้ น เพื่ อ การสื่ อ สารและการประชาสั ม พั น ธ์ แ ก่ เจ้ า หน้ า ที่ ด้ า นประชาสั ม พั น ธ์ ข องหน่ ว ยงาน ให้สามารถสื่อสารภาษาต่างประเทศได้ เช่น การเขียนข่าวภาษาอังกฤษ การตอบโต้ขอ้ ซักถาม เป็นต้น - จัดการศึกษาดูงานด้านการเฝ้าระวังโรคติดต่อ อุบัติใหม่จากประเทศที่พัฒนาแล้ว เพื่อศึกษา ถึงการบริหารจัดการในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง - จัดทำ�หลักสูตรภาษาระยะสั้นที่เกี่ยวข้องให้กับ บุคลากรในหน่วยงาน มาตรการ 3.3 จั ด สรรอั ต รากำ � ลั ง และกำ � หนด - เสนอกรอบอัตรากำ�ลัง หน้าที่ความรับผิดชอบ 2556-2559 ช่ อ งทางความก้ า วหน้ า ในสายอาชี พ การสื่ อ สาร ของงาน ไปยังสำ�นักงานคณะกรรมการข้าราชการ ความเสี่ยง ภายในหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่าง พลเรือน เพื่อขออัตรากำ�ลัง เหมาะสมและเพียงพอ - จัดจ้างล่าม/List Name ในพื้นที่เสี่ยง

ประเด็นนโยบาย


81

- -

-

-

มาตรการ 4.1 ส่งเสริมการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ - เชิ ง รุ ก เพื่ อ สร้ า งความรู้ ค วามเข้ า ใจแก่ ป ระชาชน ให้สามารถดูแลช่วยเหลือตนเองและผูอ้ ื่นเมื่อเจ็บป่วย และสามารถเตรียมความพร้อมรับการระบาดของ - โรคติดต่ออุบัติใหม่ -

ประเด็นนโยบาย - - - - - - -

กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมประชาสัมพันธ์ สำ�นักประชาสัมพันธ์เขต 1-8 สำ�นักงานเขตการศึกษา สำ�นักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

เพิม่ ข้อมูลเกีย่ วกับโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ในรายการ 2556-2559 วิ ท ยุ / TV ของกรมประชาสั ม พั น ธ์ เพื่ อ ประชาสัมพันธ์ เป็นการเตรียมความพร้อม จัดส่งข้อมูล สาระความรู้ ให้สถานีวิทยุต่างๆ/ สถานีโทรทัศน์ เพื่อประชาสัมพันธ์ จัดทำ�สือ่ สิง่ พิมพ์เผยแพร่ความรู้ เรือ่ ง โรคติดต่อ อุบัติใหม่ แนวทางการป้องกันแก้ไขเบื้องต้น สาระทีจ่ �ำ เป็น ส่งให้หน่วยงานต่างๆ สถานศึกษา รวมถึงเยาวชน และประชาชน จัดทำ�ข้อมูลเรือ่ งโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ใน Website ของหน่ ว ยงาน และทำ � ให้ เ ป็ น ข้ อ มู ล ปั จ จุ บั น พร้อมเชื่อมกับ Website ของหน่วยงานอื่นๆ เป็นการเผยแพร่ข้อมูลให้แพร่หลายสูงสุด ขอความร่วมมือ ภาคเอกชน, ICT ประชาสัมพันธ์ ข่ า ว โ ร ค ติ ด ต่ อ อุ บั ติ ใ ห ม่ ท า ง A T M , โทรศัพท์มือถือ จัดทำ�สื่อประชาสัมพันธ์ทางโทรทัศน์ จัดทำ�เว็บไซต์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร

กิจกรรม


82

กิจกรรม

- - - - - - -

- - - - - - -

กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมประชาสัมพันธ์ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร กระทรวงศึกษาธิการ สำ�นักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน สำ�นักประชาสัมพันธ์เขต 1-8 สำ�นักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด ศูนย์ประสานงานแรงงานต่างด้าว/มูลนิธิ อาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครูภาษาต่างๆ ในท้องถิ่น การศึกษาตามอัธยาศัย

