Psl 08

Page 1

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

ชั้น 7 อาคารคาเธ่ย์เฮ้าส์ 8 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ : 66-2 696-8800, 66-2 696-8820 โทรสาร : 66-2 236-7654, 633-8460 E-mail : psl@preciousshipping.com, ir@preciousshipping.com Home page : http://www.preciousshipping.com

รายงานประจำปี 2551

บริ บริษษัทัท พรี พรีเเชีชียยสส ชิชิพพปิปิ้ง้ง จำกั จำกัดด (มหาชน) (มหาชน)


EXIT EMERGENCY WAY CO., LTD. TEL : 02-986-2525-28


สารบัญ

จุดเด่นทางการเงิน

2

โครงสร้างกลุ่มบริษัท

4

ข้อมูลอื่นๆ ตามมาตรา 114 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จำกัด พ.ศ. 2535

6

ลักษณะการประกอบธุรกิจและอุตสาหกรรม

10

กองกำลังเรือ

17

โครงสร้างรายได้

19

คณะกรรมการบริษัท

20

รายงานจากคณะกรรมการ

22

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

30

รายงานการกำกับดูแลกิจการ

33

การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน

47

การควบคุมภายใน

48

รายงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม

50

ปัจจัยความเสี่ยงที่สำคัญ

61

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่และนโยบายการจ่ายเงินปันผล

65

โครงสร้างการจัดการ

66

ประวัติคณะกรรมการบริษัท

69

คณะผู้บริหาร

78

คำอธิบายและการวิเคราะห์ของผู้บริหาร

81

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ ต่อรายงานทางการเงิน

106

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

107

งบการเงิน

108

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม

117

งบการเงินแปลงค่าเป็นเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา

151

นโยบายที่ใช้ในการปรับปรุงงบการเงินสกุลไทยบาทเป็นสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา

158

สรุปความแตกต่างที่สำคัญระหว่างมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย (Thai GAAP) และมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (IFRS)

161

รายการที่เกี่ยวโยงกัน

163

ดัชนีแสดงรายการที่กำหนดตามแบบ 56-2

166

บุคคลอ้างอิง

167


จุดเด่นทางการเงิน หน่วย : ล้านบาท

รายการ

2551

2550

2549

2548

2547

รายได้จากการเดินเรือ ต้นทุนการเดินเรือ กำไรขัน้ ต้น

8,535.80 1,926.25 6,609.55

7,288.37 1,872.37 5,416.00

9,056.30 2,949.98 6,106.32

11,006.82 2,288.95 8,717.87

8,540.26 1,844.29 6,695.96

รายได้รวม

8,659.81

9,033.04

9,250.76

11,090.75

8,728.12

ต้นทุนรวม (ไม่รวมค่าเสือ่ มราคา) ค่าเสือ่ มราคา กำไรก่อนภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล

2,614.68 1,085.16 4,959.97 21.37

2,836.94 1,824.37 4,371.73 215.57

3,442.20 2,093.43 3,715.12 0.00

3,039.55 1,874.59 6,176.61 0.00

2,595.05 1,383.30 4,749.77 0.00

กำไรสุทธิ

4,938.59

4,156.16

3,715.12

6,176.61

4,749.77

สินทรัพย์หมุนเวียนรวม สินทรัพย์ถาวร (สุทธิ) สินทรัพย์รวม หนีส้ นิ หมุนเวียนรวม เงินกูย้ มื ระยะยาวรวม หนีส้ นิ รวม ส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวม ทุนทีไ่ ด้ชำระแล้ว

3,637.92 9,080.51 17,960.53 777.63 739.50 1,783.08 16,177.45 1,039.52

1,762.90 9,525.66 15,018.14 788.31 0.00 953.21 14,064.93 1,039.52

1,602.97 11,023.85 12,758.15 720.44 0.00 720.44 12,037.71 520.00

1,166.94 12,496.75 13,780.61 540.94 3,293.97 3,834.90 9,945.71 520.00

1,759.53 11,517.59 13,375.78 1,649.64 7,561.17 9,210.81 5,292.51 520.00

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน

6,122.25 (2,067.33) (2,220.23)

4,651.36 (2,014.81) (2,391.33)

5,896.56 (308.66) (5,032.94)

7,903.71 (2,731.24) (5,989.85)

6,052.96 (8,232.06) 2,828.46

15.56 4.75 2.80 2.75 77.43 57.03 32.66 29.95 0.11 44

13.53 4.01 2.25 2.56 74.31 46.01 59.05 55.30 0.07 44

11.58 3.62 2.56 1.78 67.43 40.16 33.80 28.00 0.06 54

9.57 6.02 1.53 1.53 79.20 55.69 81.07 45.49 0.39 54

5.09 4.60 1.28 0.88 78.40 54.42 131.02 49.36 1.74 52

มูลค่าตามบัญชีตอ่ หุน้ (บาท) * กำไรต่อหุน้ (บาท) ** เงินปันผลทีป่ ระกาศจ่ายสำหรับปีตอ่ หุน้ (บาท) *** เงินสดปันผลทีจ่ า่ ยแล้วต่อหุน้ (บาท) * อัตรากำไรขัน้ ต้น (ร้อยละ) อัตรากำไรสุทธิ (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนผูถ้ อื หุน้ (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ร้อยละ) อัตราส่วนหนีส้ นิ รวมต่อส่วนผูถ้ อื หุน้ จำนวนเรือ (ณ วันสิน้ ปี)

* มูลค่าตามบัญชีตอ่ หุน้ และเงินสดปันผลทีจ่ า่ ยแล้วต่อหุน้ คำนวณโดยใช้จำนวนหุน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 (1,039,520,600 หุน้ ) เพือ่ ให้งา่ ยในการเปรียบเทียบกับตัวเลขของปี 2550 และ 2551 หลังจากทีไ่ ด้จา่ ยหุน้ ปันผล ** กำไรต่อหุน้ ได้ปรับปรุงจำนวนหุน้ สามัญของงวดก่อนโดยถือเสมือนว่าการออกหุน้ ปันผลได้เกิดขึน้ ตัง้ แต่วนั เริม่ ต้นของงวดแรกทีเ่ สนอรายงาน *** เงินปันผลทีป่ ระกาศจ่ายต่อหุน้ สำหรับปี 2549 รวมหุน้ ปันผลด้วย

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


กำไรสุทธิและอัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น

หน่วย : ล้านบาท 140%

8,000 7,000

131%

5,000

120%

6,177

6,000 4,000

80%

4,156

3,715

81%

60%

3,000

59%

2,000

40%

34%

1,000 0

100%

4,939

4,750

2549

2548

2547

20%

33%

2550

2551

หน่วย : ล้านบาท

20,000 18,000 16,000 14,000 12,000 10,000 8,000 6,000 4,000 2,000 0

17,961 15,018

13,376

13,781

12,758

52

54

54

อื่นๆ 44

44

เงินล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือ เรือเดินทะเล

2547

2548

2549

2550

2551

ส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและอัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น 18,000

หน่วย : ล้านบาท

1.74

16,000 14,000

2.0 1.8 1.6 1.4 1.2 1.0 0.8 0.6 0.4 0.2 0.0

16,177 14,065 12,038

12,000 9,946

10,000 8,000 5,293

0.39

4,000 2,000 0

2548

2547

0.06

0.07

0.11

2549

2550

2551

กระแสเงินสด

อัตราส่วนหนี้สินรวม ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

2549

-2,220

-2,067

-2,391

-5,033

-5,990

2548

กระแสเงินสด จากกิจกรรมดำเนินงาน

-2,015

-309

2547

6,122

4,651

5,897

7,904 2,828

6,053

-2,731

-2,000 -4,000 -6,000 -8,000 -10,000

ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม

หน่วย : ล้านบาท

-8,232

10,000 8,000 6,000 4,000 2,000 0

อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น

0

สินทรัพย์รวม

6,000

กำไรสุทธิ

กระแสเงินสด จากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสด จากกิจกรรมจัดหาเงิน

2550

2551

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


โครงสร้างกลุม่ บริษทั

เจ้าของเรือ

บริษัทในลำดับที่ 1 ถึง 34 ตามตารางหน้า 7-8

99.99%

และลำดับที่ 35 ถึง 36 ตามตารางหน้า 8 69.99% ประเทศไทย

ให้บริการเช่าเรือ

บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง (ปานามา) เอส เอ ประเทศปานามา

99.99%

บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง (สิงคโปร์) พีทีอี ลิมิเตด ประเทศสิงคโปร์

บริษัท พีเอสแอล ทุน ชิพปิ้ง พีทีอี ลิมิเตด ประเทศสิงคโปร์

64.06%*

100%

บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง (ยูเค) ลิมิเตด ประเทศอังกฤษ

99.99%

บริษัท เรจิดอร์ พีทีอี ลิมิเตด ประเทศสิงคโปร์

100%*

* แสดงการถือหุน้ ทางอ้อมของ PSL

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) ประเทศไทย (PSL)

ผูบ้ ริหารเรือ

การจัดการท่าเรือ

ผูบ้ ริหารการลงทุน

บริษัท เกรท เซอร์เคิล ชิปปิ้ง เอเยนซี่ จำกัด ประเทศไทย

บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง (เมอริเชียส) ลิมิเตด ประเทศเมอริเชียส

99.99%

บริษัท เทบส์ พีทีอี ลิมิเตด ประเทศสิงคโปร์

100%

บริษัท พรีเชียส โปรเจคส์ พีทีอี ลิมิเตด ประเทศสิงคโปร์

100%

100%

บริษัท พีเอสแอล อินเวสท์เมนท์ ลิมิเตด ประเทศเมอริเชียส

100%*

40%

100%*

บริษัท พีเอสแอล บัลค์ เทอร์มิเนอร์ ลิมิเตด ประเทศเมอริเชียส

100%*

10%

บริษัท เซาท์เทอร์น แอลพีจี ลิมิเตด ประเทศอินเดีย

50%*

บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล ไลเทอร์เรจ ลิมิเตด ประเทศเมอริเชียส

บริษัท แรพพิด พอร์ท ลิสซิ่ง พีทีอี ลิมิเตด ประเทศสิงคโปร์

100%*

ลำดับในกรอบ บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล ซีพอร์ทส์ (ฮาลเดีย) ไพรเวท ลิมิเตด ประเทศอินเดีย

22.40%*

บริษัท จัดตั้งขึ้นในประเทศ อัตราร้อยละของการถือหุ้น

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


ข้อมูลอืน่ ๆ ตามมาตรา 114 แห่งพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชน จำกัด พ.ศ. 2535

รายละเอียดของบริษทั บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ประเภทธุรกิจ

: เจ้าของเรือและโฮลดิง้ คัมพานี

ทะเบียนเลขที ่

: 0107537000629 (เดิมเลขที่ บมจ. 309)

ทุนจดทะเบียน

: 1,039,520,600 บาท (1,039,520,600 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท)

หุน้ ทีอ่ อกและเรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว

: 1,039,520,600 บาท (1,039,520,600 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท)

ทีต่ ง้ั : ชัน้ 7 อาคารคาเธ่ยเ์ ฮ้าส์ 8 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

โทรศัพท์

: 66-2 696-8800

โทรสาร

: 66-2 236-7654

E-mail

: ir@preciousshipping.com

Home page

: http://www.preciousshipping.com

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


ชือ่ และ ประเภทธุรกิจ ของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ ตัง้ แต่รอ้ ยละ 10 ขึน้ ไป ของจำนวนหุน้ ทีจ่ ำหน่ายได้แล้วทัง้ หมดของนิตบิ คุ คลนัน้ ลำดับ ชือ่ บริษทั ย่อย / บริษทั ร่วม สกุลเงิน ทุนจดทะเบียน

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

บริษทั พรีเชียส เม็ททัลซ์ จำกัด บริษทั พรีเชียส วิชเชส จำกัด บริษทั พรีเชียส สโตนส์ ชิปปิง้ จำกัด บริษทั พรีเชียส มิเนอรัลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส แลนด์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ริเวอร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส เลคส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ซีส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส สตาร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส โอเชียนส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส แพลนเนตส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ไดมอนด์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส แซฟไฟร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส เอ็มเมอรัลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส รูบสี ์ จำกัด บริษทั พรีเชียส โอปอลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส การ์เน็ตส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส เพิรล์ ส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ฟลาวเวอร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส ฟอเรสท์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ทรีส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส พอนด์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส เว็นเจอร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส แคปปิตอลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส จัสมินส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ออคิดส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ลากูนส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส คลิฟส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ฮิลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส เมาน์เท่นส์ จำกัด

บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท

250,000,000 230,000,000 260,000,000 230,000,000 84,000,000 234,000,000 99,000,000 100,000,000 105,000,000 175,000,000 100,000,000 205,000,000 144,000,000 366,000,000 84,000,000 74,000,000 379,000,000 73,000,000 76,000,000 96,000,000 80,000,000 84,000,000 80,000,000 200,000,000 98,000,000 217,000,000 140,000,000 140,000,000 140,000,000 140,000,000

ทุนทีอ่ อกและเรียก ชำระเต็มมูลค่าแล้ว

สัดส่วน การถือหุน้

ประเภทธุรกิจ

250,000,000 230,000,000 260,000,000 230,000,000 84,000,000 234,000,000 99,000,000 100,000,000 105,000,000 175,000,000 100,000,000 205,000,000 144,000,000 366,000,000 84,000,000 74,000,000 379,000,000 73,000,000 76,000,000 96,000,000 80,000,000 84,000,000 80,000,000 200,000,000 98,000,000 217,000,000 140,000,000 140,000,000 140,000,000 140,000,000

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99

เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


ลำดับ ชือ่ บริษทั ย่อย / บริษทั ร่วม สกุลเงิน ทุนจดทะเบียน

ทุนทีอ่ อกและเรียก ชำระเต็มมูลค่าแล้ว

สัดส่วน การถือหุน้

31 บริษทั พรีเชียส รีสอร์ทส์ จำกัด บาท 140,000,000 140,000,000 99.99 32 บริษทั พรีเชียส คอมเม็ทส์ จำกัด บาท 71,100,000 71,100,000 99.99 33 บริษทั พรีเชียส ออนาเม้นท์ส จำกัด บาท 68,100,000 68,100,000 99.99 34 บริษทั พรีเชียส ซิตส้ี ์ จำกัด บาท 170,000,000 170,000,000 99.99 35 บริษทั พรีเชียส สตอเรจ เทอมินลั ส์ จำกัด บาท 6,000,000 6,000,000 69.99 36 บริษทั เนดเท็กซ์ จำกัด บาท 10,000,000 2,500,000 69.99 37 บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด บาท 60,000,000 60,000,000 99.99 38 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (เมอริเชียส) ลิมเิ ตด เหรียญสหรัฐ 10,000 10,000 100 39 บริษทั พีเอสแอล อินเวสท์เมนท์ ลิมเิ ตด เหรียญสหรัฐ 10,000 1,160 100* 40 บริษทั อินเตอร์เนชัน่ แนล ไลเทอร์เรจ ลิมเิ ตด เหรียญสหรัฐ 10,000 10,000 100* 41 บริษทั พีเอสแอล บัลค์ เทอร์มเิ นอร์ ลิมเิ ตด เหรียญสหรัฐ 10,000 2 100* 42 บริษทั แรพพิด พอร์ท ลิสซิง่ พีทอี ี ลิมเิ ตด เหรียญสหรัฐ 1,000,000 2 100* 43 บริษทั เทบส์ พีทอี ี ลิมเิ ตด เหรียญสิงคโปร์ 100,000 2 100 44 บริษทั เรจิดอร์ พีทอี ี ลิมเิ ตด เหรียญสิงคโปร์ 100,000 2 100* 45 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (สิงคโปร์) เหรียญสิงคโปร์ 20,000,000 15,000,000 100 พีทอี ี ลิมเิ ตด 46 บริษทั พีเอสแอล ทุน ชิพปิง้ พีทอี ี ลิมเิ ตด เหรียญสหรัฐ 500,000 12,864 64.06* 47 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (ปานามา) เอส เอ เหรียญสหรัฐ 10,000 10,000 99.99 48 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (ยูเค) ลิมเิ ตด เหรียญสหรัฐ 10,000 10,000 99.99 49 บริษทั เซาท์เทอร์น แอลพีจี ลิมเิ ตด อินเดียนรูป ี 100,000,000 64,592,200 50* 50 บริษทั อินเตอร์เนชัน่ แนล ซีพอร์ทส์ อินเดียนรูป ี 445,000,000 440,580,200 22.40* (ฮาลเดีย) ไพรเวท ลิมเิ ตด 51 บริษทั พรีเชียส โปรเจคส์ พีทอี ี ลิมเิ ตด เหรียญสหรัฐ 1 1 100 * (แสดงการถือหุน้ ทางอ้อม)

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

ประเภทธุรกิจ

เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ คลังเก็บสินค้าลอยน้ำ คลังเก็บสินค้าลอยน้ำ ผูบ้ ริหารเรือทางด้านเทคนิค โฮลดิง้ คัมพานี โฮลดิง้ คัมพานี โฮลดิง้ คัมพานี โฮลดิง้ คัมพานี โฮลดิง้ คัมพานี ผูบ้ ริหารการลงทุน โฮลดิง้ คัมพานี โฮลดิง้ คัมพานี /ให้บริการเช่าเรือ ให้บริการเช่าเรือ เจ้าของเรือ /ให้บริการเช่าเรือ ให้บริการเช่าเรือ ศูนย์กลางการบรรจุ และจัดจำหน่ายก๊าซหุงต้ม ก่อสร้าง และพัฒนาท่าเทียบเรือ ผูบ้ ริหารการลงทุน


สถานทีต่ งั้ สำนักงานใหญ่ของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมดังกล่าว บริษทั ย่อยที่ 1-36 s • สำนักงานจดทะเบียนเลขที่ 8/27-28 ชัน้ 7 อาคารคาเธ่ยเ์ ฮ้าส์ ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 ประเทศไทย โทรศัพท์ : 66-2 696-8800 โทรสาร : 66-2 236-7654, 633-8460 บริษทั ย่อยที่ 37 s • สำนักงานจดทะเบียนเลขที่ 8/35 อาคารคาเธ่ยเ์ ฮ้าส์ ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 ประเทศไทย โทรศัพท์ : 66-2 696-8900 โทรสาร : 66-2 237-7842, 633-8468 บริษทั ย่อยที่ 38-41 s • สำนักงานจดทะเบียนเลขที่ c/o Abax Corporate Services Level 6 One Cathedral Square, Jules Koenig Street, Port Louis, Mauritius. บริษทั ย่อยที่ 42-44 s • สำนักงานจดทะเบียนเลขที่ 24 Raffles Place #18-00 Clifford Centre, Singapore 048621. บริษทั ย่อยที่ 45-46 s • สำนักงานจดทะเบียนเลขที่ 79A Tras Street, Singapore 079016 Republic of Singapore. บริษทั ย่อยที่ 47 s • สำนักงานจดทะเบียนเลขที่ c/o ADR Building, 13th Floor, Samuel Lewis Avenue, Panama. บริษทั ย่อยที่ 48 s • สำนักงานจดทะเบียนเลขที่ The Quadrangle - 2nd Floor, 180 Wardour Street, London W1F 8FY United Kingdom. บริษทั ย่อยที่ 49 s • สำนักงานจดทะเบียนเลขที่ ICM Business Centre, Ceebros Arcade 1st Floor, No.1 3rd Cross Street, Kasturba Nagar, Adyar, Chennai 600 020 India. บริษทั ร่วมที่ 50 s • สำนักงานจดทะเบียนเลขที่ 41, Jawahar Lal Nehru Road, Kanak Building, 3rd Floor, Kolkata - 700 071, India. บริษทั ย่อยที่ 51 s • สำนักงานจดทะเบียนเลขที่ 1 Marina Boulevard #28-00, Singapore 018989.

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


ลักษณะการประกอบธุรกิจและอุตสาหกรรม 1. ลักษณะของธุรกิจ

1.1 ความเป็นมา

1.2 อายุกองเรือ

บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (“พีเอสแอล”) ก่อตัง้ ในปี 2532 และเข้าเป็นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยเมือ่ ปี 2536 โดยดำเนินธุรกิจหลักเป็นเจ้าของเรือเอนกประสงค์ขนาดเล็กและให้บริการเช่าเหมาเรือสำหรับขนส่งสินค้าแห้งเทกอง

ไม่ประจำเส้นทาง พีเอสแอลได้จดั โครงสร้างของบริษทั ฯ เหมือนกับโครงสร้างบริษทั เดินเรือทัว่ ไป คือมีบริษทั ย่อยเป็นเจ้าของเรือเพียง 1 ลำ (บางบริษทั ย่อยอาจเป็นเจ้าของเรือ 2-3 ลำ) เพือ่ จำกัดความรับผิด ปัจจุบนั (ณ วันที่ 31 มกราคม 2552) พีเอสแอล มีเรือขนส่งสินค้าเทกองจำนวน 43 ลำ และเรือขนส่งซีเมนต์จำนวน 1 ลำ

(“กองเรือ”) ซึง่ กองเรือของพีเอสแอล มีเดตเวทตันรวมทัง้ สิน้ 1,130,280 เดตเวทตัน โดยเรือ 43 ลำเป็นเรือธงไทยและจำนวน 1 ลำเป็นเรือธง บาฮามาส พีเอสแอลจัดเป็นหนึ่งในบริษัทเดินเรือที่ใหญ่ที่สุดที่ดำเนินธุรกิจเป็นเจ้าของเรือเอนกประสงค์ขนาดเล็ก (ขนาด 10,000 ถึง 30,000 เดตเวทตัน) สำหรับขนส่งสินค้าแห้งเทกองในตลาดการเดินเรือแบบไม่ประจำเส้นทาง ผูป้ ระกอบธุรกิจในกลุม่ นีม้ คี วามหลากหลายและ มีลักษณะเฉพาะ กล่าวคือผู้ประกอบการหนึ่งๆ ส่วนใหญ่จะเป็นเจ้าของเรือในขนาดดังกล่าวเพียง 2-3 ลำ ทำให้พีเอสแอลเป็นหนึ่งใน

ผูป้ ระกอบการรายใหญ่ทสี่ ดุ ในกลุม่ นี้ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้ลงทุนในขนาดซุปราแมกซ์โดยบริษทั ฯ ได้สงั่ ต่อใหม่จำนวน 3 ลำ ในปี 2550 และจำนวน 3 ลำ ในปี 2551 โดยมีกำหนดรับมอบเรือในปี 2554 และปี 2555 ผูค้ วบคุมบริหารการเดินเรือด้านเทคนิคของกองเรือพีเอสแอล คือ บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของพีเอสแอลและเป็นบริษทั ทีไ่ ด้รบั การรับรองมาตรฐาน ISO 9002 พีเอสแอลบริหารงานกองเรือแบบไม่ประจำเส้นทางซึ่งมีเส้นทางเดินเรือครอบคลุมไปทั่วโลก สินค้าพื้นฐานที่กองเรือพีเอสแอล ขนส่งคือสินค้าทางการเกษตร เหล็ก ปุย๋ สินแร่และเนือ้ แร่ ไม้ซงุ ถ่านหินและอืน่ ๆ พีเอสแอลได้ประมาณเครือข่ายการขนส่งสินค้าของกองเรือ ของบริษทั ฯ อย่างคร่าวๆ เป็น 5 ภูมภิ าคประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา/แคนาดา ยุโรป ละตินอเมริกา-แอฟริกา อินเดียอนุทวีป-ตะวันออกกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และตะวันออกไกล กองเรือพีเอสแอลสามารถให้บริการในท่าเรือทีม่ ขี ดี จำกัดในเรือ่ งของร่องน้ำ (เรือของพีเอสแอล

มีอปุ กรณ์ขนถ่ายสินค้าติดตัง้ พร้อมอยู)่ เนือ่ งจากขนาดเรือของพีเอสแอลสามารถเข้าเทียบท่าในร่องน้ำตืน้ ได้ ขณะทีเ่ รือขนาดใหญ่ไม่สามารถ เข้าเทียบท่าได้ ลักษณะดังกล่าวถือเป็นข้อได้เปรียบและส่งผลให้พเี อสแอลได้อตั ราค่าระวางทีส่ งู เมือ่ เปรียบเทียบกับผูป้ ระกอบการเดินเรือขนาด ใหญ่ ซึง่ ความได้เปรียบนีช้ ว่ ยให้เรือของบริษทั ฯ ดำเนินธุรกิจในประเทศทีพ่ ฒั นาแล้วด้วยต้นทุนค่าแรงทีต่ ำ่ กว่าค่าแรงของประเทศนัน้ ๆ และ ด้วยลูกเรือ พร้อมอุปกรณ์เกียร์เรือ เรือของบริษทั ฯ สามารถขนถ่ายสินค้าได้งา่ ยและประหยัดต้นทุนกว่าเมือ่ เทียบกับเรือขนาดใหญ่กว่าทีไ่ ม่มี อุปกรณ์ ถึงแม้วา่ เรือขนาดใหญ่กว่านีจ้ ะสามารถประหยัดต้นทุนจากการมีขนาดทีใ่ หญ่กว่าได้กต็ าม รูปแบบการให้บริการเช่าเรือขนส่งสินค้าของพีเอสแอล แบ่งเป็น 2 ลักษณะ การเช่าเป็นระยะเวลา (Time Charter) การให้เช่าลักษณะนี้ ผูเ้ ช่าจะชำระค่าเช่า (Charter Hire) ให้พเี อสแอลเป็นค่าปฏิบตั กิ าร ควบคุมเรือตามระยะเวลาทีต่ กลง ผูเ้ ช่าจะเป็นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จา่ ยสำหรับเทีย่ วการเดินทางนัน้ ๆ (voyage costs) ซึง่ รวมถึงค่าน้ำมัน การเช่าเป็นรายเทีย่ ว (Voyage Charter) ผูเ้ ช่าจะชำระค่าระวาง (Freight) ให้พเี อสแอลสำหรับการรับขนส่งสินค้าจากท่าเรือ

ต้นทางไปยังอีกท่าเรือปลายทางใดๆ ตามทีต่ กลง ดังนัน้ พีเอสแอลจึงเป็นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จา่ ยสำหรับเทีย่ วการเดินเรือ (voyage costs) ซึง่ รวมถึงค่าน้ำมัน เส้นทางการเดินเรือของกองเรือพีเอสแอลไม่ได้กำหนดตายตัว แต่ขนึ้ อยูก่ บั ความต้องการของผูเ้ ช่าเรือ ทีผ่ า่ นมาพบว่ามีการเช่าทัง้ 2 ลักษณะ คือ Time Charter และ Voyage Charter ในอัตราใกล้เคียงกัน โดยมีระยะเวลาการเช่าประมาณ 1-3 เดือน จนถึงในปี 2547 เมือ่ ลักษณะการปล่อยให้เช่าเรือได้เปลีย่ นไปโดยเรือเกือบทุกลำถูกปล่อยให้เช่าในลักษณะการเช่าเป็นระยะเวลา โดยในแต่ละปีตงั้ แต่ปี 2548 ถึง 2549 สัดส่วนของการปล่อยให้เช่าเป็นรายเทีย่ วได้เพิม่ ขึน้ เมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2547 อย่างไรก็ตาม ในช่วงปี 2550 ถึง 2551 สัดส่วนการปล่อยให้

เช่าเรือได้เปลีย่ นไปโดยประมาณร้อยละ 99 ของการเช่าเป็นการเช่าแบบระยะเวลา และคงเหลือการให้เช่าแบบรายเทีย่ วเพียงร้อยละ 1 เท่านัน้ ความสามารถในการให้บริการขนส่งสินค้าที่ไม่จำกัดเส้นทางและประเภทของสินค้า ซึ่งเป็นสินค้าพื้นฐานที่จำเป็นทำให้

พีเอสแอลสามารถลดความเสีย่ งจากผลกระทบอันเกิดขึน้ ในภูมภิ าคใดๆ ประเภทสินค้าและสภาพเศรษฐกิจ กองเรือพีเอสแอลไม่ได้มีอายุมากนัก เมื่อเปรียบเทียบกับอายุเฉลี่ยของกองเรือทั่วโลก ปัจจุบันอายุเฉลี่ยของกองเรือพีเอสแอล

อยูท่ ปี่ ระมาณ 21 ปี

10

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


กราฟต่อไปนีเ้ ป็นการวิเคราะห์อายุของกองเรือขนส่งสินค้าทัว่ โลกและกองเรือพีเอสแอล ณ วันที่ 1 มกราคม 2552

CRS: Clarksons Research Studies

1.3 การดำเนินธุรกิจ

รายได้ของพีเอสแอลมีการกระจายแหล่งทีม่ าของรายได้เป็นอย่างดีดงั นี ้ i. ประเภทของสินค้าทีข่ นส่ง (จำนวนเทีย่ วของการเดินเรือและร้อยละของจำนวนเทีย่ วการเดินเรือรวม) ประเภทสินค้า

สินค้าการเกษตร เหล็ก ปุย๋ แร่ธาตุและสินแร่ ผลิตภัณฑ์จากไม้และซุง ถ่านหิน อืน่ ๆ รวม

2549

2550

2551

126 (26.47%) 92 (19.33%) 70 (14.71%) 80 (16.80%) 24 (5.04%) 14 (2.94%) 70 (14.71%) 476

125 (28.08%) 62 (13.94%) 81 (18.20%) 71 (15.95%) 11 (2.47%) 20 (4.50%) 75 (16.86%) 445

138 (31.29%) 77 (17.46%) 70 (15.87%) 63 (14.28%) 7 (1.59%) 27 (6.12%) 59 (13.39%) 441

2549

2550

2551

ii. การเช่าเป็นรายเทีย่ วและการเช่าเป็นระยะเวลา (จำนวนเทีย่ วของการเดินเรือและร้อยละของจำนวนเทีย่ วการเดินเรือรวม) ลักษณะการเช่า

การเช่าเป็นรายเทีย่ ว การเช่าเป็นระยะเวลา

82 (17%) 394 (83%)

6 (1%) 439 (99%)

6 (1%) 437 (99%)

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 11


หมายเหตุ : ในปี 2549-2551 เรือเกือบทัง้ หมดของกองเรือพีเอสแอลถูกปล่อยให้เช่าแบบเป็นระยะเวลา (สัญญาเช่าแบบระยะเวลาซึง่ มีระยะ เวลาการเช่าทีย่ าวขึน้ ) ซึง่ การเช่าเป็นระยะเวลานัน้ ประเภทของสินค้าทีข่ นส่งจะขึน้ อยูก่ บั ผูเ้ ช่า (ลูกค้า) และสามารถจะมีได้ มากกว่า 1 ประเภทในหนึง่ เทีย่ วการเดินเรือ ดังนัน้ จำนวนเทีย่ วการเดินเรือในแต่ละปีของปี 2549-2551 ในตาราง 1.3 (i) ข้างต้น จึงมากกว่าจำนวนเทีย่ วการเดินเรือในตาราง 1.3 (ii) iii. พืน้ ทีใ่ นการให้บริการขนส่ง iv. เครือข่ายการตลาด และทีต่ งั้ ของนายหน้ารายใหญ่

12

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


จากกราฟข้างต้นแสดงให้เห็นว่าพีเอสแอลมีเครือข่ายการตลาดที่ครอบคลุมทั่วโลก โดยมีการติดต่อกันทางอินเตอร์เน็ต ทำให้การติดต่อครอบคลุมเครือข่ายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและลดต้นทุนการดำเนินงาน 2. โครงสร้างอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมการเดินเรือทางทะเลสามารถจำแนกอย่างกว้างๆ ได้ดงั นี ้

2.1 ตลาดเรือเอนกประสงค์ขนาดเล็ก (Small Handy Size Market)

ตลาดเรือเอนกประสงค์ขนาดเล็กประกอบด้วยเรือเดินทะเลทีม่ ขี นาด 10,000-30,000 เดตเวทตัน แม้วา่ ในปัจจุบนั อุตสาหกรรม การเดินเรือจะได้เริ่มรวมเอาเรือขนาด 30,000-40,000 เดตเวทตันมาไว้ในประเภทนี้ด้วย ความต้องการใช้บริการของเรือเดินทะเลในตลาดนี้ ค่อนข้างหลากหลายอันเนื่องมาจากความสามารถในการขนส่งสินค้าได้หลายชนิดและท่าเรือจำนวนมากที่สามารถให้บริการแก่เรือเดินทะเล ขนาดนี้ได้ ซึ่งลักษณะดังกล่าวทำให้ความต้องการใช้บริการของเรือเดินทะเลขนาดเล็กมีความผันผวนน้อยกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับความ ต้องการใช้เรือทีม่ ขี นาดใหญ่กว่า ในด้านอุปทาน ผูใ้ ห้บริการทัว่ โลกทีม่ เี รือในกลุม่ นีม้ คี วามหลากหลาย เรือในกลุม่ นีม้ ปี ระมาณ 3,219 ลำ (ณ สิน้ ปี 2551) โดย

ผูป้ ระกอบการรายใหญ่ทสี่ ดุ มีเรือเพียง 100 ลำ หรือคิดเป็นประมาณร้อยละ 4 ของส่วนแบ่งในตลาดของความสามารถในการขนส่ง คิดเป็น หน่วยเดตเวทตัน ทีเ่ หลือส่วนใหญ่เป็นผูป้ ระกอบการบริษทั เอกชนมีเรือเพียงไม่กลี่ ำ จากอดีตที่ผ่านมาอุตสาหกรรมขนส่งทางทะเลเป็นอุตสาหกรรมที่มีวัฏจักร โดยแต่ละรอบของวัฏจักรจะมีช่วงที่อัตราค่าเช่า ขนส่งสินค้าลดต่ำลงประมาณสองปี หลังจากนัน้ จะมีการปรับตัวของอุปทานและอุปสงค์กอ่ นทีอ่ ตั ราค่าเช่าขนส่งสินค้าจะเริม่ ปรับตัวสูงขึน้ ช่วง ตกต่ำครัง้ ล่าสุดเริม่ ต้นในกลางปี 2540 อันเนือ่ งมาจากวิกฤตการณ์เอเชีย ทำให้ความต้องการใช้บริการขนส่งสินค้าทางทะเลน้อยลง และต่อมา การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจก็ได้คอ่ ยๆ ปรับเพิม่ ขึน้ ในทุกภูมภิ าคของโลก ทำให้มคี วามต้องการขนส่งสินค้าแห้งเทกองมากขึน้ ในปี 2543 และ ยังคงปรับเพิ่มขึ้นจนถึงครึ่งแรกของปี 2544 นอกจากนี้ราคารับซื้อเศษเหล็กที่สูงขึ้นก็ช่วยทำให้เกิดการขายเรือเก่าเพิ่มขึ้น ทำให้อุปทานใน

กองเรือกลุม่ นีล้ ดลงและส่งผลต่ออัตราค่าระวางให้เพิม่ ขึน้ หลังจากสิน้ ปี 2544 ตลาดได้ปรับตัวลดลงอีกครัง้ อันเนือ่ งมาจากปัจจัยหลายอย่าง ตลาดการขนส่งทางเรือได้เริ่มมีการปรับตัวดีขึ้นอย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้น ซึ่งตลาดได้ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องมาจนถึงไตรมาสสาม/ไตรมาสสี ่ รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 13


ของปี 2546-2547 และจนถึงครึง่ ปีแรกของปี 2548 หลังจากนัน้ ตลาดก็ได้เผชิญกับการปรับตัวของอัตราค่าระวางอีกครัง้ โดยผูเ้ ชีย่ วชาญได้ให้ ความเห็นว่าเป็นผลมาจากการเพิม่ ขึน้ ของอุปทานของเรือ ประกอบกับการลดลงของการปลดระวางเรือเก่า ซึง่ อย่างไรก็ตามก็เป็นสิง่ ทีส่ วนทาง กับการคาดการณ์ เนือ่ งจากตลาดได้ปรับตัวจากสิน้ ไตรมาสสองของปี 2549 ในระหว่างปี 2550 ตลาดได้ปรับตัวพุง่ สูงขึน้ และถึงจุดสูงสุดตาม ดัชนี Baltic Dry Index (BDI) ทีข่ นึ้ ไปถึง 11,039 จุด ณ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2550 ก่อนทีจ่ ะปรับตัวต่ำลง จนถึงสิน้ เดือนมกราคม 2551 ตลาดได้เริม่ ปรับตัวสูงขึน้ อีกครัง้ จนแตะระดับสูงสุดที่ 11,793 จุด ในช่วงเดือนพฤษภาคม 2551 หลังจากนัน้ ตลาดก็ปรับตัวลดลงอย่างต่อเนือ่ ง จนถึง 774 จุด ณ สิน้ ปี 2551

2.2 ภาพรวมของอุปสงค์และอุปทาน

2.3 ดัชนีตลาดการขนส่งทางเรือ

แม้วา่ สภาพและอายุของกองเรือบริษทั ฯ จะมีผลต่อรายได้และค่าใช้จา่ ยก็ตาม แต่จากตารางดังต่อไปนี้ แสดงให้เห็นถึงปัจจัย ภายนอกอันหลากหลายซึง่ ครอบงำอุปสงค์และอุปทานทีเ่ ป็นส่วนผลักดันในอุตสาหกรรมการขนส่งและเป็นตัวสร้างวงจรของธุรกิจ

กราฟข้างใต้แสดงถึงความเปลี่ยนแปลงของดัชนี Baltic Dry Index (BDI) ซึ่งเป็นดัชนีสำคัญที่แสดงอัตราค่าขนส่งสินค้าแห้ง

เทกอง คำนวณโดย Baltic Exchange ตัง้ อยูท่ กี่ รุงลอนดอน ตัง้ แต่ตน้ ปี 2550 องค์ประกอบของดัชนี BDI ได้ถกู เปลีย่ นให้ครอบคลุมมากขึน้ โดยเป็นดัชนีชวี้ ดั ของเรือประเภทเคปไซส์ (Capesize) ปานาแมกซ์ (Panamax) ซุปราแมกซ์ (Supramax) และ แฮนดีไ้ ซส์ (Handysize) โดย ได้ให้นำ้ หนักทีเ่ ท่ากันแก่เรือทัง้ 4 ประเภท ในระหว่างปี 2551 ดัชนี Baltic Dry Index (BDI) ลดลงจาก 8,891จุด เมือ่ ต้นปี 2551 ลดลงเหลือ 5,615 จุด ในวันที่ 29 มกราคม 2551 ก่อนทีจ่ ะขึน้ ไปแตะจุดสูงสุดใหม่เมือ่ วันที่ 20 พฤษภาคม 2551 ที่ 11,793 จุด หลังจากนัน้ ดัชนี BDI

ได้ลดลงอย่างต่อเนือ่ งและปิดท้ายในปี 2551 ที่ 774 จุด

14

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


2.4 กฎหมายพาณิชยนาวีและกฎระเบียบเกีย่ วกับธุรกิจการเดินเรือ

กฎหมายพาณิชยนาวีและกฎระเบียบที่ใช้ควบคุมในธุรกิจการเดินเรือระหว่างประเทศ เป็นกฎระเบียบที่มีความซับซ้อนและ

เข้มงวด พีเอสแอลได้ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบดังกล่าวอย่างเข้มงวด ควบคูก่ บั การบำรุงรักษาเรือทีด่ เี ยีย่ ม ทำให้ไม่เป็นการยากทีจ่ ะปฏิบตั ติ าม

กฎระเบียบทีเ่ ข้มงวดนัน้ ตัวอย่างเช่น เรืออายุมากของบริษทั ฯ บ่อยครัง้ จะเข้าน่านน้ำของออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา แคนนาดา และสหภาพ ยุโรป ทีซ่ งึ่ เจ้าหน้าทีข่ องรัฐมีความเข้มงวด ซึง่ หากเป็นผูป้ ระกอบการรายอืน่ ทีบ่ ริหารหรือมีเรืออายุมาก ก็อาจเลือกทีจ่ ะไม่นำเรืออายุมากเข้า น่านน้ำของประเทศดังกล่าวเนือ่ งจากมีความเสีย่ งต่อการถูกกักเรือซึง่ ก่อให้เกิดค่าใช้จา่ ยทีส่ งู มากและการถูกให้ซอ่ มแซมเรือทีไ่ ม่ได้กำหนดไว้ กฎหมายและกฎระเบียบทีส่ ำคัญทีใ่ ช้ควบคุมในธุรกิจการเดินเรือระหว่างประเทศมีดงั ต่อไปนี ้ 1. รัฐเจ้าของธงชาติ (Flag State) เรือแต่ละลำจะต้องมีการจดทะเบียนภายใต้รัฐเจ้าของธงชาติซึ่งเป็นสัญชาติที่เรือได้จดทะเบียนและถือเป็นการจด ทะเบียนภายใต้กฎหมายประเทศนัน้ ๆ การจดทะเบียนเรือจะมีการออกใบทะเบียนเรือซึง่ เป็นเอกสารสำคัญทีเ่ รือแต่ละลำ ต้องมี เพือ่ เป็นเอกสารให้ตรวจสอบ เมือ่ มีการเดินเรือในน่านน้ำระหว่างประเทศ รวมถึงการเข้าเทียบท่าเรือต่างๆ ทัว่ โลก โดยทัว่ ไปทะเบียนเรือดังกล่าวนีจ้ ะประกอบไปด้วยรายละเอียดเกีย่ วกับตัวเรือ ธงประจำเรือ และเจ้าของเรือ 2. องค์การทางทะเลระหว่างประเทศ (International Maritime Organization) องค์การทางทะเลระหว่างประเทศ (The International Maritime Organization, IMO) เป็นทบวงการชำนาญ พิเศษทีอ่ ยูภ่ ายใต้สหประชาชาติ (United Nation-UN) ซึง่ ทำหน้าทีเ่ ป็นศูนย์การของความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิก ในการกำหนดมาตรฐาน ข้อบังคับ และแนวปฏิบตั เิ พือ่ ความปลอดภัยในชีวติ ทรัพย์สนิ และสิง่ แวดล้อม อนุสญั ญาหลาย ฉบับซึง่ ออกโดย IMO เช่น อนุสญั ญาระหว่างประเทศว่าด้วยเรือ่ งน้ำหนักบรรทุก (the Load Line Convention) อนุสญั ญา ระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่งชีวติ ในทะเล (the SOLAS Convention; Safety of Life at Sea) อนุสญั ญา ระหว่างประเทศว่าด้วยการป้องกันมลพิษจากเรือ (MARPOL; Prevention of Pollution from Ships) เหล่านีไ้ ด้ชว่ ยสร้าง มาตรฐานของกฎระเบียบ ข้อบังคับในการเดินเรือและการออกใบรับรองอนุสัญญาหลายฉบับของ IMO ยังคงถูกนำกลับ มาทบทวนและปรับปรุงเพือ่ ให้ทนั เหตุการณ์ทเี่ ปลีย่ นไปอย่างต่อเนือ่ ง นอกจากนี้ รัฐเจ้าของธงชาติ (Flag States) ยังเป็น สมาชิกของ IMO ซึง่ ได้ลงนามยอมรับกฎระเบียบและข้อบังคับเหล่านี ้ รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 15


3. การจัดชัน้ เรือ (Classification Societies) กรมธรรม์ประกันภัยทางทะเลได้มีการกำหนดให้มีการจัดชั้นเรือ โดยเรือแต่ละลำจะต้องมีการจดทะเบียนหรือมี การจัดชั้นเรือโดยหน่วยงานที่มีประสบการณ์ มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับซึ่งเรียกกันว่าสมาคมจัดชั้นเรือ (Classification Societies) โดยสมาคมจัดชัน้ เรือระหว่างประเทศ (The International of Classification Societies, IACS) ได้กอ่ ตัง้ ขึน้ เมือ่ ค.ศ. 1968 ซึ่งมีสมาคมจัดชั้นเรือต่างๆ เข้าร่วมเป็นสมาชิกโดยสมาคมจัดชั้นเรือจะตรวจสอบในเรื่องมาตรฐานในการ ก่อสร้างเรือและการบำรุงรักษาตัวเรือ และยังได้รบั มอบอำนาจจากรัฐเจ้าของธงให้ตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบของ IMO 4. พระราชบัญญัตกิ ารรับขนของทางทะเล (Carriage of Goods by Sea Act) พระราชบัญญัตกิ ารรับขนของทางทะเล (The Carriage of Goods by Sea Act: COGSA) ได้มขี นึ้ ในปี ค.ศ. 1924 ภายหลังจากที่มีการประชุมที่เกี่ยวกับการขนส่งทางเรือหลายครั้ง ซึ่งจัดขึ้นในกรุงบรัสเซลส์ระหว่างกลุ่มประเทศยุโรป

ทีส่ นใจการขนส่งทางเรือ และต่อมากฎหมายในลักษณะเดียวกันนีก้ ไ็ ด้มขี นึ้ ในประเทศสหรัฐอเมริกาเช่นกัน โดยกฎหมายนี้ ได้ครอบคลุมไปถึงการขนส่งสินค้าทางทะเลระหว่างประเทศ 5. ประมวลข้อบังคับเกีย่ วกับการบริหารความปลอดภัยระหว่างประเทศ (International Safety Management Code: ISM Code) ประมวลข้อบังคับนีม้ ขี นึ้ เพือ่ ความปลอดภัยในการดำเนินงานของเรือเดินทะเลและการป้องกันมลพิษต่างๆ โดยได้ มีผลบังคับใช้ตงั้ แต่วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2541 ISM Code ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของอนุสญั ญา IMO SOLAS นีไ้ ด้ครอบคลุมเรือเดิน ทะเลในน่านน้ำระหว่างประเทศ เพื่อให้เป็นไปตามกฎระเบียบของ ISM Code จึงได้มีการออกใบประกาศนียบัตรใน 2 ระดับ คือ: ระดับของผูบ้ ริหารเรือ (ภายใต้คำนิยามว่า “บริษทั ฯ” ในประมวลนี)้ ซึง่ จะมีเอกสารวิธกี ารปฏิบตั ิ (Document of Compliance: DOC) และสำหรับเรือทุกลำ ซึง่ จะต้องมีใบรับรองการบริหารความปลอดภัย (Safety Management Certificate: SMC) เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าไม่เพียงแต่เรือเท่านัน้ ทีจ่ ะต้องได้รบั ใบรับรอง แต่ยงั รวมถึงบริษทั ผูบ้ ริหารเรือเช่นกันที่ จะต้องได้รบั ใบรับรองดังกล่าว 6. ประมวลข้อบังคับว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยของเรือและท่าเรือระหว่างประเทศ (International Code for the Security of Ships and of Port Facility: ISPS Code) ประมวลข้อบังคับนีไ้ ด้ถกู พัฒนามาจาก IMO หลังเกิดเหตุการณ์การจูโ่ จมในกรุงนิวยอร์ค เมือ่ วันที่ 11 กันยายน (9/11) ISPS Code มีผลบังคับใช้ในเดือนกรกฎาคม 2547 โดยเป็นเครื่องมือกำหนดเกณฑ์การวัดและการพัฒนาความ ปลอดภัยของเรือและท่าเรือ เพือ่ ให้มรี ะบบการป้องกันตนเองจากการก่อการร้าย

16

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


กองกำลังเรือ

(ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551)

ลำที ่ ชือ่ เรือ สัญชาติ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28

ฟูจิซาน มารู * มัลลิกา นารี**** แวนดา นารี รมิตา นารี สุมนา นารี ภวิตรา นารี นัชชา นารี อภิสรา นารี ศิโรรัตน์ นารี บุษรา นารี สุชาดา นารี ปริณดา นารี วราลี นารี บุณฑริกา นารี ธาริณี นารี ชลลดา นารี ดุสิตา นารี เอมวิกา นารี พัชระ นารี พลอยไพลิน นารี นีระ นารี ฝนธิดา นารี รัตนะ นารี สุธาทิพย์ นารี กนก นารี ศุกรวรรณ นารี**** ธามิสา นารี นิภา นารี

บาฮามาส ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

ปีทสี่ ร้าง พ.ศ.

2519 2527 2528 2526 2527 2528 2527 2539 2527 2540 2537 2538 2525 2533 2537 2540 2540 2540 2527 2538 2529 2538 2545 2526 2528 2528 2525 2527

ขนาดระวางบรรทุก (เดทเวทตัน)

16,922 23,386 23,849 23,360 23,423 21,654 23,593 18,596 29,125 18,573 23,732 23,720 25,413 27,881 23,724 18,485 18,486 18,462 25,403 26,472 25,309 28,484 28,442 25,404 33,024 25,729 34,072 33,024

**มูลค่าสุทธิตามบัญชี ***มูลค่าทีเ่ อาประกันภัย (ล้านเหรียญสหรัฐฯ) (ล้านเหรียญสหรัฐฯ)

1.79 2.31 2.78 2.14 2.47 2.05 1.18 7.92 1.67 8.36 6.88 7.87 1.05 6.13 7.05 8.84 8.80 9.21 1.99 8.95 3.54 9.16 15.21 1.73 3.45 5.45 3.46 3.03

7.00 3.40 3.40 3.00 3.30 3.10 3.10 10.00 3.60 10.00 10.00 10.00 2.90 9.50 10.00 10.00 10.00 10.00 3.40 11.00 3.60 11.00 19.50 3.00 3.60 5.60 3.70 4.10

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 17


ชือ่ เรือ สัญชาติ ลำที ่

29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44

วรดา นารี ไทย ดารินทร์ นารี ไทย โกเมน นารี ไทย นัยนา นารี ไทย โอปอล นารี ไทย กฤติกา นารี ไทย อรณา นารี ไทย มณีสมุทร นารี ไทย ฝนอรุณ นารี**** ไทย มโนราห์ นารี ไทย ชโลธร นารี ไทย ศรัณยา นารี ไทย สุจิตรา นารี ไทย วิจิตรา นารี ไทย อุรวี นารี ไทย มาธวี นารี ไทย 44 ลำ

ปีทสี่ ร้าง พ.ศ.

