Pt 11

Page 1

รายงานประจำป 2554 ANNUAL REPORT

2011 http://www.premier-technology.co.th


รายงานประจําปี 2554 Annual Report 2011


สารบัญ หน้ า 1. ข้ อมูลทัว่ ไป...............................................................................................

1

2. สรุปข้ อมูลทางการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย.........................................

4

3. ลักษณะการประกอบธุรกิจ .........................................................................

5

4. ปั จจัยความเสี่ยง…………………………..…………………………………… 11 5. โครงสร้ างการถือหุ้นและการจัดการ............................................................. 13 6. รายการระหว่างกัน .................................................................................... 48 7. คําอธิบายและการวิเคราะห์ผลการดําเนินงานและฐานะการเงิน…………..… 54 8. รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน……….…. 57 9. รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ........................................................... 58 10. รายงานของผู้สอบบัญชี.............................................................................. 60 11. งบการเงิน……………………………………………………………………… 61


ข้ อมูลทั่วไป ชื่อบริ ษัท

:

บริ ษัท พรี เมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน)

เลขทะเบียนบริ ษัท

:

0107535000320

ประเภทธุรกิจ

:

ดําเนินธุรกิจด้ านการลงทุนในธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศ

ที่ตงสํ ั ้ านักงานใหญ่

:

เลขที่ 1 อาคารพรี เมียร์ คอร์ เปอเรทปาร์ ค ซอยพรี เมียร์ 2 ถนนศรี นคริ นทร์ แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร 10250

โทรศัพท์

:

0-2301-1585

โทรสาร

:

0-2398-1020

Homepage

:

www.premier-technology.co.th

ทุนจดทะเบียน

:

142,440,489 บาท

จํานวนหุ้นสามัญที่ออกจําหน่ายแล้ ว:

141,944,471 หุ้น

รายงานประจําปี 2554 1


นิตบิ ุคคลที่บริษัทถือหุ้นตัง้ แต่ ร้อยละ 10 ขึน้ ไป (1) ชื่อบริ ษัท เลขทะเบียนบริ ษัท ประเภทธุรกิจ

: : :

สถานที่ตงั ้

:

โทรศัพท์ โทรสาร Homepage

: : :

บริ ษัท ดาต้ าโปร คอมพิวเตอร์ ซิสเต็มส์ จํากัด 0105529045455 ให้ บริ การเทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับธุรกิจแบบครบวงจร (Total Enterprise Solution and Service Provider) เลขที่ 1 อาคารพรี เมียร์ คอร์ เปอเรทปาร์ ค ซอยพรี เมียร์ 2 ถนนศรี นคริ นทร์ แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร 10250 0-2684-8484 0-2677-3500 – 2 www.datapro.co.th

ทุนจดทะเบียน

:

30,000,000 บาท

จํานวนหุ้นสามัญที่ออกจําหน่ายแล้ ว:

300,000 หุ้น

จํานวนหุ้นที่บริ ษัทถืออยู่

:

239,995 หุ้น

ชื่อบริ ษัท เลขทะเบียนบริ ษัท ประเภทธุรกิจ

: : :

สถานที่ตงั ้

:

บริ ษัท แอ็ดวานซ์ ไซเบอร์ เทคโนโลยี จํากัด 0105551114316 พัฒนาและให้ บริ การเทคโนโลยีสารสนเทศให้ แก่องค์กรทังในและ ้ ต่างประเทศ เลขที่ 946 อาคารพาณิชย์ดสุ ติ ธานี ชันที ้ ่ 7 ห้ องเลขที่ 702 ถนนพระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500 0-2236-8586-7 0-2236-8588 www.act-thai.net 20,000,000 บาท 200,000 หุ้น 52,000 หุ้น

(2)

โทรศัพท์ : โทรสาร : Homepage : ทุนจดทะเบียน : จํานวนหุ้นสามัญที่ออกจําหน่ายแล้ ว: จํานวนหุ้นที่บริ ษัทถืออยู่ :

รายงานประจําปี 2554 2


บุคคลอ้ างอิงอื่น (1)

นายทะเบียนหลักทรั พย์ บริ ษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขที่ 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2229-2800 โทรสาร 0-2359-1259 Call center 0-2229-2888 Website : http://www.tsd.co.th E-mail : contact.tsd@set.or.th

(2)

ตัวแทนผู้ถอื หุ้นกู้ -ไม่มี-

(3)

ผู้สอบบัญชี นางชลรส สันติอศั วราภรณ์ ผู้สอบบัญชีเลขที่ 4523 หรื อ นายศุภชัย ปั ญญาวัฒโน ผู้สอบบัญชีเลขที่ 3930 หรื อ นายกฤษดา เลิศวนา ผู้สอบบัญชีเลขที่ 4498 บริ ษัท สํานักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จํากัด อาคารเลครัชดา ชัน้ 33 เลขที่ 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2264-0777, 0-2261-9190 โทรสาร 0-2264-0789 - 90, 0-2661-9192

(4)

ที่ปรึกษาทางการเงิน -ไม่มี-

(5)

ที่ปรึกษากฎหมาย -ไม่มี-

(6)

ที่ปรึกษาหรื อผู้จัดการภายใต้ สัญญาการจัดการ สัญญาว่าจ้ างบริ หารและให้ คําปรึกษาธุรกิจ บริ ษัท พรี เมียร์ ฟิ ชชัน่ แคปปิ ตอล จํากัด เลขที่ 1 พรี เมียร์ คอร์ เปอเรทปาร์ ค ซอยพรี เมียร์ 2 ถนนศรี นคริ นทร์ แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250

รายงานประจําปี 2554 3


สรุ ปข้ อมูลทางการเงินของบริษัทและบริษัทย่ อย (1)

ข้ อมูลทางการเงิน รายการ

สินทรัพย์รวม หนี ้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น รายได้ จากการขายและบริ การ รายได้ รวม กําไรขันต้ ้ น กําไร (ขาดทุน) สุทธิ

(2)

2554 1,236.48 980.34 256.14 1,840.12 1,860.18 501.57 51.33

2553 890.29 621.02 269.27 1,540.44 1,567.49 423.11 28.39

หน่ วย: ล้ านบาท 2552 717.54 479.47 238.07 1,212.55 1,230.68 308.99 (6.99)

2554 27.26 2.76 19.54 8.66 0.36 0.25 1.81

2553 27.47 1.81 11.19 5.36 0.20 0.10 1.90

2552 25.48 -0.57 -2.91 -0.56 (0.05) 0.10 1.68

อัตราส่ วนทางการเงิน

รายการ อัตรากําไรขันต้ ้ น (%) อัตรากําไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%) กําไร (ขาดทุน) สุทธิตอ่ หุ้น (บาท) เงินปั นผลต่อหุ้น (บาท) มูลค่าตามบัญชีตอ่ หุ้น (บาท)

รายงานประจําปี 2554 4


ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริ ษัท พรี เมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจลงทุนในธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศเป็ น ธุรกิจหลัก บริ ษัทมีบริ ษัทย่อย 1 บริ ษัท คือ บริ ษัท ดาต้ าโปร คอมพิวเตอร์ ซิสเต็มส์ จํากัด ซึง่ ดําเนินธุรกิจเป็ นผู้ ให้ บริ การเทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับธุรกิจแบบครบวงจร (Total Enterprise Solution and Services Provider) สําหรั บองค์กรธุรกิจตังแต่ ้ ขนาดกลางไปจนถึงขนาดใหญ่ ได้ รับแต่งตังให้ ้ เป็ นตัวแทนจําหน่าย ผลิตภัณฑ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Products) ผลิตภัณฑ์มลั ติมีเดีย (Multimedia Products) ซอฟต์แวร์ บริ หารข้ อมูลและระบบคอมพิวเตอร์ (System and Data Management Software) ซอฟต์แวร์ สําเร็ จรู ป ระบบงานธุรกิจและซอฟต์แวร์ การบริ หารองค์กร (Application Software) รวมถึงการให้ บริ การด้ านการ บํารุงรักษาผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (Maintenance Services) การบริ การวางระบบ การฝึ กอบรม และ ให้ คําปรึกษา (Training and Consulting Services) และการบริ การด้ านเอาต์ซอร์ ส (Outsourcing Services) การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญในปี 2554 มีดงั นี ้ 1. บริ ษัทได้ เข้ าร่ วมและชนะการประมูลซื ้อที่ดินและอาคารสํานักงานแห่งหนึ่ง (อาคาร พรี เมียร์ เพลซ) จากการขายทอดตลาดของกรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2554 โดยได้ ชําระราคาสินทรัพย์และค่าใช้ จ่ายที่เกี่ยวข้ องจํานวน 255 ล้ านบาท และได้ รับโอนกรรมสิทธิ์แล้ วในเดือน ตุลาคม 2554 บริ ษัทลงทุนในที่ดินและสํานักงานแห่งนี ้ เพื่อใช้ ประโยชน์เป็ นสํานักงานและใช้ ในการประกอบ กิจการให้ บริ การเป็ นศูนย์ข้อมูลสํารองแก่ลกู ค้ าของบริ ษัทย่อย และนําพื ้นที่บางส่วนให้ บคุ คลอื่นเช่า 2. จากการขยายกิจการเกี่ ยวกับศูนย์ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ในปี 2553 นัน้ ในปี 2554 บริ ษัทย่อยได้ ม่งุ เน้ นเรื่ องการให้ บริ การในรูปแบบ Software as a Service มากขึ ้น ซึง่ เป็ นบริ การที่ให้ ผ้ ใู ช้ งาน สามารถใช้ ระบบงานต่าง ๆ ที่บริ ษัทเป็ นผู้พฒ ั นา บนศูนย์ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของบริ ษัทย่อย ผ่านระบบเครื อข่าย อินเตอร์ เน็ต และชําระค่าใช้ จ่ายเป็ นรายเดือนตามจํานวนผู้ใช้ งานจริ ง โดยระบบงานที่ได้ รับการพัฒนาและ ให้ บริ การในรูปแบบดังกล่าวได้ แก่ - D-Work ระบบงานบริ หารทรัพยากรบุคคล - D-CRM ระบบงานบริ การความสัมพันธ์กบั ลูกค้ า นอกจากนี ้ในปี 2554 บริ ษัทย่อยได้ รับการคัดเลือกให้ เป็ นผู้ให้ บริ การในด้ านต่าง ๆ แก่ลกู ค้ า รวมถึงได้ รับการ รับรองและรางวัลต่าง ๆ จากองค์กร หน่วยงาน และบริ ษัทคูค่ ้ า อาทิ:

รายงานประจําปี 2554 5


• ได้ รับการรั บรองมาตรฐาน ISO 27001 ด้ านความปลอดภัยของข้ อมูล (Information Security Management) จาก บริ ษัท บูโร เวอริ ทสั ประเทศไทย จํากัด • ได้ รับรางวัล Distinguished Symantec Partner Technical Team FY2011 จากบริ ษัท ไซแมนเทค (ประเทศไทย) จํากัด • ได้ รับการคัดเลือกให้ เป็ น Microsoft Gold Certified Partner 2010-2011 จากบริ ษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จํากัด • ได้ รับรางวัล Microsoft Partner Network – Silver Customer Relationship Management 2011 จาก บริ ษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จํากัด • ได้ รับรางวัล Blue Coat – Security Partner of the Year ASEAN & INDIA – FY2012 จากบริ ษัท บลู โค้ ต จํากัด • ได้ รับความไว้ วางใจจากบริ ษัทชันนํ ้ าในประเทศไทยในการเลือกใช้ ผลิตภัณฑ์และบริ การต่างๆ เพื่อเพิ่ม ศักยภาพทางด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ อาทิ - IBM และ HP Server & Storage เพื่อเพิ่มศักยภาพและความจุของ Server รวมถึงการ ปรับปรุงให้ สามารถรองรับกับระบบงานที่เปลี่ยนแปลงไป - อุปกรณ์เครื อข่ายสําหรับองค์กรและศูนย์สํารองข้ อมูล - BMC Control M เพื่อการบริ หารจัดการปริ มาณงานภาคบริ การในดาต้ าเซ็นเตอร์ - Veritas Software เพื่อการจัดการระบบคอมพิวเตอร์ เสมือน - ระบบงานเพื่อการรักษาความปลอดภัยของข้ อมูล (Security Infrastructure Software) - Mimix Software เพื่อสนับสนุนการทําแผนสํารองฉุกเฉินขององค์กรด้ วยการสํารองข้ อมูล - แบบ Real Time - บริ การศูนย์สํารองข้ อมูลและสํานักงานสํารองฉุกเฉิน - อุปกรณ์มลั ติมีเดียร์ Projector, Plasma & LCD Display และ CCTV สําหรับโรงแรม - โรงละครงานนิ ท รรศการขนาดใหญ่ รวมถึ ง การนํ า ไปใช้ ในภาคการศึ ก ษาของ สถาบันการศึกษาชันนํ ้ า • ได้ รับความไว้ วางใจจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในการเป็ นผู้ให้ บริ การถ่ายทอดสดงานบริ ษัท จดทะเบียนพบนักลงทุน (SET Opportunity Day) ตลอดทุกไตรมาสในปี 2554 ปั จ จุบัน ธุ ร กิ จ หลัก ของบริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยคื อ ธุ ร กิ จ เทคโนโลยี ส ารสนเทศ โดยเป็ นผู้ใ ห้ บ ริ ก าร เทคโนโลยี ส ารสนเทศสํ า หรั บ ธุ ร กิ จ แบบครบวงจร ซึ่ ง ดํ า เนิ น การโดยบริ ษั ท ย่ อ ยคื อ บริ ษั ท ดาต้ า โปร คอมพิวเตอร์ ซิสเต็มส์ จํากัด แบ่งกลุม่ ผลิตภัณฑ์ออกเป็ น 3 กลุม่ หลักๆ คือ 1. กลุม่ ผลิตภัณฑ์ฮาร์ ดแวร์ (Hardware Products) ผลิตภัณฑ์ในกลุม่ นี ้ ประกอบด้ วย ผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Products) และผลิตภัณฑ์ มัลติมีเดีย (Multimedia Products)

รายงานประจําปี 2554 6


2. กลุม่ ผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ (Software Products) ผลิตภัณฑ์ในกลุ่มนี ้ ประกอบด้ วยซอฟต์แวร์ ระบบงานธุรกิจและระบบบริ หารองค์กร (Business Application Software) ระบบปฏิบตั ิการและฐานข้ อมูล (Operating System and Database) และ ซอฟท์แวร์ เครื่ องมืออรรถประโยชน์ (Tools & Utilities Software) 3. กลุม่ งานบริ การ (Services) การให้ บ ริ การในกลุ่ม นี ้ ประกอบด้ ว ย การบริ การบํ ารุ งรั กษาผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยี สารสนเทศ (Maintenance Services) การบริ การวางระบบ การฝึ กอบรม และให้ คําปรึกษา (Training and Consulting Services) การบริ การด้ านเอาต์ซอร์ ส (Outsourcing Services) และอื่นๆ โครงสร้ างรายได้ ของบริ ษัทและบริ ษัทย่อยในช่วง 3 ปี ที่ผา่ นมา ผลิตภัณฑ์ /บริการ

ดําเนินการ โดย

% 2554 การถือหุ้น รายได้ % ของบริษัท

หน่วย : ล้ านบาท 2552

2553 รายได้

%

รายได้

%

รายได้ จากการขายและบริ การ - กลุม่ ผลิตภัณฑ์ฮาร์ ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์

DCS

100.00

1,284.3

69.8

1,036.3 67.3

818

67.4

- กลุม่ การบริ การ

DCS

100.00

555.8

30.2

504.1

395

32.6

1,840.1

100.0

1,540.4 100.0 1,213

100.0

รวมรายได้ จากการขายและบริ การ

หมายเหตุ : DCS หมายถึง บริ ษัท ดาต้ าโปร คอมพิวเตอร์ ซิสเต็มส์ จํากัด

รายงานประจําปี 2554 7

32.7


ด้ านภาวะการแข่ งขันและการจัดหาผลิตภัณฑ์ ของบริษัท สรุปได้ ดงั นี ้ 1.

สภาพการแข่งขันภายในอุตสาหกรรม

แม้ ว่าเหตุการณ์อทุ กภัยในช่วงไตรมาสสุดท้ ายของปี 2554 จะมีผลกระทบต่อตุ สาหกรรมทุก ภาคส่วน แต่แนวโน้ มของเทคโนโลยีใหม่ ๆ จะยังคงมีความเคลื่อนไหวในตลาดอย่างต่อเนื่อง ผนวกกับการเร่ ง ฟื น้ ฟูสภาพเศรษฐกิจโดยรวม ที่เทคโนโลยีสารสนเทศได้ เข้ ามามีบทบาทสําคัญเป็ นอย่างมาก โดยเฉพาะเรื่ อง ความปลอดภัยของระบบงานและข้ อมูล รวมถึงความต่อเนื่องในการดําเนินธุรกิจในภาวะเหตุการณ์ไม่ปกติ ทํา ให้ องค์กรธุรกิจต้ องพิจารณาเรื่ องการลงทุนและเลือกใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศให้ สามารถรองรับกับสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้ อย่างทันเหตุการณ์ บริ ษัทวิจยั ตลาดไอดีซี (IDC - International Data Corporation) คาดว่าในปี 2555 องค์กร ธุรกิจจะหันมาให้ ความสนใจกับตลาดคลาวด์คอมพิวติ ้งมากขึ ้นอย่างชัดเจน เพื่อการบริ หารจัดการกับระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเป็ นระบบระเบียบมากขึ ้น ในขณะที่บริ ษัทวิจยั การ์ ทเนอร์ (Gartner) คาดว่า ตลาด คลาวด์คอมพิวติ ้ง จะมีการเติบโตอย่างรวดเร็ วกว่าตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมถึง 5 เท่าใน 4 ปี ข้ างหน้ า นอกจากนี ้ ยังคงมี ความต่อ เนื่ องของการใช้ ประโยชน์ จากโซเชี ยลมี เดีย และอุป กรณ์ การ สื่อ สารพกพา ในการสื่อ สารข้ อ มูลดิจิ ตอล โดยเฉพาะข้ อ มูลขนาดใหญ่ ที่ต้ อ งอาศัย ทัง้ พื น้ ที่ ใ นการจัดเก็ บ ระบบงานเพื่อการบริ หารจัดการ และระบบเครื อข่ายนที่ใช้ ในการจัดส่งข้ อมูล การคาดการณ์ ดังกล่าว มี ความสอดคล้ องกับการพัฒนาธุรกิ จของบริ ษัทย่อ ย ที่ ได้ มีก าร เตรี ยมการเกี่ยวกับศูนย์คอมพิวเตอร์ และศูนย์สํารองข้ อมูลฉุกเฉิน ที่รวมถึงสํานักงานสํารองฉุกเฉินซึ่งได้ เปิ ด ให้ บริ การมาตังแต่ ้ ปี พ.ศ. 2552 และมีการพัฒนาและปรับปรุงอย่างต่อเนื่องทําให้ มีความพร้ อมในการให้ บริ การ เป็ นศูน ย์ ข้ อ มูล ที่ สามารถรองรั บ ข้ อ มูลขนาดใหญ่ และสามารถให้ บ ริ ก ารด้ า นคลาวด์ คอมพิ วติง้ ที่ มีค วาม ปลอดภัยของข้ อมูลตามมาตรฐานสากล อีกทังยั ้ งเป็ นศูนย์คอมพิวเตอร์ และสํานักงานสํารองที่ห่างไกลจาก ความเสี่ยงต่าง ๆ อีกด้ วย สภาวะการแข่งขันในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีที่บ ริ ษัทดําเนินธุรกิ จอยู่มีการแข่งขันค่อ นข้ างสูงจาก ผู้ประกอบการทังในประเทศและต่ ้ างประเทศ บริ ษัทจึงต้ องสร้ างความแตกต่างจากผู้ประกอบการรายอื่นด้ วย การเป็ นผู้ให้ บริ การเทคโนโลยีสารสนเทศแบบครบวงจร ที่คงไว้ ซึ่งคุณภาพและมาตรฐานอันเป็ นที่ยอมรับใน ระดับสากล โดยบุคลากรมืออาชีพที่ได้ รับการอบรมอย่างต่อเนื่องและมีประสบการณ์สงู จนเป็ นที่ยอมรับจาก องค์กรชันนํ ้ ามาอย่างยาวนาน นับเป็ นกลยุทธ์ ที่สําคัญในการเป็ นหนึ่งในผู้นําทางด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศใน ประเทศไทยตลอดระยะเวลา 25 ปี ที่ผา่ นมา

รายงานประจําปี 2554 8


2.การจัดหาผลิตภัณฑ์และบริ การ จากการเป็ นผู้ใ ห้ บ ริ ก ารเทคโนโลยี ส ารสนเทศ อย่างครบวงจร บุคลากรผู้ให้ บริ การจึงเป็ นสิง่ สําคัญมาก บริ ษัทได้ ลงทุนในการสร้ างและดูแลรักษาบุคลากรที่มีประสิทธิภาพด้ วยการ ให้ การอบรมทัง้ ภายในและภายนอกองค์ กร ด้ วยการสร้ างศูนย์ คอมพิวเตอร์ ซึ่งมี อุปกรณ์ที่ทนั สมัย อย่ า งต่ อ เนื่ อ งมาโดยตลอดเพื่ อ การฝึ กฝนและพั ฒ นา ระบบงานในการให้ บริ การลู ก ค้ า รวมถึ ง การว่ า จ้ าง ผู้เ ชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า นในธุ ร กิ จ และเทคโนโลยี ใ หม่ ๆ เพื่ อ สร้ างความรู้ ความชํ า นาญให้ กับ บุคลากรของบริ ษัทในการ สร้ างความเชื่อมัน่ ให้ แก่ลกู ค้ าที่รับการบริ การของบริ ษัท และ พัฒ นาบุค ลากรเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกับ การพัฒ นาเทคโนโลยี ประเภทต่าง ๆ ตามเทคโนโลยีที่ลกู ค้ าต้ องการ สํ า หรั บ ผลิ ต ภัณ ฑ์ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศนัน้ บริ ษั ท เป็ นทัง้ ผู้ นําเข้ าโดยตรงและเป็ นตัวแทนจําหน่ายผลิตภัณฑ์ ที่มีชื่อเสียง ระดับชันนํ ้ าของโลกและมีสาขาในประเทศไทย ได้ แก่ผลิตภัณฑ์ จาก IBM, Hewlett-Packard, Cisco, Symantec, Panasonic, Sanyo, Canon, Hitachi โปรแกรมสําเร็ จรูปจาก IBM, BMC, ORACLE, Microsoft, และอื่นๆ อีกมาก จากประเทศต่างๆ ประกอบด้ วย ญี่ปนุ่ สหรัฐอเมริ กา ฝรั่งเศส และอังกฤษ เป็ นต้ น นอกจากนี เ้ พื่ อ ให้ ทัน ต่อ การเปลี่ ย นแปลงเทคโนโลยี แ ละความต้ อ งการของลูก ค้ า บริ ษั ท ได้ มี ก ารจัด หา ผลิ ต ภัณ ฑ์ ใ หม่ ๆ เพิ่ ม ขึ น้ ตลอดเวลา อาทิ ซ อฟท์ แ วร์ พื น้ ฐานเพื่ อ การรั ก ษาความปลอดภัย บนเครื อ ข่ า ย คอมพิวเตอร์ เพิ่มขึน้ จากเดิมหลายชนิด ผลิตภัณฑ์ ซอฟต์แวร์ สําเร็ จรู ปบริ หารองค์กร ผลิตภัณฑ์ ระบบการ บริ หารเอกสารองค์กร รวมถึงการให้ บริ การใช้ ซอฟท์แวร์ บนระบบคลาวด์คอมพิวติ ้งแบบจ่ายตามการใช้ งานจริ ง (Pay per use) ได้ แก่ ระบบงาน D-Work ซึ่งเป็ นระบบงานบริ หารทรัพยากรบุคคล (Human Capital Management) ระบบงาน D-CRM ซึง่ เป็ นระบบงานบริ หารความสัมพันธ์กบั ลูกค้ า (Customer Relationship Management) และระบบงาน HMAA ซึ่งเป็ นระบบงานเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลสําหรับธุรกิจโรงแรม (Hotel Management Analytic Application) ระบบงานบริ หารและจัดการเอกสารสําหรับองค์กร(Document Archiving Service) นอกจากนี ้ ยังได้ มีการพัฒนาศักยภาพของการใช้ เทคโนโลยีของอินเตอร์ เน็ตความร็ วสูง ในการถ่ายทอดสัญญาณภาพและเสียงที่มีคณ ุ ภาพสูงอย่างต่อเนื่อง เป็ นต้ น รายงานประจําปี 2554 9


เพื่อการสร้ างมูลค่าเพิ่มจากผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศที่บริ ษัทให้ บริ การ บริ ษัทมีการ ลงทุนในการพัฒนาซอฟต์แวร์ ประยุกต์เพิ่มเติมเพื่อให้ สอดคล้ องกับความต้ องการของลูกค้ า ประกอบด้ วย ซอฟต์แวร์ ระบบภาษี สําหรับประเทศไทย (Thailand Tax Localization System for JD Edwards Enterprise One & World) ซอฟต์แวร์ ระบบเช็คสําหรับประเทศไทย (Cheque Control System for JD Edwards EnterpriseOne & World) ซอฟต์แวร์ ระบบเงินเดือนสําหรับประเทศไทย (Thailand Payroll Tax Localization for PeopleSoft Enterprise & JD Edwards EnterpriseOne) ซอฟต์แวร์ ระบบวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสนับสนุน การตัดสินใจของผู้บริ หารธุรกิจโรงแรม (HMAA, Hotel Management Analytic Application) ซอฟต์แวร์ ระบบ การบริ หารเอกสารองค์กร (Electronic Document Warehouse Management) และซอฟต์แวร์ ระบบการ บริ หารความสัมพันธ์ผ้ ปู ่ วยหรื อผู้เข้ ารับการดูแลสุขภาพ (PRM, Patient Relationship Management) ถึงแม้ ว่าผลิตภัณฑ์ที่บริ ษัทจําหน่ายอยู่ในปั จจุบนั มีอยู่หลากหลาย แต่บริ ษัทมิได้ หยุดยังการ ้ สร้ างมูลค่าเพิ่มจากผลิตภัณฑ์เหล่านี ้ และบริ ษัทให้ บริ การกับลูกค้ าที่ต่อเนื่องมายาวนาน ดังนันโอกาสที ้ ่จะ ได้ รับผลกระทบจากการสูญเสียจากการให้ บริ การและการเป็ นผู้แทนจําหน่ายจึงมีน้อย

รายงานประจําปี 2554 10


ปั จจัยความเสี่ยง ปั จ จัย เสี่ ย งที่ มี นัย สํ า คัญ ซึ่ ง เป็ นทัง้ ปั จ จั ย ภายนอกและปั จ จั ย ภายในที่ อ าจมี ผ ลกระทบต่ อ การ ดําเนินงานของบริ ษัทสรุปได้ ดงั นี ้ 1 ความเสี่ยงจากผลกระทบด้ านภัยธรรมชาติ ในปลายปี 2554 ที่ผ่านมา ลูกค้ าส่วนหนึ่งของบริ ษัทได้ รับผลกระทบเนื่องด้ วยมหาอุทกภัยที่เกิดขึ ้น และส่งผลทําให้ โครงการด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศที่วางแผนเอาไว้ ต้องเลื่อนหรื อยกเลิกไป ซึ่งปั จจัยดังกล่าว เป็ นเหตุสดุ วิสยั ที่เกิดขึ ้น ซึง่ หลังจากเหตุการณ์ผ่านไปแล้ ว ลูกค้ าส่วนใหญ่ก็จะหามาตรการป้องกันและรวมไป ถึงพิจารณาภัยอื่นๆ ควบคู่ไปด้ วย เพื่อป้องกันเหตุการณ์ให้ ได้ ดีและมากที่สดุ ที่จะทําได้ อนึ่งสําหรับตัวบริ ษัท เองไม่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบด้ า นมหาอุทกภัย ใดๆ เนื่ อ งด้ ว ยมี ร ะบบป้ องกัน ที่ ไ ด้ ว างแผนเอาไว้ เ ป็ นอย่า งดี และ ประกอบกันมหาอุทกภัยดังกล่าว ไม่ได้ สง่ ผลถึงส่วนของการให้ บริ การลูกค้ าแต่อย่างใด 2

ความเสี่ยงด้ านการเปิ ดเสรี ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ในปี 2558 ภายในปี 2558 นี ้ทางกลุม่ ประเทศอาเซียน จะได้ มีการเปิ ดเสรี ทางด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึง่ จะทํา ให้ ขีดความสามารถในการแข่งขันของตัวบริ ษัทจําจะต้ องเร่ งรัดและทําให้ แข่งขันได้ ทางบริ ษัทได้ มีกระบวนการ รองรับเอาไว้ แล้ ว ทังในส่ ้ วนของการพัฒนาบุคลากร การพัฒนาเทคโนโลยี และการพัฒนาธุรกิจเพื่อกระจาย ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ ้น รวมถึงการแสวงหาพันธมิตรทางด้ านธุรกิจจากต่างประเทศเพิ่มเติม ซึ่งเชื่อแน่ได้ ว่า บริ ษัทจะสามารถสร้ างศักยภาพ รวมถึงขีดความสามารถในการแข่งขันทันเวลาต่อการเปิ ดเสรี ดงั กล่าว 3

ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วมาอย่างต่อเนื่อง ซึง่ แนวโน้ มเทคโนโลยี ใหม่จะประกอบด้ วย เทคโนโลยีไร้ สาย 3G และอินเตอร์ เน็ตความเร็ วสูง บริ การซอฟแวร์ ผา่ นระบบออนไลน์ (Software as a service : SaaS) Web2.0 และแอพพลิชนั่ บนมือถือ (Mobile Application) เป็ นต้ น ด้ วยการเป็ นผู้ให้ บริ การสารสนเทศสําหรับธุรกิจแบบครบวงจร (Total Enterprise Solution and Service Provider) บริ ษัทเห็นถึงความเสี่ยงดังกล่าวต่อการให้ บริ การลูกค้ าที่ต้องจัดหาผลิตภัณฑ์ฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ที่ทนั สมัยทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและเหมาะสมกับความต้ องการของลูกค้ า รวมถึงการเตรี ยมบุคลากรให้ พร้ อมในการเป็ นผู้เชี่ยวชาญด้ วยการติดตาม ศึกษาการเปลี่ยนแปลงเหล่านี ้ อย่างใกล้ ชิด โดยรวมถึงการสอบใบรับรองสําหรับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง จึงทําให้ บริ ษัทสามารถให้ บริ การพร้ อมการสร้ างมูลค่าเพิ่มต่อลูกค้ าได้ อย่างเหมาะสมจากเทคโนโลยีสารสนเทศที่พฒ ั นาอยูต่ ลอดเวลา

รายงานประจําปี 2554 11


4

ความเสี่ยงจากการแข่งขันสูง บริ ษัทดํา เนิ นธุรกิ จในอุตสาหกรรมเทคโนโลยี สารสนเทศด้ วยการเป็ นตัวแทนจํ าหน่ายผลิตภัณ ฑ์ ฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ซึ่งเจ้ าของผลิตภัณฑ์มีการแต่งตังตั ้ วแทนจําหน่ายเพิ่มอยู่ตลอดเวลาเพื่อรักษาและ เพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาด ทําให้ บริ ษัทมีการแข่งขันสูงขึ ้นจากผู้ประกอบการรายอื่นในธุรกิจประเภทเดียวกัน ทําให้ อตั รากําไรมีแนวโน้ มลดลง บริ ษัทพยายามลดความเสี่ยงในด้ านนี ้ลงโดยการปรับเปลี่ยนธุรกิจจากการ เป็ นเพียงตัวแทนจําหน่ายผลิตภัณฑ์ฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ มาเป็ นผู้ให้ บริ การสารสนเทศสําหรับธุรกิจแบบครบ วงจร (Total Enterprise Solution and Service Provider) และปรับสัดส่วนของการให้ บริ การมากขึ ้นอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มมูลค่าของบริ การ โดย • เป็ นตัวแทนจําหน่ายให้ ครอบคลุมเทคโนโลยีสารสนเทศที่สอดคล้ องกับความต้ องการ ของลูกค้ าในธุรกิจแต่ละประเภทให้ ทนั สมัยตลอดเวลา •

สร้ างสรรค์ซอฟต์แวร์ ประยุกต์เพื่อสร้ างมูลค่าเพิ่มและสอดคล้ องกับธุรกิจในประเทศ ไทย เช่น ซอฟท์แวร์ ระบบภาษี ระบบเช็ค ระบบเงินเดือน ซึง่ เชื่อมต่อกับซอฟต์แวร์ ระบบงานธุ ร กิ จ และซอฟต์ แ วร์ วิ เ คราะห์ ร ะบบงานที่ ส นับ สนุน การตัด สิ น ใจของ ผู้บริ หารสําหรับธุรกิจต่าง ๆ

ให้ บริ การด้ านเอาต์ซอร์ ส (Outsource) สําหรับเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างครบวงจร

สร้ างบริ การทางเลือก ด้ าน Cloud Computing โดยมุ่งเน้ นการพัฒนา Application ที่ มีราคาถูก เข้ าถึงกลุม่ ลูกค้ าเป้าหมายได้ มาก

5

ความเสี่ยงในการพึง่ พาบุคลากร บุค ลากรนับ เป็ นปั จ จัย ที่ สํ า คัญ ยิ่ ง ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ บ ริ ก ารด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ซึ่ ง จําเป็ นต้ องอาศัยความรู้ความชํานาญเฉพาะด้ านของบุคลากรในการให้ คําปรึกษาและพัฒนางานเพื่อให้ ทนั ต่อ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา และมีการแข่งขันสูง ซึง่ เป็ น เรื่ อ งที่ บ ริ ษั ท ให้ ค วามสํ า คัญ เป็ นอย่ า งมาก บริ ษั ท ได้ กํ า หนดนโยบายที่ จ ะส่ ง เสริ ม ให้ พ นัก งานทุก คนมี ความก้ าวหน้ าในสายงานอาชีพอย่างมัน่ คง มีการพัฒนาความรู้ ความสามารถและจัดอบรมสัมมนาอย่าง ต่อเนื่องให้ แก่บุคลากร มีการกําหนดผลตอบแทนในระดับที่เหมาะสมและสามารถแข่งขันกับผู้ประกอบการ รายอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกัน มีการสร้ างสิ่งแวดล้ อมที่ดีภายในองค์กรและจัดให้ มีสวัสดิการที่ดี รวมถึงการ เสริ มสร้ างความสัมพันธ์ ที่ดีระหว่างบุคลากรภายในบริ ษัทเพื่อสร้ างขวัญและกํ าลังใจให้ พนักงานทํางานกับ บริ ษัทในระยะยาว

รายงานประจําปี 2554 12


โครงสร้ างการถือหุ้นและการจัดการ 1.