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

- จัดหน่วยอาสาสมัครประชาสัมพันธ์ข้อมูล - วางแผนและดำ�เนินการวิจัยสำ�รวจรูปแบบของ สื่อที่สามารถเข้าถึงประชากรกลุ่มเป้าหมาย มาตรการ 4.2 เร่งเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และรณรงค์ - เพิม่ ข้อมูลเกีย่ วกับโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ในรายการ 2556-2559 เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ วิ ท ยุ / TV ของกรมประชาสั ม พั น ธ์ เพื่ อ แก่ประชาชนทั่วไป ผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ ประชาสัมพันธ์ เป็นการเตรียมความพร้อม โดยบูรณาการความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน - จัดส่งข้อมูล สาระความรู้ ให้สถานีวิทยุต่างๆ/ สถานีโทรทัศน์เพื่อประชาสัมพันธ์ - จัดทำ�สือ่ สิง่ พิมพ์เผยแพร่ความรู้ เรือ่ ง โรคติดต่อ อุบัติใหม่ แนวทางการป้องกันแก้ไขเบื้องต้น สาระทีจ่ �ำ เป็น ส่งให้หน่วยงานต่างๆ สถานศึกษา รวมถึงเยาวชนและประชาชน - จัดทำ�ข้อมูลเรื่องโรคอุบัติใหม่ใน Website ของ หน่วยงาน และทำ�ให้เป็นข้อมูลปัจจุบัน พร้อม เชื่อมกับ Website ของหน่วยงานอื่นๆ เป็นการ เผยแพร่ข้อมูลให้แพร่หลายสูงสุด - ขอความร่วมมือ ภาคเอกชน, ICT ประชาสัมพันธ์ ข่าวโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ทาง ATM, โทรศัพท์มอื ถือ - จัดทำ�รายการข้อมูลผู้เชี่ยวชาญด้านโรคติดต่อ อุบัติใหม่ - จั ด ให้ มี ก ารรณรงค์ ก ารประชาสั ม พั น ธ์ ข อง หน่วยงาน

ประเด็นนโยบาย


83

กิจกรรม

- - - -

กรมควบคุมโรค กรมประชาสัมพันธ์ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

- จัดทำ�สื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ผ่านสื่อต่างๆ และแก้ไขข้อมูลให้เป็นปัจจุบันและสมํ่าเสมอ เช่น Social Media - จัดอบรมประชาชนให้มีความรู้ในการปฏิบัติตน เพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ - ดำ�เนินการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์สื่อ - จัดทำ�ฐานข้อมูลความรู้เรื่องโรคติดต่ออุบัติใหม่ - จัดให้มีทีมประชาสัมพันธ์ในกรณีเกิดโรคติดต่อ อุบัติใหม่ - จัดให้มีหลักสูตรโรคติดต่ออุบัติใหม่ในหลักสูตร การเรียนการสอน - จั ด ทำ � สปอร์ ต ประชาสั ม พั น ธ์ เ น้ น การพู ด / เสียงตามสาย/วิทยุชุมชน - จัดทำ�สื่อต้นแบบภาษาต่างๆ เช่น ภาษาเขมร, พม่า, จีน, เวียดนาม เป็นต้น มาตรการ 4.3 ส่งเสริมการใช้ช่องทางการสื่อสาร - เพิม่ ข้อมูลเกีย่ วกับโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ในรายการ 2556-2559 เพื่ อ การเผยแพร่ และประชาสั ม พั น ธ์ที่ห ลากหลาย วิ ท ยุ / TV ของกรมประชาสั ม พั น ธ์ เพื่ อ เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายต่างๆ รวมถึงการใช้สื่อ ประชาสัมพันธ์ เป็นการเตรียมความพร้อม อินเทอร์เนต โทรศัพท์มือถือ ข้อความสั้น - จัดส่งข้อมูล สาระความรู้ ให้สถานีวิทยุต่างๆ/ สถานีโทรทัศน์เพื่อประชาสัมพันธ์