ขนาดระวางบรรทุก (เดทเวทตัน)

2526 2527 2526 2528 2525 2525 2526 2526 2527 2527 2539 2534 2538 2540 2540 2539 รวม

25,424 30,898 23,796 23,846 28,780 34,072 33,005 21,341 22,835 29,159 27,079 28,583 28,290 28,646 28,415 28,364 1,130,280

**มูลค่าสุทธิตามบัญชี ***มูลค่าทีเ่ อาประกันภัย (ล้านเหรียญสหรัฐฯ) (ล้านเหรียญสหรัฐฯ)

1.38 2.76 1.98 4.06 1.36 1.60 2.32 2.36 2.77 2.33 12.45 8.97 11.07 12.27 19.36 18.94 250.45

หมายเหตุ * กลุม่ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ ถือหุน้ ร้อยละ 64 ** มูลค่าสุทธิตามบัญชีหมายถึงมูลค่าสุทธิตามบัญชีจากงบการเงินปรับปรุงในรูปดอลล่าร์สหรัฐ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 *** มูลค่าทีเ่ อาประกันภัยหมายถึงมูลค่าทีต่ กลงกันไว้ซงึ่ จะได้รบั จากผูร้ บั ประกันภัยในกรณีเกิดความเสียหายโดยสิน้ เชิงต่อตัวเรือ **** เรือได้ถกู ขาย ตามหนังสือบันทึกข้อตกลงซือ้ ขายเรือในระหว่างเดือนธันวาคม 2551- มกราคม 2552 จะส่งมอบให้ผซู้ อื้ ในไตรมาส 1 ปี 2552

18

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

3.00 3.60 3.00 4.10 3.00 3.40 3.40 3.00 3.10 3.60 13.50 10.00 11.20 12.30 19.40 20.00 310.40


โครงสร้างรายได้

โครงสร้างรายได้จากการดำเนินงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยในรอบ 2 ปีทผี่ า่ นมา

รายได้

รายได้จากการเดินเรือ กำไรจากการขายเรือเดินทะเลและอุปกรณ์ รายได้อนื่ รวมรายได้

2551

2550

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

8,535.80 - 124.01 8,659.81

98.57 - 1.43 100.00

7,288.37 1,558.22 186.45 9,033.04

80.69 17.25 2.06 100.00

2551

2550 2.06%

1.43%

รายได้อื่น

รายได้อื่น

17.25%

กำไรจากการ ขายเรือเดินทะเล และอุปกรณ์

98.57%

80.69%

รายได้จาก การเดินเรือ

รายได้จาก การเดินเรือ

รายได้จาก การเดินเรือ

กำไรจากการขาย เรือเดินทะเลและอุปกรณ์

รายได้อื่น

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 19


คณะกรรมการบริษทั

20

พลเรือเอก ดร.อำนาจ จันทนมัฎฐะ s ประธานคณะกรรมการบริษัท s กรรมการอิสระ

นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม s กรรมการผู้จัดการ s กรรมการบริหาร

นายมูนรี มอยนูดดิน ฮาชิม s กรรมการ s กรรมการบริหาร

นายคูชรู คาลี วาเดีย s กรรมการ s กรรมการบริหาร

พลตำรวจโท เกียรติศกั ดิ์ ประภาวัต s ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ s กรรมการอิสระ

นายสุพฒ ั น์ ศิวะศรีอำไพ s กรรมการตรวจสอบ s กรรมการสรรหา s กรรมการอิสระ

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


นายชีระ ภาณุพงศ์ s กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน s กรรมการอิสระ

นายธีระ วิภชู นิน s ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน s ประธานคณะกรรมการสรรหา s กรรมการตรวจสอบ s กรรมการอิสระ

นายไจปาล มันสุขานี s กรรมการ

นางสาวนิชติ า้ ชาห์ s กรรมการ

นายกิรติ ชาห์ s กรรมการ s กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน

นายปีเต้อร์ เฟ็ดเดอร์เซ่น s กรรมการสรรหา s กรรมการอิสระ

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 21


รายงานจากคณะกรรมการ

นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม

Mr. Khalid Moinuddin Hashim

เรียน ท่านผูถ้ อื หุน้ คณะกรรมการมีความยินดีอย่างยิง่ ทีจ่ ะนำเสนอรายงานประจำปีที่ 20 และรายงานงบการเงินของบริษทั ฯ ทีไ่ ด้ตรวจสอบแล้ว สำหรับ ปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 แก่ผถู้ อื หุน้ ทุกท่านได้รบั ทราบดังนี ้ เพือ่ ให้เข้าใจถึงผลการดำเนินงานของปีนไี้ ด้อย่างชัดแจ้ง จะขอยกคำกล่าวจากวรรณกรรมอมตะอันเลือ่ งชือ่ ของชาร์ลส ดิคเค่น เรือ่ ง “A Tale of Two Cities” หรือ เรือ่ งเล่าสองนคร คือ “นับเป็นช่วงเวลาทีด่ ที สี่ ดุ และเลวร้ายทีส่ ดุ ” เพราะในปี 2551 ไม่มคี ำอธิบายหรือคำจำกัด ความใดทีเ่ หมาะสมไปกว่าคำดังกล่าว เมือ่ อัตราค่าระวางเรือแตะระดับทีส่ งู ทีส่ ดุ ในช่วงกลางปี และร่วงหล่นลงสูจ่ ดุ ทีต่ ำ่ สุดในรอบ 20 ปีในช่วง เวลาต่อมาในปีเดียวกัน เพือ่ ความเข้าใจต่อสถานการณ์ตา่ งๆทีเ่ ปลีย่ นแปลงในปี 2551 บริษทั ฯ ได้แนบส่วนอ้างอิงไว้ในท้ายรายงานคำอธิบาย และการวิเคราะห์ของผูบ้ ริหารในรายงานประจำปีนี้ ซึง่ ประกอบด้วย คำอ้างอิง ข้อความสำคัญ หัวข้อข่าวในแวดวงชิพปิง้ ตลอดทัง้ ปีทผี่ า่ นมา เพื่ออธิบายให้เห็นภาพที่ชัดเจน คณะกรรมการขอนำเสนอตัวเลขผลกำไรสุทธิ/ขาดทุนจาก รายงานการแปลงค่าเป็นเงินเหรียญ ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา (Restated US Dollar Financial Statements) ในช่วงหลายปีทผี่ า่ นมา ในปี 2545 บริษทั ฯ ประสบภาวะขาดทุนเป็นมูลค่า 0.48 ล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2546 มีกำไร 24.79 ล้านเหรียญสหรัฐ ส่วนปี 2547 กำไรสุทธิเพิม่ ขึน้ กว่า 4 เท่า ถึง 110.10 ล้านเหรียญสหรัฐ และในปี 2548 มีกำไรเพิม่ ขึน้ อีกถึงร้อยละ 40 เป็นจำนวนเงิน 154.22 ล้านเหรียญสหรัฐ ตามด้วยผลกำไรอีก 92.63 ล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2549 และผลกำไรสุทธิทเี่ พิม่ ขึน้ เป็นจำนวนเงิน 96.84 ล้านเหรียญสหรัฐ (เป็นผลกำไรสุทธิทไี่ ม่รวมรายรับครัง้ เดียวจากการขายเรือ ภาษีจาก การขายเรือและการขาดทุนจากสัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงิน) สำหรับปี 2550 ถึงแม้วา่ บริษทั ฯ จะมีกำลังกองเรือเฉลีย่ เพียง 45 ลำเมือ่ เปรียบ เทียบกับ จำนวน 54 ลำทีม่ ใี นปี 2549 แต่ในปี 2551 ถือเป็นปีทพี่ เิ ศษ เมือ่ BDI แตะระดับทีส่ งู ทีส่ ดุ ในช่วงครึง่ ปีแรกแต่รว่ งสูจ่ ดุ ทีต่ ำ่ ทีส่ ดุ ในรอบสองทศวรรษตอนสิน้ ปี แต่ ผลประกอบการของบริษทั ฯ ในช่วงครึง่ ปีหลังถือว่าแข็งแกร่งกว่าในช่วงครึง่ ปีแรกเสียอีก เนือ่ งมาจากกลยุทธ์อนุรกั ษ์นยิ มทีบ่ ริษทั ฯนำมาใช้ ผล กำไรสุทธิสำหรับปี 2551 จึงดีเยีย่ มถึง 148.14 ล้านเหรียญสหรัฐ จากจำนวนเรือเพียง 44 ลำ รางวัลและเกียรติยศที่ ได้รบั ในรายงานประจำปี 2549 ของบริษทั ฯ ได้กล่าวว่า “ถึงแม้บริษทั ฯ จะไม่ได้รบั รางวัลผูบ้ ริหารยอดเยีย่ มแห่งปี แต่กรรมการบริหาร บริษทั ฯ คุณคาลิด เอ็ม ฮาชิม ได้เป็นหนึง่ ในแปด CEO ทีไ่ ด้รบั การเสนอชือ่ เข้าชิงรางวัลนี้ (โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) และเป็น ชาวต่างชาติเพียงคนเดียวทีไ่ ด้รบั เลือก” ในปี 2551 เป็นปีทเี่ ยีย่ มยอดกว่า เมือ่ นิตยสาร Asia Money ฉบับเดือน ธันวาคม 2551 ได้เลือก กรรมการผูจ้ ดั การของบริษทั ฯ ในบทความเกีย่ วกับผูบ้ ริหารยอดเยีย่ มของประเทศไทย ซึง่ เว็บลิงค์เข้าสูห่ น้าเว็บไซต์สำหรับรายงานฉบับเต็มคือ

22

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


นายคูชรู คาลี วาเดีย

Mr. Khushroo Kali Wadia

http://www.asiamoney.com/Article/2071674/Best-managed-companies-and-executive-in-Thailand.html. นิตยสาร The Marine Money เดือนมิถนุ ายน 2551 ฉบับ “จัดอันดับ” ได้จดั ให้พเี อสแอลเป็นบริษทั ฯ เดินเรือทีด่ ที สี่ ดุ เป็นอันดับที่ 14 ของโลก โดยพิจารณาจากผลทางการเงินของบริษทั ฯ ในปี 2550 วิธกี ารจัดอันดับทีน่ ติ ยสาร Marine Money ได้ใช้ในการจัดลำดับ คือการจัด ลำดับของยอดรวมของเกณฑ์สำคัญ 6 อย่างดังนี้: ผลตอบแทนรวมต่อผู้ถือหุ้น (Total return to shareholders), อัตราการก่อรายได้ของ สินทรัพย์รวม (Asset turnover), กำไรขัน้ ต้น (Profit margin), ผลตอบแทนต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ (Return on Equity), ผลตอบแทนของสินทรัพย์ รวม (Return on Assets) และราคาตลาดต่อมูลค่าทางบัญชี (Price to book value) Investor Relations เป็นส่วนที่บริษัทฯ ให้ความสำคัญอย่างมาก ดังนั้นกรรมการผู้จัดการบริษัทฯ จะเป็นผู้จัดการในส่วนของนัก ลงทุนสัมพันธ์ ดูแลบทความต่างๆ สำหรับนักวิเคราะห์และผูส้ อื่ ข่าว ในผลสำรวจเกีย่ วกับการกำกับดูแลกิจการ ในเดือนธันวาคม 2551 โดย นิตยสาร “Asia Money” ได้คดั เลือก ให้นายคาลิด ฮาชิม กรรมการผูจ้ ดั การของบริษทั ฯ เป็น “นักลงทุนสัมพันธ์ทดี่ ที สี่ ดุ ” จากประเทศไทย นอกจากนีใ้ นระหว่างปี บริษทั ฯ ได้เข้าร่วม Road Show และได้เข้าร่วมงาน SET Opportunity Days ทัง้ 4 ครัง้ ในแต่ละไตรมาสปี 2551 และ น่าเสียดายทีบ่ ริษทั ฯ พลาดงาน Non Deal Road Show ของปีครัง้ สุดท้ายซึง่ บริษทั ฯ ได้วางแผนร่วมกับ Macquarie’s London office เนือ่ ง มาจากการปิดสนามบินสุวรรณภูมริ ะหว่างวันที่ 25 พฤศจิกายน ถึง 5 ธันวาคม 2551 โดยเวลา 3 วันเต็มสำหรับการประชุมกับนักลงทุนจาก สถาบันการเงินต่างๆ ถึง 18 แห่ง เริม่ จากลอนดอนไปถึงเอดินเบิรก์ ทีต่ อ้ งยกเลิกไป บริษทั ฯ หวังเป็นอย่างยิง่ ว่าจะสานต่อส่วนสำคัญนีใ้ น โครงการนักลงทุนสัมพันธ์ในปี 2552 และปีตอ่ ๆ ไป จุดเด่นทางการเงิน (จากงบการเงินสกุลเงินบาท) และผลการดำเนินงานสำหรับปี ผลการดำเนินงานระหว่างปี รายได้รวมของบริษทั ฯ คือ 8,659.81 ล้านบาท (ปี 2550: 9,033.04 ล้านบาท) และมีผลกำไรสุทธิเป็น จำนวนเงินทัง้ สิน้ 4,938.59 ล้านบาท (ปี 2550: 4,156.16 ล้านบาท) ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ได้เพิม่ ขึน้ เป็น 16,177.45 ล้านบาท (ปี 2550: 14,064.93 ล้านบาท) และสินทรัพย์รวมของบริษทั ฯ เพิม่ ขึน้ เป็น 17,960.53 ล้านบาท (ปี 2550: 15,018.14 ล้านบาท) โดยมีสาเหตุหลักมาจากการจ่ายเงิน ล่วงหน้าจำนวน 1,480.97 ล้านบาท สำหรับเรือสัง่ ต่อใหม่และกำไรสุทธิระหว่างปีน ี้ ในระหว่างปี บริษทั ฯ มีกำไรสุทธิจำนวน 4,898.83 ล้านบาท ก่อนกำไรจากอัตราแลกเปลีย่ นจำนวน 61.13 ล้านบาท (ปี 2550 เป็น ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นจำนวน 175.17 ล้านบาท) และภาษีเงินได้จำนวน 21.37 ล้านบาท (ปี 2550 จำนวน 215.57 ล้านบาท) ในด้านของ รายได้ ปีนเี้ รือของบริษทั ฯ มีรายได้เฉลีย่ 16,489 ดอลล่าร์ตอ่ วันต่อลำ เมือ่ เปรียบเทียบกับ 13,147 ดอลล่าร์ตอ่ วันต่อลำ ของปี 2550 รายได้ รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 23


รวม(ไม่รวมรายการกำไรจากการขายเรือ)สูงกว่าปีที่แล้ว สาเหตุหลักเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของรายได้เฉลี่ยต่อวันต่อลำเรือของปี 2551 เมื่อ เปรียบเทียบกับปี 2550 ค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 3 ด้วย เนือ่ งจากการเพิม่ ขึน้ ของค่าใช้จา่ ยในการดำเนินการของเรือต่อวันต่อลำ เรือในปี 2551 เมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2550 ระยะเวลาหยุดการเดินเรือเพือ่ การซ่อมบำรุงของปีนเี้ ฉลีย่ ประมาณ 12.45 วันต่อลำเรือ ซึง่ ถือว่าดี มากเมือ่ คำนึงถึงอายุเฉลีย่ ของกองเรือทีม่ อี ายุประมาณ 20 ปีในปี 2551 จากผลกำไรทีด่ แี ละกระแสเงินสดทีแ่ ข็งแกร่ง ทำให้บริษทั ฯมีสภาพ คล่องสูงในระหว่างปี 2551 และสามารถจ่ายเงินปันผลจำนวน 2,858.21 ล้านบาทไปในปี 2551 บริษัทฯ ได้ลองคำนวณผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้นสำหรับ 15 ปี นับตั้งแต่บริษัทฯ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2536 โดยเมือ่ วันอังคารที่ 16 กันยายน 2551 ราคาหุน้ บริษทั ฯ มีราคาปิดอยูท่ ี่ 16.60 บาทต่อหุน้ หากนักลงทุนได้ถอื หุน้ ไว้ตงั้ แต่เปิด IPO ครัง้ แรกจนครบ 15 ปี นักลงทุนจะได้ผลตอบแทนถึง 11.21 เท่าของเงินลงทุนครัง้ แรก โดยการคำนวณนีย้ งั ไม่ได้คำนึงถึงผลตอบแทนจาก การนำเงินปันผลทีไ่ ด้รบั ไปลงทุนใหม่ ในรูปหุน้ หรือดอกเบีย้ รับ กองเรือของบริษทั บริษทั ฯ มีกองเรือเมือ่ สิน้ ปี 2551 นัน้ มีอยูท่ ี่ 44 ลำ และมีขนาดระวางบรรทุกรวมที่ 1.13 ล้านเดตเวทตัน นัน่ คือ โดยเฉลีย่ 25,688 เดตเวทตัน ต่อลำเรือ และมีอายุเฉลีย่ กองเรือเท่ากับ 21 ปี ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงได้เริม่ แผนการลดอายุกองเรือ อีกทัง้ การมองหาโอกาสในการเพิม่ กำลังกองเรือ โดยบริษทั ฯมีความตัง้ ใจทีจ่ ะเพิม่ ความแข็งแกร่งของกองเรือบริษทั ฯ ให้มจี ำนวน 50 ถึง 70 ลำภายในสองสามปีขา้ งหน้า โดยแผนการลดอายุกองเรือ บริษทั ฯ ได้มกี ารสัง่ ต่อเรือใหม่กบั อูต่ อ่ เรือ ABG ประเทศอินเดีย ซึง่ บริษทั ฯ ได้รายงานรายละเอียดไป แล้วในรายงานประจำปี2550 ในธุรกิจเดินเรือต้องใช้เงินลงทุนสูง มีลกั ษณะเฉพาะทีไ่ ม่สามารถคาดเดาได้และเปลีย่ นแปลงอย่างสุดขัว้ อยูต่ ลอด เวลาทีต่ อ้ งตัดสินใจซือ้ สินทรัพย์นนั้ เป็นการตัดสินใจอันสำคัญยิง่ ทีเดียว ตอนนีบ้ ริษทั ฯ กำลังก้าวสูข่ นั้ ต่อไปของแผนการลดอายุกองเรือ บริษทั ฯ วางแผนทีจ่ ะขายเรือทีเ่ ก่าทีส่ ดุ ของบริษทั ฯ จำนวน 25 ลำ ในช่วง 1 หรือ 2 ปีนี้ เมือ่ สัญญาให้เช่าเรือปัจจุบนั ของเรือเหล่านัน้ หมดลง เรือจะถูกขายและแทนด้วยเรือทีม่ อี ายุนอ้ ย มีขนาดใหญ่กว่า มี เครือ่ งยนต์ทดี่ กี ว่าเดิมและประหยัดพลังงานกว่า จากตลาดเรือมือสอง แผนการนีจ้ ะเป็นชิน้ ส่วนสุดท้ายทีจ่ ะต่อลงไปในภาพตัวต่อซึง่ ได้เริม่ เมือ่ เดือนกันยายน 2546 ทีไ่ ด้เพิม่ เรือจำนวน 24 ลำ ในระยะเวลา 12 เดือน และหนีไ้ ด้เพิม่ ขึน้ จนถึงระดับทีบ่ ริษทั ฯ รูส้ กึ เป็นความกังวลในตอนนัน้ แต่บริษทั ฯ สามารถชำระหนีร้ ะยะเวลา 9 ปี หมดได้ในเวลาเพียง 2 ปี และปลอดหนีใ้ นวันที่ 10 ตุลาคม 2549 เมื่อใดที่การทดแทนกองเรือสำเร็จ เราจะรู้สึกได้ถึงความมั่นคงและความยั่งยืนของบริษัทฯ ไปอีกสองถึงสามทศวรรษ เนื่องจาก

บริษทั ฯ ได้ทดแทนกองเรือของบริษทั ฯ ด้วยราคาต่ำทีอ่ ยูใ่ นระดับราคาต่ำของอดีต ข้อมูลเด่นปี 2551 - ปีแห่งความยอดเยีย่ มและเลวร้าย วิกฤติซบั ไพร์ม ได้กระทบเศรษฐกิจทัว่ โลกและในโลกแห่งธุรกิจเดินเรือเป็นสภาพทีแ่ ทบหายใจไม่ออก สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ในช่วงต้นปี 2550 คือสภาพย่ำแย่จากปัญหาธุรกิจจำนองอสังหาริมทรัพย์ในอเมริกานั้นลุกลามเป็นวิกฤติเศรษฐกิจทั่วโลกในช่วงกลางปี 2551 ปัญหาซับไพร์ม ทำให้ระบบธนาคารของอเมริกาเข้าสูส่ ภาวะพิการ กระจายวงกว้างและกระทบต่อระบบการเงินทัว่ โลก เรื่องดังกล่าวกระทบระบบธนาคารทั่วโลกส่งผลให้เกิดการชะลอตัวทางเศรษฐกิจครั้งใหญ่ในทุกประเทศทั่วโลก เมื่อธนาคารในทุก ประเทศอยู่ในสถานะไม่มั่นคง รัฐบาลทุกแห่งและธนาคารกลางเริ่มร่วมมือกันและให้ความร่วมมือในการหยุดวิกฤติดังกล่าวด้วยการลดอัตรา ดอกเบี้ยลงถึงระดับต่ำที่สุดและร่วมกันซื้อหุ้นในธนาคารของตน เพื่อเพิ่มสภาพคล่อง ผลที่ตามมาก็คือทุกวันนี้ธนาคารส่วนมากถือครองโดย รัฐบาลทัง้ ทางตรงและทางอ้อมเพือ่ เป็นหลักประกันความมัน่ คงของเงินฝากของประชาชน ขณะเดียวกันทีธ่ นาคารทัง้ หลายพยายามรักษาบัญชี งบดุลที่ได้รับความเสียหายจากปัญหาซับไพร์ม ธนาคารไม่อยู่ในฐานะที่จะกลับไปสู่การปฏิบัติการด้านการให้เงินกู้ยืมในภาวะปกติได้ บัญชี งบดุลยังไม่แข็งแรงพอทีจ่ ะดำเนินการต่อด้วย “ธุรกิจตามนโยบายปกติ” สิง่ นีม้ ผี ลกระทบอย่างมากต่อธุรกิจ เมื่อธุรกิจหลักได้รับผลกระทบ การเติบโตของเศรษฐกิจโลกได้เริ่มชะลอตัวลงและเข้าสู่ภาวะถดถอยอย่างแท้จริง สิ่งนี้นำไปสู่การ ชะลอตัวของอุปสงค์ การค้าขาดระบบการเงินเนือ่ งจากปัญหาของธนาคาร ส่งผลให้เกิดการหยุดชะงักของกระแสการค้าเกือบทัง้ หมดและการ ร่วงหล่นของ BDI ข้อมูลการนำเข้าแร่เหล็กของประเทศจีนจากกรมศุลกากรจีน พบว่าในปี 2551 แม้จะสูงกว่าปีทแี่ ล้ว และยังเป็นสถิตใิ หม่ทนี่ า่ ประทับใจที่ 444 ล้านตันหรือมากกว่าปีทแี่ ล้วถึง 15.9% แต่มกี ารชะลอตัวอย่างมากในช่วง 2 ถึง 3 เดือนสุดท้ายของปี ในปี 2551 ผูผ้ ลิตเหล็ก ของจีน ได้ผลิตเหล็กประมาณ 500 ล้านตัน ซึง่ สูงกว่าเล็กน้อยเมือ่ เทียบกับจำนวน 490 ล้านตัน ในปี 2550 อย่างไรก็ตามในปี 2552 โรงงาน เหล็กในเมืองจีนก็เหมือนกับส่วนอืน่ ๆ ทัว่ โลก ระบุวา่ พวกเขาจะลดการผลิตลง 20 ถึง 30% ต่อปี ส่วนโรงงานผลิตเหล็กในประเทศญีป่ นุ่ ได้ ประมาณว่า ในไตรมาสที่ 1 ของปี 2552 จะมีผลผลิตอยูท่ ี่ 21.1 ล้านเมตตริกตัน ซึง่ เท่ากับว่าลดลงไปกว่า 31.6% เมือ่ เทียบปีตอ่ ปี และลดลง

24

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


22% จากไตรมาสทีผ่ า่ นมาและเป็นระดับต่ำทีส่ ดุ ของไตรมาสที่ 1 ตัง้ แต่ปี 2512 เป็นต้นมา ดัชนีบอลติค (Baltic Dry Index, BDI) เมือ่ สิน้ ปีอยูท่ ี่ 774 จุด ซึง่ ลดลงกว่า 91% จากตอนต้นปีที่ 8,891 จุด หลังจากทีแ่ ตะระดับ สูงสุดที่ 11,793 จุดในวันที่ 20 พฤษภาคม 2551 และต่ำสุดที่ 663 จุดในวันที่ 5 ธันวาคม 2551 บริษทั ฯ คิดไม่ออกว่าจะมีอตุ สาหกรรมใดทีม่ ี ดัชนีทขี่ นึ้ สูงทีส่ ดุ และร่วงลงต่ำทีส่ ดุ ในรอบสองทศวรรษได้ในช่วงเวลาเพียง 7 เดือนในปีเดียวกัน คงไม่มตี วั อย่างการเปลีย่ นแปลงในธุรกิจและ อุตสาหกรรมใดใดทีเ่ กิดขึน้ อย่างรวดเร็วและโดยคาดการณ์ไม่ได้ นอกจากความผันผวนของ BDI อีกแล้ว ดังนัน้ นักลงทุนควรต้องระวังความจริง ในข้อนีไ้ ว้ดว้ ย ค่าเฉลีย่ BDI ของปีนอี้ ยูท่ ี่ 6,390 จุด ลดลงเล็กน้อยเมือ่ เปรียบเทียบกับค่าเฉลีย่ ในปี 2550 ทีอ่ ยูท่ ี่ 7,070 จุด แต่กย็ งั ไม่ใช่เรือ่ งราว ทั้งหมด จากอัตราที่ร่วงลงตอนปลายปี การทำสัญญาระยะยาวกับคู่ค้าที่ดีเท่านั้น ผู้เช่ารายใหญ่หลายรายมีปัญหากับสัญญาระยะยาวและ พยายามหลบเลีย่ งการทำตามข้อตกลง ซึง่ ก่อให้เกิดผลกระทบกับชือ่ เสียงของบริษทั เดินเรือ มีการฟ้องร้อง ใช้อำนาจศาลเพือ่ ให้มเี วลามากขึน้ ที่จะต่อสู้กับข้อตกลงของตนเอง ข่าวพาดหัวหลายข่าวได้อ้างถึงการล้มละลายของหนึ่งหรือหลายบริษัทฯ ยักษ์ใหญ่ที่กลายมาเป็นเรื่องปกติ และพวกเราจะได้อา่ นข่าวเหล่านัน้ มากขึน้ ในอนาคตอันใกล้ กลยุทธ์ของบริษทั ฯ ในการทำสัญญาระยะยาวทีร่ าคาสูงทีส่ มเหตุสมผลจึงเป็นสิง่ ทีเ่ หมาะสม รายได้ตอ่ วันต่อลำเรือระหว่างปี 2551 สำหรับกองเรือของบริษัทฯ นั้น สะท้อนกลยุทธ์ของบริษัทฯ ที่จะหลีกเลี่ยงความผันผวนของ BDI สำหรับปี 2551 บริษัทฯ มีรายได้เฉลี่ยที่ 16,489 ดอลล่าร์สหรัฐ ต่อวันต่อลำเรือ ซึง่ เปรียบเทียบกับทีป่ ระมาณไว้ทรี่ ะหว่าง 15,000 ดอลล่าร์สหรัฐ ถึง 16,000 ดอลล่าร์สหรัฐ ต่อวันต่อลำ เรือ เมือ่ เปรียบเทียบตัวเลขนีก้ บั ผลประกอบการทีผ่ า่ นๆ มาที่ 13,147 ดอลล่าร์สหรัฐต่อวันในปี 2550 11,387 ดอลล่าร์สหรัฐต่อวันในปี 2549 14,449 ดอลล่าร์สหรัฐต่อวันในปี 2548 และ 13,248 ดอลล่าร์สหรัฐในปี 2547 ทิศทางอุตสาหกรรมเดินเรือทะเล การปลดระวางเรือของเรือเอนกประสงค์ขนาดเล็กนัน้ ลดลงในสามไตรมาสแรกของปี 2551 และได้เพิม่ ขึน้ ในช่วงปลายปี ด้วยจำนวน เรือทัง้ หมด 42 ลำทีถ่ กู ปลดระวาง มีเรือใหม่เข้ามา 97 ลำ สูก่ องเรือโลกส่งผลให้มเี รือเพิม่ 55 ลำ หรือ 1.7% ของกองเรือโลกซึง่ จะทำให้มเี รือ ทัง้ สิน้ 3,219 ลำ ในขนาดเรือของบริษทั ฯ โดยเหตุผลทีอ่ ตั ราการปลดระวางเรือลดลงจนเกือบจะไม่มกี ารปลดระวางเรือจนถึงไตรมาสทีส่ ามเป็น เพราะความแข็งแกร่งต่อเนือ่ งของตลาดอัตราค่าระวางเรือ แต่เป็นไปไม่ได้ทจี่ ะหลีกหนีจากบทสรุปทีว่ า่ เรือส่วนใหญ่มอี ายุมากและเมือ่ อัตราค่า ระวางเรือร่วงลงอย่างมากในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2551 อัตราการปลดระวางเรือจะเพิม่ ขึน้ ในอนาคตอันใกล้ ดังทีจ่ ะเห็นได้จาก มีเรือทีถ่ กู ปลดระวางจำนวน 25 ลำในเดือนพฤศจิกายน 2551 และเดือนธันวาคม 2551 มีถงึ 58 ลำ ตัวเลขการปลดระวางเรือทีส่ งู ขนาดนีไ้ ม่เคยปรากฏ ให้เห็นในช่วงต่างกันแค่ 1 เดือน สถิตเิ ก่าคือ เดือนหนึง่ ในปี 2540 อยูท่ ี่ 1.7 ล้าน เดตเวทตัน ได้ถกู ปลดระวาง แต่ในเดือนพฤศจิกายนอยูท่ ี่ 2 ล้านเดตเวทตัน และเดือนธันวาคม 2551 อยูท่ ี่ 2.4 ล้านเดตเวทตัน บริษทั ฯ คาดว่าตัวเลขเหล่านีจ้ ะเพิม่ ขึน้ ในปี 2552 อีก เนือ่ งจากปัญหา ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับการหยุดชะงักของระบบการค้าหรือแอลซีสำหรับทำเรือเป็นเศษซากทีไ่ ด้รบั การอนุมตั อิ ย่างช้าๆ เรือใหม่จำนวนมากในปี 2552 เรือขนาดเคปไซส์ (Capesize) มีเรือ 207 ลำ หรือ 23.7% ของกองเรือทัง้ หมดจะถูกส่งมอบในปี 2552 ส่วนอีก 408 ลำ หรือ 46.8% จะส่งมอบในปี 2553 และอีก 272 ลำ หรือ 31.2% ในปี 2554 และทีเ่ หลืออีก 86 ลำ หรือ 9.9% จะถูกส่งมอบในปี 2555 ในส่วนนี้ เรือ 206 ลำ หรือ 23.6% จะมีอายุมากกว่า 22 ปี ในปี 2555 และดูเหมือนจะถูกปลดระวางในระหว่างปี 2552 ถึง 2555 ถ้าอัตราค่าระวางเรือยังอยูใ่ น ระดับต่ำเหมือนระดับต่ำสุดทีเ่ คยเกิดขึน้ มา เรือขนาดปานาแมกซ์ (Panamax) มีเรือ 108 ลำ หรือ 7.2% ของกองเรือทีม่ อี ยูจ่ ะถูกส่งมอบระหว่างปี 2552 ส่วนเรืออีก 216 ลำ หรือ 14.4% ทำสัญญาว่าจะส่งมอบในปี 2010 อีก 165 ลำ หรือ 11% ทำสัญญาส่งมอบในปี 2554 ทีเ่ หลืออีก 84 ลำ หรือ 5.6% จะถูกส่งมอบในปี 2555 ในส่วนเรือขนาดปานาแมกซ์มี 355 ลำ หรือ 23.7% ของกองเรือ จะมีอายุมากกว่า 24 ปี ในปี 2555 และดูเหมือนจะถูกปลดระวาง ระหว่างปี 2552 ถึงปี 2555 ถ้าอัตราค่าระวางเรือยังอยูใ่ นระดับต่ำเหมือนระดับต่ำสุดทีเ่ คยเกิดขึน้ มา เรือขนาดซูปราแมกซ์ (Supramax) มีเรือ 238 ลำ หรือ 13.9% ของกองเรือทีม่ จี ะส่งมอบในปี 2552 อีก 335 ลำ หรือ 19.6% จะถูกส่ง มอบในปี 2553 ส่วน 218 ลำ หรือ 12.7% จะส่งมอบในปี 2554 อีก 61 ลำทีเ่ หลือ หรือ 3.6% จะตามมาในปี 2555 ในส่วนนี้ 394 ลำ หรือ 23% จะมีอายุมากกว่า 25 ปี ภายในปี 2555 ซึง่ อาจจะถูกปลดระวางระหว่างปี 2552 ถึง 2555 ถ้าอัตราค่าระวางเรือยังอยูใ่ นระดับต่ำเหมือนระดับ ต่ำสุดทีเ่ คยเกิดขึน้ มา รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 25


เรือขนาดแฮนดีแ้ มกซ์ (Handymax) มีเรือ 220 ลำ หรือ 23.2% ของกองเรือปัจจุบนั จะถูกส่งมอบในปี 2552 อีก 231 ลำ หรือ 24.3% ส่งมอบในปี 2553 อีก 172 ลำ หรือ 18.1% ในปี 2554 ส่วนอีก 77 ลำ หรือ 8.1% จะถูกส่งมอบในปี 2555 ในส่วนนี้ เรือ 600 ลำ หรือ 63.2% จะมีอายุ เกิน 25 ปีภายในปี 2555 และอาจทำเป็นเศษซากในระหว่างปี 2552 ถึง 2555 ถ้าอัตราค่าระวางเรือยังอยูใ่ นระดับต่ำเหมือนระดับต่ำ สุดทีเ่ คยเกิดขึน้ มา เรืออเนกประสงค์ขนาดเล็ก (Small Handy) มีเรือ 206 ลำ หรือ 6.4% ของกองเรือปัจจุบนั จะถูกส่งมอบในปี 2552 อีก 157 ลำ หรือ 4.9% จะส่งมอบในปี 2553 ส่วนอีก 86 ลำ หรือ 2.7% ส่งมอบในปี 2554 ทีเ่ หลืออีก 18 ลำ หรือ 0.6% จะส่งมอบในปี 2555 ในส่วนนีม้ เี รือ 1,729 ลำ หรือ 53.7% จะมีอายุมากกว่า 27 ปี ภายในปี 2555 และจะถูกทำเป็นเศษเหล็กระหว่างปี 2552 ถึง 2555 ถ้าอัตราค่าระวางเรือยังอยู่ ในระดับต่ำเหมือนระดับต่ำสุดที่เคยเกิดขึ้นมา ด้วยความที่มีเรืออายุมากอยู่จำนวนมาก ดังนั้นอุปสงค์ อุปทานดูจะแข็งแกร่งที่สุดในส่วนเรือ ขนาดอเนกประสงค์ขนาดเล็กนี้ ซึง่ เป็นขนาดทีบ่ ริษทั ฯ ดำเนินงานอยูใ่ นตลาดเรือขนส่งสินค้าแห้งเทกองแบบไม่ประจำเส้นทาง สภาพการแข่งขันในอุตสาหกรรมเดินเรือทะเล ปัจจุบนั บริษทั ฯ มีเรืออเนกประสงค์ขนาดเล็กจำนวน 44 ลำ และทีส่ งั่ ต่อใหม่อกี 18 ลำ ซึง่ ประมาณ 1.5% ของกำลังกองเรือทีม่ ี ทัง้ หมดในโลก ทำให้บริษทั ฯ เป็นหนึง่ ในบริษทั ฯ ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในส่วนนีข้ องตลาด อีกทัง้ เป็นหนึง่ ในบริษทั ฯ ทีม่ กี ารสัง่ ต่อเรือใหม่มากทีส่ ดุ และ เนื่องจากเจ้าของเรือในกลุ่มนี้มีลักษณะกระจัดกระจายอย่างมาก แต่ชื่อของบริษัทฯ ได้รับการยอมรับจากลูกค้าดังนั้นลูกค้าจะนึกถึงและ ต้องการทีจ่ ะใช้บริการเรืออเนกประสงค์ขนาดเล็กของบริษทั ฯ ก่อนทีจ่ ะไปใช้บริการกับเจ้าของเรือรายย่อยอืน่ ๆ นอกจากนี้ แผนของบริษัทฯ ที่จะหาเรือมาทดแทนเรือที่เก่าที่สุด 25 ลำ ของกองเรือที่มีอยู่ด้วยเรือที่อายุน้อยกว่า ใหญ่กว่า มี เครื่องยนต์กลไกที่ดีกว่าและประหยัดมากกว่า จากตลาดเรือมือสองที่ดูเหมือนว่าจะซื้อได้ในระดับราคาที่ต่ำของประวัติศาสตร์ ซึ่งจะทำให้ สถานะการแข่งขันของบริษทั ฯ ดีกว่าเมือ่ เปรียบเทียบกับบริษทั ฯ อืน่ ๆ ซึง่ อาจซือ้ เรือมือสองในช่วง 4 ถึง 5 ปีทผี่ า่ นมาด้วยราคาทีแ่ พงมากจาก อดีตทีผ่ า่ นมา ปัญหาทีอ่ ตุ สาหกรรมเดินเรือทะเลประสบอยู่ในปัจจุบนั ด้วยตลาดค่าระวางเรือแตะระดับสูงสุดตัง้ แต่ปี 2547 2548 2550 และ 2551 และ ร่วงลงต่ำทีส่ ดุ ในรอบ 2 ทศวรรษในปี 2551 บริษทั ฯ ทีร่ อบคอบส่วนใหญ่ซงึ่ มีหนีอ้ ยูเ่ พียงเล็กน้อยในบัญชีงบดุล และมีเงินสดจำนวนมากอยูใ่ นกระเป๋ามีเกณฑ์ทจี่ ะรวมตัวกันในกลุม่ ธุรกิจ สิง่ นีอ้ าจเกิด ขึน้ โดยการซือ้ เรือมือสองอย่างรอบคอบในราคาทีต่ ำ่ เป็นประวัตศิ าสตร์ หรือด้วยการรวมบริษทั ฯ หรือร่วมทุน ไม่วา่ จะด้วยวิธกี ารใดก็ตาม การ รวมตัวได้เกิดขึน้ แล้ว และจะได้รบั การต้อนรับเพราะว่ามันเป็นสิง่ เดียวทีจ่ ะทำให้ธรุ กิจมีชวี ติ ชีวาขึน้ สำหรับผูม้ สี ว่ นร่วมในอุตสาหกรรมนี ้ ต้นทุนการดำเนินงาน เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องระหว่างปี 2551 แต่ปัจจุบันได้ลดลงอย่างมากในตลาดเดินเรือโลกทำให้บริษัทฯ เชื่อว่า ต้นทุนได้ผา่ นจุดสูงสุดไปแล้วทีไ่ ตรมาส 3 ค่าซ่อมแซมในอูแ่ ห้ง ค่าตรวจสภาพ ค่าซ่อมบำรุงรักษาและค่าเสบียงและอะไหล่นนั้ สูงขึน้ สำหรับทัง้ อุตสาหกรรมระหว่างปี 2551 แต่ด้วยจำนวนเรือที่รอเข้าซ่อมบำรุงเพื่อยืดอายุการใช้งานเรือได้ลดลง ค่าใช้จ่ายต่างๆจะลดลงเนื่องด้วยความ กดดันทางการแข่งขันระหว่างอูซ่ อ่ มเรือต่างๆ ทัง้ จากการซ่อมเรือและการสร้างเรือใหม่ ราคาน้ำมันหล่อลืน่ ยังคงทีใ่ นปี 2551 ไม่มกี ารปรับเพิม่ และด้วยความทีร่ าคาโยงกับราคาน้ำมันดิบต่อบาร์เรลจึงอาจคาดการณ์ได้วา่ ผู้ ผลิตจะทำตามแนวโน้มดังกล่าว มีเจ้าของเรือจำนวนมากมีแนวโน้มที่จะปลดระวางเรือของพวกเขาและเรือใหม่ที่จะส่งมอบมีจำนวนน้อยลง การแย่งชิงของเจ้าหน้าทีป่ ระจำเรือและลูกเรือจึงคาดการณ์วา่ จะน้อยลง อาจจะไม่สง่ ผลให้เกิดการลดลงของค่าใช้จา่ ยลูกเรือลงอย่างกะทันหัน แต่การเพิม่ ขึน้ ทีบ่ อ่ ยๆจะจบลงและจะลดปริมาณลูกเรือทีไ่ ม่นา่ ไว้วางใจ ขาดประสบการณ์ ไม่เคยผ่านงานมาก่อน สิง่ นีถ้ อื ว่าเป็นการพัฒนาใน ช่วงสองสามปีทผี่ า่ นมา ราคาเรือมีราคาสูงมากระหว่างปี 2551 ซึง่ ส่งผลให้ตอ้ งจ่ายค่าเบีย้ ประกันภัยในอัตราทีส่ งู เมือ่ ราคาเรือลดต่ำลงมาในช่วงทีผ่ า่ นมา เนือ่ งจากการตกต่ำในตลาดการขนส่งทางเรือ บริษทั ฯ คาดว่าค่าเบีย้ ประกันภัยจะลดน้อยลงด้วย ถึงแม้วา่ จะไม่ได้สดั ส่วนพอดีกนั กับมูลค่าเรือ ทีล่ ดต่ำลงก็ตาม ความกดดันเกีย่ วกับการค้าทีส่ งู ขึน้ และความพยายามให้เกิดความล่าช้าให้นอ้ ยทีส่ ดุ ได้เพิม่ ปริมาณงานของคนนำทางและเรือลากเข้า ท่าเรือทำให้มกี ารบาดเจ็บ/ตายเพิม่ ขึน้ ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นการขัดแย้งกันเองและเกิดการชกต่อย ขณะทีค่ วามสูญเสียและความเสียหายของผูท้ บี่ าด เจ็บ/ตายเหล่านี้ ได้รบั การคุม้ ครองโดยประกันภัย และส่งผลทำให้เบีย้ ประกันภัยเพิม่ ขึน้ ถึงแม้เหตุการณ์ดงั กล่าวไม่ได้เกิดขึน้ กับบริษทั ฯ เนือ่ งจาก เป็นข้อตกลงทีท่ ำร่วมกันของการประกันภัยจากความเสียหายทีจ่ ะเกิดขึน้ (Protection & Indemnity (P&I) Insurance) ซึง่ ถือเป็นลักษณะเฉพาะ ของอุตสาหกรรมการเดินเรือ ทีผ่ ใู้ ห้ประกันภัยทางทะเลรายใหญ่ๆ จะแบ่งปันค่าใช้จา่ ยของอุบตั เิ หตุทางทะเล กับผูร้ ว่ มทำประกัน

26

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


ท้ายทีส่ ดุ บริษทั ฯ ทีร่ บั ประกันภัยทางทะเลทัง้ หลายก็ได้รบั ผลกระทบจากวิกฤติการเงินทีผ่ า่ นมาและอาจคาดได้วา่ จะเพิม่ อัตราเบีย้ ประกันขึน้ เพือ่ ชดเชยรายได้จากการลงทุนทีล่ ดต่ำลง ตามข้อมูลดังกล่าวบริษทั ฯ คาดว่าค่าเบีย้ ประกันภัยจะเพิม่ ขึน้ แม้วา่ ทางบริษทั ฯ จะมี ระบบความปลอดภัยทางการปฏิบัติการบนเรือและลูกเรือ ของบริษัทฯ มากเพียงใดก็ตาม สำหรับปี 2551 ค่าใช้จ่ายสำหรับการเดินเรือโดย เฉลีย่ ต่อวันต่อลำเรือเพิม่ ขึน้ ประมาณร้อยละ 20 จากปีกอ่ น บริษทั ฯ ไม่มตี วั เลขของอุตสาหกรรมแต่บริษทั ฯ คาดว่าตัวเลขนีข้ องอุตสาหกรรม จะสูงกว่าตัวเลขของบริษทั ฯ ตามประสบการณ์ทผี่ า่ นมา การประชุมองค์กรการเดินเรือทะเลสากล (IMO) ในการประชุมขององค์กรการเดินเรือทะเลสากล ได้มีการปรับปรุงกฎระเบียบให้ทัน สมัยเป็นระยะๆ เพือ่ ให้สอดคล้องกับความต้องการในเรือ่ งการปกป้องสิง่ แวดล้อม คณะกรรมการคุม้ ครองสิง่ แวดล้อมทางทะเลของ IMO ล่าสุด ได้อนุมตั กิ ารเปลีย่ นแปลงครัง้ ใหญ่ของกฎ MARPOL (Annex VI) อนุสญั ญาว่าด้วยการป้องกันมลภาวะจากเรือ ทีจ่ ะลดการปล่อยสารทีเ่ ป็น มลภาวะออกมาจากเรือ อาณาเขตทางทะเลพิเศษสำหรับการควบคุมสารทีป่ ล่อยออกมาจากเรือได้เพิม่ ขึน้ ความต้องการของกฎทีว่ า่ ด้วยการ บรรทุกน้ำหนักสินค้าบนเรือทีแ่ น่นอนก็จะเข้มงวดมากขึน้ หลายๆ ประเทศยืนยันทีจ่ ะเข้มงวดเรือ่ งอนุสญั ญาการจัดการน้ำเสียบนเรือด้วย อีก ทั้งผลการดำเนินการจากองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้ให้ความสำคัญมากขึ้นในเรื่องเงื่อนไขด้านการครองชีพของลูกเรือ นอกจากนี้การ ตรวจสอบและการสำรวจทีเ่ ข้มงวดของสมาคมจัดชัน้ เรือและรัฐเจ้าของน่านน้ำ ทำให้เกิดค่าใช้จา่ ยทีเ่ พิม่ ขึน้ ให้เจ้าของเรือ และเพิม่ ความกดดัน ให้ผคู้ วบคุมมากขึน้ โดยรัฐเจ้าของน่านน้ำและสมาคมจัดชัน้ เรือก็มปี ญั หาคล้ายคลึงกับเจ้าของเรือคือขาดแรงงานจำนวนมากทีไ่ ด้รบั การฝึกฝน ศูนย์ฝึกบุคลากรด้านการเดินเรือและการจัดการด้านทรัพยากรบุคคลด้านการเดินเรือ (Maritime Training Center & Maritime Resource Management) ในความพยายามที่จะลดจำนวนอุบัติภัยทางทะเลเนื่องด้วยปัญหาการขาดแคลนลูกเรือและคุณภาพของลูกเรือ บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ ศูนย์ฝกึ การเดินเรือเต็มรูปแบบทีส่ ำนักงานใหญ่ทกี่ รุงเทพและซึง่ มีเครือ่ งมืออุปกรณ์ทพี่ ร้อมใช้งานในเดือนมีนาคม 2551 ซึง่ ประกอบด้วย ห้องจำลองการเดินเรือ (Bridge Navigation Simulator) ที่ทันสมัยสำหรับการฝึกบุคคลากรทางทะเล หลักสูตรการจัดการ ทรัพยากรบุคคลด้านการเดินเรือ (Maritime Resource Management) (MRM) เป็นหลักสูตรการฝึกหัดสำหรับเจ้าหน้าทีป่ ระจำเรือ วิศวกร ผู้ ขับเรือ และเจ้าหน้าทีป่ ระจำชายฝัง่ เป้าหมายหลักก็คอื การเพิม่ ความรูค้ วามสามารถและเพิม่ ความแข็งแกร่งต่อทัศนคติดา้ นบวกในเรือ่ งความ ปลอดภัยและการทำงานร่วมกันเป็นทีม MRM ได้รบั การยอมรับทัว่ ไปว่าเป็นหนึง่ ในกระบวนการทีม่ ศี กั ยภาพทีจ่ ะเพิม่ ความร่วมมือร่วมใจของ ลูกเรือและลดความเสี่ยงของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากความผิดพลาดของมนุษย์ อีกทั้งลดความล้มเหลวของการทำงานร่วมกันเป็นทีมและการ บริหารจัดการทรัพยากร หลักสูตร MRM นีไ้ ด้รบั การอนุญาตและจดสิทธิบตั รโดย The Swedish Club นอกจากหลักสูตร MRM แล้ว บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ ห้องเรียน การอบรมผ่านวีดโี อ Video-Based Training (VBT) และศูนย์การเรียนรูด้ ว้ ยคอมพิวเตอร์ Computer Based Training (CBT) สำหรับลูกเรือของบริษทั ฯ หลักสูตรต่างๆ จะรวม MRM, Bridge Team Management (BTM), Bridge Team Competency (BTC), Officer Of the Watch (OOW), Chief Mate Course (CMC), Command Course (Command), Shipboard Safety Course (SSC), Maritime Professional Briefing (MPB), Maritime English Training (แบ่งเป็น 5 ระดับ), Video-Based Training (VBT) and Computer-Based Training (CBT) เพือ่ ความปลอดภัยและความมีศกั ยภาพของการปฏิบตั กิ ารทางดาดฟ้าเรือและแผนกเครือ่ งยนต์ หลักสูตรเหล่านีไ้ ด้พฒั นาอย่างต่อเนือ่ ง ทำให้เจ้าหน้าทีแ่ ละวิศวกรของบริษทั ฯ ทันกับพัฒนาการล่าสุดในการปฏิบตั กิ ารทางเรือ ห้องจำลองการเดินเรือ (The Bridge Navigation Simulator) ได้จำลองการเดินเรือ การเข้าท่าเรือให้เหมือนจริงและให้เงือ่ นไขการ เดินเรือเพือ่ ทีจ่ ะฝึกหัดพนักงานในการทำงานร่วมกันเป็นทีมทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการเดินเรือและความมีศกั ยภาพของการควบคุมเรือ นับว่าเป็น ก้าวทีส่ ำคัญทีบ่ ริษทั ฯ จัดขึน้ เพือ่ ฝึกหัดพนักงานและลูกเรือเพือ่ ให้พวกเขาดูแลตนเองและเรือได้ดขี นึ้ ด้วยมุมมองทีจ่ ะรับรองความปลอดภัยของ ลูกเรือและเรือโดยการป้องกันอุบตั เิ หตุซงึ่ ป็นการรักษาสิง่ แวดล้อมไปด้วยในตัวเอง ในสถานการณ์ปจั จุบนั ทีท่ วั่ โลกกำลังขาดแคลนแรงงานทีไ่ ด้ รับการฝึกฝน นับเป็นการฝึกก่อนปฏิบตั งิ านจริงมิเช่นนัน้ แล้วก็จะได้รบั เฉพาะเวลาทีป่ ฏิบตั งิ านจริงเท่านัน้ โจรสลัดเป็นสิง่ ทีท่ ำความสูญเสียให้กบั อุตสาหกรรมการเดินเรือมานับศตวรรษ ในอ่าวเอเดนและชายฝัง่ โซมาเลียทีซ่ งึ่ เรือถูกปล้นค่อน ข้างบ่อย โจรสลัดอันธพาลเหล่านี้ในอดีตสามารถเปรียบเทียบได้กับอาชญากรติดอาวุธที่ออกสำรวจในอ่าวเอเดนและชายฝั่งตะวันออกของ โซมาเลียเพือ่ จะปล้นสะดมเรือ โจรสลัดมักจะเลือกเรือทีบ่ รรทุกสัมภาระหนักและวิง่ ไม่เกิน 14 น็อต โดยใช้เรือเร็วหาปลา 3 - 4 ลำทีแ่ ล่นได้ 30 น็อต โจรสลัดมักมีเรือ หลักป็นฐานลอยน้ำ ในการออกปฏิบตั กิ าร พวกมันจะขนปืนไรเฟิลและ RPGs และยิงเพือ่ ขูเ่ รือให้หยุด เรือทีบ่ รรทุกของหนักและมีพนื้ ทีว่ า่ งน้อย เช่นเรือบรรทุกน้ำมันและเรือขนสินค้าเป็นเป้าหมายการปล้นทีง่ า่ ย เรือเหล่านัน้ จะโดนยึดและลูกเรือจะถูกบังคับให้เอาเรือเข้าท่าทีอ่ ยูภ่ ายใต้การ ควบคุมของโจรสลัดโซมาเลียทีซ่ งึ่ เงินค่าไถ่จะถูกเรียกร้องจากเจ้าของเรือ โดยปกติจะใช้เวลาประมาณ 2 เดือนในการเจรจาต่อรองให้ปล่อยเรือ การปล้นสะดมในน่านน้ำเป็นการกระทำทีเ่ สีย่ งแต่ให้ผลกำไร โจรสลัดไม่ได้ใส่ใจของทีบ่ รรทุกมากนักแต่แค่ตอ้ งการเงินค่าไถ่และใช้ ลูกเรือเป็นอำนาจต่อรอง เมือ่ เร็วๆ นีโ้ จรสลัดเข้ายึดเรือทีเ่ ต็มไปด้วยอาวุธยุทโธปกรณ์ทางทหารและเรือบรรทุกน้ำมันขนาดใหญ่ หลายชาติได้ รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 27


ร่วมกันเสริมกำลังในเขตอ่าวเอเดนเพือ่ ปกป้องการเดินเรือนานาชาติ อเมริกา แคนาดา ยุโรป จีน อินเดีย รัสเซียและมาเลเซีย ทัง้ หมดได้รว่ ม มือกันในบริเวณนีแ้ ต่ดเู หมือนจะไม่สามารถขัดขวางเหล่าโจรสลัดทีย่ งั คงปฏิบตั กิ ารอย่างอุกอาจไปได้ เป็นทีเ่ ชือ่ กันว่าเรือ 20,000 ลำได้ถกู โจร สลัดปล้นสะดมในแต่ละปี ในปี 2551 ได้รบั รายงานว่าเรือ 111 ลำโดนโจมตี และ 42 ลำถูกยึดเรียกค่าไถ่กว่า 40 ล้านเหรียญสหรัฐ เมือ่ ใกล้สนิ้ ปี 2551 เหลืออีก 14 ลำยังคงอยูใ่ นกำมือของโจรสลัด และลูกเรือจำนวน 240 คนยังคงตกอยูภ่ ายใต้การควบคุมของพวกมัน บริษทั ฯ มีเรือประมาณ 5-6 ลำ ทีแ่ ล่นผ่านอ่าวเอเดนทุกเดือน ขณะทีม่ กี ารปะทะกันกับเรือทีต่ อ้ งสงสัยว่าเป็นเรือโจรสลัดอยูบ่ า้ ง โชค ดีทไี่ ม่มเี รือลำใดถูกปล้น บริษทั ฯ ได้ขอความช่วยเหลือไปยังรัฐบาลไทยและบริษทั ฯ เข้าใจว่ากองทัพเรือกำลังปรึกษาเรือ่ งนีก้ บั เจ้าของเรือและ ส่วนงานต่างๆ ขณะเดียวกัน บริษทั ฯ จัดให้ทมี รักษาความปลอดภัยให้ได้รบั การฝึกฝนเพิม่ เติมเพือ่ สร้างความมัน่ ใจให้กบั กัปตันเรือและลูกเรือ ด้านการเงิน: “หากคุณอยากทราบคุณค่าของเงิน ลองไปหยิบยืมมาสักก้อนสิ” คำกล่าวดังกล่าวเป็นของเบนจามิน แฟรงกลิน ผูช้ าญ ฉลาด ซึ่งเข้ากับเหตุการณ์ในช่วงครึ่งปีหลังที่ผ่านมาและในวันนี้ บริษัทฯ เชื่อว่าสถานการณ์จะยิ่งแย่ลงก่อนที่จะดีขึ้น อย่างไรก็ดี บริษัทฯ สามารถจัดหาวงเงินสำหรับเรือสัง่ ต่อใหม่ ได้เพียงเสีย้ ววินาทีกอ่ นทีท่ กุ อย่างจะแย่ลง และนอกจากนีร้ าคาทีบ่ ริษทั ฯ ได้ยงั เป็นราคาทีท่ ำได้แค่ เพียงในฝัน ณ ปัจจุบนั นี้ บริษทั ฯ เห็นว่าสำหรับปีทแี่ ล้ว ในความเลวร้ายก็ยงั มีสงิ่ ดีๆ อยูบ่ า้ ง ในสภาวะบีบคัน้ ทางด้านสภาพคล่อง ธนาคาร จำนวนมากปิดการทำรายการการให้กยู้ มื “เป้าหมาย” ของธนาคารส่วนใหญ่เท่าที่ บริษทั ฯ ได้รบั ทราบมา คือ ไม่ทำอะไรเลยดีกว่าทีจ่ ะทำ อะไรทีเ่ สีย่ งแม้เพียงเล็กน้อย ในความสับสนทีเ่ กิดขึน้ ในไตรมาสสุดท้าย บริษทั ฯ ได้เริม่ เจรจากับธนาคารเพือ่ ขอขยายระยะการเบิกถอนเงินกู้ สำหรับซือ้ เรือมือสอง การเจรจาเป็นไปอย่างลำบาก อย่างไรก็ดบี ริษทั ฯ มัน่ ใจว่าผลจะออกมาเป็นทีน่ า่ พอใจ ไม่เพียงเพราะชือ่ เสียงอันดีของ

บริษทั ฯ แต่เป็นเพราะความสัมพันธ์อนั ดีทมี่ กี บั ธนาคารต่างๆ และการสนับสนุนเป็นอย่างดีของพวกเขาด้วย โครงการร่วมทุน การดำเนินงานของการร่วมทุน มีดงั ต่อไปนี้ • Southern LPG Pvt Ltd. (SLPG): กระบวนการการปิดบัญชีของการร่วมทุนนีไ้ ด้ขอ้ ยุตแิ ล้ว บริษทั ฯ ได้ปดิ การขายทรัพย์สนิ หลักๆ ของบริษทั ฯ นีเ้ ป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว และคาดว่าจะปิดการขายทีเ่ หลือได้อย่างสมบูรณ์ในอนาคตอันใกล้น ี้ • International Seaports (Haldia) Pvt Ltd: ถือเป็นการลงทุนเพียงอย่างเดียวของบริษทั ฯ ในท่าเรือ คือท่าเรือฮัลเดีย (ประมาณ ร้อยละ 22.4 ของเงินลงทุนทัง้ หมดทีล่ งทุนอยูภ่ ายใต้โครงการการลงทุน) การร่วมทุนนีม้ ผี ลการดำเนินงานทีด่ อี ย่างต่อเนือ่ งและได้รบั เงินปันผล ที่ 0.32 ล้านเหรียญสหรัฐในปี 2551 ซึง่ เท่ากับร้อยละ 15 ของเงินลงทุนเริม่ แรก บริษทั ฯ คาดว่าจะได้รบั เงินปันผลอย่างสม่ำเสมอและอาจจะ มากขึน้ ในอนาคต นอกจากนีม้ หี นุ้ ส่วนรายหนึง่ ต้องการขายสัดส่วนการลงทุน บริษทั ฯ จึงได้ซอื้ หุน้ นัน้ เข้ามาเพิม่ เท่ากับร้อยละ 11.15 ของการ ร่วมทุนในเดือนธันวาคม 2551 และทำให้บริษทั ฯ มีสดั ส่วนการลงทุนเป็นร้อยละ 33.55 ซึง่ เท่ากับบริษทั ฯ ได้ลงทุนถือหุน้ อยูใ่ นสัดส่วนทีส่ ำคัญ และมีความหมายถ้าบริษทั ฯ ต้องการขาย บทสรุป

อุปสงค์

อุปทาน

ด้วยบรรยากาศความเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ด้านการเดินเรือที่ลดลงอย่างมาก ธุรกิจในช่วง 2 ปีข้างหน้า จึงเป็นสิ่งที่น่าท้าทาย กลยุทธ์การทำสัญญาระยะยาวล่วงหน้าของบริษทั ฯ ทีผ่ า่ นมาจึงเป็นสิง่ มีคา่ ในปัจจุบนั อุปสงค์ทหี่ ยุดชะงักจากปัญหาทางด้านการเงินของโลก และจะเรียกคืนมาได้อกี ครัง้ เมือ่ ความมัน่ ใจกลับมาสูร่ ะบบธนาคาร และธนาคารต่างๆ เริม่ ปล่อยกูต้ ามปกติ สิง่ ทีส่ ำคัญทีส่ ดุ คือธนาคารต้อง เปิดทำการค้าเป็นปกติ เหล่านีจ้ ะเป็นจุดเปลีย่ นสำคัญทีน่ า่ จับตามองและจะบอกว่าวัฏจักรอุปสงค์ได้กลับมาพร้อมกับสิง่ ทีด่ ๆี ได้รออยูข่ า้ งหน้า สำหรับผูท้ ยี่ งั จำได้วา่ ครัง้ หลังสุดที่ BDI อยูท่ จี่ ดุ ต่ำสุดเช่นในปัจจุบนั นี้ คือระหว่างปี 2529 ตอนนัน้ เรือใหม่ตอ้ งถูกเข้าอูโ่ ดยไม่ทำเงิน ให้แก่เจ้าของเลยแม้แต่ดอลล่าร์เดียว ในเวลานัน้ สัญญาเช่าทีใ่ ห้ผลตอบแทนร้อยละศูนย์ ถือเป็นเรือ่ งปกติมากกว่าทีจ่ ะถือเป็นเรือ่ งยกเว้น ส่วน เรืออายุนอ้ ยเช่น 8 ปีกถ็ กู ฝากขายไว้ เนือ่ งด้วยความแข็งแกร่งของอัตราค่าระวางเรือในช่วง 5 ปีทผี่ า่ นมา เจ้าของเรือส่วนใหญ่จงึ ใช้งานเรือเก่าของพวกเขาต่อไปเกินกว่าที่ อายุการใช้งานจริง ซึง่ เมือ่ มาถึงอัตราค่าระวางปัจจุบนั ทีต่ กต่ำ เรือประมาณ 25% ของกองเรือทีม่ อี ยูท่ งั้ หมดในโลกควรต้องได้รบั การปลดระวาง ด้วยเงือ่ นไขของตลาดในปัจจุบนั ตัวเลขนีจ้ ะสูงขึน้ อย่างมากขึน้ อยูก่ บั กำลังความสามารถในการปลดระวางในตลาดโลก เรือทีม่ อี ายุนอ้ ยเท่านัน้ ทีจ่ ะไม่ถกู ปลดระวางแต่จะถูกปล่อยทิง้ ไว้

28

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


ส่วนเรือทีก่ ำหนดจะส่งมอบในอีก 4 ปีขา้ งหน้า มีประมาณ 60% ของเรือทีส่ งั่ ต่อใหม่ วิกฤติทางการเงินได้กระทบประมาณครึง่ หนึง่ ของจำนวนดังกล่าวแล้วตามการรายงานตามหน้าหนังสือพิมพ์ตา่ งๆ ส่วนทีเ่ หลือนัน้ ขึน้ ก็จะเกิดความล่าช้าในการส่งมอบ ทัง้ หมดนีอ้ าจกล่าวได้วา่ ด้านอุปทานมองว่าพร้อมทีจ่ ะกลับมาสมดุลกับด้านอุปสงค์ เมือ่ เวลาทีธ่ นาคารต่างๆ ร่วมมือกัน อัตราค่า ระวางเรือก็พร้อมจะวิ่งขึ้นในอนาคตอีกไม่ไกล บริษัทฯ คิดว่าปี 2552 และ 2553 จะยังคงเป็นปีที่น่าท้าทายสำหรับบริษัทฯ และที่ซึ่งแม้แต่ เจ้าของเรือทีฉ่ ลาดทีส่ ดุ และระมัดระวังทีส่ ดุ ก็จะได้รบั การทดสอบ