ผู้ถือหุ้น 1.1

กลุม่ ผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก รายละเอียดเกี่ยวกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ที่มีชื่อปรากฏตามทะเบียนบัญชีผ้ ถู ือหุ้น ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2554 มีดงั ต่อไปนี ้ 1.

2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ชื่อ นาง วิมลทิพย์ พงศธร - นาง วิมลทิพย์ พงศธร - นาย วิเชียร พงศธร บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัด บริษัท เทพธัญญภา จํากัด บริษัท เนชัน่ มัลติมีเดีย กรุ๊ป จํากัด (มหาชน) นายกฤติพล จิรังวรพจน์ นายวิเชียร ศรี มนุ ินทร์ นิมิต นายรณรงค์ วีรานุพฒ ั น์ น.ส.กาญจนา เต็งศิริโกมล นายชุติวฒ ั น์ พาสน์พาชี น.ส.สมพร ศรี ทมุ มา รวม

จํานวนหุ้น % การถือหุ้น 53.15 75,443,923 75,443,883 40 5,475,880 3.86 4,000,000 2.82 3,000,000 2.11 1,500,000 1.06 1,394,400 0.98 1,300,000 0.92 1,250,000 0.88 1,160,000 0.82 1,144,000 0.81 95,668,203 67.41

สัดส่วนการถือหุ้นของผู้ถือหุ้นรายย่อย เท่ากับร้ อยละ 46.69 1.2

กลุม่ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่มีบคุ คลที่เกี่ยวโยงกันเข้ าร่วมในการบริ หารจัดการบริ ษัทมีดงั นี ้

ชื่อ 1. นางวิมลทิพย์ พงศธร

ประกอบธุรกิจประเภท

-

รายงานประจําปี 2554 13

บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน สามี คือ นายวิเชียร พงศธร เป็ นประธานกรรมการ


2.

การจัดการ 2.1

โครงสร้ างการจัดการ

บริ ษัทมีคณะกรรมการ 2 ชุด ประกอบด้ วยคณะกรรมการบริ ษัทและคณะกรรมการตรวจสอบ โดยมีรายละเอียดดังนี ้ 2.1.1 คณะกรรมการบริ ษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการบริ ษัทมีจํานวน 7 ท่าน ประกอบด้ วย ประธานกรรมการ 1. นายวิเชียร พงศธร 2. นางดวงทิพย์ เอี่ยมรุ่งโรจน์ กรรมการ 3. นายสุรเดช บุณยวัฒน กรรมการ 4. นายปริ ทรรศน์ พันธุบรรยงก์ กรรมการอิสระ 5. นายอุดม ชาติยานนท์ กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ 6. นายสุชาย วัฒนตฤณากุล กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ 7. นายขัตยิ า ไกรกาญจน์ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ โดยมีนางสุชาดา สมัยสุต เป็ นเลขานุการคณะกรรมการบริ ษัทและเลขานุการบริ ษัท วาระการดํารงตําแหน่ง ข้ อบังคับของบริ ษัทได้ กําหนดไว้ ว่า ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี ทุกครัง้ ให้ กรรมการ ออกจากตําแหน่งหนึ่งในสาม ถ้ าจํานวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ ตรงเป็ นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ ออกโดยจํานวน ใกล้ ที่สดุ กับส่วนหนึ่งในสาม กรรมการที่จะต้ องออกจากตําแหน่งในปี แรกและปี ที่สองภายหลังจดทะเบียน บริ ษัทนัน้ ให้ ใช้ วิธีจบั สลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปี หลังๆ ต่อไปให้ กรรมการคนที่อยูใ่ นตําแหน่งนานที่สดุ นันเป็ ้ น ผู้ออกจากตําแหน่ง กรรมการที่ออกตามวาระนันอาจถู ้ กเลือกเข้ ามาดํารงตําแหน่งใหม่ก็ได้ ขอบเขตอํานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการบริ ษัท 1) จัดการบริ ษัทให้ เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้ อบังคับของบริ ษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือ หุ้น เว้ นแต่ในเรื่ องที่ต้องได้ รับอนุมตั ิจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อนดําเนินการ เช่น เรื่ องที่กฎหมายกําหนดให้ ต้อง ได้ รับมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น การทํารายการที่เกี่ยวโยงกันและการซื ้อหรื อขายสินทรัพย์ที่สําคัญตามกฎเกณฑ์ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรื อตามที่หน่วยงานราชการอื่น ๆ กําหนด 2) คณะกรรมการอาจมอบหมายให้ กรรมการคนหนึ่งหรื อหลายคนหรื อบุคคลอื่นใดปฏิบตั ิการอย่างหนึ่ง อย่างใดแทนคณะกรรมการก็ได้ 3)

แต่งตังคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการชุ ้ ดต่าง ๆ

รายงานประจําปี 2554 14


4) ทบทวนและให้ ความเห็นชอบเรื่ องที่มีสาระสําคัญ เช่น นโยบาย แผนงานและงบประมาณ โครงสร้ าง การบริ หาร อํานาจการบริ หาร และรายการอื่นใดที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยหรื อที่กฎหมายกําหนด 5) กํ ากับดูแลการดําเนินงานของฝ่ ายบริ หารให้ เป็ นไปตามนโยบาย แผนงานและงบประมาณที่ได้ รับ อนุมตั ิ ในปี 2554 บริ ษัทมีการประชุมคณะกรรมการรวม 6 ครัง้ โดยการเข้ าร่ วมประชุมของกรรมการแต่ละ ท่านสรุปได้ ดงั นี ้ รายชื่อคณะกรรมการบริษัท

การเข้ าร่ วมประชุม / การประชุม ทัง้ หมด (ครั ง้ )

1.

นายวิเชียร พงศธร

5/6

2.

นายวิวฒ ั น์ พงศธร

2/6

(ลาออกจากการเป็ นกรรมการเมื่อวันที่ 30 มิถนุ ายน 2554)

3.

นางดวงทิพย์ เอี่ยมรุ่งโรจน์

6/6

4.

นายสุรเดช บุณยวัฒน

6/6

5.

นายปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์

6/6

6.

นายอุดม ชาติยานนท์

6/6

7.

นายสุชาย วัฒนตฤณากุล

6/6

8.

นายขัติยา ไกรกาญจน์

5/6

คณะกรรมการบริ ษัทชุดปั จจุบนั ประกอบด้ วยกรรมการอิสระ 4 ท่าน ดังนี ้ 1. 2. 3. 4.

นายอุดม ชาติยานนท์ นายสุชาย วัฒนตฤณากุล นายขัตยิ า ไกรกาญจน์ นายปริ ทรรศน์ พันธุบรรยงก์

รายงานประจําปี 2554 15


สําหรับเกณฑ์ในการคัดเลือกกรรมการอิสระนัน้ บริ ษัทพิจารณาคุณสมบัติตามแนวทางที่กําหนดโดย คณะกรรมการกํ ากับหลักทรั พย์ และตลาดหลักทรั พย์แห่งประเทศไทย ส่วนกระบวนการสรรหาจะใช้ วิธีการ ตามที่จะได้ กล่าวไว้ ในเรื่ องการสรรหากรรมการและผู้บริ หาร (ข้ อ 2.2 การสรรหากรรมการและผู้บริ หารหน้ า 28) คุณสมบัตกิ รรมการอิสระ 1) ถือหุ้นไม่เกินร้ อยละหนึ่งของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิ ออกเสียงทังหมดของบริ ้ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัท ทังนี ้ ้ ให้ นบั รวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้ องของ กรรมการอิสระรายนัน้ ๆ ด้ วย 2) ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นกรรมการที่มีส่วนร่ วมบริ หารงาน ลูกจ้ าง พนักงาน ที่ปรึ กษาที่ได้ เงินเดือนประจํา หรื อผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม บริ ษัทย่อยลําดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อของผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัท เว้ นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ วไม่น้อยกว่าสองปี ทังนี ้ ้ ลักษณะต้ องห้ ามดังกล่าวไม่รวมถึงกรณีที่กรรมการอิสระเคยเป็ นข้ าราชการ หรื อที่ปรึ กษา ของส่วนราชการซึ่ง เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัท 3) ไม่เป็ นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ ทางสายโลหิต หรื อโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็ น บิดามารดา คูส่ มรส พี่น้อง และบุตร รวมทังคู ้ ส่ มรสของบุตร ของผู้บริ หาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอํานาจควบคุม หรื อบุคคลที่จะได้ รับการเสนอให้ เป็ นผู้บริ หารหรื อผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัทหรื อบริ ษัทย่อย 4) ไม่มีหรื อเคยมีความสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัท ในลักษณะที่อาจเป็ นการขัดขวางการใช้ วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทัง้ ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรื อผู้มีอํานาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ ทางธุรกิ จกับบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัท เว้ นแต่จะได้ พ้นจากการมี ลักษณะดังกล่าวมาแล้ วไม่น้อยกว่าสองปี ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการทํารายการทางการค้ าที่กระทําเป็ นปกติเพื่อประกอบ กิ จการ การเช่า หรื อ ให้ เช่าอสังหาริ มทรั พย์ รายการเกี่ ยวกับ สินทรั พย์ หรื อ บริ การ หรื อการให้ หรื อ รั บความ ช่ ว ยเหลื อ ทางการเงิ น ด้ ว ยการรั บ หรื อ ให้ ก้ ูยื ม คํ า้ ประกัน การให้ สิน ทรั พ ย์ เ ป็ นหลัก ประกัน หนี ส้ ิน รวมถึ ง พฤติการณ์อื่นทํานองเดียวกัน ซึง่ เป็ นผลให้ บริ ษัทหรื อคูส่ ญ ั ญามีภาระหนี ้ ที่ต้องชําระต่ออีกฝ่ ายหนึ่ง ตังแต่ ้ ร้อย ละสามของสินทรัพย์ที่มีตวั ตนสุทธิของบริ ษัทหรื อตังแต่ ้ ยี่สิบล้ านบาทขึ ้นไป แล้ วแต่จํานวนใดจะตํ่ากว่า ทังนี ้ ้ การคํ า นวณภาระหนี ด้ ัง กล่า วให้ เ ป็ นไปตามวิ ธี ก ารคํา นวณมูล ค่า ของรายการที่ เ กี่ ย วโยงกัน ตามประกาศ คณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้ วยหลักเกณฑ์ในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลม แต่ในการพิจารณา ภาระหนีด้ งั กล่าว ให้ นับรวมภาระหนีท้ ี่เกิ ดขึน้ ในระหว่างหนึ่งปี ก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบุคคล เดียวกัน 5) ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้สอบบัญชีของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้มี อํานาจควบคุมของบริ ษัท และไม่เป็ นผู้ถือหุ้นที่มีนยั ผู้มีอํานาจควบคุม หรื อหุ้นส่วนของสํานักงานสอบบัญชี

รายงานประจําปี 2554 16


ซึ่งมี ผ้ ูสอบบัญชี ของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้มีอํานาจควบคุมของ บริ ษัทสังกัดอยู่ เว้ นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ วไม่น้อยกว่าสองปี 6) ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้ให้ บริ การทางวิชาชีพใด ๆ ซึ่งรวมถึงการให้ บริ การเป็ นที่ปรึ กษากฎหมายหรื อที่ ปรึกษาทางการเงิน ซึง่ ได้ รับค่าบริ การเกินกว่าสองล้ านบาทต่อปี จากบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม ผู้ ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัท และไม่เป็ นผู้ถือหุ้นที่มีนยั ผู้มีอํานาจควบคุม หรื อหุ้นส่วนของ ผู้ให้ บริ การทางวิชาชีพนันด้ ้ วย เว้ นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ วไม่น้อยกว่าสองปี 7) ไม่เป็ นกรรมการที่ได้ รับการแต่งตังขึ ้ ้นเพื่อเป็ นตัวแทนของกรรมการของบริ ษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้ ถือหุ้นซึง่ เป็ นผู้ที่เกี่ยวข้ องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 8) ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริ ษัทหรื อบริ ษัท ย่อย หรื อไม่เป็ นหุ้นส่วนที่มีนัยในห้ างหุ้นส่วน หรื อเป็ นกรรมการที่มีส่วนร่ วมบริ หารงาน ลูกจ้ าง พนักงาน ที่ ปรึ กษาที่รับเงินเดือนประจํา หรื อถือหุ้นเกินร้ อยละหนึ่งของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทังหมดของบริ ้ ษัทอื่น ซึง่ ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันที่มีนยั กับกิจการของบริ ษัทหรื อบริ ษัทย่อย 9)

ไม่มีลกั ษณะอื่นใดที่ทําให้ ไม่สามารถให้ ความเห็นอย่างเป็ นอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริ ษัท 2.1.2 คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการตรวจสอบมีจํานวน 3 ท่าน ประกอบด้ วย 1. นายอุดม ชาติยานนท์ ประธานกรรมการตรวจสอบ (เป็ นผู้มีความรู้และประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงิน) 2. นายสุชาย วัฒนตฤณากุล กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ 3. นายขัตยิ า ไกรกาญจน์

วาระการดํารงตําแหน่ง กรรมการตรวจสอบมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการตรวจสอบซึง่ พ้ นจากตําแหน่ง ตามวาระ อาจได้ รับการแต่งตังใหม่ ้ ได้ ในกรณีที่กรรมการตรวจสอบลาออกก่อนครบวาระ กรรมการที่ได้ รับ แต่งตังแทนจะอยู ้ ใ่ นตําแหน่งได้ เพียงเท่าวาระที่เหลืออยูข่ องกรรมการตรวจสอบที่ลาออก ขอบเขตอํานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1) สอบทานให้ บริษัทมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้ องและเพียงพอ 2) สอบทานให้ บ ริ ษัท มี ระบบการควบคุม ภายใน (internal control) และระบบการ ตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็ นอิสระของหน่วยงาน ตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ ความเห็ น ชอบในการพิจารณาแต่ง ตัง้ โยกย้ าย เลิกจ้ า งหัว หน้ า หน่ว ยงาน ตรวจสอบภายใน หรื อหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน รายงานประจําปี 2554 17


3) สอบทานให้ บริ ษั ท ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว่ า ด้ วยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัท 4) พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตังบุ ้ คคลซึง่ มีความเป็ นอิสระเพื่อทําหน้ าที่เป็ นผู้สอบบัญชี ของบริ ษัท และเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทังเข้ ้ าร่ วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการ เข้ าร่วมประชุมด้ วยอย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง้ 5) พิจารณารายการเกี่ ยวโยงกันหรื อรายการที่อาจมี ความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ให้ เป็ นไปตามกฎหมายและข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทังนี ้ ้เพื่อให้ มนั่ ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและ เป็ นประโยชน์สงู สุดต่อบริ ษัท 6) จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิ ดเผยไว้ ในรายงานประจําปี ของบริ ษัท ซึ่งรายงานดังกล่าวต้ องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้ องประกอบด้ วยข้ อมูลอย่างน้ อย ดังต่อไปนี ้ (1) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้ อง ครบถ้ วน เป็ นที่เชื่อถือได้ ของรายงานทางการเงิน ของบริ ษัท (2) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริ ษัท (3) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัท (4) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี (5) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ (6) จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการเข้ าร่ วมประชุมของกรรมการ ตรวจสอบแต่ละท่าน (7) ความเห็นหรื อข้ อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้ รับจากการปฏิบัติ หน้ าที่ตามกฎบัตร (charter) (8) รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทัว่ ไปควรทราบ ภายใต้ ขอบเขตหน้ าที่และ ความรับผิดชอบที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท 7) สอบทานความเหมาะสมและความเพียงพอของระบบการบริ หารความเสี่ยงของ บริ ษัท 8) ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริ ษัทมอบหมายด้ วยความเห็นชอบจาก คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานประจําปี 2554 18


ในปี 2554 บริ ษัทมีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 5 ครัง้ โดยการเข้ าร่ วมประชุมของ กรรมการแต่ละท่านสรุปได้ ดงั นี ้ รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ 1. 2. 3.

นายอุดม ชาติยานนท์ นายสุชาย วัฒนตฤณากุล นายขัตยิ า ไกรกาญจน์

การเข้ าร่ วมประชุม / การประชุมทัง้ หมด (ครั ง้ ) 5/5 5/5 5/5

2.1.3 รายชื่อผู้บริ หาร บริ ษัทไม่มีพนักงานประจํา เนื่องจากบริ ษัทดําเนินธุรกิจการลงทุนในบริ ษัทย่อย

รายงานประจําปี 2554 19


รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริหารและผู้มีอาํ นาจควบคุมของบริษัท ประวัตคิ ณะกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 1.

นายวิเชียร พงศธร ประธานกรรมการ กรรมการผู้มีอาํ นาจลงนาม อายุ 55 ปี คุณวุฒทิ างการศึกษา  ปริ ญญาโท สาขาบริ หารธุรกิจจาก Rensselaer Polytechnic Institute, Troy, New York สหรัฐอเมริ กา  ปริ ญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมนิวเคลียร์ จาก Rensselaer Polytechnic Institute Troy, New York สหหรัฐอเมริ กา สัดส่ วนการถือหุ้นในบริษัท (%) 53.15% ความสัมพันธ์ ทางครอบครัวระหว่ างผู้บริหาร  ไม่มี ประสบการณ์ ทาํ งานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง ปั จจุบนั :  กรรมการผู้จดั การใหญ่ กลุม่ บริ ษัทพรี เมียร์  กรรมการ บริ ษัทในกลุม่ บริ ษัทพรี เมียร์  กรรมการ บจ. เชียงใหม่ ไนท์บาซาร์  กรรมการ บจ.อินฟิ นิท กรี น

รายงานประจําปี 2554 20


2.

นางดวงทิพย์ เอี่ยมรุ่ งโรจน์ กรรมการผู้มีอาํ นาจลงนาม อายุ 56 ปี คุณวุฒทิ างการศึกษา  Diploma in Clinical Organizational Psychology จาก INSEAD ประเทศฝรั่งเศส  ปริ ญญาโทสาขาบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  ปริ ญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การอบรมหลักสูตรจากสมาคมส่ งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)  การอบรมบทบาทหน้ าที่และทักษะการเป็ นกรรมการ (DAP) รุ่นที่ 22 ปี 2547 สัดส่ วนการถือหุ้นในบริษัท (%)  0.00013 % ความสัมพันธ์ ทางครอบครัวระหว่ างผู้บริหาร  ไม่มี ประสบการณ์ ทาํ งานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง ปั จจุบัน:  ผู้อํานวยการใหญ่ สายงานสนับสนุน กลุม่ บริ ษัทพรี เมียร์  กรรมการ บริ ษัทในกลุม่ บริ ษัทพรี เมียร์

รายงานประจําปี 2554 21


3.

นายสุรเดช บุณยวัฒน กรรมการผู้มีอาํ นาจลงนาม อายุ 61 ปี คุณวุฒทิ างการศึกษา  ปริ ญญาตรี Industrial Technology Eastern Washington State University สหรัฐอเมริ กา การอบรมหลักสูตรจากสมาคมส่ งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)  การอบรมบทบาทหน้ าที่และทักษะการเป็ นกรรมการ (DAP) รุ่นที่ 19 ปี 2547  การอบรมหลักสูตร Finance for Non-Finance Director (FND) รุ่น 12 ปี 2547  การอบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 97 ปี 2550 สัดส่ วนการถือหุ้นในบริษัท (%)  ไม่มี ความสัมพันธ์ ทางครอบครัวระหว่ างผู้บริหาร  ไม่มี ประสบการณ์ ทาํ งานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง ปั จจุบัน:  กรรมการ บจ. พรี เมียร์ มอเตอร์  กรรมการ บจ. พรี เมียร์ โพรดักส์  กรรมการ บจ.พรี เมียร์ แมนูแฟคเจอริ่ ง  กรรมการ บจ. พรี เมียร์ โฮม แอพพลายแอนซ์  กรรมการ บจ. อิมพีเรี ยล อีเกิ ้ล  กรรมการ บจ. พรี เมียร์ แพลนเนอร์  กรรมการ บจ. พรี เมียร์ รี สอร์ ทส์ แอนด์ โฮเทลส์  กรรมการ บจ. พรี เมียร์ ฟิ ชชัน่ แคปปิ ตอล  กรรมการ บจ. รายาเฮอริ เทจ  กรรมการ บจ. พรี เมียร์ อัลเทอร์ เนทีฟ มอเตอร์  กรรมการ บจ. พรี เมียร์ เมโทรบัส  กรรมการ บจ.อินฟิ นิท กรี น

รายงานประจําปี 2554 22


4.

นายปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ กรรมการอิสระ อายุ 58 ปี คุณวุฒทิ างการศึกษา  ปริ ญญาเอก Doctorate of Metallurgical Engineering มหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปนุ่  ปริ ญญาโทพาณิชย์ศาสตร์ (บริ หารธุรกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  ปริ ญญาโทวิศวกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  ปริ ญญาตรี วิศวกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การอบรมหลักสูตรจากสมาคมส่ งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)  การอบรมบทบาทหน้ าที่และทักษะการเป็ นกรรมการ (DAP) รุ่นที่ 105 ปี 2551 สัดส่ วนการถือหุ้นในบริษัท (%)  ไม่มี ความสัมพันธ์ ทางครอบครัวระหว่ างผู้บริหาร  ไม่มี ประสบการณ์ ทาํ งานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง ปั จจุบัน :  ผู้อํานวยการ สมาคมส่งเสริ มเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปน) ุ่

รายงานประจําปี 2554 23


5.

นายอุดม ชาติยานนท์ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ อายุ 75 ปี คุณวุฒทิ างการศึกษา  ปริ ญญาตรี พาณิชย์ศาสตร์ บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  ปริ ญญาตรี บญ ั ชีบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรมหลักสูตรจากสมาคมส่ งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)  การอบรมบทบาทหน้ าที่และทักษะการเป็ นกรรมการ (DAP) รุ่นที่ 37 ปี 2548 สัดส่ วนการถือหุ้นในบริษัท (%)  ไม่มี ความสัมพันธ์ ทางครอบครัวระหว่ างผู้บริหาร  ไม่มี ประสบการณ์ ทาํ งานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง ปั จจุบัน:  กรรมการและกรรมการผู้จดั การ บจ. ห้ าตอ  กรรมการ บมจ. พรี เมียร์ มาร์ เก็ตติ ้ง  กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. พรี เมียร์ เอ็นเตอร์ ไพรซ์  กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. ซิงเกอร์ (ประเทศไทย)  กรรมการ บจ. กลุม่ สุวิทย์ดําริ ห์  กรรมการ บจ. เชียงใหม่ ไนท์บาซาร์

รายงานประจําปี 2554 24


6.

นายสุชาย วัฒนตฤณากุล กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ อายุ 71 ปี คุณวุฒทิ างการศึกษา  ปริ ญญาตรี การศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ การอบรมหลักสูตรจากสมาคมส่ งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)  การอบรมบทบาทหน้ าที่และทักษะการเป็ นกรรมการ (DAP) รุ่นที่ 37 ปี 2548 สัดส่ วนการถือหุ้นในบริษัท (%)  ไม่มี ความสัมพันธ์ ทางครอบครัวระหว่ างผู้บริหาร  ไม่มี ประสบการณ์ ทาํ งานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง ปั จจุบัน:  ที่ปรึกษาอิสระ ธุรกิจให้ คําปรึกษา พัฒนา และออกแบบการจัดวางระบบการบริ หาร ค่าตอบแทน/เงินเดือน/ค่าจ้ าง และการจัดองค์กร  กรรมการ บจ. รี เทลเทรนนิ่ง  กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. พรี เมียร์ เอ็นเตอร์ ไพรซ์

รายงานประจําปี 2554 25


7.

นายขัตยิ า ไกรกาญจน์ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ อายุ 59 ปี คุณวุฒทิ างการศึกษา  ปริ ญญาเอกวิศวกรรมไฟฟ้า University of Missouri-Rolla สหรัฐอเมริ กา  ปริ ญญาโทวิศวกรรมไฟฟ้า University of Missouri-Rolla สหรัฐอเมริ กา  ปริ ญญาตรี วิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การอบรมหลักสูตรจากสมาคมส่ งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)  การอบรมบทบาทหน้ าที่และทักษะการเป็ นกรรมการ (DAP) รุ่นที่ 37 ปี 2548  การอบรมหลักสูตร Financial Statements for Director (FSD) รุ่นที่ 3 ปี 2551  การอบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 110 ปี 2551  การอบรมหลักสูตร Auditing Committee Program (ACP) รุ่นที่ 34 ปี 2554 สัดส่ วนการถือหุ้นในบริษัท (%)  ไม่มี ความสัมพันธ์ ทางครอบครัวระหว่ างผู้บริหาร  ไม่มี ประสบการณ์ ทาํ งานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง ปั จจุบัน:  กรรมการและผู้จดั การทัว่ ไป บจ. เควี อีเลค ทรอนิคส์  ประธานกิตติมศักดิ์ กลุม่ อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย  กรรมการ สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กโทรนิกส์ (EEI) กระทรวงอุตสาหกรรม  กรรมการ ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC) กระทรวงวิทยาศาสตร์  นายกสมาคมกิตติมศักดิ์ สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์และ โทรคมนาคมไทย (TETA)  กรรมการ บจ. โชคอุดมพร็ อพเพอร์ ตี ้  กรรมการ บจ. ทรัพย์อดุ มพร็ อพเพอร์ ตี ้  กรรมการ บจ. เมฆฟ้า ดิเวลลอปเมนท์  กรรมการ บจ. วิปเทล  กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. พรี เมียร์ มาร์ เก็ตติ ้ง

รายงานประจําปี 2554 26


รายชื่อบริษัทในกลุ่มบริษัทพรีเมียร์ บจ. พรี เมียร์ ฟิ ชชัน่ แคปปิ ตอล

(PFC)

บจ. พรี เมียร์ รี สอร์ทส์ แอนด์โฮเทลส์

(PRH)

บมจ. พรี เมียร์ เอ็นเตอร์ไพรซ์ บจ. พรี เมียร์ แคปปิ ตอล (2000)

(PE)

บจ. รายาเฮอริ เทจ

(RYH) (SHR)

บจ. พรี เมียร์ อินเตอร์ ลิซซิ่ ง

(PC2000) บจ. ซี แฮริ เออร์ (PIL) บจ. เสรี พรี เมียร์

บจ. พรี เมียร์โบรคเคอร์เรจ

(PB)

บจ. หมู่บา้ นเสรี

(MS)

บจ. พรี เมียร์ แอลเอ็มเอส

(PLMS)

บจ. พรี เมียร์ ทีดีโอ

(PTDO)

บมจ. พรี เมียร์ มาร์เก็ตติ้ง

(PM)

บจ. เสรี แอสเซ็ทส์

(SA)

บจ. พรี เมียร์ แคนนิ่ง อินดัสตรี้

(PCI)

บจ. พรี เมียร์ โกลเบิล แคปปิ ตอล

(PGCAP)

บจ. พรี เมียร์ โฟรเซ่น โพรดักส์

(PFP)

บจ. พรี เมียร์ แคปปิ ตอล

(PC)

บจ. พี.เอม.ฟูด

(PMF)

บจ. สาระสุ ข

(SRS)

บจ. พรี เมียร์ มอเตอร์

(PMC)

บจ. ศูนย์พรี เมียร์สุขมุ วิท

(PSC)

บจ. พรี เมียร์ โพรดักส์

(PP)

บจ. พรี เมียร์ แพลนเนอร์

(Planner)

บจ. พรี เมียร์ แมนูแฟคเจอริ่ ง

(PMN)

บจ. พรี เมียร์ เมโทรบัส

(PMB)

บจ. พรี เมียร์ โฮม แอพพลายแอนซ์

(PHA)

บจ. พรี เมียร์ เพ็ท โพรดักส์

(PPP)

บจ. อิมพีเรี ยล อีเกิ้ล

(IME)

บจ. เสรี พร็ อพเพอร์ต้ ี โฮลดิ้ง

(SPH)

บจ. พรี เมียร์ อัลเทอร์เนทีฟ มอเตอร์ส

(PAM)

บจ. พรี เมียร์ อินฟิ นิท กรี น

(IGC)

รายงานประจําปี 2554 27

(SP)


2.2

การสรรหากรรมการและผู้บริหาร

บริ ษัทยังไม่มีการแต่งตังคณะกรรมการสรรหา ้ การคัดเลือกบุคคลที่จะแต่งตังเป็ ้ นกรรมการ คณะกรรมการผู้ไม่มีส่วนได้ เสียจะเป็ นผู้สรรหาและพิจารณาคัดเลือกผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสม นําเสนอต่อ คณะกรรมการบริ ษัทเพื่อให้ ความเห็นชอบ และเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อลงมติแต่งตังเป็ ้ นกรรมการบริ ษัท ต่อไป โดยผู้ที่ได้ รับการแต่งตังเป็ ้ นกรรมการต้ องได้ รับคะแนนเสียงเห็นชอบเกินกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนเสียง ทังหมดของผู ้ ้ ถือหุ้นซึง่ มาประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง 2.3

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริ หาร 2.3.1 ค่าตอบแทนที่เป็ นตัวเงิน

(1)

กรรมการ บริ ษั ท มี น โยบายจ่ า ยค่ า ตอบแทนให้ เฉพาะกรรมการที่ มิ ไ ด้ มี ส่ ว นร่ ว มในการ บริ หารงานประจํา โดยในปี 2554 มีการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการในรูปของค่าเบี ้ยประชุมและค่าบําเหน็จ ดังนี ้ 1) บริ ษัท พรี เมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) ชื่อ-สกุล ตําแหน่ ง

เบีย้ ประชุม (บาท) คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริษัท ตรวจสอบ

1. นายอุดม ชาติยานนท์ กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายขัติยา ไกรกาญจน์ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ 3. นายสุชาย วัฒนตฤณากุล กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ 4. นายปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ กรรมการอิสระ

บําเหน็จ กรรมการ (บาท)

ค่ าตอบแทน รวม

81,000

88,000

140,000

309,000

67,000

66,000

140,000

273,000

81,000

66,000

140,000

287,000

81,000

-

140,000

221,000 1,090,000

รวม หมายเหตุ : กรรมการ 4 ท่านที่ไม่ขอรับค่าตอบแทนในฐานะกรรมการบริษัท 1. นายวิเชียร พงศธร (ประธานกรรมการ) 2. นายวิวฒ ั น์ พงศธร (ลาออกจากการเป็ นกรรมการเมื่อวันที่ 30 มิถนุ ายน 2554) 3. นางดวงทิพย์ เอี่ยมรุ่งโรจน์ 4. นายสุรเดช บุณยวัฒน

2) บริ ษัท ดาต้ าโปร คอมพิวเตอร์ ซิสเต็มส์ จํากัด : บริ ษัทย่อย -ไม่มี-

รายงานประจําปี 2554 28


(2)

ผู้บริ หาร 1) บริ ษัท พรี เมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) -ไม่มี2) บริ ษัท ดาต้ าโปร คอมพิวเตอร์ ซิสเต็มส์ จํากัด: บริ ษัทย่อย ค่าตอบแทนผู้บริ หารในรูปเงินเดือน โบนัส และเงินสมทบกองทุนสํารอง เลี ้ยงชีพ รวม 10 ท่านคิดเป็ นเงินจํานวน 23.20 ล้ านบาท 2.3.2

ค่าตอบแทนอื่น - ไม่มี –

2.4

การกํากับดูแลกิจการ

(1)

นโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี

คณะกรรมการบริ ษัทให้ ความสําคัญในการกํากับดูแลกิจการที่ดี โดยเชื่อมัน่ ว่ากระบวนการกํากับดูแล กิจการที่ดีและการบริ หารจัดการในกรอบของการมีจริ ยธรรมที่ดี มีความโปร่ งใส สามารถตรวจสอบได้ และ เป็ นธรรมกับผู้ที่เกี่ยวข้ องทุกฝ่ ายจะช่วยส่งเสริ มให้ บริ ษัทเติบโตอย่างมัน่ คงและยัง่ ยืน เพิ่มความเชื่อมัน่ ให้ แก่ผ้ ู ถือหุ้น ผู้ลงทุนและผู้ที่เกี่ยวข้ องทุกฝ่ าย คณะกรรมการบริ ษัทจึงกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีเป็ น ลายลักษณ์อกั ษร เพื่อยึดถือเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ดิ งั นี ้ 1. ให้ ความสําคัญต่อสิทธิพื ้นฐานต่างๆ ของผู้ถือหุ้น ไม่กระทําการใดๆ อันเป็ นการละเมิดหรื อริ ดรอน สิทธิของผู้ถือหุ้น 2. สนับสนุนให้ มีการปฏิบตั ติ อ่ ผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและเป็ นธรรม มีการกําหนดระเบียบ ปฏิบัติการใช้ ข้อมูลภายในให้ กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานถื อปฏิบัติ เพื่อป้องกันการใช้ ข้อมูลภายในหา ผลประโยชน์ให้ แก่ตนเองหรื อผู้อื่นในทางมิชอบ 3. ปฏิบตั ิต่อผู้มีส่วนได้ เสียแต่ละกลุ่ม โดยคํานึงถึงสิทธิ ของผู้มีส่วนได้ เสียตามกฎหมาย หรื อตาม ข้ อตกลงกับบริ ษัท มีการกํ าหนดนโยบายด้ านการดูแลสิ่งแวดล้ อมและสังคม และจรรยาบรรณธุรกิจ เพื่อให้ ผู้บริ หารและพนักงานยึดถือและนําไปปฏิบตั ิ 4. มีการเปิ ดเผยสารสนเทศที่เกี่ ยวข้ องกับบริ ษัท ทัง้ ข้ อมูลทางการเงินและข้ อมูลที่มิใช่ข้อมูลทาง การเงินอย่างถูกต้ อง ครบถ้ วน ทันเวลา ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อให้ ผ้ ถู ือหุ้นเข้ าถึงข้ อมูลอย่างเท่าเทียมกัน 5. จัดให้ มีระบบการควบคุมภายใน การบริ หารความเสี่ยง และการตรวจสอบภายในที่เหมาะสม และมีประสิทธิผล

รายงานประจําปี 2554 29


6. จัดโครงสร้ างคณะกรรมการให้ มีความเหมาะสม และมี ความเป็ นอิสระ มีการแบ่งแยกหน้ าที่ ความรั บผิดชอบระหว่างคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดย่อย และฝ่ ายจัดการที่ชัดเจน โดยคณะกรรมการ บริ ษัททําหน้ าที่ในการพิจารณา และให้ ความเห็นชอบในเรื่ องที่สําคัญเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริ ษัท รวมทัง้ กํากับดูแลการให้ ฝ่ายจัดการดําเนินงานตามนโยบายและแผนงาน ขณะที่ฝ่ายจัดการทําหน้ าที่บริ หารงานของ บริ ษัทในด้ านต่างๆ ให้ เป็ นไปตามนโยบายและแผนงานที่กําหนด (2)

การปฏิบตั ติ ามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

บริ ษัทยึดมัน่ ในความสําคัญของการปฏิบตั ิตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีตามที่คณะกรรมการ กําหนดเพื่อความเป็ นธรรมกับผู้เกี่ยวข้ องทุกฝ่ ายพร้ อมกับการให้ บริ การลูกค้ าด้ วยผลิตภัณฑ์และบุคลากรที่มี คุณภาพในระดับสากล โดยได้ จดั ทํารายงานการปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีสอดคล้ องกับหลักการ กํากับดูแลกิจการที่ดีสําหรับบริ ษัทจดทะเบียน ปี 2549 ตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกําหนด ดังนี ้ หมวดที่1 สิทธิของผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริ ษัทได้ กําหนดไว้ ในนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีในการให้ ความสําคัญในสิทธิพื ้นฐานต่าง ๆ ของผู้ถือหุ้น ไม่กระทําการใด ๆ อันเป็ นการละเมิดหรื อริ ดรอนสิทธิของผู้ถือหุ้น โดยสิทธิพื ้นฐานต่างๆ ของผู้ถือหุ้น ซึ่งอยู่ในฐานะของนักลงทุนในหลักทรั พย์ และในฐานะเจ้ าของบริ ษัทประกอบด้ วย สิท ธิ การซื อ้ ขายหรื อ โอน หลักทรัพย์ที่ถืออยู่ สิทธิการมีส่วนแบ่งผลกําไรจากบริ ษัท สิทธิการได้ รับข้ อมูลของบริ ษัทอย่างเพียงพอ และสิทธิการ เข้ าร่ วมประชุม ผู้ถือ หุ้นเพื่ อการแสดงความคิดเห็น การ ร่ วมตัดสินใจในเรื่ องสําคัญของบริ ษัท เช่น การจัดสรรเงิน ปั น ผล การแต่ ง ตัง้ หรื อ ถอดถอนกรรมการ การกํ า หนด ค่ า ตอบแทนกรรมการ การแต่ ง ตั ง้ ผู้ สอบบั ญ ชี แ ละ กําหนดค่าสอบบัญชี การอนุมตั ิธุรกรรมที่สําคัญและมีผล ต่อทิศทางในการดําเนินธุรกิจของบริ ษัท การแก้ ไขหนังสือ บริ คณห์สนธิและข้ อบังคับของบริ ษัท เป็ นต้ น ในการประชุมผู้ถือหุ้นนัน้ บริ ษัทได้ ปฏิบตั ิตาม หลักเกณฑ์ที่กฎหมายกําหนดและข้ อกําหนดที่เกี่ยวข้ อง รวมทัง้ มาตราฐานการกํ ากับดูแลกิ จการที่ดี และมี การ ดําเนิ นการในเรื่ องต่างๆเพื่ อ ส่งเสริ มและอํ า นวยความ สะดวกในการใช้ สิทธิของผู้ถือหุ้นในการประชุมทุกครัง้ สําหรับ ปี 2554 บริ ษัทได้ จดั ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นใน วันที่ 21 เมษายน 2554 ณ อาคารพรี เมียร์ คอร์ ปอเรทปาร์ ค เลขที่ 1 ซอยพรี เมียร์ 2 ถนนศรี นคริ นทร์ บริ ษัทได้

รายงานประจําปี 2554 30


จัดส่งหนังสือนัดประชุม พร้ อมหลักเกณฑ์ วิธีการในการเข้ าร่ วมประชุมหนังสือมอบฉันทะขัน้ ตอนการมอบ ฉันทะ และข้ อมูลประกอบการประชุมตามวาระต่างๆ ซึง่ ในแต่ละวาระมีความเห็นของคณะกรรมการประกอบ อย่างเพียงพอและชัดเจนเพื่อให้ ผ้ ถู ือหุ้นตัดสินใจลงมติได้ ให้ กับบริ ษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งเป็ นนายทะเบียนหุ้นของบริ ษัทเป็ นผู้จดั ส่งให้ กับผู้ถือหุ้น ล่วงหน้ าก่อนวันประชุม 30 วัน และได้ เผยแพร่ ข้อมูลดังกล่าวทังหมดผ่ ้ านเว็บไซต์ของบริ ษัทล่วงหน้ าก่อนวันประชุม 30 วันเช่นกัน ในการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นมีกรรมการเข้ าร่ วมประชุมรวม 8 ท่านจากกรรมการ 8 ท่าน ประกอบด้ วยประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการผู้จดั การ และกรรมการท่านอื่นอีก 5 ท่าน นอกจากนี ้แล้ วยังมีผ้ บู ริ หาร ระดับสูงและผู้สอบบัญชีของบริ ษัทเข้ าร่วมประชุมด้ วย ก่อนวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้น บริ ษัทเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นทุกท่านสามารถส่งคําถาม ข้ อเสนอแนะและ ข้ อคิดเห็นต่างๆได้ ล่วงหน้ าก่อนวันประชุม นอกจากนีใ้ นวันประชุมประธานที่ประชุมได้ เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้น ้ การบันทึกประเด็นคําถาม ซักถามและแสดงความคิดเห็นในวาระต่างๆก่อนการลงมติในแต่ละวาระ รวมทังมี คําตอบ และข้ อคิดเห็นที่สําคัญไว้ ในรายงานการประชุม ส่วนรายงานการประชุมนัน้ บริ ษัทได้ จัดส่งให้ ตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเผยแพร่ ผ่านทางเว็บไซต์ของบริ ษัท ภายใน 14 วันนับจากวันประชุม เพื่อให้ ผ้ ู ถือหุ้นสามารถตรวจสอบได้ ในปี 2554 บริ ษัทได้ รับการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี ในระดับ “ดีเยี่ยม สมควรเป็ นตัวอย่าง” คะแนนเต็ม 100 คะแนน หมวดที่ 2 การปฏิบัตติ ่ อผู้ถือหุ้นอย่ างเท่ าเทียมกัน คณะกรรมการบริ ษัทได้ กํากับดูแลและปกป้องสิทธิขนพื ั ้ ้นฐานอย่างเท่าเทียมกัน ทังเรื ้ ่ องกระบวนการ จัด ประชุม ผู้ถื อ หุ้น และการมี ม าตรการป้ องกัน กรรมการ ผู้บ ริ ห ารและพนัก งานใช้ ข้ อ มูล ภายในเพื่ อ หา ผลประโยชน์ในทางมิชอบและการเปิ ดเผยข้ อมูลเกี่ยวกับส่วนได้ เสียของตนและผู้เกี่ยวข้ องของกรรมการและ ผู้บริ หาร ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2555 บริ ษัทได้ เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นเสนอเรื่ องเพื่อพิจารณา บรรจุเป็ นวาระการประชุม และเสนอชื่อบุคคลเพื่อพิจารณาเลือกตังเป็ ้ นกรรมการเป็ นการล่วงหน้ า ตังแต่ ้ วนั ที่ 10 พฤศจิกายน 2554 ถึงวันที่ 15 มกราคม 2555 ก่อนการประชุม 5 เดือน และได้ แจ้ งให้ ผ้ ถู ือหุ้นทราบผ่าน ตลาดหลักทรั พย์ แห่งประเทศไทย พร้ อมทัง้ เผยแพร่ หลักเกณฑ์ ของเรื่ องดังกล่าวไว้ ในเว็บ ไซต์ ของบริ ษัทที่ www.premier-technology.co.th ในกรณีที่ผ้ ถู ือหุ้นไม่สามารถเข้ าร่วมประชุมด้ วยตนเอง บริ ษัทเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นสามารถมอบฉันทะ ให้ กรรมการอิสระหรื อบุคคลอื่นเข้ าร่วมประชุมและออกเสียงแทนตนได้ โดยใช้ หนังสือมอบฉันทะแบบ ข.ซึง่ เป็ น แบบที่ผ้ ูถือหุ้นสามารถกํ าหนดทิศทางการลงคะแนนเสียงได้ เองในแต่ละวาระที่บริ ษัทได้ จัดส่งไปพร้ อมกับ หนังสือนัดประชุมและได้ เผยแพร่ไว้ ที่เว็บไซต์ของบริ ษัทซึง่ ผู้ถือหุ้นสามารถดาวน์โหลด (Download) ได้

รายงานประจําปี 2554 31


ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2554 ไม่มีการเปลี่ยนแปลงลําดับระเบียบวาระการประชุม หรื อ เพิ่มเติมวาระการประชุมและไม่มีการขอให้ ที่ประชุมพิจารณาเรื่ องอื่ นนอกเหนื อจากที่ระบุไว้ ในหนังสือนัด ประชุม ในเรื่ องการดูแลและการป้องกันการใช้ ข้อมูลภายใน รวมถึงการให้ กรรมการและผู้บริ หารเปิ ดเผยข้ อมูล เกี่ยวกับส่วนได้ เสียของตนและผู้เกี่ยวข้ อง บริ ษัทมีแนวปฏิบตั ิ ดังนี ้ 1) บริ ษัทมีนโยบายเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยของระบบข้ อมูล เพื่อรักษามาตรฐานเกี่ยวกับ ระบบพื น้ ฐานที่ สํ า คัญ ในการสร้ างระบบควบคุม ที่ มี คุณ ภาพสํ า หรั บ ระบบงาน ระบบคอมพิ ว เตอร์ และ ระบบสื่อสารข้ อมูล 2) บริ ษัทจัดทําบันทึกข้ อตกลงการรักษาความลับของบริ ษัทสําหรับพนักงาน ผู้รับจ้ าง ผู้ขายสินค้ า ผู้ ให้ บริ การ รวมทังผู ้ ้ ที่เข้ าเยี่ยมชมกิจการของบริ ษัท เพื่อป้องกันการเปิ ดเผยข้ อมูลหรื อข่าวสารอันเป็ นความลับ ของบริ ษัทและบริ ษัทย่อย 3) คณะกรรมการบริ ษัทได้ กําหนดระเบียบปฏิบัติเรื่ องการใช้ ข้อมูลภายในบริ ษัทเป็ นลายลักษณ์ อักษร เพื่อให้ เกิดความโปร่ งใส ความเสมอภาคและยุติธรรมต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน และป้องกันการ แสวงหาผลประโยชน์ จากการใช้ ข้อมูลภายในที่ยังไม่ได้ เปิ ดเผยต่อสาธารณชน รวมทัง้ หลีกเลี่ยงข้ อครหา เกี่ยวกับความเหมาะสมการซื ้อขายหลักทรัพย์ของบริ ษัท โดยให้ กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานของบริ ษัท ต้ องรักษาความลับและ/หรื อข้ อมูลภายในของบริ ษัท ไม่นําไปเปิ ดเผยหรื อแสวงหาประโยชน์แก่ตนเองหรื อเพื่อ ประโยชน์แก่ผ้ อู ื่น ไม่ว่าทางตรงหรื อทางอ้ อม รวมทังต้ ้ องไม่ทําการซื ้อขายโอนหรื อรับโอนหลักทรัพย์ของบริ ษัท โดยใช้ ความลับและ/หรื อข้ อมูลภายในของบริ ษัท เว้ นเสียแต่ว่าข้ อมูลดังกล่าวได้ เปิ ดเผยต่อสาธารณชนแล้ ว และไม่เข้ าทํานิตกิ รรมอันใดโดยใช้ ความลับและ/หรื อข้ อมูลภายในของบริ ษัทอันอาจก่อให้ เกิดความเสียหายต่อ บริ ษัทไม่ว่าทางตรงหรื อทางอ้ อม และจะต้ องไม่ทําการซื ้อขาย โอนหรื อรับโอน หลักทรัพย์ของบริ ษัทในช่วง ระยะเวลา 1 เดือน ก่อนมีการเปิ ดเผยงบการเงิน และภายใน 2 วันทําการหลังการเปิ ดเผยข้ อมูลดังกล่าวแล้ ว ข้ อกําหนดดังกล่าวนี ้ให้ รวมความถึงคู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะของกรรมการ ผู้บริ หารและพนักงาน ของบริ ษัทด้ วย หากผู้ใดฝ่ าฝื นข้ อกําหนดดังกล่าวจะต้ องถูกลงโทษทางวินัยและ/หรื อตามกฎหมายแล้ วแต่ กรณี 4) บริ ษัทให้ ข้อมูลแก่กรรมการและผู้บริ หารเกี่ยวกับหน้ าที่ที่ผ้ บู ริ หารต้ องรายงานการถือหลักทรัพย์ ของบริ ษัท และบทกําหนดโทษตาม พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และตามข้ อกําหนดของ ตลาดหลักทรั พย์ แห่งประเทศไทย และในกรณี ที่กรรมการหรื อ ผู้บ ริ หารซื อ้ ขายหลักทรั พย์ ของบริ ษัทต้ อ ง รายงานการถือหลักทรัพย์ในบริ ษัทของตนเอง คู่สมรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ ตามมาตรา 59 แห่ง พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ภายใน 3 วันทําการให้ สํานักงาน ก.ล.ต. ทราบเพื่อเผยแพร่ ต่อสาธารณชนต่อไป รวมทังได้ ้ กําหนดให้ มีการรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของบริ ษัทของกรรมการให้ ที่ ประชุมคณะกรรมการทราบทุกครัง้ ด้ วย

รายงานประจําปี 2554 32


5) คณะกรรมการบริ ษัทได้ กําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการรายงานการมีสว่ นได้ เสียของกรรมการ และ ผู้บริ หาร ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่4) พ.ศ. 2551 มาตรา 89/14 และตาม ประกาศคณะกรรมการตลาดทุนที่ ทจ.2/2552 โดยให้ เริ่ มปฏิบตั ติ งแต่ ั ้ วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2552 เป็ นต้ นไป หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้ เสีย บริ ษัทดําเนินธุรกิจภายใต้ วิสัยทัศน์ “ธุรกิจก้ าวหน้ า พนักงานมั่นคง สังคมยั่งยืน” โดยมุ่งที่จะประสบ ความสําเร็ จแบบยัง่ ยืนโดยคํานึงถึงสิทธิ ความถูกต้ อง และความเป็ นธรรมต่อผู้มีส่วนได้ เสียทุกกลุ่ม และเพื่อ เป็ นแนวปฎิบตั ิสําหรับผู้บริ หารและพนักงาน ได้ มีการกําหนดไว้ เป็ นลายลักษณ์อกั ษรเป็ นจรรยาบรรณบริ ษัท ครอบคลุมการปฎิบตั ติ อ่ ผู้มีสว่ นได้ เสียทุกกลุม่ ทังผู ้ ้ ถือหุ้น ลูกค้ า คูค่ ้ า ผู้มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจ พนักงาน และ สังคม อันได้ แก่ ผู้ถือหุ้น : ปฏิบตั หิ น้ าที่ด้วยความซื่อสัตย์ โปร่งใส เป็ นประโยชน์ตอ่ บริ ษัทและผู้ถือหุ้น ลูกค้ า : เอาใจใส่และรับผิดชอบต่อลูกค้ า ผลิตและจัดจําหน่ายสินค้ า/บริ การที่มีคณ ุ ภาพได้ มาตรฐาน มีความปลอดภัย และปฏิบตั ติ ามเงื่อนไขและข้ อตกลงที่มีตอ่ ลูกค้ าอย่าง เคร่งครัด รวมถึงการรักษาความลับของลูกค้ า : ดําเนินธุรกิจต่อกันด้ วยความยุตธิ รรม ไม่เอารัดเอาเปรี ยบ เคารพและปฏิบตั ติ าม คูค่ ้ า เงื่อนไขสัญญาที่กําหนดไว้ คูแ่ ข่ง : แข่งขันทางการค้ าภายใต้ กรอบกติกาของการแข่งขันที่ดี และสุจริ ต พนักงาน : ปฏิบตั กิ บั พนักงานอย่างเท่าเทียมและเป็ นธรรม ทังในด้ ้ านโอกาส การพัฒนา ความรู้ ศักยภาพ การดูแลสุขอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดล้ อมในการ ทํางาน รวมทังค่ ้ าตอบแทนและสวัสดิการของพนักงาน สังคม : มีสว่ นร่วมในการยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดี สร้ างสังคมที่อยูร่ ่วมกันอย่างมีความสุข พัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม รักษาวัฒนธรรมที่ดีงาม ดูแลรักษาสิง่ แวดล้ อม บริ ษัทมีการกําหนดจรรยาบรรณ และนโยบายเพื่อให้ พนักงานถือปฏิบตั ิ เช่นนโยบายด้ านสิ่งแวดล้ อม และสังคม การห้ ามพนักงานละเมิดทรัพย์สนิ ทางปั ญญา ห้ ามนําซอฟแวร์ ที่ผิดกฎหมายมาใช้ การให้ ความเสมอ ภาคในเรื่ องการจ้ างงาน การไม่เกี่ยวข้ องกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน การต่อต้ านการทุจริ ต การห้ ามจ่ายสินบน เพื่อประโยชน์ทางธุรกิจของบริ ษัท และการให้ พนักงานเอาใจใส่และปฏิบตั ิงานด้ วยจิตสํานึกถึงความปลอดภัย และคํ า นึง ถึ ง สิ่ ง แวดล้ อ มด้ ว ย ดัง รายละเอี ย ดปรากฏในเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ที่ www.premier-technology.co.th บริ ษัทตระหนักดีว่าการสนับสนุนและการเสนอข้ อคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ เสียทุกกลุ่มจะเป็ นประโยชน์ ในการดําเนินงานและการพัฒนาธุรกิจของบริ ษัท บริ ษัทได้ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายและข้ อกําหนดที่เกี่ยวข้ องเพื่อให้ สิทธิของผู้มีสว่ นได้ เสี ย ดัง กล่ า วได้ รั บ การดูแ ลเป็ นอย่ า งดี บริ ษั ท ได้ มี ก ารรายงานเกี่ ย วกับ การ

รายงานประจําปี 2554 33


ดําเนินงานของบริ ษัทที่ผ้ มู ีส่วนได้ เสียควรทราบ ทังในรายงานประจํ ้ าปี และในเว็บไซต์ของบริ ษัท และหากมี ประเด็นที่เกี่ยวข้ องกับการทําผิดกฏหมาย ความถูกต้ องของรายงานทางการเงิน ระบบควบคุมภายในหรื อการ กระทําผิดจรรยาบรรณ ผู้มีส่วนได้ เสียสามารถติดต่อคณะกรรมการบริ ษัทได้ ทางโทรสารหมายเลข 0-23011020 หรื อที่ อีเมล ircontact@premier-technology.co.th นอกจากนี ้แล้ ว บริ ษัทได้ มีการพัฒนากลไกการมีสว่ นร่ วม ของผู้มีส่วนได้ เสียในการสร้ างเสริ มผลการดําเนินงานของบริ ษัท ประกอบด้ วย 1) การให้ ข้อมูลข่าวสารของการบริ การและผลิตภัณฑ์ที่ เป็ นปั จจุบนั รวมทังการให้ ้ การฝึ กอบรมแก่ลกู ค้ าอย่างสมํ่าเสมอ 2) การสร้ างความสัม พัน ธ์ ที่ ดี ร ะหว่ า งพนัก งานของ บริ ษัทและผู้มีส่วนได้ เสียโดยผ่านกิ จกรรม สโมสรพนักงาน เช่น การเล่นกีฬาร่วมกัน การมีกิจกรรมเพื่อประโยชน์ของสังคมร่วมกัน เป็ นต้ น 3) การสร้ างโปรแกรมพันธมิตรธุรกิจ (Partnership Program) ในรูปแบบต่างๆ ระหว่างบริ ษัทและผู้ มีสว่ นได้ เสียเพื่อเสริ มสร้ างธุรกิจร่วมกัน กิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้ อม บริ ษัทให้ ความสําคัญในการดําเนินการด้ านสิ่งแวดล้ อมและสังคม ด้ วยการดําเนินธุรกิจและจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตลอดระยะเวลา 25 ปี โดยใช้ แนวนโยบายเรื่ องคุณค่าหลักของกลุม่ บริ ษัทพรี เมียร์ ซึง่ มีเป้าหมายหลักคือ “ธุรกิจ ก้ าวหน้ า พนักงานมัน่ คง สังคมยัง่ ยืน” ซึ่งสอดคล้ องกับหลักการและหัวข้ อหลักของ มอก. 26000 (มาตรฐาน ความรับผิดชอบต่อสังคม ที่สนับสนุนการขับเคลื่อนความรับผิดชอบต่อสังคมจากเจตนาที่ดี (Good intentions) ไปสูก่ ารกระทําที่ดี (Good actions) ดังนี ้ การปฏิบัตดิ ้ านแรงงาน 

จัด ให้ มี ค ณะกรรมการสวัส ดิ ก ารในสถานประกอบ กิจการ ตามมาตรา 96 แห่งพรบ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มี สวัสดิการสําหรั บพนักงานทุกระดับ ชัน้ ที่ เป็ น มาตรฐาน อาทิ การตรวจสุข ภาพประจํ า ปี การทํ า ประกันสุขภาพประจําปี เป็ นต้ น

การจัดกิจกรรมพนักงานสัมพันธ์เป็ นประจําทุกปี สําหรับ พนัก งานทุก ระดับ ชัน้ อาทิ งานกี ฬ าสี กิ จ กรรมการ

รายงานประจําปี 2554 34


ส่งเสริ มด้ านสุขภาพ งานเลี ้ยงปี ใหม่ประจําปี หลักสูตรทางดนตรี พื ้นฐาน เป็ นต้ น 

การจัดตังคณะกรรมการความปลอดภั ้ ย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการทํางานของสถาน ประกอบกิจการของบริ ษัทที่ได้ รับการอบรมตามข้ อกฎหมายที่ได้ รับการรับรองจากกรมสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

การให้ ความช่วยเหลือด้ านที่พกั อาศัยชัว่ คราวให้ กบั พนักงานที่ได้ รับผลกระทบจากอุทกภัย

ด้ านสิ่งแวดล้ อม 

 

บริ ษัทให้ บริ การดาต้ าเซ็นเตอร์ ประหยัดพลังงาน หรื อ “กรี นดาต้ าเซ็นเตอร์ ” ที่ผ่านการวิเคราะห์ โดยผู้เชี่ยวชาญด้ านวิศวกรรมเพื่อออกแบบให้ มีอตั ราของประสิทธิภาพด้ านการใช้ พลังงานที่ค่า PUE ตํ่ากว่า 1.7 ซึ่งถือว่ามีประสิทธิ ภาพสูง เลือกใช้ เทคโนโลยีประหยัดพลังงาน ที่สามารถ ประหยัดพลังงานได้ กว่า 30% เมื่อเทียบกับระบบที่ใช้ อยู่ทวั่ ไป ช่วยให้ องค์กรธุรกิจสามารถลด ต้ นทุนทางธุรกิจได้ ในระยะยาว • ระบบควมคุมความเย็นสมรรถนะสูงสําหรับดาต้ าเซ็นเตอร์ แบบ In-row cooling ที่ สามารถปรับสมรรถนะการทําความเย็น ให้ สมั พันธ์กบั อุณหภูมิของกลุม่ เครื่ องเซิร์ฟเวอร์ ที่ ้ ่ องเซิร์ฟเวอร์ ได้ เต็มความจุของแร็ ค บน ติดตังอยู ้ ่ได้ อย่างแม่นยํา ทําให้ สามารถติดตังเครื พื ้นที่ที่ลดลงเมื่อเทียบกับการจัดวาง Server ใน Data Center ทัว่ ๆ ไป • Hot-aisle containment เป็ นพื ้นที่ที่ถูกออกแบบมาเพื่อการจัดการกับความร้ อนจาก Server และ อุปกรณ์ภายใน Data Center โดยเฉพาะ ทําให้ ระบบทําความเย็นของดาต้ า เซ็ น เตอร์ ไม่ ต้ องใช้ กํ า ลัง ไฟฟ้ าเพื่ อ การปรั บ อุ ณ ภู มิ ใ นบริ เ วณกว้ าง และช่ ว ยเพิ่ ม ประสิทธิภาพในการทําความเย็นให้ สงู ขึ ้น • ระบบการจ่ายและสํารองกระแสไฟฟ้าให้ กบั Data Center ให้ สามารถให้ บริ การได้ อย่างมี เสถียรภาพสูงสุดตลอด 24 ชัว่ โมง ด้ วยระบบควบคุมการจ่ายไฟฟ้าใน Data Center แบบ ้ ่ องกําเนิดไฟฟ้า และระบบสํารอง อัตโนมัติจาก Main Distribution Board พร้ อมทังเครื ไฟฟ้า หรื อ UPS ประสิทธิภาพสูงเพื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าให้ กบั อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ใน Data Centerในกรณีไฟฟ้าดับ การใช้ ระบบงานเพื่อการเรี ยกดูเอกสารและข้ อมูลร่ วมกัน สามารถลดการใช้ ปริ มาณกระดาษใน องค์กรได้ เพิ่มมากขึ ้น การใช้ ระบบงาน Digital Broadcasting ภายในองค์กร เพื่อการเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารให้ กับ พนักงานในองค์กรทังที ้ ่สํานักงานใหญ่และสาขา แทนการใช้ เอกสารติดบอร์ ด สามารถลดการใช้ กระดาษได้ จํานวนมาก

รายงานประจําปี 2554 35


 

จัดกิจกรรมขุดโป่ งเทียมให้ กบั พนักงานของบริ ษัทและครอบครัวจํานวน 100 คน ที่เขตรักษาพันธุ์ สัตว์ป่าเขาอ่างฤๅไน อําเภอ สนามชัยเขต จังหวัด ฉะเชิงเทรา สนับสนุนเงินทุนให้ กับศูนย์ อนุรักษ์ ป่าชายเลนคลองโคน เพื่อการกิจกรรมการปลูกป่ าชายเลน ให้ กบั นักเรี ยน ที่อําเภอคลองโคน จังหวัดสมุทรสงคราม

ความรั บผิดชอบต่ อผู้บริโภค  

ดําเนินธุรกิจด้ วยหลักการที่จะนําเสนอสินค้ าที่บริ ษัท มีความสามารถที่จะให้ บริ การหลังการขาย ได้ อย่างต่อเนื่องเท่านันทํ ้ าให้ ผ้ บู ริ โภคไม่มีภาระในการหาผู้ให้ บริ การหลังการขาย มีการบริ หารงานบริ การที่ได้ รับการรับการรับรองตามมาตรฐานสากล ISO/IEC 20000 ด้ านการ ให้ บริ การทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ISO 27001 ด้ านความปลอดภัยของข้ อมูลจาก บริ ษัท บู โร เวอริ ทสั เซอทิฟิเคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด ครอบคลุมบริ การ Disaster Recovery, Data Center Hosting Services และ Service Desk Support จัดให้ มีการร่ วมจัดกิจกรรมกับบริ ษัทคู่ค้าและสถาบันการศึกษาอย่างสมํ่าเสมอ โดยมุ่งเน้ นเรื่ อง การให้ ข้อมูลข่าวสารและความรู้ที่เป็ นประโยชน์ให้ กบั บุคคลทัว่ ไป อาทิ  20 มกราคม 2554 ร่ วมกับ บริ ษัท ไมโครซอฟท์ ประเทศไทย จํากัด ในการจัดงานสัมมนา Microsoft BI Workshop for Commercial Business ให้ กบั ผู้ประกอบการธุรกิจการค้ า ปลีก เพื่อให้ ข้อมูลเกี่ยวกับการนําระบบงานวิเคราะห์ข้อมูล หรื อ Business Intelligence ไปใช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ สูง สุด ให้ ผ้ ูใ ช้ ง านสามารถเข้ า ถึ ง และวิ เ คราะห์ ข้ อ มูล ได้ จ าก เครื่ องมือที่หลากหลายจากฐานข้ อมูลขององค์กร  9 มีนาคม 2554 ร่ วมให้ ข้อมูลเกี่ยวกับแนวโน้ มของการระบบงานบริ หารทรัพยากรบุคคล แก่ผ้ ปู ระกอบการในนิคมอุตสาหกรรมเหมราช  9 มีนาคม 2554 จัดงานสัมมนาเรื่ อง Human Capital Management ให้ กบ ั หน่วยงาน บริ หารงานทรัพยากรบุคคลของลูกค้ าทัว่ ไป  25 เมษายน 2554 ร่ วมกับนิคมอุตสาหกรรมเหมราช จัดงานสัมมนาเรื่ อง “สมดุลย์ใหม่ ของงาน HR” ให้ กบั ผู้ประกอบการในกลุม่ นิคมอุตสาหกรรมเหมราช  11 พฤษภาคม 2554 ร่ ว มสนับ สนุน บริ ษั ท ไอบี เอ็ มประเทศไทย จํ า กัด ในการจัดงาน IBM Technology Conference & Expo 2011 ให้ กบั องค์กรธุรกิจทัว่ ไปที่สนใจใน เทคโนโลยีสารสนเทศ  26 พฤษภาคม 2554 ร่ วมกับ บริ ษัท เลอโนโว ประเทศไทย จํากัด ในการจัดงานสัมมนา Modernize Your SMB Marketing Tactic ให้ กบั ผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดย่ อ ม เพื่ อ ให้ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การนํ า ระบบงานลูก ค้ า สัม พัน ธ์ หรื อ Customer Relationship Management ไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์สงู สุด ให้ ผ้ ใู ช้ งานสามารถเข้ าถึงและ

รายงานประจําปี 2554 36


วิเคราะห์ข้อมูลได้ จากเครื่ องมือที่หลากหลาย และร่ วมบรรยายในหัวข้ อ “ Anywhere, anytime CRM on the Think” 29 มิถนุ ายน 2554 ร่ วมสนับสนุนกับบริ ษัท ไซแมนเทค (ประเทศไทย) จํากัด ในการจัด งานสัมมนา Symantec is SMB ที่จดั ให้ กบั องค์กรธุรกิจทัว่ ไป เพื่อให้ ข้อมูลเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ใหม่ 6 กรกฎาคม 2554 ร่ ว มกับ บริ ษั ท ฮิ ว เลตต์ -แพคการ์ ด (ประเทศไทย) จํ า กัด จัด งาน สัมมนา DRC opens to Yours ให้ กบั ลูกค้ า เพื่อให้ ข้อมูลเกี่ยวกับการบริ หารศูนย์สํารอง ข้ อมูลฉุกเฉิน 11-12 กรกฎาคม 2554 ร่วมสนับสนุนงบประมาณและการให้ บริ การในการจัดงานสัมนา ทางวิชาการระดับนานาชาติ MOPH – TITC Health Care International Forum กับ คณะแพทย์ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลัย มหิ ด ล และกระทรวงสาธารณะสุข ด้ ว ยการติด ตัง้ อุปกรณ์และเทคโนโลยีเพื่อการถ่ายทอดภาพและเสียงผ่านสัญญาณอินเตอร์ เน็ตบรอร์ ด แบนด์ในงาน 3 สิงหาคม 2554 จัดให้ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา นําคณะครูและอาจารย์ เข้ าเยี่ยมชมศูนย์ คอมพิวเตอร์ และรั บฟั งการบรรยายเกี่ ยวกับการบริ หารจัดการศูนย์ คอมพิวเตอร์ และศูนย์สํารองข้ อมูลฉุกเฉิน 21 กันยายน 2554 ร่ วมสนับสนุนบริ ษัท ดิแอสไปเรอร์ สกรุ๊ ป จํ ากัด ด้ วยการให้ ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับเทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ ้ง ในหัวข้ อ “Step out from all concerns to the confident success in Cloud Computing” 12 ตุลาคม 2554 ร่ วมสนับสนุนการจัดงาน itSMF Thailand Chapter, 5th Annual Conference เพื่ อให้ ข้อมูลข่าวสารเกี่ ยวกับมาตรฐานการบริ หารงานบริ การด้ าน เทคโนโลยีสารสนเทศให้ กับองค์กรที่ต้องการพัฒนาขีดความสามารถในการให้ บริ การ ทางด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศให้ เป็ นที่ยอมรับในระดับสากล

