Conservation in Japan(-ese style)

Page 1

CONSERVATION IN JAPAN(-ESE STYLE) : “THE MOST WESTERN IN THE EAST” การอนุรักษ์แบบญี่ปุ่น : “ตะวันตกที่สุดในตะวันออก”


CONSERVATION IN JAPAN(-ESE STYLE) : “THE MOST WESTERN IN THE EAST” ----------------------------------------------------------------------------------------------การอนุรักษ์แบบญี่ปุ่น : “ตะวันตกที่สุดในตะวันออก” 1. Japanese Urban Heritage 2. Japanese Authenticity & Conservation Philosophy 3. Mechanism 3.1 Denken—Townscape Preservation under National Government 3.2 Non-Denken—Townscape Preservation by ‘Machizukuri’ Method


1. Japanese Urban Heritage ลักษณะสาคัญของย่าน / เมืองเก่าในญี่ปุ่น + ไม่มีศูนย์กลางเมืองเก่า (historic core) ที่ชัดเจน แต่เป็นย่านเก่า กระจายตัวอยู่ + เนื้อเมือง (urban fabric) มีลักษณะผสมผสานในเรื่องยุคสมัย และรูปแบบทางสถาปัตยกรรม + การเกิดขึ้นของอาคารสมัยใหม่เกิดเป็นเหมือน “กาแพง” และมีเนื้อเมืองที่เป็นกลุ่มก้อนอาคารขนาดเล็ก วางตัวแน่นในบล็อก + ย่านเก่า อาจไม่ได้เป็นตัวแทนอาคารที่มีคุณค่า แต่ เป็นตัวแทน ร่องรอยการตั้งถิ่นฐาน และการดาเนินชีวิตแบบดั้งเดิม

กฎบัตรเมืองประวัติศาสตร์ หรือกฎบัตรการอนุรักษ์อาคารประวัติศาสตร์และการตั้งถิ่นฐานแบบดั้งเดิมของญี่ปุ่น ปี ค.ศ. 1997 The Machinami Charter (Charter for the Conservation of Historical Towns and Settlements of Japan) of 1997 ได้ระบุไว้ว่า

“วัตถุประสงค์ของการอนุรักษ์เมืองประวัติศาสตร์ ไม่ใช่เพียงการรักษากลุ่มอาคารบ้านเรือนหรือสภาพแวดล้อม ในลักษณะที่เป็นการรักษาตัววัตถุเท่านั้น แต่การอนุรักษ์เมืองเป็นความพยายามที่จะรักษาความสัมพันธ์ ระหว่างการใช้ชีวิตประจาวันของคนทั่วไป กับบ้านเรือนและสภาพแวดล้อมโดยรอบ”


2. Authenticity + Conservation Philosophy หลักการในเรื่องความเป็นของแท้ + การอนุรักษ์ในประเทศตะวันตกมีการให้ความสาคัญกับการรักษาความแท้ในเรื่องวัสดุและรูปทรงสถาปัตยกรรมเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมหิน

+ หลักการดังกล่าวนี้มีความแตกต่างกับแนวคิดการอนุรักษ์แบบตะวันออก ที่การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมหรือสิ่งก่อสร้าง จะมีการยอมรับความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นอันเนื่องมาจากการเสื่อมสภาพของวัสดุประเภทไม้ และจากคติความเชื่อ ทางศาสนาที่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

+ คุณค่าของโบราณสถานที่มีองค์ประกอบเป็นเครื่องไม้ไม่ได้อยู่ที่ความเก่าแก่หรือความเป็นของแท้ (authenticity) หรือความเป็นของดั้งเดิม (originality) แต่ควรคานึงถึงคุณค่าในเรื่องฝีมือช่างและคติความเชื่อที่มีต่อตัวโบราณสถาน ที่มีการสืบทอดต่อเนื่องมา และถึงแม้ว่าจะทาการอนุรักษ์โบราณสถานที่ไม่ได้ทาจากวัสดุประเภทไม้ก็ยังมีการซ่อมแซม แล้วแทนที่ด้วยองค์ประกอบใหม่ หรือสร้างขึ้นใหม่ เพื่อให้อาคารหรือศิลปวัตถุกลับไปสู่สภาพที่สมบูรณ์มากที่สุด