ด้านการเงิน

การระดมทุนจะเป็นหนึง่ ในความท้าทายทีส่ ดุ ทีเ่ จ้าของเรือจะต้องเผชิญหน้าระหว่างปี 2552 และ 2553 กล่าวคือในช่วง 4 ปีทผี่ า่ นมา ธนาคารทีป่ ล่อยกูก้ บั บริษทั เจ้าของเรือ ได้ชว่ ยเหลือเจ้าของเรือซือ้ เรือมือสองทีม่ มี ลู ค่าประมาณ 140 พันล้านเหรียญสหรัฐ แต่เนือ่ งด้วยมูลค่าที่ ลดลงอย่างมากของการซือ้ เหล่านี้ เรือมีมลู ค่าหายไปกว่า 60% จากทีเ่ คยทำไว้สงู สุดในช่วงไตรมาสแรกของปีจนถึงปลายปี ทำให้เรือส่วนใหญ่ที่ จำนองไว้มมี ลู ค่าไม่เป็นไปตามข้อตกลงด้านมูลค่าสินทรัพย์และอาจทำให้ธนาคารต่างๆ ทีป่ ล่อยกูเ้ รียกให้ชำระเงินกูค้ นื ก่อนกำหนด แต่ถา้ เรือ ดังกล่าวมีสัญญาเช่าระยะยาวกับลูกค้าที่มีคุณภาพดี ธนาคารก็อาจจะลังเลใจที่จะเรียกการผิดสัญญาเงินกู้แต่ธนาคารจะพยายามเก็บกระแส เงินสดจากสัญญาเช่าดังกล่าว เพือ่ ทำให้อตั ราส่วนต่อสินทรัพย์กลับสูภ่ าวะปกติ เพราะหากเรือดังกล่าวถูกขายในตลาดซือ้ ขาย ธนาคารจะพบ ปัญหาเรือ่ งราคาทีไ่ ม่สามารถครอบคลุมดอกเบีย้ และ/หรือจ่ายคืนเงินกูไ้ ด้ นีค่ อื จุดทีท่ ำให้ความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าของเรือและธนาคารเริม่ ทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงไป หากความสัมพันธ์นนั้ ไม่ได้สร้างขึน้ ด้วยรากฐาน ที่มั่นคงแล้ว ธนาคารจะเรียกคืนเงินตามที่ได้ตกลงไว้ ยึดและนำเรือออกประมูลด้วยราคาที่ดีที่สุดเท่าที่จะขายได้เพื่อชดเชยส่วนต่างที่หายไป จากการให้กเู้ งิน สิง่ นีอ้ าจกระทบงบดุลของธนาคารและทำให้เจ้าของเรือขาดทุนย่อยยับ และหากเจ้าของเรือมีการสัง่ ต่อเรือใหม่และได้รบั การ ตกลงจากธนาคารว่าจะให้กยู้ มื เงิน การสนับสนุนทางการเงินจะหายไปและปล่อยให้สญั ญาต่อเรือใหม่ผดิ สัญญา ความกดดันทางการเงินจะตก อยู่กับอู่ต่อเรือและธนาคารของอู่ต่อเรือ อุตสาหกรรมเดินเรือในปัจจุบันตระหนักว่าซับไพร์มในแบบฉบับของธุรกิจการเดินเรือจะกระทบต่อ เจ้าของเรือ ธนาคารของเจ้าของเรือ อูต่ อ่ เรือ และธนาคารของอูต่ อ่ เรือ วิกฤตการเงินที่ส่งผลต่อการเดินเรือโลกก่อให้เกิดรายงานและสิ่งตีพิมพ์จำนวนมาก ซึ่งสะท้อนมาจากเจ้าของเรือและบรรดานัก วิเคราะห์การขนส่งทัง้ หลายทัว่ โลกว่าการสัง่ เรือต่อใหม่ทกี่ ำหนดจะส่งมอบในปัจจุบนั จนถึงสิน้ ปี 2555 เป็นเพียงภาพลวงตา ทัง้ นีเ้ พราะจำนวน มากกว่าครึง่ ของการสัง่ ต่อเรือใหม่เหล่านัน้ ได้ถกู ยกเลิก บทส่งท้าย พิจารณาจากทีไ่ ด้กล่าวมาข้างต้น บริษทั ฯ รูส้ กึ ว่าบริษทั ฯ จะได้รบั โอกาสทีด่ ใี นตลาดขนส่งสินค้าแห้งเทกองแบบไม่ประจำทีจ่ ะเกิด ขึน้ ในอนาคต และหวังว่าจะสามารถทำตามสัญญาทีม่ กี บั ผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสียทัง้ หลาย ด้วยการเสียสละ การทำงานหนักของมืออาชีพทัง้ ทีส่ ำนักงานและเจ้าหน้าทีป่ ระจำการ บนเรือของพีเอสแอลทุกคน ในนามคณะกรรมการ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม นายคูชรู คาลี วาเดีย กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการ 4 กุมภาพันธ์ 2552 รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 29


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ท่านผูถ้ อื หุน้ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระจำนวน 3 ท่านได้แก่ พลตำรวจโท เกียรติศกั ดิ์ ประภาวัต ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นายสุพฒั น์ ศิวะศรีอำไพ และนายธีระ วิภชู นิน เป็นกรรมการตรวจสอบ ซึง่ นายธีระ วิภูชนิน ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งคณะกรรมการตรวจสอบแทนพลเรือเอก ดร. อำนาจ จันทนมัฎฐะ ซึ่งหมดวาระในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551 ตามมติของทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 1/2551 เมือ่ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2551 คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั ิ หน้าทีต่ ามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ฯ และตามข้อกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมทัง้ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึง่ สรุปได้ดงั ต่อไปนี ้ ในปี 2551 ได้จดั ให้มกี ารประชุมคณะกรรมการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ เพือ่ พิจารณาสอบทานงบการเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย และคณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับผูส้ อบบัญชีภายนอกทุกไตรมาสเพือ่ รับฟังคำชีแ้ จงเกีย่ วกับรายงานของผูส้ อบบัญชี ผลการ ตรวจสอบงบการเงินและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชีที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษัทฯ มีกระบวนการ

จัดทำและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินทีถ่ กู ต้อง เพียงพอและเป็นทีเ่ ชือ่ ถือได้ คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายในและสายงานบังคับบัญชาของหน่วยงานตรวจสอบ ภายใน เพือ่ ให้หน่วยงานดังกล่าวมีความเป็นอิสระอย่างแท้จริง รวมถึงร่วมปรึกษากับผูต้ รวจสอบภายในเกีย่ วกับขอบเขตความรับผิดชอบและ หน้าที่ของฝ่ายตรวจสอบภายในและได้อนุมัติแผนงานการตรวจสอบของฝ่ายตรวจสอบภายใน ในปี 2551 ฝ่ายตรวจสอบภายในได้ทำการ ประเมินความเสีย่ งและกลไกการควบคุมภายในสำหรับทุกแผนกของบริษทั ฯ ตรวจสอบด้านการปฏิบตั งิ านสำหรับบางแผนก ตรวจสอบรายการ ทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบข้อบังคับรวมทัง้ กฎหมายต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั ฯ ซึง่ ได้แก่ การปฏิบัติตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องทางภาษีอากร รวมทั้งได้ดำเนินการติดตามผลการตรวจสอบและนำผลการตรวจสอบและคำเสนอแนะ ต่างๆ ได้มกี ารพูดคุยกับเจ้าหน้าทีท่ เี่ กีย่ วข้องและผูบ้ ริหารและได้รายงานผลการตรวจสอบต่อคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าบริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในทีเ่ หมาะสมเพียงพอและไม่มจี ดุ บกพร่องทีม่ สี าระสำคัญ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าบริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องโดยตรงต่อการดำเนินการ ซึ่ง กฎหมายหลักทีเ่ กีย่ วข้องเหล่านีก้ ค็ อื พระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำกัด ประมวลรัษฎากร พระราชบัญญัตเิ รือไทย พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ฝ่ายตรวจสอบภายในได้สอบทานรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ตามประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรือ่ ง “การเปิด เผยข้อมูลและการปฏิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกัน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2547” และหนังสือเวียนคณะกรรมการกำกับ

หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์เลขที่ กลต.จ.(ว)38/2551 เรือ่ งคำแนะนำในการปฏิบตั ติ ามมาตรา 89/12 (1) แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ผลการสอบทานพบว่าบริษทั ฯ มีรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันจำนวน 4 รายการ โดยเป็นรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันประเภทที่ 2 จำนวน 3 รายการ และเป็นรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ประเภท ที่ 3 จำนวน 1 รายการ ตามความหมายของประกาศฉบับดังกล่าว ค่าตัว๋ เครือ่ งบิน ค่าใช้จา่ ยค่าเบีย้ ประกันภัย และค่าใช้จา่ ยในการซือ้ พร้อม ติดตัง้ รวมถึงค่าซ่อมบำรุงรักษาเครือ่ งปรับอากาศทีส่ ำนักงานบริษทั ฯและบริษทั ย่อยและทีค่ อนโดมิเนียมของบริษทั ย่อย จัดอยูใ่ นรายการทีเ่ กีย่ ว โยงกันประเภทที่ 2 ซึง่ เป็น รายการสนับสนุนธุรกิจปกติของบริษทั ฯ ในขณะทีค่ า่ เช่าสำนักงานจัดอยูใ่ นรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันประเภทที่ 3 คือ รายการเช่าหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ระยะสัน้ ซึง่ รายละเอียดของรายการดังกล่าวได้อธิบายไว้แล้วภายใต้หวั ข้อเรือ่ ง “รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน” ในรายงานประจำปีฉบับนี้ ผลการสอบทานได้เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ทราบในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 1/2552 เมือ่ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2552 ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษทั ฯ มีความเห็นว่ารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันดังกล่าวมีความยุตธิ รรม และเพือ่ ผลประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ ในระหว่างปี 2551 ฝ่ายตรวจสอบภายในได้ทำการสอบทานรายการเกี่ยวกับการได้มาซึ่งสินทรัพย์ของบริษัทฯ เพื่อเป็นไปตาม ประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลและการปฏิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในการได้มา หรือ จำหน่ายไปซึง่ สินทรัพย์ พ.ศ. 2547 และคณะกรรมการตรวจสอบได้แสดงความเห็นและจัดทำรายงานแสดงความเห็นเสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ออกเสียงลงคะแนนสนับสนุนต่อรายการทำสัญญาสัง่ ต่อเรือใหม่ จำนวน 3 ลำ มูลค่า 114 ล้านเหรียญสหรัฐ (ตามทีไ่ ด้รบั การอนุมตั จิ ากมติ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2551) ส่วนรายงานจากที่ปรึกษาทางการเงินอิสระ คือ บริษัท

30

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


หลักทรัพย์ ซีมโิ ก้ จำกัด (มหาชน) ซึง่ เป็นผูส้ อบทานความสมเหตุสมผล ประโยชน์ของการทำรายการและความเป็นธรรมของราคาและเงือ่ นไข ของรายการ คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่าสัญญาสั่งต่อเรือมีความสมเหตุสมผลและก่อให้เกิดประโยชน์ต่อบริษัทฯ และความเห็นของคณะ กรรมการตรวจสอบ สอดคล้องกับรายงานแสดงความเห็นของทีป่ รึกษาทางการเงินอิสระ ปกติการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบจะมีขึ้นก่อนการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ทั้งนี้เพื่อให้รายงานการประชุมของคณะ กรรมการตรวจสอบซึง่ ประชุมร่วมกับผูต้ รวจสอบภายในและผูส้ อบบัญชีภายนอกโดยไม่มฝี า่ ยจัดการเข้าร่วมประชุม สามารถส่งให้คณะกรรมการ บริษทั ฯ ก่อนการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ รับทราบและรับคำแนะนำต่างๆ จากคณะกรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการตรวจสอบมีการพูดคุยกับผูต้ รวจสอบภายในอย่างสม่ำเสมอถึงประเด็นต่างๆ ทีผ่ ตู้ รวจสอบภายในตรวจพบ จากการ ตรวจสอบและมีการจัดประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบแต่ละครัง้ จะใช้เวลาประมาณ 2 ชัว่ โมง โดยในปี 2551 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมตามวาระปกติจำนวน 4 ครัง้ และมีการประชุมตามวาระพิเศษ 1 ครัง้ ในขณะทีป่ ี 2550 มีการ ประชุมตามวาระปกติจำนวน 4 ครัง้ และไม่มกี ารประชุมตามวาระพิเศษ โดยการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่านสรุปได้ดงั นี ้

รายชือ่ คณะกรรมการตรวจสอบ

การเข้าร่วมประชุม / การประชุมทัง้ หมด (ครัง้ ) ปี 2551

การประชุมตามวาระปกติ

ปี 2550

การประชุมตามวาระพิเศษ

การประชุมตามวาระปกติ

1. พลตำรวจโท เกียรติศกั ดิ์ ประภาวัต 4/4 1/1 4/4 2. พลเรือเอก ดร.อำนาจ จันทนมัฎฐะ 1/1 - 4/4 3. นายสุพฒั น์ ศิวะศรีอำไพ 4/4 1/1 4/4 4. นายธีระ วิภชู นิน* 3/3 1/1 * นายธีระ วิภชู นิน ได้รบั การแต่งตัง้ ให้ดำรงตำแหน่งคณะกรรมการตรวจสอบแทน พลเรือเอก ดร. อำนาจ จันทนมัฎฐะ ตามรายละเอียดข้างต้น การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบครัง้ ที่ 1/2552 เมือ่ วันที่ 28 มกราคม 2552 ได้มกี ารพิจารณาเรือ่ งการแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีภายนอก และมีมติเพือ่ เสนอการแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีจากบริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด เป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ สำหรับรอบระยะเวลา บัญชีสำหรับปี 2552 ดังนี ้ 1. นายชยพล ศุภเศรษฐนนท์ (ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขทะเบียน 3972) 2. นางสาววิสสุตา จริยธนากร (ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขทะเบียน 3853) 3. นางสาวรุง้ นภา เลิศสุวรรณกุล (ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขทะเบียน 3516) โดยกำหนดให้ผู้สอบบัญชีข้างต้น ที่มีคุณสมบัติในการปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบและแสดงความเห็นต่องบการเงินของบริษัทฯ และ บริษทั ย่อยได้และในกรณีทผี่ สู้ อบบัญชีคนใดคนหนึง่ ดังกล่าวไม่สามารถปฏิบตั งิ านได้ ให้บริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด มีอำนาจ แต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีอนื่ ทีม่ คี ณุ สมบัตแิ ละมีความสามารถของบริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด มาปฏิบตั หิ น้าทีต่ รวจสอบ และแสดง ความเห็นต่องบการเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยแทน บริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด เป็นบริษทั ตรวจสอบบัญชีทมี่ ชี อื่ เสียงเป็นทีย่ อมรับโดยทัว่ ไป มีความเป็นอิสระ และมี

ผลการปฏิบตั งิ านสำหรับปีทผี่ า่ นมาเป็นทีน่ า่ พึงพอใจ โดยบริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด เป็นผูส้ อบบัญชีภายนอกของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยทีจ่ ดทะเบียนในประเทศไทย ตัง้ แต่ปี 2544 ที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาค่าตอบแทนการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีภายนอกสำหรับปี 2552 จำนวนเงินไม่เกิน 1.90 ล้านบาท (ปี 2551: 1.80 ล้านบาท) แยกต่างหากจากค่าใช้จา่ ยเบ็ดเตล็ด ซึง่ จะได้เสนอให้ผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ พิจารณาอนุมตั ิ รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 31


ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบดังกล่าวข้างต้น ได้มกี ารพิจารณาความเหมาะสมของนางสาวสุมาลี รีวราบัณฑิต (ผูส้ อบบัญชี รับอนุญาตเลขทะเบียน 3970) จากบริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด เป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ย่อยทุกบริษทั ทีจ่ ดทะเบียนในประเทศ ไทยและบริษทั ย่อย 1 บริษทั ทีจ่ ดทะเบียนในต่างประเทศ ด้วยค่าตอบแทนการสอบบัญชีสำหรับปี 2551 จำนวน 3.45 ล้านบาท และคาดว่าจะมี การทำหน้าทีต่ อ่ ไป ด้วยค่าตอบแทนการสอบบัญชีสำหรับปี 2552 จำนวนเงิน 3.45 ล้านบาท นอกจากนี้ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการตรวจสอบยัง ได้พิจารณาค่าตอบแทนจากการให้บริการด้านอื่นๆซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับการสอบบัญชีที่ให้กับบริษัทย่อย ด้วยจำนวนเงินไม่เกิน 0.55 ล้านบาท

(ปี 2551 : 0.55 ล้านบาท) ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ ของบริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) พล.ต.ท.เกียรติศกั ดิ์ ประภาวัต ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 4 กุมภาพันธ์ 2552

32

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


รายงานการกำกับดูแลกิจการ คำจำกัดความ การกำกับดูแลกิจการ หรือ Corporate Governance หมายถึงระบบทีจ่ ดั ให้มโี ครงสร้างและกระบวนการของความสัมพันธ์ระหว่าง คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการและผูถ้ อื หุน้ เพือ่ สร้างความสามารถในการแข่งขัน นำไปสูก่ ารเติบโตและเพิม่ คุณค่าให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ในระยะยาว โดย คำนึงถึงผูม้ สี ว่ นได้เสียอืน่ ประกอบ คำจำกัดความดังกล่าวในข้างต้น เป็นไปตามข้อเสนอแนะของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และ บริษทั ฯ มีความพยายามอย่างยิง่ ทีจ่ ะผลักดันให้การกำกับดูแลกิจการดังกล่าวเกิดขึน้ อย่างสมบูรณ์ภายในองค์กร บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) ตระหนักดีวา่ การกำกับดูแลกิจการทีด่ มี คี วามสำคัญและเป็นสิง่ จำเป็นสำหรับ การเจริญเติบโตทางธุรกิจอย่างยั่งยืน และสร้างมูลค่าให้กับผู้ถือหุ้นในระยะยาวและทางคณะกรรมการบริษัทฯ ได้จัดทำคู่มือนโยบายการ กำกับดูแลกิจการ จริยธรรมธุรกิจและแนวทางปฏิบตั ทิ ดี่ ขี นึ้ ซึง่ ได้เปิดเผยบนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ ภายใต้หวั ข้อ “การกำกับดูแลกิจการ” ทีผ่ า่ นมา บริษทั ฯ ได้รบั รางวัลต่างๆ ในเรือ่ งการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี ดังต่อไปนี ้ • ได้รับการจัดอันดับเป็น 1 ใน 3 บริษัทที่ดีที่สุดในด้านการกำกับดูแลกิจการที่ดีจากผลการสำรวจการกำกับดูแลกิจการใน ประเทศไทยตามรายงานของ “CLSA ASIA - PACIFIC MARKETS” ลงวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2552 • ได้รบั การจัดกลุม่ ในกลุม่ “ดีมาก” สำหรับการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี ในรายงานผลสำรวจการกำกับดูแลกิจการบริษทั จดทะเบียน ประจำปี 2551 จากบรรษัทภิบาลแห่งชาติ • นายคาลิด ฮาชิม กรรมการผู้จัดการของบริษัทฯ ได้รับการคัดเลือกเป็น “นักลงทุนสัมพันธ์ที่ดีที่สุด” ในประเทศไทยในผล สำรวจเกีย่ วกับการกำกับดูแลกิจการ ในเดือนธันวาคม 2551 โดยนิตยสาร “Asia Money” • ได้รบั การจัดอับดับในปี 2550 จากนิตยสาร “The Asset” ประเทศฮ่องกง ให้เป็นบริษทั ทีด่ ที สี่ ดุ ในประเทศไทยด้านการกำกับ ดูแลกิจการ จากรายชือ่ บริษทั ทีม่ กี ารกำกับดูแลกิจการทีด่ จี ำนวน 60 บริษทั ในเอเซีย • ได้รบั การจัดกลุม่ ในกลุม่ “ดีมาก” สำหรับการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี ในรายงานผลสำรวจการกำกับดูแลกิจการบริษทั จดทะเบียน ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประจำปี 2549 • ได้รบั รางวัล “Best Corporate Governance Report” และ “Best Performance” จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ใน งาน “SET Award 2006” การดำเนินการด้านหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ สรุปได้เป็น 5 หมวด ภายใต้หวั ข้อดังต่อไปนี ้ 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ได้ตระหนักถึงสิทธิของผู้ถือหุ้นเพื่อให้เป็นไปตามแนวทางการกำกับดูแลกิจการที่ดีและได้มุ่งปฏิบัติในการปกป้องสิทธิของ ผู้ถือหุ้นและการส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิ ซึ่งนโยบายสำหรับการรักษาสิทธิของผู้ถือหุ้น อยู่ในส่วนของคู่มือนโยบายกำกับดูแลกิจการของ บริษทั ฯ ซึง่ ได้เปิดเผยบนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ บริษทั ฯ มีความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ ในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับการเปิดเผยสารสนเทศ วิธกี ารปฏิบตั ทิ างบัญชี การใช้สารสนเทศภายใน และ ในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยคณะกรรมการและผูบ้ ริหารจะต้องมีความซือ่ สัตย์สจุ ริต ตลอดจนตัดสินใจดำเนินการใดๆ ด้วยความสุจริตใจและเป็นธรรมต่อผูถ้ อื หุน้ ทัง้ รายใหญ่และรายย่อยและเพือ่ ผลประโยชน์โดยรวม โดยในส่วนนโยบายและกระบวนการปกป้อง สิทธิของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ มีดงั ต่อไปนี ้

1.1 พิจารณาแต่งตั้งกรรมการบริษัทฯ

บริษทั ฯ ได้ปรับปรุงเอกสารประกอบการพิจารณาแต่งตัง้ กรรมการบริษทั ฯ เป็นรายบุคคล รวมทัง้ เพิม่ เติมข้อมูลอืน่ ๆ ของกรรมการ บริษทั ฯ แต่ละท่านในรายงานประจำปีและเสนอต่อผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาอนุมตั แิ ต่งตัง้ ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจำปี เพือ่ ให้ ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วนและเพียงพอต่อการพิจารณาแต่งตั้งกรรมการบริษัทฯ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวมีรายละเอียดดัง ต่อไปนี ้ ประวัตขิ องกรรมการเบือ้ งต้น ได้แก่ ชือ่ ตำแหน่ง อายุ ประวัตกิ ารศึกษา การฝึกอบรม อาชีพ การเป็นกรรมการในบริษทั อืน่ ประสบการณ์อนื่ ๆ และข้อพิพาททางกฎหมาย (ถ้ามี) การดำรงตำแหน่งของกรรมการ ในธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจของบริษทั ฯ รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

33


วิธกี ารสรรหา (กรณีพน้ จากตำแหน่งตามวาระการดำรงตำแหน่ง) ผลการปฏิบตั งิ านของกรรมการทีผ่ า่ นมา เช่น การเข้าร่วมประชุมของกรรมการ

1.2 พิจารณานโยบายและค่าตอบแทนของกรรมการบริษัทฯ

1.3 พิจารณาแต่งตั้งผู้สอบบัญชีภายนอก

1.4 พิจารณานโยบายจ่ายเงินปันผล

1.5 พิจารณาแผนการซื้อหุ้นคืน

1.6 การประชุมผู้ถือหุ้น

บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามนโยบายว่าด้วยค่าตอบแทนของกรรมการบริษัทฯ ซึ่งจะพิจารณาอนุมัติโดยผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ในการ ประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจำปี โดยได้เปิดเผยแนวทาง/วิธกี ารกำหนดค่าตอบแทนของกรรมการบริษทั ฯ ในข้อ 5.5 ในรายงานนี ้ บริษทั ฯ ได้ปฏิบตั ติ ามนโยบายว่าด้วยการแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีภายนอกของบริษทั ฯ ซึง่ จะพิจารณาอนุมตั โิ ดยผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปีและได้ปรับปรุงให้ข้อมูลประกอบการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีภายนอกของบริษัทฯ มีความถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอต่อการพิจารณาอนุมตั ขิ องผูถ้ อื หุน้ ซึง่ ข้อมูลประกอบการแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีภายนอกมีรายละเอียดดังต่อไปนี ้ ชือ่ สำนักงานสอบบัญชี ชือ่ ผูส้ อบบัญชี ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชีสำหรับปีที่ขออนุมัติ โดยแยกต่างหากอย่างชัดเจนระหว่างค่าสอบบัญชีกับค่าบริการอื่นๆ ที่ไม่ เกีย่ วข้องกับการสอบบัญชี ค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชีสำหรับปีทผี่ า่ นมา ความสัมพันธ์อนื่ ๆ กับบริษทั ฯ จำนวนปีทเี่ ป็นผูส้ อบบัญชี (ในกรณีทแี่ ต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีคนเดิม) การประเมินผลงานในปีทผี่ า่ นมา เหตุผลในการเปลีย่ นแปลงผูส้ อบบัญชี (ในกรณีทมี่ กี ารแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีคนใหม่) ปัจจุบันนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทฯ ได้อนุมัติโดยผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เมื่อครั้งการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปี 2547 และถ้ามีการเปลีย่ นแปลงในอนาคตบริษทั ฯ จะนำเสนอให้มกี ารพิจารณาอนุมตั โิ ดยผูถ้ อื หุน้ บริษัทฯ ได้ขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นสำหรับแผนการดำเนินการเรื่องการซื้อหุ้นคืน โดยผู้ถือหุ้นอนุมัติให้คณะกรรมการ บริษทั ฯ สามารถทำการซือ้ หุน้ คืนได้ โดยให้เป็นไปตามกฎข้อบังคับของ ตลท./กลต. และจัดให้มขี อ้ มูลทีถ่ กู ต้องและครบถ้วนเพียงพอต่อการ ตัดสินใจ บริษัทฯ ได้มีการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ สำหรับการจัดประชุมผูถ้ อื หุน้ ซึง่ มีการปฏิบตั ดิ งั ต่อไปนี ้ • สำหรับการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปี 2551 บริษัทฯ ได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้เสนอวาระสำหรับการประชุม โดย กำหนดนโยบายและช่องทางการสือ่ สารผ่านเว็บไซต์ของบริษทั ฯ และประกาศผ่านทางตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยผูถ้ อื หุน้ หรือ กลุม่ ผูถ้ อื หุน้ สามารถนำเสนอวาระการประชุมล่วงหน้า เพือ่ พิจารณาบรรจุในวาระการประชุมผูถ้ อื หุน้ • บริษทั ฯ จัดทำหนังสือเชิญประชุมผูถ้ อื หุน้ ทีม่ ขี อ้ มูลทีถ่ กู ต้อง ครบถ้วนและเพียงพอต่อการพิจารณาของผูถ้ อื หุน้ ซึง่ ถือเป็น นโยบายปกติของบริษัทฯ โดยหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นที่จะส่งถึงผู้ถือหุ้นสำหรับการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปีได้ ระบุถงึ จุดประสงค์เหตุผล และความเห็นของกรรมการบริษทั ฯ ประกอบในแต่ละวาระการประชุม โดยบริษทั ฯ จะไม่แก้ไข วาระการประชุมถ้าไม่ได้แจ้งให้ผถู้ อื หุน้ ทราบล่วงหน้า • บริษัทฯ ได้เปิดเผยร่างหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปีไว้ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ล่วงหน้าก่อนจัดส่งให้กับผู้ถือ หุน้ และจะแจ้งวันประชุมผูถ้ อื หุน้ ต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ อย่างน้อย 45 วันก่อนวันประชุมและทางบริษทั ฯ ได้ดำเนินการจัด ส่งหนังสือเชิญประชุมให้แก่ผถู้ อื หุน้ อย่างน้อย 14 วันก่อนวันประชุม • บริษัทฯ ได้ทำการเผยแพร่หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปี ผ่านทางสื่อหนังสือพิมพ์รายวันทั้งฉบับภาษาไทย และภาษาอังกฤษ เป็นเวลา 3 วันติดต่อกันและประมาณ 14 วันล่วงหน้า ก่อนการประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจำปี • บริษัทฯ จัดให้ผู้ถือหุ้นได้มีโอกาสอย่างเต็มที่ในการมีส่วนร่วมในการประชุมผู้ถือหุ้นและสนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นได้ซักถามใน ประเด็นสงสัยต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง โดยผูบ้ ริหารและ/หรือผูท้ เี่ กีย่ วข้องโดยตรงกับประเด็นนัน้ ๆ จะเป็นผูต้ อบคำถาม

34

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


• บริษทั ฯ ได้จดั ทำรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ ทีถ่ กู ต้อง ครบถ้วนและชัดเจนรวมถึงรายชือ่ ของกรรมการทีเ่ ข้าร่วมประชุม ใน รายงานยังได้บันทึกข้อมูล คำถาม/คำตอบในที่ประชุมผู้ถือหุ้น วิธีการลงคะแนนเสียง วิธีนับคะแนนเสียงและผลการลง คะแนนเสียง • บริษทั ฯ มีนโยบายจัดประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณาอนุมตั กิ รณีทมี่ เี หตุการณ์สำคัญๆ ทีก่ ระทบต่อการดำเนินงานของบริษทั ฯ โดยจัดเอกสารประกอบการพิจารณาที่ถูกต้องและเพียงพอต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น เช่น ในปี 2547 กรณีซื้อเรือ เดินทะเลจำนวน 15 ลำ การทำสัญญาว่าจ้างต่อเรือเดินทะเลใหม่จำนวน 12 ลำในปี 2550 และจำนวน 3 ลำในปี 2551 เป็นต้น ซึง่ บริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ ทีป่ รึกษาทางการเงินอิสระเพือ่ ทำหน้าทีเ่ ป็นทีป่ รึกษาให้แก่ผถู้ อื หุน้ ทัง้ สามกรณี • บริษทั ฯ มีการติดตามและสอบทานเงินปันผลทีผ่ ถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ทีย่ งั ไม่ได้รบั และพยายามติดต่อกับผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ทุกคนได้รับเงินปันผลจากบริษัทฯ ทั้งนี้บริษัทฯ ยังได้แจ้งข้อมูลและให้คำแนะนำแก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ถึงวิธีการรับ เงินปันผล ในระหว่างปี 2551 บริษทั ฯ มีการประชุมผูถ้ อื หุน้ ทัง้ หมด 1 ครัง้ เป็นการประชุมสามัญประจำปี เมือ่ วันที่ 27 มีนาคม 2551 ที่ โรงแรม อมารี เอเทรียม โดยกรรมการทุกท่านเข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจำปี 2551 ซึง่ รวมถึงกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ และผู้สอบบัญชีภายนอกได้เข้าร่วมในการประชุมสามัญประจำปี เพื่อตอบคำถามจากผู้ถือหุ้นในประเด็นที่เกี่ยวกับข้อมูลทางบัญชีหรือการ ปฏิบตั งิ านตรวจสอบบัญชี โดยประธานในทีป่ ระชุมได้อธิบายเกีย่ วกับวิธกี ารลงคะแนนเสียง และวิธนี บั คะแนนเสียงเมือ่ การประชุมเริม่ ขึน้ และ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิอย่างเท่าเทียมกันในการตรวจสอบการดำเนินงานของบริษัทฯ เปิดโอกาสให้ซักถามและแสดงความคิดเห็น และข้อเสนอแนะต่างๆ ในแต่ละวาระการประชุมรวมทัง้ ได้บนั ทึกมติทปี่ ระชุมและประเด็นต่างๆ ไว้ในรายงานการประชุมอย่างถูกต้องและครบ ถ้วนแล้ว หลังจากนั้นบริษัทฯ ได้นำส่งรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นให้กับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและเปิดเผยในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ภายใต้หวั ข้อ “นักลงทุนสัมพันธ์” ภายในระยะเวลา 14 วันหลังวันประชุม 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษทั ฯ ยังได้ตระหนักและให้ความสำคัญถึงการปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมกัน ทัง้ ในส่วนของการเรียกประชุมผูถ้ อื หุน้ การจัด ประชุมผูถ้ อื หุน้ และเพือ่ เป็นการปกป้องสิทธิของผูถ้ อื หุน้ สำหรับเรือ่ งทีเ่ ป็นสาระสำคัญ โดยได้ปฏิบตั ดิ งั ต่อไปนี ้ • กำหนดวัน เวลาและสถานทีใ่ นการประชุมผูถ้ อื หุน้ โดยคำนึงถึงความสะดวกในการเข้าร่วมประชุมของผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่า เทียมกัน • กำหนดให้หนุ้ 1 หุน้ มีคะแนนเสียง 1 เสียง • อำนวยความสะดวกสำหรับการลงคะแนนเสียง ด้วยการจัดให้มกี ารมอบฉันทะโดยจัดแบบฟอร์มการมอบฉันทะพร้อมทัง้ อธิบาย ถึงขัน้ ตอนวิธกี ารปฏิบตั เิ กีย่ วกับการมอบฉันทะและพยายามจัดส่งหนังสือเชิญประชุมผูถ้ อื หุน้ ภายในระยะเวลาทีม่ ากพอและเท่า ทีบ่ ริษทั ฯ สามารถกระทำได้ภายใต้ขอ้ บังคับต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง คือก่อนวันประชุมผูถ้ อื หุน้ อย่างน้อย 14 วัน โดยผูถ้ อื หุน้ ทีไ่ ม่ สะดวกเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง บริษทั ฯ ได้กำหนดให้มปี ระธานกรรมการและ/หรือกรรมการอิสระ รับมอบฉันทะเพือ่ เข้าร่วม ประชุมและลงคะแนนเสียงแทนในการประชุมแต่ละครัง้ โดยรายละเอียดต่างๆ ได้ระบุไว้ในหนังสือเชิญประชุมแต่ละครัง้ อย่าง ครบถ้วน • กำหนดให้มกี ารลงทะเบียนผูถ้ อื หุน้ อย่างน้อย 1 ชัว่ โมง ก่อนเริม่ ประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ให้มเี วลาในการลงทะเบียนทีเ่ พียงพอ • ได้จดั เตรียมบัตรลงคะแนนสำหรับทุกวาระการประชุม • ได้ใช้ระบบ Barcode ในการลงทะเบียนและนับคะแนนเสียง เพือ่ อำนวยความสะดวกแก่ผถู้ อื หุน้ ทีเ่ ข้าร่วมประชุมและเพือ่ ความ ถูกต้อง แม่นยำในการนับคะแนนเสียง • เปิดโอกาสให้แก่ผู้ถือหุ้นในการเสนอวาระการประชุมเป็นการล่วงหน้าก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นประจำปีในช่องทางสื่อสารต่างๆ รวมถึงเว็บไซต์ของบริษทั ฯ • เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ มีสทิ ธิในการเลือกตัง้ กรรมการ โดยการลงคะแนนเสียงจะใช้บตั รลงคะแนนเลือกกรรมการเป็นรายบุคคล • ไม่มกี ารเพิม่ วาระการประชุมใหม่ โดยไม่แจ้งให้ผถู้ อื หุน้ ทราบล่วงหน้า • กรรมการได้เปิดเผยข้อมูลต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เกีย่ วกับส่วนได้เสียของตนและผูเ้ กีย่ วข้อง • กรรมการได้รายงานการถือครองหลักทรัพย์ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ รับทราบเป็นประจำ รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

35


• ให้ความสำคัญเกี่ยวกับการทำรายการที่เกี่ยวโยงกัน ที่อาจจะนำมาซึ่งความขัดแย้งทางผลประโยชน์และได้เปิดเผยไว้ในหัวข้อ “รายการที่เกี่ยวโยงกัน” ในรายงานประจำปีนี้ ซึ่งได้อธิบายถึงลักษณะของความเกี่ยวโยงกัน ความสำคัญของการทำรายการ มูลค่าของรายการ และแนวโน้มการทำรายการในอนาคตและบริษทั ฯ ไม่เคยมีกรณีไม่ปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รวมทัง้ กฎหมายต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน • ปฏิบัติตามนโยบายอย่างเหมาะสมเกี่ยวกับมาตรการดูแลการใช้ข้อมูลภายในดังรายละเอียดที่กล่าวไว้ในหัวข้อ “การดูแลเรื่อง การใช้ขอ้ มูลภายใน” ในรายงานประจำปีนแี้ ละยังไม่เคยมีกรณีการใช้ขอ้ มูลภายในของกรรมการและ/หรือผูบ้ ริหารบริษทั ฯ

3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทฯ ตระหนักและให้ความสำคัญต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็นผู้มีส่วนได้เสียภายใน ได้แก่ ผู้ถือหุ้น พนักงานและ ผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย หรือผูม้ สี ว่ นได้เสียภายนอก ได้แก่ เจ้าหนีก้ ารค้า คูค่ า้ ลูกค้า ชุมชน/สังคม ภาครัฐและหน่วยงานอืน่ ๆ ที่ เกีย่ วข้อง เนือ่ งจากบริษทั ฯ ตระหนักถึงแรงสนับสนุนจากผูม้ สี ว่ นได้เสียต่างๆ ในอันทีจ่ ะช่วยสร้างความสามารถในการแข่งขันและสร้างกำไรให้ กับบริษัทฯ และเป็นแรงสนับสนุนอย่างดียิ่งในการสร้างความสำเร็จในระยะยาวของบริษัทฯ ทั้งนี้บริษัทฯ ได้มีการปรับปรุงแก้ไขเว็บไซต์ของ บริษทั ฯ ซึง่ รวมถึงหัวข้อ “กิจกรรมผูม้ สี ว่ นได้เสีย” นโยบายและแนวทางปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียในคูม่ อื จริยธรรมธุรกิจและแนวทางปฏิบตั แิ ละ รวมถึงการจัดให้มชี อ่ งทางบนเว็บไซต์สำหรับผูม้ สี ว่ นได้เสียสามารถใช้ตดิ ต่อสือ่ สารในการแสดงความคิดเห็นต่างๆ และสามารถติดต่อโดยตรง กับคณะกรรมการบริษัทฯ ตามความประสงค์ โดยไม่ต้องผ่านผู้บริหารของบริษัทฯ ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทฯ จะเก็บข้อมูลร้องเรียนเป็น

ความลับ ถ้าการร้องเรียนมีมลู ความจริง คณะกรรมการบริษทั ฯ จะดำเนินการเพือ่ แก้ไขตามความเหมาะสม ด้านผู้บริหาร: บริษัทฯ ตระหนักถึงความสำคัญของผู้บริหารซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของปัจจัยแห่งความสำเร็จของการดำเนินธุรกิจของ บริษัทฯ โดยค่าตอบแทนของผู้บริหารมีโครงสร้างที่เหมาะสมและเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรมและค่าเฉลี่ยโดยทั่วไปของบริษัท

จดทะเบียนในประเทศไทย บริษทั ฯ เปิดโอกาสให้ผบู้ ริหารของบริษทั ฯ ได้ทำงานอย่างอิสระ ปราศจากการแทรกแซง ภายใต้บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ ทีม่ อบหมายโดยคณะกรรมการบริษทั ฯ ด้านพนักงาน: บริษทั ฯ ตระหนักดีวา่ พนักงานเป็นส่วนสำคัญของปัจจัยแห่งความสำเร็จอีกปัจจัยหนึง่ ของการดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ จึงกำหนดวิธกี ารจ้างงาน ความเท่าเทียมกันในโอกาสของการจ้างงาน ความมัน่ คงและความก้าวหน้าทางอาชีพและหลักการอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง กับพนักงานและการจ้างงาน บริษัทฯ มั่นใจว่าพนักงานมีความรู้ความชำนาญที่จำเป็นสำหรับการดำเนินงานในธุรกิจของบริษัทฯ และความ เข้าใจในข้อพึงปฏิบตั ติ า่ งๆ มาตรฐานการปฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วข้อง และสนับสนุนให้มกี ารพัฒนาความรูค้ วามสามารถเพือ่ ให้ทนั กับการพัฒนาของ อุตสาหกรรมในอนาคตและได้อธิบายถึงการดูแลด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยของพนักงานที่ปฏิบัติการบนเรือของบริษัทฯ ภายใต้หัวข้อ “รายงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม” ในรายงานประจำปีน ี้ นอกจากนี้ บริษัทฯ จัดให้มีนโยบายด้านผลตอบแทนสำหรับพนักงานที่สำนักงานของบริษัทฯ ทั้งในรูปของเงินเดือน โบนัส และ สวัสดิการต่างๆ เช่น การเสนอกองทุนสำรองเลี้ยงชีพตามความสมัครใจ ผลตอบแทนของพนักงานขึ้นอยู่กับผลการปฏิบัติงาน หน้าที่ และ ความรับผิดชอบของพนักงาน ส่วนเพิ่มอื่นๆ/โบนัสขึ้นอยู่กับฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงานและแผนงานในอนาคตของบริษัทฯ ในเรื่อง การสร้างแรงจูงใจระยะยาว แม้วา่ บริษทั ฯ จะไม่มผี ลตอบแทนระยะยาวสำหรับพนักงานในรูปของ ESOP เนือ่ งจากบริษทั ฯ เห็นว่าราคาหุน้ ของ บริษัทฯ จะขึ้นอยูก่ ับปัจจัยต่างๆ ซึง่ พนักงานไม่สามารถควบคุมได้โดยตรงเช่นเดียวกับอัตราค่าระวางเรือในตลาดสากล นอกจากนีร้ าคาหุน้ ของบริษัทฯ ก็ไม่ได้สะท้อนถึงผลการปฏิบัติงานของพนักงานที่แท้จริง ดังนั้นบริษัทฯ ได้จัดสรรผลกำไรจากการดำเนินงานแก่พนักงานของ บริษทั ฯ ในรูปของเงินโบนัสประจำปี โดยพิจารณาจากผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ เปรียบเทียบกับเป้าหมายทีก่ ำหนดไว้ และใช้เป็นเกณฑ์ใน การจ่ายโบนัสประจำปีแก่พนักงาน บริษทั ฯ จัดให้มกี ารฝึกอบรมภายในและส่งพนักงานไปอบรม สำหรับพนักงานทีส่ ำนักงานและลูกเรือบนเรือ โดยบริษทั ฯ จะเป็นผูร้ บั ภาระค่าใช้จา่ ยทัง้ หมดทีเ่ กิดขึน้ นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ยังอนุญาตให้ลางานหรือกำหนดเวลาการทำงานทีย่ ดื หยุน่ สำหรับพนักงานทีต่ อ้ งการศึกษา ในระดับทีส่ งู ขึน้ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้สง่ เสริมการสร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างพนักงานด้วยกันและระหว่างพนักงานกับผูบ้ ริหารบริษทั ฯ ด้านนายหน้า: บริษัทฯ ตระหนักเป็นอย่างดีว่านายหน้าเป็นส่วนหนึ่งของปัจจัยแห่งความสำเร็จของบริษัทฯ และเป็นผู้ที่มีบทบาท สำคัญ ในฐานะผู้สนับสนุนการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทฯ จึงปฏิบัติกับนายหน้าด้วยความเป็นธรรมตามเงื่อนไขการค้าที่ตกลงร่วมกัน และคงรักษามาตรฐานการค้าโดยทัว่ ไปไว้ เพือ่ สร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างกันในระยะยาว

36

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


ด้านเจ้าหนีเ้ งินกูย้ มื : บริษทั ฯ ตระหนักเป็นอย่างดีวา่ เจ้าหนีเ้ งินกูย้ มื เป็นส่วนหนึง่ ของปัจจัยแห่งความสำเร็จทีส่ ำคัญของบริษทั ฯ ใน ฐานะผูส้ นับสนุนด้านการเงินแก่บริษทั ฯ ทีต่ อ้ งลงทุนในสินทรัพย์ดว้ ยเงินลงทุนทีส่ งู บริษทั ฯ ได้ปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขการกูย้ มื เงินต่างๆ รวมทัง้ ปฏิบตั ติ ามวัตถุประสงค์การกูเ้ งิน การชำระคืน หลักทรัพย์คำ้ ประกันและข้อตกลงอืน่ ๆ ทีต่ กลงร่วมกันระหว่างสองฝ่าย ด้านคูค่ า้ : บริษทั ฯ ตระหนักเป็นอย่างดีถงึ ความสำคัญของคูค่ า้ ของบริษทั ฯ และบริษทั ฯ มัน่ ใจว่าเงือ่ นไขทางการค้าต่างๆ เป็นไป ด้วยความเป็นธรรมตามมาตรฐานการค้าโดยทัว่ ไป รวมทัง้ การปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขทางการค้าอย่างเคร่งครัด ด้านลูกค้า: บริษัทฯ ตระหนักเป็นอย่างดีว่าลูกค้าเป็นส่วนหนึ่งของปัจจัยแห่งความสำเร็จของการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทฯ จึงทำการปกป้องผลประโยชน์ของลูกค้า การตอบสนองความต้องการของลูกค้า รวมทัง้ การให้บริการทีไ่ ด้มาตรฐานและการรักษาสารสนเทศที่ เป็นความลับของลูกค้าโดยจะไม่เปิดเผยสารสนเทศดังกล่าวหากไม่มีการกำหนดจากกฎหมาย ข้อกำหนด หรือได้รับการยินยอมจากผู้เป็น เจ้าของสารสนเทศ รวมถึงประเด็นทางด้านการตลาด การกำหนดราคา รายละเอียดของการให้บริการ คุณภาพและความปลอดภัย เป็นต้น ด้านคูแ่ ข่ง: บริษทั ฯ ปฏิบตั ภิ ายใต้กรอบกติกาของการแข่งขันทีด่ ี ไม่ทำลายชือ่ เสียงของคูแ่ ข่งทางการค้าด้วยการกล่าวหาบริษทั ทีเ่ ป็น คูแ่ ข่งทางการค้าด้วยความไม่สจุ ริตและปราศจากข้อมูลความจริง รวมทัง้ ไม่เข้าถึงสารสนเทศทีเ่ ป็นความลับของคูแ่ ข่งด้วยวิธกี ารทีไ่ ม่สจุ ริตหรือ ไม่เหมาะสม ด้านชุมชนและ/หรือสังคม: บริษัทฯ ตระหนักเป็นอย่างดีถึงความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม รวมถึงการสนับสนุนกิจกรรมของ ชุมชน และการเอาใจใส่ตอ่ ผลกระทบต่อผูท้ อี่ ยูร่ อบข้างมากกว่าทีม่ กี ำหนดไว้ในกฎหมายและพยายามเข้าไปมีสว่ นร่วมทางสังคม โดยบริษทั ฯ ได้รายงานส่วนนีแ้ ยกไว้ภายใต้หวั ข้อ “รายงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม” ในรายงานประจำปีน ี้ ด้านผูอ้ อกกฎระเบียบข้อบังคับ: นอกเหนือจากทีไ่ ด้กล่าวไว้แล้วในส่วนของกฎหมายและระเบียบเกีย่ วกับธุรกิจการเดินเรือซึง่ บริษทั ฯ ต้องปฏิบตั ติ ามและได้อธิบายไว้ในรายงานประจำปีฉบับนี้ บริษทั ฯ ตระหนักเป็นอย่างดีวา่ ภาครัฐบาลคือผูอ้ อกกฎระเบียบข้อบังคับ ทำหน้าที่ ควบคุม เพือ่ ให้การดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ เป็นไปด้วยความยุตธิ รรมและมีความโปร่งใส บริษทั ฯ ตระหนักถึงความสำคัญของการปฏิบตั ติ าม กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รวมทัง้ กฎหมายต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำเนินงานของบริษทั ฯ และได้รวมการสอบทานการปฏิบตั ติ ามระเบียบข้อ บังคับต่างๆ ให้เป็นหนึง่ ในหน้าทีข่ องฝ่ายตรวจสอบภายใน ซึง่ มีผตู้ รวจสอบภายในทีม่ คี ณุ สมบัตเิ ป็นหัวหน้าฝ่าย โดยผูต้ รวจสอบภายในได้จดั ทำ รายงานสอบทาน การปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบต่างๆ ประจำปี และรายงานผลโดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ตามรายละเอียดทีก่ ล่าวใน หัวข้อ “รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ” ในรายงานประจำปีน ี้ ด้านสิ่งแวดล้อม: บริษัทฯ ตระหนักดีว่าการดำเนินงานของธุรกิจเดินเรือถ้าขาดความรับผิดชอบแล้วอาจมีผลกระทบต่อสภาพ แวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิง่ มลพิษทางน้ำและ/หรือมลพิษทางอากาศ บริษทั ฯ มุง่ มัน่ ต่อการปกป้องและรักษาสิง่ แวดล้อมและได้ให้ความสำคัญ ด้านสิง่ แวดล้อม เทียบเท่ากับการพาณิชย์และการดำเนินธุรกิจบริษทั ฯ และส่งเสริมการปฏิบตั ติ ามนโยบายนี้ ซึง่ ได้รายงานส่วนนีภ้ ายใต้หวั ข้อ “รายงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม” ในรายงานประจำปีน ี้ 4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษทั ฯ มีการดูแลกระบวนการเปิดเผยข้อมูลสำคัญทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั ฯ อย่างเข้มงวด ทัง้ ข้อมูลทางการเงินและข้อมูลทีม่ ใิ ช่ขอ้ มูล ทางการเงินและรายงานอื่นๆ โดยข้อมูลจะต้องเปิดเผยอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา โปร่งใส โดยผ่านช่องทางที่ถูกต้องและผู้ใช้ข้อมูล สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างเท่าเทียมกันและมีความน่าเชือ่ ถือ

4.1 รายงานของคณะกรรมการบริษัทฯ

4.2 ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของบริษัทฯ และบริษัทย่อยและสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏใน รายงานประจำปี โดยมีการนำเสนอรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั ฯ ต่อรายงานทางการเงินควบคูก่ บั รายงานของผูส้ อบบัญชี รับอนุญาตและงบการเงินทีต่ รวจสอบแล้วในรายงานประจำปีน ี้ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน เมือ่ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2550 เพือ่ ทำหน้าที่ ดูแลเรื่องการจ่ายค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหารระดับสูง โดยการนำเสนอค่าตอบแทนของกรรมการ ข้อแนะนำและความเห็นของ คณะกรรมการบริษัทฯ เกี่ยวกับค่าตอบแทนกรรมการจะนำเสนอเพื่อขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้รายละเอียดเกี่ยวกับคณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน เช่น รายชือ่ สมาชิก คุณสมบัติ บทบาทหน้าทีค่ วามรับผิดชอบและหลักเกณฑ์การกำหนดค่าตอบแทนได้เปิดเผยข้อมูลบน เว็บไซต์ของบริษทั ฯ และเปิดเผยภายใต้หวั ข้อ “โครงสร้างการจัดการ” ในรายงานประจำปีน ี้ รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

37


ในปี 2551 และปี 2550 บริษัทฯ ได้จ่ายค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ เป็นจำนวนที่กำหนดเป็นรายปี ซึ่งได้รับอนุมัติจากที่ ประชุมผูถ้ อื หุน้ ดังรายละเอียดต่อไปนี ้ (หน่วย: ล้านบาท)

รายชื่อกรรมการ ตำแหน่ง

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 * ** *** ****

พลเรือเอก ดร.อำนาจ จันทนมัฎฐะ **** ประธานกรรมการบริษทั ฯ นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม กรรมการผูจ้ ดั การ นายมูนรี มอยนูดดิน ฮาชิม กรรมการบริหาร นายคูชรู คาลี วาเดีย กรรมการบริหาร นายไจปาล มันสุขานี ** กรรมการ พลตำรวจโท เกียรติศกั ดิ์ ประภาวัต *** กรรมการอิสระ นายชีระ ภาณุพงศ์ กรรมการอิสระ นายธีระ วิภชู นิน **** กรรมการอิสระ นายสุพฒั น์ ศิวะศรีอำไพ * กรรมการอิสระ นางสาวนิชติ า้ ชาห์ กรรมการ นายกิรติ ชาห์ กรรมการ นายปีเต้อร์ เฟ็ดเดอร์เซ่น กรรมการอิสระ รวม

จำนวนเงิน 2551

2550

1.25 0.55 0.55 0.55 0.55 0.95 0.55 0.70 0.75 0.55 0.55 0.55 8.05

1.38 0.50 0.50 0.50 0.50 0.88 0.50 0.50 0.69 0.50 0.33 0.33 7.11

รวมค่าตอบแทนจากการเป็นกรรมการตรวจสอบไว้ดว้ ย ทำหน้าทีบ่ ริหารและทำงานเต็มเวลาเหมือนพนักงานในบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ รวมค่าตอบแทนจากการเป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบไว้ดว้ ย รวมค่าตอบแทนจากการเป็นกรรมการตรวจสอบโดยเป็นค่าตอบแทนตามสัดส่วนจากจำนวนเต็มปี สำหรับค่าตอบแทนของนายธีระ วิภชู นิน รวมค่าตอบแทนจากการเป็นกรรมการตรวจสอบบางส่วนของปีเนือ่ งจากนายธีระ วิภชู นิน ได้รบั การแต่งตัง้ ให้ดำรงตำแหน่ง คณะกรรมการตรวจสอบแทนพลเรือเอก ดร.อำนาจ จันทนมัฎฐะ ซึง่ หมดวาระในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551 ตามมติของทีป่ ระชุม คณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 1/2551 เมือ่ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2551

สำหรับค่าตอบแทนของกรรมการบริหารและผูบ้ ริหารประกอบด้วยเงินเดือน โบนัส และอืน่ ๆ เช่น ค่าภาษีเงินได้ ค่าเช่าบ้าน ซึง่ ใน ระหว่างปี 2551 และปี 2550 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ได้จา่ ยค่าตอบแทนให้กรรมการบริหารและผูบ้ ริหารดังรายละเอียดต่อไปนี ้ (หน่วย: ล้านบาท)

รายชื่อกรรมการ ตำแหน่ง

1 นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม 2 นายมูนรี มอยนูดดิน ฮาชิม 3 นายคูชรู คาลี วาเดีย

38

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการ (การพาณิชย์) กรรมการ (การเงิน)

จำนวนเงิน 2551

2550

20.52 16.67 15.16

16.96 14.36 13.02


(หน่วย: ล้านบาท)

รายชื่อกรรมการ ตำแหน่ง

จำนวนเงิน 2551

2550

4 นายไจปาล มันสุขานี กรรมการ (ทำงานเต็มเวลาในบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ) 14.06 12.48 5 นายชีลาล โกปินาธาน ผูอ้ ำนวยการ (การพาณิชย์) 8.42 7.34 6 นายโคคา เวนคาตารามานา สุดาการ์ ผูอ้ ำนวยการ (บริหารกองเรือ) 7.46 7.01 7 นายโกดาการาจีททิล มูราลี่ เมนนอน ผูอ้ ำนวยการ (ด้านเทคนิค) 7.18 6.55 8 นายนีลากันตัน วาสุเดวัน ผูอ้ ำนวยการ (การจัดการความเสีย่ ง) 7.06 6.15 9 นายสตีเฟน โคลา ผูอ้ ำนวยการ (บริหารความปลอดภัยระหว่างประเทศ 5.22 4.83 10 นายกามาล กุมาร ดู ผูอ้ ำนวยการ (เทคโนโลยีสารสนเทศ) 6.10 5.36 11 นางสาวสมปรารถนา เทพนภาเพลิน ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำนวยการ (การเงินและบัญชี) และเลขานุการบริษทั 3.63 2.94 12 นายกิรนั กิสซารินาท ไวดี ผูจ้ ดั การอาวุโส (บัญชีและ MIS) 4.62 3.94 13 นายยิง่ ยง กังแฮ ผูจ้ ดั การอาวุโส (การเงินและบัญชี) 2.77 2.35 รวม 118.87 103.29 การเทียบเคียงค่าตอบแทน ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบและผู้บริหาร ระหว่างบริษทั ฯ กับค่าเฉลีย่ ของกลุม่ บริษทั ทัว่ ไปและค่าเฉลีย่ ของกลุม่ ธุรกิจบริการและขนส่ง มีดงั รายละเอียดข้างล่างนี ้ (หน่วย: พันบาท ต่อคน ต่อปี)

** บริษัทจดทะเบียน

*พีเอสแอล รายการ

บริษัทจดทะเบียนในกลุ่มขนส่ง และโลจิสติกส์

ค่าเฉลี่ย ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด

ประธานกรรมการ กรรมการบริษทั ฯ ผูบ้ ริหารบริษทั ฯ ประธานกรรมการตรวจสอบ*** กรรมการตรวจสอบ*** รวม

2551

2550

1,200.00 1,190.00 1,179.14 20.00 550.00 469.70 548.92 26.43 9,143.85 7,945.38 3,407.14 947.27 400.00 375.00 617.90 150.00 200.00 190.00 330.76 75.00 11,493.85 10,170.08 6,083.86 1,218.70