การพัฒนาสังคม 

14 มิถนุ ายน 2554 บริ จาคเงิน 1,000,000 บาท ให้ กบั มูลนิธิรามาธิบดี เพื่อการจัดหาเครื่ องมือแพทย์ ให้ กั บ ศู น ย์ ก ารแพทย์ อ าคารสมเด็ จ พระเทพรั ต น์ โรงพยาบาลรามาธิบดี 26 กันยายน – 1 ตุลาคม 2554 บริ ษัทย่อยร่ วม สนับสนุนโครงการทบทวนความรู้ สู่มหาวิทยาลัยกับ มาม่า ด้ วยการมอบบริ การถ่ายทอดสดสัญญาณภาพ และเสียงผ่านอินเตอร์ เน็ตบรอดแบนด์ไปยังโรงเรี ยนที่เข้ าร่ วมโครงการ จํานวน 408 โรงเรี ยนทัว่

รายงานประจําปี 2554 37


 

 

ประเทศ ไทย ทังนี ้ ้บริ ษัทฯ ตระหนักถึงประโยชน์ที่เยาวชนทัว่ ประเทศจะ ได้ มี ค วามเท่ า เที ย มทางการศึก ษาในทุก ภาคส่ว นของประเทศ ให้ มี โอกาสเรี ยนกับอาจารย์ที่มีชื่อเสียง และยังสามารถเรี ยกดูย้อนหลังเพื่อ การทบทวนได้ ตลอดเวลาผ่านคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์มือถือที่รองรับ โดยข้ อมูลทังหมดจะเก็ ้ บไว้ ที่ Green Data Center ของบริ ษัท เป็ นเวลา 1 ปี โครงการการรับนักศึกษาฝึ กงานจากสถาบันการศึกษาไทย อาทิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธัญบุรี เป็ นต้ น การสนับสนุนกิจกรรมเพื่อการพัฒนาการศึกษาและคุณภาพชีวิตของมูลนิธิยวุ พัฒน์ - การบริ จาคเงิน 5% ของกําไรสุทธิของบริ ษัทย่อยให้ กบั มูลนิธิเป็ นประจําทุกปี - การสนับสนุนผลิตภัณฑ์ที่มลู นิธิฯจัดจําหน่าย เพื่อนํามาเป็ นของที่ระลึกให้ กบั ลูกค้ าใน โอกาสต่าง ๆ อาทิ เป็ นของที่ระลึกในงานสัมมนา เป็ นของขวัญในเทศกาลพิเศษ เป็ นต้ น ร่ วมบริ จาคเงินสมทบ จํานวน 50,000 บาทเพื่อการฟื น้ ฟูผ้ ูประสบอุทกภัย ให้ กับ บริ ษัท เนชั่น บรอดแคสติ ้ง คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด(มหาชน) การรวมตัวของพนักงานที่มีจิตอาสา ในการร่วมบริ จาคเงินสมทบเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย

หมวดที่ 4 การเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่ งใส คณะกรรมการบริ ษัทให้ ความสําคัญต่อการเปิ ดเผยข้ อมูลที่ มีความถูกต้ อง ครบถ้ วน ทันเวลา และ โปร่ งใส ทังรายงานทางการเงิ ้ นและรายงานที่ไม่ใช่ทางการเงิน ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดโดยสํานักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลอดจนข้ อมูลอื่นที่สําคัญที่มีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริ ษัท ซึ่งล้ วนมี ผลต่อกระบวนการตัดสินใจของผู้ลงทุนและผู้มีส่วนได้ เสียของบริ ษัท โดยบริ ษัทได้ เผยแพร่ ข้อมูล สารสนเทศของบริ ษัทต่อผู้ถือหุ้น นักลงทุน และสาธารณชนผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเว็บไซต์ของบริ ษัททังภาษาไทยและภาษาอั ้ งกฤษ และมีการปรับปรุงข้ อมูลให้ เป็ นปั จจุบนั อย่างสมํ่าเสมอ คณะกรรมการบริ ษัทเป็ นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริ ษัทและบริ ษัทย่อ ย และสารสนเทศ ทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจําปี งบการเงินดังกล่าวจัดทําขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป ได้ รับการรั บรองโดยไม่มีเงื่อนไขจากผู้สอบบัญชีที่มีความเป็ นอิสระ มีคุณสมบัติที่ได้ รับการยอมรั บและเป็ น ผู้สอบบัญชีที่ได้ รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ก.ล.ต. เลือกใช้ นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบตั ิอย่าง สมํ่ าเสมอ รวมทัง้ มี การเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างเพียงพอในงบการเงิน โดยในรายงานประจํ าปี มี รายงานความ รับผิดชอบของคณะกรรมการคูก่ บั รายงานของผู้สอบบัญชี ในส่วนของงานด้ านผู้ลงทุนสัมพันธ์ นัน้ บริ ษัทยังไม่ได้ มีการจัดตังหน่ ้ วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ แต่ได้ มอบหมายให้ มีบุคคลทําหน้ าที่นักลงทุนสัมพันธ์ โดยเฉพาะ โดยผู้ลงทุนสามารถติดต่อได้ ที่หมายเลขโทรศัพท์ 0-2301-1585 หรื อที่ อีเมล ircontact@premier-technology.co.th

รายงานประจําปี 2554 38


หมวดที่ 5 ความรั บผิดชอบของคณะกรรมการ 1.

โครงสร้ างคณะกรรมการ คณะกรรมการของบริ ษัทประกอบด้ วยบุคคลซึ่งมีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ที่สามารถเอื ้อ ประโยชน์ ต่อการดําเนิ นธุรกิ จ ให้ กับ บริ ษัท โดยเป็ นผู้กําหนดนโยบาย กลยุทธ์ เป้าหมาย แผนงานและ งบประมาณของบริ ษัท ตลอดจนกํากับดูแล ติดตามผลการปฏิบตั งิ านของฝ่ ายบริ หารให้ เป็ นไปตามแผนที่วางไว้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการบริ ษัทมีจํานวน 7 ท่านประกอบด้ วย กรรมการบริ ษัทที่เป็ น ผู้บริ หารจํานวน 3 ท่าน และกรรมการอิสระจํานวน 4 ท่าน จํานวนกรรมการอิสระคิดเป็ นร้ อยละ 57 มากกว่า 1/3 ของจํานวนกรรมการทังคณะ ้ ซึง่ สูงกว่าหลักเกณฑ์ที่สํานักงาน ก.ล.ต.กําหนด เป็ นการถ่วงดุลในการพิจารณา เรื่ องต่าง ๆ กรรมการบริ ษัททัง้ 8 ท่านดํารงตําแหน่งกรรมการบริ ษัทจดทะเบียนไม่เกิน 4 บริ ษัท คณะกรรมการของบริ ษัทได้ มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการชุดย่อ ย ได้ แก่คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่ง ประกอบด้ วยกรรมการอิสระจํานวน 3 ท่าน มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละ 3 ปี โดยมีการกําหนดขอบเขต อํานาจหน้ าที่ไว้ อย่างชัดเจน ดังรายละเอียดในข้ อ 2.1.2 หน้ า 17-18 และมีคณ ุ สมบัติตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนด การทําหน้ าที่ของคณะกรรมการบริ ษัทและผู้บริ หารของบริ ษัทแบ่งแยกอย่างชัดเจน ประธานกรรมการ ของบริ ษั ท ซึ่ง เป็ นกรรมการคนหนึ่ง มี อํ า นาจหน้ า ที่ เ พิ่ม เติม จากกรรมการท่า นอื่ น ในการเป็ นผู้เรี ย กประชุม คณะกรรมการ เป็ นประธานในที่ประชุมคณะกรรมการ เป็ นผู้ออกเสียงเพิ่มขึ ้นอีกหนึ่งเสียงเป็ นเสียงชี ้ขาดถ้ า คะแนนเสียงเท่ากัน และเป็ นประธานในที่ประชุมผู้ถือหุ้น ส่วนกรรมการผู้จดั การมีอํานาจหน้ าที่บริ หารงานใน ด้ านต่างๆให้ สําเร็ จลุล่วงไปด้ วยดี โดยประธานคณะกรรมการและกรรมการผู้จดั การของบริ ษัทเป็ นบุคคลคนละ คนกัน จึงทําให้ คณะกรรมการทําหน้ าที่ตรวจสอบ ถ่วงดุลการทํางานของฝ่ ายบริ หารได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนการปฏิบตั หิ น้ าที่ในฐานะกรรมการของบริ ษัทอื่นนัน้ บริ ษัทได้ ทําการเปิ ดเผยข้ อมูลการดํารงตําแหน่ง ของกรรมการแต่ละท่านในแบบแสดงรายการข้ อมูลประจําปี (แบบ 56-1) และ รายงานประจําปี ให้ ผ้ ถู ือหุ้นทราบ เป็ นประจําทุกปี ตลอดมา และบริ ษัทมิได้ มีการจํากัดจํานวนบริ ษัทที่กรรมการแต่ละท่านจะไปดํารงตําแหน่งขึ ้นกับ ดุลยพินิจและศักยภาพของแต่ละท่านซึ่งอาจมากน้ อยได้ ไม่เท่ากัน ส่วนกรรมการผู้จดั การและผู้บริ หารระดับสูง นันบริ ้ ษัทได้ กําหนดนโยบายและวิธีปฏิบตั ใิ นการไปดํารงตําแหน่งกรรมการบริ ษัทอื่นไว้ อย่างชัดเจน คณะกรรมการบริ ษัทได้ แต่งตังเลขานุ ้ การบริ ษัท เพื่อทําหน้ าที่จดั การเรื่ องการประชุมคณะกรรมการ บริ ษัท และการประชุมผู้ถือหุ้น จัดทํารายงานการประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น รายงาน ประจําปี ตลอดจนจัดเก็บเอกสารตามที่กฎหมายกําหนด รวมทังสนั ้ บสนุนการทํางานของคณะกรรมการบริ ษัทที่ เกี่ยวข้ องกับข้ อกําหนดตามกฎหมายและระเบียบปฏิบตั ติ า่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้ อง

รายงานประจําปี 2554 39


2.

บทบาท หน้ าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษัททําหน้ าที่พิจารณาและให้ ความเห็นชอบในเรื่ องที่สําคัญเกี่ยวกับการดําเนินงานของ บริ ษัทประกอบด้ วย นโยบาย วิสยั ทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ ความเสี่ยง แผนงาน และงบประมาณ รวมทังกํ ้ ากับ ดูแลให้ ฝ่ายจัดการดําเนินงานตามนโยบายที่กําหนดไว้ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล นโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการได้ ทําการทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี และจัดทําเป็ นลายลักษณ์อกั ษรดังรายละเอียดในข้ อ 2.4 (1) หน้ าที่ 29 และแสดงในเว็บไซต์ของบริ ษัทด้ วย เพื่อ การมี ระบบบริ หารที่มีประสิทธิ ภาพ โปร่ งใส ตรวจสอบได้ และสร้ างความเชื่ อมั่นต่อผู้เกี่ ยวข้ องทุกฝ่ าย และ กําหนดแนวทางให้ มีการทบทวนนโยบายดังกล่าวเป็ นประจําเพื่อให้ สอดคล้ องกับสภาพการณ์ของบริ ษัท จรรยาบรรณธุรกิจ คณะกรรมการได้ กําหนดจรรยาบรรณธุรกิจเป็ นลายลักษณ์อกั ษรดังรายละเอียดใน เว็บไซต์ของบริ ษัทเพื่อให้ ผ้ บู ริ หารและพนักงานยึดถือเป็ นหลักปฏิบตั ใิ นการดําเนินธุรกิจที่ถกู ต้ องและเป็ นธรรมต่อ ผู้เกี่ยวข้ องทุกฝ่ าย และได้ แจ้ งให้ ทกุ คนทราบเพื่อถือปฏิบตั ติ ามแนวทางดังกล่าว ความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการบริ ษัทได้ มีการกําหนดนโยบายเกี่ยวกับความขัดแย้ งทาง ผลประโยชน์บนหลักการที่วา่ การตัดสินใจใดๆ ในการดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจจะต้ องทําเพื่อผลประโยชน์สงู สุด ของบริ ษัทเท่านัน้ และควรหลีกเลี่ยงการกระทําที่ก่อให้ เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ โดยกําหนดให้ ผ้ ทู ี่มี ส่วนเกี่ยวข้ องหรื อเกี่ยวโยงกับรายการที่พิจารณา ต้ องแจ้ งให้ บริ ษัททราบถึงความสัมพันธ์ หรื อการเกี่ยวโยงของ ตนในรายการดัง กล่า วและต้ อ งไม่ เ ข้ า ร่ ว มการพิ จ ารณาตัด สิ น รวมถึ ง ไม่ มี อํ า นาจอนุมัติ ใ นธุ ร กรรมนัน้ ๆ คณะกรรมการตรวจสอบจะนําเสนอคณะกรรมการบริ ษัทเกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกันและรายการที่มีความ ขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ซึ่งได้ มีการพิจารณาความเหมาะสมอย่างรอบคอบ โดยได้ ปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ที่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกําหนด รวมทังได้ ้ มีการเปิ ดเผยไว้ ในแบบแสดงรายการข้ อมูลประจําปี (แบบ 56-1) และรายงานประจําปี ด้ วย การควบคุมภายใน ( รายละเอียดได้ กล่าวไว้ ในหัวข้ อ 2.7 เรื่ องการควบคุมภายใน หน้ า 45-47 ) การบริ หารความเสี่ยง คณะกรรมการบริ ษัทให้ ความสําคัญในด้ านการบริ หารความเสี่ยงในภาพรวม ทังองค์ ้ กร ประเมินความเสี่ยงและบริ หารความเสี่ยงขององค์กร เพื่อจัดการความเสี่ยงให้ อยู่ในระดับที่สามารถ ยอมรับได้ และติดตามการบริ หารความเสี่ยงอย่างสมํ่าเสมอ โดยมีการจัดทําการประเมินการควบคุมด้ วย ตนเอง (Control Self Assessment) ทังในระดั ้ บผู้บริ หารและระดับผู้ปฏิบตั ิการของบริ ษัท เพื่อร่ วมกันประเมิน ความเสี่ยง ปั ญหาอุปสรรค ความไม่แน่นอนที่อาจมีผลกระทบต่อการดําเนินงานให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์ของ บริ ษัท เหตุการณ์ที่อาจทําให้ องค์กรเสียโอกาสในเชิงธุรกิจ ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ ้นจากสาเหตุทงภายในและ ั้ ภายนอกองค์กร โดยมีหลักการกําหนดว่า หากมีความเสี่ยงใดที่จะเป็ นปั ญหาหรื ออุปสรรค ต่อการดําเนินธุรกิจ ไม่ให้ บรรลุเป้าหมายตามแผนที่กําหนดแล้ ว บริ ษัทจะต้ องมีมาตรการในการบริ หารความเสี่ยงเหล่านี ้ พร้ อมกับ ส่งเสริ มและกระตุ้นให้ ทกุ คนสร้ างวัฒนธรรมการทํางานที่ตระหนักถึงความสําคัญของความเสี่ยง ทําความเข้ าใจ

รายงานประจําปี 2554 40


สาเหตุของความเสี่ยง และดําเนินการแก้ ไข อาทิ การปรับปรุ งขันตอนในการดํ ้ าเนินงาน และการใช้ ทรัพยากร อย่างเหมาะสม เพื่อวัตถุประสงค์ในการป้องกันและลดความสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ ้น และในทางกลับกัน การ ดําเนินการอย่างเป็ นระบบดังกล่าวข้ างต้ น จะส่งผลให้ บริ ษัทสามารถได้ รับประโยชน์จากโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ ที่จะสร้ างคุณค่าเพิ่มให้ แก่องค์กรด้ วย ในปี 2554 บริ ษัทได้ มีการประเมินความเสี่ยงพร้ อมกับประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน ที่มีอยู่ เพื่อพิจารณาหาแนวทางในการปรับปรุ งแก้ ไขการปฏิบตั ิงาน ให้ ผลการดําเนินงานมีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ ้น โดยมีขอบเขตครอบคลุมเรื่ องการบริ หารและการจัดการ การตลาด การขาย และงานทรัพยากร ทังนี ้ ้ ได้ มอบหมายและติดตามให้ ผ้ บู ริ หารที่รับผิดชอบในแต่ละส่วนงาน ดําเนินการตามแนวทางการปรับปรุงแก้ ไขการ ปฏิบัติงานตามที่ได้ กําหนดไว้ รวมทัง้ ให้ ผ้ ูที่เกี่ ยวข้ องยึดถื อ เป็ นแนวทางปฏิบัติ เพื่ อให้ ผลการดําเนิ นงานมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้ าที่สอบทานรายงานทางการเงิน โดยมีผ้ ู บริ หารงานบัญชีและผู้สอบบัญชีเข้ าประชุมร่ วมกัน และนําเสนอรายงานทางการเงินต่อคณะกรรมการบริ ษัท ทุกไตรมาส โดยคณะกรรมการบริ ษัทเป็ นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริ ษัทและบริ ษัทย่อย รวมทัง้ สารสนเทศทางการเงิน (รายงานความรั บ ผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน) ที่ ปรากฏใน รายงานประจําปี งบการเงินดังกล่าวจัดทําขึ ้นตามมาตรฐานการบัญชีรับรองและตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีของ บริ ษัท การเปิ ดเผยข้ อมูลสารสนเทศที่สําคัญ ทังข้ ้ อมูลทางการเงิน และไม่ใช่ข้อมูลการเงิน ดําเนินการบน พื ้นฐานของข้ อเท็จจริ งอย่างครบถ้ วนและสมํ่าเสมอ 3.

การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการมี การกํ าหนดการประชุมโดยปกติเ ป็ นประจํ าทุก 3 เดือนโดยได้ กําหนดตารางการ ประชุมล่วงหน้ าทังปี ้ และอาจมีการประชุมพิเศษเพิ่มเติมตามความจําเป็ น มีการกํ าหนดวาระที่ชัดเจนโดย ประธานกรรมการบริ ษัทและกรรมการผู้จดั การเป็ นผู้ร่วมกันกําหนดวาระการประชุมและพิจารณาเรื่ องเข้ าวาระ การประชุมคณะกรรมการบริ ษัท และเปิ ดโอกาสให้ กรรมการแต่ละท่านเสนอเรื่ องต่าง ๆ เพื่อเข้ ารับการพิจารณา เป็ นวาระการประชุม มีการนําส่งเอกสารก่อนการประชุมล่วงหน้ า เพื่อให้ คณะกรรมการได้ มีเวลาศึกษาข้ อมูล อย่างเพียงพอก่อนการประชุม เว้ นแต่กรณีมีเหตุจําเป็ นเร่ งด่วน กรรมการได้ มีการสอบถามข้ อมูลเพิ่มเติมจาก กรรมการผู้จดั การหรื อเลขานุการคณะกรรมการนอกเหนือจากเอกสารที่ได้ นําส่ง บริ ษัทได้ จดั ทํารายงานผล การดําเนินงานเสนอให้ คณะกรรมการทราบทุกเดือนเพื่อให้ คณะกรรมการสามารถกํากับดูแลการปฏิบตั งิ านของ ฝ่ ายจัดการได้ อย่างต่อเนื่องและทันการ ในการพิจารณาเรื่ องต่างๆ ประธานกรรมการบริ ษัท ซึ่งทําหน้ าที่ประธานในที่ประชุมเปิ ดโอกาสให้ กรรมการแสดงความคิดเห็นได้ อย่างอิสระ และจัดสรรเวลาให้ กรรมการอภิปรายปั ญหาสําคัญอย่างเพียงพอ กรรมการผู้จดั การในฐานะผู้บริ หารสูงสุดของบริ ษัทได้ เข้ าร่ วมประชุมด้ วยทุกครัง้ เพื่อชี ้แจงข้ อมูล ประกอบด้ วย แผนงานประจําปี ผลการดําเนินงาน และโครงการใหม่ๆ เป็ นต้ น รวมทังรั้ บทราบนโยบายโดยตรงในการ

รายงานประจําปี 2554 41


นําไปปฏิบัติอย่างมี ประสิทธิ ภาพ สําหรั บมติที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทจะถื อมติเสียงข้ างมาก โดยให้ กรรมการคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งเสียงในการลงคะแนน กรรมการซึ่งมี ส่วนได้ เสียในเรื่ องใด ไม่มีสิทธิ ออกเสียง ลงคะแนนในเรื่ องนัน้ ถ้ าคะแนนเสียงเท่ากัน ประธานในที่ประชุมจะออกเสียงเพิ่มขึ ้นอีกหนึ่งเสียงเป็ นเสียงชี ้ ขาด ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษัทแต่ละครัง้ เลขานุการคณะกรรมการได้ เข้ าร่ วมการประชุมด้ วยและ เป็ นผู้บนั ทึกรายงานการประชุมซึง่ สาระสําคัญประกอบด้ วย วัน เวลาเริ่ ม-เวลาเลิกประชุม ชื่อกรรมการที่เข้ าร่วม ประชุมและกรรมการที่ลาประชุม สรุ ปสาระสําคัญของเรื่ องที่เสนอคณะกรรมการ สรุปประเด็นที่มีการอภิปราย ข้ อสังเกตของกรรมการ และมติของคณะกรรมการ โดยเสนอให้ ที่ประชุมรับรองในการประชุมครัง้ ถัดไป และ จัดส่งให้ ประธานกรรมการบริ ษัทพิจารณาลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้ อง และมีการจัดเก็บข้ อมูลหรื อเอกสาร เกี่ยวกับการประชุมต่างๆ ทังต้ ้ นฉบับและเก็บรักษาสําเนาด้ วยระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อสะดวกในการสืบค้ นอ้ างอิง โดยไม่สามารถแก้ ไขได้ โดยทัว่ ไปคณะกรรมการบริ ษัทจะเข้ าร่วมการประชุมทุกท่านทุกครัง้ ยกเว้ นแต่มีเหตุจําเป็ น ซึง่ จะแจ้ งเป็ น การล่วงหน้ าก่อนการประชุม (รายละเอียดการเข้ าร่ วมประชุมของกรรมการแต่ละท่านได้ เปิ ดเผยไว้ ในหัวข้ อ 2.1.1 คณะกรรมการบริ ษัท หน้ า 15) นอกจากนี ้ คณะกรรมการถือเป็ นนโยบายให้ กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริ หารมี โอกาสที่จะประชุมระหว่างกันเองตามความจําเป็ นเพื่ออภิปรายปั ญหาต่างๆเกี่ยวกับการจัดการที่อยู่ในความ สนใจ โดยไม่มีฝ่ายจัดการร่วมด้ วย และแจ้ งให้ กรรมการผู้จดั การทราบถึงผลการประชุมด้ วย 4.

ค่าตอบแทน บริ ษัทมี นโยบายจ่ายค่าตอบแทนกรรมการและผู้บ ริ หารในระดับที่ เหมาะสม โดยคํานึงถึงผลการ ดําเนินงานของบริ ษัท และเปรี ยบเทียบอ้ างอิงกับธุรกิจในอุตสาหกรรมเดียวกัน รวมถึงความเหมาะสมกับ หน้ าที่และความรับผิดชอบของกรรมการและผู้บริ หารแต่ละท่าน โดยค่าตอบแทนกรรมการอยูใ่ นรูปของบําเหน็จ ประจําปี และเบี ้ยประชุม สําหรับค่าตอบแทนผู้บริ หารอยู่ในรู ปเงินเดือน โบนัส และเงินสมทบกองทุนสํารอง เลี ้ยงชีพ ในปี 2554 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริ ษัท ได้ มีมติอนุมตั กิ ารจ่ายค่าตอบแทนกรรมการใ ดังนี ้ คณะกรรมการบริษัท เบี ้ยประชุม - ประธาน - กรรมการ บําเหน็จกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ เบี ้ยประชุม - ประธาน - กรรมการ

18,000 บาท/คน/ครัง้ 14,000 บาท/คน/ครัง้ 140,000 บาท/คน/ปี 18,000 บาท/คน/ครัง้ 14,000 บาท/คน/ครัง้

รายงานประจําปี 2554 42


โดยเบี ย้ ประชุม ทัง้ 2 กรณี จะจ่ายเฉพาะกรรมการที่ มาประชุม รายละเอี ยดการจ่าย ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริ หารในปี 2554 อยูใ่ นหัวข้ อ 2.3 เรื่ องค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริ หาร หน้ า 2829 5.

การประเมินตนเองของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษัทได้ มีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของตนเองทังคณะอย่ ้ างน้ อยปี ละ 1 ครัง้ เพื่อ ร่ วมกันพิจารณาทบทวนผลงาน ปั ญหาและอุปสรรคต่างๆในรอบปี ที่ผ่านมา เพื่อการปรับปรุงต่อไปเพื่อช่วยให้ การทํางานมีประสิทธิ ภาพมากขึ ้น โดยในปี 2554 คณะกรรมการบริ ษัทได้ มีการประเมินตนเอง โดยแบ่งการ ประเมิ น ออกเป็ น 6 หัว ข้ อ ได้ แ ก่ โครงสร้ างและคุณ สมบัติ ข องคณะกรรมการ บทบาทหน้ า ที่ แ ละความ รับผิดชอบของคณะกรรมการ การประชุมคณะกรรมการ การทําหน้ าที่ของกรรมการ ความสัมพันธ์ กับฝ่ าย จัดการ และ การพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผู้บริ หาร 6.

การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร คณะกรรมการมี น โยบายส่งเสริ ม และและสนับ สนุนให้ ก รรมการ ผู้บ ริ หาร เลขานุการบริ ษั ท และ ผู้เกี่ยวข้ องเข้ ารับการอบรมหลักสูตรต่างๆที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD, Thai Institute of Director) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรื อองค์กรอิสระต่างๆเพื่อเสริ มสร้ างความรู้ ปรับปรุง การปฎิบตั ิงาน และเพื่อประโยชน์ตอ่ การปฎิบตั ิหน้ าที่ให้ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลง กรรมการหรื อกรรมการใหม่ ฝ่ ายจัดการจะจัดให้ มีเอกสารและข้ อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการปฏิบตั ิหน้ าที่ของ กรรมการใหม่ รวมถึงการจัดให้ มีการแนะนํ าลักษณะธุรกิ จ และแนวทางการดําเนิ นธุรกิ จของบริ ษัทให้ แก่ กรรมการใหม่ และบริ ษัทมีโครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อการสืบทอดตําแหน่งผู้บริ หารตามลําดับขึ ้นไปพร้ อม ้ สามารถปฏิบตั หิ น้ าที่ได้ กําหนดผู้ที่ทําหน้ าที่แทนผู้บริ หารในระดับต่างๆในกรณีที่ผ้ บู ริ หารท่านนันไม่ 2.5

การดูแลการใช้ ข้อมูลภายใน (รายละเอียดอยูใ่ นหัวข้ อ 2.4 การกํากับดูแลกิจการ หมวดที่ 2 หน้ า 32 - 33)

2.6

บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริ ษัทและบริ ษัทย่อยมีพนักงาน (ไม่รวมผู้บริ หารของบริ ษัท) จํานวนทังสิ ้ ้น 348 คน ซึง่ เป็ นพนักงานประจําทังหมด ้ ค่ าตอบแทนพนักงาน ในปี 2554 บริ ษัทและบริ ษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนให้ พนักงานคิดเป็ นเงินรวมทังสิ ้ ้น 146.10 ล้ านบาท โดยเป็ นค่าตอบแทนในรูปเงินเดือน โบนัส และเงินสมทบกองทุนสํารองเลี ้ยงชีพ กองทุนสํารองเลีย้ งชีพ บริ ษัทได้ จดั ตังกองทุ ้ นสํารองเลี ้ยงชีพตังแต่ ้ วนั ที่ 27 มิถนุ ายน 2533 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อสร้ างขวัญ และกําลังใจให้ แก่พนักงาน และเพื่อจูงใจให้ พนักงานทํางานกับบริ ษัทในระยะยาว

รายงานประจําปี 2554 43


นโยบายการพัฒนาบุคลากร จากวิสยั ทัศน์ และเป้าหมายในการดําเนินธุรกิจที่ม่งุ เน้ นการให้ บริ การที่มีคณ ุ ภาพกับลูกค้ า เพื่อสร้ าง ความสําเร็ จให้ กบั องค์กรในระยะยาว บริ ษัทจึงให้ ความสําคัญกับการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรทังในด้ ้ าน ความรู้ ความสามารถ และทักษะในเชิงปฏิบตั อิ ย่างต่อเนื่อง เพราะบริ ษัทถือว่าพนักงานเป็ นจุดแข็งขององค์กร โดยมีแนวทางในการพัฒนาตามวัฒนธรรมขององค์กรที่เรี ยกว่า “Our People” ที่มีเป้าหมายเพื่อให้ บคุ ลากรมี คุณลักษณะที่เหมาะสมกับการสร้ างงานบริ การที่ดีและมีคณ ุ ภาพ เพื่อความพึงพอใจในการได้ รับบริ การของ ลูกค้ า บริ ษัทตระหนักดีวา่ การพัฒนาบุคลากรไม่ได้ มีแต่เพียงเฉพาะการอบรมให้ กบั พนักงานเท่านัน้ แต่ยงั หมายรวมถึงบริ หารจัดการพัฒนาบุคลากรอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดทําเครื่ องมือ จัดหาวิธีการ และจัดการ สภาพแวดล้ อมในการทํางานให้ เหมาะสมกับการเรี ยนรู้ของพนักงาน เพื่อให้ พนักงานได้ รับการพัฒนาอย่างเต็ม ความสามารถ ซึง่ จะเป็ นการสร้ างและพัฒนาทรัพยากรบุคคลที่มีคณ ุ ภาพให้ กบั บริ ษัท สังคม และประเทศชาติ ต่อไป บริ ษัทได้ ดําเนินการพัฒนาบุคลากร(Soft Skills) อย่างเป็ นระบบตามแผนการอบรมบุคลากร (Training Roadmap) ซึง่ ครอบคลุมและสอดคล้ องกับ Competency หลักขององค์กร ทังในด้ ้ าน Professional Competency และ Functional Competency ซึง่ บริ ษัทได้ จดั สรรให้ พนักงานและผู้บริ หารได้ เข้ ารับการอบรม กับวิทยากรผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ อย่างต่อเนื่องมาเป็ นปี ที่ 3 เพื่อให้ พนักงานและผู้บริ หารได้ นําความรู้ที่ ได้ รับมาประยุกต์ใช้ ในการทํางานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมุ่งเน้ นใน 4 ประเด็นหลักๆ ดังนี ้ 1. Our Professional Program กลุม่ หลักสูตรการสร้ าง คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ตามวัฒนธรรมองค์กร ‘Our People’ 2. Professional ICT Program กลุม่ หลักสูตรการพัฒนาทักษะ ความสามารถสําหรับมืออาชีพทาง ICT 3. Leadership Program กลุม่ หลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นํา ให้ กบั พนักงาน 4. English Literacy กลุม่ หลักสูตรการพัฒนาทักษะ ภาษาอังกฤษ รวมถึ ง การให้ ความสํ า คั ญ กั บ การพั ฒ นาบุ ค ลากรให้ มี ค วาม เชี่ยวชาญเฉพาะด้ านในการปฏิบตั ิงาน (Technical Skills) ให้ เป็ นที่ยอมรับ เพื่อสร้ างความเชื่อมัน่ ให้ กบั ลูกค้ า โดยให้ การส่งเสริ มและสนับสนุนพนักงาน ที่ ป ฏิ บัติ ง านได้ รั บ การรั บ รองความเชี่ ย วชาญจากองค์ ก รชัน้ นํ า ทางด้ า น เทคโนโลยีสารสนเทศ ในปี นี บ้ ริ ษัท ยังได้ นํ า ระบบบริ หารจัดการการพัฒ นาบุคลากร ที่ เรี ยกว่า “e-HRD” มาใช้ เป็ นเครื่ องมือในการบริ หารงานพัฒนาบุคลากรอย่างมีประสิทธิภาพ ซึง่ ประกอบไปด้ วย

รายงานประจําปี 2554 44


การลงทะเบียนผู้เข้ าอบรม การบริ หารจัดการผู้เข้ าอบรม การบันทึกข้ อมูลการอบรม และรายงานผลการอบรม ในรูปแบบต่างๆ เพื่ออํานวยความสะดวกให้ กบั พนักงานและหัวหน้ างานในการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็ นระบบ

ในปี 2554 ที่ผา่ นมา บริ ษัทมีคา่ ใช้ จ่ายเพื่อพัฒนาบุคลากร (Soft Skills) คิดเป็ นเงิน13,803 บาทต่อคน มีพนักงานเข้ ารับการอบรมประมาณร้ อยละ 47 ของจํานวนพนักงานทังหมด ้ 2.7