+ แนวคิดการอนุรักษ์ของญี่ปุ่น ต่างกับแนวคิดของประเทศในโลกตะวั นตกตรงที่แนวคิดแบบตะวันตกให้ความสาคัญกับ ความงามของวัสดุ ที่เน้นความคงทนและการดารงอยู่ตลอดไป แต่แนวคิดญี่ปุ่นเน้นการส่งต่อความรู้ ความงามและ การจัดวางองค์ประกอบต่างๆ ตามระบบระเบียบแบบแผนญี่ปุ่น (Kurokawa, 1997)


ประเทศญี่ปุ่น

การมองคุณค่าความแท้ของวัสดุที่ต่างไปจากประเทศตะวันตก + การอนุรักษ์ศาลเจ้าอิเซ (Ise Shrine) ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมไม้ที่มีอายุยาวนานกว่า 1,300 ปี การอนุรักษ์จะทาโดยการสร้างใหม่ ในทุกช่วงเวลา 20 ปี โดยมีการส่งต่อความรู้การช่างจากรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง + ญี่ปุ่นให้ความสาคัญของการช่างที่สืบทอดองค์ความรู้ต่อเนื่องกันซึ่งเป็นมรดกทางนามธรรมมากกว่าตัวความแท้ของวัสดุ ซึ่งก็คือไม้ซึ่งเป็นวัสดุที่ไม่คงทน (Inaba, 2005)

มรดกวัฒนธรรมที่เป็นนามธรรม -------------------------------------------------------------------------------

ประเทศในโลกตะวันออก ให้ความสาคัญกับความเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนา ตลอดจนประเพณี ที่ทาให้เคารพต่อ มรดกวัฒนธรรมที่เป็นนามธรรมจับต้องไม่ได้ (traditions and old techniques—intangible cultural properties) ต่างจาก หลักการอนุรักษ์แบบตะวันตกที่มักจะให้ความสนใจไปที่ มรดกวัฒนธรรมที่เป็น ‘วัตถุ’ หรือมรดกวัฒนธรรมที่เป็นรูปธรรมจับต้องได้ (material objects—tangible cultural properties)


คิโช คุโรคาวา (Kisho Kurokawa)

เมืองในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งในปัจจุบันเป็นเมืองที่ดูเหมือนเมืองตามแบบสากลทั่วไป จากการที่รูปทรงและสภาพเปลือกนอก ของอาคารในเมืองมีการเปลี่ยนแปลงไป แต่คุโรคาวาเห็นว่าเมืองเหล่านั้นยังคงลักษณะ ‘ความเป็นญี่ปุ่น’ อยู่มาก หากเรามองเมืองจาก ‘ประเพณีที่มองไม่เห็น’ นั่นก็คือการรับรู้ความงามตามแบบญี่ปุ่นที่ซ่อนอยู่ภายใต้ตัววัตถุ และการจัดวางเมืองและองค์ประกอบของสิ่งต่างๆ แบบญี่ปุ่น

การอยู่ร่วมกัน เกื้อกูลกันระหว่าง “ของเก่า” กับ “ของใหม่” ในเมือง --------------------------------------------------------------------------------------


Juxtaposition ‘saikaihatsu’ and ‘machinami hozon’ การทางานร่วมกัน ระหว่าง “การฟื้นฟูเมือง” กับ “การอนุรักษ์” --------------------------------------------------------------------------------------

Kurokawa and Ishida in Hohn 1997


3. Mechanism 3.1 Denken—Townscape Preservation under National Government

“Preservation District for Groups of Historic Buildings” Dento teki kenzo butsu gun hozon chiku [Denkenchiku] : ย่านประวัติศาสตร์ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หัวใจของระบบ + เป็นการอนุรักษ์ที่ไม่รักษาเฉพาะตัวอาคาร แต่รักษาสภาพแวดล้อมทั้งหมดในพื้นที่ เน้นการรักษาภูมิสถาปัตยกรรม การต่อเนื่องของการมองเห็น + เป็นกระบวนการจากล่างขึ้นบน

แรงผลักดัน + การทางานของ รัฐบาลท้องถิ่น และกลุ่มประชาชนในท้องถิ่น


+ การออกกฎหมายผังเมืองใหม่ (The City Planning Law) เพื่อกระจายอานาจ ให้รัฐบาลท้องถิ่นระดับเมือง (Municipalities) ออกกฎหมายท้องถิ่น (local ordinance) หากได้รับความเห็นชอบจากจังหวัด ในปี ค.ศ. 1968

กระบวนการ --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


ซุมาโกะ (Tsumago)


คะนะซะวะ (Kanazawa)


กิอน เกียวโต (Gion, Kyoto)


川越市川越 คะวะโกเอะ ไซตะมะ (Kawagoe, Saitama)

Little EDO 1868

Meiji เมืองย้าย Center จากการขยายเมืองตามเส้นทางรถไฟ

1893

ไฟไหม้ใหญ่

1960

เมืองกลายเป็นเมืองบริวารของโตเกียวทางเลือก!!