บริษัทจดทะเบียนทั้งหมด

3,360.00 1,001.15 1,888.49 566.87 8,509.17 3,367.44 1,600.00 269.64 980.30 177.81 16,337.96 5,382.91

4.00 10.46 22.86 10.00 20.00 67.32

11,811.83 6,474.75 20,666.00 3,500.00 1,400.00 43,862.58

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

39


(หน่วย: พันบาท ต่อคน ต่อปี)

** บริษัทจดทะเบียน

*พีเอสแอล รายการ

ประธานกรรมการ กรรมการบริษทั ฯ ผูบ้ ริหารบริษทั ฯ ประธานกรรมการตรวจสอบ*** กรรมการตรวจสอบ*** รวม

* **

*** N.A.

2551

2550

บริษัทจดทะเบียนที่มีขนาด รายได้ต่อปี ตั้งแต่ 5,000 ล้านบาท ถึง 10,000 ล้านบาท

บริษัทจดทะเบียนทั้งหมดที่มี กำไร/ขาดทุนสุทธิต่อปี ตั้งแต่ 1,000 ล้านบาท ถึง 10,000 ล้านบาท

ค่าเฉลี่ย ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด

1,200.00 1,190.00 1,035.60 550.00 469.70 N.A. 9,143.85 7,945.38 4,192.82 400.00 375.00 312.14 200.00 190.00 N.A. 11,493.85 10,170.08 5,540.59

4.00 N.A. 314.19 10.00 N.A. 328.19

3,849.09 1,918.88 N.A. N.A. 16,011.45 6,433.97 1,215.00 517.82 N.A. N.A. 21,075.54 8,870.67

120.00 N.A. 314.19 10.00 N.A. 444.19

7,000.00 N.A. 16,011.45 3,500.00 N.A. 26,511.45

เป็นค่าตอบแทนทีบ่ ริษทั ฯ จ่ายในแต่ละปี ข้อมูลจากรายงานค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารของบริษัทจดทะเบียน สำหรับปี 2550 ซึ่งจัดทำโดยตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ค่าตอบแทนเฉพาะในส่วนของประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการตรวจสอบ ไม่มขี อ้ มูล 4.3 ความสัมพันธ์กับผู้ลงทุน

คณะกรรมการบริษทั ฯ ให้ความสำคัญต่อการเปิดเผยข้อมูลทีม่ คี วามถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส ทัง้ รายงานข้อมูลทางการเงิน และข้อมูลทัว่ ไป ตลอดจนข้อมูลสำคัญทีอ่ าจมีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ โดยได้เผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารต่างๆ ดังกล่าว เพือ่ ให้

ผูล้ งทุนและผูท้ เี่ กีย่ วข้องรับทราบ โดยผ่านช่องทางการเผยแพร่ขอ้ มูลต่างๆ ของตลาดหลักทรัพย์ฯ เว็บไซต์ของบริษทั ฯ จดหมายแจ้งข่าว และ จากการติดต่อกับกรรมการผู้จัดการ ซึ่งบริษัทฯ ให้ความสำคัญต่อผู้ลงทุน ดังนั้นผู้บริหารระดับสูงจะเป็นผู้รับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวกับการ บริการนักลงทุนด้วย บริษทั ฯ ได้กำหนดบุคคลเพือ่ ให้บริการข้อมูลข่าวสารสำหรับผูล้ งทุน ผูถ้ อื หุน้ นักวิเคราะห์และประชาชนทัว่ ไป ซึง่ มีราย ละเอียดดังนี ้ คุณคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม กรรมการผูจ้ ดั การ (นายคาลิด ฮาชิม กรรมการผูจ้ ดั การของบริษทั ฯ ได้รบั การคัดเลือกเป็น “นักลงทุนสัมพันธ์ทดี่ ที สี่ ดุ ” ในประเทศไทยในผลสำรวจเกีย่ วกับการกำกับดูแลกิจการ ใน เดือนธันวาคม 2551 จากนิตยสาร “Asia Money”) โทรศัพท์ 66 2696 8801 อีเมล์ kh@preciousshipping.com คุณคูชรู คาลี วาเดีย กรรมการบริหาร โทรศัพท์ 66 2696 8836 อีเมล์ kw@preciousshipping.com คุณณิชา หวังศุภผล เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยประชาสัมพันธ์ โทรศัพท์ 66 2696 8820 อีเมล์ corp@preciousshipping.com คุณสมปรารถนา เทพนภาเพลิน ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำนวยการ (การเงินและบัญชี) และเลขานุการบริษทั ฯ โทรศัพท์ 66 2696 8856 อีเมล์ som@preciousshipping.com

40

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


บริษทั ฯ ได้เข้าร่วมกิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์ตา่ งๆ มากมาย โดยมีกรรมการผูจ้ ดั การได้เข้าร่วมกิจกรรม ซึง่ รายละเอียดของ กิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์ในช่วงสามปีทผี่ า่ นมา มีดงั นี ้ ปี / จำนวนครั ้ ง

พบปะกับ นักวิเคราะห์

พบปะกับ นักลงทุน

2551 62 33 2550 76 39 2549 37 33 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ

5.1 โครงสร้างคณะกรรมการบริษัทฯ

คำจำกัดความ

การนำเสนอ การให้สัมภาษณ์แก่ (Presentations) หนังสือพิมพ์และทีวี

14 14 10

3 1 3

รวม

112 130 83

จำนวนของกรรมการในคณะกรรมการบริษทั ฯ มีสดั ส่วนทีส่ มั พันธ์และเหมาะสมกับขนาดของกิจการและความซับซ้อนทางธุรกิจ ของบริษทั ฯ ซึง่ ในปัจจุบนั คณะกรรมการบริษทั ฯ มีจำนวน 12 ท่าน ประกอบด้วยกรรมการบริหาร 3 ท่าน กรรมการ 1 ท่าน ซึง่ ทำหน้าที่ บริหารและได้ปฏิบตั งิ านเต็มเวลาเหมือนพนักงานประจำในบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ กรรมการทีไ่ ม่ได้เป็นกรรมการบริหาร 2 ท่าน และกรรมการ อิสระ 6 ท่าน (เท่ากับกึง่ หนึง่ ของกรรมการบริษทั ฯ ทัง้ คณะ) และมีคณะกรรมการตรวจสอบซึง่ ประกอบด้วยกรรมการอิสระทัง้ หมด กรรมการบริหาร (Executive Director) คือ กรรมการทีม่ สี ว่ นเกีย่ วข้องกับการบริหารจัดการเต็มเวลาของบริษทั ฯ และได้รบั ค่าตอบแทนรายเดือนเป็นประจำจากบริษทั ฯ ในรูปของเงินเดือนหรือผลตอบแทนอืน่ ๆ ทีเ่ ทียบเท่า กรรมการอิสระ (Independent Director) คือ กรรมการทีเ่ ป็นอิสระจากฝ่ายบริหารจัดการ ไม่มคี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจหรือกิจกรรมอืน่ ใดทีเ่ กีย่ วข้องและไม่มหี น้าทีใ่ นการ บริหารจัดการในบริษทั ฯ และหรือบริษทั ย่อย ซึง่ อาจมีผลกระทบต่อผลประโยชน์ของบริษทั ฯ และ/หรือผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ ได้กำหนดคุณสมบัติ ของกรรมการอิสระ ตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ซึง่ คุณสมบัตขิ องกรรมการอิสระของบริษทั ฯ ได้แก่ ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 1 ของทุนชำระแล้วของบริษทั ฯ บริษทั ในเครือ บริษทั ร่วม หรือบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ นีใ้ ห้นบั รวมหุน้ ทีถ่ อื โดยผูท้ เี่ กีย่ วข้องด้วย เป็นกรรมการที่ไม่มีส่วนร่วมในการบริหารงานบริษัทฯ บริษัทในเครือ บริษัทร่วม บริษัทที่เกี่ยวข้อง หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่

ของบริษทั ฯ เป็นกรรมการที่ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ ตามข้อกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงไม่มผี ลประโยชน์หรือส่วนได้สว่ นเสียไม่วา่ ทางตรงหรือทางอ้อม ทัง้ ในการบริหารด้านการเงินและการบริหารงานของ บริษทั ฯ บริษทั ในเครือ บริษทั ร่วม บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง หรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั ฯ เป็นกรรมการที่ไม่ใช่เป็นผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้องหรือญาติสนิทของกรรมการบริหาร ผู้บริหาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่หรือผูม้ อี ำนาจควบคุมของบริษทั ฯ เป็นกรรมการทีไ่ ม่ได้รบั การแต่งตัง้ ขึน้ เป็นตัวแทนเพือ่ รักษาผลประโยชน์ของกรรมการบริษทั ฯ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ ซึง่ เป็นผูท้ เี่ กีย่ วข้องกับผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั ฯ สามารถปฏิบตั หิ น้าทีแ่ สดงความเห็นหรือรายงานผลการปฏิบตั งิ านตามหน้าทีท่ ไี่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ โดย ไม่ได้อยูภ่ ายใต้การควบคุมของกรรมการบริหารหรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั ฯ รวมทัง้ ผูท้ เี่ กีย่ วข้องหรือญาติสนิทของบุคคลดังกล่าว

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

41


คำนิยามของผู้ที่เกี่ยวข้อง

บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการอิสระ

คณะกรรมการอื่นๆ

การรวมหรือแยกตำแหน่ง

5.2 บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบ

ผู้ที่เกี่ยวข้อง ความหมายจะรวมถึงผู้ที่มีความสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องกับบริษัทฯ ในระดับที่ทำให้กรรมการอิสระไม่สามารถทำ หน้าทีไ่ ด้อย่างอิสระหรือคล่องตัว เช่น คูค่ า้ ลูกค้า เจ้าหนี้ ลูกหนี้ หรือผูท้ มี่ คี วามเกีย่ วข้องทางธุรกิจอย่างมีนยั สำคัญ เป็นต้น สามารถเข้าถึงสารสนเทศทางการเงินและทางธุรกิจอืน่ อย่างเพียงพอทีจ่ ะปฏิบตั หิ น้าทีข่ องตนได้อย่างมีประสิทธิผล เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการเป็นประจำทุกครั้ง รวมทั้งตั้งประเด็นคำถามในที่ประชุมเพื่อให้มั่นใจว่า ผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสียอืน่ ของบริษทั ฯ ได้รบั ความคุม้ ครองและเพือ่ ให้มนั่ ใจว่า บริษทั ฯ มีการปฏิบตั ติ ามข้อพึงปฏิบตั ทิ ดี่ ี มีความสามารถและเต็มใจทีจ่ ะเรียนรูธ้ รุ กิจของบริษทั ฯ พร้อมทีจ่ ะแสดงความเห็นอย่างเป็นอิสระ ตลอดจนอุทศิ เวลาและทุม่ เท ความสนใจทีจ่ ำเป็นให้กบั บริษทั ฯ จัดให้มกี ารประชุมกรรมการอิสระเป็นประจำและหาโอกาสเพือ่ พูดคุยในประเด็นการจัดการธุรกิจกับผูบ้ ริหาร จัดทำหนังสือยืนยันถึงความเป็นอิสระในวันทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ให้ดำรงตำแหน่งกรรมการอิสระและทุกๆ ปี ภายหลังทีไ่ ด้รบั การ แต่งตัง้ ในกรณีทถี่ กู ร้องขอ กำหนดวาระการดำรงตำแหน่งที่ชัดเจนและไม่มีกรรมการอิสระท่านใดที่ดำรงตำแหน่งเกินกว่าวาระที่กำหนด อย่างไรก็ตาม เป็นการยากที่จะค้นหาผู้ที่มีความเหมาะสมที่จะเข้ามารับตำแหน่งกรรมการอิสระ คือเป็นผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจอย่างดีในธุรกิจของบริษัทฯ อีกทัง้ ในปัจจุบนั ยังคงไม่มกี ฎข้อบังคับใดๆ ทีก่ ำหนดเกีย่ วกับจำนวนครัง้ ของการดำรงตำแหน่งของกรรมการอิสระบริษทั ฯ จึงไม่ได้กำหนด จำนวนครัง้ ของการดำรงตำแหน่งกรรมการอิสระ คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ถือเป็นส่วนหนึง่ ของนโยบายการกำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ โดยรายละเอียดของสมาชิกของคณะกรรมการตรวจสอบ ตลอดจนหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบได้กล่าวไว้ภายใต้หวั ข้อ “โครงสร้างการจัดการ และรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ” ในรายงานประจำปีน ี้ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2550 ได้แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและคณะ กรรมการสรรหา ทัง้ นีร้ ายละเอียดของคณะกรรมการทัง้ สองชุด เช่น รายชือ่ จำนวนสมาชิก คุณสมบัติ บทบาทหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ได้ เปิดเผยบนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ และภายใต้หวั ข้อ “โครงสร้างการจัดการ” ในรายงานประจำปีน ี้ ประธานคณะกรรมการบริษทั ฯ เป็นกรรมการอิสระตามความหมายของตลาดหลักทรัพย์ฯ และไม่มคี วามสัมพันธ์ใดๆ กับฝ่าย บริหาร อีกทัง้ ประธานกรรมการไม่เป็นบุคคลเดียวกันกับกรรมการผูจ้ ดั การและไม่มคี วามสัมพันธ์ใดๆ กับกรรมการผูจ้ ดั การ ทัง้ นีเ้ พือ่ เป็นการ แบ่งแยกหน้าที่ ระหว่างการกำหนดนโยบายและการบริหารนโยบายทีก่ ำหนดไว้ ภาวะผูน้ ำและวิสยั ทัศน์ คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้มีส่วนสำคัญในการกำหนดทิศทางการดำเนินงานของบริษัทฯ ไปสู่เป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ กำหนดไว้และเป็นผูท้ มี่ บี ทบาทสำคัญในการกำหนดภารกิจ วิสยั ทัศน์ คุณค่าขององค์กร แผนกลยุทธ์ การดำเนินธุรกิจ การกำหนดอำนาจ หน้าที่ การบริหารที่มีประสิทธิภาพและการจัดการดำเนินงานของบริษัทฯ รวมถึงการกำกับดูแลกิจการขององค์กรเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ และให้เป็นไปตามนโยบายของบริษทั ฯ และให้สอดคล้องกับกฎหมายต่างๆ โดยคณะกรรมการบริษทั ฯ ประกอบด้วยผูม้ คี วามรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ทเี่ กีย่ วข้องกับธุรกิจ และมีคณุ สมบัตทิ จี่ ะปฏิบตั งิ านได้ตามหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ โดยยึดถือมาตรฐานสูงสุดของหลักจรรยาบรรณ ทางธุรกิจ คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้พิจารณากำหนดบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการชุดต่างๆ อย่างชัดเจน ดังรายละเอียดในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” ในรายงานประจำปีน ี้

42

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


นโยบายเกีย่ วกับการกำกับดูแลกิจการ บริษทั ฯ ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นต่อการดำเนินธุรกิจให้มกี ารเจริญเติบโตและเพิม่ มูลค่าให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในระยะยาว คณะกรรมการบริษัทฯ จึงได้กำหนดนโยบายเกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการขึ้น โดยคณะกรรมการบริษัทฯ มีความมุ่งมั่นและเสริมสร้าง การกำกับดูแลกิจการโดยรวมถึงการกำหนดนโยบายและทิศทางการดำเนินงานของบริษัทฯ การให้ความสำคัญต่อความเพียงพอของระบบ การควบคุมและการตรวจสอบภายใน การกำกับดูแลฝ่ายบริหารให้ดำเนินการตามนโยบายอย่างมีประสิทธิภาพ เพือ่ ประโยชน์ในระยะยาวของ ผู้ถือหุ้นภายใต้กรอบข้อกำหนดของกฎหมายด้วยความโปร่งใส และจริยธรรมทางธุรกิจที่ดีและได้จัดทำคู่มือนโยบายการกำกับดูแลกิจการขึ้น อย่างเป็นลายลักษณ์อกั ษรและประกาศให้พนักงานในทุกระดับชัน้ ได้รบั ทราบ ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้ผทู้ เี่ กีย่ วข้องทุกฝ่ายของบริษทั ฯ ได้มคี วามตระหนัก และให้ความสำคัญด้านการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี รวมทัง้ ได้เปิดเผยนโยบายดังกล่าวไว้ในเว็บไซต์ของบริษทั ฯ คูม่ อื นโยบายการกำกับดูแลกิจการของบริษทั ฯ ครอบคลุมหลักสำคัญ 5 ส่วนดังต่อไปนี ้ 1. สิทธิและความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสีย 2. โครงสร้าง บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบและความเป็นอิสระของคณะกรรมการบริษทั ฯ 3. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส 4. การควบคุมและการบริหารความเสีย่ ง 5. จริยธรรมธุรกิจ คณะกรรมการบริษัทฯ ยังกำหนดให้มีการทบทวนนโยบายการกำกับดูแลกิจการ รวมทั้งการประเมินผลการปฏิบัติตามคู่มือ นโยบายดังกล่าวเป็นประจำทุกปี โดยเริม่ ถือปฏิบตั ติ งั้ แต่ปี 2550 เป็นต้นมา ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้คมู่ อื นโยบายการกำกับดูแลกิจการของบริษทั ฯ ได้มกี าร ปรับปรุงให้มคี วามทันสมัยและเหมาะสมกับสถานการณ์ปจั จุบนั บริษทั ฯ ภูมใิ จทีจ่ ะรายงานว่า นายคาลิด ฮาชิม กรรมการผูจ้ ดั การของบริษทั ฯ ได้รบั รางวัล ”ผูบ้ ริหารทีด่ ที สี่ ดุ ” ในประเทศไทย จากรางวัล “บริษทั และผูบ้ ริหารทีจ่ ดั การทีด่ ที สี่ ดุ ” โดยสถาบันของ Asia Money ซึง่ มีการรายงานในเดือนธันวาคม 2551 จริยธรรมธุรกิจ บริษทั ฯ ได้ออกประกาศข้อพึงปฏิบตั เิ กีย่ วกับจรรยาบรรณของกรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงาน เพือ่ ยึดถือเป็นแนวทางในการ ปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้ประสบผลสำเร็จตามภารกิจของบริษทั ฯ ด้วยความโปร่งใส ซือ่ สัตย์ สุจริตและเทีย่ งธรรม และบริษทั ฯ ได้เปิดเผยรายละเอียดนี้ ไว้ในเว็บไซต์ของบริษทั ฯ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพือ่ เป็นการป้องกันรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการบริษทั ฯ และคณะกรรมการตรวจสอบจึงได้ดแู ล อย่างรอบคอบ เมื่อเกิดรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยกำหนดนโยบายและขั้นตอนการอนุมัติรายการที่อาจจะก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ไว้อย่างเป็นลายลักษณ์อกั ษร ดังนี ้ รายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการทราบเป็นอย่างดีถึงรายการที่อาจนำมาซึ่งความขัดแย้งทางผลประโยชน์และรายการที่เกี่ยวโยงกัน และได้ พิจารณาความเหมาะสมอย่างรอบคอบทุกครั้ง รวมทั้งมีการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและคณะกรรมการ กำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ อีกทั้งการปฏิบัติตามนโยบาย/แนวทางของบริษัทฯ โดยราคาและเงื่อนไขเสมือนทำรายการกับบุคคล ภายนอก (Arms-Length Basis) เป็นไปโดยปกติมาตรฐานทางการค้าทัว่ ไปและได้เปิดเผยรายละเอียดมูลค่ารายการ คูส่ ญั ญา เหตุผล/ความ จำเป็นไว้ในรายงานประจำปีและแบบ 56-1 อย่างครบถ้วนแล้ว อีกทัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ และฝ่ายตรวจสอบภายในมีการวางแผนงานตรวจสอบเรือ่ งการทำรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ โดยจัดให้มกี ารบรรจุเรือ่ งดังกล่าวไว้ในแผนการตรวจสอบภายในเป็นประจำทุกปี สำหรับปี 2551 ผูต้ รวจสอบภายในได้ตรวจ สอบรายการดังกล่าวและได้รายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบ เมือ่ การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบครัง้ ที่ 1/2552 ในเดือนมกราคม 2552 พบว่าบริษัทฯ มีนโยบายการอนุมัติรายการเพื่อป้องกันการทำรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยรายการที่บริษัทฯ มีอยู่ใน ปัจจุบนั เป็นรายการทีม่ คี วามจำเป็นต่อการดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ และเป็นไปตามมาตรฐานทางการค้าการแข่งขันโดยทัว่ ไป โดยยึดถือราคา ตลาดเป็นสำคัญและเพือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ รวมทัง้ ได้มกี ารเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวในรายงานประจำปีอย่างเพียงพอแล้ว

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

43


นอกจากนี้ ฝ่ายตรวจสอบภายในยังได้ตรวจสอบการปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่อง “การเปิดเผยข้อมูลและการปฏิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกัน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2547” และหนังสือเวียนเลขที่ กลต.จ. (ว)38/2551 เรือ่ งคำแนะนำในการปฏิบตั ติ ามมาตรา 89/12 (1) แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และรายงานผลการตรวจสอบต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ แล้ว ซึง่ คณะ กรรมการบริษทั ฯ เห็นว่ารายการเกีย่ วโยงกันของบริษทั ฯ เป็นรายการทีเ่ หมาะสม และเพือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน บริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความสำคัญต่อระบบควบคุมภายในระดับปฏิบัติงานเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้กำหนดอำนาจ หน้าที่ ในการดำเนินงานของผู้ปฏิบัติงาน ผู้บริหาร ไว้เป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน มีการควบคุมดูแลการใช้

ทรัพย์สนิ ของบริษทั ฯ เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั ฯ และมีการแบ่งแยกหน้าทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ าน ผูต้ ดิ ตามควบคุมและประเมินผลออกจากกัน เพือ่ รักษาไว้ซงึ่ การถ่วงดุลและตรวจสอบระหว่างกันอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ ยังมีระบบการควบคุมภายในทีเ่ กีย่ วข้องกับทางการเงินและบัญชี โดยบริษทั ฯ ได้จดั ให้มรี ะบบรายงานทีช่ ดั เจนและเพียงพอเสนอผูบ้ ริหารสายงานทีร่ บั ผิดชอบ บริษัทฯ มีฝ่ายตรวจสอบภายในทำหน้าที่ตรวจสอบเพื่อให้มั่นใจว่าการปฏิบัติงานหลัก และกิจกรรมการทางการเงินที่สำคัญ

ของบริษัทฯ ได้ดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพภายใต้แนวทางที่กำหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯ มีการปฏิบัติตาม กฎหมาย และกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ โดยฝ่ายตรวจสอบภายในมีการตรวจสอบการปฏิบตั งิ านแต่ละแผนกและรายงานผล ตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบเพือ่ ให้หน่วยงานตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระจากผูบ้ ริหาร สำหรับการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับทางการเงินและบัญชี บริษัทฯ ได้จัดให้มีระบบรายงานที่ชัดเจน และเพียงพอ เสนอ ผูบ้ ริหารสายงานทีร่ บั ผิดชอบ ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ดงั ต่อไปนี ้ 1. เพื่อความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน รวมทั้งการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดเพื่อก่อให้เกิด ประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั ฯ 2. เพือ่ ความถูกต้อง เชือ่ ถือได้และทันเวลาของรายงานทางการเงิน 3. เพือ่ ให้การปฏิบตั งิ านของบริษทั ฯ เป็นไปตามกฎระเบียบ ข้อบังคับ รวมทัง้ กฎหมายต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ตระหนักและให้ความสำคัญต่อการบริหารความเสี่ยงและมีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการบริหาร ความเสี่ยงขององค์กร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการของบริษัทฯ ให้ดำเนินไปอย่างรัดกุม มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและบรรลุวัตถุประสงค์ ทางคณะกรรมการบริษัทฯ ได้กำหนดและเปิดเผยนโยบายบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในบน เว็บไซต์ของบริษทั ฯ และในหัวข้อ “การควบคุมภายใน” ในรายงานประจำปีน ี้

5.3 การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ

คณะกรรมการบริษทั ฯ มีการประชุมโดยปกติเป็นประจำทุกไตรมาส (ยกเว้นในไตรมาสแรกทีอ่ าจจะมีการประชุมคณะกรรมการ 2 ครัง้ ) และมีการประชุมพิเศษเพิม่ ตามความจำเป็น โดยมีการกำหนดวาระการประชุมอย่างชัดเจน ล่วงหน้าและมีวาระพิจารณาติดตามผล การดำเนินงานเป็นประจำ โดยเลขานุการบริษทั ฯ ได้จดั ส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระการประชุมและเอกสารประกอบการพิจารณา ในแต่ละวาระก่อนการประชุมล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน เพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มเี วลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมประชุม โดยปกติการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ จะมีขนึ้ ภายหลังจากการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 7 ถึง 10 วัน ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้ รายงานการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบได้ถกู เสนอเข้าไปในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณา และรับทราบ อย่างไรก็ตามในกรณีทกี่ รรมการท่านใดมีขอ้ สงสัยหรือคำถามใด กรรมการท่านนัน้ สามารถสอบถามข้อสงสัยหรือคำถามดังกล่าว ได้โดยตรงกับผูบ้ ริหารบริษทั ฯ ได้ตลอดเวลา ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ทุกครัง้ ได้มกี ารจดบันทึกการประชุมและจัดทำอย่างเป็นลายลักษณ์อกั ษร มีการตรวจสอบ และรับรองรายงานการประชุมดังกล่าวจากคณะกรรมการบริษัทฯ โดยเลขานุการบริษัทฯ เป็นผู้จัดเก็บรายงานการประชุม พร้อมให้คณะ กรรมการบริษทั ฯ และผูท้ เี่ กีย่ วข้องตรวจสอบได้ ปกติการประชุมแต่ละครัง้ จะใช้เวลาประมาณ 2-3 ชัว่ โมง โดยในปี 2551 ทีผ่ า่ นมาคณะกรรมการบริษทั ฯ มีการประชุมตาม วาระปกติจำนวน 4 ครัง้ (ปี 2550: 5 ครัง้ ) และไม่มกี ารประชุมตามวาระพิเศษ (ปี 2550:4 ครัง้ ) โดยการเข้าร่วมประชุมของกรรมการบริษทั ฯ แต่ละท่านสรุปได้ดงั นี ้

44

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


ชื่อกรรมการ

การเข้าร่วมประชุม / การประชุมทั้งหมด (ครั้ง) ปี 2551 ปี 2550 ปี 2550 การประชุมวาระปกติ การประชุมวาระปกติ การประชุมวาระพิเศษ

1 พลเรือเอก ดร.อำนาจ จันทนมัฎฐะ 4/4 5/5 4/4 2 นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม 4/4 5/5 4/4 3 นายมูนรี มอยนูดดิน ฮาชิม 4/4 5/5 4/4 4 นายคูชรู คาลี วาเดีย 4/4 5/5 4/4 5 นายไจปาล มันสุขานี 4/4 5/5 4/4 6 พลตำรวจโท เกียรติศกั ดิ์ ประภาวัต 4/4 5/5 4/4 7 นายชีระ ภาณุพงศ์ 4/4 5/5 4/4 8 นายธีระ วิภชู นิน 4/4 5/5 4/4 9 นายสุพฒั น์ ศิวะศรีอำไพ 4/4 5/5 3/4 10 นางสาวนิชติ า้ ชาห์ 4/4 4/5 4/4 11 นายกิรติ ชาห์* 4/4 3/3 3/3 12 นายปีเต้อร์ เฟ็ดเดอร์เซ่น* 4/4 3/3 3/3 * สำหรับปี 2550 นายกิรติ ชาห์และนายปีเต้อร์ เฟ็ดเดอร์เซ่น ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการในคณะกรรมการบริษทั ฯ ในระหว่างปีและเข้า ร่วมประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ทุกครัง้ นับตัง้ แต่ได้รบั การแต่งตัง้

5.4 การประเมินคณะกรรมการบริษัทฯ

การประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ เมือ่ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2550 ได้มกี ารพิจารณาเรือ่ ง “การประเมินการปฏิบตั งิ านของคณะ กรรมการบริษทั ฯ” (Board Self Assessment) ซึง่ มีหวั ข้อสำหรับการประเมินเป็นไปตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้แก่ ความพร้อมของกรรมการ การกำหนดกลยุทธ์และการวางแผนธุรกิจ การจัดการความเสีย่ งและการควบคุมภายใน การดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การควบคุมดูแลรายงานทางการเงินและการดำเนินงาน การประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ การสรรหา การพิจารณาค่าตอบแทน การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของกรรมการผูจ้ ดั การ ผลการประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ โดยรวมอยู่ในเกณฑ์ที่ดีเลิศและคณะกรรมการบริษัทฯ จะนำผลการ ประเมินที่ได้ไปปรับปรุงการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ ในช่วงเริ่มต้นบริษัทฯ มีความตั้งใจที่จะประเมินการปฏิบัติงานของคณะ กรรมการบริษทั ฯ เป็นประจำทุกปี แต่ได้เปลีย่ นเพือ่ ให้เป็นประโยชน์และมีความหมายมากทีส่ ดุ จึงควรให้มกี ารประเมินการปฏิบตั งิ านของคณะ กรรมการบริษทั ฯ ทุกสองปี ซึง่ การประเมินคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ต่อไปจะมีขนึ้ ในปี 2552

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

45


5.5 ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

5.6 การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร

ค่าตอบแทนผู้บริหารถูกกำหนดขึ้นตามหลักการและนโยบายที่คณะกรรมการบริษัทฯ กำหนดและค่าตอบแทนของกรรมการ บริหารและกรรมการที่บริหารงานเต็มเวลาในบริษัทย่อยจะถูกพิจารณาอนุมัติโดยคณะกรรมการบริษัทฯ โดยพิจารณาจากค่าตอบแทนสำหรับ ตำแหน่งทีเ่ ทียบเท่าในอุตสาหกรรม ฐานะทางการเงินและผลประกอบการของบริษทั ฯ รวมทัง้ ผลการปฏิบตั งิ านของแต่ละคนทีผ่ า่ นมา ตั้งแต่ปี 2550 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้พิจารณาแต่งตั้งและมอบหมายให้คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนกำหนด หลักเกณฑ์ และวิธกี ารพิจารณาค่าตอบแทนสำหรับกรรมการบริษทั ฯ และผูบ้ ริหารเพือ่ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากลและสามารถเทียบเคียง กับค่าเฉลีย่ ของบริษทั จดทะเบียนโดยทัว่ ไปและค่าเฉลีย่ ของกลุม่ บริษทั ในอุตสาหกรรมขนส่งได้ รูปแบบค่าตอบแทนของกรรมการบริหารและผู้บริหารประกอบด้วยเงินเดือน โบนัสและอื่นๆ เช่น ค่าภาษีเงินได้ ค่าเช่าบ้าน และค่าตอบแทนกรรมการกำหนดเป็นเบีย้ ประชุมรายปี ซึง่ ได้รบั การอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ โดยการจ่ายค่าตอบแทนต่างๆ ของกรรมการ และผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ ได้เปิดเผยไว้ในหัวข้อ “การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส” คณะกรรมการบริษัทฯ ให้ความสำคัญต่อการเพิ่มคุณค่าของกรรมการ โดยจัดให้มีการเข้าร่วมกิจกรรมหลักสูตรและเข้าร่วม สัมมนาต่างๆ เพือ่ เป็นการเพิม่ พูนองค์ความรูแ้ ละทันต่อการเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้อมทางธุรกิจอย่างต่อเนือ่ ง โดยกรรมการบริษทั ฯ ทุก ท่าน ได้มกี ารเข้าร่วมสัมมนาหลักสูตรทีส่ ำคัญและเป็นประโยชน์ตอ่ องค์กร เช่น หลักสูตร Director Certification Program (DCP), Director Accreditation Program (DAP) ซึง่ จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ ในกรณีที่มีบุคคลใดได้รับการแต่งตั้งเข้ามาเป็นกรรมการในคณะกรรมการบริษัทฯ โดยการอนุมัติจากผู้ถือหุ้น เลขานุการ บริษทั ฯ จะดำเนินการรายงานและจัดเตรียมเอกสารสำหรับกรรมการใหม่ เช่น คูม่ อื กรรมการ เอกสารการจดทะเบียนบริษทั ฯ คูม่ อื นโยบาย การกำกับดูแลกิจการ คู่มือจริยธรรมธุรกิจและแนวทางปฏิบัติ กฎหมาย ระเบียบ แนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้องในการซื้อขายหุ้นของบริษัทฯ เป็นต้น

46

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) มีนโยบายเพื่อให้มั่นใจว่ามีการเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้องและเพียงพอ ทั้งรายงานทาง การเงินและข้อมูลอืน่ ๆ ทีส่ ำคัญหรือข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจด้วยความโปร่งใสและทันเวลาให้กบั ผูถ้ อื หุน้ นักลงทุนและบุคคลทัว่ ไป ทัง้ นีค้ ณะกรรมการบริษทั ฯ ได้ปฏิบตั ติ ามกฎหมายข้อบังคับและระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องเกีย่ วกับการเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส ซึง่ การดูแลการใช้ขอ้ มูลภายในของบริษทั ฯ ถือว่าเป็นความรับผิดชอบของกรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงานระดับอาวุโสทีจ่ ะต้องดูแล และป้องกัน การรัว่ ไหลของข้อมูลทีเ่ ป็นความลับและข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชน์ของบริษทั ฯ อย่างเคร่งครัด รวมถึงข้อมูลทีย่ งั ไม่เปิดเผยต่อสาธารณะ หรือข้อมูล ที่มีผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจหรือราคาหุ้น อีกทั้งการใช้ข้อมูลของบริษัทฯ ที่ได้มาจากการเป็นกรรมการ ผู้บริหารหรือพนักงาน ในการ หาประโยชน์สว่ นตนหรือในเรือ่ งการทำธุรกิจทีแ่ ข่งขันกับบริษทั ฯ หรือธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง ซึง่ บริษทั ฯ ได้กำหนดเป็นนโยบาย และแนวทางปฏิบตั ิ ไว้ในคูม่ อื จริยธรรมธุรกิจและแนวทางปฏิบตั ทิ ดี่ ขี องบริษทั ฯ ซึง่ ได้เผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ ภายใต้หวั ข้อ การกำกับดูแลกิจการ ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 กำหนดให้ กรรมการ ผูบ้ ริหาร คูส่ มรส และบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่ง กรรมการ และผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ ได้ปฏิบตั ติ ามทัง้ หมด นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ได้กำหนดให้กรรมการบริหารซึง่ เป็นพนักงานประจำของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ไม่สามารถซือ้ ขาย/โอนหุน้ ของบริษทั ฯ ในช่วง 3 สัปดาห์กอ่ นการเปิดเผยงบการเงินสำหรับปีทตี่ รวจสอบแล้วต่อสาธารณชน และ 2 วัน หลังเปิดเผยงบดังกล่าวแล้ว (และ 2 สัปดาห์ ก่อนการเปิดเผยงบการเงินรายไตรมาสทีส่ อบทานแล้วต่อสาธารณชน) และอย่างน้อย 3 วัน ก่อนการเปิดเผยรายการสำคัญต่อสาธารณะ และฝ่ายบริหารได้ถกู ขอให้ความร่วมมือปฏิบตั นิ โยบายนีอ้ ย่างเคร่งครัด โดยระหว่างปีทผี่ า่ น มา ฝ่ายบริหารได้ปฏิบตั ติ ามนโยบายดังกล่าว

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

47


การควบคุมภายใน บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) ตระหนักถึงความสำคัญของระบบการควบคุมภายในในระดับปฏิบตั กิ าร เพือ่ ให้ความมัน่ ใจ ว่า มีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพียงพอกับระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้และเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของงานหรือกิจกรรมของ หน่วยงานนัน้ ๆ โดยฝ่ายตรวจสอบภายในทำหน้าทีต่ ดิ ตามการปฎิบตั ติ ามการควบคุมภายในอย่างสม่ำเสมอ เพือ่ ปรับปรุงให้มาตรการควบคุม ต่างๆ มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ สิ่งแวดล้อมและความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไป บริษัทฯ จึงมีการจัดการระบบการควบคุมภายใน ให้เทียบเคียงกับมาตรฐานสากลหรือ COSO (The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission) ดังรายละเอียดต่อไปนี ้

1. สภาพแวดล้อมการควบคุม (Control Environment)

2. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)

3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities)

4. สารสนเทศและการสื่อสาร (Information & Communication)

บริษัทฯ ให้ความสำคัญเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในการทำงานจึงกำหนดให้จัดทำคู่มือนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี และคู่มือ จริยธรรมธุรกิจ และแนวทางปฏิบัติของบริษัทฯ ขึ้นอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้พนักงานทุกคนได้ตระหนักและยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ เนื่องจากบริษัทฯ ตระหนักเป็นอย่างดีว่าการทำงานภายใต้สภาพแวดล้อมการควบคุมที่ดีนั้นจะส่งผลให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล และก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั ฯ รวมทัง้ ผูท้ เี่ กีย่ วข้องทุกฝ่าย บริษทั ฯ ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญของการประเมินความเสีย่ งว่าเป็นเครือ่ งมือทีบ่ ง่ บอกล่วงหน้า ถึงสัญญาณอันตรายทีอ่ าจ สร้างความเสียหายให้แก่บริษทั ฯ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงกำหนดให้มกี ารประเมินความเสีย่ งออกเป็น 2 ระดับเป็นประจำทุกปี คือ 1) ความเสีย่ งใน ระดับองค์กรซึ่งกำกับดูแลโดยผู้บริหารระดับสูงและ 2) ความเสี่ยงในระดับกิจกรรมซึ่งเป็นความรับผิดชอบร่วมกันระหว่าง ฝ่ายตรวจสอบ ภายใน และผู้ปฏิบัติงานทุกฝ่าย ความเสี่ยงในระดับองค์กรได้ถูกเปิดเผยไว้แล้วในรายงานประจำปีนี้ ส่วนความเสี่ยงในระดับกิจกรรมนั้นจะ เป็นการประเมินร่วมกันระหว่างฝ่ายตรวจสอบภายใน ซึง่ มีความเป็นอิสระกับผูป้ ฏิบตั งิ านในแต่ละกิจกรรมซึง่ มีความชำนาญการและเข้าใจเป็น อย่างดีถึงกระบวนการทำงาน ทั้งนี้เพื่อให้ผลการประเมินความเสี่ยงในกิจกรรมต่างๆ ได้สะท้อนถึงความเสี่ยงที่แท้จริง ที่อาจกระทบต่อการ ดำเนินงานของบริษทั ฯ และนำเสนอผลการประเมินนีต้ อ่ ผูบ้ ริหารระดับสูงและคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาและเพือ่ ให้บริษทั ฯสามารถ กำหนดกลไกการควบคุมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม การประเมินความเสี่ยงดังกล่าวข้างต้นจะดำเนินการควบคู่พร้อมกับการประเมินกลไกการควบคุมเพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯ มีการจัด วางระบบการควบคุมทีค่ รบถ้วน เพียงพอ และเหมาะสมสอดคล้องกับความเสีย่ งต่างๆ ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ทัง้ นีเ้ พือ่ เป็นการลดและกระจายความ เสีย่ งต่างๆ ให้สง่ ผลกระทบต่อการดำเนินงานของบริษทั ฯ น้อยทีส่ ดุ รวมทัง้ เพือ่ ให้การดำเนินงานของบริษทั ฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล ในด้านการควบคุมด้านการบริหาร กรรมการผู้จัดการใหญ่ได้กระจายอำนาจและมอบอำนาจให้ผู้บริหารตามหน้าที่ความรับผิด ชอบของหน่วยต่างๆ อย่างชัดเจน ทำให้เกิดความคล่องตัวและชัดเจนในการปฏิบตั งิ านทีส่ ามารถตรวจสอบกันได้ โดยบริษทั ฯ ได้แบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบให้ 4 หน่วยงานหลักเพือ่ ตรวจสอบ ควบคุม และกำกับดูแลให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายและข้อกำหนดต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง อย่างเคร่งครัด ได้แก่ แผนกเลขานุการบริษทั และปฎิบตั กิ ารตามระบบ แผนกตรวจสอบภายใน แผนกบัญชีและการเงิน และแผนกตรวจสอบ และบริหารความปลอดภัยเรือ บริษทั ฯ ให้ความสำคัญเกีย่ วกับความถูกต้อง เชือ่ ถือได้และทันเวลาของข้อมูลสารสนเทศต่างๆ ทัง้ นี้ เพือ่ ให้การตัดสินใจเรือ่ งต่างๆ เป็นไปอย่างถูกต้อง แม่นยำ และรวดเร็วโดยจัดให้มีช่องทางการสื่อสารทั้งภายในและภายนอกบริษัทฯ อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ สำหรับการติดต่อสื่อสารภายในบริษัทฯ จะผ่านระบบ Intranet พนักงานในทุกระดับชั้นรวมทั้งผู้บริหารระดับสูงสามารถเข้าถึงกันได้อย่าง สะดวก รวดเร็ว เพื่อให้การประสานการทำงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลและบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ สำหรับการติดต่อกับ บุคคลภายนอก เช่น นักลงทุน เป็นต้น บริษัทฯ มีช่องทางการติดต่อสื่อสารผ่านช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลต่างๆ ของตลาดหลักทรัพย์ เว็บไซต์ของบริษทั ฯ รวมทัง้ ผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ เองก็พร้อมทีจ่ ะตอบข้อซักถามในประเด็นต่างๆ จากนักลงทุนรวมทัง้ ผูม้ สี ว่ นได้เสียอืน่ ๆ

48

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


5. การติดตามและประเมินผล (Monitoring & Evaluation)

บริษทั ฯ กำหนดมาตรการในการติดตามและประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ดังรายละเอียดต่อไปนี ้

ระดับการประเมิน ผู้ติดตามและประเมินผล

พนักงาน หัวหน้าแผนก ผูบ้ ริหารระดับสูง

หัวหน้าแผนก ผูบ้ ริหารระดับสูง คณะกรรมการบริษทั ฯ

ความถี่ของการติดตาม และประเมินผลการทำงาน (ต่อปี)

อย่างน้อย 1 ครัง้ อย่างน้อย 1 ครัง้ อย่างน้อย 4 ครัง้

ผลจากการติดตามและการประเมินที่ได้จะถูกนำไปกำหนดเป็นแผนเชิงกลยุทธ์เพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ยิ่งขึ้น นอกจากนี้ บริษัทฯ มีฝ่ายตรวจสอบภายในเป็นหน่วยงานในการติดตามและประเมินผลการควบคุมภายใน เพื่อรายงานต่อคณะ กรรมการตรวจสอบ ทัง้ นีผ้ ลการประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในประจำปี 2551 ได้รายงานไว้ภายใต้หวั ข้อ “รายงานคณะ กรรมการตรวจสอบ” ในรายงานประจำปีน ี้

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

49


รายงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม บริษทั ฯ มีความมุง่ มัน่ ดำเนินธุรกิจภายใต้หลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี มีเจตนารมณ์ทจี่ ะดำเนินธุรกิจอย่างมีคณุ ธรรม ควบคูไ่ ปกับ การมีสว่ นร่วมรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม บริษทั ฯ ตระหนักดีวา่ การทีบ่ ริษทั ฯ มีเรือเดินทะเล 43 ลำ เดินเรืออยูท่ วั่ โลกและเรือได้ถอื ธงสัญชาติไทยนัน้ ซึง่ เป็นเสมือนตัวแทนของประเทศ จึงเป็นหน้าทีข่ องบริษทั ฯ ทีจ่ ะต้องปฏิบตั ติ ามข้อบังคับต่างๆ อย่างเคร่งครัด บริษทั ฯ กำหนดให้ความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นเรือ่ งทีส่ ำคัญ ซึง่ บริษทั ฯ ได้บญั ญัตเิ รือ่ งดังกล่าวไว้ในพันธกิจ และภารกิจของบริษทั นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ได้จดั สรรงบประมาณไว้รอ้ ยละ 0.50 ของกำไรสุทธิประจำปีให้กบั การทำกิจกรรมทางสังคม ซึง่ งบประมาณดังกล่าวจะถูก สะสมและมีจำนวนขัน้ ต่ำ 1.75 ล้านบาท และไม่เกิน 25 ล้านบาทต่อปี สำหรับการเบิกใช้งบประมาณดังกล่าวจะพิจารณาโดยผูบ้ ริหารระดับสูง และนำเสนอรายงานให้คณะกรรมการบริษทั ฯ รับทราบภายในช่วงเวลาทีก่ ำหนดไว้หรืออย่างน้อยปีละหนึง่ ครัง้

พันธกิจและภารกิจที่สำคัญของบริษัทฯ มีดังต่อไปนี้

พันธกิจของบริษัทฯ s เป็นบริษท ั เรือทีไ่ ด้รบั ความไว้วางใจสูงสุดในโลกและให้บริการดีทสี่ ดุ และเป็นทางออกสำหรับการขนส่งสินค้าแห้งเทกองระหว่าง ประเทศ ภารกิจที่สำคัญ s บริษัทจะดำเนินธุรกิจทั้งหมดโดยยึดหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งส่วนหนึ่งในการกำกับดูแลกิจการนั้นบริษัทมีคู่มือการ กำกับดูแลกิจการและบริษทั ได้ปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครัด s บริษท ั จะให้บริการลูกค้าอย่างมีประสิทธิภาพ เชือ่ ถือได้ และให้บริการอย่างมืออาชีพ s บริษท ั จะปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องและปฏิบตั ติ ามมาตรฐานความปลอดภัยสูงสุดในการจัดการเรือของ บริษทั เพือ่ ไม่ให้มหี รือให้มนี อ้ ยทีส่ ดุ ในเรือ่ งการบาดเจ็บ การเสียชีวติ ของลูกเรือ รวมทัง้ การทำลายสิง่ แวดล้อม

เยี่ยมชมศูนย์ฝึกบุคลากรด้านการเดินเรือ บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) หรือ “พีเอสแอล” ได้จัดให้คณะผู้สอบบัญชีจาก บริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด เข้า เยีย่ มชมศูนย์ฝกึ บุคลากรด้านการเดินเรือ จากภาพคณะผู้เยี่ยมชมได้ทดลองการใช้ งานหอบังคับการเดินเรือจำลอง

50

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


สนับสนุนกิจกรรมวันเด็ก บริษัทพรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) (โดย พลเรือเอก ดร.อำนาจ จันทนมัฎฐะ ประธานกรรมการบิษัท) มอบเงิน 40,000 บาท แก่ ยุ ว มุ ส ลิ ม บ้ า นปากลั ด อำเภอพระประแดง จั ง หวั ด สมุทรปราการ เพือ่ สนับสนุนอุปกรณ์การเรียนและทุนการศึกษาในงาน กิจกรรมวันเด็กทีจ่ ดั ขึน้ ในวันที่ 19 มกราคม 2551

บริษทั จะพยายามสร้าง รักษาไว้ และเพิม่ พูนมูลค่าของกิจการในระยะยาวเพือ่ ผูถ้ อื หุน้ s บริษท ั จะดำเนินงานด้วยความโปร่งใส ซือ่ สัตย์ และเชือ่ ถือได้เพือ่ ประโยชน์สงู สุดแก่ผมู้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่าย s บริษัทจะจัดให้มีสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนและให้รางวัลในการทำงานสำหรับพนักงานทุกคนเพื่อเปิดโอกาสให้พนักงานมีการ พัฒนาความสามารถและการเติบโตในองค์กร กิจกรรมทางสังคมของบริษัทฯ เกี่ยวข้องกับส่วนต่างๆ ได้แก่ 1. ลูกค้าของบริษัทฯ 2. การปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกำหนดที่ เกีย่ วข้อง 3. ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของพนักงาน 4. การป้องกันและพิทกั ษ์สงิ่ แวดล้อม และ 5. ชุมชนและสังคม บริษทั ฯ เชือ่ ว่า ความสำเร็จจากการทำกิจกรรมทางสังคมในทุกส่วนจะเป็นพืน้ ฐานทีย่ งั่ ยืนทีจ่ ะช่วยให้บรรลุพนั ธกิจของบริษทั ฯ 1. ลูกค้า: บริษัทฯ ตระหนักเป็นอย่างดีว่าการประสบความสำเร็จของอุตสาหกรรมเรือเดินทะเลซึ่งเป็นการขนส่งสินค้าจากแหล่ง

ผูผ้ ลิตส่งต่อไปยังแหล่งผูบ้ ริโภคนัน้ ขึน้ อยูก่ บั การเพิม่ มูลค่าให้กบั ลูกค้า ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของความรับผิดชอบของบริษทั ฯ บริษทั ฯ ตระหนักถึง การตอบข้อสงสัยของลูกค้าอย่างละเอียดโดยทันทีภายใต้การปฏิบตั งิ านตามข้อตกลงในสัญญาตลอด 24 ชัว่ โมง และไม่มวี นั หยุดในการทำงาน บนเรือ ในการดำเนินธุรกิจตามสัญญาเมือ่ ลูกค้าประสบเหตุการณ์หรือปัญหาใดๆ ก็ตาม บริษทั ฯ จะพยายามแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ นัน้ ถึงแม้วา่ เรือของบริษทั ฯ จะไม่เกีย่ วข้องกับสถานการณ์ดงั กล่าวก็ตาม ทางบริษทั ฯ ยินดีทจี่ ะรายงานว่าการให้บริการลูกค้าของเรานัน้ ได้รบั การตอบรับ อย่างดี ดังตัวอย่างทีไ่ ด้รบั การแจ้งกลับมาทางลูกค้า เช่น

s

“เรือของบริษัทฯ มีอายุการใช้งานที่เหมาะสม มีการดูแลรักษาเป็นอย่างดี และมีสภาพที่ดี” “เราขอขอบคุณเจ้าของเรือสำหรับความร่วมมือที่ดีและเรารู้สึกพอใจเป็นอย่างมากที่ ได้ร่วมงานกับคุณ” เป็นต้น

การจัดการฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ใหม่: บริษทั ฯ ปรับปรุงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ใหม่ซงึ่ ครอบคลุมทุกการปฏิบตั งิ านในสำนักงานใหญ่ และเชือ่ มต่อกับกองเรือของบริษทั ฯ โปรแกรมคอมพิวเตอร์นใี้ ห้ขอ้ มูลแบบทันทีเกีย่ วกับการปฏิบตั งิ านบนเรือ รวมถึงแสดงต้นทุนทีเ่ กิดขึน้ และ ข้อมูลอื่นๆ ในทันที และช่วยให้สำนักงานใหญ่สามารถติดต่อกับกัปตันเรือทุกคนบนเรือทุกลำได้อย่างใกล้ชิด ทำให้การตัดสินใจเมื่อเกิด เหตุการณ์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ดังกล่าวยังช่วยให้บริษัทฯ สามารถให้บริการลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น และ สนับสนุนให้การทำงานระหว่างพนักงานในสำนักงานใหญ่กบั กองเรือมีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ ด้วย รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

51


2. การปฏิบัติตามกฎข้อบังคับและอนุสัญญาต่างๆ: ดังที่ได้กล่าวไว้ในตอนต้นกองเรือของบริษัทฯ ส่วนใหญ่ถือธงสัญชาติไทย บริษัทฯ จึงพยายามเพื่อปกป้องและรักษาไว้ซึ่งชื่อเสียงของประเทศไทย บริษัทฯ มีความพยายามที่จะรักษาความน่าเชื่อถือของประเทศไทย โดยเรือทุกลำของบริษัทฯ มีมาตรการความปลอดภัยตามข้อบังคับระเบียบปฏิบัติที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วไปดังเช่นหนึ่งในอนุสัญญาที่ต้อง ปฏิบตั ิ คือ ISM Code ซึง่ มีรายละเอียดดังนี ้ ประมวลกฎระเบียบเกีย่ วกับการจัดการเพือ่ ความปลอดภัยระหว่างประเทศ (ISM Code) การเรียนรูจ้ ากประสบการณ์ เหตุการณ์ทาง ทะเลตลอดหลายปีที่ผ่านมา ได้นำมาซึ่งประมวลกฎระเบียบเกี่ยวกับการจัดการเพื่อความปลอดภัยระหว่างประเทศ International Safety Management Code หรือ ISM Code และได้ถูกเผยแพร่โดยองค์กรการเดินเรือระหว่างประเทศในการส่งเสริมการรักษาความปลอดภัย สำหรับการดำเนินงานของเรือเดินทะเลและการป้องกันมลพิษต่างๆ ในเดือนกรกฎาคม 2541 ISM Code ได้กลายเป็นข้อบังคับสำหรับเรือ ขนส่งผู้โดยสาร เรือบรรทุกน้ำมัน และเรือที่มีความเร็วสูง ซึ่งบริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามข้อกำหนดต่างๆ และได้รับการรับรองตั้งแต่ปี 2538 ประมวลกฎข้อบังคับนีถ้ กู นำไปใช้บนเรือและทีส่ ำนักงาน มีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ให้เป็นมาตรฐานสากลของการบริหารความปลอดภัย และการเดิน เรือ รวมทัง้ การป้องกันมลพิษ โดยวัตถุประสงค์ทวั่ ไปของ ISM Code มีดงั นี ้ 1. เพือ่ ให้เกิดความปลอดภัยในการเดินเรือ 2. เพือ่ ป้องกันการบาดเจ็บและสูญเสียชีวติ 3. เพือ่ หลีกเลีย่ งการกระทำความเสียหายต่อสิง่ แวดล้อม การตรวจสอบภายในบนเรือประจำปีไม่ได้เจาะจงเฉพาะการสอบทานการปฏิบตั ติ าม ISM Code เท่านัน้ แต่ยงั รวมถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ของบริษทั ฯ อีกด้วย การตรวจสอบจะถูกดำเนินการโดยทีมงานทีม่ คี ณุ สมบัตแิ ละประสบการณ์ทเี่ หมาะสม และผูต้ รวจสอบ ภายในบนเรือจะรายงานผลการปฏิบัติงานต่อกรรมการผู้จัดการโดยตรง ในกรณีที่เกิดการไม่ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ที่ เกีย่ วข้องหรืออุบตั เิ หตุตา่ งๆ จะถูกนำไปสืบสวนและวิเคราะห์เพือ่ หาสาเหตุ ขัน้ ตอนการดำเนินงานต่างๆ จะถูกนำมาทบทวนทันที มาตรการ การป้องกันจะถูกกำหนดและนำไปปฏิบตั ใิ ช้ทงั้ กองเรือของบริษทั ฯ เพือ่ หลีกเลีย่ งการเกิดขึน้ ซ้ำอีกครัง้ นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ยังได้กำหนดให้มกี าร ประเมินจุดแข็ง จุดอ่อน และทิศทางของระบบต่างๆ ทีจ่ ะมีขนึ้ ในอนาคต และการวิเคราะห์ผลการไม่ปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบ และข้อบังคับ ต่างๆ ประจำปี รวมทัง้ การจัดประเภทของการไม่ปฏิบตั ติ ามดังกล่าวออกเป็นหมวดหมูอ่ ย่างชัดเจน เช่น จำนวนผูไ้ ด้รบั บาดเจ็บ เครือ่ งยนต์ เสียหาย สินค้าเสียหาย การเกยตืน้ เป็นต้น สิง่ เหล่านีจ้ ะถูกนำมาวิเคราะห์ ซึง่ ผลของการวิเคราะห์ปญั หาทีเ่ กิดซ้ำๆ จะถูกหยิบยกขึน้ ขัน้ ตอน

ทุนการศึกษาแก่นักศึกษามหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร์ บริ ษ ั ท พรี เ ชี ย ส ชิ พ ปิ ้ ง จำกั ด (มหาชน) (โดย มร. โคคา วี. สุดาการ์ ผู้อำนวยการฝ่ายบริหาร กองเรื อ ) มอบทุ น การศึ ก ษามู ล ค่ า 165,000 บาท แก่นักศึกษาวิทยาลัยพาณิชย์นาวีนานาชาติมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่าย ด้านการศึกษาสาขาการเดินเรือ