การควบคุมภายใน

บริ ษัทให้ ความสําคัญในเรื่ องระบบการควบคุมภายใน และติดตามดูแลการดําเนินงานของบริ ษัทและ บริ ษัทย่อยอย่างต่อเนื่อง คณะกรรมการบริ ษัทได้ มอบหมายให้ คณะกรรมการตรวจสอบซึ่งประกอบไปด้ วย กรรมการอิสระ สอบทานการประเมินระบบการควบคุมภายใน โดยมีฝ่ายตรวจสอบภายในที่มีความเป็ นอิสระ จากฝ่ ายบริ หารรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ทําหน้ าที่สอบทานการปฏิบัติงานในฝ่ ายต่างๆของ บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่อ ย ตามแผนงานตรวจสอบประจํ า ปี ที่ ไ ด้ รั บ อนุมัติ จ ากคณะกรรมการตรวจสอบโดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้ เกิดความมั่นใจว่า การปฎิบตั ิงานมีประสิทธิ ภาพ และประสิทธิ ผล มีการทบทวนความมี ประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายในอย่างสมํ่าเสมอ มีการใช้ ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าสมประโยชน์ มีการ ควบคุมด้ านการดําเนินงาน ด้ านรายงานทางการเงิน ที่มีความถูกต้ อง เชื่อถือได้ และทันเวลา รวมทังการปฏิ ้ บตั ิ ตามนโยบาย สอบทานการปฏิ บัติของบริ ษัทให้ เป็ นไปตามกฎหมาย ข้ อ กํ าหนดด้ วยหลักทรั พย์ และตลาด

รายงานประจําปี 2554 45


หลักทรัพย์ และข้ อบังคับของทางราชการ เพื่อให้ สามารถดําเนินธุรกิจให้ เกิดประโยชน์สงู สุดต่อผู้ถือหุ้น สรุ ป ระบบควบคุมภายในของบริ ษัทในด้ านต่าง ๆ มีดงั นี ้ 2.7.1

องค์กรและสภาพแวดล้ อม บริ ษัทมีการกําหนดเป้าหมายการดําเนินธุรกิจและการปฏิบตั ิงานที่ชดั เจนตามประเภทของ ผลิตภัณฑ์ สามารถวัดผลได้ และเปรี ยบเทียบผลการดําเนินงานจริ งกับเป้าหมายที่กําหนดเป็ นระยะ ๆ บริ ษัท จัดผังองค์กรโดยให้ มีการแบ่งแยกหน้ าที่และสายงานบังคับบัญชาที่ชดั เจนและเหมาะสม กําหนดเกี่ยวกับเรื่ อง จรรยาบรรณ นโยบายในเรื่ องการกํ ากับดูแลกิ จการ การขัดแย้ งเกี่ ยวกับผลประโยชน์ รวมทัง้ จัดทําอํ านาจ ดํา เนิ นการเป็ นลายลัก ษณ์ อัก ษร คู่มื อ การปฏิ บัติงานหลักที่ สํา คัญมี การทบทวนเพิ่ ม เติม ให้ สอดคล้ อ งกับ มาตรฐานใหม่ และปรับปรุงให้ เหมาะสม 2.7.2

การบริ หารความเสี่ยง บริ ษัทได้ กําหนดนโยบายและกลยุทธ์ สําคัญในการบริ หารความเสี่ยงโดยการเชื่อมโยงการ ้ กร บริ หารความเสี่ยงเข้ ากับแผนธุรกิจของบริ ษัท มีการประเมินปั จจัยความเสี่ยงทังจากภายในและภายนอกองค์ ที่จะมีผลกระทบต่อการดําเนินธุรกิจของบริ ษัท เพื่อวิเคราะห์และจัดระดับความเสี่ยงที่สําคัญตามผลกระทบ และโอกาสที่ จ ะเกิ ด ขึน้ ในแต่ล ะกระบวนการทางธุ ร กิ จ พร้ อมทัง้ กํ า หนดแผนงานการบริ ห ารความเสี่ ย ง นอกจากนี ้บริ ษัทยังมีการประเมินการควบคุมภายในด้ วยตนเองร่ วมกับหน่วยงานควบคุมภายในเป็ นประจําทุก ปี รวมทังให้ ้ มีการติดตามเหตุการณ์หรื อปั จจัยความเสี่ยงอย่างสมํ่าเสมอ 2.7.3. การควบคุมการปฏิบตั งิ านของฝ่ ายบริ หาร บริ ษัทได้ กําหนดนโยบายที่สําคัญในการดําเนินธุรกิจ เพื่อใช้ เป็ นแนวทางในการดําเนินงาน ั ้ บริ ษัทมี ของบริ ษัทให้ เป็ นไปอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมายที่ตงไว้ การจัดทําคู่มืออํานาจดําเนินการ เพื่อกําหนดขอบเขตอํานาจหน้ าที่และวงเงินอํานาจอนุมตั ิของฝ่ ายบริ หารใน แต่ละระดับอย่างชัดเจนและเป็ นลายลักษณ์อกั ษร และจัดโครงสร้ างการทํางานโดยให้ มีการแบ่งแยกหน้ าที่การ อนุมัติรายการ การบันทึก รายการบัญ ชี และการดูแลจัดเก็ บทรั พ ย์ สินออกจากกัน รวมทัง้ ติดตามผลการ ดําเนินงานของบริ ษัท และการปฏิบตั ใิ ห้ เป็ นไปตามกฎหมายและกฎระเบียบที่มีผลบังคับใช้ อย่างเคร่งครัด 2.7.4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้ อมูล บริ ษัทจัดให้ มีระบบข้ อมูลสารสนเทศที่สําคัญ และช่องทางการสื่อสารได้ แก่ การจัดหาข้ อมูล ทังจากภายในและภายนอกที ้ ่มีความเหมาะสม เพื่อให้ ทกุ ฝ่ ายที่เกี่ยวข้ องได้ รับข้ อมูลที่ถกู ต้ อง ครบถ้ วน ทันเวลา ทังนี ้ ้เพื่อสนับสนุนการปฎิบตั ิงานให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ และมีการจัดทํารายงานข้ อมูลของหน่วยงานต่างๆเสนอ ผู้บริ หารเพื่อใช้ ประกอบการตัดสินใจ รวมทังรายงานทางบั ้ ญชีและการเงิน สําหรับนโยบายทางบัญชี บริ ษัทใช้ แนวทางตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป บริ ษัทจัดเก็บเอกสารทางบัญชีเป็ นไปตามหลักกฎหมายและ กฎระเบียบของกรมสรรพากร

รายงานประจําปี 2554 46


บริ ษัทจัดให้ มีระบบการสื่อสารในเรื่ อ งต่างๆ ได้ แก่ การสื่อสารหน้ าที่และความรั บ ผิดชอบให้ พนักงานรับทราบตังแต่ ้ เริ่ มเข้ ามาปฏิบตั งิ าน มีการปฐมนิเทศ ฝึ กอบรม และการทดลองงาน จัดให้ มีช่องทางให้ พนักงานได้ แสดงข้ อคิดเห็น มีการสื่อสารระหว่างหน่วยงานภายในบริ ษัทและกับบุคคลภายนอก ได้ ติดตามหา สาเหตุและแก้ ไขทันทีเมื่อได้ รับรายงานหรื อข้ อร้ องเรี ยนเกี่ยวกับปั ญหาผลิตภัณฑ์ บริ การ หรื อเรื่ องอื่นๆ 2.7.5. ระบบการติดตาม บริ ษัทมีการติดตามผลการดําเนินงานให้ เป็ นไปตามเป้าหมายที่กําหนดไว้ โดยเปรี ยบเทียบ ผลงานจริ งกับประมาณการและจัดทํา Rolling Plan ทุกไตรมาส รวมทังให้ ้ แต่ละหน่วยงานวิเคราะห์หาสาเหตุที่ ทํ า ให้ เ กิ ด ผลแตกต่า งและกํ า หนดแนวทางปรั บ ปรุ ง การดํ า เนิ น งานให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ขึน้ เพื่ อ ให้ บ รรลุ เป้าหมายของบริ ษัท มีการเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างเพียงพอ ครบถ้ วน ถูกต้ อง มีการเปิ ดเผยรายการที่เกี่ยวโยงหรื อ รายการที่มีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์อย่างโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ บริ ษัทมีโครงสร้ างการควบคุมภายในครบองค์ประกอบ 5 ข้ อ ตามมาตรฐานการควบคุม ภายใน ถื อได้ ว่ามี การควบคุมที่มีประสิทธิ ผล เพี ยงพอ เหมาะสมที่ จะสามารถป้องกันหรื อลดความเสี่ยงที่ อาจจะเกิดขึ ้นได้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานการประเมินระบบการควบคุมภายในประจําปี 2554 ซึง่ ประเมินโดยฝ่ ายตรวจสอบภายใน ไม่พบประเด็นปั ญหาหรื อข้ อบกพร่ องที่เป็ นสาระสําคัญ ซึ่งสอดคล้ องกับ ความเห็นของผู้สอบบัญชีของบริ ษัท และมีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในบริ ษัทมีความเพียงพอและมี ประสิทธิผล 2.8

นโยบายการจ่ ายเงินปั นผล บริ ษัทมีนโยบายจ่ายเงินปั นผลให้ ผ้ ถู ือหุ้นโดยพิจารณาจากผลการดําเนินงานและกระแสเงินสดของ บริ ษัท โดยคณะกรรมการบริ ษัทจะเสนอให้ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาเป็ นปี ๆ ไป สําหรับบริ ษัทย่อยคือบริ ษัท ดาต้ าโปร คอมพิวเตอร์ ซิสเต็มส์ จํากัด มีนโยบายจ่ายเงินปั นผลให้ บริ ษัท ในอัตราไม่น้อยกว่าร้ อยละ 50 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี เงินได้ สํารองตามกฏหมาย ภาระหนี ้สิน และสํารอง เพื่อการลงทุนในการขยายงานของบริ ษัทย่อย ในปี 2554 บริ ษัทได้ จ่ายเงินปั นผลจากผลการดําเนินงานของปี 2553 แก่ผ้ ถู ือหุ้นในอัตราหุ้นละ 0.15 บาท รวมเป็ นเงินปั นผลทัง้ สิน้ 21.29 ล้ านบาทในเดือนพฤษภาคม 2554 ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือ หุ้น ประจําปี 2554 ซึ่งประชุมเมื่อวันที่ 21 เมษายน 2554 และในการประชุมคณะกรรมการ ครัง้ ที่ 4/2554 เมื่อ วันที่ 4 สิงหาคม 2554 คณะกรรมการได้ มีมติให้ จ่ายเงินปั นผลระหว่างกาลจากผลการดําเนินงานงวด 6 เดือน ตังแต่ ้ วนั ที่ 1 มกราคม 2554 ถึงวันที่ 30 มิถนุ ายน 2554 ให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นในอัตราหุ้นละ 0.10 บาท รวมเป็ นเงิน 14.19 ล้ านบาทในเดือนกันยายน 2554

รายงานประจําปี 2554 47


รายการระหว่ างกัน (1)

รายการระหว่ างกันของ บริษัทและบริษัทย่ อย กับ บริษัทที่เกี่ยวข้ อง ในปี 2554 นิติบุคคลที่เกี่ยวข้อง

บจ. พรี เมียร์ แคปปิ ตอล (2000) บจ. พรี เมียร์ อินเตอร์ ลิซซิ่ ง บจ. พรี เมียร์ แอลเอ็มเอส บจ. พรี เมียร์ โบรคเคอร์เรจ บมจ.พรี เมียร์ มาร์เก็ตติ้ง บจ. พี.เอม.ฟูด บจ. พรี เมียร์ แคนนิ่ง อินดัสตรี้ บจ. พรี เมียร์ โฟรเซ่น โพรดัส์ บจ. พรี เมียร์โพรดักส์ บจ. พรี เมียร์ มอเตอร์ บจ. พรี เมียร์ โฮม แอพพลายแอนซ์ บจ. พรี เมียร์ รี สอร์ท แอนด์ โฮลเทลล์ บจ. รายาเฮอริ เทจ บจ. เสรี พรี เมียร์ บจ. พรี เมียร์ ฟิ ชชัน่ แคปปิ ตอล บจ. พรี เมียร์ เมโทรบัส บจ. บรอดแบนด์ เทคโนโลยี บจ. โปรเฟสชัน่ แนลเทรนนิ่ง บจ. แอดวานซ์ ไซเบอร์ เทคโนโลยี

ประเภทรายการ

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธ์

ธุรกิจปกติ

บริ ษทั ย่อย ขาย License Software ให้บริ การการใช้ e-mail, Internet และ ระบบสารสนเทศ

มีกรรมการ ร่ วมกัน

ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องและรายได้ ค้างรับ รายงานประจําปี 2554 48

มูลค่ารายการ ปี 2554 (ล้านบาท)

ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผล

52.40 ราคาสิ นค้าและค่าบริ การเป็ นไปตาม เงื่อนไขการค้าทัว่ ไป

5.82


นิติบุคคลที่เกี่ยวข้อง บจ. พรี เมียร์ โพรดักส์

ประเภทรายการ

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธ์

ธุรกิจปกติ

บริ ษทั - บริ ษทั ดําเนินธุ รกิจให้เช่าพื้นที่ใน อาคารพรี เมียร์ เพลซ ซึ่ งบริ ษทั ได้ ประมูลซื้ ออาคารดังกล่าวจากกรม บังคับคดี บริ ษทั พรี เมียร์ โพรดักส์ เป็ นผูเ้ ช่าที่ทาํ สัญญาเช่ากับเจ้าของ อาคารเดิมก่อนบริ ษทั จะประมูลฯ และ กรมบังคับคดีได้แจ้งข้อผูกพันดังกล่าว บริ ษทั ย่อย - ต้นทุนขาย ค่าจ้างบจ. โปรเพสชัน่ แนล เทรนนิ่ง ให้บริ การในระบบ JD. Edward Software กับลูกค้าของ บริ ษทั ย่อย อันเนื่องมาจากการปรับ องค์กรของบริ ษทั ย่อย

มีกรรมการ ร่ วมกัน

บริ ษทั และบริ ษทั ย่อย - ค่าที่ปรึ กษาตามสัญญาว่าจ้างบริ หาร และให้คาํ ปรึ กษาธุรกิจ

มีกรรมการ ร่ วมกัน

บจ. โปรเพสชัน่ แนลเทรนนิ่ ง เซอร์ วสิ

ธุรกิจปกติ

บจ. พรี เมียร์ ฟิ ชชัน่ แคปปิ ตอล

สนับสนุนธุรกิจปกติ

รายงานประจําปี 2554 49

มีกรรมการ ร่ วมกัน

มูลค่ารายการ ปี 2554 (ล้านบาท)

ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผล

0.87 ค่าเช่าและค่าบริ การส่ วนกลาง ตาม ข้อกําหนดในสัญญาเช่า และสัญญา บริ การ ค่าไฟฟ้ าเก็บตามที่เกิดขึ้นจริ ง

31.53 ค่าบริ การเป็ นไปตามเงื่อนไขการค้า ทัว่ ไปและข้อตกลงร่ วมกัน

6.30 ค่าที่ปรึ กษาคํานวณจากต้นทุนที่เกิดขึ้น จริ ง และเฉลี่ยตามโครงสร้างธุรกิจของ แต่ละบริ ษทั ในกลุ่มที่บจ. พรี เมียร์ ฟิ ชชัน่ ให้บริ การ


นิติบุคคลที่เกี่ยวข้อง

ประเภทรายการ

บจ. พรี เมียร์ รี สอร์ ท แอนด์ โฮลเทลล์ บจ.รายาเฮอริ เทจ

สนับสนุนธุรกิจปกติ

บจ. พรี เมียร์ อินเตอร์ ลิซซิ่ ง

สนับสนุนธุรกิจปกติ

บจ. โปรเพสชัน่ แนลเทรนนิ่ ง เซอร์ วสิ

บจ. เสรี พร็ อพเพอร์ ต้ ีส์ โฮลดิ้ง

สนับสนุนธุรกิจปกติ

สนับสนุนธุรกิจปกติ

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธ์

บริ ษทั ย่อย - ค่าที่พกั ของดรแรมเพื่อใช้เป็ น สวัสดิการพนักงานที่ทาํ งาน 15-20 ปี

มีกรรมการ ร่ วมกัน

บริ ษทั ย่อย - ค่าเช่ารถเพื่อใช้ในกิจการโดยเป็ น สัญญาเช่าดําเนิ นงาน บริ ษทั ย่อย - ค่าบริ การในการจัดโครงการ ฝึ กอบรมพนักงานเพื่อการพัฒนา บุคคลตามตําแหน่งงานต่างๆ และ ค่าบริ การใช้สถานที่เพื่อการจัด ฝึ กอบรม เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้อง

มีกรรมการ ร่ วมกัน

บริ ษทั ย่อย - ค่าบริ การส่ วนกลางตามสัญญาเช่า ระยะยาว ค่าไฟฟ้ าและค่าโทรศัพท์

มีกรรมการ ร่ วมกัน

รายงานประจําปี 2554 50

มีกรรมการ ร่ วมกัน

มูลค่ารายการ ปี 2554 (ล้านบาท)

ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผล

0.17 ราคาค่าที่พกั เป็ นไปตามแนวการค้าปกติ ธุรกิจทัว่ ไป

0.44 ราคาเช่าเป็ นไปตามเงื่อนไขการค้าทัว่ ไป

6.59 ราคาค่าบริ การเป็ นไปตามแนวการค้า ปกติธุรกิจทัว่ ไป

0.88

3.95 ราคาค่าบริ การเป็ นไปตามแนวการค้า ปกติธุรกิจทัว่ ไป ส่ วนค่าไฟฟ้ าและค่า โทรศัพท์ตามที่เกิดขึ้นจริ ง


นิติบุคคลที่เกี่ยวข้อง บจ. เสรี พรี เมียร์

บจ. แอดวานซ์ ไซเบอร์ เทคโนโลยี

บจ. พรี เมียร์ โฮม แอพพลายแอนซ์

บจ. แอดวานซ์ ไซเบอร์ เทคโนโลยี

บจ. พรี เมียร์ โพรดักส์

ประเภทรายการ

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธ์

สนับสนุนธุรกิจปกติ

บริ ษทั ย่อย - ค่าบริ การให้คาํ ปรึ กษาในการ ก่อสร้างห้องห้องศูนย์สาํ รองข้อมูล ฉุ กเฉิ น (Disaster Recovery Center) เพื่อใช้ในงานบริ การลูกค้าของบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ย่อย - ค่าบริ การในการแนะนําและช่วยขาย สิ นค้าและบริ การให้กบั บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ย่อย - ค่าบริ การในการซ่อมเครื่ องทํานํ้าเย็น

มีกรรมการ ร่ วมกัน

บริ ษทั ย่อย - ค่าProgramming Development เพื่อ การพัฒนาโปรแกรมงานบุคคลและค่า เครื่ องบัตรตอกเวลา บริ ษทั ย่อย - ค่าปั๊ มนํ้า เพื่อใช้ในอาคารสํานักงาน ของบริ ษทั ย่อย

มีกรรมการ ร่ วมกัน

สนับสนุนธุรกิจปกติ

สนับสนุนธุรกิจปกติ

ซื้ อทรัพย์สิน

ซื้ อทรัพย์สิน

รายงานประจําปี 2554 51

มีกรรมการ ร่ วมกัน มีกรรมการ ร่ วมกัน

มีกรรมการ ร่ วมกัน

มูลค่ารายการ ปี 2554 (ล้านบาท)

ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผล

0.05 ราคาค่าบริ การเป็ นไปตามแนวการค้า ปกติธุรกิจทัว่ ไป

0.80 ราคาค่าบริ การเป็ นไปตามแนวการค้า ปกติธุรกิจทัว่ ไป .001 ราคาค่าบริ การเป็ นไปตามแนวการค้า ปกติธุรกิจทัว่ ไป 1.59 ราคาค่าบริ การเป็ นไปตามแนวการค้า ปกติธุรกิจทัว่ ไป

0.008 ราคาค่าบริ การเป็ นไปตามแนวการค้า ปกติธุรกิจทัว่ ไป


(2)

นโยบายหรื อแนวโน้ มการทํารายการระหว่างกันในอนาคต

บริ ษัทและ/หรื อบริ ษัทย่อยคาดว่าในอนาคตจะยังคงมีรายการระหว่างกันเกิดขึน้ อีก ซึ่งเป็ นไปตาม ลักษณะการประกอบธุรกิ จปกติหรื อสนับสนุนธุรกิ จปกติ ได้ แก่ รายได้ จากการขายและบริ การ การเช่าพืน้ ที่ สํานักงาน การว่าจ้ างบริ หารตามสัญญาว่าจ้ างบริ หารและให้ คําปรึ กษาธุรกิจ การเช่ารถยนต์เพื่อใช้ ในการ ประกอบธุรกิจ ค่าเช่าและบริ การอื่น ๆ เป็ นต้ น ซึง่ รายการระหว่างกันทังหมดจะเกิ ้ ดขึ ้นตามความจําเป็ นและเพื่อ ประสิทธิ ภาพในการดําเนินธุรกิจภายในกลุ่มบริ ษัท โดยมีการกํ าหนดนโยบายการคิดราคาระหว่างกันอย่าง ชัดเจน ตามราคาและเงื่อนไขตลาดที่เหมาะสม และเป็ นธรรม โดยคํานึงถึงผลประโยชน์ของบริ ษัทเป็ นสําคัญ ทังนี ้ ้คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษัทจะสอบทานรายการระหว่างกันเป็ นรายไตรมาส ทัง้ นี ้ รายการระหว่างกันที่อาจก่ อให้ เกิ ดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ที่อาจเกิ ดขึน้ ในอนาคตนัน้ คณะกรรมการบริ ษัทจะต้ องปฏิบตั ิให้ เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และข้ อบังคับ ประกาศ คําสัง่ หรื อข้ อกําหนดของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมตลอดถึง การปฏิ บัติต ามข้ อ กํ า หนดเกี่ ย วกับ การเปิ ดเผยข้ อ มูล การทํ า รายการเกี่ ย วโยงและการได้ ม าหรื อ จํ า หน่ า ย ทรัพย์สินของบริ ษัทและบริ ษัทย่อย รวมทังปฏิ ้ บตั ิตามมาตรฐานการบัญชีที่กําหนดโดยสมาคมนักบัญชีและ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย

รายงานประจําปี 2554 52


คําอธิบายและการวิเคราะห์ ผลการดําเนินงานและฐานะการเงิน 1.

ผลการดําเนินงาน ผลการดําเนินงานสําหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริ ษัทฯและบริ ษัทย่อย กําไรสุทธิ 51.33 ล้ านบาท เพิ่มขึน้ จากปี ก่อนจํานวน 22.93 ล้ านบาท มาจากการเปลี่ยนแปลงในส่วนที่มี สาระสําคัญดังนี ้ 1. รายได้ จากการขาย ปี 2554 มีจํานวน 1,284.34 ล้ านบาทเพิ่มขึ ้นจํานวน 247.99 ล้ านบาท คิด เป็ นอัตราเพิ่มขึน้ ร้ อยละ 23.93 รายได้ จากการให้ บริ การ ปี 2554 มี จํานวน 555.78 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้น 51.68 ล้ านบาท คิดเป็ นอัตราเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 10.25 ส่งผลให้ กําไรขันต้ ้ นจากการขายและ ให้ บริ การเพิ่มขึ ้นจํานวน 78.46 ล้ านบาท คิดเป็ นอัตราเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 18.54 2. รายได้ อื่นจํานวน 20.27 ล้ านบาท ลดลง 6.98 ล้ านบาท เนื่องจากในปี 2553 บริ ษัทย่อยมีกําไร จากอัตราแลกเปลี่ยนจํานวน 6.73 ล้ านบาท ส่วนปี 2554 บริ ษัทฯมีรายได้ จากการให้ เช่าและ บริ การอาคารสํานักงานจํานวน 3.46 ล้ านบาทและบริ ษัทย่อยมีขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน 3.80 ล้ านบาท 3. ค่าใช้ จ่ายในการบริ หารเพิ่มขึ ้นจํานวน 22.59 ล้ านบาท เป็ นรายจ่ายที่เพิ่มขึ ้นในส่วนของบริ ษัทฯ จํานวน 5.98 ล้ านบาทอันเนื่องมาจากค่าใช้ จ่ายที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจให้ เช่าพื ้นที่ในอาคารที่บริ ษัท ได้ ดําเนินการประมูลเมื่อไตรมาสที่ 3 ของปี 2554 ส่วนบริ ษัทย่อยเพิ่มขึ ้น 16.61 ล้ านบาท จาก การรับรู้ ผลประโยชน์ระยะยาวพนักงานจํานวน 5.88 ล้ านบาท ค่าใช้ จ่ายบุคคลากรเพิ่มขึ ้น 7.04 ล้ านบาท หนี ้สงสัยจะสูญลดลง 7.41 ล้ านบาท ค่าเสื่อมราคาและตัดจําหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตวั ตน เพิ่มขึ ้น 1.98 ล้ านบาท เงินช่วยเหลือเกี่ยวกับอุทกภัยจํานวน 1.92 ล้ านบาท ค่าจ้ างประเมินราคา อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เพื่อขายจํานวน 1.61 ล้ านบาท และค่าใช้ จ่ายที่เกี่ยวข้ องกับสํานักงานจาก การเช่าพื ้นที่เพิ่มขึ ้นจํานวน 2.60 ล้ านบาทค่าใช้ จ่ายทางการเงินลดลง 11.27 ล้ านบาท เนื่องจาก ในปี 2553 บริ ษัทย่อยเปลี่ยนสัญญาเงินกู้ โดยมีการปรั บเป็ นสัญญาเงินกู้ระยะยาวในวงเงินที่ สูงขึ ้น เพื่อรองรับการขยายธุรกิจ ทําให้ มีการชําระหนีส้ ินตามสัญญาเงินกู้เดิมก่อนกําหนด และ รับรู้ ดอกเบี ้ยจ่ายจากการปิ ดสัญญาจํานวน 15.80 ล้ านบาท ดังนันค่ ้ าใช้ จ่ายทางการเงินปี 2554 เปรี ยบเทียบกับปี 2553 หลังหักดอกเบี ้ยจ่ายจากการปิ ดบัญชีจะมียอดลดลง 4.53 ล้ านบาท 4. ค่าใช้ จ่ายทางการเงินเพิ่มขึ ้น 10.63 ล้ านบาท มาจากค่าใช้ จา่ ยทางการเงินของบริ ษัทจํานวน 6.41 ล้ านบาทซึง่ มาจากการที่บริ ษัทฯได้ ทําสัญญากู้ยืมเงินกับบริ ษัทแห่งหนึง่ เพื่อซื ้ออาคาร

รายงานประจําปี 2553 53


สํานักงานให้ เช่า ส่วนบริ ษัทย่อยค่าใช้ จ่ายทางการเงินเพิ่มขึ ้นจํานวน 4.22 ล้ านบาทจากการ เพิ่มขึ ้นของยอดขายและการขยายวงเงินกู้ระยะสันและเงิ ้ นกู้แฟคตอริ่ ง 5. ปี 2554 บริ ษัทย่อย มีภาษี เงินได้ นิตบิ คุ คลจํานวน 26.38 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจํานวน 15.29 ล้ าน บาท 2

ฐานะการเงิน

ด้ านสินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริ ษัทและบริ ษัทย่อยมีสินทรัพย์รวม 1,236.48 ล้ าน บาท เพิ่มขึ ้นจํานวน 346.19 ล้ านบาท คิดเป็ น 38.88% โดยมีการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ดงั นี ้ 1. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว เท่ากับ 11.84 ล้ านบาท ลดลง 100.12 ล้ านบาทจากการลงทุนในอาคารสํานักงานที่บริ ษัทฯได้ ประมูลจากกรมบังคับคดี และจากการจ่ายเงิน ปั นผล 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น สุทธิเท่ากับ 376.61 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้น68.98 ล้ านบาท คิด เป็ น 22.42% จากยอดขายและบริ การที่เพิ่มขึ ้น 3. สินค้ าคงเหลือเท่ากับ 215.37 ล้ านบาทเพิ่มขึ ้น 51.92 ล้ านบาท คิดเป็ น31.77% เป็ น สินค้ าตามคําสัง่ ซื ้อจากลูกค้ าและอยูร่ ะหว่างการส่งมอบ 4. ต้ นทุนงานระหว่างทําเท่ากับ 33.29 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้น 27.97 ล้ านบาท ซึง่ เกี่ยวกับงาน การให้ บริ การโดยรับรู้ตามความสําเร็ จของงาน 5. อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนเท่ากับ 175.46 ล้ านบาท เป็ นรายการที่บริ ษัทฯได้ เข้ า ประมูลเพื่อซื ้อที่ดนิ และอาคารแห่งหนึง่ จากกรมบังคับคดี กระทรวงยุตธิ รรมเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2554 6. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เท่ากับ 204.37 ล้ านบาทเพิ่มขึ ้น 91.53 ล้ านบาท คิดเป็ น 81.11% ประกอบด้ ว ยที่ ดิน และอาคารของบริ ษั ท ฯจํ า นวน 78.90 ล้ า นบาท จากการจัด ประเภทรายการ อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน เป็ นที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ของบริ ษัทเนื่องจากบริ ษัทฯให้ บริ ษัทย่อยเช่าพื ้นที่ และที่เหลือเป็ นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ด้ านหนี ้สิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริ ษัทและบริ ษัทย่อยมีสินทรัพย์รวม 1,236.48 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจํานวน 346.19 ล้ านบาท คิดเป็ น 38.88% โดยมีการเปลี่ยนแปลงในหนี ้สินดังนี ้ 1. เงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ นการเงินเท่ากับ 140.43 ล้ านบาทเพิ่มขึ ้น 96.36 ล้ าน บาท เป็ นรายการเงินกู้ยืมระยะสันและเงิ ้ นกู้แฟคตอริ่ งของบริ ษัทย่อย ซึ่งคํ ้าประกันโดยเงินฝากธนาคารของ บริ ษัทย่อยและการโอนสิทธิเรี ยกรับเงินค่าสินค้ าและบริ การของลูกค้ าของบริ ษัทย่อย 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่นเพ่ากับ 383.08 ล้ านบาท ลดลง 30.83 ล้ านบาท คิดเป็ น 7.45% 3. รายได้ คา่ บริ การรับล่วงหน้ าเท่ากับ 145.70 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้น 74.43 ล้ านบาท คิด เป็ น 104.45% รับรู้รายการตามความสําเร็ จของงานที่ให้ บริ การ

รายงานประจําปี 2553 54


4. ภาษี เงินได้ นิตบิ คุ คลเท่ากับ 5.25 ล้ านบาท 5. เงินกู้ยืมระยะยาว เท่ากับ 196.14 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้น 191.86 ล้ านบาท เป็ นรายการที่ บริ ษัทฯทําสัญญากู้ยืมเงินกับบริ ษัทแห่งหนึ่ง จากการที่บริ ษัทฯซื ้อที่ดิน และอาคารแห่งหนึ่ง เพื่อการให้ เช่าและ ใช้ เป็ นสํานักงานของบริ ษัทย่อย 6. หนี ้สินระยะยาว เท่ากับ 51.46 ล้ านบาท ลดลง 18.69 ล้ านบาท คิดเป็ น 26.64% 7. สํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานเท่ากับ 32.17 ล้ านบาท จากการที่ในปี ปั จจุบนั บริ ษัทย่อยปฎิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 เรื่ องผลประโยชน์พนักงาน ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริ ษัทและบริ ษัทย่อยมีส่วนของผู้ถือหุ้นรวม 256.14 ล้ านบาท ลดลง 13.13 ล้ านบาท คิดเป็ น 4.88% โดยมีรายการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นดังนี ้ 1. กําไรสะสม จัดสรรแล้ ว-สํารองตามกฎหมาย เท่ากับ 9.42 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้น 2.30 ล้ านบาทจากการโอนกําไรสะสม ยังไม่ได้ จดั สรรตามมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 2. กําไรสะสมยังไม่ได้ จดั สรรเท่ากับ 105.00 ล้ านบาท ลดลง 15.43 ล้ านบาท คิดเป็ น อัตราลดลง 12.81% มาจากกําไรเบ็ดเสร็ จรวมของบริ ษัทและบริ ษัทย่อยจํานวน 56.53 ล้ านบาท ผลสะสมจาก การเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีเกี่ยวกับผลประโยชน์ของพนักงานเท่ากับ 34.18 ล้ านบาท โอนกําไรสะสมที่ยงั ไม่ได้ จดั สรรเป็ นสํารองตามกฎหมาย 2.30 ล้ านบาทและจ่ายเงินปั นผลจํานวน 35.49 ล้ านบาท

รายงานประจําปี 2553 55


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่ อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการเป็ นผู้รับผิดชอบต่อรายงานทางการเงินของบริ ษัท พรี เมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) และบริ ษัทย่อยที่จดั ทําขึ ้น เพื่อให้ เกิดความมัน่ ใจว่าได้ แสดงฐานะการเงิน รายได้ ค่าใช้ จ่าย และกระแสเงินสด รวมที่เป็ นจริ งและสมเหตุสมผล โดยได้ จดั ให้ มีการบันทึกข้ อมูลทางบัญชีที่ถกู ต้ อง ครบถ้ วน เพียงพอที่รักษาไว้ ซึ่งทรัพย์สิน รวมทังการป ้ ้ องกันทุจริ ตและการดําเนินการที่ผิดปกติ และในการจัดทํารายงานทางการเงิน ได้ มี การพิจารณาเลือกใช้ นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบตั โิ ดยสมํ่าเสมอ และเป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่ รับรองโดยทัว่ ไป รวมทังได้ ้ มีการเปิ ดเผยข้ อมูลสําคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่งผู้สอบ บัญชีได้ แสดงความเห็นไว้ ในรายงานของผู้สอบบัญชี คณะกรรมการบริ ษัทได้ แต่งตังคณะกรรมการตรวจสอบซึ ้ ่งประกอบด้ วยกรรมการที่เป็ นอิสระ กํากับ ดูแลรายงานทางการเงินและประเมินระบบการควบคุมภายใน โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ ปรากฎในรายงานคณะกรรมการตรวจสอบซึง่ ได้ แสดงไว้ ในรายงานประจําปี แล้ ว คณะกรรมการบริ ษัทมีความเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในของบริ ษัทโดยรวมมีความเพียงพอและ เหมาะสม สามารถสร้ างความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลได้ ว่า งบการเงินและงบการเงินรวมของบริ ษัทและ บริ ษัทย่อย สําหรั บปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 มี ความเชื่ อถื อได้ ตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ถูกต้ องตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้ อง