ประเด็นนโยบาย


84 - จัดทำ�สือ่ สิง่ พิมพ์เผยแพร่ความรู้ เรือ่ ง โรคติดต่อ อุบัติใหม่ แนวทางการป้องกันแก้ไขเบื้องต้น สาระทีจ่ �ำ เป็น ส่งให้หน่วยงานต่างๆ สถานศึกษา - จัดทำ�ข้อมูลเรือ่ งโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ใน Website ของหน่วยงาน และทำ�ให้เป็นข้อมูลปัจจุบัน พร้อมเชื่อมกับ Website ของหน่วยงานอื่นๆ เป็นการเผยแพร่ข้อมูลให้แพร่หลายสูงสุด - ขอความร่วมมือ ภาคเอกชน, ICT ประชาสัมพันธ์ ข่ า ว โ ร ค ติ ด ต่ อ อุ บั ติ ใ ห ม่ ท า ง A T M , โทรศัพท์มือถือ - จัดทำ�รายการข้อมูลเครือข่ายด้านการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ - ประชาสัมพันธ์โรคติดต่ออุบัติใหม่ผ่านช่องทาง ต่างๆ เช่น วิทยุ, โทรทัศน์, SMS เป็นต้น

กิจกรรม - สำ�นักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน - สำ�นักประชาสัมพันธ์เขต 1-8 - สำ�นักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

กลยุทธ์ (5) พัฒนาประสิทธิภาพด้านการสื่อสาร ความเสี่ยงและประชาสัมพันธ์ มาตรการ 5.1 พัฒนากลไกการประสานงาน เพือ่ การผลิต - เชิญสื่อมวลชนแขนงต่างๆ ร่วมรับฟังการชี้แจง 2556-2559 - กรมควบคุมโรค และเผยแพร่ขอ้ มูลข่าว ระหว่างหน่วยงานในภาคส่วน เกีย่ วกับแนวทางการทำ�งาน เรือ่ ง โรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ - กรมประชาสัมพันธ์ ต่างๆ รวมทั้งภาคประชาชน - จัดทำ�ทำ�เนียบสื่อมวลชนและแจ้งข่าวสารผ่าน - สำ�นักประชาสัมพันธ์เขต 1-8 SMS - สำ�นักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด

ประเด็นนโยบาย


85

- - -

- - - - - - - - - - -

กรมควบคุมโรค กรมประชาสัมพันธ์ กรมปศุสัตว์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร สำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 สำ�นักประชาสัมพันธ์เขต 1-8 สำ�นักงานปศุสัตว์เขต 1-9 สำ�นักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1-16 ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 1-18 สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด สำ�นักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด สำ�นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัด กรมควบคุมโรค กรมประชาสัมพันธ์

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

ทำ�คูม่ อื การปฏิบตั งิ าน/คูม่ อื ภาพประกอบพร้อม 2556-2559 ประโยคสนทนาที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การสอบสวน โรค เมือ่ เกิดภัยโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ พร้อมซักซ้อม แผนปฏิบัติการดังกล่าว ฝึกอบรมวิทยากรการปฏิบัติงานตามแผน จั ด การฝึ ก ซ้ อ มแผนร่ ว มระหว่ า งสื่ อ มวลชน เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ของแต่ละหน่วยงาน จัดทำ�ข่าวแจก/บทความส่งให้สื่อมวลชน นำ�คณะสื่อมวลชน/เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ศึกษา ดูงานเรือ่ ง แผนปฏิบตั เิ กีย่ วกับโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ จัดประชุมแนวทางการเผยแพร่ สื่อสาร และ ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคติดต่ออุบัติใหม่ แต่งตั้งโฆษกหรือบุคลากรที่น่าเชื่อถือ

กิจกรรม

มาตรการ 5.3 ส่ ง เสริ ม การวิ จั ย และพั ฒ นาด้ า น - จัดทำ�โครงการและตั้งงบประมาณในการวิจัย 2556-2559 - การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ เพื่อพัฒนานโยบาย และพัฒนางานด้านสือ่ มวลชนเกีย่ วกับโรคติดต่อ - ยุทธศาสตร์ รูปแบบ และแนวทางดำ�เนินงาน ให้มี อุบัติใหม่ ประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสถานการณ์ - ส่งข้อมูล/ความเคลือ่ นไหว ให้ฝา่ ยประชาสัมพันธ์ เพื่อเผยแพร่