52

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


การดำเนินงานต่างๆ จะถูกนำมาทบทวน และมาตรการการป้องกันจะถูกนำมาใช้ เหล่านี้จะช่วยพัฒนาระบบการบริหารความปลอดภัย (Safety Management System) ให้ดขี นึ้ อย่างต่อเนือ่ ง บทเรียนต่างๆ ทีไ่ ด้จากการเรียนรูจ้ ากอุบตั เิ หตุตา่ งๆ และความผิดพลาดเล็กๆ น้อยๆ ทีเ่ กิดขึน้ จะถูกถ่ายทอดโดยบริษทั เดินเรือต่างๆ ผ่าน Marine Accident Reporting Scheme (MARS) เพือ่ ผลประโยชน์ของอุตสาหกรรมเรือ และทำให้ความปลอดภัยของการเดินเรือโดยทัว่ ไปสูงขึน้ บริษทั ฯ รูส้ กึ เป็นเกียรติอย่างยิง่ ทีไ่ ด้รบั จดหมายขอบคุณจาก The Nautical Institute กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ สำหรับการเสนอ รายงานเหตุการณ์จากการเดินเรือของบริษทั ฯ ซึง่ ส่วนหนึง่ ของข้อความในจดหมายดังกล่าว มีดงั ต่อไปนี ้ “รายงานทีบ่ ริษทั ฯ นำเสนอข้อมูลต่างๆ สามารถนำไปใช้ในอุตสาหกรรมการเดินเรือทัว่ โลก เป็นบทเรียนทีเ่ ป็นทางการ การสือ่ สาร เกี่ยวกับความปลอดภัย และการพัฒนาบุคลากรให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ การเรียนรู้ การปรับปรุงการดำเนินงาน และการมีความปลอดภัยใน สิง่ แวดล้อม ความร่วมมือของบริษทั ฯ ทีแ่ สดงไว้ในรายงานการเดินเรือนี้ จะเป็นหลักฐานทีแ่ สดงว่า บริษทั ฯ มีการจัดการทีม่ คี ณุ ภาพ และมีความ รับผิดชอบต่อสังคมอย่างสูงสุด ตัวอย่างเช่น บริษัทฯ ปฏิบัติตามประมวลกฎระเบียบเกี่ยวกับการจัดการเพื่อความปลอดภัยระหว่างประเทศ (ISM Code), มาตรฐานของ ISO (ISOrequirements) และการริเริม่ ใช้ Tanker Management Self Assessment (TMSA) The Nautical Institute ขอแสดงความขอบคุณอย่างจริงใจต่อบริษทั ฯ อีกครัง้ สำหรับความร่วมมือในการนำเสนอรายงานดังกล่าว และจะคอยติดตามการปรับปรุงด้านการรักษาความปลอดภัยในอุตสาหกรรมการเดินเรือต่อไป” 3. พนักงาน: ความปลอดภัย และอาชีวอนามัย: บริษทั ฯ ตระหนักเป็นอย่างดีวา่ การเคารพในสิทธิมนุษยชนเป็นรากฐานของการ พัฒนาทรัพยากรบุคคล ซึง่ เป็นการเพิม่ มูลค่าให้กบั ธุรกิจ นอกจากนีท้ รัพยากรบุคคลเป็นปัจจัยหลักในการสร้างความสำเร็จทางธุรกิจและเพิม่ มูลค่าให้กบั บริษทั ฯ ในทุกๆ ด้าน เป็นนโยบายของบริษทั ฯ ทีจ่ ะสนับสนุนกิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมสุขอนามัยและความปลอดภัยของพนักงาน ดังนัน้ การดำเนินงานของบริษทั ฯ และพนักงานจะสนับสนุนความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของสิง่ อืน่ ๆ ด้วย บริษทั ฯ ให้ความสำคัญต่องานด้าน สุขภาพ และความปลอดภัยเท่าเทียมกับงานเชิงพาณิชย์ และงานด้านการปฏิบตั งิ าน และเห็นว่าเป็นความรับผิดชอบของผูบ้ ริหาร กล่าวคือ ความรับผิดชอบเกี่ยวกับสุขภาพ และความปลอดภัยของลูกเรือมีความชัดเจนและกำหนดเป็นสัดส่วน โดยมีจุดมุ่งหมายว่าอุบัติเหตุนั้น สามารถป้องกันได้โดยการจัดการความเสีย่ ง

พีเอสแอล ร่วมมอบเหรียญทองแก่นกั เรียนข องศูนย์ฝึกพาณิชยนาวีที่มีผลการเรียนดี บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) (โดย มร. โคคา วี. สุดาการ์ ผูอ้ ำนวยการฝ่ายบริหาร กองเรือ) มอบเหรียญทองแก่นักเรียนของศูนย์ฝึก พาณิชยนาวี ประเทศไทย ทีม่ ผี ลการเรียนดีเด่น โดย การมอบรางวัลดังกล่าวมีเป็นประจำทุกปี นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 เป็นต้นมา

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

53


พีเอสแอลมอบตำราวิชาการเดินเรือเพื่อใช้ในการเรียนการสอน ของศูนย์ฝึกพาณิชยนาวี บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (โดย มร. โคคา วี. สุดาการ์ ผูอ้ ำนวยการฝ่ายบริหารกองเรือ) มอบตำราวิชาการแก่ คุณอารีย์ พิจติ รกล้าเอีย่ ม ผู้อำนวยการส่วนการศึกษา ศูนย์ฝึกพาณิชยนาวีเพื่อนำไปใช้ในการเรียน การสอนภายในศูนย์ฝกึ

บริษัทฯ ได้กำหนดนโยบายเกี่ยวกับยาเสพติดและการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของ OCIMF ในเรื่อง “คำแนะนำสำหรับการควบคุมยาเสพติดและเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์บนเรือ” ซึ่งรายละเอียดจะระบุอยู่ในคู่มือระบบการจัดการ เพื่อความ ปลอดภัย บนเรือทุกลำรวมทัง้ ประกาศให้พนักงานทุกคนรับทราบ ลูกเรือแต่ละคนต้องได้รับการพักผ่อนที่เพียงพอซึ่งถือว่าเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อหลีกเลี่ยงความเหนื่อยล้า และความตึงเครียด ซึ่งอาจมี ส่วน เกีย่ วข้องกับการเกิดอุบตั เิ หตุบนเรือ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงปฏิบตั ติ ามข้อกำหนดเกีย่ วกับเวลาการพักผ่อนอย่างน้อยทีส่ ดุ ตามอนุสญั ญาระหว่าง ประเทศ ว่าด้วยการฝึกอบรม การออกประกาศนียบัตรและการเข้ายามสำหรับคนบนเรือ ค.ศ. 1995 (STCW 95) และอนุสญั ญาองค์การแรงงาน ระหว่างประเทศ 180 บริษทั ฯ จัดระบบเวชกรรมทีเ่ หมาะสมในระดับทีส่ งู กว่ามาตรฐานของ International Labor Organization (ILO) รวมทัง้ ข้อบังคับ อืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ ทำให้บริษทั ฯ ประสบปัญหากรณีลกู เรือล้มป่วยน้อยมาก การทำงานเป็นทีม: บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ และรับผิดชอบด้านการบริหารการ เดินเรือ สำหรับกองเรือทั้งหมดของบริษัทฯ โดยเจ้าหน้าที่ทุกคนมีการทำงานเป็นทีมและจัดให้มีการประสานงานที่ดีซึ่งช่วยทำให้บริษัทฯ ประสบความสำเร็จในการบริหารการเดินเรือ บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด ยังได้รบั ประกาศนียบัตรของ ISM Code และการ รับรองมาตรฐานคุณภาพ ISO 9001:2000 ด้วย การฝึกอบรมและการพัฒนา: ตลอดหลายปีทผี่ า่ นมา บริษทั ฯ ไม่เพียงแต่มกี ารฝึกอบรมในด้านความชำนาญด้านการบริหารการเดิน เรือเท่านัน้ แต่ยงั ได้มกี ารพัฒนาด้านคุณภาพและความสามารถของพนักงานทัง้ บนเรือและทีส่ ำนักงานอีกด้วย ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ เห็นว่าบริษทั ฯ จะ สามารถประสบความสำเร็จตามเกณฑ์คณุ ภาพและความปลอดภัยในการเดินเรือได้ดว้ ยการอุทศิ ตนและความซือ่ สัตย์ของลูกเรือ ผูจ้ ดั การฝ่าย ต่างๆ และฝ่ายตรวจสอบบนเรือ บริษทั ฯ จึงมีนโยบายทีจ่ ะสนับสนุนและส่งเสริมความรูค้ วามสามารถและประสิทธิภาพของคนประจำเรือและ ให้โอกาสพวกเขาได้มคี วามก้าวหน้าในองค์กรต่อไป พนักงานประจำเรือทุกนาย (ระดับ Officer) ของบริษทั ฯ ถูกกำหนดให้เข้าร่วมฟังการบรรยายสรุป ณ สำนักงานใหญ่ของบริษทั ฯ กรุงเทพฯ ก่อนที่จะถูกมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่บนเรือของบริษัทฯ พนักงานประจำเรือจะได้รับข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ที่เป็นปัจจุบัน อย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะกฎระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง และบ่อยครัง้ ทีพ่ นักงานประจำเรือจะถูกส่งไปอบรมเพือ่ เพิม่ เติมความรูแ้ ละ ประสบการณ์ โดยบริษทั ฯ จะเป็นผูร้ บั ผิดชอบด้านค่าใช้จา่ ยทัง้ หมดทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ยังมีการฝึกอบรมโดยนำโปรแกรมวีดที ศั น์ เกีย่ วกับความปลอดภัยบนเรือทีด่ มี าใช้อกี ด้วย

54

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


เพือ่ ให้เกิดแรงจูงใจต่อพนักงานประจำเรือใหม่ และให้เกิดการเรียนรูต้ ลอดเวลาทีป่ ระจำการบนเรือ บริษทั ฯ จึงกำหนดให้นายประจำ เรืออาวุโสทำกิจกรรมร่วมกัน และเพือ่ ทดสอบวัดระดับความสามารถ บริษทั ฯ ได้จดั หาคอมพิวเตอร์สำหรับวัดระดับความสามารถไว้ประจำบน เรือ โดยผลของการทดสอบดังกล่าวทำให้พนักงานประจำเรือสามารถทราบจุดอ่อนของตนเองและกำหนดแนวทางแก้ไขเพือ่ ปรับปรุงจุดอ่อนดัง กล่าวต่อไป ศูนย์ฝกึ อบรมการเดินเรือทะเลและหอบังคับการเดินเรือจำลอง: บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ ศูนย์ฝกึ อบรมการเดินเรือทางทะเลและหอบังคับการ เดินเรือจำลอง ณ สำนักงานใหญ่ กรุงเทพฯ โดยศูนย์ฝกึ อบรมดังกล่าวของบริษทั ฯ ได้เปิดให้ใช้งานได้อย่างสมบูรณ์ในเดือนมีนาคม 2551 โดย สิง่ เหล่านีจ้ ะเป็นการวางรากฐานทีม่ นั่ คงของกระบวนการฝึกอบรมต่างๆ ของบริษทั ฯ และสามารถทำให้ทงั้ พนักงานและลูกเรือได้มกี ารพัฒนา เรือ่ งของการดำเนินการเดินเรือทะเลอย่างทันสมัย สำหรับหอบังคับการเดินเรือจำลองจะถูกสร้างให้เหมือนหอบังคับการจริงของเรือ โดยสร้าง สถานการณ์ขณะนำเรือเข้าสูท่ า่ เรือหลัก เพือ่ ให้พนักงานและลูกเรือได้เห็นภาพและเข้าใจระบบการนำเรือเข้าเทียบท่า สิง่ เหล่านีเ้ ป็นก้าวทีส่ ำคัญ ของบริษทั ฯ ทีจ่ ะดำเนินการฝึกอบรมให้พนักงานและลูกเรือมีการดูแลตัวเองทีด่ แี ละดูแลเรือทีต่ อ้ งประจำการ ทัง้ หมดนีค้ อื ความมุง่ หมายเพือ่ ให้ มัน่ ใจในความปลอดภัยของลูกเรือ และเป็นการป้องกันอุบตั เิ หตุและเป็นการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมด้วย 4. การปกป้องและพิทกั ษ์สงิ่ แวดล้อม: บริษทั ฯ ตระหนักดีวา่ การดำเนินงานของธุรกิจเดินเรือถ้าขาดความรับผิดชอบแล้วอาจมีผล กระทบต่อสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิง่ มลพิษทางน้ำและ/หรือมลพิษทางอากาศ สำหรับนโยบายการป้องกันรักษาสิง่ แวดล้อม บริษทั ฯ ได้ให้ความสำคัญเพื่อการป้องกันและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และจัดระดับความสำคัญของการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้เทียบเท่ากับแผนการดำเนิน งานทางด้านการพาณิชย์ และการปฏิบตั งิ าน การดำเนินงานด้านสิง่ แวดล้อมเพือ่ ให้เป็นไปตามนโยบายดังกล่าว มีดงั นี ้ s สนับสนุนวิธีการและการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายที่ใช้ในปัจจุบัน รวมทั้งข้อกำหนดและวิธีปฏิบัติ ของอุตสาหกรรม s เพิม ่ เติมมาตรการใดๆ เพือ่ ปรับปรุงคุณภาพของสิง่ แวดล้อม s การอธิบายทิศทางการจัดการของบริษท ั ฯ ด้านสิง่ แวดล้อมทีช่ ดั เจน เพือ่ จูงใจให้พนักงานได้ปฏิบตั กิ ารเกีย่ วกับสิง่ แวดล้อมด้วย ความรูส้ กึ รับผิดชอบ s ออกแบบและดำเนินการเกี่ยวกับเรือให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อกระทบต่อสิ่งแวดล้อมให้น้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ และ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าการทิง้ ของเสียใดๆ ได้กระทำภายใต้ขอ้ กำหนดอย่างเคร่งครัด s จัดทำแผนฉุกเฉินให้สอดคล้องกับกฎหมาย และการปฏิบต ั ทิ ดี่ ี s ให้ความรูแ ้ ละอำนาจหน้าทีท่ เี่ หมาะสมกับพนักงาน เพือ่ จัดการเกีย่ วกับการดำเนินการต่อสิง่ แวดล้อม s ควบคุมและดูแลการดำเนินการต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อแน่ใจว่าได้มีการนำนโยบายไปใช้ปฏิบัติและเป็นไปตามความต้องการของ กฎหมาย บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามข้อบังคับเพือ่ การอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมของอนุสญั ญาระหว่างประเทศต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องดังต่อไปนี ้ s อนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้วยการป้องกันมลภาวะจากเรือ (MARPOL) ซึง่ อนุสญั ญาดังกล่าวได้ถกู แบ่งออกเป็น 6 เรือ่ ง คือ 1. การป้องกันมลพิษจากน้ำมัน 2. การควบคุมมลพิษจากสารเคมีเหลว 3. การป้องกันมลพิษจากสารอันตรายทีบ่ รรจุหบี ห่อหรือตูค้ อนเทนเนอร์หรือถังบรรจุ 4. การป้องกันมลพิษจากน้ำเสียของเรือ 5. การป้องกันมลพิษจากขยะของเรือ 6. การป้องกันมลพิษทางอากาศจากเรือ s อนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้วยการจัดการน้ำบัลลาสถ่วงเรือ (BWM) s อนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้วยการควบคุมคุณภาพของสีทาตัวเรือ (AFS) รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

55


บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) ลงนาม บันทึกความร่วมมือเพื่อพัฒนาบุคลากรด้าน พาณิชยนาวี บริ ษั ท พรี เ ชี ย ส ชิ พ ปิ้ ง จำกั ด (มหาชน) หรื อ พี เ อสแอล ลงนามบั น ทึ ก ความร่ ว มมื อ กั บ สำนั ก งานคณะ กรรมการการอาชีวศึกษา เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2551 เพื่อ

ส่งเสริมความรูแ้ ละสนับสนุนการเรียน การสอน ให้แก่วทิ ยาลัย เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือนครศรีธรรมราช ในภาพ: คุณศรีวกิ าร์ เมฆธวัชชัยกุล รองเลขาธิการ สำนั ก งานคณะกรรมการการอาชี ว ศึ ก ษา (ที่ 3 จากซ้ า ย) ถ่ายภาพร่วมกับ มร. ไจปาล มันสุขานี กรรมการบริหาร บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (ที่ 2 จากขวา)

ลักษณะของการปฏิบัติงานบนเรือทั้งหมดซึ่งมีผลเสี่ยงต่อมลพิษได้กำหนดไว้ในกฎ ข้อบังคับ และคำแนะนำเพิ่มเติมในคู่มือการ ปฏิบตั กิ ารบนเรือทุกลำของบริษทั ฯ แล้ว โดยกัปตันเรือจะเป็นผูร้ บั ผิดชอบสำหรับการควบคุมให้คนบนเรือได้ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ ข้อบังคับที่ ระบุไว้ในคูม่ อื การปฏิบตั กิ ารบนเรือ เพือ่ ป้องกันการกระทำใดๆ ทีอ่ าจจะส่งผลเสียหายต่อสิง่ แวดล้อมและทีผ่ า่ นมาไม่เคยเกิดเหตุการณ์ใดๆ ที่ ส่งผลเสียหายต่อสิง่ แวดล้อมอย่างร้ายแรงจากการดำเนินงานของบริษทั ฯ ในระหว่างปี บริษทั ฯ มีความภูมใิ จทีไ่ ด้รบั จดหมายจากท่าเรือลองบีช แคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ทีย่ กย่องบริษทั ฯ สำหรับ การปฏิบตั ติ ามข้อตกลงในการช่วยลดมลภาวะ และได้มอบรางวัล “Green Flag Environment Achievement” ให้กบั บริษทั ฯ ระบบการกูภ้ ยั เรือร่วมกัน Automated Mutual assistance Vessel Rescue System (AMVER) โดยได้รบั การสนับสนุนจากหน่วย นาวิกโยธินลาดตระเวนชายฝั่งของสหรัฐอเมริกา (USCG) ซึ่งเป็นโครงการที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นเฉพาะควบคุมโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์มีเรือ พาณิชย์ทวั่ โลกอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการเป็นระบบเครือข่าย การแจ้งข่าวสาร การค้นหา และการกูภ้ ยั เรือทีค่ รอบคลุมทัว่ โลก เพือ่ ให้การช่วย เหลือเรือทีป่ ระสบภัยในทะเล ซึง่ บริษทั ฯ ได้เข้าร่วมโครงการนีอ้ ย่างต่อเนือ่ ง และมีผลการปฏิบตั งิ านทีด่ ี จากการรับรองโดย USCG โดยบริษทั ฯ ได้รบั รางวัล AMVER ทุกปีจากตัวแทนของสถานฑูตสหรัฐอเมริกา ณ กรุงเทพฯ การลดก๊าซคาร์บอน: เพื่อเป็นการป้องกันและรักษาสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ มีความตั้งใจในการช่วยลดก๊าซคาร์บอน สำหรับเรือของ บริษทั ฯ ก็มสี ว่ นในการช่วยลดก๊าซคาร์บอนด้วยเช่นกัน ในแง่ของพลังงานทีใ่ ช้ในการขับเคลือ่ นทีเ่ รียกว่าน้ำมันหนักหรือน้ำมันเตา โดยปกติสว่ น ทีเ่ หลือจากการกลัน่ น้ำมันดิบจะได้นำ้ มันซึง่ ใช้สำหรับน้ำมันเครือ่ งบิน แก๊สโซลีน และอืน่ ๆ หลังจากการกลัน่ น้ำมันเตาก็จะได้นำ้ มันดิน และ ยางมะตอยที่นำมาใช้ในการสร้างถนนและหลังคา พลังงานที่ได้จากการเผาผลาญเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์บนเรือจะถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานขับ เคลือ่ นบนเรือ ความร้อนส่วนทีเ่ หลือทีไ่ ด้จากการเผาเชือ้ เพลิงนัน้ จะถูกนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยสามารถนำไปใช้ในกระบวนการแยกเกลือ ออกจากน้ำทะเล ทำให้ได้นำ้ บริสทุ ธิม์ าใช้เพือ่ การอุปโภคบริโภคบนเรือและเป็นการทดแทนการบรรทุกน้ำจากทีอ่ นื่ สำหรับแก๊สเสียทีห่ ลงเหลือ อยู่ส่วนใหญ่จะใช้เป็นตัวขับเคลื่อนเครื่องอัดอากาศ เพื่อให้เครื่องจักรทำงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และส่วนที่เหลือจะนำไปใช้ในการ เปลีย่ นน้ำให้เป็นไอน้ำ ซึง่ ไอน้ำนีส้ ามารถนำไปใช้ในการให้ความร้อนได้หลายทาง โดยสิง่ สำคัญทีส่ ดุ คือ เอาไปให้ความร้อนกับน้ำมันเตาเพือ่ ให้ตดิ ไฟได้งา่ ยขึน้

56

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


สำหรับสำนักงาน บริษทั ฯ วิเคราะห์เกีย่ วกับข้อมูลการใช้ไฟฟ้าในช่วงไม่กปี่ ที ผี่ า่ นมา ซึง่ เป็นจุดเริม่ ในแผนการใช้ไฟฟ้าหรือพลังงาน อืน่ ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ยังดำเนินการให้มกี ารปรับอุณหภูมขิ องระบบเครือ่ งปรับอากาศในสำนักงานให้คงไว้ทอี่ ณุ หภูมิ 24 องศาเซลเซียส ทำให้การใช้พลังงานในสำนักงานลดลง เพื่อให้อุณหภูมิและสิ่งแวดล้อมในสำนักงานมีความเหมาะสม บริษัทฯ สนับสนุนให้ พนักงานลดการใส่เน็คไทหรือสวมเสื้อแจ๊กเก็ต ในขณะที่การแต่งตัวในสำนักงานยังคงเป็นทางการอยู่ ถึงแม้จะไม่ได้ใส่เน็คไทหรือแจ๊กเก็ต

ก็ตาม บริษทั ฯ ยังคงดำเนินการต่อไปในเรือ่ งการลดก๊าซคาร์บอนและจะรายงานถึงความต่อเนือ่ งในการดำเนินการดังกล่าวต่อไป ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม มอก. 14001 เพือ่ แสดงถึงความตัง้ ใจของบริษทั ฯ ในการป้องกันและรักษาสิง่ แวดล้อม และการลดก๊าซ คาร์บอน ในขณะนีบ้ ริษทั ฯ อยูใ่ นระหว่างกระบวนการจัดทำระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม มอก.14001 เพือ่ ให้เกิดความสมบูรณ์ของระบบการ จัดการ การวางแผนกลยุทธ์ในนโยบายสิ่งแวดล้อมของบริษัทฯ การวางแผนการดำเนินงานที่ส่งผลต่อความรับผิดชอบของบริษัทฯ ที่มีต่อสิ่ง แวดล้อมในองค์กร 5. การสนับสนุนกิจกรรมชุมชนและสังคม บริษทั ฯ ตระหนักเป็นอย่างดีวา่ ชุมชนและสังคมทีด่ เี ป็นปัจจัยหลักทีส่ นับสนุนธุรกิจของ บริษัทฯ ดังนั้นบริษัทฯ จึงมีความตั้งใจที่จะสนับสนุนและมีส่วนร่วมกับกิจการรมที่มีต่อชุมชนและสังคมต่อไป เพื่อให้เกิดความแข็งแกร่งใน ชุมชนและสังคมมากยิง่ ขึน้ บริษทั ฯ ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม รวมถึงการสนับสนุนกิจกรรมของชุมชนและการเอาใจใส่ ต่อผลกระทบต่อผูท้ อี่ ยูร่ อบข้างมากกว่าทีม่ กี ำหนดไว้ในกฎหมายและพยายามค่อยๆ ทีจ่ ะเข้าไปมีสว่ นร่วมทางสังคม ซึง่ กระบวนการเหล่านีเ้ ป็น แรงบันดาลใจให้บริษทั ฯ จัดตัง้ และขยายกองทุนเพือ่ ทำกิจกรรมชุมชนและสังคม ซึง่ ทีผ่ า่ นมา บริษทั ฯ มีกจิ กรรมด้านสังคมและชุมชน ดังต่อไปนี ้ s บริษท ั ฯ ให้การสนันสนุนการฝึกอบรมบุคลากรของศูนย์ฝกึ พาณิชยนาวี (Merchant Marine Training Center) โดยการให้ทนุ การศึกษา แก่ผมู้ ผี ลการเรียนดีโดยมอบรางวัลเหรียญทองแก่นกั เรียนของศูนย์ฝกึ พาณิชยนาวี ทีม่ ผี ลการเรียนดีเด่นและประพฤติดเี ป็นประจำ ทุกปี ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2541 เป็นต้นมา นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ได้บริจาคหนังสือเรียนให้กบั ศูนย์ฝกึ พาณิชยนาวีอย่างสม่ำเสมอด้วย

ผู้บริหารพีเอสแอลและพนักงานร่วมใจกันบริจาคโลหิต เพือ่ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ในวันที่ 23 มกราคม และ 23 กรกฎาคม 2551 ณ อาคารคาเธ่ยเ์ ฮ้าส์ การบริจาคดังกล่าวจัดขึ้นเป็นประจำโดยความร่วมมือ ระหว่างบริษัทฯ และสภากาชาดไทย โดยในระหว่างปี 2551 มี จำนวนผูบ้ ริจาค รวม 108 คน

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

57


s บริษท ั ฯ ได้รบั นักเรียนทีจ่ บการศึกษาจากศูนย์ฝกึ พาณิชยนาวีมาเป็นพนักงาน/ลูกเรือของบริษทั ฯ s บริษท ั ฯ ทำข้อตกลงกับสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา ในการปรับปรุงความรู้ และส่งเสริมการเรียน การสอน สำหรับ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือนครศรีธรรมราช ซึ่งตามข้อตกลงบริษัทฯ จะสร้างหอพักเพื่ออำนวยความสะดวกแก่นักศึกษา และให้ความช่วยเหลือทางด้านการเงินแก่นักเรียน รวมการซื้อหนังสือและอุปกรณ์ทางการศึกษาในห้องสมุด ทางด้านวิทยาลัยเทคโนโลยีและ อุตสาหกรรมการต่อเรือนครศรีธรรมราช ได้จัดให้มีการเพิ่มหลักสูตรการเรียนใหม่โดยมีบริษัทฯ เป็นที่ปรึกษา เพื่อเป็นการฝึกหัดและพัฒนา วิศวกรสำหรับการดำเนินอาชีพการเดินเรือในอนาคต s บริษัทฯ มอบทุนการศึกษาจำนวน 165,000 บาท แก่นักศึกษาวิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา เป็นการสนับสนุนการศึกษาให้กบั นักศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตร์การเดินเรือ s บริษท ั ฯ ได้รว่ มบริจาคเงินจำนวน 100,000 บาท ในโครงการ “ห่มผ้าให้นอ้ ง ครัง้ ที่ 11” ให้กบั คณะนักเรียนเดินเรือพาณิชย์ ศูนย์ฝกึ พาณิชยนาวี เพือ่ นำไปใช้ในการซ่อมแซมห้องเรียนและปรับปรุงห้องสมุดให้แก่โรงเรียนบ้านใบสีทอง จังหวัดสุพรรณบุร ี s บริษท ั ฯ ได้รว่ มบริจาคเงินจำนวน 40,000 บาท ให้กบั ยุวมุสลิม บ้านปากลัด อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เพือ่ ใช้ สนับสนุนเครือ่ งมือเครือ่ งใช้ทางการศึกษาและเป็นทุนการศึกษาในกิจกรรมวันเด็กเมือ่ วันที่ 19 มกราคม 2551 s โดยปกติแล้วบริษท ั ฯ มักจะจัดให้มกี ารบริจาคเงินและสิง่ ของสำหรับผูท้ มี่ คี วามจำเป็นและผูท้ ยี่ ากไร้ เช่น บริษทั ฯ ร่วมกับพนัก งาน ได้บริจาคเงินกว่า 1 ล้านบาท ผ่านสภากาชาดไทยสำหรับผูป้ ระสบภัยธรณีพบิ ตั จิ ากคลืน่ ยักษ์สนึ ามิในประเทศไทย และเมือ่ ต้นปี 2547 บริษทั ฯ ได้บริจาคคอมพิวเตอร์แก่โรงเรียนระดับประถมและมัธยม จำนวน 4 แห่ง ในจังหวัดระยอง ทีม่ นี กั เรียนจำนวน 877 คน ให้มโี อกาส ศึกษา

บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) ให้การต้อนรับคณะผู้บริหารอาวุโส BOI เข้าเยี่ยมชมศูนย์อบรมการเดินเรือทะเล และหอบังคับการเดินเรือจำลอง ในภาพ: (ที่สองจากซ้าย) คุณ นิชิต้า ชาห์ กรรมการ พี เ อสแอล (ที่ ส ามจากซ้ า ย) มร. คูชรู วาเดีย กรรมการบริหาร พีเอสแอล (ที่ สีจ่ ากซ้าย) มร. คาลิด ฮาชิม กรรมการผูจ้ ดั การ พีเอสแอล (ทีห่ า้ จากซ้าย) คุณหิรญั ญา สุจนิ ยั ที่ ปรึกษาด้านการลงทุน BOI (ทีห่ กจากซ้าย) กัปตัน นพพงศ์ รัตนชัยพรพันธ์ หัวหน้าศูนย์อบรมการ เดิ น เรื อ ทะเลของพี เ อสแอล (ที่ เ จ็ ด จากซ้ า ย) ดร. รัชนี วัฒนวิศษฐ์พร เจ้าหน้าที่อาวุโส BOI ร่วมถ่ายภาพเป็นทีร่ ะลึก

58

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


s บริษท ั ฯ ให้ความช่วยเหลือในการสร้างโรงเรียนสำหรับเด็กทีป่ ระสบภัยจากแผ่นดินไหวในภาคตะวันตกของประเทศอินเดีย เมือ่ ปี 2544 และในทีส่ ดุ โรงเรียนมิตรภาพ อินโด-ไทย ก็เกิดขึน้ และสามารถเปิดดำเนินการได้แล้วซึง่ สามารถรับนักเรียนได้จำนวน 700 คน ทัง้ ใน ระดับประถม มัธยมต้น รวมทัง้ มัธยมปลาย ซึง่ ทำให้ผทู้ เี่ กีย่ วข้องต่างๆ รูส้ กึ ซาบซึง้ และประทับใจอย่างมากในความช่วยเหลือจากประเทศไทย s บริษท ั ฯ ได้ให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนทีอ่ ยูอ่ าศัยทางภาคใต้ของประเทศไทย ซึง่ ได้รบั ผลกระทบและความเสียหายจากภัย

สึนามิ เมือ่ เดือนธันวาคม 2547 โดยบริษทั ฯ และพนักงานได้บริจาคเงินช่วยเหลือจำนวน 590,000 บาท ให้กบั หมูบ่ า้ นทะเลนอก จังหวัดระนอง และปรับปรุง/ซ่อมแซมเรือประมงเพือ่ ให้สามารถนำกลับมาประกอบอาชีพได้ และบริษทั ฯ ได้อาสาดูแลและเข้ามาเยีย่ มเยียนหมูบ่ า้ นนี้ อย่าง สม่ำเสมอ ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ ได้เปิดโอกาสให้เด็กทีข่ าดแคลนได้รบั ทุนการศึกษา โดยปัจจุบนั บริษทั ฯ ยังให้ทนุ การศึกษาเด็กผูห้ ญิงคนหนึง่ ทีก่ ำลัง ศึกษาอยู่ในโรงเรียนแห่งหนึ่งที่กรุงเทพฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังจัดหาแหล่งประกอบอาชีพให้แก่เยาวชนและให้การสนับสนุนการพัฒนาทาง ร่างกายและสติปญั ญาของเด็กหนุม่ ในหมูบ่ า้ นแห่งนี้ เพือ่ ทีจ่ ะก้าวเข้ามาฝึกอบรมอาชีพการเดินเรือขัน้ พืน้ ฐาน โดยทางบริษทั ฯ เป็นผูอ้ อกค่าใช้ จ่ายดังกล่าว ซึง่ บุคคลเหล่านีจ้ ะเข้ามาประกอบอาชีพการเดินเรือให้กบั บริษทั ฯ ได้อย่างสมบูรณ์และตรงกับสายงานอาชีพในการเดินเรือทะเล ระหว่างประเทศ s บริษท ั ฯ ได้รว่ มบริจาคเงินจำนวน 1,325,867 บาทในปี 2551 เพือ่ สร้างบ้านฟิสกิ ส์ เคมี และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ให้กบั โรงเรียน แห่งหนึง่ ทีเ่ ซมังกุดี ทามิล นาดูล ประเทศอินเดีย โรงเรียนแห่งนีอ้ ยูใ่ นหมูบ่ า้ นทีย่ ากจนมากและได้รบั ผลกระทบและความเสียหายจากภัยสึนามิ ในเดือนธันวาคม 2547 s บริษัทฯ ได้ประสานงานกับสภากาชาดไทยให้หน่วยเคลื่อนที่รับบริจาคโลหิตมารับบริจาคที่สำนักงานบริษัทฯ ตั้งแต่ปี 2547 จนถึงปี 2551 หน่วยเคลือ่ นทีร่ บั บริจาคโลหิตมารับบริจาคโลหิตทีบ่ ริษทั ฯ รวมทัง้ สิน้ 6 ครัง้ s ในทุกๆ ปี บริษท ั ฯ จัดกิจกรรมวิง่ 5 กิโลเมตร เรียกว่า “พีเอสแอลวิง่ เพือ่ วันเดินเรือประจำปี” ทีส่ วนลุมพินเี พือ่ สนับสนุนให้ พนักงานบริษทั ฯ มีนสิ ยั รักการออกกำลังกายและมีสขุ ภาพทีด่ ี

บริษัทพรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) (โดย มร. โคคา วี. สุดาการ์ ผู้อำนวยการฝ่าย บริหารกองเรือ) มอบเงินสนับสนุน “โครงการห่มผ้า ให้น้อง ครั้งที่ 11” จัดโดยคณะนักเรียนเดินเรือ พาณิชย์ เป็นจำนวน 100,000 บาท เพือ่ ซ่อมแซม ชั้ น เรี ย นและต่ อ เติ ม ห้ อ งสมุ ด แก่ โ รงเรี ย นบ้ า น ไผ่สที อง จังหวัดสุพรรณบุร ี

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

59


บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) มอบเงิน จำนวน 68,000 บาท แก่โรงเรียนบ้านค้อ จังหวัดสุรินทร์ เพื่อสนับสนุนโครงการพานักเรียนไปทัศนะศึกษา ณ สถานี วิจยั สิง่ แวดล้อมสะแกราช จังหวัดนครราชสีมา ในภาพ: คณะครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านค้อ

ถ่ายรูปร่วมกันบริเวณหน้าสถานีวจิ ยั สิง่ แวดล้อม

บริษทั ฯ เป็นหนึง่ ในกลุม่ ผูส้ นับสนุนงานวันกีฬาประจำปี ณ ศูนย์ฝกึ พาณิชยนาวี ซึง่ บริษทั ฯ ให้ความร่วมมือในการขยายด้าน กีฬา รวมถึงการศึกษา (ทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว) และช่วยในเรือ่ งการพัฒนาของคณะนักเรียนพาณิชย์นาวี s บริษัทฯ จัดโครงการช่วยเหลือพนักงานด้วยการให้ทุนการศึกษาประจำปีสำหรับค่าเล่าเรียนแก่บุตรของพนักงานที่ไม่สามารถ หาเงินค่าเล่าเรียนของบุตรตนเองได้ s บริษัทฯ พิจารณาทุนการศึกษาหรือรางวัลสำหรับให้กับบุตรของพนักงานของบริษัทฯ ผู้ซึ่งมีผลการเรียนที่ดีในระดับโรงเรียน วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย s บริษท ั ฯ ได้บริจาคเงินและอุปกรณ์การศึกษา เพือ่ จัดทำห้องปฏิบตั กิ ารทางวิทยาศาสตร์และสนับสนุนกิจกรรมการเรียนการสอน ด้านต่างๆ ของโรงเรียนบ้านค้อ จังหวัดสุรนิ ทร์ ในเดือนกันยายน 2549 s บริษท ั ฯ ได้รว่ มบริจาคเงิน 100,000 บาท และหนังสือให้กบั คณะนักเรียนเดินเรือพาณิชย์ ศูนย์ฝกึ พาณิชย์นาวี เพือ่ นำไปใช้ใน การซ่อมแซมอาคารเรียนและสร้างห้องสมุดให้แก่โรงเรียนบ้านวังสนวน จังหวัดนครราชสีมา ในเดือนกันยายน 2550 s บริษท ั ฯ ได้บริจาคเครือ่ งคอมพิวเตอร์จำนวน 15 เครือ่ ง เพือ่ ใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนของโรงเรียนบ้านค้อ จังหวัดสุรนิ ทร์ ในเดือนตุลาคม 2550 s บริษท ั ฯ ได้รว่ มสมทบเงิน 100,000 บาท แก่สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพือ่ ใช้ในการอบรม ความรู้ และพัฒนาทักษะวิชาชีพแก่คนพิการ เพือ่ ให้สามารถหาเลีย้ งตนเองได้ในงานวันคนพิการครัง้ ที่ 43 ซึง่ จัดขึน้ ในเดือนพฤศจิกายน 2550 s ในปี 2551 บริษท ั ฯ ได้รว่ มบริจาคเงิน 68,000 บาทให้โรงเรียนบ้านค้อ จังหวัดสุรนิ ทร์ เพือ่ สนับสนุนใน ”โครงการพานักเรียนไป ทัศนศึกษา” ณ สถานีวจิ ยั สิง่ แวดล้อมสะแกราช จังหวัดนครราชสีมา

60

s

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


ปัจจัยความเสี่ยงที่สำคัญ บริษทั ฯ ได้แบ่งประเภทปัจจัยความเสีย่ งสำคัญๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ กับบริษทั ฯ เป็น 3 ประเภท ประกอบด้วยความเสีย่ งจากการดำเนิน ธุรกิจ ความเสีย่ งทางการเงินและความเสีย่ งทางการตลาดและเนือ่ งจากการได้ตระหนักถึงสภาพการณ์ของตลาดขนส่งในปัจจุบนั บริษทั ฯ จึง กำหนดปัจจัยความเสีย่ งเพิม่ ขึน้ อีกหนึง่ ปัจจัยซึง่ เป็นความเสีย่ งเกีย่ วกับการดำรงสถานะและการขยายความสามารถในการขนส่ง โดยได้อธิบาย อยู่ภายใต้หัวข้อ “ความเสี่ยงจากการหาเรือใหม่ทดแทนเรือเก่าและการขยายกำลังความสามารถของกองเรือ” สำหรับปีนี้ซึ่งเป็นกรณีพิเศษ บริษทั ฯจะได้แจกแจงปัจจัยความเสีย่ งต่างๆทีเ่ กิดขึน้ จากวิกฤตการเงินโลกทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ เร็วๆนี้ ภายใต้หวั ข้อ “ผลกระทบจากวิกฤตการเงินโลก ซึง่ ปัจจัยความเสีย่ งในแต่ละประเภทมีรายละเอียดดังต่อไปนี ้ ความเสี่ยงจากการดำเนินงาน ในฐานะที่บริษัทฯ เป็นเจ้าของและผู้ประกอบการเดินเรือขนส่งสินค้าระหว่างประเทศโดยไม่มีข้อจำกัดทางภูมิศาสตร์ใดๆ อาจต้อง เผชิญกับความเสี่ยงที่เกิดจากภัยพิบัติทางน้ำ ความแปรปรวนของสภาพสิ่งแวดล้อม ความสูญหายหรือเสียหายของสินค้าและทรัพย์สินต่างๆ และการสะดุดหยุดลงของธุรกิจอันเกิดมาจากเครื่องยนต์กลไกขัดข้อง ความผิดพลาดของเจ้าหน้าที่การเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศ ต่างๆ การหยุดงานประท้วงของคนงาน การก่อการร้าย โจรสลัด ความแปรปรวนของสภาพดินฟ้าอากาศ สถานการณ์ และเหตุการณ์อนื่ ใดที่ อาจจะเกิดขึน้ ซึง่ สิง่ เหล่านีจ้ ะนำไปสูต่ น้ ทุนการดำเนินงานทีเ่ พิม่ ขึน้ หรือการสูญเสียรายได้ อย่างไรก็ตามเจ้าของเรือ หรือผูป้ ระกอบการเดินเรือ ในน่านน้ำสากลจะมีการประกันความเสีย่ งต่างๆ โดยมีการทำประกันภัยไว้กบั บริษทั ประกันภัยทีเ่ ป็นสากล และครอบคลุมความเสีย่ งทัง้ หมด ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงได้ทำประกันภัยเพือ่ คุม้ ครองความเสีย่ งภัยต่างๆ ทีก่ ล่าวมาข้างต้นนีเ้ อาไว้แล้ว การดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ขึน้ อยูก่ บั การเพิม่ ขึน้ และการเปลีย่ นแปลงของกฎหมายป้องกันสิง่ แวดล้อม และกฎระเบียบพาณิชย์นาวี ด้านอื่นๆ การที่ต้องดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายเหล่านี้ เนื่องจากมีความเสี่ยงในเรื่องการถูกกักเรือที่ทำให้เสียเวลาและเสียรายได้หรือ

ก่อให้เกิดการเรียกร้องค่าเสียหายจากผู้เช่าเรือ รวมถึงค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงเรือหรือเปลี่ยนระเบียบปฏิบัติในการเดินเรือ อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ ระมัดระวังในประเด็นเหล่านีเ้ สมอมาและได้รกั ษามาตรฐานความปลอดภัยและมาตรฐานทางเทคนิคให้อยูใ่ นระดับสากลตลอดมา การดำเนินธุรกิจการเดินเรือและการบริหารงานของบริษทั ฯ ในฐานะบริษทั มหาชนและจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นัน้ ต้องอาศัยบุคลากรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ ไม่วา่ จะเป็นลูกเรือทีต่ อ้ งควบคุมการเดินเรือ หรือ ผูจ้ ดั การระดับต่างๆ ในบริษทั ฯ ทีต่ อ้ งการบุคคลที่ มีความรู้และประสบการณ์ในธุรกิจการเดินเรือ การที่ต้องจัดหาและรักษาไว้ซึ่งบุคลากรเหล่านั้นเป็นสิ่งสำคัญในการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ อย่างไรก็ตามบริษัทฯ ได้มีนโยบายที่ยุติธรรมและเหมาะสมต่อพนักงาน ดังนั้นบริษัทฯ จึงได้ประสบความสำเร็จในการจัดหาและรักษาไว้ซึ่ง บุคลากรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญและมีคณุ ภาพและบริษทั ฯ ยังได้รเิ ริม่ สิง่ ใหม่ๆ เพือ่ จูงใจและคงไว้ซงึ่ บุคลากรทีม่ คี ณุ ภาพ ดังนัน้ บริษทั ฯ คาดว่าจะ ไม่มปี ญั หาทีร่ นุ แรงด้านบุคลากรในอนาคต แม้วา่ ธุรกิจการเดินเรือระหว่างประเทศกำลังประสบกับปัญหาทีร่ นุ แรงของการขาดแคลนลูกเรือทีม่ ี คุณภาพ โดยเฉพาะในส่วนของนายประจำเรือ ซึง่ จะต้องทำงานประจำบนเรือ ในฐานะบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ บริษทั ฯ ต้องปฏิบตั ติ ามกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ มากมาย การไม่ปฏิบตั ติ าม กฎหมายและ/หรือกฎระเบียบใดๆ อันจะนำมาซึ่งความเสียหายในการถูกเรียกค่าเสียหายหรือถูกลงโทษทางกฎหมายทั้งต่อบริษัทฯ และ ผู้บริหารระดับสูง ดังนั้นบริษัทฯ ได้ดำเนินงานอย่างระมัดระวังในประเด็นนี้โดยมีมาตรการในการรับพนักงานที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและจัด ระบบงานให้มปี ระสิทธิภาพเพือ่ ให้แน่ใจว่าบริษทั ฯ ได้ปฏิบตั ติ ามกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง บริษทั ฯ ไม่ได้เผชิญกับความเสีย่ งจากราคาน้ำมันโลกทีเ่ พิม่ สูงขึน้ กล่าวคือในกรณีการเดินเรือแบบรายเทีย่ ว เป็นการเดินเรือทีบ่ ริษทั ฯ ต้องเป็นผูจ้ า่ ยค่าน้ำมันเชือ้ เพลิงแต่คา่ น้ำมันเชือ้ เพลิงทีเ่ พิม่ ขึน้ ลูกค้าจะเป็นผูร้ บั ภาระนี้ เนือ่ งจากอัตราค่าระวางเรือทีก่ ำหนดและเรียกเก็บจาก ลูกค้านัน้ ได้รวมค่าน้ำมันเชือ้ เพลิงทีเ่ พิม่ ขึน้ ไว้ดว้ ยและในกรณีการให้เช่าเรือเป็นแบบระยะเวลา ค่าน้ำมันเชือ้ เพลิงจะตกเป็นภาระของลูกค้า ความเสี่ยงทางการเงิน รายได้และค่าใช้จา่ ยส่วนใหญ่ของบริษทั ฯ เป็นเงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐ รวมทัง้ สินทรัพย์ถาวรส่วนใหญ่ของบริษทั ฯ คือ เรือเดินทะเล ก็มพี นื้ ฐานเป็นเงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐ เนือ่ งจากเรือเดินทะเลมีตลาดการซือ้ ขายสากลทีเ่ ป็นเงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงมีความเสีย่ ง ต่อการขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศจากหนี้สินของบริษัทฯ ที่อยู่ในรูปสกุลเงินตราต่างประเทศอื่นที่มิใช่เงินสกุลดอลล่าร์ สหรัฐ กล่าวคือหนีส้ นิ ทีอ่ ยูใ่ นรูปสกุลเงินตราต่างประเทศอืน่ ทีม่ ใิ ช่เงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐเมือ่ เทียบเท่าเป็นเงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐอาจเพิม่ ขึน้ หรือ รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

61


ลดลงตามอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯ ตระหนักดีถึงความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนนี้ ดังนั้นได้พยายามลดความเสี่ยงจากสกุลเงินอื่นๆ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษทั ฯ ไม่มหี นีเ้ งินกูห้ รือวงเงินสินเชือ่ เป็นเงินสกุลอืน่ ๆ เหลืออยู่ ยกเว้นสกุลเงินดอลล่าร์สหรัฐ นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ยังได้มีการดำรงเงินสดในบัญชีธนาคารเป็นเงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐเกือบทั้งหมด เพื่อไม่ให้เกิดความเสี่ยงจากการขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน กับบัญชีเหล่านีเ้ มือ่ เทียบเป็นเงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐ อย่างไรก็ดกี ค็ วรตระหนักว่าบริษทั ฯ มีความเสีย่ งจากการขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นเป็น สกุลเงินบาท ที่มาจากการแปลงค่าสินทรัพย์ หนี้สิน รายได้และค่าใช้จ่ายต่างๆ ของบริษัทฯ ที่อยู่ในรูปสกุลเงินดอลล่าร์สหรัฐเป็นเงินบาท เนือ่ งจากเป็นการขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นในการแปลงค่าเงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐเป็นเงินบาทในงบการเงินบาทเท่านัน้ วงเงินสินเชื่อมีหลักประกันของบริษัทฯ มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัวตามอัตรา LIBOR (อัตราดอกเบี้ยระหว่างธนาคารในกรุงลอนดอน) ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงมีความเสีย่ งจากความผันผวนของอัตราดอกเบีย้ อันเนือ่ งมาจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราดอกเบีย้ LIBOR บริษทั ฯ ได้ตดิ ตาม ความเคลือ่ นไหวและเฝ้าระวังอัตราดอกเบีย้ ในตลาดเงินอย่างสม่ำเสมอ เนือ่ งจากสินทรัพย์ของบริษทั ฯ คือเรือเดินทะเลมีอายุการใช้งานทีจ่ ำกัดและเมือ่ เรือมีอายุมากถึงอายุดงั กล่าว เรือเหล่านัน้ จะต้องถูกขาย เพือ่ นำไปใช้ตอ่ หรือถูกปลดระวาง ทำให้ความสามารถของกองกำลังเรือลดลง และถ้าบริษทั ฯ ต้องการคงระดับความสามารถของกองเรือโดย คำนึงถึงขนาดของกองเรือ บริษทั ฯ จะต้องดำเนินโครงการการทดแทนเรือเก่า หรือเรือทีถ่ กู ปลดระวาง (เรือทีถ่ กู ขายไป) การซือ้ เรือเข้ามาใหม่

จะต้องมีการระดมเงินทุน ซึง่ อาจจะมาจากเงินทุนของบริษทั ฯ หรือจากเงินกู้ หรือทัง้ สองอย่างรวมกัน ซึง่ ถ้าบริษทั ฯ ไม่สามารถระดมเงินทุนเพือ่ นำมาใช้ซอื้ เรือเพือ่ คงระดับความสามารถของกำลังกองเรือ ความสามารถของกองเรือบริษทั ฯ ก็จะลดลง ซึง่ เป็นสิง่ ไม่พงึ ประสงค์หากการลดลง ของกองกำลังเรือจะคงอยู่ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงมีความเสีย่ งในด้านการระดมเงินทุน อย่างไรก็ดี บริษทั ฯ ตระหนักถึงความเสีย่ งดังกล่าวนี้ ดังนัน้ ไม่เพียงแต่บริษทั ฯจะได้สงั่ ต่อเรือใหม่ และลงนามในสัญญาขอวงเงินสินเชือ่ สำหรับเรือต่อใหม่แล้วนัน้ แต่บริษทั ฯยังได้ลงนามในสัญญาขอสินเชือ่ สำหรับซือ้ เรือเข้ามาเพิม่ อีกเช่นกัน ซึง่ จะทำให้บริษทั ฯ สามารถซือ้ เรือใหม่ (ถ้าสามารถส่งมอบเรือได้ทนั ที) หรือเรือมือสองได้จำนวนหนึง่ ความเสี่ยงทางการตลาด อุตสาหกรรมและตลาดการเดินเรือขนส่งสินค้าทางทะเลจะขึน้ ลงเป็นวัฏจักร มีความผันผวนในเรือ่ งของการทำกำไร มูลค่าเรือ และ อัตราค่าระวาง ซึง่ เป็นผลจากการเปลีย่ นแปลงในอุปสงค์และอุปทานของกองเรือ ตามทีไ่ ด้อธิบายภายใต้หวั ข้อ “ลักษณะการประกอบธุรกิจและ อุตสาหกรรม” แต่เดิมบริษัทฯ ได้ทำการตลาดในลักษณะที่อิงกับราคาตลาดในขณะนั้น (spot market) สำหรับเรือของบริษัทฯ ทั้งหมด ดังนัน้ บริษทั ฯ จะมีความเสีย่ งจากความผันผวนของตลาดและวัฏจักรของธุรกิจ อย่างไรก็ตามบริษทั ฯ เชือ่ มัน่ ว่า การทีบ่ ริษทั ฯ มีกลุม่ ตลาด เฉพาะกลุม่ คืออยูใ่ นกลุม่ เรือเอนกประสงค์ขนาดเล็กซึง่ มีปจั จัยพืน้ ฐานทีเ่ ป็นบวกคือมีอปุ สงค์มากกว่าอุปทาน จะเป็นตัวช่วยพยุงในช่วงภาวะ ตกต่ำของวัฏจักรของธุรกิจและทำให้บริษทั ฯ ได้รบั ผลกระทบน้อยลง อย่างไรก็ดี สถานการณ์ดงั กล่าวได้ เปลีย่ นไปในช่วง 3-4 ปีทผี่ า่ นมา เนือ่ งจากบริษทั ฯ ได้ปรับเปลีย่ นแผนการตลาด โดยเรือส่วนใหญ่ของบริษทั ฯ มีการทำสัญญาระยะยาวให้เช่าเรือ ทำให้บริษทั ฯ หลีกเลีย่ งจาก การผันผวนของราคาตลาดระยะสัน้ และทำให้มนั่ ใจว่าจะมีกระแสรายได้ทมี่ นั่ คง อุปสงค์ของธุรกิจของบริษัทฯ นั้นเกิดจากปริมาณของสินค้าที่ต้องการขนส่ง การก่อเกิดของอุปสงค์นี้ขึ้นอยู่กับการค้าโลกและการ เจริญเติบโตของเศรษฐกิจ ภาวะถดถอยของการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจและการค้าจะทำให้อุปสงค์เรือลดลง ปัจจุบันความต้องการขนส่ง สินค้าแห้งเทกองทางทะเลเพิม่ มากขึน้ เนือ่ งจากมีความต้องการจากประเทศจีน (รวมทัง้ ความต้องการจากประเทศอินเดียและประเทศในแถบ ตะวันออกกลาง) ที่ต้องการนำเข้าสินค้าและวัตถุดิบต่างๆ เป็นจำนวนมากเพื่อก่อสร้างโครงการสาธารณูปโภคพื้นฐานขนาดใหญ่ ดังนั้นถ้า ความต้องการสินค้าทีม่ าจากประเทศจีนลดลง โดยเฉพาะในสอง-สามปีขา้ งหน้า เมือ่ อุปทาน คือ เรือต่อใหม่ ซึง่ ปัจจุบนั ได้ถกู สัง่ ต่อไปแล้ว ได้ถูกคาดการณ์ว่าจะเข้าสู่ตลาดขนส่งและจะส่งผลกระทบต่ออุปสงค์และอุปทานที่มีอยู่ในตลาดการขนส่ง ซึ่งจะทำให้อัตราค่าระวางลดลง อย่างมีนยั สำคัญและรวมถึงการลดลงของมูลค่าเรือเช่นกัน บริษทั ฯได้เพิม่ กำลังกองเรือโดยการซือ้ เรือมือสองเข้ามาเพิม่ เติม ณ ราคาตลาดในปี 2547 ซึ่งตลาดอยู่ในช่วงขาขึ้น การทำเช่นนั้นบริษัทฯอาจประสบกับความเสี่ยงจากการลดลงของรายได้และ/หรือมูลค่าเรือที่อาจลดลง ถ้าตลาดมีการปรับตัวลดลงอย่างมีสาระสำคัญ อย่างไรก็ดี ตลาดมิได้ปรับตัวลดลงอย่างมีสาระดังที่ได้คาดการณ์ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังสามารถสร้างรายได้อย่างเป็นกอบเป็นกำ และได้รับผลตอบแทนอย่างดีเยี่ยมจากเรือที่ได้ซื้อเข้ามาในช่วงระหว่างเดือนธันวาคม 2549 ถึง ไตรมาสแรกของปี 2550 บริษทั ฯ ได้ขายเรือในกองเรือบริษทั ฯ จำนวน 10 ลำ ซึง่ มีอายุมากทีส่ ดุ โดยมีอายุเฉลีย่ ทีม่ ากกว่า 26 ปี ในราคาขาย ที่ดี ซึ่งช่วยให้ความเสี่ยงดังกล่าวลดลงเนื่องจากเรือมีอายุมากขึ้นเท่าใด ความเสี่ยงดังกล่าวนี้ก็จะขยายมากขึ้นเช่นกัน อย่างไรก็ดีบริษัทฯ ได้พยายามลดความเสี่ยงดังกล่าวโดยนำกองเรือของบริษัทฯ ไปทำสัญญาให้เช่าเป็นสัญญาระยะยาวเพิ่มมากขึ้น ทำให้บริษัทฯ สามารถคง รายได้คา่ เช่าในอนาคตทีอ่ ตั ราค่าเช่าปัจจุบนั ทีส่ งู กว่า และดังทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วข้างต้น เป็นการเปลีย่ นแปลงนโยบายในการดำเนินธุรกิจทีส่ ำคัญ