(นายวิเชียร พงศธร) ประธานกรรมการ ในนามคณะกรรมการ

รายงานประจําปี 2553 56


รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษัท พรี เมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) ประกอบด้ วยกรรมการอิสระจํานวน 3 ท่าน ได้ แก่ 1. นายอุดม ชาติยานนท์ ประธานกรรมการตรวจสอบ และเป็ นผู้มีความรู้และประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงิน 2. นายสุชาย วัฒนตฤณากุล กรรมการตรวจสอบ 3. นายขัตยิ า ไกรกาญจน์ กรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบทุกท่านมี คุณสมบัติครบถ้ วนตามข้ อ กํ าหนดของ สํานักงานคณะกรรมการกํ ากับหลักทรั พย์และตลาดหลักทรัพย์ (สํานักงาน ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละ 3 ปี คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ฎิ บัติ ห น้ า ที่ ต ามขอบเขตหน้ า ที่ แ ละความ รับผิดชอบที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท ซึง่ สอดคล้ องกับข้ อกําหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยในปี 2554 คณะกรรมการตรวจสอบได้ มีการ ประชุมรวม 5 ครัง้ กรรมการตรวจสอบทุกท่านเข้ าร่ วมประชุมครบทุกครัง้ โดยเป็ นการ ร่ วมประชุมกับผู้บริ หาร ผู้สอบบัญชีและผู้ตรวจสอบภายใน ซึ่งสรุ ปสาระสําคัญได้ ดังนี ้ 1. สอบทานงบการเงินประจําไตรมาสและงบการเงินประจําปี ซึ่งผ่านการ สอบทานและตรวจสอบจากผู้ส อบบัญ ชี โดยได้ ส อบถามและรั บ ฟั ง คํ า ชี แ้ จงจาก ผู้บ ริ ห ารและผู้ส อบบัญ ชี ในเรื่ อ งความถูก ต้ อ งครบถ้ ว นของงบการเงิ น และความ เพียงพอในการเปิ ดเผยข้ อมูล ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้ องกับ ผู้ส อบบัญ ชี ว่ า งบการเงิ น ดัง กล่ า วมี ค วามถูก ต้ อ งตามที่ ค วรในสาระสํ า คัญ ตาม มาตรฐานการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป 2. สอบทานความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน โดยพิจารณาจากผลการตรวจสอบและการ ประเมินความความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในตามแนวทางที่กําหนดโดยสํานักงาน ก.ล.ต. ของฝ่ าย ตรวจสอบภายใน ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้ องกับผู้ตรวจสอบภายในว่า บริ ษัทมีระบบการ ควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสมตามลักษณะธุรกิจ และไม่พบจุดอ่อนหรื อข้ อบกพร่องที่เป็ นสาระสําคัญ ้ วนของ 3. พิจารณาแผนการตรวจสอบภายในประจําปี ของฝ่ ายตรวจสอบภายใน ซึ่งครอบคลุมทังในส่ บริ ษัทและบริ ษัทย่อย และได้ ให้ คําแนะนํา เพื่อให้ การปฎิบตั งิ านมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ ้น รายงานประจําปี 2554 57


4. สอบทานการปฎิ บัติตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรั พย์ และตลาดหลักทรั พย์ ข้ อ กํ าหนดของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัท ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ไม่พบประเด็นที่เป็ นสาระสําคัญในเรื่ องการไม่ปฎิบตั ติ ามกฎหมายและข้ อกําหนด 5. สอบทานความเหมาะสมและความเพียงพอของระบบการบริ หารความเสี่ยงของบริ ษัทในด้ านต่างๆ รวมทังให้ ้ ข้อเสนอแนะเพื่อให้ ระบบการบริ หารความเสี่ยงมีประสิทธิภาพและเหมะสมกับสภาพธุรกิจมากยิ่งขึ ้น 6. ทบทวนและติดตามผลการปฏิบตั ิตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี และให้ ข้อเสนอแนะเพื่อการ พัฒนาการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษัท 7. พิจารณารายการที่เกี่ ยวโยงกันหรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ให้ เป็ นไปตาม กฎหมายและข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งผู้สอบบัญชีมีความเห็นว่า รายการกับบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกันที่มี สาระสําคัญได้ เปิ ดเผยและแสดงรายการในงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงินแล้ ว คณะกรรมการ ตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้ องกับผู้สอบบัญชี รวมทังมี ้ ความเห็นว่ารายการดังกล่าวเป็ นรายการที่สมเหตุสมผล และเป็ นประโยชน์สงู สุดต่อบริ ษัท 8. ประชุมเเป็ นการเฉพาะกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายบริ หารร่ วมประชุมด้ วย เพื่อให้ มั่นใจว่าผู้สอบ บัญชีมีความเป็ นอิสระในการปฏิบตั ิงาน และจากการพิจารณาคุณสมบัติของผู้สอบบัญชี คุณภาพของงานการ สอบบัญชี ทีมงาน ความเชี่ยวชาญ และความเป็ นอิสระในการปฏิบตั ิงาน คณะกรรมการตรวจสอบเห็นควรเสนอ ต่อคณะกรรมการบริ ษัทเพื่อขออนุมัติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น แต่งตังบริ ้ ษัทสํานักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จํากัด เป็ นผู้สอบบัญชีของบริ ษัทในปี 2554 เนื่องจากผู้สอบบัญชีได้ ปฏิบตั งิ านการตรวจสอบได้ เป็ นอย่างดีตลอดมา ้ อเสนอแนะให้ คณะกรรมการบริ ษัท 9. คณะกรรมการตรวจสอบได้ รายงานผลการปฎิบตั ิงานรวมทังข้ ทราบทุกครัง้ ที่มีการประชุมคณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ฏิ บัติหน้ าที่ ด้วยความรอบคอบ มี ความเป็ นอิ สระ แสดงความเห็นอย่า ง ตรงไปตรงมา มีความโปร่ งใส ตรวจสอบได้ ตามหลักบรรษัทภิบาลที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบเชื่อมั่นว่า งบ การเงินของบริ ษัทมีการเปิ ดเผยข้ อมูลที่ครบถ้ วนเชื่อถือได้ สอดคล้ องกับมาตรฐานบัญชีและหลักการบัญชีที่รับรอง ทัว่ ไป การบริ หารความเสี่ยงและระบบการควบคุมภายในมีประสิทธิผล เหมาะสมเพียงพอ การตรวจสอบภายใน มีความเป็ นอิสระ ครอบคลุมกระบวนการปฏิบตั ิงานที่มีความเสี่ยง และมีกระบวนการตรวจสอบที่สอดคล้ องกับ มาตรฐานงานตรวจสอบ ตลอดจนมี ก ารกํ า กับ ดูแ ลการปฏิ บัติ ง านให้ ถูก ต้ อ งตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ ที่ เกี่ยวข้ องได้ อย่างเหมาะสม สอดคล้ องกับการดําเนินธุรกิจในปั จจุบนั ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

(นายอุดม ชาติยานนท์ ) ประธานกรรมการตรวจสอบ รายงานประจําปี 2554 58


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริ ษัท พรี เมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) ข้ าพเจ้ าได้ ตรวจสอบงบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบกระแสเงินสดรวมสําหรับปี สิ ้นสุดวันเดียวกันของ บริ ษัท พรี เมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) และบริ ษัทย่อย และได้ ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของ บริ ษัท พรี เมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) ด้ วยเช่นกัน ซึง่ ผู้บริ หารของกิจการเป็ นผู้รับผิดชอบต่อความ ถูกต้ องและครบถ้ วนของข้ อมูลในงบการเงินเหล่านี ้ ส่วนข้ าพเจ้ าเป็ นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่อ งบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้ าพเจ้ า งบการเงินรวมของบริ ษัท พรี เมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) และบริ ษัทย่อย และงบการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษัท พรี เมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และสําหรับปี สิ ้นสุดวันเดียวกันที่นํามาแสดงเปรี ยบเทียบไว้ ณ ที่นี ้ได้ ตรวจสอบ โดยผู้สอบบัญชีทา่ นอื่นในสํานักงานเดียวกันกับข้ าพเจ้ า ซึง่ ได้ ตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่ รับรองทัว่ ไปและเสนอรายงานไว้ อย่างไม่มีเงื่อนไขตามรายงานลงวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554 ข้ าพเจ้ าได้ ปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทัว่ ไป ซึง่ กําหนดให้ ข้าพเจ้ าต้ อง วางแผนและปฏิบตั งิ านเพื่อให้ ได้ ความเชื่อมัน่ อย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้ อมูลที่ขดั ต่อข้ อเท็จจริ งอัน เป็ นสาระสําคัญหรื อไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้ วธิ ีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทังที ้ ่เป็ น จํานวนเงินและการเปิ ดเผยข้ อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้ และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็ นสาระสําคัญ ซึง่ ผู้บริ หารเป็ นผู้จดั ทําขึ ้น ตลอดจนการ ประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นําเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้ าพเจ้ าเชื่อว่าการ ตรวจสอบดังกล่าวให้ ข้อสรุปที่เป็ นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้ าพเจ้ า ข้ าพเจ้ าเห็นว่า งบการเงินข้ างต้ นนี ้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ผลการดําเนินงานและ กระแสเงินสดสําหรับปี สิ ้นสุดวันเดียวกันของบริ ษัท พรี เมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) และบริ ษัทย่อย และเฉพาะของบริ ษัท พรี เมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) โดยถูกต้ องตามที่ควรในสาระสําคัญตาม หลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป

รายงานประจําปี 2554 59


โดยมิได้ เป็ นการแสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไขต่องบการเงินข้ างต้ น ข้ าพเจ้ าขอให้ สงั เกตหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้ อ 3 ในระหว่างปี ปั จจุบนั บริ ษัทฯได้ ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและ มาตรฐานการบัญชีใหม่ที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีเพื่อจัดทําและนําเสนองบการเงินนี ้

ชลรส สันติอศั วราภรณ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4523 บริ ษัท สํานักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จํากัด กรุงเทพฯ: 16 กุมภาพันธ์ 2555

รายงานประจําปี 2554 60


บริษทั พรีเมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553

หมายเหตุ สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์ หมุนเวียน เงิ นสดและรายการเทียบเท่าเงิ นสด เงิ นลงทุนชัว่ คราว ลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อื่น ต้นทุนค่าบริ การจ่ายล่วงหน้า เงิ นปั นผลค้างรับจากบริ ษทั ย่อย สิ นค้าคงเหลือ ต้นทุนงานระหว ่างทํา สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น

9 10 11 15 12 13

รวมสิ นทรัพย์ หมุนเวียน สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน เงิ นฝากธนาคารที่ติดภาระคํ้าประกัน เงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่วม อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม ่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ไม ่หมุนเวียนอื่น

14 15 16 17 18 19

รวมสิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน รวมสิ นทรัพย์

งบการเงินรวม 2554 2553

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553

10,632,603 1,212,109 376,606,881 96,745,574 215,371,870 33,293,880 47,151,188 781,014,105

61,961,038 50,008,876 307,623,425 77,559,459 163,447,291 5,320,383 49,071,940 714,992,412

449,052 1,212,109 26,999,460 1,581,361 30,241,982

25,261,718 50,008,876 897,932 76,168,526

48,511,696 1,184,521 175,463,110 204,368,323 10,727,294 15,213,599 455,468,543 1,236,482,648

36,385,115 1,383,701 112,839,471 8,803,822 15,888,407 175,300,516 890,292,928

152,726,861 1,383,701 254,008,232 10,887 408,129,681 438,371,663

152,726,861 1,383,701 17,221 154,127,783 230,296,309

หมายเหตุประกอบงบการเงิ นเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงิ นนี้

รายงานประจําปี 2554 61


บริษทั พรีเมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่ อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553

หมายเหตุ หนี้สินและส่ วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงิ นกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิ น เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อื่น รายได้คา่ บริ การรับล่วงหน้า เงิ นกูย้ ืมระยะสั้นจากกิจการที่เกีย่ วข้องกัน ส่วนของเงิ นกูย้ ืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ่ งปี ส่วนของหนี้ สินระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ่ งปี ส่วนของหนี้ สินระยะยาวตามแผนฟื้ นฟูกจิ การ ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่ งปี ภาษีเงิ นได้คา้ งจ่าย หนี้ สินหมุนเวียนอื่น

11, 20 21

รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่ หมุนเวียน เงิ นกูย้ ืมระยะยาว - สุ ทธิ จากส่วนที่ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ่ งปี หนี้ สินระยะยาว - สุ ทธิ จากส่วนที่ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ่ งปี สํารองผลประโยชน์ ระยะยาวของพนักงาน หนี้ สินไม ่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่ หมุนเวียน รวมหนี้สิน

งบการเงินรวม 2554 2553

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553

8

140,429,141 383,077,497 145,698,270 -

44,068,351 413,910,640 71,264,415 -

2,673,216 2,372,700

191,702 -

22

2,140,000

2,140,000

-

-

23

30,648,650

37,970,873

-

-

24

5,245,990 25,874,431 733,113,979

500,986 16,598,288 586,453,553

79,136 5,125,052

500,986 220,961 913,649

22

194,000,000

2,140,000

194,000,000

-

23 25

20,812,664 32,166,437 252,000 247,231,101 980,345,080

32,178,111 252,000 34,570,111 621,023,664

194,000,000 199,125,052

-

หมายเหตุประกอบงบการเงิ นเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงิ นนี้

รายงานประจําปี 2554 62

913,649


บริษทั พรีเมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่ อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หน่วย: บาท) หมายเหตุ ส่ วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรื อนหุ ้น ทุนจดทะเบียน หุ ้นสามัญ 142,440,489 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 1 บาท ทุนออกจําหน่ายและชําระเต็มมูลค่าแล้ว หุ ้นสามัญ 141,944,471 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 1 บาท หุ ้นของบริ ษทั ฯที่ถือโดยบริ ษทั ย่อย กําไรสะสม จัดสรรแล้ว - สํารองตามกฎหมาย ยังไม ่ได้จดั สรร

26

รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่ วนของผู้ถ ือหุ้น

งบการเงินรวม 2554 2553

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553

142,440,489

142,440,489

142,440,489

142,440,489

141,944,471 (230,175)

141,944,471 (230,175)

141,944,471 -

141,944,471 -

9,420,000 105,003,272 256,137,568 1,236,482,648 -

7,120,000 120,434,968 269,269,264 890,292,928 -

9,420,000 87,882,140 239,246,611 438,371,663 -

7,120,000 80,318,189 229,382,660 230,296,309 -

หมายเหตุประกอบงบการเงิ นเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงิ นนี้

รายงานประจําปี 2554 63


บริษทั พรีเมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553

หมายเหตุ กําไรขาดทุน: รายได้ รายได้จากการขาย รายได้จากการให้บริ การ เงิ นปั นผลรับ รายได้อื่น

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553

งบการเงินรวม 2554 2553

1,284,337,990 555,782,639 20,063,031 1,860,183,660

1,036,338,394 504,102,803 27,046,465 1,567,487,662

56,998,860 4,323,530 61,322,390

992,623 992,623

1,338,550,469 144,136,082 285,206,107 1,767,892,658

1,117,334,658 142,974,934 262,614,266 1,522,923,858

9,558,290 9,558,290

3,575,995 3,816,299 7,392,294

92,291,002 (199,180)

44,563,804 (1,327,600)

51,764,100 -

(6,399,671) -

92,091,822 (14,388,944) 77,702,878 (26,377,241) 51,325,637

43,236,204 (3,759,631) 39,476,573 (11,085,409) 28,391,164

51,764,100 (6,414,031) 45,350,069 45,350,069

(6,399,671) (6,399,671) (6,399,671)

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสํ าหรับปี

5,206,249 5,206,249

-

-

-

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสํ าหรับปี

56,531,886

28,391,164

45,350,069

(6,399,671)

0.36

0.20

0.32

(0.05)

15

รวมรายได้ ค่ าใช้ จ่าย ต้นทุนขายและบริ การ ค่าใช้จา่ ยในการขาย ค่าใช้จา่ ยในการบริ หาร ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่วม

16

รวมค่ าใช้ จ่าย กําไร (ขาดทุน) ก่ อนส่ วนแบ่ งขาดทุนจากเงินลงทุนใน บริษทั ร่ วม ค่ าใช้ จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้ นิติบุคคล ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่วม 16 กําไร (ขาดทุน) ก่ อนค่ าใช้ จ่ายทางการเงินและ ภาษีเงินได้ นิติบุคคล ค่าใช้จา่ ยทางการเงิ น กําไร (ขาดทุน) ก่ อนภาษีเงินได้ นิติบุคคล ภาษีเงิ นได้นิติบุคคล

28

กําไร (ขาดทุน) สํ าหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น: กําไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย

25

29

กําไรต่ อหุ้นขั้นพืน้ ฐาน กําไร (ขาดทุน) หมายเหตุประกอบงบการเงิ นเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงิ นนี้

รายงานประจําปี 2554 64


บริษทั พรีเมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบกระแสเงินสด สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบการเงิ นรวม 2553 2554 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไร (ขาดทุน) ก ่อนภาษี รายการปรับกระทบยอดกําไร (ขาดทุน) ก ่อนภาษีเป็ นเงิ นสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดําเนิ นงาน โอนกลับค่าเผื่อการปรับมูลค่าของหลักทรัพย์ ในความต้องการของตลาด กําไรจากการขายหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด หนี้ สงสัยจะสู ญเพิ่มขึ้น (ลดลง) การปรับลดสิ นค้าคงเหลือเป็ นมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับเพิ่มขึ้น (ลดลง) ค่าเสื่ อมราคา (กําไร) ขาดทุนจากการจําหน่ายอุปกรณ์ ตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ไม ่มีตวั ตน ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่วม ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่วม ตัดจ่ายค่าเชา่ จ่ายล่วงหน้า เงิ นปั นผลรับจากเงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อย ค่าใช้จา่ ยสํารองผลประโยชน์ ระยะยาวของพนักงาน ค่าใช้จา่ ยดอกเบี้ย กําไร (ขาดทุน) จากการดําเนิ นงานก ่อนการเปลี่ยนแปลง ในสิ นทรัพย์และหนี้ สินดําเนิ นงาน สิ นทรัพย์ดาํ เนิ นงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อื่น ต้นทุนค่าบริ การจ่ายล่วงหน้า สิ นค้าคงเหลือ ต้นทุนงานระหว ่างทํา สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น สิ นทรัพย์ไม ่หมุนเวียนอื่น หนี้ สินดําเนิ นงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อื่น รายได้คา่ บริ การรับล่วงหน้า หนี้ สินหมุนเวียนอื่น สํารองผลประโยชน์ ระยะยาวของพนักงาน เงิ นสดจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดําเนิ นงาน จ่ายดอกเบี้ย จ่ายภาษีเงิ นได้ เงินสดสุ ทธิจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน

(หน่วย: บาท) งบการเงิ นเฉพาะกิจการ 2554 2553

77,702,878

39,476,573

45,350,069

(6,399,671)

(45,155) (323,105) 56,789,622 (494,889) 880,382 199,180 2,479,795 5,875,092 11,661,144

(18,000) (380,000) 6,968,347 376,969 54,931,639 15,076 1,327,600 2,479,795 3,759,631

1,153,063 (56,998,860) 3,492,000

(18,000) (380,000) 6,335 3,816,299 -

154,724,944

108,937,630

(7,003,728)

(2,975,037)

(68,938,301) (19,186,115) (51,601,474) (27,973,497) 2,061,739 (1,804,987)

2,393,152 (19,303,389) (112,659,980) (5,320,383) (5,992,927) (139,461)

(542,442) -

(159,548) -

(30,833,143) 74,433,855 8,654,280 (2,679,870) 36,857,431 (11,039,281) (21,272,238) 4,545,912

116,956,108 960,095 437,145 86,267,990 (3,759,631) (19,185,049) 63,323,310

1,859,651 (141,825) (5,828,344) (2,870,137) (140,987) (8,839,468)

5,531 169,812 (2,959,242) (2,959,242)

หมายเหตุประกอบงบการเงิ นเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงิ นนี้

รายงานประจําปี 2554 65


บริษทั พรีเมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบกระแสเงินสด (ต่ อ) สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบการเงินรวม 2553 2554 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงิ นลงทุนชัว่ คราว (เพิ่มขึ้น) ลดลง เงิ นสดรับจากการขายหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด เงิ นฝากธนาคารที่ติดภาระคํ้าประกัน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ซื้ออสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เงิ นสดรับจากการจําหน่ายอุปกรณ์ เงิ นสดจ่ายชําระค่าหุ ้นสําหรับเงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่วม เงิ นสดจ่ายเพื่อการพัฒนาสิ นทรัพย์ไม ่มีตวั ตน เงิ นสดรับชําระค่าตอบแทนการโอนสิ ทธิ เงิ นปั นผลรับจากเงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินสดสุ ทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงิ นกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิ นเพิ่มขึ้น เงิ นกูย้ ืมระยะสั้นลดลง เงิ นกูย้ ืมระยะสั้นจากกิจการที่เกีย่ วข้องกันเพิ่มขึ้น ชําระคืนเงิ นกูย้ ืมระยะยาว เงิ นสดรับจากเงิ นกูย้ ืมระยะยาว ชําระคืนหนี้ สินระยะยาว ชําระคืนหนี้ สินระยะยาวตามแผนฟื้ นฟูกจิ การ จ่ายเงิ นปั นผล เงินสดสุ ทธิจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลงสุ ทธิ เงิ นสดและรายการเทียบเท่าเงิ นสด ณ วันต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันปลายปี ข้ อมูล กระแสเงินสดเปิ ดเผยเพิม่ เติม รายการที่ไม ่ใชเ่ งิ นสด สิ นทรัพย์ที่ได้มาภายใต้สัญญาเชา่ ทางการเงิ น

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553

48,796,767 (12,126,581) (176,255,244) (123,520,005) 1,302,483 (2,803,854) (264,606,434)

(50,000,082) 5,788,000 475,728 (17,874,448) 904,324 (1,534,000) (8,803,822) 17,000,000 (54,044,300)

48,796,767 (255,154,961) 29,999,400 (176,358,794)

(50,000,083) 5,788,000 (1,534,000) 17,000,000 (28,746,083)

96,360,790 (2,140,000) 194,000,000 (43,501,599) (500,986) (35,486,118) 208,732,087 (51,328,435) 61,961,038 10,632,603 -

19,342,094 (4,098,426) (5,677,889) 6,420,000 (40,646,604) (1,547,836) (14,194,447) (40,403,108) (31,124,098) 93,085,136 61,961,038 -

2,372,700 194,000,000 (500,986) (35,486,118) 160,385,596 (24,812,666) 25,261,718 449,052 -

(1,547,836) (14,194,447) (15,742,283) (47,447,608) 72,709,326 25,261,718 -

24,813,929

49,410,898

-

-

หมายเหตุประกอบงบการเงิ นเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงิ นนี้

รายงานประจําปี 2554 66


บริษทั พรีเมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบแสดงการเปลี่ ยนแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

กําไรสะสม ทุนเรื อนหุ ้นที่ออก หุ ้นของบริ ษทั ฯ จัดสรรแล้ว - สํารอง ยังไม ่ได้ หมายเหตุ และชําระแล้ว ที่ถือโดยบริ ษทั ย่อย ตามกฎหมาย จัดสรร ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - ตามทีร่ ายงานไว้ เดิม โอนกําไรจากการขายเงิ นลงทุนในบริ ษทั ที่เกีย่ วข้องกันเป็ นกําไรสะสม ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - หลั งปรับปรุง กําไรจากการขายเงิ นลงทุนให้บริ ษทั ที่เกีย่ วข้องกัน โอนกําไรจากการขายเงิ นลงทุนในบริ ษทั ที่เกีย่ วข้องกันเป็ นกําไรสะสม เงิ นปั นผลจ่าย กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี โอนกําไรสะสมที่ยงั ไม ่ได้จดั สรรเป็ นสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกีย่ วกับ ผลประโยชน์ ของพนักงาน เงิ นปั นผลจ่าย กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี โอนกําไรสะสมที่ยงั ไม ่ได้จดั สรรเป็ นสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

8 8 8 32 8,26

5 32 26

องค์ประกอบอื่นของส่วนของผูถ้ ือหุ ้น กําไรจาก การขายเงิ นลงทุน รวม ให้บริ ษทั องค์ประกอบอื่น ที่เกีย่ วข้องกัน ของส่วนของผูถ้ ือหุ ้น

141,944,471 141,944,471 141,944,471

(230,175) (230,175) (230,175)

2,870,000 2,870,000 4,250,000 7,120,000

25,488,251 68,000,000 93,488,251 17,000,000 (14,194,447) 28,391,164 (4,250,000) 120,434,968

68,000,000 (68,000,000) 17,000,000 (17,000,000) -

68,000,000 (68,000,000) 17,000,000 (17,000,000) -

141,944,471

(230,175)

7,120,000

120,434,968

-

-

141,944,471

(230,175)

2,300,000 9,420,000

(34,177,464) (35,486,118) 56,531,886 (2,300,000) 105,003,272

-

-

หมายเหตุประกอบงบการเงิ นเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงิ นนี้

รายงานประจําปี 2554 67

รวม ส่วนของ ผูถ้ ือหุ ้น 238,072,547 238,072,547 17,000,000 (14,194,447) 28,391,164 269,269,264 269,269,264 (34,177,464) (35,486,118) 56,531,886 256,137,568 -


บริษทั พรีเมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบแสดงการเปลี่ ยนแปลงส่ วนของผู้ถ ือหุ้น (ต่ อ) สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

หมายเหตุ ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - ตามทีร่ ายงานไว้ เดิม โอนกําไรจากการขายเงิ นลงทุนในบริ ษทั ที่เกีย่ วข้องกันเป็ นกําไรสะสม ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - หลั งปรับปรุง กําไรจากการขายเงิ นลงทุนให้บริ ษทั ที่เกีย่ วข้องกัน โอนกําไรจากการขายเงิ นลงทุนในบริ ษทั ที่เกีย่ วข้องกันเป็ นกําไรสะสม เงิ นปั นผลจ่าย กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี โอนกําไรสะสมที่ยงั ไม ่ได้จดั สรรเป็ นสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เงิ นปั นผลจ่าย กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี โอนกําไรสะสมที่ยงั ไม ่ได้จดั สรรเป็ นสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 หมายเหตุประกอบงบการเงิ นเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงิ นนี้

8 8 8 32 8,26

32 26

กําไรสะสม ทุนเรื อนหุ ้นที่ออก จัดสรรแล้ว - สํารอง และชําระแล้ว ตามกฎหมาย ยังไม ่ได้จดั สรร

องค์ประกอบอื่นของส่วนของผูถ้ ือหุ ้น กําไร จากการขาย รวม องค์ประกอบอื่น เงิ นลงทุนให้ บริ ษทั ที่เกีย่ วข้องกัน ของส่วนของผูถ้ ือหุ ้น

รวม ส่วนของ ผูถ้ ือหุ ้น

141,944,471 141,944,471 141,944,471

2,870,000 2,870,000 4,250,000 7,120,000

20,162,307 68,000,000 88,162,307 17,000,000 (14,194,447) (6,399,671) (4,250,000) 80,318,189

68,000,000 (68,000,000) 17,000,000 (17,000,000) -

68,000,000 (68,000,000) 17,000,000 (17,000,000) -

232,976,778 232,976,778 17,000,000 (14,194,447) (6,399,671) 229,382,660

141,944,471 141,944,471

7,120,000 2,300,000 9,420,000

80,318,189 (35,486,118) 45,350,069 (2,300,000) 87,882,140

-

-

229,382,660 (35,486,118) 45,350,069 239,246,611 -

รายงานประจําปี 2554 68


บริษัท พรีเมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม สําหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 1.

ข้ อมูลทัว่ ไป บริ ษทั พรี เมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ฯ”) เป็ นบริ ษทั มหาชนซึ่งจัดตั้งและมีภูมิลาํ เนา ในประเทศไทย ธุ รกิ จ หลักของบริ ษ ทั ฯคื อการลงทุน ในบริ ษทั ต่ างๆ ที่ อยู่ตามที่ จดทะเบี ย นของ บริ ษทั ฯอยู่ที่ เลขที่ 1 พรี เมียร์ คอร์ เปอเรทปาร์ ค ซอยพรี เมียร์ 2 ถนนศรี นคริ นทร์ แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุ งเทพมหานคร

2.

เกณฑ์ ในการจัดทํางบการเงิน

2.1

งบการเงินนี้จดั ทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กาํ หนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดย แสดงรายการในงบการเงินตามข้อกําหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็ นงบการเงินฉบับที่บริ ษทั ฯใช้เป็ นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับ ภาษาอังกฤษแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ได้จดั ทําขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิ ดเผยเป็ นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี

2.2

เกณฑ์ในการจัดทํางบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนี้ได้จดั ทําขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริ ษทั พรี เมียร์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) (ซึ่งต่อไปนี้เรี ยกว่า “บริ ษทั ฯ”) และบริ ษทั ย่อย (ซึ่งต่อไปนี้เรี ยกว่า “บริ ษทั ย่อย”) ดังต่อไปนี้ ชื่อบริ ษทั

บริ ษทั ดาต้าโปร คอมพิวเตอร์ ซิ สเต็มส์ จํากัด

ลักษณะของธุรกิจ

จัดตั้งขึ้นในประเทศ

จําหน่ายโปรแกรมและ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์

ไทย

อัตราร้อยละของการถือหุน้ 2554 2553 ร้อยละ ร้อยละ 100 100

ข) บริ ษทั ฯนํางบการเงินของบริ ษทั ย่อยมารวมในการจัดทํางบการเงินรวมตั้งแต่วนั ที่บริ ษทั ฯมี อํานาจในการควบคุมบริ ษทั ย่อยจนถึงวันที่บริ ษทั ฯสิ้ นสุ ดการควบคุมบริ ษทั ย่อยนั้น ค) งบการเงิ นของบริ ษทั ย่อยได้จดั ทําขึ้นโดยใช้นโยบายการบัญชี ท่ี สําคัญเช่ นเดี ยวกันกับของ บริ ษทั ฯ ง) ยอดคงค้างระหว่างบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อย รายการค้าระหว่างกันที่มีสาระสําคัญได้ถูกตัดออก จากงบการเงินรวมนี้แล้ว

รายงานประจําปี 2554 69


2.3 3.

บริ ษทั ฯจัดทํางบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะ โดยแสดงเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย และบริ ษทั ร่ วมตามวิธีราคาทุน การปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีใหม่ ในระหว่ างปี

ในระหว่างปี ปั จจุบนั บริ ษทั ฯได้ปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุ งและมาตรฐานการบัญชี ใหม่ที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีดงั นี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2552) ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2552) ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2552) ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2552) ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2552) ฉบับที่ 11 (ปรับปรุ ง 2552) ฉบับที่ 16 (ปรับปรุ ง 2552) ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2552) ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2552) ฉบับที่ 19 ฉบับที่ 23 (ปรับปรุ ง 2552) ฉบับที่ 24 (ปรับปรุ ง 2552) ฉบับที่ 26 ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2552) ฉบับที่ 28 (ปรับปรุ ง 2552) ฉบับที่ 29 ฉบับที่ 31 (ปรับปรุ ง 2552) ฉบับที่ 33 (ปรับปรุ ง 2552) ฉบับที่ 34 (ปรับปรุ ง 2552) ฉบับที่ 36 (ปรับปรุ ง 2552) ฉบับที่ 37 (ปรับปรุ ง 2552) ฉบับที่ 38 (ปรับปรุ ง 2552) ฉบับที่ 40 (ปรับปรุ ง 2552)

การนําเสนองบการเงิน สิ นค้าคงเหลือ งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และ ข้อผิดพลาด เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน สัญญาก่อสร้าง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สัญญาเช่า รายได้ ผลประโยชน์ของพนักงาน ต้นทุนการกูย้ มื การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้ อรุ นแรง ส่ วนได้เสี ยในการร่ วมค้า กําไรต่อหุน้ งบการเงินระหว่างกาล การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ ประมาณการหนี้ สิ น หนี้ สิ น ที่ อาจเกิ ด ขึ้ น และสิ น ทรั พ ย์ที่ อ าจ เกิดขึ้น สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน

รายงานประจําปี 2554 70


มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 การจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ ฉบับที่ 3 (ปรับปรุ ง 2552) การรวมธุรกิจ ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2552) สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเลิก ฉบับที่ 6 การสํารวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน สัญญาการก่อสร้างอสังหาริ มทรัพย์ ฉบับที่ 15 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 รายได้ - รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริ การโฆษณา มาตรฐานการบัญชีขา้ งต้นไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสําคัญต่องบการเงินนี้ ยกเว้นมาตรฐานการ บัญชีดงั ต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ ของพนักงาน มาตรฐานการบัญชี ฉบับนี้ กาํ หนดให้กิจการรั บรู ้ ผลประโยชน์ที่ให้กบั พนักงานเป็ นค่าใช้จ่ายเมื่อ กิจการได้รับบริ การจ้างงานจากพนักงานแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจการจะต้องประเมินและบันทึก หนี้ สิ น เกี่ ย วกับ ผลประโยชน์ ข องพนัก งานเนื่ อ งจากเกษี ย ณอายุ โดยใช้ก ารคํา นวณตามหลัก คณิ ตศาสตร์ประกันภัย ซึ่งเดิมบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยรับรู ้ผลประโยชน์ที่ให้กบั พนักงานดังกล่าวเมื่อ เกิดรายการ บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดงั กล่าวในปี ปั จจุบนั และรับรู ้หนี้สินในช่วง ที่เปลี่ยนแปลงโดยบันทึกปรับกับกําไรสะสม ณ วันต้นงวดของปี ปั จจุบนั การเปลี่ยนแปลงนี้ ทาํ ให้ บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยมีกาํ ไรสําหรับปี 2554 ลดลงเป็ นจํานวน 6 ล้านบาท (กําไรต่อหุ น้ ลดลง 0.04 บาทต่อหุ ้น) (เฉพาะของบริ ษทั ฯ: ไม่มีผลกระทบ) ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ดังกล่าวแสดงอยูใ่ นหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5 4.