1981

โกดังที่ทาจากดินถูกประกาศเป็นอาคารอนุรักษ์จาก municipality

1982

เกิดกลุ่มคนรักโกดัง (Kura no kai) คนในชุมชน 2/3 คนนอก 1/3 จัดทาข้อกาหนดร่วมกัน + เป็นการกาหนดภาพรวมว่าให้ภูมิทัศน์มีความเป็นหนึ่งเดียวกัน ให้ชาวเมืองมีสิทธิ์ในการสร้างอาคารตามความชอบได้ + เชิญชวนให้ปฏิบัติตาม ไม่ลงโทษ...เกรงใจกัน!! + ตัวอย่างการควบคุม: ควบคุมความสูง สี วัสดุ ป้ายหน้าร้าน รักษา space ของ court ภายในบ้าน สร้าง pocket park และ Street furniture

1999

ได้เป็น Juu Denken


ระบบการให้เงินอุดหนุนจากรัฐบาลกลาง ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แบ่งการให้เงินออกเป็น 4 ระดับ

การลดหย่อนภาษี + National Tax ที่ดินใน Denkenไม่มี Land Value Tax + Municipality Tax 1) ไม่มี Fixed assets tax สาหรับอาคารขึ้นทะเบียนใน Juu Denken 2) ที่ดิน ของอาคารขึ้นทะเบียนใน Juu Denken ได้รับการลดหย่อน 1/2 ที่ดินอื่นในพื้นที่อนุรักษ์ก็ได้รับการลดหย่อน ตามที่รัฐบาลของเมืองนั้นเห็นควร




ร้านเซรามิค





京都市産寧坂 ย่านซันเนซะคะ เกียวโต (Sannei-zaka, Kyoto)

เป็นพื้นที่ที่มีภูมิทัศน์สวยงามจากการตั้งอยู่บนเนินเขาและอยู่ในบริเวณวัด ได้แก่ วัดคิโยะมิซึ (Kiyomizu Temple) ศาลเจ้ายะซะกะ (Yasaka Shrine) และวัดโฮะคันจิ (Hokanji Temple) และย่านการค้ากิยน ย่านนี้จึงได้รับการคุ้มครอง ภายใต้ “พื้นที่กลุ่มอาคารที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์” (Preservation District for Groups of Historic Buildings) ย่านซันเนซะคะได้รับการรักษาให้คงไว้ซึ่งสถาปัตยกรรม ภูมิทัศน์ และสภาพแวดล้อมที่เป็นภูเขาและป่าไม้ แต่ยังคงมีการใช้งานในการเป็นวัดและศาลเจ้าที่มีผู้คนมาสักการะ ตลอดจนเป็นสถานที่ท่องเที่ยวและจาหน่ายสินค้าพื้นเมือง โดยเฉพาะเครื่องปั้นดินเผาและผ้ากิโมโน


สิ่งน่าสนใจ + ระบบ Denken รัฐบาลท้องถิ่นมีหน้าที่รับผิดชอบ ต่างจากการขึ้นทะเบียนโบราณสถานที่อยู่ใต้หน้าที่รัฐบาลกลาง + การให้ความช่วยเหลือ มีในรูปของเงินทุนซ่อมแซมบ้าน และการลดหย่อนภาษี + ในพื้นที่ย่านประวัติศาสตร์ รวมสภาพแวดล้อม นอกเหนือจากอาคาร ประกอบด้วย - อาคาร - สิ่งก่อสร้าง เช่น ประตู รั้ว กาแพง - สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่เกี่ยวเนื่องกับอาคาร + การกาหนดขอบเขตพื้นที่ คานึงถึงปัจจัยทางกายภาพ และปัจจัยทางสังคมด้วย + พื้นที่ที่อยู่นอกบริเวณ Denken ส่วนใหญ่จะได้รับการคุ้มครองโดยข้อกาหนดของชุมชน