62

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


ของบริษทั ฯ ในปี 2547 กล่าวคือ บริษทั ฯ ได้เปลีย่ นการดำเนินธุรกิจจากให้บริการเช่าเป็นรายเทีย่ วหรือการเช่าเป็นระยะเวลาแบบสัญญาระยะสัน้ ณ ราคาตลาดปัจจุบนั (spot market) เป็นการทำสัญญาระยะยาว ในช่วงปี 2550 ตลาดมีการปรับตัวสูงขึน้ อีกอย่างมีนยั สำคัญจนถึงจุดสูงสุด ในกลางปี 2551 ซึง่ หลังจากนัน้ อัตราตลาดได้ลดลงอย่างรวดเร็วจนเกือบจะใกล้กบั ระดับต่ำสุดเท่าทีเ่ คยเกิดขึน้ อย่างไรก็ดี ตามทีไ่ ด้กล่าวไว้ ข้างต้น บริษัทฯมีความเห็นว่าท่ามกลางตลาดที่มีความผันผวนอย่างมาก ซึ่งอัตราค่าระวางสามารถเพิ่มสูงขึ้นและตกลงอย่างรวดเร็วนั้นจะ เป็นการรอบคอบทีจ่ ะทำสัญญาผูกมัดค่าระวางในอัตราทีส่ งู และเหมาะสม เพือ่ เป็นการรองรับหากเกิดการตกลงอย่างรวดเร็วของอัตราค่าระวาง ในตลาดค่าระวางปัจจุบนั (Spot Market) ซึง่ ได้เกิดขึน้ ตัง้ แต่เดือนกรกฏาคม 2551 ยุทธศาสตร์การดำเนินธุรกิจดังกล่าวนีไ้ ด้พสิ จู น์แล้วในอดีต เมื่อตลาดค่าระวางปัจจุบันได้อ่อนตัวลงเมื่อต้นปี 2548 แต่บริษัทฯ ยังคงมีรายได้ที่สูงกว่าตลาดในปีนั้น และในสถานะการณ์ตลาดปัจจุบัน ยุทธศาสตร์ดงั กล่าวได้พสิ จู น์และกล่าวได้วา่ เป็นผูช้ นะโดยไม่มขี อ้ สงสัย ตามทีไ่ ด้เกิดภาวะตลาดตกต่ำและเป็นผลให้อตั ราค่าระวางลดลง ซึง่ ได้เริมขึน้ ในช่วงครึง่ หลังของปี 2551 และถ้าภาวะการถดถอย ดังกล่าวยังคงมีอยูอ่ ย่างต่อเนือ่ ง ลูกค้าของบริษทั ฯ ทีท่ ำสัญญาเช่าระยะยาวไว้อาจไม่ปฏิบตั ติ ามสัญญาเช่า ทำให้บริษทั ฯ ไม่สามารถมีอตั รา ค่าเช่าทีส่ งู ตามทีท่ ำสัญญาไว้และอาจถูกบังคับให้เช่าเรือในอัตรา ณ ขณะนัน้ ๆซึง่ ตลาดตกต่ำและมีอตั ราค่าเช่าค่าระวางต่ำกว่าทีท่ ำสัญญาไว้ อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ ได้ตระหนักถึงความเสีย่ งจากการทีค่ สู่ ญั ญาไม่ปฏิบตั ติ ามสัญญาในระยะยาว ดังนัน้ บริษทั ฯ ได้ทำการวิเคราะห์ลกู ค้า (ผู้เช่าเรือ) ที่จะทำสัญญาเช่าในระยะยาวโดยจะเลือกลูกค้าชั้นดี และมีเครดิตสูงที่สุด ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้นจึงทำให้ ณ สิ้นปี 2551 บริษทั ฯ ไม่ประสบกับปัญหาจากการทีผ่ เู้ ช่าเรือไม่ปฎิบตั ติ ามสัญญา เรือของบริษัทฯ เดินเรือในน่านน้ำสากลทั่วโลกและกระจายการให้บริการในสัดส่วนเท่าๆกันทั่วโลกโดยไม่ได้เฉพาะเจาะจงที่ส่วนใด ส่วนหนึ่งเท่านั้น ด้วยเหตุนี้บริษัทฯ จึงไม่มีความเสี่ยงด้านภูมิศาสตร์ในการตลาดและลูกค้าของบริษัทฯ ดังนั้นความเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ใด พื้นที่หนึ่งของโลกอันเนื่องมาจากสงครามหรือการก่อการทางการเมือง หรือด้วยเหตุผลใดๆ ก็ตาม จะไม่ส่งผลกระทบสำคัญที่ทำให้รายได้ ของบริษทั ฯ ลดลงได้ รายได้ของบริษทั ฯ มาจากจำนวนของลูกค้าหลากหลายและไม่ขนึ้ ต่อลูกค้ารายใดรายหนึง่ ในการดำเนินธุรกิจ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงไม่มี ความเสี่ยงต่อการที่จะต้องทำธุรกิจกับลูกค้าเพียงรายเดียวหรือได้รับผลกระทบรุนแรงหรือสูญเสียรายได้หากลูกค้ารายนั้นๆ ประสบภาวะ ขาดทุนอย่างมีนยั ทีส่ ำคัญ ความเสี่ยงจากการหาเรือใหม่ทดแทนเรือเก่าและการขยายกำลังความสามารถของกองเรือ ตามทีไ่ ด้อธิบายไว้ขา้ งต้น สินทรัพย์ของบริษทั ฯ คือ เรือ เป็นสินทรัพย์ทมี่ อี ายุการใช้งานทีจ่ ำกัด เมือ่ เรือมีอายุการใช้งานในระดับ หนึง่ เรือเหล่านีจ้ ะต้องถูกปลดระวาง เป็นเหตุให้ความสามารถในการให้บริการขนส่งลดลงและถ้าบริษทั ฯ ต้องการคงระดับความสามารถใน การขนส่ง หรือขนาดของกองเรือ บริษทั ฯ จำเป็นต้องทดแทนเรือเก่าทีถ่ กู ปลดระวางไปแล้ว (หรือถูกขาย) การทดแทนเรือทีถ่ กู ปลดระวาง/เรือที่ ได้ขายไปแล้ว สามารถทำได้ดว้ ยการซือ้ เรือมือสองจากตลาด “ซือ้ -ขาย” เรือเสรี (the open “Sale & Purchase” market) อย่างไรก็ตาม เนือ่ งจากการขยายตัวอย่างรวดเร็วของตลาดการขนส่งระหว่างประเทศ ทำให้มลู ค่า (ราคา) (value (cost)) ของเรือมือสองสูงขึน้ อย่างทีไ่ ม่เคย เกิดขึ้นมาก่อน และบริษัทฯ เห็นว่าไม่เป็นการรอบคอบที่จะซื้อเรือในราคาสูงขณะนี้ ซึ่งจะก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อมูลค่าของสินทรัพย์ (เรือ) อันเป็นผลมาจากมูลค่าเรือในตลาดลดลงในช่วงขาลงทีจ่ ะมาถึง อย่างไรก็ตาม เนือ่ งจากการไม่สามารถซือ้ เรือในราคาทีเ่ หมาะสม ณ ขณะนีไ้ ด้ ทำให้บริษทั ฯ มีความเสีย่ งในการทดแทนความสามารถการให้บริการขนส่งทีห่ ายไป อันเป็นผลจากการขาย/ปลดระวางเรือเก่าของบริษทั ฯ บริษทั ฯ มุง่ มัน่ ทีจ่ ะลดความเสีย่ งในการทดแทนความสามารถการขนส่งดังกล่าวด้วยการทำสัญญาสัง่ ต่อเรือใหม่ในราคาทีเ่ หมาะสม มีคุณสมบัติที่สอดคล้องกับความต้องการและความจำเป็นของบริษัทฯ ทั้งนี้ รายละเอียดของสัญญาสั่งต่อเรือเหล่านี้ ได้กล่าวไว้ ในหัวข้อ “บทวิเคราะห์และคำอธิบายของผู้บริหาร” ในรายงานประจำปีฉบับนี้ เพื่อให้มั่นใจในการทดแทนความสามารถการขนส่ง และขยายความ สามารถ เมือ่ เรือสัง่ ต่อใหม่ได้ถกู ส่งมอบตามทีร่ ะบุในสัญญา ขณะเดียวกัน ความเสีย่ งจากการดำเนินงานและความเสีย่ งทางการตลาดสำหรับ เรือสัง่ ต่อใหม่ทจี่ ะได้รบั มอบ จะเป็นดังทีไ่ ด้อธิบายไว้ขา้ งต้น ส่วนความเสีย่ งทีเ่ กิดจากสัญญาสัง่ ต่อเรือใหม่สามารถสรุปได้ดงั นี ้ • ความเสี่ยงที่เกี่ยวกับอู่ต่อเรือ (Ship Builder): บริษัทฯ จะมีความเสี่ยงที่เกิดจากอู่ต่อเรือในเรื่องการส่งมอบเรือตามกำหนด และ/หรือส่งมอบเรือทีม่ คี ณุ สมบัตทิ ถี่ กู ต้อง กล่าวคืออาจจะไม่สามารถส่งมอบเรือด้วยเหตุผลใดๆก็ตาม หรือส่งมอบเรือล่าช้า และ/หรือส่งมอบเรือที่มีคุณสมบัติไม่ตรงตามที่คาดหมายและที่กำหนดไว้ในสัญญา บริษัทฯมุ่งมั่นที่จะขจัดความเสี่ยงเหล่านี้ ด้วยการใช้ความระมัดระวังประเมินความสามารถของอูต่ อ่ เรือ ไม่วา่ จะเป็นตารางเวลา การส่งมอบซึง่ ยอมรับทัง้ สองฝ่าย และ การคงไว้ซึ่งคุณภาพ พร้อมกับการเรียกหลักประกันในรูปของ Bank Guarantees เพื่อให้ครอบคลุมการคืนเงินที่ได้ชำระ รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

63


ล่วงหน้าเป็นงวดๆ ไปแล้วและ/หรือการส่งมอบล่าช้า อีกทัง้ มีคา่ ปรับทีเ่ ข้มงวด ทีไ่ ด้ระบุในสัญญาเรือ่ งของการส่งมอบเรือล่าช้า และการส่งมอบเรือทีไ่ ม่ถกู ต้องตามทีร่ ะบุ • ความเสี่ยงที่เกิดจากวัฏจักรของอุตสาหกรรม: บริษัทฯ มีความเสี่ยงเมื่อเรือที่สั่งต่อใหม่ถูกส่งมอบ ซึ่งขณะนี้ตลาดการขนส่ง สินค้ากำลังก้าวสูช่ ว่ งขาลง และเมือ่ เวลานัน้ มาถึง นอกเหนือจากมูลค่าเรือจะลดต่ำลงแล้ว ยังอาจจะไม่สามารถปล่อยเรือสัง่ ต่อ ใหม่ให้เช่าในอัตราค่าระวางทีค่ าดการณ์ไว้ เพือ่ ขจัดความเสีย่ งนี้ บริษทั ฯ พยายามทีจ่ ะทำสัญญาให้เช่าเรือสัง่ ต่อใหม่แบบระยะ เวลาล่วงหน้าด้วยอัตราค่าระวางทีส่ งู และเหมาะสม ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก่ บั ตารางการส่งมอบเรือสัง่ ต่อใหม่ดงั กล่าว ยิง่ ไปกว่านัน้ ถ้าเรือต่อใหม่ถกู ส่งมอบในขณะทีอ่ ตุ สาหกรรมอยูใ่ นช่วงขาลง ราคาตลาดของเรือต่อใหม่อาจจะลดลงจนถึง ระดับที่บริษัทฯอาจจะผิดสัญญาตามเงื่อนไขของหนี้สินต่อมูลค่า โดยจะต้องดำรงสัดส่วนดังกล่าวตามเงื่อนไขของสัญญา ขอสินเชื่อ ซึ่งบริษัทฯได้ตระหนักถึงปัจจัยความเสี่ยงดังกล่าว และเพื่อขจัดความเสี่ยงดังกล่าว นอกเหนือจากการตั้งสำรอง เงินสดแล้ว (เพือ่ ชำระเงินจ่ายล่วงหน้าบางส่วนของเงินกู)้ เงินกูส้ ำหรับเรือต่อใหม่เป็นสินเชือ่ เพือ่ นำมาใช้ซอื้ เรือต่อใหม่เพียง 15 ลำเท่านั้น จากเรือที่บริษัทฯ สั่งต่อใหม่ทั้งหมดจำนวน 18 ลำ ทำให้บริษัทฯต้องนำเรือต่อใหม่ที่ปลอดจากภาระผูกพันใดๆ จำนวน 3 ลำทีเ่ หลือนี้ เป็นหลักประกันเพิม่ เติมสำหรับเงินกูด้ งั กล่าว ณ เวลาส่งมอบเรือ • ความเสีย่ งทีเ่ กิดจากการระดมทุน: บริษทั ฯ มีความเสีย่ งซึง่ เกิดจากการไม่สามารถหาแหล่งเงินทุนสำหรับเรือสัง่ ต่อใหม่ ซึง่ ใน กรณีนี้ บริษัทฯ จำเป็นต้องใช้กระแสเงินสดภายในจากการดำเนินงานเพื่อเรือสั่งต่อใหม่ ทำให้บริษัทฯ อาจจะเหลือกระแส เงินสดไม่เพียงพอ หรือเหลือเงินสดส่วนเกินไม่เพียงพอต่อการจ่ายเงินปันผลหรือเพื่อการลงทุนอื่นๆ เพื่อขจัดความเสี่ยงนี้ บริษทั ฯ ได้จดั หาสินเชือ่ สำหรับเรือสัง่ ต่อใหม่จำนวน 15 สัญญาลำ จากจำนวน 18 สัญญาซึง่ บริษทั ฯ ได้สงั่ ต่อไปแล้ว

ผลกระทบของวิกฤตการเงินโลก ปัจจัยความเสี่ยงที่สำคัญซึ่งเกิดขึ้นและเป็นผลกระทบโดยตรงจากวิกฤตการเงินโลกต่ออุตสาหกรรมการขนส่งสินค้ารวมทั้งบริษัทฯ มีสาระสำคัญสรุปได้ดงั ต่อไปนี ้ • ความเสีย่ งจากการไม่มอี ปุ สงค์: วิกฤตการเงินได้นำไปสูก่ ารปิดกิจการหรือการลดขนาดของภาคธุรกิจทัว่ โลก ประกอบกับการ ลดช่องทางของการเงินในระบบการค้า (Trade Finance) ซึง่ ส่งผลกระทบต่อการค้าทัว่ โลก รวมทัง้ ทำให้ไม่มอี ปุ สงค์อย่างรุนแรง ต่อการบริการขนส่ง ทำให้อตั ราค่าระวางเรือล่มสลายลง และตามทีไ่ ด้กล่าวไว้ขา้ งต้น บริษทั ฯ ได้ลงนามในสัญญาปล่อยเรือ

ให้เช่าระยะยาวในอัตราค่าระวางทีส่ มเหตุผล ซึง่ ถูกคาดการณ์วา่ จะเป็นสิง่ ทีช่ ว่ ยพยุงรายได้ของบริษทั ฯจากผลกระทบของการ ลดลงอย่างรวดเร็วและรุนแรงของอัตราค่าระวาง อย่างไรก็ตาม ถ้าตลาดยังคงอยูใ่ นภาวะเช่นปัจจุบนั นีต้ อ่ ไประยะหนึง่ รายได้ ของบริษทั ฯก็จะได้รบั ผลกระทบอย่างมีนยั ทีส่ ำคัญ ทัง้ นีเ้ นือ่ งจาก บริษทั ฯอาจถูกกดดันให้ตอ้ งปล่อยเรือลำทีย่ งั ไม่ได้ปล่อยให้เช่า ในระยะยาว หรือเรือลำทีส่ ญั ญาเช่าสิน้ สุดลงด้วยอัตราค่าเช่าทีต่ ำ่ และ/หรืออาจถูกกดดันให้ตอ้ งปลดระวางเรือเก่า เนือ่ งจาก การขาดอุปสงค์ทจี่ ะเช่าเรือเก่า หรือเนือ่ งจากไม่สามารถปล่อยเรือให้เช่าในอัตรา ณ จุดคุม้ ทุน ซึง่ อย่างน้อยยังเพียงพอกับค่า ใช้จา่ ยของเรือลำนัน้ ๆ • ปัจจัยเสี่ยงจากคู่สัญญา: เนื่องจากภาวะถดถอยของโลก บริษัทหลายแห่งซึ่งใช้บริการขนส่งสินค้า รวมถึงลูกค้าของบริษัทฯ หรือผู้เช่าเรือ ซึ่งบริษัทฯ ได้ทำสัญญาปล่อยเรือให้เช่าระยะยาวในอัตราที่สูง อาจต้องปิดกิจการลงหรือล้มละลายหรืออาจ ประสบกับปัญหาทางการเงินในอนาคต ทำให้ไม่สามารถชำระค่าเช่าเรือให้กับบริษัทฯ หรือยกเลิกสัญญาเช่าก่อนถึงกำหนด อย่างไรก็ตาม ดังทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วข้างต้น บริษทั ฯ ตระหนักถึงความเสีย่ งจากการทีค่ สู่ ญั ญาไม่ปฏิบตั ติ ามสัญญาในระยะยาว ดังนัน้ บริษทั ฯ ได้ทำการวิเคราะห์ลกู ค้า (ผูเ้ ช่าเรือ) ทีจ่ ะทำสัญญาเช่าในระยะยาวโดยจะเลือกลูกค้าชัน้ ดี และมีเครดิตสูงทีส่ ดุ เท่านัน้ • ปัจจัยเสีย่ งจากภาวะสินเชือ่ ตึงตัว (Credit Crunch): วิกฤตการเงินได้นำไปสูภ่ าวะสินเชือ่ ตึงตัว ความเสีย่ งนีเ้ ป็นสิง่ ตรงข้ามกับ นโยบายซึง่ เป็นทีย่ อมรับโดยธนาคารทัว่ โลกทีส่ นับสนุนการตัง้ ทุนสำรอง ซึง่ ทำให้ยากต่อการระดมทุนใหม่ หากสถานการณ์นยี้ งั คงดำเนินอยูร่ ะยะหนึง่ บริษทั ฯ อาจจะไม่สามารถหาสินเชือ่ ใหม่ หรือต่ออายุสญั ญาขอสินเชือ่ ปัจจุบนั ทีบ่ ริษทั ฯมีอยู่ ซึง่ เป็นสิง่ จำเป็นเพือ่ ระดมทุนในการซือ้ เรือมือสองเข้ามาเสริมตามทีบ่ ริษทั ฯต้องการ

64

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


ผู้ถือหุ้นรายใหญ่และนโยบายการจ่ายเงินปันผล

ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ตามสมุดทะเบียนผูถ้ อื หุน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

เลขที่ ชื่อ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

*ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

จำนวนหุ้น

จำนวนหุ้น

ร้อยละ

ร้อยละ

บริษทั โกลเบ๊กซ์ คอร์ปอเรชัน่ จำกัด 266,625,206 25.65% 260,777,706 25.09% น.ส. นิชติ า้ ชาห์ 98,586,000 9.48% 98,586,000 9.48% บริษทั เกรนเทรด จำกัด 74,668,000 7.18% 73,468,000 7.07% บริษทั ยูนสิ เตรทช์ จำกัด 7,600,400 0.73% 7,600,400 0.73% 1 ** รวม จำนวนหุน้ ทีอ่ ยูภ่ ายใต้การควบคุมของ น.ส นิชติ า้ ชาห์ 447,479,606 43.04% 440,432,106 42.37% นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม (Mr. Khalid Moinuddin Hashim) 100,328,600 9.65% 99,909,600 9.61% (รวมหุน้ จำนวน 569,000 หุน้ ในบริษทั ไทย เอ็นวีดอี าร์ จำกัด) นายมูนรี มอยนูดดิน ฮาชิม (Mr. Munir Moinuddin Hashim) 75,134,100 7.23% 75,134,100 7.23% (รวมหุน้ จำนวน 80,000 หุน้ ในบริษทั ไทย เอ็นวีดอี าร์ จำกัด) นางอิสรัท ฮาชิม (Mrs. Ishrat Hashim) 6,696,000 0.64% 6,696,000 0.64% (ภริยา นายมูนรี มอยนูดดิน ฮาชิม) 2 *** รวม จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ครองโดยตระกูล ฮาชิม 182,158,700 17.52% 181,739,700 17.48% 3 บริษทั ไทย เอ็นวีดอี าร์ จำกัด 80,316,760 7.73% 97,558,410 9.39% 4 Fortis Global Custody Services N.V. 29,000,000 2.79% 29,298,600 2.82% 5 The Bank of New York (Nominees) Limited 11,015,350 1.06% 2,080,646 0.20% 6 PICTET & CIE 9,619,000 0.93% 9,619,000 0.93% 7 State Street Bank and Trust Company 9,032,536 0.87% 9,886,481 0.95% 8 Gedra Enterprises Inc 8,384,294 0.81% 8,234,294 0.79% 9 Mr. Shah Salil Sevantilal 8,243,200 0.79% 8,243,200 0.79% 10 The Bank of New York Nominees Ltd 7,933,800 0.76% 0 0.00% A/C Bank of New York Europe Ltd - Direct Clients Account 11 ผูถ้ อื หุน้ รายอืน่ ๆ (นอกจากผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ 10 รายแรก ข้างต้น) 246,337,354 23.70% 252,428,163 24.28% รวมทัง้ หมด ณ 31 ธันวาคม 2551 : ผูถ้ อื หุน้ 6,019 ราย 1,039,520,600 100.00% 1,039,520,600 100.00% ณ 31 ธันวาคม 2550 : ผูถ้ อื หุน้ 4,664 ราย Note : * แสดงการถือครองหุน้ ทีไ่ ด้เปิดเผยในรายงานประจำปี 2550 ** น.ส. นิชติ า้ ชาห์ ผูซ้ งึ่ เป็นกรรมการของบริษทั ฯ และเป็นกรรมการ และผูถ้ อื หุน้ ใน บริษทั โกลเบ๊กซ์ คอร์ปอเรชัน่ จำกัด, บริษทั เกรนเทรด จำกัด และ บริษทั ยูนสิ เตรทช์ จำกัด *** นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม เป็นพีช่ ายของ นายมูนรี มอยนูดดิน ฮาชิม

นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษทั ฯ มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลซึง่ ได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมสามัญประจำปีผถู้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2547 จัดขึน้ เมือ่ วันที่ 30 เมษายน 2547 ให้จา่ ยเงินปันผลประจำปีไม่ตำ่ กว่าร้อยละ 25 ของผลกำไรสุทธิหลังหักภาษีและสำรองตามกฎหมาย ทัง้ นีเ้ มือ่ คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มี มติเห็นชอบให้จา่ ยเงินปันผลประจำปีแล้ว จะต้องนำเสนอขออนุมตั ติ อ่ ทีป่ ระชุมสามัญประจำปีผถู้ อื หุน้ โดยในส่วนของเงินปันผลระหว่างกาล ให้คณะกรรมการบริษทั ฯมีอำนาจอนุมตั ใิ ห้จา่ ยได้ แล้วให้รายงานให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทราบในการประชุมผูถ้ อื หุน้ คราวต่อไป รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

65


โครงสร้างการจัดการ บริษัทฯ มีคณะกรรมการรวม 5 ชุด คือ 1. คณะกรรมการบริษทั ฯ 2. คณะกรรมการบริหาร 3. คณะกรรมการตรวจสอบ 4. คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน 5. คณะกรรมการสรรหา การแต่งตั้งคณะกรรมการบริษัทฯ บริษทั ฯ กำหนดให้การแต่งตัง้ กรรมการกระทำโดยทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ผูถ้ อื หุน้ หนึง่ หุน้ มีหนึง่ คะแนนเสียง โดยทีผ่ ถู้ อื หุน้ แต่ละคนต้อง ใช้คะแนนเสียงทีม่ อี ยูท่ งั้ หมด เลือกบุคคลคนเดียว หรือหลายคนเป็นกรรมการ บุคคลซึง่ ได้รบั คะแนนเสียงสูงสุดตามลำดับลงมา เป็นผูไ้ ด้รบั การเลือกตัง้ ให้เป็นกรรมการเท่ากับจำนวนกรรมการทีจ่ ะพึงมี หรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ และในกรณีทบี่ คุ คลซึง่ ได้รบั การเลือกตัง้ ในลำดับถัด ลงมา มีคะแนนเสียงเท่ากัน ทำให้เกินจำนวนกรรมการทีจ่ ะพึงมี หรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ให้ผเู้ ป็นประธานเป็นผูอ้ อกเสียงชีข้ าด 1. คณะกรรมการบริษัทฯ อำนาจ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั ฯ สรุปไว้ดงั นี ้ 1. คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้รับผิดชอบจัดการกิจการทั้งหลายของบริษัทฯ โดยมีอำนาจหน้าที่ดำเนินการภายในขอบเขตของ กฎหมาย วัตถุประสงค์และข้อบังคับของบริษัทฯ และตามมติของที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้น รวมทั้งมีอำนาจกระทำการใดๆ ตามที่ระบุไว้ใน หนังสือบริคณห์สนธิ หรือทีเ่ กีย่ วข้องกับพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 2. กรรมการ มีหน้าทีก่ ระทำการใดๆ เพือ่ รักษาผลประโยชน์ของบริษทั ฯ 3. คณะกรรมการบริษทั ฯ หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ มีอำนาจกำหนดรายชือ่ กรรมการบริษทั ฯ ผูม้ อี ำนาจลงลายมือชือ่ ผูกพันบริษทั ฯ ซึง่ ปัจจุบนั กรรมการผูม้ อี ำนาจลงลายมือชือ่ ผูกพันบริษทั ฯ ได้แก่ 1) นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม 2) นายมูนรี มอยนูดดิน ฮาชิม 3) นายคูชรู คาลี วาเดีย โดยกรรมการบริษทั ฯ สองในสามท่านลงลายมือชือ่ ร่วมกันและประทับตราสำคัญของบริษทั ฯ 4. คณะกรรมการบริษทั ฯ มีอำนาจทีจ่ ะขาย หรือจำนองอสังหาริมทรัพย์ใดๆ ของบริษทั ฯ หรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ใดๆ ของ บริษทั ฯ กว่าสามปีขนึ้ ไป หรือให้ หรือประนีประนอมยอมความหรือยืน่ ฟ้องต่อศาล หรือมอบข้อพิพาทใดๆ ให้อนุญาโตตุลาการพิจารณา 2. คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ กรรมการบริหาร มีรายชือ่ ต่อไปนี ้ 1) นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม 2) นายมูนรี มอยนูดดิน ฮาชิม 3) นายคูชรู คาลี วาเดีย อำนาจ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร สรุปไว้ดงั นี ้ 1. คณะกรรมการบริหารมีหน้าทีบ่ ริหารกิจการของบริษทั ฯ ภายใต้มติและระเบียบข้อบังคับของคณะกรรมการบริษทั ฯ 2. คณะกรรมการบริหารมีอำนาจทำความตกลงหรือทำสัญญาผูกพันบริษัทฯ โดยข้อตกลงหรือสัญญานั้นจะต้องอยู่ในขอบเขต อำนาจหน้าทีท่ คี่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ได้ให้ไว้และจะต้องให้มกี รรมการบริหารสองคนลงนามและประทับตราสำคัญของบริษทั ฯ 3. คณะกรรมการบริหารมีอำนาจกระทำการใดๆ เพือ่ ผลประโยชน์ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย

66

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


3. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบครัง้ แรก เมือ่ วันที่ 24 สิงหาคม 2541 มีวาระการดำรงตำแหน่งท่านละ 2 ปี ปัจจุบนั คณะกรรมการตรวจสอบมีรายชือ่ ดังต่อไปนี ้

ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง สถานะ

ระยะเวลาใน การดำรงตำแหน่ง

1. พลตำรวจโท เกียรติศกั ดิ ์ ประภาวัต * ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ 2 ปี 2. นายสุพฒั น์ ศิวะศรีอำไพ */** กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ 2 ปี 3. นายธีระ วิภชู นิน **/*** กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ 2 ปี * พลตำรวจโท เกียรติศกั ดิ์ ประภาวัต ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและนายสุพฒั น์ ศิวะศรีอำไพ กรรมการตรวจสอบ ได้รบั การ แต่งตัง้ ให้กลับเข้าดำรงตำแหน่งอีกวาระหนึง่ โดยมติของทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 3/2551 เมือ่ วันที่ 14 สิงหาคม 2551 ** กรรมการตรวจสอบทีม่ คี วามรูแ้ ละประสบการณ์ดา้ นบัญชีและการเงิน ตามรายละเอียดทีไ่ ด้กล่าวไว้ในหัวข้อ “ประวัตคิ ณะกรรมการ บริษทั ” ในรายงานประจำปีน ี้ *** นายธีระ วิภชู นิน ได้รบั การแต่งตัง้ ให้ดำรงตำแหน่งคณะกรรมการตรวจสอบแทน พลเรือเอก ดร. อำนาจ จันทนมัฎฐะ ซึง่ หมดวาระ ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551 ตามมติของทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 1/2551 เมือ่ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2551 คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าทีส่ อบทานและรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ ในเรือ่ งดังต่อไปนี ้ 1. สอบทานรายงานทางการเงินของบริษัทฯ เพื่อให้มั่นใจว่ารายงานทางการเงินมีการจัดทำอย่างถูกต้องและมีการเปิดเผยข้อมูล อย่างครบถ้วน 2. สอบทานเพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯมีระบบการควบคุมภายในและระบบการตรวจสอบภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพและ พิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณา แต่งตัง้ โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงาน ตรวจสอบภายใน 3. สอบทานเพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ รวมทัง้ กฎหมายอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ 4. พิจารณาคัดเลือกและเสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อทำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และเสนอค่าตอบแทน ผูส้ อบบัญชีและเสนอต่อผูถ้ อื หุน้ เพือ่ อนุมตั ริ วมทัง้ เข้าร่วมประชุมกับผูส้ อบบัญชีโดยไม่มฝี า่ ยจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ 5. พิจารณารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำหนดของตลาด หลักทรัพย์ฯ ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้มนั่ ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั ฯ และเพือ่ ให้มนั่ ใจว่ามีการเปิดเผยอย่างถูกต้อง และครบถ้วน 6. จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลตามข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และลงนามโดย ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและเปิดเผยไว้ในรายงานประจำปีของบริษทั ฯ 7. ปฏิบตั งิ านอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมายและด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ 4. คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2550 ซึ่งประกอบด้วย กรรมการทัง้ หมด 3 ท่าน ดังต่อไปนี ้

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

67


ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง สถานะ

ระยะเวลาใน การดำรงตำแหน่ง

ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง สถานะ

ระยะเวลาใน การดำรงตำแหน่ง

1. นายธีระ วิภชู นิน ประธานคณะกรรมการพิจารณา กรรมการอิสระ 2 ปี ค่าตอบแทน 2. นายชีระ ภาณุพงศ์ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ 2 ปี 3. นายกิรติ ชาห์ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการ 2 ปี สำหรับปี 2551 คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ด้วยความ ระมัดระวัง รอบคอบ และเป็นอิสระ โดยมีการประชุมคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน จำนวนทัง้ สิน้ 2 ครัง้ และกรรมการทุกท่านเข้าร่วม ประชุมทุกครัง้ บทบาท หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนมีหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ซึง่ ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ ดังต่อไปนี ้ 1. กำหนดแนวทางการจ่ายค่าตอบแทนของกรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูงและนำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ 2. เสนอค่าตอบแทนของกรรมการต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ รับคำแนะนำและแสดงความเห็นและเสนอความเห็นดังกล่าวเพือ่ ขออนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ 3. ให้ขอ้ มูลทีเ่ ป็นปัจจุบนั เกีย่ วกับค่าตอบแทนของบริษทั ต่างๆ ในประเทศไทยและต่างประเทศ เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ 4. ปฏิบตั งิ านอืน่ ๆ ทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ 5. คณะกรรมการสรรหา ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ได้อนุมตั แิ ต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหา เมือ่ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2550 ซึง่ ประกอบด้วยกรรมการ ทัง้ หมด 3 ท่าน ดังต่อไปนี ้ 1. นายธีระ วิภชู นิน ประธานคณะกรรมการสรรหา กรรมการอิสระ 2 ปี 2. นายสุพฒั น์ ศิวะศรีอำไพ กรรมการสรรหา กรรมการอิสระ 2 ปี 3. นายปีเต้อร์ เฟ็ดเดอร์เซ่น กรรมการสรรหา กรรมการอิสระ 2 ปี สำหรับปี 2551 คณะกรรมการสรรหาได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ด้วยความระมัดระวัง รอบคอบ และเป็นอิสระ โดยมีการประชุมคณะกรรมการสรรหา จำนวนทัง้ สิน้ 3 ครัง้ และกรรมการทุกท่านเข้าร่วมประชุมทุกครัง้ บทบาท หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการสรรหามีหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ซึง่ ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ ดังต่อไปนี ้ 1. กำหนดแนวทางในการคัดเลือก แต่งตัง้ บุคคลทีม่ คี ณุ สมบัตเิ หมาะสมและนำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ 2. ทบทวนโครงสร้างของคณะกรรมการบริษทั ฯ และจัดทำแผนสืบทอดงานของกรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูง 3. นำเสนอรายชือ่ ผูส้ มัครทีเ่ ข้าเกณฑ์ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการ ต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ 4. ดำเนินการสอบทานการปฏิบตั งิ านของกรรมการ ตามความต้องการของคณะกรรมการบริษทั ฯ 5. จัดทำรายงานเกี่ยวกับแนวโน้มและข้อปฏิบัติที่เป็นปัจจุบันในการแต่งตั้งกรรมการและผู้บริหารระดับสูง เพื่อนำเสนอต่อ

คณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณา 6. ปฏิบตั งิ านอืน่ ๆ ทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ

68

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


ประวัติคณะกรรมการบริษัท

s พลเรือเอก ดร. อำนาจ จันทนมัฎฐะ

ตำแหน่ง ประธานคณะกรรมการบริษัท กรรมการอิสระ อายุ 78 ปี ประวัติการศึกษา B.Sc. First-Class Hons. Ph.D. วิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัย Leeds ประเทศอังกฤษ พ.ศ. 2533 ปริญญาวิศวกรรมศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ว.ป.อ. รุ่น 28 ประวัติการอบรม 11 ม.ค. 2549 เข้าร่วมประชุมเพื่อรับทราบ “ทิศทางและนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลในปี 2549” บรรยายโดย อดีตนายกรัฐมนตรี พันตำรวจโท ดร. ทักษิณ ชินวัตร 21 ก.ย. 2547 เข้าร่วมอบรมในหัวข้อ “Director Accreditation Program” (DAP) จัดโดย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 3 ธ.ค. 2544 เข้าร่วมอบรมในหัวข้อ “Chairman 2000” จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 16 พ.ย. 2544 เข้าร่วมการอบรมเรื่อง “Effective Audit Committees & Best Practices” จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 31 ต.ค. 2543 เข้าร่วมการอบรมในหัวข้อ “The State of Corporate Governance in Europe” จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์อื่นๆ 2534 - ปัจจุบัน ประธานคณะกรรมการ บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) พ.ค 2551 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษาและติดตามการแก้ไขปัญหาการประกอบกิจการประมงของวุฒิสภา 2543 - ก.พ. 2551 กรรมการตรวจสอบ บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2542 - 2549 กรรมาธิการ รัฐสภา 2534 พลเรือเอกแห่งราชนาวีไทย เสนาธิการกองบัญชาการทั่วไป 2532 - 2534 เจ้ากรมอู่ทหารเรือ กรมอู่ทหารเรือ 2531 - 2532 รองเจ้ากรมอู่ทหารเรือ กรมอู่ทหารเรือ อาชีพหลัก ข้าราชการบำนาญ-พลเรือเอกแห่งราชนาวีไทย นักธุรกิจ การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทและกิจการ/องค์กรอื่น - บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่มี - บริษัทที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2 บริษัท : 1. ประธานคณะกรรมการ บริษัท ฮอสพิทอล เน็ทเวิร์ค จำกัด 2. ประธานคณะกรรมการ บริษัท โรงพยาบาลบางกอก 9 อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด - บริษัทที่เกี่ยวโยงกับธุรกิจของบริษัทฯ ไม่มี - บริษัทที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ (บริษัทย่อยและ/หรือบริษัทร่วม) ไม่มี - กิจการ/องค์กรอื่น ไม่มี จำนวนหุ้นที่ถือ ณ สิ้นปี พ.ศ. 2551 2,850,000 หุ้น (ร้อยละ 0.27 ของหุ้นทั้งหมดที่เรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2551 451,200 หุ้น

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

69


s นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม

ตำแหน่ง กรรมการผู้จัดการ กรรมการบริหาร อายุ 56 ปี ประวัติการศึกษา ปริญญาโทด้านการบริหารสาขาการเงิน จากมหาวิทยาลัยบอมเบย์ ประวัติการอบรม 2548 สมาชิกผู้ทรงคุณวุฒิ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ซึ่งได้รับประกาศนียบัตร สถาบันกรรมการบริษัทไทย [Directors Certification Program (DCP)] Class 57/2005 ประสบการณ์อื่นๆ 2534 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2527 - 2534 หัวหน้าแผนกชิพปิ้ง บริษัท จีพี คอร์ปอเรชั่น จำกัด 2522 - 2526 ผู้บริหารอาวุโส บริษัท แพนโอเชี่ยน นาวิเกชั่น แอน เทรดดิ้ง พีทีอี จำกัด อาชีพหลัก กรรมการผู้จัดการ และกรรมการบริหาร บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทและกิจการ/องค์กรอื่น - บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่มี - บริษัทที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯและบริษัทที่เกี่ยวโยงกับธุรกิจของบริษัทฯ ไม่มี - บริษัทที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ (บริษัทย่อยและ/หรือบริษัทร่วม) 51 บริษัท: กรรมการในบริษัทย่อย 50 บริษัทและบริษัทร่วม 1 บริษัท ของบริษัทฯ (บริษัทย่อยที่ 1 - 49, 51 และบริษัทร่วมที่ 50 ในหน้า 7 - 8 ของรายงานประจำปีฉบับนี้) - กิจการ/องค์กรอื่น 1. รองประธานคณะกรรมการ The Swedish Club, ประเทศสวีเดน 2. Regional Committee Member, American Bureau of Shipping 3. Austral-Asia Regional Committee Member, Bureau Veritas จำนวนหุ้นที่ถือ ณ สิ้นปี พ.ศ. 2551 100,328,600 หุ้น (ร้อยละ 9.65 ของหุ้นทั้งหมดที่เรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2551 419,000 หุ้น s นายมูนีร มอยนูดดิน ฮาชิม

ตำแหน่ง กรรมการ กรรมการบริหาร อายุ 54 ปี ประวัติการศึกษา ปริญญาโทด้านการบริหารสาขาการตลาด จากมหาวิทยาลัยบอมเบย์ ประวัติการอบรม 2548 สมาชิกผู้ทรงคุณวุฒิ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ซึ่งได้รับประกาศนียบัตร สถาบันกรรมการบริษัทไทย [Directors Certification Program (DCP)] Class 57/2005 ประสบการณ์อื่นๆ 2534 - ปัจจุบัน กรรมการ (การพาณิชย์) บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2529 - 2534 หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ บริษัท จีพี คอร์ปอเรชั่น จำกัด 2524 - 2528 หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการพาณิชย์ บริษัท มัลดีฟส์ ชิพปิ้ง จำกัด อาชีพหลัก กรรมการ (การพาณิชย์) และ กรรมการบริหาร บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทและกิจการ/องค์กรอื่น - บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่มี - บริษัทที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯและบริษัทที่เกี่ยวโยงกับธุรกิจของบริษัทฯ ไม่มี - บริษัทที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ (บริษัทย่อยและ/หรือบริษัทร่วม) 49 บริษัท: กรรมการในบริษัทย่อยของบริษัทฯ (บริษัทย่อยที่ 1- 48 และ 51 ในหน้า 7 - 8 ของรายงานประจำปีฉบับนี้) - กิจการ/องค์กรอื่น 1. กรรมการ UK Defence Club, ประเทศอังกฤษ จำนวนหุ้นที่ถือ ณ สิ้นปี พ.ศ. 2551 75,134,100 หุ้น (ร้อยละ 7.23 ของหุ้นทั้งหมดที่เรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2551 ไม่มี

70

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


s นายคูชรู คาลี วาเดีย

ตำแหน่ง กรรมการ กรรมการบริหาร อายุ 46 ปี ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี - สถิติ, คณิตศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยบอมเบย์ ผู้ตรวจสอบบัญชีรับอนุญาตจากสถาบันผู้ตรวจสอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศอินเดีย ประวัติการอบรม 2548 สมาชิกผู้ทรงคุณวุฒิของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ซึ่งได้รับประกาศนียบัตรสถาบันกรรมการบริษัทไทย [Directors Certification Program (DCP)] Class 64/2005 ประสบการณ์อื่นๆ 2542 - ปัจจุบัน กรรมการ (การเงิน) บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2537 - 2542 กรรมการ (การเงินและบัญชี) กลุ่มบริษัท แม็กซ์วิน จำกัด 2540 - 2541 ผู้อำนวยการ (การเงินและการจัดการ) บริษัท ชัวร์เท็กซ์ จำกัด 2533 - 2537 ผู้จัดการแผนกบัญชีและการเงิน กลุ่มบริษัท แม็กซ์วิน จำกัด 2531 - 2533 ผู้ช่วยผู้จัดการ บริษัท เอ.เอฟ.เฟอร์กูสัน แอนด์ โค อาชีพหลัก กรรมการ (การเงิน) และ กรรมการบริหาร บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทและกิจการ/องค์กรอื่น - บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่มี - บริษัทที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯและบริษัทที่เกี่ยวโยงกับธุรกิจของบริษัทฯ * 3 บริษัท : 1. กรรมการ บริษัท แมกซ์วิน บิลเดอร์ส จำกัด* (ให้บริการด้านบริหารจัดการให้เช่า สำนักงานและห้องพักพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อย) 2. กรรมการ บริษัท แม็กซ์วิน อพาร์ทเม้นท์ส จำกัด 3. กรรมการ บริษัท ดิ เอเทรียม โฮเต็ล จำกัด * หมายเหตุ : อ้างอิง “รายการที่เกี่ยวโยงกัน” ในหน้า 164 ของรายงานประจำปีฉบับนี้ - บริษัทที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ (บริษัทย่อยและ/หรือบริษัทร่วม) 50 บริษัท : กรรมการในบริษัทย่อยของบริษัทฯ (บริษัทย่อยที่ 1 - 49 และ 51 ในหน้า 7 - 8 ของรายงานประจำปีฉบับนี้) - กิจการ/องค์กรอื่น ไม่มี จำนวนหุ้นที่ถือ ณ สิ้นปี พ.ศ. 2551 712,600 หุ้น (ร้อยละ 0.07 ของหุ้นทั้งหมดที่เรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2551 (1,096,800) หุ้น s นางสาวนิชิต้า ชาห์

ตำแหน่ง กรรมการ อายุ 29 ปี ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี สาขาการจัดการธุรกิจ (การเงิน และ กฎหมายธุรกิจ), มหาวิทยาลัยบอสตัน, โรงเรียนการจัดการ ประวัติการอบรม 2550 สมาชิกผู้ทรงคุณวุฒิของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ซึ่งได้รับประกาศนียบัตรสถาบันกรรมการบริษัทไทย [Directors Certification Program (DCP)] Class 83/2007 2549 เข้าร่วมอบรมในหัวข้อ “Director Accreditation Program” (DAP), Class 57/2006 จัดโดย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) 2547 สำเร็จการฝึกอบรม “Anatomy of Shipping” course, Seatrade Academy/Cambridge Academy of Transport ประสบการณ์อื่นๆ 2545 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) อาชีพหลัก ผู้บริหาร กลุ่มบริษัท จีพี กรุ๊ป การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทและกิจการ/องค์กรอื่น - บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่มี - บริษัทที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯและบริษัทที่เกี่ยวโยงกับธุรกิจของบริษัทฯ * 6 บริษัท : 1. กรรมการ บริษัท โกลเบ๊กซ์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด 2. กรรมการ บริษัท เกรนเทรด จำกัด รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

71


3. กรรมการ บริษัท ยูนิสเตรทช์ จำกัด * (ให้เช่าสำนักงานหลักของบริษัทฯ) 4. กรรมการ บริษัท แอมบิก้า ทัวร์ เอเยนซี่ จำกัด * (ขายตั๋วเครื่องบินให้กับบริษัทฯ) 5. กรรมการ บริษัท จีพี แอร์ เซอร์วิส จำกัด * (ขายตั๋วเครื่องบินให้กับบริษัทฯ) 6. กรรมการ บริษัท แม็กซ์วิน เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด * (ให้บริการบำรุงรักษาระบบเครื่องปรับอากาศสำหรับสำนักงานหลัก และห้องพักพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อย) * หมายเหตุ : อ้างอิง “รายการที่เกี่ยวโยงกัน” ในหน้า 163 - 165 ของรายงานประจำปีฉบับนี้ - บริษัทที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ (บริษัทย่อยและ/หรือบริษัทร่วม) 37 บริษัท : กรรมการในบริษัทย่อยของบริษัทฯ (บริษัทย่อยที่ 1-37 ในหน้า 7 - 8 ของรายงานประจำปีฉบับนี้) - กิจการ/องค์กรอื่น ไม่มี จำนวนหุ้นที่ถือ ณ สิ้นปี พ.ศ. 2551 98,586,000 หุ้น (ร้อยละ 9.48 ของหุ้นทั้งหมดที่เรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2551 ไม่มี s นายสุพัฒน์ ศิวะศรีอำไพ

ตำแหน่ง กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ * กรรมการสรรหา อายุ 62 ปี ประวัติการศึกษา อัสสัมชัญพาณิชย์ ประวัติการอบรม ทำงานและเรียนจากประสบการณ์ในการร่วมลงทุนกับบริษัทใหญ่ที่มีชื่อเสียงซึ่งมีทั้งชาวญี่ปุ่น, อเมริกัน และอินเดียน 2549 เข้าร่วมอบรมในหัวข้อ “Director Accreditation Program” (DAP), Class 57/2006 จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงิน 2541 - ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) ประสบการณ์อื่นๆ 2532 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) อาชีพหลัก บริหารบริษัทต่างๆ ของครอบครัว การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทและกิจการ/องค์การอื่น - บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่มี - บริษัทที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 3 บริษัท : 1. กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยฟีลาเมนต์เท็กซ์ไทล์ จำกัด 2. กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทย-อัมบิก้า เคมีคัลส์ จำกัด 3. กรรมการผู้จัดการ บริษัท แรมแบรนดท์โฮเต็ล คอร์ปอเรชั่น จำกัด - บริษัทที่เกี่ยวโยงกับธุรกิจของบริษัทฯ ไม่มี - บริษัทที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ (บริษัทย่อยและ/หรือบริษัทร่วม) ไม่มี - กิจการ/องค์กรอื่น 1. ประธานหอการค้าอินเดีย-ไทย จำนวนหุ้นที่ถือ ณ สิ้นปี พ.ศ. 2551 3,300,000 หุ้น (ร้อยละ 0.32 ของหุ้นทั้งหมดที่เรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2551 300,000 หุ้น หมายเหตุ : * กรรมการตรวจสอบผู้ที่มีความรู้ และประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงิน

72

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


s พลตำรวจโท เกียรติศักดิ์ ประภาวัต

ตำแหน่ง ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ อายุ 73 ปี ประวัติการศึกษา 2498 - 2502 โรงเรียนนายร้อยทหารบก ประเทศอังกฤษ โรงเรียนตำรวจ ประเทศอังกฤษ โรงเรียนสืบสวนสอบสวน เฮนดอน ประเทศอังกฤษ 2509 - 2510 โรงเรียนสืบสวนสอบสวนแห่งชาติ เอฟบีไอ ประเทศสหรัฐอเมริกา 2536 - 2537 โรงเรียนนักบริหารชั้นสูงของสำนักงานเลขาธิการ ข้าราชการพลเรือน ประวัติการอบรม 26 ก.ย. 2548 เข้าร่วมสัมนาเรื่อง “Corporate Governance Roundtable” โดย คณะกรรมการบรรษัทภิบาลแห่งชาติ 21 ก.ย. 2547 เข้าร่วมอบรมในหัวข้อ “Director Accreditation Program” (DAP) จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 30 ก.ค. 2545 เข้าร่วมการอบรมเรื่อง “Chairman 2000” จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 16 พ.ย. 2544 เข้าร่วมการอบรมเรื่อง “Effective Audit Committees & Best Practices” จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 30 ต.ค. 2543 เข้าร่วมการอบรมเรื่อง “กรรมการบริษัทกับความรับผิดชอบที่เพิ่มตาม พ.ร.บ. การบัญชี พ.ศ. 2543” จัดโดย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์อื่นๆ 2539 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2547 - 2549 ที่ปรึกษา ประธาน Company Affairs บริษัท แอนเซอร์ จำกัด 2546 - 2549 ที่ปรึกษา บริษัท ออล ซีซั่นส์ พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด ประธานคณะกรรมการ บริษัท Perfect Place คอนโดมิเนียม จำกัด ที่ปรึกษา Company Affairs บริษัท V. Group Building 2545 ที่ปรึกษา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม 2539 - 2541 ที่ปรึกษาพิเศษ บริษัท สหวิริยา ซิตี้ จำกัด (มหาชน) ที่ปรึกษาพิเศษ บริษัท กวงดอง เอ็นเตอร์ไพรซ์ จำกัด (มหาชน) 2538 - 2539 กรรมการ การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย 2537 - 2539 ผู้บัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง 2537 จเรตำรวจ 2535 - 2537 รองจเรตำรวจ 2534 - 2535 รองผู้บัญชาการศึกษา 2533 - 2534 ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจนครบาล 2532 - 2533 ผู้บังคับการอำนวยการกองบัญชาการตำรวจนครบาล 2531 - 2532 ผู้บังคับการตำรวจจราจร 2526 - 2531 รองผู้บังคับการตำรวจนครบาลพระนครใต้ อาชีพหลัก ข้าราชการบำนาญในตำแหน่งพลตำรวจโท ผู้บัญชาการ สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง นักธุรกิจ การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทและกิจการ/องค์กรอื่น - บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่มี - บริษัทที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 1 บริษัท : กรรมการ บริษัท อูช่า สยาม สตีล อินดัสตรียส์ จำกัด (มหาชน) - บริษัทที่เกี่ยวโยงกับธุรกิจของบริษัทฯ ไม่มี - บริษัทที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ (บริษัทย่อยและ/หรือบริษัทร่วม) ไม่มี - กิจการ/องค์กรอื่น ไม่มี จำนวนหุ้นที่ถือ ณ สิ้นปี พ.ศ. 2551 ไม่มี จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2551 ไม่มี

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

73


s นายไจปาล มันสุขานี

ตำแหน่ง กรรมการ อายุ 59 ปี ประวัติการศึกษา Directorate of Marine Engineering Training ค.ศ.1967- ค.ศ.1971. ประวัติการอบรม 2548 สมาชิกผู้ทรงคุณวุฒิ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ซึ่งได้รับประกาศนียบัตร สถาบันกรรมการบริษัทไทย “Directors Certification Program” (DCP) Class 64/2005 ประสบการณ์อื่นๆ 2536 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2531 - 2544 ผู้จัดการฝ่ายเทคนิค บริษัท เกรท เซอร์เคิล ชิปปิ้ง เอเยนซี่ จำกัด 2528 - 2530 รองผู้ควบคุมวิศวกร บริษัท สกินเดีย สตีม นาวิเกชั่น จำกัด 2524 - 2527 ผู้ช่วยผู้ควบคุมวิศวกร บริษัท สกินเดีย สตีม นาวิเกชั่น จำกัด 2520 - 2524 หัวหน้าวิศวกรประจำเรือ บริษัท สกินเดีย สตีม นาวิเกชั่น จำกัด 2514 - 2519 วิศวกรประจำเรือ บริษัท สกินเดีย สตีม นาวิเกชั่น จำกัด อาชีพหลัก กรรมการ บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท เกรท เซอร์เคิล ชิปปิ้ง เอเยนซี่ จำกัด (บริษัทย่อย) การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทและกิจการ/องค์กรอื่น - บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่มี - บริษัทที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯและบริษัทที่เกี่ยวโยงกับธุรกิจของบริษัทฯ ไม่มี - บริษัทที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ (บริษัทย่อยและ/หรือบริษัทร่วม) 2 บริษัท : 1. กรรมการ บริษัท เกรท เซอร์เคิล ชิปปิ้ง เอเยนซี่ จำกัด 2. กรรมการ บริษัท พรีเชียส โปรเจคส์ พีทีอี ลิมิเตด, ประเทศสิงคโปร์ (บริษัทย่อยที่ 37 และ 51 ในหน้า 8 ของรายงานประจำปีฉบับนี)้ - กิจการ/องค์กรอื่น 1. Member, Regional Technical Committee, Nippon Kaiji Kyokai. 2. Member, Regional Technical Committee, American Bureau of Shipping. 3. Member, Regional Technical Committee, Bureau Veritas. จำนวนหุ้นที่ถือ ณ สิ้นปี พ.ศ. 2551 200,000 หุ้น (ร้อยละ 0.02 ของหุ้นทั้งหมดที่เรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2551 40,000 หุ้น s นายชีระ ภาณุพงศ์

ตำแหน่ง อายุ ประวัติการศึกษา ประวัติการอบรม 2546 2545 ประสบการณ์อื่นๆ 2543 - ปัจจุบัน 2547 - ปลายปี 2550 2537 - 2550 2544 - 2548 2539 - 2546 2529 - 2534

74

กรรมการอิสระ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน 76 ปี ธรรมศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ B. Com. (Accountancy) Hons., University of Leeds, England. M.Sc. (Econ.), School of Economics and Political Science, University of London หลักสูตร Industrial Project Evaluation Course, Economic Development Institute, IBRD วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ว.ป.อ. รุ่น 20 เข้าร่วมอบรมในหัวข้อ “Director Accreditation Program No. 2/2546” (DAP 2/2546) จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย เข้าร่วมอบรมในหัวข้อ “Chairman 2000” จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย กรรมการ บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) ประธานคณะกรรมการและประธานคณะกรรมการบริหาร บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) รองประธานคณะกรรมการและกรรมการอิสระ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำกัด (มหาชน) ประธานคณะกรรมการ บริษัท บ้านปู จำกัด (มหาชน) ประธานคณะกรรมการ บริษัท ไตร เอนเนอจี้ จำกัด เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


ก่อนปี 2535 สำนักงานเลขานุการกรม กระทรวงการต่างประเทศ กรมทะเบียนการค้า กระทรวงพาณิชย์ สำนักวิชาการและวางแผน กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อาชีพหลัก ข้าราชการบำนาญ การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทและกิจการ/องค์กรอื่น - บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 1 บริษัท : 1. ประธานคณะกรรมการและกรรมการอิสระ บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ จำกัด (มหาชน) - บริษัทที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2 บริษัท : 1. รองประธานคณะกรรมการ บริษัท ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ จำกัด (มหาชน) 2. กรรมการ บริษัท อูช่า สยาม สตีล อินดัสตรียส์ จำกัด (มหาชน) - บริษัทที่เกี่ยวโยงกับธุรกิจของบริษัทฯ ไม่มี - บริษัทที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ (บริษัทย่อยและ/หรือบริษัทร่วม) ไม่มี - กิจการ/องค์กรอื่น ไม่มี จำนวนหุ้นที่ถือ ณ สิ้นปี พ.ศ. 2551 ไม่มี จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2551 ไม่มี s นายธีระ วิภูชนิน

ตำแหน่ง กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ประธานคณะกรรมการสรรหา กรรมการตรวจสอบ * อายุ 59 ปี ประวัติการศึกษา ปริญญาตรีทางบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน สหรัฐอเมริกา ประวัติการอบรม 2548 เข้าร่วมอบรมในหัวข้อ “Audit Committee Program” (ACP) จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2544 สมาชิกของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ซึ่งได้รับประกาศนียบัตรสถาบันกรรมการบริษัทไทย “Directors Certification Program” (DCP) Class 6/2001 ประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงิน 2551 - ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2548 - ปัจจุบัน ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท สหอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) 2546 - ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัทเงินทุน กรุงเทพธนาทร จำกัด (มหาชน) ประสบการณ์อื่นๆ 2543 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) ก.ย. 2551 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท อินโนเวกซ์ ไอเอ็นซี, สหรัฐอเมริกา 2543 - 2546 รองกรรมการผู้จัดการ ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย กรรมการ บริษัท ซันโย ยูนิเวอร์แซล อีเล็คทริค จำกัด (มหาชน) กรรมการและเหรัญญิก มูลนิธิเอกชนพัฒนาภูมิภาค ประเทศไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการเตรียมการจัดตั้งบริษัทของ ท.ศ.ท. และ ก.ส.ท. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการเตรียมการจัดตั้งบริษัทของ ป.ต.ท. อนุกรรมการ คณะอนุกรรมการบริหารศูนย์ระดมทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2537 - 2540 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโส กลุ่มบริษัท พรีเมียร์ 2533 - 2537 ผู้แทนประจำประเทศไทย บริษัท พรูเด็นเชียล แอสเซ็ต แมนเนจเม้นท์ เอเชีย จำกัด 2518 - 2533 รองประธาน (การลงทุน) บริษัท อเมริกัน อินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด 2517 - 2518 จัดการสินเชื่อธุรกิจ บริษัท เครดิตการพาณิชย์ (ประเทศไทย) จำกัด 2516 - 2517 ประจำกองพลทหารม้า อาชีพหลัก กรรมการบริษัท