มาตรฐานการบัญชีใหม่ ทยี่ งั ไม่ มีผลบังคับใช้ สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุ งและมาตรฐานการบัญชีใหม่ซ่ ึงมีผลบังคับใช้ สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 ตามรายละเอียดข้างล่างนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 ภาษีเงินได้ ฉบับที่ 20 (ปรับปรุ ง 2552) การบัญชีสาํ หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปิ ดเผยข้อมูล เกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล ฉบับที่ 21 (ปรับปรุ ง 2552) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ รายงานประจําปี 2554 71


การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 ความช่ วยเหลือจากรั ฐบาล - กรณี ที่ไม่มีความเกี่ ยวข้องอย่าง เฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดําเนินงาน ฉบับที่ 21 ภาษี เ งิ น ได้ - การได้รั บ ประโยชน์ จ ากสิ น ทรั พ ย์ที่ ไ ม่ ไ ด้คิ ด ค่าเสื่ อมราคาที่ตีราคาใหม่ ฉบับที่ 25 ภาษีเงินได้ - การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของกิ จการ หรื อของผูถ้ ือหุน้ ฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั ฯเชื่อว่ามาตรฐานการบัญชีขา้ งต้นจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสําคัญต่องบ การเงินเมื่อนํามาถือปฏิบตั ิ ยกเว้นมาตรฐานการบัญชีดงั ต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได้ มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กาํ หนดให้กิจการระบุผลแตกต่างชัว่ คราวที่เกิดจากความแตกต่างของมูลค่า สิ นทรัพย์และหนี้สินระหว่างเกณฑ์ทางบัญชีและภาษีอากร เพื่อรับรู ้ผลกระทบทางภาษีเป็ นสิ นทรัพย์ หรื อหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีตามหลักเกณฑ์ที่กาํ หนด ปั จจุบนั ฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั ฯอยูร่ ะหว่างการประเมินผลกระทบที่อาจมีต่องบการเงินในปี ที่เริ่ มนํา มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มาถือปฏิบตั ิ 5.

ผลสะสมจากการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีเนื่องจากการนํามาตรฐานการบัญชีใหม่ มาถือปฏิบัติ ในระหว่างปี ปัจจุบนั บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีที่สาํ คัญตามที่กล่าวใน หมายเหตุ 3 เนื่องจากบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยนํามาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุ งและมาตรฐานการ บัญชี ใหม่มาถือปฏิบตั ิ ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ดงั กล่าวแสดงเป็ นรายการ แยกต่างหากในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของผูถ้ ือหุน้ จํา นวนเงิ น ของรายการปรั บ ปรุ ง ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ รายการในงบแสดงฐานะการเงิ น ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2554 และงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จสําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีดงั นี้ (หน่วย: พันบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบแสดงฐานะการเงิน สํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานเพิ่มขึ้น กําไรสะสม - ยังไม่ได้จดั สรรต้นงวดลดลง

รายงานประจําปี 2554 72

32,166 (34,177)

-


(หน่วย: พันบาท) สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ค่าใช้จ่ายพนักงานเพิ่มขึ้น กําไรสําหรับปี ลดลง กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นสําหรับปี เพิ่มขึ้น กําไรต่อหุน้ ขั้นพื้นฐานลดลง (บาทต่อหุน้ ) 6.

นโยบายการบัญชีทสี่ ํ าคัญ

6.1

การรับรู้รายได้

5,875 (5,875) 5,206 (0.04)

-

ขายสิ นค้ า รายได้จากการขายสิ นค้ารับรู ้เมื่อบริ ษทั ฯได้โอนความเสี่ ยงและผลตอบแทนที่มีนยั สําคัญของความ เป็ นเจ้าของสิ นค้าให้กบั ผูซ้ ้ื อแล้ว รายได้จากการขายแสดงมูลค่าตามราคาในใบกํากับสิ นค้าโดยไม่ รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม สําหรับสิ นค้าที่ได้ส่งมอบหลังจากหักส่ วนลดแล้ว รายได้ ค่าบริ การ รายได้ค่าบริ การรับรู ้เมื่อได้ให้บริ การแล้ว และอ้างอิงกับขั้นความสําเร็ จของงาน บริ ษทั ฯประเมินขั้น ความสําเร็ จของงานตามอัตราส่ วนของบริ การที่ให้จนถึงปัจจุบนั เทียบกับบริ การทั้งสิ้ นที่ตอ้ งให้ เงินปั นผลรั บ เงินปันผลรับถือเป็ นรายได้เมื่อบริ ษทั ฯมีสิทธิในการรับเงินปันผล 6.2

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดหมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มี สภาพคล่องสู ง ซึ่ งถึ งกําหนดจ่ ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิ น 3 เดื อนนับจากวันที่ ได้มาและไม่มี ข้อจํากัดในการเบิกใช้

6.3

ลูกหนีก้ ารค้ า ลูกหนี้ การค้าแสดงมูลค่าตามจํานวนมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ บริ ษทั ฯบันทึ กค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ สําหรับผลขาดทุนโดยประมาณที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ ไม่ได้ ซึ่ งโดยทัว่ ไปพิจารณา จากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุหนี้ รายงานประจําปี 2554 73


6.4

สิ นค้ าคงเหลือ สิ นค้าคงเหลือแสดงมูลค่าตามราคาทุน (วิธีเข้าก่อน-ออกก่อน และวิธีราคาเฉพาะเจาะจงของสิ นค้าแต่ ละชนิด) หรื อมูลค่าสุ ทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะตํ่ากว่า

6.5

เงินลงทุน ก)

เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมที่แสดงอยูใ่ นงบการเงินรวมแสดงมูลค่าตามวิธีส่วนได้เสี ย

ข)

เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตาม วิธีราคาทุน

เมื่อมีการจําหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างสิ่ งตอบแทนสุ ทธิ ที่ได้รับกับมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุน จะถูกบันทึกในส่ วนของกําไรหรื อขาดทุน 6.6

อสั งหาริมทรัพย์ เพือ่ การลงทุน

บริ ษทั ฯบันทึกมูลค่าเริ่ มแรกของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนในราคาทุนซึ่ งรวมต้นทุนการทํารายการ หลังจาก นั้น บริ ษทั ฯจะบันทึกอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนด้วยราคาทุนหักค่าเสื่ อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี)

ค่าเสื่ อมราคาของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนคํานวณจากราคาทุนโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการให้ ประโยชน์โดยประมาณ 20 ปี ค่าเสื่ อมราคาของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนรวมอยูใ่ นการคํานวณ ผลการดําเนินงาน บริ ษทั ฯรับรู ้ผลต่างระหว่างจํานวนเงินที่ได้รับสุ ทธิ จากการจําหน่ายกับมูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์ ในส่ วนของกําไรหรื อขาดทุนในงวดที่ตดั รายการอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนออกจากบัญชี 6.7

ทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ์ และค่ าเสื่ อมราคา ที่ดินแสดงมูลค่าตามราคาทุน อาคารและอุปกรณ์แสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าเสื่ อมราคาสะสม และค่าเผือ่ การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ (ถ้ามี) ค่าเสื่ อมราคาของอาคารและอุปกรณ์คาํ นวณจากราคาทุนของสิ นทรัพย์ โดยวิธีเส้นตรงตามอายุการ ให้ประโยชน์โดยประมาณดังนี้ อาคาร สิ่ งปรับปรุ งสิ นทรัพย์เช่า เครื่ องตกแต่งและติดตั้ง อุปกรณ์สาํ นักงาน เครื่ องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ยานพาหนะ

-

ค่าเสื่ อมราคารวมอยูใ่ นการคํานวณผลการดําเนินงาน รายงานประจําปี 2554 74

20 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี 3,5 และ 10 ปี 5 ปี


ไม่มีการคิดค่าเสื่ อมราคาสําหรับที่ดินและสิ นทรัพย์ระหว่างติดตั้ง บริ ษทั ฯตัดรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ออกจากบัญชี เมื่อจําหน่ายสิ นทรัพย์หรื อคาดว่าจะไม่ได้ รั บประโยชน์เชิ งเศรษฐกิ จในอนาคตจากการใช้หรื อการจําหน่ ายสิ นทรั พย์ รายการผลกําไรหรื อ ขาดทุ น จากการจํา หน่ า ยสิ น ทรั พ ย์จ ะรั บ รู ้ ใ นส่ ว นของกํา ไรหรื อ ขาดทุ น เมื่ อ บริ ษ ัท ฯตัด รายการ สิ นทรัพย์น้ นั ออกจากบัญชี 6.8

สิ นทรัพย์ ไม่ มีตัวตน บริ ษทั ฯจะบันทึกต้นทุนเริ่ มแรกของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนตามราคาทุน ภายหลังการรับรู ้รายการ เริ่ มแรก สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจําหน่ายสะสมและค่าเผือ่ การด้อยค่า สะสม (ถ้ามี) ของสิ นทรัพย์น้ นั บริ ษทั ฯตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จาํ กัดอย่างมีระบบตลอดอายุการให้ ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจของสิ นทรัพย์น้ นั และจะประเมินการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ดงั กล่าวเมื่อมีขอ้ บ่งชี้ ว่าสิ นทรั พ ย์น้ ันเกิ ดการด้อยค่า บริ ษ ทั ฯจะทบทวนระยะเวลาการตัด จําหน่ ายและวิธีการตัด จําหน่ายของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนดังกล่าวทุกสิ้ นปี เป็ นอย่างน้อย ค่าตัดจําหน่ายรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายใน ส่ วนของกําไรหรื อขาดทุน บริ ษทั ฯตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนซึ่งเป็ นค่าออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยวิธีเส้นตรงตาม อายุการให้ประโยชน์โดยประมาณ 10 ปี

6.9

รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน บุคคลหรื อกิ จการที่เกี่ ยวข้องกันกับบริ ษทั ฯ หมายถึง บุคคลหรื อกิ จการที่มีอาํ นาจควบคุมบริ ษทั ฯ หรื อถูกบริ ษทั ฯควบคุมไม่ว่าจะเป็ นโดยทางตรงหรื อทางอ้อม หรื ออยูภ่ ายใต้การควบคุมเดียวกันกับ บริ ษทั ฯ นอกจากนี้บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริ ษทั ร่ วมและบุคคลที่มีสิทธิออกเสี ยงโดย ทางตรงหรื อทางอ้อมซึ่ งทําให้มีอิทธิ พลอย่างเป็ นสาระสําคัญต่อบริ ษทั ฯ ผูบ้ ริ หารสําคัญ กรรมการ หรื อพนักงานของบริ ษทั ฯ ที่มีอาํ นาจในการวางแผนและควบคุมการดําเนินงานของบริ ษทั ฯ

6.10 สั ญญาเช่ าระยะยาว สัญญาเช่าอุปกรณ์ที่ความเสี่ ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของส่ วนใหญ่ได้โอนไปให้กบั ผูเ้ ช่า ถือเป็ นสัญญาเช่ าการเงิ น สัญญาเช่ าการเงิ นจะบันทึ กเป็ นรายจ่ายฝ่ ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของ สิ นทรัพย์ที่เช่าหรื อมูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ ของจํานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่มูลค่าใดจะตํ่า กว่า ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกเป็ นหนี้ สินระยะยาว ส่ วนดอกเบี้ย

รายงานประจําปี 2554 75


จ่ายจะบันทึกในส่ วนของกําไรหรื อขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สิ นทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่า การเงินจะคิดค่าเสื่ อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสิ นทรัพย์ที่เช่า จํานวนเงิ นที่จ่ายตามสัญญาเช่ าดําเนิ นงานรั บรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายในส่ วนของกําไรหรื อขาดทุนตามวิธี เส้นตรงตลอดอายุสญ ั ญาเช่า 6.11 เงินตราต่ างประเทศ รายการที่เป็ นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สิ นทรัพย์และหนี้ สินที่เป็ นตัวเงินซึ่ งอยู่ในสกุลเงินตราต่างประเทศได้แปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้ อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน กําไรและขาดทุนที่เกิ ดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนได้รวมอยู่ในการคํานวณผลการ ดําเนินงาน 6.12 การด้ อยค่ าของสิ นทรัพย์ ทุกวันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน บริ ษทั ฯจะทําการประเมินการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ หรื อสิ นทรัพย์ที่ไม่มีตวั ตนของบริ ษทั ฯหากมีขอ้ บ่งชี้ ว่าสิ นทรัพย์ดงั กล่าวอาจด้อยค่า บริ ษทั ฯรับรู ้ ขาดทุนจากการด้อยค่าเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสิ นทรัพย์มีมูลค่าตํ่ากว่ามูลค่าตามบัญชีของ สิ น ทรั พ ย์น้ ัน ทั้ง นี้ มู ล ค่ า ที่ ค าดว่ า จะได้รั บ คื น หมายถึ ง มู ล ค่ า ยุติ ธ รรมหัก ต้น ทุ น ในการขายของ สิ นทรัพย์หรื อมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า บริ ษทั ฯจะรับรู ้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าในส่ วนของกําไรหรื อขาดทุน 6.13 ผลประโยชน์ พนักงาน ผลประโยชน์ ระยะสั้นของพนักงาน บริ ษทั ย่อยรับรู ้ เงินเดื อน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็ นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิ ด รายการ ผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนักงาน โครงการสมทบเงิน บริ ษทั ย่อยและพนักงานของบริ ษทั ย่อยได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ซึ่งประกอบด้วยเงินที่ พนักงานจ่ายสะสมและเงินที่บริ ษทั ย่อยจ่ายสมทบให้เป็ นรายเดือน สิ นทรัพย์ของกองทุนสํารองเลี้ยง ชีพได้แยกออกจากสิ นทรัพย์ของบริ ษทั ย่อย เงินที่บริ ษทั ย่อยจ่ายสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพบันทึก เป็ นค่าใช้จ่ายในปี ที่เกิดรายการ รายงานประจําปี 2554 76


โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยมีภาระสําหรับเงินชดเชยที่ตอ้ งจ่ายให้แก่พนักงานเมื่อออกจากงานตามกฎหมาย แรงงาน ซึ่ งบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยถือว่าเงินชดเชยดังกล่าวเป็ นโครงการผลประโยชน์หลังออกจาก งานสําหรับพนักงาน บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยคํานวณหนี้ สินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โดย ใช้วิธีคิดลดแต่ละหน่ วยที่ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผูเ้ ชี่ยวชาญอิสระได้ ทําการประเมินภาระผูกพันดังกล่าวตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย ผลกํา ไรหรื อ ขาดทุ น จากการประมาณการตามหลัก คณิ ต ศาสตร์ ป ระกัน ภัย สํา หรั บ โครงการ ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานจะรับรู ้ทนั ทีในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ในการปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่ องผลประโยชน์ของพนักงานเป็ นครั้งแรก บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยเลือกรับรู ้หนี้ สินในช่วงการเปลี่ยนแปลงที่มากกว่าหนี้ สินที่รับรู ้ ณ วันเดียวกันตาม นโยบายการบัญชีเดิม โดยบันทึกปรับกับกําไรสะสม ณ วันต้นงวดของปี ปัจจุบนั 6.14 ประมาณการหนีส้ ิ น บริ ษทั ฯจะบันทึกประมาณการหนี้ สินไว้ในบัญชีเมื่อภาระผูกพันซึ่ งเป็ นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีต ได้เกิดขึ้นแล้ว และมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าบริ ษทั ฯจะเสี ยทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อ ปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น และบริ ษทั ฯสามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ 6.15 ภาษีเงินได้ บริ ษทั ฯบันทึกภาษีเงินได้ตามจํานวนที่คาดว่าจะจ่ายให้กบั หน่วยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ โดยคํานวณ จากกําไรทางภาษีตามหลักเกณฑ์ที่กาํ หนดในกฎหมายภาษีอากร 7.

การใช้ ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีทสี่ ํ าคัญ ในการจัดทํางบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป ฝ่ ายบริ หารจําเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจและ การประมาณการในเรื่ องที่มีความไม่แน่ นอนเสมอ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการดังกล่าวนี้ ส่ ง ผลกระทบต่ อ จํา นวนเงิ น ที่ แ สดงในงบการเงิ น และต่ อ ข้อ มู ล ที่ แ สดงในหมายเหตุ ป ระกอบ งบการเงิน ผลที่เกิ ดขึ้นจริ งอาจแตกต่างไปจากจํานวนที่ประมาณการไว้ การใช้ดุลยพินิจและการ ประมาณการที่สาํ คัญมีดงั นี้ สั ญญาเช่ า

รายงานประจําปี 2554 77


ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็ นสัญญาเช่าดําเนิ นงานหรื อสัญญาเช่าทางการเงิน ฝ่ าย บริ หารได้ใช้ดุลยพินิจในการประเมินเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาเพื่อพิจารณาว่าบริ ษทั ฯได้ โอนหรื อรับโอนความเสี่ ยงและผลประโยชน์ในสิ นทรัพย์ที่เช่าดังกล่าวแล้วหรื อไม่ ค่ าเผือ่ หนีส้ งสั ยจะสู ญของลูกหนี้ ในการประมาณค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญของลูกหนี้ ฝ่ ายบริ หารจําเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณ การผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากลูกหนี้ แต่ละราย โดยคํานึ งถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี้ที่คงค้างและสภาวะเศรษฐกิจที่เป็ นอยูใ่ นขณะนั้น เป็ นต้น ทีด่ ิน อาคาร อุปกรณ์ และค่ าเสื่ อมราคา ในการคํานวณค่าเสื่ อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ ฝ่ ายบริ หารจําเป็ นต้องทําการประมาณอายุการให้ ประโยชน์และมูลค่าคงเหลื อเมื่ อเลิ กใช้งานของอาคารและอุปกรณ์ และต้องทบทวนอายุการให้ ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือหากมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น นอกจากนี้ ฝ่ายบริ หารจําเป็ นต้องสอบทานการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ในแต่ละช่วงเวลา และบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าหากคาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนตํ่ากว่ามูลค่าตามบัญชี ของ สิ นทรั พย์น้ ัน ในการนี้ ฝ่ายบริ หารจําเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจที่เกี่ ยวข้องกับการคาดการณ์ รายได้และ ค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่องกับสิ นทรัพย์น้ นั สิ นทรัพย์ ไม่ มีตัวตน ในการบันทึกและวัดมูลค่าของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ณ วันที่ได้มา ตลอดจนการทดสอบการด้อยค่าใน ภายหลัง ฝ่ ายบริ หารจําเป็ นต้องประมาณการกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตจากสิ นทรัพย์ หรื อ หน่ ว ยของสิ น ทรั พ ย์ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด เงิ น สด รวมทั้ง การเลื อ กอัต ราคิ ด ลดที่ เ หมาะสมในการ คํานวณหามูลค่าปัจจุบนั ของกระแสเงินสดนั้นๆ ผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน์ หนี้ สินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน ประมาณขึ้นตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย ซึ่ งต้องอาศัยข้อสมมติฐานต่าง ๆในการประมาณการนั้น เช่น อัตราคิดลด อัตราการขึ้น เงินเดือนในอนาคต อัตรามรณะ และอัตราการเปลี่ยนแปลงในจํานวนพนักงาน เป็ นต้น 8.

รายการธุรกิจกับกิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน ในระหว่างปี บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยมีรายการธุรกิจที่สาํ คัญกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจ ดังกล่าวเป็ นไปตามเงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ตามที่ตกลงกันระหว่างบริ ษทั ฯและบริ ษทั เหล่านั้น ซึ่งเป็ นไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุ ปได้ดงั นี้

รายงานประจําปี 2554 78


งบการเงินรวม 2554 2553

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553

(หน่วย: ล้านบาท) นโยบายกําหนดราคา

รายการธุรกิจกับบริ ษทั ย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) รายได้ค่าเช่า

-

-

2

-

ตามสัญญาซึ่งเป็ นไปตาม เงื่อนไขปกติธุรกิจ

รายการธุรกิจกับบริ ษทั ร่ วม ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร

1

-

-

-

ตามสัญญาซึ่งเป็ นไปตาม เงื่อนไขปกติธุรกิจ

รายการธุรกิจกับบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน รายได้จากการขายสิ นค้าและให้บริ การ รายได้ค่าเช่า

52 1

42 -

1

-

ต้นทุนขายและบริ การ

32

-

-

-

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร

18

26

2

2

-

2

-

-

หมายเหตุ 8.1 ตามสัญญาซึ่งเป็ นไปตาม เงื่อนไขปกติธุรกิจ ตามสัญญาซึ่งเป็ นไป ตามเงื่อนไขปกติธุรกิจ ตามสัญญาซึ่งเป็ นไปตาม เงื่อนไขปกติธุรกิจ ตามสัญญาซึ่งเป็ นไป ตามเงื่อนไขปกติธุรกิจ

ซื้อสิ นทรัพย์

8.1

การขายสิ นค้ากําหนดราคาจากต้นทุนบวกกําไรส่ วนเพิ่ม และการให้บริ การกําหนดราคาตามสัญญา ซึ่ งเป็ นไปตามเงื่อนไขปกติทางธุ รกิจ ทั้งนี้ ข้ ึนอยู่กบั ประเภทของสิ นค้าและงานบริ การ นโยบายการ กําหนดราคาดังกล่าวอาจมีการเปลี่ยนแปลงไปตามประเภทธุรกิจและสภาพการแข่งขันในขณะที่เกิด รายการ ยอดคงค้า งระหว่า งบริ ษ ัท ฯและกิ จ การที่ เ กี่ ย วข้อ งกัน ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2554 และ 2553 มี รายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม 2554 2553 ลูกหนีก้ ารค้ าและลูกหนีอ้ นื่ - กิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน (หมายเหตุ 11) 5,339 752 บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มีกรรมการร่ วมกัน) เจ้ าหนีก้ ารค้ าและเจ้ าหนีอ้ นื่ - กิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน (หมายเหตุ 21) 913 1,616 บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มีกรรมการร่ วมกัน) รายงานประจําปี 2554 79

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 -

-

541

-


เงินให้ ก้ยู มื แก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้ องกันและเงินกู้ยมื จากกิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน ยอดคงค้างของเงินให้กยู้ มื และเงินกูย้ มื ระหว่างบริ ษทั ฯ และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 และการเคลื่อนไหวของเงินให้กยู้ มื และเงินกูย้ มื ดังกล่าวมีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินฉพาะกิจการ ยอดคงเหลือ ลักษณะ ณ วันที่ ความสัมพันธ์ 31 ธันวาคม 2553

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

ในระหว่างปี เพิ่มขึ้น ลดลง

เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริ ษทั ดาต้าโปร คอมพิวเตอร์ ซิ สเต็มส์ จํากัด

บริ ษทั ย่อย

-

14,000

(14,000)

-

เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริ ษทั ดาต้าโปร คอมพิวเตอร์ ซิ สเต็มส์ จํากัด

บริ ษทั ย่อย

-

2,373

-

2,373

เงินให้ ก้ยู มื ระยะสั้ นแก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้ องกัน เงินให้กยู้ ืมแก่บริ ษทั ดาต้าโปร คอมพิวเตอร์ ซิ สเต็มส์ จํากัด จํานวน 14 ล้านบาท เป็ นเงินให้กยู้ ืมใน รู ปตัว๋ สัญญาใช้เงิน กําหนดชําระคืนเมื่อทวงถาม โดยมีอตั ราดอกเบี้ยเท่ากับร้อยละ 3.5 ต่อปี เงินกู้ยมื ระยะสั้ นจากกิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน เงินกูย้ ืมจากบริ ษทั ดาต้าโปร คอมพิวเตอร์ ซิ สเต็มส์ จํากัด จํานวน 2 ล้านบาท เป็ นเงินให้กยู้ ืมในรู ป ตัว๋ สัญญาใช้เงิน กําหนดชําระคืนเมื่อทวงถาม โดยมีอตั ราดอกเบี้ยเท่ากับร้อยละ 9.4 ต่อปี ลูกหนีต้ ามสั ญญาโอนสิ ทธิเรียกร้ อง - กิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน ในไตรมาสที่ สี่ของปี 2548 บริ ษทั ฯได้ขายเงิ นลงทุนในบริ ษ ทั ย่อย 2 แห่ ง ให้แก่ บริ ษทั พรี เมี ย ร์ แมนู แฟคเจอริ่ ง จํากัด โดยมี กาํ ไรจากการขายเงิ นลงทุนจํานวน 144 ล้านบาท และพร้ อมกันนั้น บริ ษทั ฯได้ทาํ สัญญาโอนสิ ทธิ เรี ยกร้องในลูกหนี้ และเงินให้กูย้ ืมแก่บริ ษทั พรี เมียร์ ซี อี จํากัด และ บริ ษทั พรี เมียร์ โฮม แอพพลายแอนซ์ จํากัด ซึ่ งมียอดคงเหลือ ณ วันที่ 30 พฤศจิ กายน 2548 เป็ น จํานวนเงิ น 70 ล้านบาท และ 20 ล้านบาท ตามลําดับ ให้แก่ บริ ษ ทั ที่ เกี่ ยวข้องกัน ดัง กล่าว โดยมี ค่าตอบแทนการโอนสิ ทธิ เป็ นจํานวนเงิน 90 ล้านบาท ซึ่ งบริ ษทั ฯได้รับชําระเงินบางส่ วนจํานวน 5 ล้านบาท บริ ษทั ฯบันทึกยอดเงินค้างรับค่าตอบแทนการโอนสิ ทธิ เรี ยกร้องจํานวน 85 ล้านบาท เป็ น บัญชี ลูกหนี้ ตามสัญญาโอนสิ ทธิ เรี ยกร้ อง - กิ จการที่ เกี่ ยวข้องกันในงบแสดงฐานะการเงิ น และ บริ ษทั ฯจะทยอยรับชําระเงินเป็ นรายปี จํานวน 5 งวด งวดละ 17 ล้านบาท เริ่ มตั้งแต่วนั ที่ 1 ธันวาคม 2549 โดยไม่มีการคิดดอกเบี้ย อย่างไรก็ตาม เพื่อความระมัดระวังรอบคอบ บริ ษทั ฯได้ชะลอการรับรู ้ กํา ไรจากการขายเงิ น ลงทุ น ดัง กล่ า วส่ ว นหนึ่ ง จํา นวน 85 ล้า นบาทไว้จ นกว่า จะได้รั บ ชํา ระเงิ น ค่าตอบแทนการโอนสิ ทธิเรี ยกร้องในลูกหนี้และเงินให้กยู้ มื จากบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกันดังกล่าว รายงานประจําปี 2554 80


ในปี 2553 บริ ษทั ฯได้รับชําระเงินครบทั้งจํานวนตามสัญญาแล้ว ที่ประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั ฯครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554 ได้มีมติให้บริ ษทั ฯ โอนกําไรจากการขายเงินลงทุนซึ่ งบันทึกในบัญชีกาํ ไรจากการขายเงินลงทุนให้บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องที่ แสดงไว้ในในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นจํานวนรวม 85 ล้านบาท (ปี 2553 จํานวน 17 ล้านบาท และปี 2552 จํานวน 68 ล้านบาท) เป็ นกําไรสะสม โดยให้มีผลย้อนหลังถึงปี 2552 และ ให้บริ ษทั ฯจัดสรรกําไรสะสมในอัตราร้อยละห้าของกําไรจากการขายเงินลงทุนให้บริ ษทั ที่เกี่ยวข้อง กันเป็ นทุนสํารองตามกฎหมายจํานวน 4 ล้านบาท ค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยมีค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ พนักงานที่ให้แก่กรรมการและผูบ้ ริ หาร ดังต่อไปนี้

ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวม 9.

งบการเงินรวม 2554 2553 23 21 1 24 21

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 1 1 1 1

งบการเงินรวม 2554 2553 105 90 10,528 61,871 10,633 61,961

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 5 5 444 25,257 449 25,262

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด

เงินสด เงินฝากธนาคาร รวม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เงิ นฝากออมทรั พย์มีอตั ราดอกเบี้ ยระหว่างร้ อยละ 0.25 ถึ ง 0.75 ต่อปี (2553: ร้อยละ 0.25 ถึง 0.75 ต่อปี ) 10.

เงินลงทุนชั่วคราว

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริ ษทั ฯมีเงินลงทุนในพันธบัตรธนาคารแห่ งประเทศไทยประเภทไม่มี ดอกเบี้ย มูลค่าตามหน้าตัว๋ 50 ล้านบาท ซึ่งครบกําหนดในเดือนมีนาคม 2554 รายงานประจําปี 2554 81


11.

ลูกหนีก้ ารค้ าและลูกหนีอ้ นื่ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2554 2553 ลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงกําหนดชําระ ยังไม่ถึงกําหนดชําระ ค้างชําระ ไม่เกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงกําหนดชําระ ยังไม่ถึงกําหนดชําระ ค้างชําระ ไม่เกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน รวม หัก: ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน, สุ ทธิ รวมลูกหนี้การค้า - สุ ทธิ ลูกหนี้อื่น รายได้คา้ งรับ รวมลูกหนื้อื่น รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุ ทธิ

รายงานประจําปี 2554 82

264

42

4,401 674 5,339

635 75 752

229,275

187,897

114,963 12,215 10,403 21,533 388,389 (22,206) 366,183 371,522

80,528 4,924 12,324 32,884 318,557 (22,251) 296,306 297,058

5,085 5,085 376,607

10,565 10,565 307,623


ยอดคงเหลือของลูกหนี้ การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ได้รวมลูกหนี้ การค้าจํานวน 129 ล้านบาท (2553: 49 ล้านบาท) ซึ่ งบริ ษทั ย่อยได้โอนสิ ทธิ เรี ยกร้ องที่ จะได้รับชําระจากลูกหนี้ ให้แ ก่ บริ ษ ทั แฟคตอริ่ งตามสัญญาโอนขายสิ ทธิ เรี ยกร้อง (Factoring Agreement) โดยคิดอัตรารับซื้ อลดลูกหนี้ เท่ากับอัตราที่ระบุในสัญญา หากผูร้ ับโอนสิ ทธิ ไม่สามารถเรี ยกเก็บหนี้ จากลูกหนี้ ที่บริ ษทั ย่อยโอน สิ ทธิให้บริ ษทั ย่อยจะเป็ นผูช้ าํ ระหนี้ที่คา้ งชําระแก่บริ ษทั ผูร้ ับโอน 12.

สิ นค้ าคงเหลือ (หน่วย: พันบาท)

ราคาทุน สิ นค้าสําเร็ จรู ป สิ นค้าระหว่างทาง รวม

13.

2554 199,116 17,894 217,010

2553 158,315 7,093 165,408

สิ นค้าคงเหลือ - สุ ทธิ 2554 2553 197,478 156,354 17,894 7,093 215,372 163,447

สิ นทรัพย์ หมุนเวียนอืน่ งบการเงินรวม 2554 2553 29,525 30,015 17,626 19,057 47,151 49,072

ภาษีเงินได้หกั ณ ที่จ่าย อื่น ๆ รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น

14.

งบการเงินรวม รายการปรับลดราคาทุนให้ เป็ นมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ 2554 2553 (1,638) (1,961) (1,638) (1,961)

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 142 1 1,439 897 1,581 898

เงินฝากธนาคารทีต่ ิดภาระคํา้ ประกัน บริ ษทั ย่อยได้นาํ เงินฝากธนาคารไปเป็ นหลักทรัพย์ค้ าํ ประกันสําหรับวงเงินสิ นเชื่อจากสถาบันการเงิน ซึ่งประกอบด้วยเงินกูย้ มื หนังสื อคํ้าประกันและวงเงินสิ นเชื่ออื่นๆของบริ ษทั ย่อย

รายงานประจําปี 2554 83


15.