สิ่งที่คิดว่าเป็นปัญหา + พื้นที่ที่เข้าสู่ระบบ Denken มีเพิ่มขึ้นน้อยมาก หลังช่วงเศรษฐกิจตกต่า + กระบวนการขออยู่ในระบบ มีความยุ่งยาก + เกณฑ์ที่ตั้งขึ้น กาหนดเฉพาะพื้นที่ที่มีอาคารและองค์ประกอบที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ทาให้หลายพื้นที่ที่ไม่มีอาคารที่มีคุณค่ามากพอ ไม่สามารถเข้าสู่ระบบได้ + จานวนเงินอุดทุนจากรัฐบาลกลาง ไม่เพียงพอต่อการซ่อม + การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบอาคารให้กลมกลืนกัน ทาให้อาคารไม่ได้แสดงออกถึงความต่อเนื่องของการอยู่อาศัย ขาดเสน่ห์ + ในปัจจุบัน พื้นที่ส่วนมากภายใต้ระบบ Denken เปลี่ยนเป็นสถานที่ท่องเที่ยว + มีหลายพื้นที่ไม่เข้าร่วมในระบบนี้ เพราะไม่ต้องการถูกควบคุมการพัฒนา จากัดสิทธิ์ + ในหลายพื้นที่ พื้นที่ในขอบเขต Denken สามารถฟื้นฟูเศรษฐกิจได้ แต่ไม่สามารถกระจายการอนุรักษ์ และความเฟื่องฟูไปสู่พื้นที่ข้างเคียง




3.1 Non-Denken—Townscape Preservation by ‘Machizukuri’ Method

การอนุรักษ์ ย่านประวัติศาสตร์ โดยใช้เครื่องมือในการควบคุม และส่งเสริมกระบวนการ Machizukuri ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หัวใจของระบบ + เป็นการอนุรักษ์พื้นที่ย่าน/เมืองเก่า ที่ไม่ได้มีอาคารที่มีคุณค่า / คนในพื้นที่ไม่อยากถูกควบคุม + วิธีการสาคัญคือ


เกียวโต (Kyoto)


รักษาสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ และภูมิทัศน์ ออกกฎควบคุมอาคารใหม่ ศูนย์กลางเมืองเกียวโต ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------+ ควบคุมความสูง และรูปทรงอาคาร + รักษาภูมิทัศน์ของเมือง ด้วยการใช้ผังเมือง + ฟื้นฟูศูนย์กลางเมือง

The Ancient Capital Law in 1966 The Kyoto City Master Plan was developed in 1985


--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

กฎใหม่ ควบคุมอาคารในศูนย์กลางเมือง

----------------------------------------------------------------------------------------------------------แก้กฎหมายควบคุมไฟ ที่ Gionshimbashi District + อนุญาตให้อาคารใช้ดั้งเดิม เช่น ไม้ ซึ่งเป็นวัสดุไม่กันไฟได้ + แทนที่องค์ประกอบที่ชารุด เสียหายด้วยองค์ประกอบใหม่ได้ + แต่ชุมชนต้องมีการร่วมมือกัน ในการป้องกันไฟ ผ่านกฎหมายจัดทาผังเฉพาะย่าน District plan (chiku keikaku) + เทศบาลเมืองเกียวโตสนับสนุนการจัดทาผังเฉพาะ ภายใต้หน้าที่ของ Town Making Section + จัดทา guidelines + อนุมัติผังและนาไปปฏิบัติ



‘The Machizukuri Center’ -------------------------------------------------------------------------------------เป็นตัวกลางระหว่างคนกับภาครัฐ ส่งเสริมกิจกรรมชุมชน โดยเฉพาะกิจกรรมทางวัฒนธรรม


แนวคิดใหม่ในการจัดทาอาคารห้องชุด อพาร์ตเมนต์ : The Symbiotic Community + เริ่มต้นจากการทาวิจัยเรื่อง อาคารห้องชุด อพาร์ตเมนต์ ที่เหมาะสม สอดคล้องกับเมืองเกียวโต + ให้ประชาชนมามีส่วนร่วมในกระบวนการออกแบบ ตั้งแต่เริ่มต้น เพื่อลดความขัดแย้ง + การวางผังอาคาร เพื่อรักษาระเบียบแบบแผนของภูมิทัศน์เมืองเก่า order of townscape ระบบการเชื่อมต่อที่ว่าง order of spaces และการสร้างเสริมกิจกรรม promoting activities + เป็นการทางานระหว่างนักวิชาการ เจ้าหน้าที่รัฐ และนักธุรกิจ