-

-

- -

มาตรการ 5.2 จัดทำ�แนวทางการเผยแพร่ สื่อสาร - และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคติดต่ออุบัติใหม่ เพื่อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องถือปฏิบัติ ให้สอดคล้องไปใน ทิศทางเดียวกัน รวมถึงการแถลงข่าวและให้ข้อมูลแก่ สื่อในภาวะวิกฤติอย่างเหมาะสม - -

ประเด็นนโยบาย


86

กิจกรรม

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

- ควรมี ก ารศึ ก ษาเพื่ อ จั ด ทำ � นโยบายร่ ว มกั น ระหว่างหน่วยงานด้านการประชาสัมพันธ์ รวมถึง หน่วยงานที่เป็นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ เพื่อให้เกิดแนวทางปฏิบัติที่เป็นทิศทางเดียวกัน มาตรการ 5.4 จัดระเบียบเว็บไซต์ของหน่วยงานต่างๆ - จัดทำ�เว็บไซต์ควรคำ�นึงถึงความง่ายในการเข้าถึง 2556-2559 - สำ�นักสารนิเทศ ที่เกี่ยวข้องให้มีรูปแบบที่น่าสนใจ ง่ายต่อการเข้าถึง ข้อมูล และกลุ่มผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส เช่น สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ลดความซั บ ซ้ อ น และมี ค วามเชื่ อ มโยงกั น อย่ า ง คนตาบอด ควรมีไฟล์เสียงเพื่อให้คนตาบอดได้ - กรมควบคุมโรค กว้างขวาง ฟังข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ได้ เป็นต้น - กรมประชาสัมพันธ์ - กรมปศุสัตว์ - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - สำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 - สำ�นักประชาสัมพันธ์เขต 1-8 - สำ�นักงานปศุสัตว์เขต 1-9 - ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 1-18 - สำ�นักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1-16 - สำ�นักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด - สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด - สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัด - สำ�นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัด

ประเด็นนโยบาย


87

มาตรการ 5.5 ส่งเสริมการจัดตั้งกลุ่มและเครือข่าย - สื่อมวลชน “มืออาชีพ” ด้านสาธารณสุข รวมถึง ผู้ ผ ลิ ต สื่ อ และบุ ค คลผู้ เ ป็ น ภาพลั ก ษณ์ ตั ว แทน (Presenters) เพื่ อ ให้ ค วามร่ ว มมื อ ในการสื่ อ สาร - ประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับโรคติดต่ออุบัติใหม่ ทั้งภาวะ ปกติและภาวะฉุกเฉิน โดยสนับสนุนให้มกี ารฝึกอบรม - สัมมนา แลกเปลี่ยน เพื่อพัฒนาแนวทางปฏิบัติ และ - ได้รับข้อมูลที่ทันสมัยอยู่เสมอ

ประเด็นนโยบาย

หน่วยงานรับผิดชอบ ระยะเวลา (ระดับกรม / จังหวัด / องค์กรเฉพาะ)

ผลิ ต สื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ สร้ า งต้ น แบบของ 2556-2559 - กรมควบคุมโรค หน่ ว ยงานเพื่ อ เป็ น ภาพลั ก ษณ์ ก ารติ ด ต่ อ - กรมปศุสัตว์ ประชาสัมพันธ์ หากมีปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จัดทำ�ทำ�เนียบหมายเลขโทรศัพท์หน่วยงานด้าน - กรมประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์และการสื่อสาร - กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จัดประชุมวิชาการในเรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่ - สำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 จัดตั้งเครือข่ายประชาสัมพันธ์ในกลุ่มเยาวชน - สำ�นักงานปศุสัตว์เขต 1-9 “นักประชาสัมพันธ์รุ่นจิ๋ว” - สำ�นักบริหารพืน้ ที่อนุรักษ์ที่ 1-16 - สำ�นักประชาสัมพันธ์เขต 1-8 - สำ�นักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด - สำ�นักงานแรงงานจังหวัด - สำ�นักงานท่องเที่ยวกีฬาจังหวัด - ด่านตรวจสัตว์ป่าจังหวัด - สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัด - สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด - ด่านกักกันสัตว์ - ด่านตรวจคนเข้าเมือง