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

75


การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทและกิจการ/องค์กรอื่น - บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 4 บริษัท : 1. ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ, กรรมการอิสระ, กรรมการสรรหา และกรรมการ กำหนดค่าตอบแทน บริษัท สหอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) 2. กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) 3. ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ, กรรมการอิสระ, กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน บริษัทเงินทุน กรุงเทพธนาทร จำกัด (มหาชน) 4. ประธานคณะกรรมการและกรรมการอิสระ บริษัท อินเตอร์ไฮด์ จำกัด (มหาชน) - บริษัทที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2 บริษัท 1. ประธานคณะกรรมการ บริษัท จัดการรักษาสิ่งแวดล้อม จำกัด 2. กรรมการ บริษัท อินโนเวกซ์ ไอเอ็นซี, สหรัฐอเมริกา - บริษัทที่เกี่ยวโยงกับธุรกิจของบริษัทฯ ไม่มี - บริษัทที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ (บริษัทย่อยและ/หรือบริษัทร่วม) ไม่มี - กิจการ/องค์กรอื่น ไม่มี จำนวนหุ้นที่ถือ ณ สิ้นปี พ.ศ. 2551 ไม่มี จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2551 ไม่มี หมายเหตุ : * เป็นกรรมการตรวจสอบผู้ที่มีความรู้ และประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงิน s นายกิริต ชาห์

ตำแหน่ง กรรมการ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน อายุ 56 ปี ประวัติการศึกษา ปริญญาตรีสาขาพาณิชยศาสตร์ จาก H.R. College of Commerce, กรุงบอมเบย์, ประเทศอินเดีย ประวัติการอบรม 2548 สมาชิกผู้ทรงคุณวุฒิ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ซึ่งได้รับประกาศนียบัตร “Directors Certification Program” (DCP) Class 57/2005 ประสบการณ์อื่นๆ 24 เม.ย 2550 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2542 - 2546 รองประธานคณะกรรมการ และกรรมการบริหาร บริษัท ฟินิคซ พัลพ แอนด์ เพเพอร์ จำกัด (มหาชน), กรุงเทพฯ 2532 - 2545 กรรมการ บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน), กรุงเทพฯ 2523 - 2546 กรรมการผู้จัดการ บริษัท จี.เปรมจี จำกัด, กรุงเทพฯ อาชีพหลัก ผู้บริหารบริษัท การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทและกิจการ/องค์การอื่น - บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่มี - บริษัทที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯและบริษัทที่เกี่ยวโยงกับธุรกิจของบริษัทฯ * 5 บริษัท : 1. กรรมการ บริษัท โกลเบ๊กซ์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด 2. กรรมการบริหาร บริษัท เกรนเทรด จำกัด 3. กรรมการ บริษัท เปรมไทย อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด 4. กรรมการ บริษัท ยูนิสเตรทช์ จำกัด * (ให้เช่าสำนักงานหลักของบริษัทฯ) 5. กรรมการ บริษัท แมกซ์วิน บิลเดอร์ส จำกัด * (ให้บริการด้านบริหารจัดการให้เช่าสำนักงานและ ห้องพักพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อย) * หมายเหตุ : อ้างอิง “รายการที่เกี่ยวโยงกัน” ในหน้า 163 - 164 ของรายงานประจำปีฉบับนี้ - บริษัทที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ (บริษัทย่อยและ/หรือบริษัทร่วม) 1 บริษัท : กรรมการ บริษัท เซาท์เทอร์น แอลพีจี ลิมิเตด, ประเทศอินเดีย (บริษัทย่อยที่ 49 ในหน้า 8 ของรายงานประจำปีฉบับนี้) - กิจการ/องค์กรอื่น ไม่มี จำนวนหุ้นที่ถือ ณ สิ้นปี พ.ศ. 2551 ไม่มี จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2551 ไม่มี

76

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


s นายปีเต้อร์ เฟ็ดเดอร์เซ่น

ตำแหน่ง กรรมการอิสระ กรรมการสรรหา อายุ 68 ปี ประวัติการศึกษา จบการศึกษาสาขาธุรกิจนานาชาติ จากโรงเรียนบริหารนานาชาติ Thunderbird, Glendale, Arizona, USA ประวัติการอบรม สิงหาคม 2549 เข้าร่วมการอบรมในหัวข้อ “Director Accreditation Program” ใน เดือน สิงหาคม 2549 ซึ่งจัดอบรม 1 วัน โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์อื่นๆ 24 เม.ย. 2550 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2530 - 2537 ผู้จัดการทั่วไป และ ที่ปรึกษา บริษัท จี. เปรมจี จำกัด , กรุงเทพฯ 2528 - 2530 ผู้จัดการทั่วไป คอนทิเน็นทัล โอเวอร์ซีส์ คอร์ปอเรชั่น, กรุงเทพฯ 2525 - 2528 กรรมการผู้จัดการ บริษัท คอนทิเน็นทัล เกรน (ออสเตรเลีย), ซิสนี่, ออสเตรเลีย 2516 - 2525 ผู้จัดการทั่วไป, รองผู้อำนวยการ บริษัท คอนทิเน็นทัล โอเวอร์ซีส์ คอร์ปอเรชั่น, กรุงเทพฯ 2545 - สิ้นปี 2550 สมาชิกคณะกรรมการทั่วไป ราชกรีฑาสโมสร (The Royal Bangkok Sports Club (RBSC)) อาชีพหลัก Grain Trader, นักลงทุน การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทและกิจการ/องค์กรอื่น - บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่มี - บริษัทที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2 บริษัท : 1. กรรมการ บริษัท พัทยาฟู้ดอินดัสตรี จำกัด 2. กรรมการ บริษัท ฟาสท์แทร็ค เซอร์วิส จำกัด - บริษัทที่เกี่ยวโยงกับธุรกิจของบริษัทฯ ไม่มี - บริษัทที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ (บริษัทย่อยและ/หรือบริษัทร่วม) ไม่มี - กิจการ/องค์กรอื่น ไม่มี จำนวนหุ้นที่ถือ ณ สิ้นปี พ.ศ. 2551 389,000 (ร้อยละ 0.04 ของหุ้นทั้งหมดที่เรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2551 10,000 หุ้น

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

77


คณะผู้บริหาร

นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม * กรรมการผูจ้ ดั การ นายมูนรี มอยนูดดิน ฮาชิม * กรรมการ (การพาณิชย์) นายคูชรู คาลี วาเดีย * กรรมการ (การเงิน) นายไจปาล มันสุขานี * กรรมการ บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด (บริษทั ย่อยของบริษทั ฯ) * สำหรับประวัติ และจำนวนหุน้ ทีเ่ ปลีย่ นแปลง – กรุณาดูหวั ข้อ ประวัตคิ ณะกรรมการบริษทั

s นายชีลาล โกปินาธาน

ตำแหน่ง ผู้อำนวยการ (การพาณิชย์) ประวัติการศึกษา ปริญญาตรีบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยบอมเบย์ ประกาศนียบัตรการเดินเรือ จาก Norottam Morarjee Institute of Shipping, บอมเบย์ ประสบการณ์ ผู้อำนวยการ (การพาณิชย์) บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2542 - ปัจจุบัน ผู้จัดการฝ่ายบริการเช่าเรือ บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2532 - 2541 การดำรงตำแหน่งในบริษัทอื่น ไม่มี จำนวนหุ้นที่ถือ ณ สิ้นปี พ.ศ. 2551 1,314,000 หุ้น (ร้อยละ 0.13 ของหุ้นทั้งหมดที่เรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2551 214,000 หุ้น s นายโคคา เวนคาตารามานา สุดาการ์

ตำแหน่ง ผู้อำนวยการ (บริหารกองเรือ) ประวัติการศึกษา Cadet, Directorate of Marine Engineering Training ประสบการณ์ ผู้อำนวยการ (บริหารกองเรือ) บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2542 - ปัจจุบัน ผู้จัดการกองเรือ บริษัท เกรท เซอร์เคิล ชิปปิ้ง เอเยนซี่ จำกัด 2532 - 2541 การดำรงตำแหน่งในบริษัทอื่น ไม่มี จำนวนหุ้นที่ถือ ณ สิ้นปี พ.ศ. 2551 10,000 หุ้น (ร้อยละ 0.00 ของหุ้นทั้งหมดที่เรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2551 ไม่มี s นายนีลากันตัน วาสุเดวัน

ตำแหน่ง ผู้อำนวยการ (การจัดการด้านความเสี่ยงภัย) ประวัติการศึกษา Post Graduate Diploma in International Trade from Indian Institute of Foreign Trade Master’s degree in Management Studies (M.M.S) ประสบการณ์ ผู้อำนวยการ (การจัดการด้านความเสี่ยงภัย) บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2548 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยผู้อำนวยการ (การจัดการด้านความเสี่ยงภัย) บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2542 - 2547 ผู้จัดการฝ่ายประกันภัย บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2538 - 2541 รองผู้จัดการ บริษัท Shipping Corporation of India Ltd. 2528 - 2538 การดำรงตำแหน่งในบริษัทอื่น ไม่มี จำนวนหุ้นที่ถือ ณ สิ้นปี พ.ศ. 2551 70,000 หุ้น (ร้อยละ 0.00 ของหุ้นทั้งหมดที่เรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2551 64,600 หุ้น

78

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


s นายสตีเฟน โกลา

ตำแหน่ง ผู้อำนวยการ (บริหารความปลอดภัยระหว่างประเทศ) (ISM) ประวัติการศึกษา First Class Marine Engineer Graduate Directorate of Marine Engineering Training, Kolkatta, อินเดีย ประสบการณ์ ผู้อำนวยการ (บริหารความปลอดภัยระหว่างประเทศ) (ISM) บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2548 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยผู้อำนวยการ (บริหารความปลอดภัยระหว่างประเทศ) (ISM) บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2547 - 2548 Quality Systems Manager (ISM Team) บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2539 - 2547 Technical Superintendent บริษัท เกรท เซอร์เคิล ชิปปิ้ง เอเยนซี่ จำกัด 2537 - 2539 Technical Superintendent, ESSAR SISCO Ship Management Co., Chennai, อินเดีย 2531 - 2537 ต้นกลประจำเรือ (Chief Engineer) 2529 - 2531 นายช่างประจำเรือ (Marine Engineer) 2521 - 2529 การดำรงตำแหน่งในบริษัทอื่น ไม่มี จำนวนหุ้นที่ถือ ณ สิ้นปี พ.ศ. 2551 107,000 หุ้น (ร้อยละ 0.01 ของหุ้นทั้งหมดที่เรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2551 63,000 หุ้น s นายโกดาการาจีททิล มูราลี่ เมนนอน

ตำแหน่ง ผู้อำนวยการ (เทคนิค) ประวัติการศึกษา Marine Engineer (Class One), Marine Engineering College, อินเดีย Qualified for membership of the Institute of Chartered Shipbrokers ประสบการณ์ ผู้อำนวยการ (เทคนิค) บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2548 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยผู้อำนวยการ (เทคนิค) บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2541 - 2547 Superintendent (เทคนิค) บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2535 - 2541 Chief Engineer บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2531 - 2535 Chief Engineer, Seaarland Ship management, Austria 2527 - 2531 การดำรงตำแหน่งในบริษัทอื่น ไม่มี จำนวนหุ้นที่ถือ ณ สิ้นปี พ.ศ. 2551 248,000 หุ้น (ร้อยละ 0.02 ของหุ้นทั้งหมดที่เรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2551 ไม่มี s นายกามาล กุมาร ดู

ตำแหน่ง ผู้อำนวยการ (เทคโนโลยีสารสนเทศ) ประวัติการศึกษา ปริญญาโท สาขา Computer Science มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ กรุงเทพฯ ประสบการณ์ ผู้อำนวยการ (เทคโนโลยีสารสนเทศ) บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2548 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยผู้อำนวยการ (เทคโนโลยีสารสนเทศ) บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2543 - 2547 ผู้จัดการอาวุโส (ISM) 2539 - 2543 2539 กัปตันเรือ บริษัท เกรท เซอร์เคิล ชิปปิ้ง เอเยนซี่ จำกัด นายประจำเรือ (Deck Officer) บริษัท เกรท เซอร์เคิล ชิปปิ้ง เอเยนซี่ จำกัด 2531 - 2539 การดำรงตำแหน่งในบริษัทอื่น ไม่มี จำนวนหุ้นที่ถือ ณ สิ้นปี พ.ศ. 2551 244,200 หุ้น (ร้อยละ 0.02 ของหุ้นทั้งหมดที่เรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2551 (36,000) หุ้น

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

79


s นายกิรัน กิสซารินาท ไวดี

ตำแหน่ง ผู้จัดการอาวุโส (บัญชี และ การจัดการระบบสารสนเทศ) (MIS) ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี การพาณิชย์ มหาวิทยาลัยบอมเบย์, อินเดีย ผู้ตรวจสอบบัญชีรับอนุญาต จากสถาบันผู้ตรวจสอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศอินเดีย ประสบการณ์ ผู้จัดการอาวุโส (บัญชี และการจัดการระบบสารสนเทศ) (MIS) บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2536 - ปัจจุบัน การดำรงตำแหน่งในบริษัทอื่น ไม่มี จำนวนหุ้นที่ถือ ณ สิ้นปี พ.ศ. 2551 ไม่มี จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2551 ไม่มี s นางสาวสมปรารถนา เทพนภาเพลิน

ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการ (การเงินและบัญชี) เลขานุการบริษัทฯ ประวัติการศึกษา ปริญญาโทการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต จากสภาวิชาชีพบัญชี การฝึกอบรม เข้าร่วมอบรมในหัวข้อ “Company Secretary Program” จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ตุลาคม 2547 ประสบการณ์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ (การเงินและบัญชี) บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2542 - ปัจจุบัน ผู้จัดการการเงิน บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2539 - 2542 ผู้ช่วยผู้สอบบัญชี บริษัท เอสจีวี ณ ถลาง จำกัด 2535 - 2539 การดำรงตำแหน่งในบริษัทอื่น ไม่มี จำนวนหุ้นที่ถือ ณ สิ้นปี พ.ศ. 2551 ไม่มี จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2551 (81,400) หุ้น s นายยิ่งยง กังแฮ

ตำแหน่ง ผู้จัดการอาวุโส (บัญชีของกลุ่มบริษัทฯ) ประวัติการศึกษา บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บัญชี) มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประสบการณ์ ผู้จัดการอาวุโส (บัญชีของกลุ่มบริษัทฯ) บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) 2539 - ปัจจุบัน ผู้สอบบัญชี บริษัท ดีลอยท์ ทู้ช โธมัทสุ ไชยยศ จำกัด 2536 - 2539 การดำรงตำแหน่งในบริษัทอื่น ไม่มี จำนวนหุ้นที่ถือ ณ สิ้นปี พ.ศ. 2551 ไม่มี จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2551 ไม่มี

80

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


คำอธิบายและการวิเคราะห์ของผูบ้ ริหาร 1. ลักษณะของตลาด (โปรดอ่านคู่กับรายงานจากคณะกรรมการบริษัทซึ่งแสดงในรายงานประจำปีฉบับนี้) บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (“พีเอสแอลหรือบริษทั ฯ”) ดำเนินธุรกิจหลักเป็นเจ้าของเรืออเนกประสงค์ขนาดเล็ก สำหรับ ขนส่งสินค้าแห้งเทกองระหว่างประเทศ โดยให้บริการแบบไม่ประจำเส้นทาง บริษทั ฯ ดำเนินกลยุทธ์ในการทำธุรกิจอย่างต่อเนือ่ งจากปี 2547 โดยการทำสัญญาให้เช่าเรือระยะยาวผูกมัดค่าเช่าไว้ในอัตราค่าระวางที่สูง ซึ่งระยะเวลาในการเช่าเรือมีตั้งแต่ 3 เดือน ถึง 5 ปีตามโอกาส นโยบายนีท้ ำให้บริษทั ฯ ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมากจนถึงไตรมาสสามปี 2551 หลังจากช่วงเวลาดังกล่าว อัตราค่าระวางเริม่ หยุดชะงัก เนือ่ งจากไม่สามารถต่อสัญญาหรือทำสัญญาให้เช่าเรือใหม่ได้ อย่างไรก็ตามผลทีไ่ ด้จากกลยุทธ์ในการทำสัญญาระยะยาวของบริษทั ฯ กับผูเ้ ช่า เรือทีม่ ฐี านะมัน่ คง ทำให้สญั ญาเช่าเรือล่วงหน้าของบริษทั ฯ ยังคงดีอยูซ่ งึ่ ได้แสดงตามรูปด้านล่างนี ้

จำนวนวันในการเดินเรือทัง้ หมด (แสดงในรูปด้านบน) มาจากจำนวนกองเรือของบริษทั ฯ ทัง้ สิน้ 44 ลำ ไม่รวมการซือ้ เรือมือสองหรือ การขายเรือ/ปลดระวางเรือในระหว่างปี แต่ได้รวมการรับเรือทีส่ งั่ ต่อใหม่ทจี่ ะส่งมอบตามลำดับเวลาได้นำมารวมในประมาณการนี ้ โปรดอ่านคำอธิบายและการวิเคราะห์ลกั ษณะของตลาดประกอบได้ทรี่ ายงานจากคณะกรรมการบริษทั ทีแ่ สดงในรายงานฉบับนี ้ 2. ภาพรวมอุตสาหกรรม (ทิศทางอุปสงค์ อุปทานของโลก (สำหรับเรืออเนกประสงค์ขนาดเล็ก)) – (โปรดอ่านประกอบกับรายงานจาก คณะกรรมการบริษัทที่แสดงในรายงานฉบับนี้)

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

81


CRS: Clarksons Research Studies จากกราฟข้างต้นแสดงถึงการลดลงอย่างต่อเนือ่ งจนกระทัง่ ปี 2546 ของกองเรือทัง้ หมดในกลุม่ เรืออเนกประสงค์ขนาดเล็ก อย่างไรก็ดี ในระหว่างปี 2547 กองเรือโลกเพิม่ สุทธิจำนวน 1 ลำ เมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2546 ในระหว่างปี 2548, 2549, 2550 และ 2551 กองเรือโลกเพิม่ ขึน้ จำนวน 46 ลำ, 9 ลำ, 80 ลำ และ 55 ลำตามลำดับ ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากอัตราการปลดระวางเรือค่อยๆ ลดลงเป็นผลให้รายได้อตั ราค่าระวางเรือ ในระหว่างปี 2547 - 2551 ได้เพิม่ สูงขึน้ เมือ่ เทียบกับปีทผี่ า่ นมา อย่างไรก็ตามเป็นทีน่ า่ สังเกตว่าตัง้ แต่ไตรมาสสี่ ปี 2551 อัตราการปลดระวาง เรือเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากรายได้คา่ ระวางเรือในตลาดเรือลดลง อุปทานของเรือลดลง และจำนวนเรือทีเ่ พิม่ ขึน้ ในปี 2551 มีเพียง 55 ลำเมือ่ เปรียบ เทียบกับจำนวนเรือทีเ่ พิม่ ขึน้ ในปี 2550 จำนวน 80 ลำ บริษทั ฯ คาดว่าอัตราการปลดระวางเรือจะเพิม่ ขึน้ ต่อไป ถ้าในปัจจุบนั ตลาดค่าระวางเรือ ยังคงปรับตัวลดลงดังเช่นปัจจุบนั นี้ ซึง่ ท้ายทีส่ ดุ อุปทานเรือทีล่ ดลงจะเป็นประโยชน์ตอ่ ตลาดการเดินเรือ

82

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


จากกราฟข้างต้นแสดงให้เห็นว่า แม้วา่ ปี 2552 อุปทานของเรือใหม่มมี ากขึน้ เล็กน้อยจากในอดีตทีผ่ า่ นมา และในอีก 3 ปีขา้ งหน้ามี เรือทีค่ รบกำหนดส่งมอบเพียงร้อยละ 14 เมือ่ เทียบกับกองเรือทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั ซึง่ จะมีเรือถึงร้อยละ 48.80 ทีม่ อี ายุมากกว่า 25 ปี ดังนัน้ ดู เหมือนว่าอุปทานเรือในกลุม่ เรือของบริษทั ฯ จะมีภาพเป็นทีน่ า่ พอใจอย่างยิง่ ซึง่ ได้อธิบายไว้ดา้ นล่างนี ้

จากกราฟข้างต้นและคำอธิบายที่ได้กล่าวไว้เกี่ยวกับอายุของกองเรือ (โปรดดูข้อ 1.2 ในเรื่องลักษณะการประกอบธุรกิจและ อุตสาหกรรมซึง่ แสดงในรายงานประจำปีน)ี้ แสดงให้เห็นว่า มากกว่าร้อยละ 59.40 ของเรือในกลุม่ เดียวกับพีเอสแอลจะมีอายุเกิน 20 ปี จึงมี การคาดการณ์วา่ อัตราการปลดระวางเรือควรจะเพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ถ้าตลาดค่าระวางเรือในปัจจุบนั ยังคงปรับตัวลดลงเช่นปัจจุบนั นีซ้ งึ่ แสดงถึงการปรับตัวของอุปสงค์และอุปทานให้สมดุล และอัตราค่าระวางเรือทีป่ รับตัวลดลง รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

83


โปรดอ่านคำอธิบายและการวิเคราะห์ลกั ษณะของตลาดนี้ ประกอบกับรายงานจากคณะกรรมการบริษทั ทีแ่ สดงในรายงานประจำปีนแ้ี ละ เพื่อให้มีความเข้าใจดีขึ้นเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางทะเลที่ได้เปิดเผยในอุตสาหกรรมระหว่างปี 2551 บริษัทฯ ได้เลือกรายการอ้างอิง/ รายการทีส่ ำคัญ/หัวข้อข่าว ทีเ่ กีย่ วกับการเดินเรือในปีน้ี แสดงไว้ในภาคผนวกของรายงานฉบับนี้ 3. สัญญาสั่งต่อเรือใหม่ในปี 2550 และ 2551 จำนวน 18 ลำ

3.1 สรุปรายละเอียดรายการ

เมือ่ วันที่ 20 กรกฎาคม 2550 บริษทั ฯ ได้ลงนามในสัญญาสัง่ ต่อเรือใหม่จำนวน 12 ฉบับ กับ ABG Shipyard Limited (ABG หรืออูต่ อ่ เรือ) ประเทศอินเดีย สำหรับสัง่ ต่อเรือใหม่จำนวน 12 ลำ ซึง่ มีขนาดระวางบรรทุก 32,000 เดตเวทตัน (ในความเป็นจริงสามารถ บรรทุกได้ถงึ 34,000 เดตเวทตัน ดังนัน้ เรือกลุม่ นีจ้ ะขอกล่าวต่อไปในรายงานฉบับนีใ้ นขนาดระวางบรรทุก 34,000 เดตเวทตันต่อลำ) เรือแต่ละ ลำเป็นเรือสมัยใหม่ รูปทรงกล่อง ฝาระวางเปิดกว้าง และมีผนังด้านข้างเรือสองชั้น กองเรือที่สั่งต่อใหม่ดังกล่าวซึ่งรวมถึงเครื่องจักรและ อุปกรณ์จะถูกสร้างขึน้ ภายใต้ขอ้ บังคับและกฎเกณฑ์ของ Nippon Kaiji Kyokai (“NKK” หรือ “สมาคมจัดชัน้ เรือ (Classification Society)”) ต่อ มาเมือ่ วันที่ 14 กันยายน 2550 บริษทั ฯ ได้ลงนามในสัญญาสัง่ ต่อเรือใหม่อกี จำนวน 3 ฉบับ กับ ABG Shipyard Limited ประเทศอินเดีย สำหรับสัง่ ต่อเรือประเภทสินค้าแห้งเทกอง (ขนาดซุปราแมกซ์) จำนวน 3 ลำ มีขนาดระวาง 54,000 เดตเวทตัน ดังนัน้ ในปี 2550 บริษทั ฯ สัง่ ต่อเรือทัง้ สิน้ 15 ลำ ตามทีไ่ ด้อธิบายไว้ขา้ งต้น ต่อมาเมือ่ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2551 บริษทั ฯ ได้ลงนามในสัญญาสัง่ ต่อเรือใหม่อกี จำนวน 3 ฉบับ กับ ABG Shipyard Limited ประเทศอินเดีย สำหรับสัง่ ต่อเรือประเภทสินค้าแห้งเทกอง (ขนาดซุปราแมกซ์) จำนวน 3 ลำ มีขนาดระวาง 54,000 เดตเวทตัน โดยเรือขนาดซุปราแมกซ์แต่ละลำเป็นเรือสมัยใหม่มีผนังด้านข้างเรือสองชั้น กองเรือที่สั่งต่อใหม่ดังกล่าวซึ่งรวมถึง เครือ่ งจักรและอุปกรณ์จะถูกสร้างขึน้ ภายใต้ขอ้ บังคับและกฎเกณฑ์ของ The American Bureau of Shipping (“ABS” หรือ “สมาคมจัดชัน้ เรือ (Classification Society)”) โดยสมาคมจัดชัน้ เรือทีก่ ล่าวมาข้างต้นจะแต่งตัง้ ตัวแทนไปทำการตรวจสอบการต่อเรือ ณ อูต่ อ่ เรือ การตัดสินใจใน เรื่องเกี่ยวกับมาตรฐานและคุณสมบัติของเรือจะถูกกำหนดและรับรองโดยสมาคมจัดชั้นเรือ อีกทั้ง บริษัทฯ จะมีพนักงานของบริษัทฯ ไป ติดตามดูแลความคืบหน้าของการต่อเรือตลอดเวลา รายละเอียดต้นทุนเรือ ตารางการจ่ายเงินงวด การเบิกเงินกู้ (ซึง่ ได้อธิบายไว้ในหัวข้อที่ 6.3 ด้านล่างนี)้ และประมาณวันทีเ่ รือเสร็จ มีดงั นี้ เลขที่ วันที่ในสัญญา วันรับมอบเรือ ขนาดระวาง จำนวนเงิน จำนวนเงินที่ ได้ จำนวนเงินที่ ได้ รวมจำนวนเงิน เรือ โดยประมาณ บรรทุก ตามสัญญาฯ จ่ายในปี 2550 จ่ายในปี 2551 ที่จ่ายไปแล้ว ณ 31 ธันวาคม 2551

329 330 331 333 334 335 336 337 338 339 340 342

84

20 กรกฎาคม 2550 20 กรกฎาคม 2550 20 กรกฎาคม 2550 20 กรกฎาคม 2550 20 กรกฎาคม 2550 20 กรกฎาคม 2550 20 กรกฎาคม 2550 20 กรกฎาคม 2550 20 กรกฎาคม 2550 20 กรกฎาคม 2550 20 กรกฎาคม 2550 20 กรกฎาคม 2550

30 มิถนุ ายน 2553 31 ตุลาคม 2553 31 มีนาคม 2554 30 เมษายน 2554 31 สิงหาคม 2554 31 ธันวาคม 2554 30 เมษายน 2555 31 สิงหาคม 2555 31 ธันวาคม 2555 30 เมษายน 2556 31 สิงหาคม 2556 31 ธันวาคม 2556

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 32,000

(เหรียญสหรัฐฯ) (เหรียญสหรัฐฯ) (เหรียญสหรัฐฯ) (เหรียญสหรัฐฯ)

29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997

5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999

5,999,999* - - - - - - - - - - -

11,999,998 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999


เลขที่ วันที่ในสัญญา วันรับมอบเรือ ขนาดระวาง จำนวนเงิน จำนวนเงินที่ ได้ จำนวนเงินที่ ได้ รวมจำนวนเงิน เรือ โดยประมาณ บรรทุก ตามสัญญาฯ จ่ายในปี 2550 จ่ายในปี 2551 ที่จ่ายไปแล้ว ณ 31 ธันวาคม 2551

(เหรียญสหรัฐฯ) (เหรียญสหรัฐฯ) (เหรียญสหรัฐฯ) (เหรียญสหรัฐฯ)

313 14 กันยายน 2550 31 ธันวาคม 2553 54,000 37,999,998 7,599,999 7,599,999* 15,199,998 315 14 กันยายน 2550 30 มิถนุ ายน 2554 54,000 37,999,998 7,599,999 7,599,999* 15,199,998 316 14 กันยายน 2550 31 ธันวาคม 2554 54,000 37,999,998 7,599,999 - 7,599,999 347 11 กุมภาพันธ์ 2551 31 พฤษภาคม 2555 54,000 37,999,998 - 7,599,999 7,599,999 348 11 กุมภาพันธ์ 2551 31 ตุลาคม 2555 54,000 37,999,998 - 7,599,999 7,599,999 349 11 กุมภาพันธ์ 2551 31 ธันวาคม 2555 54,000 37,999,998 - 7,599,999 7,599,999 รวม 708,000 587,999,952 94,799,985 43,999,994 138,799,979 * จากการเบิกถอนเงินกูใ้ นสัญญาสินเชือ่ มีหลักประกันสำหรับค่าสัง่ ต่อเรือใหม่ รายละเอียดแสดงเงินงวดทีจ่ ะต้องจ่ายตามขัน้ ความสำเร็จของงานสำหรับเรือขนาดระวางบรรทุก 32,000 เดตเวทตัน และ 54,000 เดตเวทตัน มีดงั นี้ งวดที่ชำระ

เหตุการณ์

งวดที่ 1 งวดที่ 2 งวดที่ 3 งวดที่ 4 งวดที่ 5 รวม

ลงนามในสัญญา ตัดแผ่นเหล็กชิน้ แรก เสร็จสิน้ การวางกระดูกงูเรือ (โครงเรือ) ปล่อยเรือลงน้ำ ส่งมอบเรือ

เรือขนาดระวางบรรทุก 32,000 เดตเวทตัน

5,999,999 5,999,999 5,999,999 6,000,000 6,000,000 29,999,997

เรือขนาดระวางบรรทุก 54,000 เดตเวทตัน

7,599,999 7,599,999 7,600,000 7,600,000 7,600,000 37,999,998

การจ่ายเงินในแต่ละงวดดังกล่าวข้างต้น (ยกเว้นการจ่ายเงินงวดสุดท้าย) จะจ่ายเมือ่ บริษทั ฯ ได้รบั หนังสือค้ำประกันเงินงวดทีจ่ ะจ่าย จากธนาคารทีม่ ชี อื่ เสียง เพือ่ ประกันว่าจะได้รบั เงินคืนถ้ามีความผิดพลาดทีเ่ กิดจากอูต่ อ่ เรือ

3.2 วัตถุประสงค์ ในการเข้าทำรายการ

เรือมีอายุการใช้งานคงทีแ่ ละเมือ่ ครบกำหนดอายุการใช้งานของเรือ เรือจะถูกปลดระวางกลายเป็นเศษซาก ซึง่ เป็นสาเหตุทำให้ กำลังความสามารถของกองเรือลดลง และถ้าบริษทั ฯ ต้องการทีจ่ ะคงขนาดของกองเรือและอายุเรือ บริษทั ฯ ต้องปฏิบตั ติ ามแผนการลดอายุ กองเรืออย่างต่อเนือ่ ง (ตัดจำหน่ายเป็นเศษซากหรือขายเรือ) ซึง่ การแทนทีเ่ ศษซาก/ขายเรือทำได้โดยการซือ้ เรือมือสองจากการเปิดตลาดซือ้ ขาย เรือ อย่างไรก็ตามเนือ่ งจากการเพิม่ ขึน้ ของราคาเรือในตลาดเรือสากล มูลค่า(ต้นทุน)สำหรับเรือมือสองสูงอย่างไม่เคยเป็นมาก่อนจนถึงครึง่ ปี แรกของปี 2551 และยังคงไม่ปรับราคาลดลงไปในทิศทางเดียวกันกับระดับดัชนีคา่ ระวางเรือในปัจจุบนั หรือความเสีย่ งจากรายได้คา่ ระวางเรือ ในอนาคต ดังนัน้ บริษทั ฯ เห็นว่าเป็นการไม่สมควรในการซือ้ เรือมือสองในราคาทีส่ งู และมีความเสีย่ งในการซ่อมบำรุงทีอ่ าจเกิด เมือ่ ตลาดปรับ ตัวลงจนมีผลให้ราคาเรือตกลงในตลาดการเดินเรือตามวงจรขาลงต่อไป เมือ่ พิจารณาถึงความเสีย่ งและผลตอบแทนทีเ่ หมาะสมจากราคาของเรือมือสองในช่วง 3 ปีทผี่ า่ นมา ทำให้บริษทั ฯ ตัดสินใจไม่ ซือ้ เรือมือสองในปี 2551 แต่บริษทั ฯ เลือกการสัง่ ต่อเรือใหม่และยังคอยโอกาสสำหรับการซือ้ เรือมือสองในอนาคต รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

85


ตารางต่อไปนีแ้ สดงราคาของเรือมือสองและเรือสัง่ ต่อใหม่ i) แสดงราคาเรือมือสองทีม่ อี ายุการใช้งาน 5 ปี

ราคาเรือมือสองที่มีอายุการใช้งาน 5 ปี

แฮนดี้ ไซส์

แฮนดี้แมกซ์

ซุปราแมกซ์

ปานาแมกซ์

เคปไซส์

18 - 20

20 - 22

23 - 25

27 - 29

40 - 45

ทีม่ า :

Maersk Broker: ตลาดขนส่งสินค้าแห้งเทกอง (รายงานวันที ่ 2 - 9 ม.ค. 2552)

ii) แสดงราคาเรือสัง่ ต่อใหม่

(ล้านเหรียญสหรัฐฯ)

ราคาเรือสั่งต่อใหม่

แฮนดี้ ไซส์**

ซุปราแมกซ์*

ปานาแมกซ์*

เคปไซส์*

33 - 35

40 - 42

46 - 48

80 - 82

ทีม่ า :

86

(ล้านเหรียญสหรัฐฯ)

Maersk Broker: ตลาดขนส่งสินค้าแห้งเทกอง (รายงานวันที่ 2 - 9 ม.ค. 2552) * จากอูต่ อ่ เรือประเทศจีนทีส่ ง่ มอบเรือในปี 2553 ** จากอูต่ อ่ เรือประเทศเกาหลีทสี่ ง่ มอบเรือในปี 2553 3.3 ประโยชน์ที่ ได้รับจากการทำรายการ

บริษทั ฯ ได้รบั ประโยชน์จากการทำรายการดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ดงั นี ้ (ก) การลดอายุเฉลีย่ ของกองเรือ ปัจจุบนั บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยให้บริการกองเรือจำนวน 44 ลำ (ณ วันที่ 31 มกราคม 2552) คิดเป็นระวางบรรทุกรวม 1,130,280 เดตเวทตัน และมีอายุกองเรือเฉลีย่ 21 ปี และระวางบรรทุกต่อเรือหนึง่ ลำเฉลีย่ 25,688 เดตเวทตัน การได้รบั มอบเรือสัง่ ต่อใหม่จำนวน 18 ลำ เริม่ ต้นในปี 2553 และสิน้ สุดในปี 2556 และหากกำหนดให้เรือทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั มีอายุเฉลีย่ 25 ปี หลังจากนัน้ จะขายเป็นมูลค่าซาก สามารถประมาณการกองเรือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ซึง่ จะประกอบด้วยเรือ จำนวน 36 ลำ มีอายุเฉลีย่ 9.47 ปี มีระวางบรรทุกรวม 1,152,434 เดตเวทตัน และระวางบรรทุกต่อเรือหนึง่ ลำเฉลีย่ 32,012 เดตเวทตัน ซึ่งถ้าไม่มีการสั่งต่อเรือใหม่ดังกล่าว จะทำให้กองเรือของบริษัทฯ เล็กลงและมีอายุเรือมากขึ้น ส่งผลต่อการลดลงของส่วนแบ่ง การตลาด (ข) เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน การได้มาซึง่ เรือสัง่ ต่อใหม่จะช่วยเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยเป็นการลดอายุเฉลีย่ ของกองเรือ ทัง้ ยังช่วยเพิม่ ระวางบรรทุกของกองเรือ ซึง่ จะช่วยเพิม่ อัตราค่าเช่าเรือ นอกจากนี้ หากกองเรือมีอายุมากจะส่งผลให้ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน ต่ำและมีต้นทุนการบำรุงรักษาสูง ซึ่งจะทำให้เกิดการเสียเปรียบทางด้านราคาเมื่อเปรียบเทียบกับกองเรือที่มีอายุน้อยและมีความ ทันสมัยกว่าโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในช่วงวัฏจักรขาลง การเพิม่ ขึน้ ของรายได้และการลดต้นทุนในการดำเนินงานอันเนือ่ งมาจากเรือสัง่ ต่อ ใหม่และเป็นเรือทีม่ คี วามทันสมัยกว่าจะช่วยเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของบริษทั ฯ

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


(ค) รักษาส่วนแบ่งตลาด พีเอสแอลเป็นหนึ่งในบริษัทเดินเรือที่ใหญ่ที่สุดที่ดำเนินธุรกิจขนส่งสินค้าแห้งเทกองในหมวดเรืออเนกประสงค์ขนาดเล็ก โดยในปัจจุบนั กองเรือโลกสำหรับเรือประเภทเดียวกับเรือของบริษทั ฯ มีจำนวน 3,219 ลำ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ปัจจุบนั บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยให้บริการกองเรือจำนวน 44 ลำ และบริษทั ฯ คาดว่าจะขายเรือหรือปลดระวางเรือจำนวน 25 ลำ ในระยะเวลา 1 ถึง 2 ปี ข้างหน้า ดังนัน้ เพือ่ ดำรงไว้ซงึ่ ส่วนแบ่งตลาด บริษทั ฯ จึงต้องซือ้ เรือมือสองทีม่ อี ายุนอ้ ย หรือสัง่ ต่อเรือใหม่ หรือดำเนินการใน ทัง้ 2 วิธดี งั กล่าว การดำเนินการตามสัญญาสัง่ ต่อเรือในครัง้ นี้ เป็นขัน้ ตอนแรกของบริษทั ฯ ทีจ่ ะรักษาส่วนแบ่งทางการตลาด สัญญา สัง่ ต่อเรือใหม่ได้ดำเนินการมาเพือ่ วัตถุประสงค์ทจี่ ะทำให้บริษทั ฯ สามารถรักษาความเป็นผูน้ ำทางการตลาดในระยะยาว (ง) การดำเนินการตามกลยุทธ์การจัดการของบริษทั ฯทีไ่ ด้นำเสนอไปแล้ว บริษทั ฯ อยูร่ ะหว่างการดำเนินการปรับอายุกองเรือโดยทดแทนเรือทีม่ อี ายุมากด้วยการสัง่ ต่อเรือใหม่หรือการซือ้ เรือมือสอง ในราคาทีเ่ หมาะสม สัญญาสัง่ ต่อเรือใหม่เป็นกลยุทธ์การจัดการของบริษทั ฯ ตามทีไ่ ด้นำเสนอต่อผูถ้ อื หุน้ ผูล้ งทุน นักวิเคราะห์ ผ่าน การประชุมต่างๆ ทีผ่ า่ นมา

3.4 เรือซุปราแมกซ์

3.5 แผนการปรับปรุงกองเรือสำหรับอนาคต:

บริษทั ฯ ทำสัญญาสัง่ ต่อเรือประเภทซุปราแมกซ์เป็นครัง้ แรกจำนวน 3 ลำในปี 2550 และทำสัญญาสัง่ ต่อเรือประเภทเดียวกันอีก 3 ลำกับอูต่ อ่ เรือเดิมในปี 2551 ซึง่ ได้อธิบายรายละเอียดดังกล่าวไว้แล้วข้างต้น ข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องกับการสัง่ ต่อเรือใหม่ประเภทซุปราแมกซ์ (ซึง่ อาจมีความแตกต่างจากการสัง่ ต่อเรือขนาดแฮนดีไ้ ซส์) ดังนี ้ บริษัทฯ ได้สั่งต่อเรือขนาดซุปราแมกซ์แทนเรือประเภทแฮนดี้ไซส์ ซึ่งเป็นเรือประเภทที่บริษัทฯ มีความชำนาญในการบริหาร เนื่องจากเรือประเภทซุปราแมกซ์ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญจากกองเรือที่บริษัทฯ บริหารงานอยู่ หากดูในด้านการตลาด ลูกค้าของ บริษทั ฯ ซึง่ ปัจจุบนั ใช้เรือของบริษทั ฯ อยูก่ ม็ คี วามต้องการใช้เรือซุปราแมกซ์เช่นกัน โดยข้อเท็จจริง โอกาสทีเ่ รือขนาดใหญ่กว่าสำหรับการให้ เช่าเรือระยะยาวมากกว่า 5 ปี ด้วยอัตราค่าระวางทีเ่ หมาะสม เป็นสิง่ ทีด่ กี ว่ามากเมือ่ เทียบกับเรือขนาดแฮนดีไ้ ซส์ แม้วา่ มีกำหนดการส่งมอบ เรือในอนาคตก็ตาม ส่วนในด้านเทคนิค ความชำนาญในการบริหารเรือเหล่านี้ บริษทั ฯ ก็มผี ชู้ ำนาญอย่างเพียงพอ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงไม่มคี วาม จำเป็นทีต่ อ้ งเปลีย่ นแปลงโครงสร้างของบริษทั ฯ เพือ่ รองรับการบริหารเรือดังกล่าว ตลาดเช่าเรือซุปราแมกซ์: บริษทั ฯ ได้สอบถามลูกค้าจำนวนหนึง่ ของบริษทั ฯ รวมทัง้ ได้สอบถามกับนายหน้าจากทัว่ โลก เพือ่ ให้ เข้าใจการบริหารเรือทีใ่ หญ่ขนึ้ ซึง่ พบว่าบริษทั ฯ มีความพร้อมสำหรับการบริหารเรือขนาดใหญ่กว่านี้ ปัจจุบนั ลูกค้าของบริษทั ฯ ทีใ่ ช้เรือของ บริษทั ฯ มีความต้องการทีจ่ ะใช้เรือใหญ่กว่าเช่นกัน บริษทั ฯ ทำสัญญาให้เช่าเรือขนาดซุปราแมกฺซท์ สี่ งั่ ต่อใหม่ในปี 2550 จำนวน 1 ลำ ระยะ เวลาในการเช่า 60 - 64 เดือน ซึง่ การให้บริการของเรือดังกล่าวจะเริม่ ต้นในปี 2554 บริษทั ฯ วางแผนระยะสัน้ /ระยะกลางสำหรับการสัง่ ต่อเรือใหม่หรือซือ้ เรือมือสอง บริษทั ฯ ยังหาราคาเรือสัง่ ต่อใหม่ทนี่ า่ สนใจ อย่างต่อเนือ่ ง ในขณะทีบ่ ริษทั ฯ ยังคงให้ความสนใจในการขายเรือ/ปลดระวางเรือ (สำหรับเรือเก่าทีม่ อี ายุ 20 ปี) เมือ่ ถึงเวลาทีก่ ำหนด ในขณะ เดียวกันบริษทั ฯ รอโอกาสในการซือ้ เรือมือสองในราคาทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ และบริษทั ฯ อยูร่ ะหว่างการเจรจากับธนาคารสำหรับการขยายวงเงิน สินเชือ่ จนถึงสิน้ ปี 2552 เพือ่ วัตถุประสงค์ในการจัดหาซือ้ เรือมือสอง 4. คำนิยาม การวิเคราะห์รายงานทางการเงินในรายงานคำอธิบายและการวิเคราะห์ของผูบ้ ริหารนี้ ได้ใช้ขอ้ มูลจากงบการเงินรวมของบริษทั ฯ ซึง่ จัดทำขึน้ ตามหลักการบัญชีไทยทีร่ บั รองทัว่ ไปในประเทศไทย และงบการเงินแปลงค่าเป็นเงินเหรียญสหรัฐ คำนิยามต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับคำทางการ เงินและการดำเนินงาน ดังนี ้ ค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือเฉลีย่ แสดงเป็นเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา (Opex) - ค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือเฉลีย่ ต่อวันต่อลำ คำนวณโดยถือว่ามี 365 วันทำการในรอบปี ซึง่ ไม่รวมค่าเสือ่ มราคาแต่รวมค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซมและสำรวจเรือตัดบัญชีตามนโยบายทางการบัญชี (กรุณาดูราย ละเอียดเพิม่ เติมในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5.7) ซึง่ รวมอยูใ่ นส่วนของค่าเสือ่ มราคาในงบการเงินของบริษทั ฯ ค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือ เป็นต้นทุนทีต่ อ้ งเกิดขึน้ ได้แก่ ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับลูกเรือ ค่าซ่อมแซม ค่าประกันภัย ค่าน้ำมัน ต้นทุนการจัดการ และค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซม และสำรวจเรือตัดบัญชี

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

87


ค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือ - ค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือในงบการเงินหมายถึง ต้นทุนในการเดินเรือซึง่ ไม่รวมค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซมและ สำรวจเรือตัดบัญชี ค่าใช้จา่ ยรายเทีย่ วการเดินเรือ - ค่าใช้จา่ ยรายเทีย่ วการเดินเรือหมายถึง ค่าใช้จา่ ยทัง้ หมดทีเ่ กีย่ วกับการเดินเรือในเทีย่ วนัน้ ๆ ได้แก่ ค่าน้ำมัน และค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดขึน้ ทีท่ า่ เรือซึง่ รวมถึงค่าธรรมเนียมท่าเรือ ค่าขนถ่ายสินค้าขึน้ ลงเรือ ค่าธรรมเนียมการผ่านคลอง ค่าธรรมเนียม ตัวแทนเรือ และค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ทีท่ า่ เรือ ค่าใช้จา่ ยรายเทีย่ วการเดินเรือแบบเป็นระยะเวลา (Time Charter) ลูกค้า (ผูเ้ ช่าเรือ) เป็นผูร้ บั ภาระค่าใช้จา่ ยรายเทีย่ วการเดินเรือทีเ่ กิดขึน้ และค่าใช้จา่ ยรายเทีย่ วการเดินเรือเป็นรายเทีย่ ว (Voyage Charter) บริษทั ฯ เป็นผูร้ บั ภาระค่า

ใช้จา่ ยทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ หมด อย่างไรก็ดี เมือ่ บริษทั ฯ จะรวมค่าใช้จา่ ยรายเทีย่ วทีอ่ าจเกิดขึน้ นัน้ ในค่าระวางเรือทีบ่ ริษทั ฯ จะคิดกับลูกค้า ทำให้อตั รา ค่าระวางเรือทีบ่ ริษทั ฯ กำหนดขึน้ ในการเช่าแบบเป็นรายเทีย่ วใกล้เคียงกับการเช่าแบบเป็นระยะเวลา ต้นทุนจากการเดินเรือรวม - ต้นทุนจากการเดินเรือรวมในงบการเงินหมายถึง ผลรวมของค่าใช้จ่ายในการเดินเรือและค่าใช้จ่ายใน การเดินเรือเป็นรายเทีย่ ว รายได้จากการเดินเรือเฉลีย่ แสดงเป็นเงินเหรียญสหรัฐอเมริกาต่อวันต่อลำ (TC Rate) - ค่าเช่าค่าระวางเรือเฉลีย่ ต่อวันต่อลำโดยถือว่ามี 350 วันในรอบปี อัตราค่าเช่าค่าระวางเฉลี่ยต่อลำคำนวณจากการนำรายได้สุทธิจากการเดินเรือหารด้วยจำนวนวันที่ใช้ในการเดินเรือเท่ากับ 350 วันและจำนวนเรือ รายได้จากการเดินเรือ - รายได้จากการเดินเรือหมายถึง รายได้คา่ เช่าเรือและรายได้คา่ ระวางเรือทีไ่ ด้รบั ในอีกความหมายหนึง่ คือ รายได้ทงั้ หมดทีเ่ กิดจากการให้เช่าเรือแบบเป็นระยะเวลาและการให้เช่าเรือแบบเป็นรายเทีย่ ว รายได้จากการเดินเรือสุทธิ - รายได้จากการเดินเรือสุทธิหมายถึง รายได้จากการเดินเรือหักด้วยค่าใช้จา่ ยรายเทีย่ วการเดินเรือ ค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซมและสำรวจเรือ บริษทั ฯ ต้องนำเรือเข้าอูเ่ รือแห้งเพือ่ ตรวจเช็ค ซ่อมแซมและบำรุงรักษา และการปรับปรุงอืน่ ๆ ตามกำหนดเวลาเพือ่ ให้เป็นไปตามข้อกำหนด และกฎเกณฑ์ตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในอุตสาหกรรม โดยปกติบริษทั ฯ จะนำเรือเข้าอูแ่ ห้งเพือ่ ตรวจ เช็คทุกๆ สองปีครึง่ และห้าปีสำหรับการสำรวจเรือขัน้ ต้นและสำรวจเรือพิเศษตามลำดับ บริษทั ฯ บันทึกต้นทุนทีเ่ กิดขึน้ เป็นค่าใช้จา่ ยรอตัดบัญชี และตัดจำหน่ายเป็นค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซมเรือตัดบัญชี (Dry-Docking Cost) ภายในระยะเวลาสองปีจากการสำรวจเรือขัน้ ต้น และเป็นค่าใช้ จ่ายในการสำรวจเรือตัดบัญชีภายในระยะเวลาสีป่ สี ำหรับค่าใช้จา่ ยในการสำรวจเรือพิเศษ จำนวนเงินทีต่ ดั บัญชีของค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซม และสำรวจเรือรวมอยูใ่ นค่าเสือ่ มราคา แต่ไม่ได้รวมอยูใ่ นต้นทุนการเดินเรือทีแ่ สดงในงบการเงิน อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ ได้รวมค่าซ่อมแซมและ สำรวจเรือตัดบัญชี ในการคำนวณค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือเฉลีย่ (Opex) เพือ่ เป็นการครบถ้วนสำหรับค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือ ค่าเสื่อมราคา - ส่วนประกอบหลักในรายการค่าเสื่อมราคาในงบการเงิน ได้แก่ ค่าเสื่อมราคาที่เกิดจากเรือ ซึ่งรวมถึงต้นทุนค่า ซ่อมแซมและสำรวจเรือตัดบัญชีดงั ทีอ่ ธิบายไว้แล้วข้างต้น วันหยุดการเดินเรือ - วันหยุดการเดินเรือหมายถึง วันทีไ่ ม่มกี ารเดินเรือ เนือ่ งจากเหตุผลทางด้านเทคนิค และอาจหมายถึงเรืออยูใ่ น ระหว่างการซ่อมแซมเรือทีอ่ แู่ ห้ง หรือทีก่ ลางทะเล หรือทีท่ า่ เรือ หรือในกรณีเรือเสีย กำไรขัน้ ต้น - หมายถึงรายได้จากการเดินเรือหักด้วยต้นทุนจากการเดินเรือ อัตรากำไรขัน้ ต้น - เกิดจากกำไรขัน้ ต้นหารด้วยรายได้จากการเดินเรือ แสดงค่าเป็นร้อยละ ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร - ค่าใช้จา่ ยในการบริหารหมายถึง เงินเดือนสำหรับพนักงานทีอ่ ยูส่ ำนักงาน ค่าเช่าสำนักงาน ค่าธรรมเนียม วิชาชีพ และค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริหารงาน ค่าใช้จา่ ยในการบริหารยังรวมถึงค่าใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วกับพนักงานทางด้านเทคนิคทีท่ ำ หน้าทีจ่ ัดการเดินเรือด้วย อย่างไรก็ตามสำหรับการคำนวณค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือต่อวันต่อลำเรือ (Opex) บริษัทฯ ได้พิจารณาค่าใช้จา่ ยที่ เกีย่ วข้องของค่าใช้จา่ ยในการบริหารคือ ค่าใช้จา่ ยในการบริหารจัดการ ไปรวมคำนวณในค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือ

88

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


5. รายได้และค่าใช้จ่ายในการเดินเรือ

ในระหว่างปี 2551 รายได้จากการเดินเรือเฉลีย่ ต่อวันต่อลำอยูท่ ี่ 16,489 เหรียญสหรัฐอเมริกา ขณะทีค่ า่ ใช้จา่ ยในการเดินเรือเฉลีย่ อยู่ ที่ 4,804 เหรียญสหรัฐอเมริกาต่อวันต่อลำ การปรับตัวเพิม่ ขึน้ ของตลาดค่าระวางเรือในระหว่างครึง่ ปีแรกของปี 2551 และการทำสัญญาล่วงหน้าในอัตราค่าระวางทีส่ งู ทำให้ บริษทั ฯ ได้คา่ ระวางเรือต่อวันต่อลำเฉลีย่ ที่ 16,489 เหรียญสหรัฐอเมริกา ซึง่ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 25 เมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2550 ค่าใช้จา่ ยในการเดิน เรือเฉลีย่ ต่อวันต่อลำของบริษทั ฯ เพิม่ ขึน้ จาก 4,005 เหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2550 เป็น 4,804 เหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2551 ซึง่ ยังคงต่ำกว่า ค่าเฉลีย่ อุตสาหกรรม (คำนวณโดยไม่รวมค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซมและสำรวจเรือ) รายละเอียดตามตารางข้างล่างนี ้ ตารางการเปรียบเทียบค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือต่อวันต่อลำของบริษทั ฯ กับค่าเฉลีย่ อุตสาหกรรม (จัดทำโดย Moore Stephens & Co.) สำหรับปี รายการ

ค่าจ้างลูกเรือ ค่าเสบียงคลัง ค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วกับลูกเรือ รวมค่าใช้จา่ ยลูกเรือ ค่าน้ำมันหล่อลืน่ ค่าพัสดุภณั ฑ์อน่ื ๆ รวมค่าน้ำมันหล่อลืน่ และค่าพัสดุภณั ฑ์

ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม 2550 เหรียญสหรัฐ (ต่อวัน)

บริษัทฯ 2550 เหรียญสหรัฐ (ต่อวัน)

บริษัทฯ 2551 เหรียญสหรัฐ (ต่อวัน)

1,382 153 247 1,782 313 320 633

1,318 167 218 1,703 301 232 533

1,622 184 224 2,030 279 260 539

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

89


สำหรับปี รายการ

ค่าอะไหล่ ค่าซ่อมแซมและบำรุงรักษา รวมค่าอะไหล่ ค่าซ่อมแซมและบำรุงรักษา ค่าเบีย้ ประกันภัยความรับผิดชอบทีม่ ตี อ่ สินค้าและบุคคลทีส่ าม ค่าเบีย้ ประกันภัยอืน่ ๆ รวมค่าเบีย้ ประกันภัย ค่าใช้จา่ ยในการจดทะเบียนเรือ ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร ค่าใช้จา่ ยเบ็ดเตล็ด รวมค่าใช้จา่ ยในการดำเนินงาน รวมค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือ

ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม 2550 เหรียญสหรัฐ (ต่อวัน)

บริษัทฯ 2550 เหรียญสหรัฐ (ต่อวัน)

บริษัทฯ 2551 เหรียญสหรัฐ (ต่อวัน)

353 346 699 259 247 506 28 447 166 641 4,261

210 111 321 153 286 439 0 187 43 230 3,226

263 119 382 188 229 417 0 367 50 417 3,785

เหตุผลหลักทีท่ ำให้ตน้ ทุนการเดินเรือเฉลีย่ ต่อวันต่อลำของบริษทั ฯ ในปี 2551 เพิม่ ขึน้ เมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ นมีดงั นี ้ • เงินเดือนลูกเรือเพิ่มขึ้น เนื่องจากความต้องการลูกเรือทั่วโลกเพิ่มสูงขึ้นจากการขาดแคลนลูกเรือและวิศวกรที่มีคุณภาพค่าใช้ จ่ายเกีย่ วกับลูกเรือเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากราคาค่าตัว๋ เครือ่ งบินสำหรับลูกเรือทีเ่ พิม่ ขึน้ • ต้นทุนในการซ่อมแซมและสำรวจเรือเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากเหล็กมีราคาสูงขึน้ และความต้องการปริมาณเหล็กทีเ่ พิม่ ขึน้ เพือ่ ใช้สำหรับ ซ่อมแซมเรือทีม่ อี ายุมาก จากเหตุผลดังกล่าวทำให้ตน้ ทุนของค่าอะไหล่และค่าซ่อมแซมเพิม่ ขึน้ • ต้นทุนเบีย้ ประกันภัยเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากเงือ่ นไขในตลาดประกันภัย และมูลค่าเรือทีเ่ พิม่ ขึน้ ระหว่างปี 2551

6. วงเงินสินเชื่อ/เงินกู้

6.1 วงเงินสินเชื่อสำหรับจัดซื้อเรือมือสองจาก Den Norske Bank (DNB) ในฐานะเป็นผู้ ให้กู้และผู้จัดหาเงินกู้ร่วมกับ ธนาคารต่างประเทศอื่นๆ (DNB และเจ้าหนี้เงินกู้)