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยตามที่แสดงอยูใ่ นงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

บริ ษทั

บริ ษทั ดาต้าโปร คอมพิวเตอร์ ซิสเต็มส์ จํากัด หัก: ค่าเผือ่ การด้อยค่าเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย รวมเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย - สุ ทธิ

ทุนเรี ยกชําระแล้ว สัดส่ วนเงินลงทุน 2554 2553 2554 2553 ร้อยละ ร้อยละ 30,000 30,000 100 100

ราคาทุน 2554 2553 255,887 (103,160) 152,727

255,887 (103,160) 152,727

(หน่วย: พันบาท) เงินปั นผลที่บริ ษทั ฯ รับระหว่างปี 2554 2553 57,000

ในเดื อนมิ ถุนายน 2554 ที่ ประชุ มคณะกรรมการของบริ ษทั ย่อยได้มีมติ อนุ มตั ิ การจ่ ายเงิ นปั นผล ระหว่างกาลสําหรับปี 2554 โดยจ่ายให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นในอัตราหุ น้ ละ 100 บาท รวมเป็ นเงินจํานวน 30 ล้านบาท บริ ษทั ย่อยได้จ่ายเงินปันผลดังกล่าวในเดือนมิถุนายน 2554 ในเดื อนธันวาคม 2554 ที่ ประชุ มคณะกรรมการของบริ ษทั ย่อยได้มีมติ อนุ มตั ิ การจ่ ายเงิ นปั นผล ระหว่างกาลสําหรับปี 2554 โดยจ่ายให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นในอัตราหุ ้นละ 90 บาท รวมเป็ นเงินจํานวน 27 ล้านบาท บริ ษทั ฯได้บนั ทึกเป็ นเงินปั นผลค้างรั บจากบริ ษทั ย่อยในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

รายงานประจําปี 2554 84

-


16.

เงินลงทุนในบริษัทร่ วม

16.1 รายละเอียดของบริ ษทั ร่ วม (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม บริ ษทั

บริ ษทั แอ็ดวานซ์ ไซเบอร์ เทคโนโลยี จํากัด

ลักษณะธุรกิจ

จัดตั้งขึ้นในประเทศ

ให้บริ การ

ไทย

สัดส่ วนเงินลงทุน 2554 2553 ร้อยละ ร้อยละ 26

26

ราคาทุน 2554 2553 5,200

5,200

มูลค่าตามบัญชี ตามวิธีส่วนได้เสี ย 2554 2553 1,185

1,384

(หน่วย: พันบาท)

บริ ษทั

ลักษณะ ธุรกิจ

จัดตั้งขึ้นใน ประเทศ

บริ ษทั แอ็ดวานซ์ ไซเบอร์ เทคโนโลยี จํากัด

ให้บริ การ

ไทย

สัดส่ วนเงินลงทุน 2554 2553 ร้อยละ ร้อยละ 26

รายงานประจําปี 2554 85

26

งบการเงินเฉพาะกิจการ ค่าเผือ่ การด้อยค่า ของเงินลงทุน ราคาทุน 2554 2553 2554 2553 5,200

5,200

(3,816) (3,816)

มูลค่าตามบัญชี ตามวิธีราคาทุน - สุ ทธิ 2554 2553 1,384

1,384


16.2 ส่ วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) ในระหว่างปี บริ ษทั ฯรับรู ้ส่วนแบ่งขาดทุนจากการลงทุนในบริ ษทั ร่ วมในงบการเงินรวมดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม ส่ วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนใน บริ ษทั ร่ วมในระหว่างปี 2554 2553 (1,328) (199)

บริ ษทั บริ ษทั แอ็ดวานซ์ ไซเบอร์ เทคโนโลยี จํากัด 16.3 ข้อมูลทางการเงินของบริ ษทั ร่ วม

ข้อมูลทางการเงินตามที่แสดงอยูใ่ นงบการเงินของบริ ษทั ร่ วมโดยสรุ ปมีดงั นี้

บริ ษทั บริ ษทั แอ็ดวานซ์ ไซ เบอร์ เทคโนโลยี จํากัด

ทุนเรี ยกชําระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 2553 20

20

สิ นทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 2553 8

9

(หน่วย: ล้าน บาท) ขาดทุน หนี้สินรวม รายได้รวมสําหรับ สําหรับปี สิ้ นสุ ด ณ วันที่ ปี สิ้ นสุ ดวันที่ วันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2554 2553 2554 2553 2554 2553 4

3

1

6

(1)

(5)

ข้อมูลทางการเงินและส่ วนแบ่งขาดทุนในบริ ษทั ร่ วมคํานวณขึ้นจากงบการเงินซึ่งจัดทําโดยฝ่ ายบริ หาร และไม่ได้ตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชี บริ ษทั ฯเชื่อว่ามูลค่าของเงินลงทุนไม่มีความแตกต่างอย่างเป็ น สาระสําคัญหากส่ วนแบ่งดังกล่าวคํานวณจากงบการเงินซึ่งได้รับการตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชี 17.

อสั งหาริมทรัพย์ เพือ่ การลงทุน มูลค่าตามบัญชีของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 แสดงได้ดงั นี้ งบการเงินรวม ที่ดิน และอาคาร สํานักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554: รายงานประจําปี 2554 86

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ที่ดิน และอาคาร สํานักงาน


ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม มูลค่าตามบัญชี - สุ ทธิ

176,255 (792) 175,463

255,155 (1,147) 254,008

การกระทบยอดมูลค่าตามบัญชีของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนสําหรับปี 2554 แสดงได้ดงั นี้

มูลค่าตามบัญชีตน้ ปี ซื้อที่ดินและอาคารสํานักงาน ค่าเสื่ อมราคา มูลค่าตามบัญชีปลายปี

(หน่วย: พันบาท) สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม 176,255 255,155 (792) (1,147) 254,008 175,463

เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2554 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั ฯได้มีมติอนุมตั ิให้บริ ษทั ฯเข้าร่ วมการ ประมูลเพื่อซื้อที่ดิน และอาคารสํานักงานแห่ งหนึ่งจากการขายทอดตลาดของกรมบังคับคดี กระทรวง ยุติธรรม ซึ่งเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2554 บริ ษทั ฯได้เข้าร่ วมและชนะการประมูลซื้ อสิ นทรัพย์ดงั กล่าว บริ ษทั ฯได้ชาํ ระราคาสิ นทรัพย์ และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องรวมเป็ นจํานวนเงิน 255 ล้านบาท มูลค่ายุติธรรมของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 แสดงได้ดงั นี้ (หน่วย: พันบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 งบการเงินรวม ที่ดินและอาคารสํานักงาน

192,036

งบการเงินเฉพาะกิจการ 278,000

มูลค่ายุติธรรมประเมินโดยผูป้ ระเมินราคาอิสระโดยใช้เกณฑ์ราคาตลาด บริ ษทั ฯได้นาํ อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนดังกล่าวไปจดจํานองเพื่อคํ้าประกันเงินกูย้ ืมระยะยาวกับ บริ ษทั แห่งหนึ่ง

รายงานประจําปี 2554 87


18.

ทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ์ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม เครื่ องตกแต่งติดตั้ง และอุปกรณ์ สํานักงาน

เครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2552 78,972 295,320 ซื้อเพิ่ม 4,603 30,091 จําหน่าย (3,056) (24,884) 2,177 โอนเข้า (โอนออก) 82,696 300,527 31 ธันวาคม 2553 ค่ าเสื่ อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2552 56,038 216,921 ค่าเสื่ อมราคาสําหรับปี 8,535 46,396 (2,363) (24,658) ค่าเสื่ อมราคาสําหรับส่ วนที่จาํ หน่าย 62,210 238,659 31 ธันวาคม 2553 มูลค่ าสุ ทธิตามบัญชี 20,486 61,868 31 ธันวาคม 2553 ค่ าเสื่ อมราคาสํ าหรับปี 2553 (28 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการบริ การ ส่ วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร) รายงานประจําปี 2554 88

สิ นทรัพย์ระหว่าง ติดตั้ง

ยานพาหนะ

รวม

524 524

69 32,591 (2,177) 30,483

374,885 67,285 (27,940) 414,230

521 1 522

-

273,480 54,932 (27,021) 301,391

2

30,483

112,839 54,932


18.

ทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ์ (ต่ อ) (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

ที่ดิน

อาคาร

เครื่ องตกแต่ง ติดตั้งและ อุปกรณ์ สํานักงาน

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2553 82,696 ซื้อเพิ่ม 43,440 35,460 7,096 จําหน่าย (2,266) 41,206 โอนเข้า (โอนออก) 43,440 35,460 128,732 31 ธันวาคม 2554 ค่ าเสื่ อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2553 62,210 ค่าเสื่ อมราคาสําหรับปี 355 11,586 (2,100) ค่าเสื่ อมราคาสําหรับส่ วนที่จาํ หน่าย 355 71,696 31 ธันวาคม 2554 มูลค่ าสุ ทธิตามบัญชี 43,440 35,105 57,036 31 ธันวาคม 2554 ค่ าเสื่ อมราคาสํ าหรับปี 2554 (28 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการบริ การ ส่ วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร) รายงานประจําปี 2554 89

เครื่ อง คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์

ยานพาหนะ

สิ นทรัพย์ ระหว่างติดตั้ง

300,527 41,816 (37,981) 5,867 310,229

524 1,066 1,590

30,483 19,456 (47,073) 2,866

414,230 148,334 (40,247) 522,317

238,659 43,872 (37,339) 245,192

522 184 706

-

301,391 55,997 (39,439) 317,949

65,037

884

2,866

204,368

รวม

55,997


18.

ทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ์ (ต่ อ) (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่ องตกแต่งและ อุปกรณ์สาํ นักงาน ราคาทุน 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553 ค่ าเสื่ อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2552 ค่าเสื่ อมราคาสําหรับปี 31 ธันวาคม 2553 มูลค่ าสุ ทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2553

31 31 8 6 14 17

ค่ าเสื่ อมราคาสํ าหรับปี (รวมอยู่ในค่ าใช้ จ่ายในการบริหาร) 2553

6 (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่ องตกแต่งและ อุปกรณ์สาํ นักงาน

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2554 ค่ าเสื่ อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2553 ค่าเสื่ อมราคาสําหรับปี 31 ธันวาคม 2554 มูลค่ าสุ ทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2554

31 31 14 6 20 11

ค่ าเสื่ อมราคาสํ าหรับปี (รวมอยู่ในค่ าใช้ จ่ายในการบริหาร) 2554

รายงานประจําปี 2554 90

6


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ที่ดิน และอาคารที่แสดงอยูใ่ นงบการเงินรวม เป็ นส่ วนของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อ การลงทุนของบริ ษทั ฯที่ให้บริ ษทั ย่อยเช่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริ ษทั ย่อยมียอดคงเหลือของอุปกรณ์ซ่ ึงได้มาภายใต้สัญญาเช่าทางการเงิน โดยมีมูลค่าสุ ทธิตามบัญชีเป็ นจํานวนเงิน 63 ล้านบาท (2553: 72 ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริ ษทั ย่อยมีอุปกรณ์จาํ นวนหนึ่ งซึ่ งตัดค่าเสื่ อมราคาหมดแล้วแต่ยงั ใช้งาน อยู่ มูลค่าตามบัญชี ก่ อ นหัก ค่า เสื่ อมราคาสะสมของสิ น ทรั พ ย์ดัง กล่ า วมี จ าํ นวนเงิ น ประมาณ 221 ล้านบาท (2553: 200 ล้านบาท) ที่ดินและอาคารในงบการเงินรวมได้ถูกนําไปจดจํานองเพื่อคํ้าประกันเงินกูย้ ืมระยะยาวของบริ ษทั ฯ กับบริ ษทั แห่งหนึ่ง 19.

สิ นทรัพย์ ไม่ มีตัวตน สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่เป็ นค่าออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554: ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม มูลค่าตามบัญชี - สุ ทธิ

11,607 (880) 10,727

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553: ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม มูลค่าตามบัญชี - สุ ทธิ

8,804 8,804

รายงานประจําปี 2554 91


การกระทบยอดมูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนสําหรับปี 2554 และ 2553 แสดงได้ดงั นี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2554 2553 8,804 2,803 8,804 (880) 8,804 10,727

มูลค่าตามบัญชีตน้ ปี ค่าพัฒนาผลิตภัณฑ์ ค่าตัดจําหน่าย มูลค่าตามบัญชีปลายปี 20. เงินกู้ยมื ระยะสั้ นจากสถาบันการเงิน

เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากธนาคาร เจ้าหนี้บริ ษทั แฟคตอริ่ ง รวม

อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี ) MLR,MLR + 0.25 7.6 และ 7.75

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2554 2553 27,806 112,623 44,068 44,068 140,429

เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากธนาคารของบริ ษทั ย่อยคํ้าประกันโดยเงินฝากธนาคารของบริ ษทั ย่อย และการโอน สิ ทธิเรี ยกรับเงินค่าสิ นค้าและบริ การจากผูว้ า่ จ้างรายหนึ่งให้กบั ธนาคาร 21. เจ้ าหนีก้ ารค้ าและเจ้ าหนีอ้ นื่

เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

งบการเงินรวม 2553 2554 296,347 319,971 913 1,616 85,817 92,324 413,911 383,077

รายงานประจําปี 2554 92

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 541 2,132 192 2,673 192


22.

เงินกู้ยมื ระยะยาว เงินกูย้ มื ระยะยาวของบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยซึ่งรวมส่ วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี ประกอบด้วย รายการดังต่อไปนี้

เงินกูย้ มื ระยะยาว หัก: ส่ วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี เงินกูย้ มื ระยะยาว - สุ ทธิจากส่ วนที่ถึง กําหนดชําระภายในหนึ่งปี

งบการเงินรวม 2554 2553 196,140 4,280 (2,140) (2,140) 194,000

2,140

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินฉพาะกิจการ 2554 2553 194,000 194,000

ในเดือนธันวาคม 2554 บริ ษทั ฯทําสัญญากูย้ มื เงินกับบริ ษทั แห่งหนึ่ง โดยเงินกูย้ มื ดังกล่าวคิดดอกเบี้ยใน 3 ปี แรกเท่ากับอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 9 ต่อปี หลังจากนั้นคิดดอกเบี้ยในอัตรา MLR บวกร้อยละ 1.25 ต่อปี มี ระยะเวลาปลอดชําระหนี้จนถึงเดือนเมษายน 2556 และมีกาํ หนดชําระคืนเงินต้นและดอกเบี้ยเป็ นรายเดือน โดยบริ ษทั ฯต้องชําระคืนเงินกูย้ มื ทั้งหมดภายในเดือนตุลาคม 2567 เงินกูย้ มื ดังกล่าวคํ้าประกันโดยการจด จํานองอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนของบริ ษทั ฯและจดจํานําหุน้ ของบริ ษทั ย่อยจํานวน 299,994 หุน้ เงินกูย้ ืมระยะยาวของบริ ษทั ย่อย เป็ นเงินกูย้ ืมจากบริ ษทั อื่นเพื่อใช้ในการซื้ อสิ นทรัพย์ของบริ ษทั ย่อย โดยมี กําหนดชําระคืนเงินต้นเป็ นรายปี ภายใน 3 ปี เริ่ มตั้งแต่วนั ที่ที่กาํ หนดในสัญญาพร้อมดอกเบี้ยตามที่ระบุใน สัญญา 23.

หนีส้ ิ นระยะยาว หนี้ สินระยะยาวของบริ ษทั ย่อยเป็ นหนี้ สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน ซึ่ งรวมส่ วนที่ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ่งปี โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2554 2553 55,000 75,685 (3,539) (5,536) 51,461 70,149

หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน หัก: ดอกเบี้ยรอตัดบัญชี รายงานประจําปี 2554 93

-


หัก: ส่ วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี หนี้สินระยะยาว - สุ ทธิจากส่ วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี

(30,648) 20,813

(37,971) 32,178

บริ ษทั ย่อยได้ทาํ สัญญาเช่าการเงินเพื่อเช่าอุปกรณ์เพื่อใช้ในการดําเนิ นกิจการโดยมีกาํ หนดการชําระ ค่าเช่าเป็ นรายเดือน อายุของสัญญามีระยะเวลาโดยเฉลี่ยประมาณ 3 ปี สิ นทรัพย์ซ่ ึ งบริ ษทั ย่อยได้มา ภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงินจะถูกบันทึกเป็ นสิ นทรัพย์ของบริ ษทั ย่อยในราคาเงินสดของสิ นทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริ ษทั ย่อยมีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายค่าเช่าขั้นตํ่าตามสัญญาเช่าการเงินดังนี้

ผลรวมของจํานวนเงินขั้นตํ่าที่ตอ้ งจ่ายทั้งสิ้ นตามสัญญาเช่า ดอกเบี้ยตามสัญญาเช่าการเงินรอการตัดบัญชี มูลค่าปัจจุบนั ของจํานวนเงินขั้นตํ่าที่ตอ้ งจ่ายทั้งสิ้ นตามสัญญาเช่า

รายงานประจําปี 2554 94

ไม่เกิน 1 ปี 33 (3) 30

(หน่วย: ล้านบาท) 1 - 3 ปี รวม 22 55 (1) (4) 21 51


24.

หนีส้ ิ นระยะยาวตามแผนฟื้ นฟูกจิ การ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 หนี้ สินระยะยาวภายหลังการปรับโครงสร้างหนี้ ตามแผนฟื้ นฟู กิจการ ประกอบด้วย (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 เจ้าหนี้ช้ นั ต้นในหนี้เงินกูแ้ ละตราสารทางการเงิน - เงินต้นมีกาํ หนดชําระคืนทุก 6 เดือน ภายใน 10 ปี นับตั้งแต่วนั ที่ศาลมีคาํ สั่ง เห็นชอบด้วยแผนถึงที่สุด มีระยะเวลาปลอดชําระหนี้ เงินต้น 3 ปี (เริ่ มชําระ คืนตั้งแต่ปี 2547) โดยมีอตั ราดอกเบี้ยร้อยละ 6 ต่อปี หรื อ MLR แล้วแต่อย่าง ใดจะตํ่ากว่า บวก: ดอกเบี้ยจ่ายรอรับรู้ในอนาคต หนี้สินระยะยาวตามแผนฟื้ นฟูกิจการ หัก: ส่ วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี หนี้สินระยะยาวตามแผนฟื้ นฟูกิจการ- สุ ทธิ จากส่ วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี

25.

-

500 1 501 (501)

-

-

สํ ารองผลประโยชน์ ระยะยาวของพนักงาน จํานวนเงิ นสํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานซึ่ งเป็ นเงินชดเชยพนักงานเมื่อออกจากงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 แสดงได้ดงั นี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับผลประโยชน์ของ พนักงานโดยปรับกับกําไรสะสมต้นปี (หมายเหตุ 5) ต้นทุนบริ การในปัจจุบนั ต้นทุนดอกเบี้ย ผลประโยชน์ที่จ่ายในระหว่างปี กําไรจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย ยอดคงเหลือปลายปี

34,177 4,566 1,309 (2,680) (5,206) 32,166

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานรวมอยูใ่ นกําไรหรื อขาดทุนสําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 จํานวน 6 ล้านบาท รายงานประจําปี 2554 95


ผลกําไรจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยสะสมที่รับรู ้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีจาํ นวนประมาณ 5 ล้านบาท สมมติฐานที่สาํ คัญในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย ณ วันประเมิน สรุ ปได้ดงั นี้ อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต อัตราการเปลี่ยนแปลงในจํานวนพนักงาน (ขึ้นกับช่วงอายุของพนักงาน) 26.

ร้อยละต่อปี 4.0 5.0, 5.5 1.0 - 15.0

สํ ารองตามกฎหมาย ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่ ง พระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริ ษทั ฯจะต้อง จัดสรรกําไรสุ ทธิประจําปี ส่ วนหนึ่งไว้เป็ นทุนสํารองตามกฎหมายไม่นอ้ ยกว่าร้อยละห้าของกําไรสุ ทธิ ประจําปี หักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสํารองนี้จะมีจาํ นวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละสิ บ ของทุนจดทะเบียน สํารองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนําไปจ่ายเงินปันผลได้

27.

ค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่สาํ คัญดังต่อไปนี้

เงินเดือนและผลประโยชน์อื่นของพนักงาน ค่าเสื่ อมราคา ค่าเช่าจ่ายตามสัญญาเช่าดําเนินงาน ซื้อสิ นค้า การเปลี่ยนแปลงในสิ นค้าสําเร็ จรู ป 28.

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม 2554 2553 2554 2553 347,067 368,277 1,090 820 56,790 54,932 1,153 6 20,152 18,502 1,308,977 1,117,747 (40,801) (106,303) -

ภาษีเงินได้ นิติบุคคล บริ ษทั ฯไม่มีภาระภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับปี 2554 เนื่องจากรายได้เงินปั นผลได้รับยกเว้นภาษีเงิน ได้ตามมาตรา 65 ทวิ (10) ตามประมวลรัษฎากร

29.

กําไรต่ อหุ้นขั้นพืน้ ฐาน กําไรต่อหุ น้ ขั้นพื้นฐานคํานวณโดยหารกําไร (ขาดทุน) สําหรับปี (ไม่รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น) ด้วยจํานวนถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนักของหุ น้ สามัญที่ถือโดยบุคคลภายนอกที่ออกอยูใ่ นระหว่างปี ภายหลัง จากหักจํานวนหุน้ ของบริ ษทั ฯที่ถือโดยบริ ษทั ย่อยจํานวน 230,175 หุน้ รายงานประจําปี 2554 96


30.

ข้ อมูลทางการเงินจําแนกตามส่ วนงาน บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยดําเนิ นกิจการในส่ วนงานทางธุ รกิจเดียวคือธุ รกิจเทคโนโลยีและสารสนเทศ และดําเนินธุรกิจในส่ วนงานหลักทางภูมิศาสตร์เดียวคือในประเทศไทย ดังนั้นรายได้ กําไร (ขาดทุน) และสิ นทรัพย์ท้ งั หมดที่แสดงในงบการเงินจึงเกี่ยวข้องกับส่ วนงานธุรกิจและส่ วนงานทางภูมิศาสตร์ ตามที่กล่าวไว้

31.

กองทุนสํ ารองเลีย้ งชีพ บริ ษทั ย่อยและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสํารอง เลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ซึ่ งประกอบด้วยเงินที่บริ ษทั ย่อยและพนักงานจ่ายสมทบกองทุนดังกล่าวเป็ นราย เดื อนในอัตราร้อยละ 5 ของเงินเดือน กองทุนสํารองเลี้ยงชี พนี้ บริ หารโดยบริ ษทั หลักทรัพย์จดั การ กองทุน ทิสโก้ จํากัด และจะจ่ายให้พนักงานในกรณี ที่ออกจากงานตามระเบียบว่าด้วยกองทุนของ บริ ษทั ย่อย ในระหว่างปี 2554 บริ ษทั ย่อยได้จ่ายเงิ นสมทบเข้ากองทุนเป็ นจํานวนเงิ น 7 ล้านบาท (2553: 8 ล้านบาท)

32.

เงินปันผลจ่ าย อนุมตั ิโดย เงินปันผลจ่ายจากกําไรสะสม ของปี 2552 รวมเงินปั นผลจ่ายปี 2553

ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2553

เงินปันผลจ่ายจากกําไรสะสม ของปี 2553 เงินปันผลระหว่างกาลจ่ายจากผล การดําเนินงานสําหรับเดือน มกราคมถึงมิถุนายน 2554 รวมเงินปั นผลจ่ายปี 2554

ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2554 ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ฯ เมื่อวันที่ 4 สิ งหาคม 2554

รายงานประจําปี 2554 97

เงินปันผลจ่าย ต่อหุน้ เงินปันผลจ่าย (ล้านบาท) (บาท)

เงินปันผล จ่ายในเดือน

14 14

0.10 พฤษภาคม 2553

21

0.15 พฤษภาคม 2554

14 35

0.10 กันยายน 2554


33.

ภาระผูกพันและหนีส้ ิ นทีอ่ าจเกิดขึน้

33.1 ภาระผูกพันเกีย่ วกับรายจ่ ายฝ่ ายทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริ ษทั ย่อยมีภาระผูกพันเกี่ยวข้องกับการซื้ออุปกรณ์เป็ นจํานวนเงิน 1 ล้านบาท 33.2 ภาระผูกพันเกีย่ วกับสั ญญาเช่ าดําเนินงาน บริ ษทั ย่อยได้เข้าทําสัญญาเช่าดําเนิ นงานที่เกี่ยวข้องกับการเช่าอาคารสํานักงาน และบริ การที่เกี่ยวข้อง อายุของสัญญามีระยะเวลาโดยเฉลี่ยประมาณ 1 ถึง 13 ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริ ษทั ย่อยมีจาํ นวนเงินขั้นตํ่าที่ตอ้ งจ่ายในอนาคตทั้งสิ้ นภายใต้สัญญาเช่า ดําเนินงานดังนี้ ล้านบาท จ่ายชําระภายใน ภายใน 1 ปี 1 ถึง 5 ปี มากกว่า 5 ปี

23 22 8

33.3 ภาระผูกพันเกีย่ วกับสั ญญาให้ บริการ บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยได้ทาํ สัญญาบริ การการจัดการกับบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งโดยมีค่าบริ การ ที่จะต้องชําระในอนาคตเป็ นจํานวนเงินประมาณ 0.5 ล้านบาทต่อเดือน และเฉพาะของบริ ษทั ฯเป็ น จํานวนเงิ นประมาณ 0.1 ล้านบาทต่อเดื อน โดยสัญญาดังกล่าวจะครบกําหนดอายุสัญญาในเดื อน ธันวาคม 2555 อย่างไรก็ตามสัญญานี้ จะมีผลใช้บงั คับต่อไปอีกคราวละ 1 ปี จนกว่าจะมีการบอกเลิก สัญญา 33.4 หนังสื อคํา้ ประกันธนาคาร บริ ษทั ย่อยมีภาระผูกพันจากการที่ธนาคารออกหนังสื อคํ้าประกันในนามบริ ษทั ย่อยคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เป็ นจํานวนเงินประมาณ 84 ล้านบาท (2553: 51 ล้านบาท) ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระ ผูกพันทางปฏิบตั ิบางประการตามปกติธุรกิจของบริ ษทั ย่อย โดยหนังสื อคํ้าประกันดังกล่าวออกเพื่อ คํ้าประกันการปฏิบตั ิตามสัญญาทั้งจํานวน 33.5 สั ญญาค่ าสิ ทธิ บริ ษทั ย่อยได้ทาํ บันทึกข้อตกลงการได้รับสิ ทธิ ติดตั้งระบบสื่ อโฆษณากับบริ ษทั แห่ งหนึ่ งในประเทศ เพื่อให้บริ ษทั ย่อยเป็ นผูด้ าํ เนินการติดตั้งและให้บริ การระบบสื่ อโฆษณาภายในรถโดยสารประจําทาง โดยภายใต้เงื่อนไขตามบันทึกข้อตกลงดังกล่าว บริ ษทั ย่อยต้องจ่ายค่าตอบแทนการได้รับสิ ทธิเป็ นราย รายงานประจําปี 2554 98


ปี โดยเริ่ มตั้งแต่ปี 2552 ถึง ปี 2555 รวมประมาณ 13 ล้านบาท ซึ่งในระหว่างปี 2554 บริ ษทั ย่อยบันทึก ค่าสิ ทธิภายใต้สญ ั ญาดังกล่าวเป็ นค่าใช้จ่ายจํานวนเงินประมาณ 3 ล้านบาท (2553: 3 ล้านบาท) 34.

เครื่องมือทางการเงิน

34.1 นโยบายการบริหารความเสี่ ยง เครื่ องมือทางการเงินที่สาํ คัญของบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยตามที่นิยามอยูใ่ นมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 107 “การแสดงรายการและการเปิ ดเผยข้อมูลสําหรับเครื่ องมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสดและ รายการเทียบเท่าเงินสด เงินฝากธนาคารที่ติดภาระคํ้าประกัน ลูกหนี้ เงินลงทุน เงินกูย้ มื ระยะสั้นและ เงิ นกูย้ ืมระยะยาว บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยมีความเสี่ ยงที่เกี่ ยวข้องกับเครื่ องมือทางการเงิ นดังกล่าว และมีนโยบายการบริ หารความเสี่ ยงดังนี้ ความเสี่ ยงด้ านการให้ สินเชื่อ บริ ษทั ย่อยมีความเสี่ ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค้า ฝ่ ายบริ หารควบคุมความเสี่ ยงนี้ โดยการกําหนดให้มีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสิ นเชื่อที่เหมาะสม ดังนั้นบริ ษทั ย่อยจึงไม่คาด ว่าจะได้รับความเสี ยหายที่เป็ นสาระสําคัญจากการให้สินเชื่อ นอกจากนี้ การให้สินเชื่อของบริ ษทั ย่อย ไม่มีการกระจุกตัวเนื่ องจากบริ ษทั ย่อยมีฐานของลูกค้าที่หลากหลายและมีอยูจ่ าํ นวนมากราย จํานวน เงินสูงสุ ดที่บริ ษทั ย่อยอาจต้องสูญเสี ยจากการให้สินเชื่อคือมูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้ที่แสดงอยูใ่ นงบ แสดงฐานะการเงิน ความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบีย้ บริ ษ ัท ฯและบริ ษ ัท ย่อ ยมี ค วามเสี่ ย งจากอัต ราดอกเบี้ ย ที่ สํา คัญ อัน เกี่ ย วเนื่ อ งกับ เงิ น ฝากธนาคาร เงินกูย้ มื ระยะสั้น เงินกูย้ มื ระยะยาว และหนี้สินระยะยาว อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสิ นทรัพย์และหนี้สิน ทางการเงินส่ วนใหญ่มีอตั ราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด หรื อมีอตั ราดอกเบี้ยคงที่ซ่ ึงใกล้เคียง กับอัตราตลาดในปั จจุบนั ความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบี้ยของบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจึงอยู่ในระดับตํ่า บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจึงมิได้ใช้ตราสารอนุพนั ธ์เพื่อบริ หารความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบี้ยดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สิ นทรั พย์และหนี้ สินทางการเงิ นที่สําคัญสามารถจัดตามประเภทอัตรา ดอกเบี้ย และสําหรับสิ นทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่มีอตั ราดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวันที่ครบ กําหนด หรื อ วันที่มีการกําหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ (หากวันที่มีการกําหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ถึงก่อน) ได้ดงั นี้

รายงานประจําปี 2554 99


งบการเงินรวม อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน มากกว่า 1 ปรับขึ้นลง ไม่มี 1 ปี ถึง 3 ปี ตามราคาตลาด อัตราดอกเบี้ย (ล้านบาท) สิ นทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น เงินฝากธนาคารที่ติดภาระคํ้าประกัน หนีส้ ิ นทางการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เงินกูย้ มื ระยะสั้น เงินกูย้ มื ระยะยาว หนี้สินระยะยาว

รวม

อัตรา ดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี )

1 1

-

11 49 60

377 377

11 1 377 49 438

หมายเหตุ 9 1.0 - 2.25 1.85

112 30 142

196 21 217

28 28

383 383

383 140 หมายเหตุ 20 196 หมายเหตุ 22 51 3.65 - 9.84 770

ความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลีย่ น บริ ษ ัท ย่ อ ยมี ค วามเสี่ ย งจากอัต ราแลกเปลี่ ย นที่ สํ า คัญ เกี่ ย วเนื่ อ งจากการซื้ อ สิ น ค้า เป็ นเงิ น ตรา ต่างประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริ ษทั ย่อยมีหนี้สินสุ ทธิท้ งั หมดที่เป็ นเงินตราต่างประเทศซึ่ ง ไม่ได้รับการป้ องกันความเสี่ ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยนเป็ นจํานวน 3 ล้านเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา (2553: 2 ล้านเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา) 34.2 มูลค่ ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่องจากสิ นทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่ วนใหญ่จดั อยูใ่ นประเภทระยะสั้น และหนี้สินทางการเงิน ระยะยาวมีอตั ราดอกเบี้ยใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด ฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อย เชื่อว่ามูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินดังกล่าวจะไม่แตกต่างอย่างเป็ น สาระสําคัญกับมูลค่าตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จํานวนเงินที่ผซู ้ ้ื อและผูข้ ายตกลงแลกเปลี่ยนสิ นทรัพย์กนั หรื อจ่ายชําระหนี้ ในขณะที่ท้ งั สองฝ่ ายมีความรอบรู ้ และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่าง เป็ นอิสระในลักษณะที่ไม่มีความเกี่ ยวข้องกัน วิธีการกําหนดมูลค่ายุติธรรมขึ้นอยู่กบั ลักษณะของ เครื่ องมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรมจะกําหนดจากราคาตลาดล่าสุ ด หรื อกําหนดขึ้นโดยใช้เกณฑ์การ วัดมูลค่าที่เหมาะสม รายงานประจําปี 2554 100


35.

การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงค์ในการบริ หารจัดการทุนที่สาํ คัญของบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยคือการจัดให้มีซ่ ึ งโครงสร้าง ทางการเงินที่เหมาะสมและการดํารงไว้ซ่ ึงความสามารถในการดําเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ตามงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 กลุ่มบริ ษทั มีอตั ราส่ วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 4:1 (2553: 2:1)

36.

การจัดประเภทรายการในงบการเงิน เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกําหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าเกี่ยวกับการจัดประเภทรายการใน งบการเงิ นตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุ 2 และผลจากการนํามาตรฐานการบัญชี ฉบับใหม่และฉบับ ปรับปรุ งมาถือปฏิบตั ิตามที่กล่าวในหมายเหตุ 3 บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยได้จดั ประเภทรายการบัญชี บางรายการในงบการเงิ น สําหรั บปี สิ้ น สุ ด วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2553 ใหม่ เ พื่ อให้ส อดคล้อ งกับ การ จัดประเภทรายการบัญชี ในปี ปั จจุบนั โดยไม่มีผลกระทบต่อกําไร (ขาดทุน) หรื อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น ตามที่ได้รายงานไว้

37.

การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ได้รับอนุมตั ิให้ออกโดยคณะกรรมการของบริ ษทั ฯ เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2555

รายงานประจําปี 2554 101



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.