การคืนชีวิตให้บ้านเก่า : The Revival of the Traditional Townhouse (Machiya) >> หาวิธีให้คนอยู่อาศัยในบ้านก่า < kyo-machiya > ได้อย่างสบาย >> เพิ่มคุณค่าให้กับบ้าน + ทาเอกสารคู่มือในเรื่องการซ่อม (renovation) และดูแลรักษาบ้านให้อยู่ในสภาพที่ดี (maintenance ) + ทาโปรแกรมให้คาปรึกษา ในเรื่องการซ่อม และดูแลรักษาบ้าน




การฟื้นฟูกิจกรรม เพิ่มค่า สร้างกระแส


ย่านนิชิจิน เกียวโต (Nishijin, Kyoto)

ย่านผลิตผ้ากิโมโนเลื่องชื่อในเมืองเกียวโต ที่ในปัจจุบันการผลิตได้ลดน้อยลงทาให้ย่านซบเซา องค์กรอิสระและกลุ่มศิลปิน จึงเข้ามาฟื้นฟูกิจกรรมและเศรษฐกิจของพื้นที่ ด้วยการสร้างเครือข่ายศิลปิน ให้ศิลปินเข้ามาปรับปรุงอาคารแถวไม้เก่าเพื่อใช้ เป็นแกลเลอรีแสดงงานศิลปะและร้านค้า โดยอาศัยการผลิตศิลปหัตถกรรมดั้ งเดิมเป็นฐานในการสร้างงานศิลปะรูปแบบใหม่




ย่านยะนะคะ โตเกียว (Yanaka, Tokyo)

1980s

grass-roots movement

1984

local magazine Ya Ne Sen

1989

local volunteer group Yanaka Gakko (local people + professional + NPOs)

1998

duty in controlling physical features - opposing a large-scale apartment  Yanaka Gakko developed enthusiastic activities based on three themes: + การพยายามค้นหาทรัพยากรที่มีคุณค่าในย่าน (Rediscovering local resources) + ฟื้นชีวิตของพื้นที่ด้วยการเสนอแนวทางการอนุรักษ์และการนาอาคารเก่าในพื้นที่กลับมาใช้งานใหม่ (Propositions to the community -- conservation and utilization of the historic buildings were proposed) + สร้างเครือข่ายชุมชน โดยการสร้างกิจกรรมระหว่างกลุ่มคนในพื้นที่ (Links with the community -- the linkage activities between the group and local people was create)




Yanaka-Ginza

Yanaka Ginza is a shopping street with its retained traditional shop-houses, located in Yanaka. It serves the local residents as a market place, and also serves the visitors who want to catch a glimpse of old Tokyo.



Genkouten and ART LINK จัดงานมาแล้ว15 ปี ผู้คนกว่า 300 คนมาร่วมจัดงาน มีแกลเลอรี 13 แห่ง สตูดิโอ 18 แห่ง และ Café 20 แห่ง


การอนุรักษ์แบบญี่ปุ่น : “ตะวันตกที่สุดในตะวันออก” West + ปรับ urban planning >> machizukuri + มี software : Bottom-up approach planning + Network building + สร้างกฎกติการ่วมกัน ให้กฎมารับใช้เรา เหมาะกับชุมชนของเรา แทนการออกนโยบาย หรือกฎหมาย + กระจายอานาจ การตัดสินใจ โดยให้ความสาคัญกับ Identity & Individuality บนฐานของการเคารพกัน

East + เคารพต่อเอกลักษณ์ มรดกวัฒนธรรมเมือง ทั้งมรดกทางกายภาพและมรดกทางนามธรรม + ตั้งอยู่บนฐานความเชื่อ แนวทางการอนุรักษ์ที่ตัวเองเชื่อถือ

ข้อมูลจากกิจกรรมเสวนา อนุรักษ์สถาปัตยกรรมแบบญี่ปุ่น “ตะวันตกที่สุดในตะวันออก" ณ People Space นาเสวนา โดย อ.ดร.วิมลรัตน์ อิสระธรรมนูญ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.