กิจกรรม



ภาคผนวก


รายนามหน่วยงานผูจ้ ดั ทำ�แผนปฏิบตั กิ ารแม่บท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 – 2559)  ภาครัฐ

และองค์กรของรัฐ

 กระทรวงสาธารณสุข

หน่วยงานส่วนกลาง

สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 1. สำ�นักนโยบายและยุทธศาสตร์ 2. สำ�นักตรวจและประเมินผล 3. สำ�นักสาธารณสุขฉุกเฉิน กรมการแพทย์ สำ�นักยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค 1. สำ�นักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ 2. สำ�นักระบาดวิทยา 3. สำ�นักโรคติดต่อทั่วไป 4. สำ�นักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 1. กองแผนงานและวิชาการ 2. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมอนามัย สำ�นักอนามัยสิ่งแวดล้อม  กระทรวงกลาโหม กรมแพทย์ทหารบก  กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมปศุสัตว์ 1. กองแผนงาน 2. สำ�นักควบคุม ป้องกัน และบำ�บัดโรคสัตว์  กระทรวงคมนาคม สำ�นักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร  กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช 1. สำ�นักแผนงานและสารสนเทศ 2. สำ�นักอนุรักษ์สัตว์ป่า  กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำ�นักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำ�นักนโยบายและยุทธศาสตร์ 90


 กระทรวงพลังงาน

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กรมธุรกิจพลังงาน  กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ  กระทรวงแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สำ�นักความปลอดภัยแรงงาน  กระทรวงมหาดไทย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 1. สำ�นักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2. ศูนย์อำ�นวยการบรรเทาสาธารณภัย กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ  กระทรวงศึกษาธิการ สำ�นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สำ�นักส่งเสริมกิจการการศึกษา สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  มหาวิทยาลัย คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น  สมาคมธนาคารไทย  สำ�นักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร  สำ�นักนายกรัฐมนตรี กรมประชาสัมพันธ์  สำ�นักอนามัย กรุงเทพมหานคร กองควบคุมโรคติดต่อ  สำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ  สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ  สำ�นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  สัตวแพทยสภาสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์  องค์การเภสัชกรรม  องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูปถัมภ์ 91


 ภาครัฐวิสาหกิจ

การประปานครหลวง การไฟฟ้านครหลวง

หน่วยงานส่วนภูมิภาค

สำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 - 12 สำ�นักงานปศุสัตว์เขต 1 - 9 สำ�นักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1 - 16 ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 1 - 18 สำ�นักงานเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าผาผึ้ง สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์ สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์ สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิ สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดมุกดาหาร สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดอยุธยา สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดลพบุรี สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดระยอง สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรี สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัดสุโขทัย สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัดนครสวรรค์ สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัดชัยภูมิ สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัดอุดรธานี สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัดมุกดาหาร สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัดกาญจนบุรี สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัดสุราษฎร์ธานี สำ�นักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดขอนแก่น สำ�นักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดมุกดาหาร สำ�นักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดลพบุรี สำ�นักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดระยอง สำ�นักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดกาญจนบุรี สำ�นักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดสงขลา 92


สำ�นักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดภูเก็ต สำ�นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงราย สำ�นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชัยภูมิ สำ�นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดขอนแก่น สำ�นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลพบุรี สำ�นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดระยอง สำ�นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดกาญจนบุรี สำ�นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดสงขลา สำ�นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดสุราษฎร์ธานี สำ�นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดภูเก็ต สำ�นักประชาสัมพันธ์จังหวัดลพบุรี สำ�นักประชาสัมพันธ์จังหวัดสงขลา สำ�นักประชาสัมพันธ์จังหวัดภูเก็ต

93




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.