ในระหว่างปี 2551 บริษทั ฯ มีวงเงินสินเชือ่ 200 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา กับ 4 ธนาคารสำหรับจัดซือ้ เรือมือสอง ซึง่ วงเงิน สินเชือ่ ดังกล่าวจะสิน้ สุดสัญญาวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เงือ่ นไขหลักของสัญญาให้สนิ เชือ่ นี้ มีดงั ต่อไปนี ้ ผูก้ ู้ : บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (“พีเอสแอล”) / ร่วมกันกับแต่ละบริษทั ย่อย ซึง่ เป็นเจ้าของเรือ (รวมกันเรียกว่า “ผูก้ ”ู้ ) จำนวนเงินกู้ : วงเงิน 200 ล้านเหรียญสหรัฐ วัตถุประสงค์ : เพื่อให้กู้ยืมร้อยละ 100 สำหรับการซื้อเรือขนส่งสินค้าแห้งเทกองขนาดเล็กมือสอง เพิม่ โดยเรือต้องมีขนาดน้ำหนักบรรทุกมากกว่า 18,000 เดตเวทตัน ผู้ให้ก ู้ : ธนาคาร ดีเอ็นบี นอร์ แบงค์ เอเอสเอ สาขาประเทศสิงคโปร์ (DnB NOR Bank ASA, Singapore Branch) และธนาคารต่างชาติอนื่ วันครบกำหนด : 8 ปีหลังจากวันสิน้ สุดสัญญาวงเงินสินเชือ่ อัตราดอกเบีย้ : LIBOR + ส่วนเพิม่ ร้อยละ 1.00 - 1.40 (100 - 140 bps) ขึน้ อยูก่ บั อัตราส่วนทางการเงิน ค่าธรรมเนียมการใช้วงเงิน : ร้อยละ 30 ของส่วนเพิม่ ทีจ่ ะนำมาใช้สำหรับอัตราดอกเบีย้ ต่อปีของวงเงินทีไ่ ม่มกี าร เบิกใช้

90

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


การเบิกใช้วงเงินสินเชือ่ การจ่ายชำระคืนเงินกู ้ หลักประกัน

ข้อตกลงของหลักประกัน

ข้อตกลงทางการเงิน

: ในช่วงระยะเวลาจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 : จ่ายชำระคืนเท่าๆ กันภายใน 32 ไตรมาส ซึง่ เท่ากับร้อยละ 3.125 ของเงินกู ้ : หลักประกันของวงเงินสินเชือ่ มีดงั นี ้ i) จดจำนองเรือในลำดับแรกของเรือขนส่งสินค้าแห้งเทกองขนาดเล็กมือสองทีไ่ ด้ ซือ้ เพิม่ ii) จดจำนองเรือในลำดับแรกของเรือที่มีอายุน้อยที่สุด (ที่ยังไม่ได้จดจำนอง) จำนวนหนึ่งจากกองเรือพีเอสแอลที่มีอยู่แล้วเพิ่ม เพื่อให้ยอดเงินกู้คงเหลือ (และในกรณี วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ยอดเงินกูค้ งเหลือของ RRCF) สูงสุด

ไม่เกินร้อยละ 65 ของมูลค่ารวมของทรัพย์สนิ ทีเ่ ป็นหลักประกัน iii) การโอนผลประโยชน์ในกรมธรรม์ประกันภัยและเงินได้ของเรือทีจ่ ดจำนองเป็น ประกัน : ผูก้ จู้ ะปฏิบตั ติ ามข้อตกลงทางการเงิน โดยจะมีการประเมินผลเป็นรายไตรมาส โดย คำนวณจากงบการเงินรวมแปลงค่าเป็นเงินเหรียญสหรัฐอเมริกาของพีเอสแอล ดังนี:้ i) อัตราส่วนเงินกูต้ อ่ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวม (Funded Debt / Total Shareholders’ Equity) สูงสุดไม่เกิน 2 เท่า ; ii) อัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อ EBITDA สูงสุดไม่เกิน 5 เท่า ซึง่ จะคำนวณรายได้จากเรือที่ ได้ซอื้ เพิม่ ตามสัดส่วน ; iii) ดำรงเงินทุนหมุนเวียนอย่างน้อย 100,000 เหรียญสหรัฐอเมริกาต่อลำ สำหรับ เรือทีพ่ เี อสแอลเป็นเจ้าของ EBITDA คำนวณโดยใช้ฐาน 12 เดือนก่อนหน้า เงินกูด้ งั กล่าวข้างต้นไม่รวมเงินกูท้ มี่ กี อ่ นหน้านีส้ ำหรับการสัง่ ต่อเรือใหม่ : มูลค่ารวมสูงสุดของเงินกู้คงเหลือ / มูลค่ารวมร้อยละ 125 ของหลักประกัน (ทดสอบเป็นรายปี) : บริษทั ฯ ไม่มขี อ้ จำกัดใดๆ ทีไ่ ม่เกีย่ วกับด้านการเงินทีม่ สี าระสำคัญ

ข้อตกลงที่ไม่เกีย่ วกับการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษทั ฯ ยังไม่มกี ารเบิกใช้วงเงินสินเชือ่ นี้ และบริษทั ฯ อยูร่ ะหว่างเจรจากับผูใ้ ห้กสู้ ำหรับการขยาย ระยะเวลาการใช้วงเงินสินเชื่ออีก 12 เดือนจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ซึ่งบริษัทฯ คาดว่าจะได้รับการอนุมัติการขยายระยะเวลาสินเชื่อ ดังกล่าวพร้อมการเปลีย่ นแปลงเงือ่ นไขในสัญญาสินเชือ่ เช่น วงเงินกู้ วันครบกำหนดชำระเงินกู้ อัตราดอกเบีย้ และค่าธรรมเนียมต่างๆ 6.2 วงเงินสินเชื่อสำหรับซื้อเรือมือสองจากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) และธนาคารอื่นในประเทศอีก 2 ธนาคาร (KTB และเจ้าหนี้เงินกู้)

ในระหว่างปี 2551 บริษทั ฯ มีวงเงินสินเชือ่ 300 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา กับ 3 ธนาคารในประเทศสำหรับซือ้ เรือมือสอง ซึง่ วงเงินสินเชือ่ ดังกล่าวจะสิน้ สุดสัญญาวันที่ 18 มกราคม 2552 เงือ่ นไขหลักของสัญญาให้สนิ เชือ่ ดังกล่าวมีดงั ต่อไปนี ้ ผูก้ ู้ : บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (“พีเอสแอล”) / ร่วมกันกับแต่ละบริษทั ย่อยซึง่ เป็นเจ้าของเรือ (รวมกันเรียกว่า “ผูก้ ”ู้ ) ผู้ให้ก ู้ : ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) และ ธนาคารนครหลวงไทย จำกัด (มหาชน) หรือ ร่วมกับธนาคารพาณิชย์อนื่ จำนวนเงินกู ้ : วงเงินจำนวน 300 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

91


วัตถุประสงค์

ระยะเวลาเบิกเงินกู ้ ระยะเวลาของสินเชือ่ ระยะเวลายกเว้นเพือ่ ชำระคืนเงินต้น อัตราดอกเบีย้ การชำระคืนเงินต้น

ค่าธรรมเนียมการใช้วงเงิน หลักประกัน

ข้อตกลงของหลักประกัน

ข้อตกลงทางการเงิน

: เพือ่ ซือ้ เรือขนส่งสินค้าแห้งเทกองขนาดเล็กต่อใหม่หรือมือสอง ซึง่ มีอายุนอ้ ยกว่า 10 ปี และ / หรือมากกว่า 10 ปีแต่นอ้ ยกว่า 15 ปี ซึง่ จะให้กยู้ มื ถึงร้อยละ 20 ของ วงเงินสินเชือ่ : ในช่วงระยะเวลาจนถึงวันที่ 18 มกราคม 2552 : 13 ปีนบั จากวันซึง่ ได้มกี ารเบิกถอนเงินครัง้ แรก : 12 เดือนนับจากการเบิกถอนเงินครัง้ แรก : USD LIBOR : 3 เดือน + ส่วนเพิม่ : ชำระเป็นรายไตรมาส จำนวน 48 งวดเท่าๆ กัน (ระยะเวลา 12 ปี) ของจำนวนเงิน กูค้ งเหลือทัง้ หมด นับจากวันแรกทีจ่ า่ ยชำระคืนซึง่ เท่ากับ 12 เดือน หลังจากมีการ เบิกถอนเงินครัง้ แรก : ร้อยละ 0.375 ต่อปีของจำนวนวงเงินทีไ่ ม่ได้เบิกถอนโดยจ่ายเป็นรายไตรมาส : หลักประกันของสินเชือ่ โดยหลักมีดงั ต่อไปนี ้ i) จดจำนองเป็นลำดับแรกของเรือซึ่งผู้กู้เป็นเจ้าของ โดยมีมูลค่ารวมอย่างน้อย 50 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ก่อนการเบิกถอนครัง้ แรก ii) จดจำนองเป็นลำดับแรกของเรือขนส่งสินค้าแห้งเทกองขนาดเล็กทีไ่ ด้ซอื้ เข้ามา iii) การโอนผลประโยชน์ ใ นกรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย และเงิ น ได้ ข องเรื อ ที่ เ ป็ น

หลักประกัน iv) การจำนำหุน้ ของบริษทั ย่อยทีเ่ ป็นผูก้ ู้ : ในช่วงระยะเวลาเบิกถอนเงินกู:้ จำนวนมูลค่ารวมของเรือซึง่ เป็นหลักประกันจะต้อง มีอย่างน้อยร้อยละ 167 ของจำนวนเงินกูค้ งเหลือ หลังจากพ้นระยะเวลาเบิกถอนเงินกู้: จำนวนมูลค่ารวมของเรือซึ่งเป็นหลักประกัน จะต้องมีอย่างน้อยร้อยละ 154 ของจำนวนเงินกูค้ งเหลือ : ผูก้ จู้ ะปฏิบตั ติ ามข้อตกลงทางการเงิน โดยจะมีการประเมินผลเป็นรายไตรมาส โดย คำนวณจากงบการเงินรวมแปลงค่าเป็นเงินเหรียญสหรัฐอเมริกาของพีเอสแอล ดังนี ้ i) อั ต ราส่ ว นหนี้ สิ น ต่ อ ส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น รวม (Funded Debt / Total Shareholders’ Equity) สูงสุดไม่เกิน 2 เท่า ; ii) อัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อ EBITDA สูงสุดไม่เกิน 5 เท่า iii) ดำรงเงินทุนหมุนเวียนอย่างน้อย 100,000 เหรียญสหรัฐอเมริกาต่อลำ สำหรับ เรือทีพ่ เี อสแอลเป็นเจ้าของ iv) ดำรงอัตราส่วนความสามารถในการชำระหนีไ้ ม่นอ้ ยกว่า 1.1 เท่า เงือ่ นไขทางการเงินที่ ii) มีผลบังคับในวันทีม่ กี ารเบิกเงินกูค้ รัง้ แรก EBITDA คำนวณโดยใช้ฐาน 12 เดือน : บริษทั ฯ ไม่มขี อ้ จำกัดใดๆ ทีไ่ ม่เกีย่ วกับการเงินทีม่ สี าระสำคัญ

ข้อตกลงที่ไม่เกีย่ วกับการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และจนถึงวันที่ 18 มกราคม 2552 (วันทีส่ นิ้ สุดสัญญาวงเงินสินเชือ่ ) บริษทั ฯ ไม่มกี ารเบิกใช้วงเงิน สินเชือ่ ในส่วนนี้ บริษทั ฯ อยูร่ ะหว่างเจรจากับผูใ้ ห้กสู้ ำหรับการขยายระยะเวลาการใช้วงเงินสินเชือ่ อีก 12 เดือน จนถึงวันที่ 18 มกราคม 2553 ซึง่ บริษทั ฯ คาดว่าจะได้รบั การอนุมตั กิ ารขยายระยะเวลาสำหรับสินเชือ่ ดังกล่าวพร้อมการเปลีย่ นแปลงเงือ่ นไขในสัญญาสินเชือ่ เช่น วงเงินกู้ วันครบกำหนดชำระเงินกู้ อัตราดอกเบีย้ และค่าธรรมเนียมต่างๆ

92

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


6.3 วงเงินสินเชือ่ สำหรับการสัง่ ต่อเรือใหม่จากธนาคารดีเอ็นบี นอร์ แบงก์ เอเอสเอ สาขาประเทศสิงคโปร์ (DnB NOR Bank ASA, Singapore Branch) ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารต่างประเทศอื่นๆ (DNB, KBANK และเจ้าหนี้เงินกู้)

เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2551 บริษัทฯ ได้ลงนามในสัญญาวงเงินสินเชื่อที่มีหลักประกันระยะยาว ใช้สำหรับเรือที่สั่งต่อใหม่ จำนวน 398,400,000 เหรียญสหรัฐอเมริกา กับธนาคารดีเอ็นบี นอร์ แบงก์ เอเอสเอ สาขาประเทศสิงคโปร์ (DnB NOR Bank ASA, Singapore Branch) ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารต่างประเทศอืน่ ๆ สำหรับเรือสัง่ ต่อใหม่จำนวน 15 ลำ (เรือขนสินค้าเทกองขนาดแฮนดีไ้ ซส์จำนวน 9 ลำ โดยแต่ละลำมีระวางบรรทุก 32,000 เดตเวทตัน และเรือขนส่งสินค้าเทกองขนาดซุปราแมกซ์จำนวน 6 ลำ โดยแต่ละลำมีระวางบรรทุก 54,000 เดตเวทตัน ซึง่ ทัง้ หมดจะส่งมอบในปี 2553 และ 2555) เงือ่ นไขหลักของสัญญาให้สนิ เชือ่ ดังกล่าวมีดงั ต่อไปนี ้ ผูก้ ู้ : บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (“พีเอสแอล”) และ/หรือบริษทั ย่อยของ บริษทั ฯ จำนวนสูงสุด 15 บริษทั ย่อย ซึง่ ตัง้ ขึน้ ภายใต้กฎหมายสิงคโปร์ หรือภายใต้ กฎหมายไทย หรือภายใต้เขตอำนาจของกฎหมายใดๆ ซึง่ ผูใ้ ห้กยู้ อมรับ ผูค้ ำ้ ประกัน : พีเอสแอล ผู้ให้ก ู้ : ธนาคารดีเอ็นบี นอร์ แบงก์ เอเอสเอ สาขาประเทศสิงคโปร์ (“ดีเอ็นบี นอร์”) ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) และธนาคารต่างประเทศหลายแห่ง นายทะเบียน (Bookrunners) / : ดีเอ็นบี นอร์ ผูร้ บั ประกัน (Underwriters) / ผูจ้ ดั การผูม้ อี ำนาจ (Mandated Lead Arranger (“MLA”) และ ตัวแทนและตัวแทนหลักประกัน Facility Agent and Security Agent ผูจ้ ดั การร่วม : ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ประเภทสินเชือ่ : วัตถุประสงค์ : เป็นเงินกู้มีหลักประกันสำหรับก่อนรับเรือและเมื่อรับเรือเพื่อใช้ในการสั่งต่อเรือใหม่ จำนวน 15 ลำ ซึง่ มีรายละเอียดดังต่อไปนี ้ เรือขนสินค้าเทกองขนาดแฮนดี้ไซส์: เรือขนสินค้าเทกองประเภทแฮนดี้ไซส์ จำนวน 9 ลำ โดยแต่ละลำมีขนาดระวาง บรรทุก 32,000 เดตเวทตัน แต่ละลำถูกต่อโดยอู่ต่อเรือ ABG จำกัด ประเทศ อินเดีย ราคาต่อเรือแต่ละลำอยูท่ ปี่ ระมาณ 30 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา เรือขนสินค้าเทกองขนาดซุปราแมกซ์: เรือขนสินค้าเทกองประเภทซุปราแมกซ์ จำนวน 6 ลำ โดยแต่ละลำมีขนาดระวาง บรรทุก 54,000 เดตเวทตัน แต่ละลำถูกต่อโดยอู่ต่อเรือ ABG จำกัด ประเทศ อินเดีย ราคาต่อเรือแต่ละลำอยูท่ ปี่ ระมาณ 38 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา วงเงินสินเชือ่ สูงสุด : จำนวนเงินกูส้ งู สุดถึง 398.40 ล้านเหรียญสหรัฐ (ร้อยละ 80 ของราคาสัง่ ต่อเรือตาม ทีไ่ ด้กล่าวข้างต้น) ซึง่ ประกอบด้วย 15 ส่วน ดังต่อไปนี ้ สำหรับเรือขนสินค้าเทกองขนาดแฮนดี้ ไซส์ มีวงเงินสินเชื่อสูงสุดถึง 216 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกา โดยแบ่งเป็น 9 ส่วนย่อย ดังนี ้

วงเงินสินเชือ่ สำหรับใช้กอ่ นรับเรือ จำนวนเงิน 18 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (ต่อหนึง่ ส่วน) หรือร้อยละ 60 ของราคา สัง่ ต่อเรือแต่ละลำ ซึง่ แล้วแต่จำนวนใดจะต่ำกว่า รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

93


วงเงินสินเชือ่ สำหรับใช้เมือ่ รับเรือ เท่ากับจำนวนเงิน 24 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (ต่อหนึง่ ส่วน) หรือร้อยละ 80 ของ ราคาสัง่ ต่อเรือแต่ละลำ ซึง่ แล้วแต่จำนวนใดจะต่ำกว่า

สำหรับเรือขนสินค้าเทกองขนาดซุปราแมกซ์ มีวงเงินสินเชื่อสูงสุดถึง 182.40 ล้าน เหรียญสหรัฐอเมริกา โดยแบ่งเป็น 6 ส่วนย่อย ดังนี ้

94

วงเงินสินเชือ่ สำหรับใช้กอ่ นรับเรือ จำนวนเงิน 22.80 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (ต่อหนึ่งส่วน) หรือร้อยละ 60 ของ ราคาสัง่ ต่อเรือแต่ละลำ ซึง่ แล้วแต่จำนวนใดจะต่ำกว่า วงเงินสินเชือ่ สำหรับใช้เมือ่ รับเรือ เท่ากับจำนวนเงิน 30.40 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (ต่อหนึง่ ส่วน) หรือร้อยละ 80 ของราคาสัง่ ต่อเรือแต่ละลำ ซึง่ แล้วแต่จำนวนใดจะต่ำกว่า

การเบิกใช้วงเงินสินเชือ่ และการชำระคืน:

การเบิกใช้วงเงินสินเชือ่

การชำระคืน

วันครบกำหนด

ดอกเบีย้ และค่าธรรมเนียม: อัตราดอกเบีย้ ส่วนเพิม่ (Margin) ระยะเวลาดอกเบีย้ ค่าธรรมเนียมการใช้วงเงิน หลักประกัน

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

: สินเชือ่ สำหรับใช้กอ่ นรับเรือ: ให้เป็นไปตามขัน้ ของการต่อเรือทีร่ ะบุในสัญญาสัง่ ต่อเรือ สินเชือ่ สำหรับใช้เมือ่ รับเรือ: เท่ากับร้อยละ 100 ของวงเงินสินเชื่อสำหรับใช้เมื่อรับเรือ และจะถูกเบิกถอนใน เวลารับเรือ : สินเชือ่ สำหรับใช้กอ่ นรับเรือ: สินเชือ่ สำหรับใช้กอ่ นรับเรือจะถูกชำระคืนทัง้ หมดครัง้ เดียวเมือ่ รับเรือแต่ละลำ สินเชือ่ สำหรับใช้เมือ่ รับเรือ: สินเชือ่ ในแต่ละส่วนจะถูกชำระคืนเป็นงวดรายไตรมาส แต่ละงวดเท่ากับ 1/60 ของ สินเชือ่ สำหรับใช้เมือ่ รับเรือ และส่วนทีเ่ หลือ (balloon amount) จะเท่ากับเงินกูค้ ง เหลือของส่วนนัน้ ๆ จะจ่ายชำระเมือ่ ครบกำหนดสุดท้าย ทัง้ นีก้ ารชำระเงินกูค้ นื งวด แรก จะเริม่ ขึน้ หลังจากได้รบั เรือแต่ละลำแล้ว 3 เดือน ณ วันครบกำหนด จำนวนเงินกูค้ งเหลือทัง้ หมดจะถูกชำระคืน และจำนวนเงินกูใ้ น แต่ละส่วนลดลงเป็นศูนย์ : 10 ปี นับจากวันทีไ่ ด้เบิกเงินกูส้ ำหรับเรือลำแรก ดังนัน้ วันครบกำหนดของสัญญา เงินกูน้ จี้ ะประมาณเดือนมีนาคม พ.ศ. 2563

: จำนวนรวมของ LIBOR และส่วนเพิม่ : ร้อยละ 1.20 ต่อปี : ทุก 3 เดือน : ร้อยละ 0.35 ต่อปี ของจำนวนทีย่ งั ไม่ได้เบิกถอนของวงเงินกูท้ งั้ หมด : ผูก้ แู้ ละผูค้ ำ้ ประกันมีหลักประกันดังต่อไปนี ้ สินเชือ่ สำหรับใช้กอ่ นรับเรือ: ก) การจำนำหุน้ ของผูก้ ู้ คือหุน้ บริษทั ย่อยทีเ่ กีย่ วข้องยกเว้นพีเอสแอล ข) หลักประกันจากผูค้ ำ้ ประกัน ถ้าพีเอสแอลไม่ได้เป็นผูก้ รู้ ว่ ม ค) การโอนผลประโยชน์เป็นลำดับแรกในสัญญาสัง่ ต่อเรือ


ข้อตกลงต่างๆ: ข้อตกลงทางการเงิน

ข้อตกลงเกีย่ วกับเรือ

ข้อตกลงอืน่ ๆ

ง) การโอนผลประโยชน์เป็นลำดับแรกในสัญญาค้ำประกันการคืนเงินรายงวด ซึง่ เกีย่ วเนือ่ งจากสัญญาการสัง่ ต่อเรือของพีเอสแอล สินเชือ่ สำหรับใช้กอ่ นรับเรือ: ก) การจดจำนองเรือให้เป็นอันดับแรก ข) การจำนำหุน้ ของผูก้ ู้ คือหุน้ บริษทั ย่อยทีเ่ กีย่ วข้องยกเว้นพีเอสแอล ค) หลักประกันจากผูค้ ำ้ ประกัน ถ้าพีเอสแอลไม่ได้เป็นผูก้ รู้ ว่ ม ง) การโอนผลประโยชน์เป็นลำดับแรกของสัญญาเรียกร้องค่าชดเชยของเรือ จ) การโอนผลประโยชน์เป็นลำดับแรกของเงินประกันภัยทัง้ หลาย ฉ) การโอนผลประโยชน์เป็นลำดับแรกของเงินรายได้จากเรือ และการจดจำนำ บัญชีเงินได้ (บัญชีจะถูกเปิดเพือ่ เรือแต่ละลำ) และบัญชีเงินชำระคืน ทัง้ นีห้ ลักประกันดังกล่าวทัง้ หมดจะเป็นหลักประกันทีผ่ กู กันจนกว่าจะชำระคืนเงินกู้ ทัง้ หมด : พีเอสแอลจะปฏิบัติตามข้อตกลงทางการเงิน โดยจะมีการคำนวณเป็นรายไตรมาส จากงบการเงินรวมแปลงค่าเป็นเงินเหรียญสหรัฐของผูค้ ำ้ ประกัน ดังนี ้ ก) อัตราส่วนเงินกูต้ อ่ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวม (Funded Debt / Total Shareholder’s Equity) สูงสุดไม่เกิน 2 เท่า ข) อั ต ราส่ ว นหนี้ ต่ อ รายได้ ก่ อ นหั ก ภาษี ค่ า เสื่ อ มราคาและรายการตั ด จ่ า ย (EBITDA) สูงสุดไม่เกิน 5 เท่า ค) ดำรงเงินทุนหมุนเวียนอย่างน้อย 100,000 เหรียญสหรัฐอเมริกา ต่อลำ : การจดทะเบียนเรือ: เรือจะถูกจดทะเบียนทีป่ ระเทศไทย หรือประเทศสิงคโปร์ และ ประเทศซึง่ ยอมรับโดยตัวแทนสินเชือ่ โดยทัง้ นีผ้ กู้ สู้ ามารถจดทะเบียนเป็นเรือไทยได้ สูงสุดจำนวน 7 ลำ มูลค่าเรือขึ้นต่ำ: คือราคาตลาดรวมของเรือที่รับมอบ จะต้องมีมูลค่าอย่างน้อย ร้อยละ 125 ของยอดคงเหลือรวมของสินเชือ่ สำหรับใช้เมือ่ รับเรือ : เงินปันผล: ไม่มขี อ้ จำกัดเกีย่ วกับการจ่ายเงินปันผลของพีเอสแอล ส่วนผูก้ รู้ ว่ มทีเ่ ป็น บริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ก็สามารถจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ได้ หากมิได้ปรากฏว่า เกิดเหตุการณ์อันเป็นการผิดสัญญา หรือมิได้เกิดเหตุการณ์ซึ่งจะนำไปสู่การผิด สัญญา และเหตุการณ์ดงั กล่าวยังคงดำเนินอยู ่ การเป็ น บริ ษั ท จดทะเบี ย น: พี เ อสแอลจะยั ง คงเป็ น บริ ษั ท จดทะเบี ย นใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลอดระยะเวลาของสัญญาสินเชือ่ นี ้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษทั ฯ เบิกใช้วงเงินสินเชือ่ ดังกล่าวจำนวน 21.20 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา 7. ผลการดำเนินงานทางการเงินจากงบการเงินแปลงค่าเป็นเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา งบการเงินสกุลเงินบาทได้ตรวจสอบโดย บริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด และถูกแปลงค่าเป็นสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์ สหรัฐอเมริกาโดยบริษทั ฯ และมีการสอบทานโดยนักบัญชีอสิ ระ - บริษทั เบเคอร์ ทิลลี่ คอร์ปอเรท แอ็ดไวเซอรี่ เซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย) จำกัด จากเหตุผลทีไ่ ด้อธิบายในหน้ารายงานก่อนงบการเงินแปลงค่าเป็นสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา (แยกแสดงต่างหากในรายงาน ประจำปีน)ี้ บริษทั ฯ เห็นว่างบการเงินแปลงค่าเป็นสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกาจะแสดงถึงผลการดำเนินงานสำหรับปีทแี่ ท้จริงและเห็น ภาพของบริษทั ฯ มากกว่า และรวมถึงสินทรัพย์ หนีส้ นิ ณ วันทีใ่ นงบดุล

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

95


ตามตารางทีจ่ ะแสดงต่อไปนีไ้ ด้สรุปผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ สำหรับ 2 ปีทผี่ า่ นมา ซึง่ ตัวเลขทีแ่ สดงนัน้ ได้นำมาจากงบการเงิน

แปลงค่าเป็นสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา ซึ่งสอบทานและรับรองโดย บริษัท เบเคอร์ ทิลลี่ คอร์ปอเรท แอ็ดไวเซอรี่ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด สำหรับปีสิ้นสุด ณ วันที่ งบกำไรขาดทุน

รายได้รวม รายได้จากการเดินเรือสุทธิ

กำไรก่อนหักดอกเบีย้ จ่าย ภาษีเงินได้ ค่าเสือ่ มราคาและรายจ่าย ตัดบัญชี (EBITDA)*

ค่าเสือ่ มราคา* กำไรก่อนหักดอกเบีย้ จ่ายและภาษีเงินได้ ดอกเบีย้ จ่ายและค่าใช้จา่ ยทางการเงิน กำไรจากการดำเนินงาน ขาดทุนจากสัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงิน กำไรอืน่ ทีไ่ ม่ใช่จากการดำเนินงาน กำไรสุทธิกอ่ นภาษี

ภาษีเงินได้ กำไรสุทธิ

งบดุล

เงินลงทุนในบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง เรือเดินทะเล (ราคาทุน) ค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซมและสำรวจเรือ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สินทรัพย์หมุนเวียน เงินจ่ายล่วงหน้าสำหรับค่าจ้างต่อเรือใหม่ สินทรัพย์รวม

เงินกูม้ หี ลักประกัน หนีส้ นิ หมุนเวียน หนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน

31 ธันวาคม 2550 ล้านเหรียญสหรัฐฯ

31 ธันวาคม 2551 ล้านเหรียญสหรัฐฯ

257.98 206.82

258.90 254.87

132.46

167.10

37.74 94.72 3.68 91.04 7.07 47.49

15.02 152.08 3.86 148.22 0.00 0.56

131.46

148.78

6.33

0.64

125.13

148.14

3.27 480.08 39.13 43.69 52.39 94.81

2.91 480.08 48.95 96.25 104.52 139.18

428.94

514.37

0.00 23.26 4.87

21.07 22.17 7.58

รวมหนีส้ นิ

28.13

50.82

ทุนเรือนหุน้

35.31

35.31

ส่วนของผูถ้ อื หุน้ หรือสินทรัพย์ทม่ี ตี วั ตนสุทธิ 400.81 463.55 มูลค่าตามบัญชีตอ่ หุน้ (ดอลล่าร์สหรัฐ) 0.39 0.45 อัตราส่วน (เท่า) เงินกู/้ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ 0.00 0.05 หนีส้ นิ รวม/ส่วนของผูถ้ อื หุน้ 0.07 0.11 เงินกู/้ EBITDA 0.00 0.13 อัตราส่วนความสามารถในการชำระหนี ้ 38.63 43.29 EBITDA/ดอกเบีย้ จ่าย 38.63 43.29

96

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


* EBITDA และค่าเสือ่ มราคาคิดหลังจากการหักค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซมและสำรวจเรือ ซึง่ ค่าใช้จา่ ยเหล่านีถ้ กู รวมอยูใ่ นต้นทุนในการเดิน เรืออยูแ่ ล้วเพือ่ ใช้สำหรับคำนวณ EBITDA ตามนโยบายบริษทั ฯ ทีก่ ำหนดให้มกี ารเปิดเผยค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือเฉลีย่ ต่อวันต่อลำ (Opex) ทีร่ วมค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซมและสำรวจเรือ

7.1 รายได้และผลกำไร

รายได้รวมเพิ่มขึ้นจาก 257.98 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (รวมรายการกำไรจากการขายเรือจำนวน 42.06 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกา) ในปี 2550 เป็น 258.90 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2551 รายได้จากการเดินเรือสุทธิเพิ่มขึ้นจาก 206.82 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกาในปี 2550 เป็น 254.87 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2551 ซึง่ สาเหตุหลักเกิดจากการเพิม่ ขึน้ ของรายได้จากการเดินเรือเฉลีย่ ต่อ วันต่อลำ (TC Rate) ในปี 2551 เมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2550 ซึง่ รายได้ของบริษทั ฯ มาจากจำนวนเรือเฉลีย่ 44 ลำ ในระหว่างปี 2551 เมือ่ เปรียบเทียบกับจำนวนเรือเฉลีย่ 45 ลำในปี 2550 เนือ่ งจากกระแสเงินสดจากการดำเนินงานหรือกำไรก่อนหักดอกเบีย้ จ่าย ภาษีเงินได้ ค่าเสือ่ ม ราคาและรายจ่ายตัดบัญชี (EBITDA) ได้เพิม่ ขึน้ จาก 132.46 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2550 เป็น 167.10 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2551 สำหรับรายได้เฉลีย่ ต่อวันต่อลำเพิม่ ขึน้ จาก 13,147 เหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2550 เป็น 16,489 เหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2551 ในขณะ เดียวกันต้นทุนการเดินเรือโดยเฉลีย่ ต่อวันต่อลำเพิม่ ขึน้ จาก 4,005 เหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2550 เป็น 4,804 เหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2551 ทัง้ หมดนีจ้ งึ เป็นเหตุผลว่ากำไรขัน้ ต้นในปี 2551 ได้ปรับตัวเพิม่ ขึน้ จากปี 2550 ถึงแม้วา่ ต้นทุนการเดินเรือเฉลีย่ ต่อวันต่อลำจะเพิม่ ขึน้ แต่กย็ งั คงต่ำกว่าค่าเฉลีย่ อุตสาหกรรม ดังรายละเอียดทีก่ ล่าวไว้ในหัวข้อ 5 เรือ่ ง “รายได้และค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือ” ค่าเสือ่ มราคาลดลงจาก 37.74 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2550 เป็น 15.02 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2551 เนือ่ งจาก บริษทั ฯ ได้เปลีย่ นประมาณการมูลค่าคงเหลือของเรือเดินทะเล โดยการประมาณการราคาเหล็กเพิม่ ขึน้ เป็น 400 เหรียญสหรัฐอเมริกาต่อตัน จากเดิม 135 เหรียญสหรัฐอเมริกา ต่อตัน ซึ่งรายการดังกล่าวมาใช้ในการคำนวณค่าเสื่อมราคา และเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้ค่าเสื่อมราคา สำหรับปี 2551 ลดลงเป็นจำนวนเงิน 17.87 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาเมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2550 ดอกเบีย้ จ่ายและค่าใช้จา่ ยทางการเงินเพิม่ ขึน้ จาก 3.68 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2550 เป็น 3.86 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2551 ซึง่ เป็นทีน่ า่ สังเกตว่ารายการดอกเบีย้ จ่ายและค่า ใช้จ่ายทางการเงินสำหรับปี 2551 ไม่มีจำนวนดอกเบี้ยจ่าย (เนื่องจากดอกเบี้ยจ่ายที่เกิดจากเงินกู้เพื่อการต่อเรือใหม่จะถือเป็นต้นทุนของ สินทรัพย์) แต่ประกอบด้วยค่าธรรมเนียมทางการเงินตัดจำหน่าย คำนวณตามสัดส่วนจากจำนวนเงินกู้ที่คาดว่าจะลดลงของสัญญาสินเชื่อ สำหรับการจัดหาซือ้ เรือมือสอง (ซึง่ ได้อธิบายไว้กอ่ นหน้านี)้ และค่าธรรมเนียมการรักษาวงเงินกูม้ ปี ระกันทัง้ สามของบริษทั ฯ เนือ่ งจากการอ่อน ค่าของเงินบาทเมือ่ เทียบกับเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา อัตราแลกเปลีย่ น ณ สิน้ ปี 2551 สูงกว่าเมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ น เป็นผลให้การแปลง สินทรัพย์หมุนเวียนจากเงินบาทเป็นเงินเหรียญสหรัฐอเมริกาทีอ่ ตั ราแลกเปลีย่ นทีส่ งู กว่า ทำให้มขี าดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นจำนวน 0.92 ล้าน เหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2551 และเนือ่ งจากผลของอัตรากำไรขัน้ ต้นต่อเรือทีเ่ พิม่ ขึน้ แม้วา่ จำนวนวันในการเดินเรือจะลดลงเล็กน้อยในช่วงปี 2551 ทำให้กำไรจากการดำเนินงานเพิม่ ขึน้ เท่ากับ 148.22 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา เมือ่ เปรียบเทียบกับ 91.04 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2550 ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลลดลงจาก 6.33 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2550 เป็น 0.64 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2551 ซึง่ ปี 2551 ภาษี เงินได้นติ บิ คุ คลเป็นภาษีจากรายได้คา่ ดอกเบีย้ และค่าเผือ่ จาก “การคืนเรือก่อนสิน้ สุดระยะเวลาในสัญญาเช่าเรือ” จำนวน 0.27 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกา ซึง่ บริษทั ฯ ได้รบั จากลูกค้ารายหนึง่ จากการทีล่ กู ค้าส่งมอบเรือคืนก่อนวันทีร่ ะบุไว้ในสัญญาเช่าเรือ กำไรสุทธิของบริษทั ฯ เพิม่ ขึน้ จาก 125.13 ล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2550 เป็น 148.14 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ในปี 2551 โดย ไม่มรี ายการกำไรจากการขายเรือ ในปี 2551 แต่มสี าเหตุหลักมาจากการเพิม่ ขึน้ ของรายได้จากการเดินเรือเฉลีย่ ต่อวันต่อลำ (TC rate) และการ คำนวณค่าเสือ่ มราคาจากการเปลีย่ นประมาณการมูลค่าซากของเรือเดินทะเลดังทีไ่ ด้อธิบายไว้ขา้ งต้น

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

97


98

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

ตารางข้างล่างนีเ้ ป็นการสรุปสถานภาพการลงทุนทัง้ หมดในโครงการร่วมทุนในต่างประเทศ ในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 (ตัวเลขเป็น เหรียญสหรัฐอเมริกา)

เงินลงทุนระยะสัน้ SLPG เงินลงทุนระยะยาว ISPL - ฮาลเดีย รวมทัง้ หมด

566,819 1,115,950 549,131

2,037,650 873,749 2,911,399 - 2,911,399 - 2,910,377 550,153 3,460,530 566,819 4,027,349 549,131

872,727 (323,596) 549,131

-

- - 2,911,399 566,819 1,115,950 2,911,399

566,819 1,115,950

- -

-

2,911,399 2,911,399

-

* ส่วนปรับปรุงตามวิธสี ว่ นได้เสีย หมายถึงการปรับปรุง (+ / -) ตามวิธสี ว่ นได้เสีย ** เงินลงทุนจ่ายล่วงหน้า หมายถึง เงินลงทุนทีจ่ า่ ยไปในฐานะผูถ้ อื หุน้ และแสดงไว้ภายใต้ “สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ ๆ” *** ค่าเผือ่ สำหรับ “เงินลงทุนในหุน้ สามัญ” แสดงรายการในรูปของค่าเผือ่ ผลขาดทุนในเงินลงทุน (Allowance for possible loss on other investments) ส่วนค่าเผือ่ ในเรือ่ งอืน่ ๆ แสดงรายการ ในรูปของหนีส้ ญู และค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ (Bad debts and allowance for doubtful accounts) ซึง่ บริษทั ฯ บันทึกไว้ในปี 2545 ในระหว่างปี 2551 บริษทั ฯ ได้ลงนามในสัญญาซือ้ หุน้ จำนวน 4.92 ล้านหุน้ ในบริษทั อินเตอร์เนชัน่ แนล ซีพอร์ทส์ (ฮาลเดีย) ไพรเวท ลิมเิ ตด คิดเป็นจำนวนเงิน 110.46 ล้านอินเดีย รูปี เมือ่ วันที่ 30 ธันวาคม 2551 บริษทั ฯ คาดว่ารายการดังกล่าวจะเสร็จสมบูรณ์ในปี 2552 และผลจากการลงทุนซือ้ หุน้ เพิม่ ในครัง้ นี้ จะทำให้บริษทั ฯ มีสว่ นได้เสียในบริษทั ดังกล่าวเพิม่ ขึน้ เป็นร้อย ละ 33.55 ในระหว่างปี 2549 บริษทั ฯ ได้ลงทุนในหุน้ สามัญของบริษทั บทด จำกัด ซึง่ จดทะเบียนในประเทศไทยจำนวน 2,026,086 หุน้ มูลค่าตราไว้หนุ้ ละ 10 บาท บริษทั ฯ ชำระค่าหุน้ แล้ว หุน้ ละ 5 บาท เป็นจำนวนเงิน 0.26 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ในปี 2551 บริษทั ฯ ไม่มกี ารลงทุนเพิม่ เติมในบริษทั บทด จำกัด

เงินลงทุน **เงินลงทุน รวม ***ค่าเผื่อสำหรับ ยอดคงเหลือ (สุทธิ) จ่ายล่วงหน้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 โครงการร่วมทุน ราคาทุน *ส่วนปรับปรุง รวม เงินลงทุน **เงินลงทุน รวม เงินลงทุน เงินลงทุน รวม วิธีส่วนได้เสีย จ่ายล่วงหน้า จ่ายล่วงหน้า

เงินลงทุน

7.2 สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น


สินทรัพย์หมุนเวียน

สินทรัพย์หมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เพิม่ ขึน้ จำนวน 52.13 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาเมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2550 เนือ่ งจากการเพิม่ ขึน้ ของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดจากการไม่มเี งินกูค้ งค้างทีต่ อ้ งจ่ายชำระในระหว่างปี 2551 ทำให้บริษทั ฯ มีเงินสด ส่วนเกินจากการดำเนินงาน เงินสดคงเหลือนี้สุทธิหลังจากการจ่ายเงินปันผลจำนวน 85.45 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา และเงินจ่ายล่วงหน้า สำหรับค่าจ้างต่อเรือใหม่จำนวน 22.80 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ในระหว่างปี 2551 ลูกหนี้สุทธิจากค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญทั้งหมดเพิ่มขึ้น จำนวน 0.31 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาเมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ น โดยธรรมเนียมปฏิบตั ทิ วั่ ไปในธุรกิจการขนส่งสินค้าทางทะเล บริษทั ฯ จะเรียก เก็บค่าระวางเรือจากลูกค้าล่วงหน้า (จำนวนร้อยละ 95 ของค่าระวางในกรณีทเี่ ป็นการให้บริการเช่าเป็นรายเทีย่ ว (Voyage Charter) และจะ เรียกเก็บค่าเช่าจากลูกค้าล่วงหน้าทุก 15 วัน ในกรณีทเี่ ป็นการให้เช่าเป็นระยะเวลา (Time Charter)) จึงไม่มปี ญั หาใดๆ จากการติดตามหนี้ ดังนัน้ ยอดลูกหนีจ้ งึ เป็นเงินทีจ่ ะได้รบั จากตัวแทน ผูเ้ ช่าเรือและรายได้คา้ งรับตามจำนวนเปอร์เซ็นต์ของการให้บริการทีจ่ บสิน้ แล้ว

สินทรัพย์ถาวร

มูลค่าของสินทรัพย์ถาวรของบริษทั ฯ ลดลงจากปีกอ่ น เนือ่ งจากค่าเสือ่ มราคาทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่างปี 2551 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษทั ฯ มีกำลังกองเรือทัง้ สิน้ จำนวน 44 ลำ ซึง่ รายละเอียดได้แสดงไว้ภายใต้หวั ข้อกำลังกองเรือในรายงานประจำปีนี้ บริษทั ฯ ลงนามใน สัญญาขายเรือจำนวน 3 ลำ ซึง่ อยูร่ ะหว่างการส่งมอบเรือในปี 2552 หลังจากส่งมอบเรือทัง้ 3 ลำให้กบั ผูซ้ อื้ แล้ว กองเรือของบริษทั ฯ จะมี จำนวน 41 ลำ เรืออยูใ่ นสภาพดีและมีการรักษามาตรฐานทีส่ งู สุดอย่างต่อเนือ่ ง

เงินจ่ายล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือใหม่

บริษทั ฯ ได้ลงนามในสัญญาสัง่ ต่อเรือใหม่จำนวน 12 ฉบับ สำหรับสัง่ ต่อเรือใหม่ขนาดแฮนดีไ้ ซส์จำนวน 12 ลำ ซึง่ มีขนาดระวาง บรรทุก 32,000 เดตเวทตัน และบริษทั ฯ ได้ลงนามในสัญญาสัง่ ต่อเรือใหม่จำนวน 6 ฉบับ สำหรับสัง่ ต่อเรือใหม่ขนาดซุปราแมกซ์ จำนวน 6 ลำ ซึง่ มีขนาดระวางบรรทุก 54,000 เดตเวทตัน กับอูต่ อ่ เรือ ABG ประเทศอินเดีย ในระหว่างปี 2550 ถึงปี 2551 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษทั ฯ จ่ายเงินล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือใหม่เป็นจำนวนเงิน 138.80 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาดังทีไ่ ด้อธิบายไว้แล้วในข้อ 3 ข้างต้น

หนีส้ นิ รวม

ณ วันสิน้ ปี 2551 บริษทั ฯ มีเงินกูท้ มี่ หี ลักประกันจำนวน 21.07 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา จากสัญญาสินเชือ่ สำหรับสัง่ ต่อเรือ ใหม่ตามที่อธิบายไว้แล้วข้างต้น ซึ่งจ่ายให้กับอู่ต่อเรือ ABG ประเทศอินเดีย ในการจ่ายเงินค่าต่อเรืองวดที่สอง สำหรับเรือสามลำตามที่ได้ อธิบายไว้ในข้อ 3 ดังนัน้ หนีส้ นิ รวมเพิม่ ขึน้ จาก 28.13 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2550 เป็น 50.82 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2551

ส่วนของผูถ้ อื หุน้

เนื่องจากบริษัทฯ มีกำไรสุทธิจำนวน 148.14 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในระหว่างปี เงินปันผลจ่ายระหว่างปี 2551 จำนวน 85.45 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (2.75 บาทต่อหุน้ ) และผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินและส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยเพิม่ ขึน้ จำนวน 0.05 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ทำให้มีส่วนของผู้ถือหุ้น ณ ขณะนี้เป็นจำนวน 463.55 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ซึ่งเพิ่มขึ้นจำนวน 62.74 ล้าน เหรียญสหรัฐอเมริกาเมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน การเพิ่มขึ้นในส่วนของผู้ถือหุ้นได้อธิบายไว้แล้วข้างต้น มูลค่าสุทธิตามบัญชีต่อหุ้นเพิ่มขึ้นจาก 0.39 เหรียญสหรัฐอเมริกาต่อหุน้ ณ สิน้ ปี 2550 เป็น 0.45 เหรียญสหรัฐอเมริกาต่อหุน้ ณ สิน้ ปี 2551

7.3 ความสามารถในการก่อหนี้ (Leverage) สภาพคล่อง (Liquidity) และความสามารถในการชำระหนี้ (Coverage)

ความเสีย่ งด้านสินเชือ่ ของบริษทั ฯ เป็นไปในทางทีด่ ขี นึ้ ตัง้ แต่มกี ารปรับโครงสร้างหนีใ้ นปี 2543 กำไรก่อนหักดอกเบีย้ จ่าย ภาษี เงินได้ ค่าเสือ่ มราคาและรายจ่ายตัดบัญชี (EBITDA) ยังคงอยูใ่ นระดับทีด่ ใี นระหว่างปี 2551 และบริษทั ฯ มีเพียงเงินกูท้ มี่ หี ลักประกันคงค้าง ณ สิน้ ปี 2551 จำนวน 21.07 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ทำให้อตั ราส่วนการก่อหนี้ Leverage Ratio ดีขนึ้ อย่างมาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ระดับหนีส้ นิ ของบริษทั ฯ อยูท่ ี่ 0.13 เท่าของกำไรก่อนหักดอกเบีย้ จ่าย ภาษีเงินได้ ค่าเสือ่ มราคาและรายจ่ายตัดบัญชี (EBITDA) ภาพรวมหนีส้ นิ ของบริษทั ฯ นัน้ (อัตราส่วนหนีส้ นิ รวมต่อสินทรัพย์ทมี่ ตี วั ตนสุทธิ) เพิม่ ขึน้ เป็น 0.11 เท่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 จาก 0.07 เท่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เนือ่ งจากการเพิม่ ขึน้ ของเงินกูท้ มี่ หี ลักประกันตามทีไ่ ด้อธิบายไว้แล้วข้างต้น ความสามารถในการชำระหนี้ (debt service cover) ของบริษทั ฯ สำหรับปี 2551 อยูท่ ี่ 43.29 เท่า อัตราส่วนของกำไรก่อนหัก ดอกเบีย้ จ่าย ภาษีเงินได้ ค่าเสือ่ มราคาและรายจ่ายตัดบัญชี (EBITDA) ต่อดอกเบีย้ จ่าย ปรับตัวดีขนึ้ ตัง้ แต่ปี 2543 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 อยูท่ ี่ 43.29 เท่า อัตราส่วนทัง้ สองนีแ้ สดงให้เห็นถึงความสามารถอันแข็งแกร่งต่อการชำระหนีส้ นิ ทีม่ อี ยูป่ จั จุบนั หรือความสามารถในการจัดหา เงินกูท้ ดี่ ขี นึ้ หากต้องการเงินทุนเพือ่ นำมาปรับเปลีย่ นกำลังกองเรือ อัตราส่วนทัง้ หมดคำนวณตามข้อบังคับทางการเงินทีก่ ำหนดในสัญญาเงินกู้ ทีท่ ำกับเจ้าหนีเ้ งินกูข้ องบริษทั ฯ รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

99


8. การวิเคราะห์งบการเงินรวมเงินบาทที่ตรวจสอบแล้ว

8.1 การวิเคราะห์งบกำไรขาดทุน

8.2 การวิเคราะห์งบดุล

• รายได้จากการเดินเรือสุทธิ (สุทธิจากรายจ่ายท่าเรือและน้ำมันเชือ้ เพลิง) สำหรับปี 2551 เพิม่ ขึน้ ประมาณร้อยละ 18 จาก รายได้จากการเดินเรือสุทธิสำหรับปี 2550 โดยมีสาเหตุหลักจากการเพิม่ ขึน้ ของรายได้จากการเดินเรือโดยเฉลีย่ ต่อวันต่อลำเรือ รายได้จากการ เดินเรือเฉลี่ยต่อวันต่อลำเรือเท่ากับ 16,489 เหรียญสหรัฐอเมริกาสำหรับปี 2551 เมื่อเปรียบเทียบกับ 13,147 เหรียญสหรัฐอเมริกาสำหรับปี 2550 ซึง่ เพิม่ ขึน้ ประมาณร้อยละ 25 เมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ น โดยมีจำนวนเรือเฉลีย่ 44 ลำในระหว่างปี 2551 เปรียบเทียบจำนวนเรือเฉลีย่ 45 ลำในระหว่างปี 2550 • ในระหว่างปี 2551 ค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือเพิม่ ขึน้ ประมาณร้อยละ 6 เมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ น ตามทีอ่ ธิบายไว้แล้วในข้อ ที่ 5 เมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2550 • ในระหว่างปี 2551 ต้นทุนในการเดินเรือรวมเพิม่ ขึน้ ประมาณร้อยละ 3 เมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ น ในระหว่างปี 2551 ราย จ่ายท่าเรือและค่าน้ำมันเชือ้ เพลิงลดลง เนือ่ งจากการให้บริการให้เช่าเป็นรายเทีย่ ว (voyage charter) ลดลงเมือ่ เทียบกับปีกอ่ น ต้นทุนในการ เดินเรือรวมทีเ่ พิม่ ขึน้ นีม้ เี หตุผลหลักมาจากการเพิม่ ขึน้ ของค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือในระหว่างปี 2551 ตามทีไ่ ด้อธิบายไว้แล้วข้างต้น • กำไรขัน้ ต้นในปี 2551 เพิม่ ขึน้ ประมาณร้อยละ 22 เมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ น แต่เป็นทีส่ งั เกตได้วา่ อัตรากำไรขัน้ ต้นสำหรับ ปีได้เพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 74 มาเป็นร้อยละ 77 เมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ น ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากการเพิม่ ขึน้ ของรายได้เฉลีย่ ต่อวันต่อลำ • จากผลของการเพิม่ ขึน้ ของรายได้จากการเดินเรือ ทำให้รายได้รวม (ไม่รวมรายการกำไรจากการขายเรือ) ระหว่างปี 2551 เพิม่ ขึน้ เมือ่ เทียบกับปีกอ่ น • ค่าใช้จา่ ยในการบริหารสำหรับปี 2551 เพิม่ ขึน้ เป็นจำนวนเงิน 126.81 ล้านบาท เมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2550 จากการเพิม่ ขึน้ ของค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับบุคคล • ดอกเบีย้ จ่ายและต้นทุนทางการเงินสำหรับปี 2551 เพิม่ ขึน้ เป็นจำนวนเงิน 3.89 ล้านบาทเมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2550 ซึง่ เป็นทีน่ า่ สังเกตว่ารายการดอกเบีย้ จ่ายและค่าใช้จา่ ยทางการเงินสำหรับปี 2551 ไม่มจี ำนวนดอกเบีย้ จ่าย (ดอกเบีย้ จ่ายทีเ่ กิดจากการเงินกูเ้ พือ่ การต่อเรือใหม่ถอื เป็นต้นทุนของสินทรัพย์) แต่ประกอบด้วยค่าธรรมเนียมทางการเงินตัดจำหน่าย คำนวณตามสัดส่วนจากจำนวนเงินกูท้ ลี่ ดลง ของสัญญาสินเชือ่ สำหรับการจัดหาซือ้ เรือมือสอง (ซึง่ ได้อธิบายไว้กอ่ นหน้านี)้ และค่าธรรมเนียมการรักษาวงเงินกูม้ ปี ระกันทัง้ สามของบริษทั ฯ ในระหว่างปี 2551 • ค่าใช้จ่ายรวม (ไม่รวมค่าเสื่อมราคา) ในปี 2551 ลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน มีสาเหตุมาจากในระหว่างปี 2550 บริษทั ฯ มีผลขาดทุนจากสัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงินเป็นจำนวนเงิน 241.97 ล้านบาท และขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นเป็นจำนวนเงิน 175.17 ล้านบาท ซึง่ รายการดังกล่าวไม่มใี นปี 2551 • ค่าเสือ่ มราคาสำหรับปี 2551 ลดลงจาก 1,824.37 ล้านบาทในปี 2550 เป็น 1,085.16 ล้านบาทในปี 2551 บริษทั ฯ เปลีย่ น ประมาณการมูลค่าของเรือเดินทะเล โดยการประมาณการราคาเหล็กเพิม่ ขึน้ เป็น 400 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน จากเดิม 135 เหรียญสหรัฐฯ ต่อ ตัน ซึ่งรายการดังกล่าวนำมาใช้ในการคำนวณค่าเสื่อมราคา และเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี 2551 ลดลงจำนวน 642.20 ล้านบาทเมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2550 • บริษทั ฯ บันทึกกำไรจากอัตราแลกเปลีย่ นเป็นจำนวนเงิน 61.13 ล้านบาทสำหรับปี 2551 เช่นเดียวกับการบันทึกขาดทุน จากอัตราแลกเปลีย่ นเป็นจำนวนเงิน 175.17 ล้านบาทสำหรับปี 2550 รายการกำไรจากอัตราแลกเปลีย่ นเกิดจากการอ่อนค่าของเงินบาทเมือ่ เทียบกับเงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐ ซึง่ ส่วนใหญ่เกิดจากแปลงค่าเงินสดคงเหลือสกุลดอลล่าร์สหรัฐมาเป็นเงินบาท บริษทั ฯ มีกำไรสุทธิจำนวน 4,938.59 ล้านบาทสำหรับปี 2551 เมือ่ เปรียบเทียบกับจำนวน 4,156.16 ล้านบาทในปี 2550 ซึง่ เหตุผลหลักทีท่ ำให้ผลกำไรสุทธิระหว่างปี 2551 สูงกว่าปี 2550 เนือ่ งจากการเพิม่ ขึน้ ของอัตรารายได้ตอ่ วัน และการเปลีย่ นแปลงประมาณการ มูลค่าซากของเรือเดินทะเลซึง่ นำมาใช้ในการคำนวณค่าเสือ่ มราคาตามทีไ่ ด้อธิบายรายละเอียดไว้ขา้ งต้น • สินทรัพย์หมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เพิม่ ขึน้ จำนวน 1,875.03 ล้านบาทเมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2550 เนือ่ งจาก การเพิม่ ขึน้ ของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด จากการไม่มรี ายการจ่ายชำระเงินกูใ้ นระหว่างปี 2551 ทำให้บริษทั ฯ มีกระแสเงินสดส่วน เกินจากการดำเนินงาน เงินสดนีส้ ทุ ธิหลังจากการจ่ายเงินปันผลจำนวน 2,858.21 ล้านบาท และการจ่ายเงินล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือใหม่จำนวน 742.53 ล้านบาท ในระหว่างปี 2551 ลูกหนีส้ ทุ ธิจากค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญทัง้ หมดเพิม่ ขึน้ จำนวน 12.13 ล้านบาท เมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ น บริษทั ฯ มีสภาพคล่องทีด่ อี ย่างต่อเนือ่ งตลอดมาด้วยการมีเงินสดทีม่ ากเพียงพอทีจ่ า่ ยได้ทกุ เวลา

100

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


• มูลค่าของสินทรัพย์ถาวรของบริษัทฯ ลดลงจากปีก่อนเนื่องจากค่าเสื่อมราคาที่เกิดขึ้นในระหว่างปี บริษัทฯ จ่ายเงินล่วง หน้าค่าจ้างต่อเรือใหม่จำนวน 4,707.63 ล้านบาท ดังทีไ่ ด้อธิบายไว้ในข้อ 3 มูลค่าสินทรัพย์รวมของบริษทั เพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากเงินล่วงหน้าค่าจ้าง ต่อเรือทีจ่ า่ ยในระหว่างปีจำนวนเงิน 1,480.97 ล้านบาท (เป็นเงินทีเ่ บิกถอนจากสัญญาสินเชือ่ มีหลักประกันจำนวน 739.50 ล้านบาท) และกำไร สุทธิทไี่ ด้รบั และอืน่ ๆ ทีเ่ กิดขีน้ ในระหว่างปี • หนีส้ นิ หมุนเวียนลดลงจำนวน 10.68 ล้านบาทเมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ น ณ สิน้ ปี 2551 บริษทั ฯ มีเงินกูท้ มี่ หี ลักประกัน จำนวน 739.50 ล้านบาท ซึง่ เป็นการเบิกถอนเงินกูท้ มี่ หี ลักประกันสำหรับจ่ายให้กบั อูต่ อ่ เรือ ABG ประเทศอินเดีย สำหรับจ่ายค่าต่อเรืองวดที่ สอง สำหรับเรือจำนวน 3 ลำ ดังทีไ่ ด้อธิบายไว้ในข้อ 3 ข้างต้น • หนีส้ นิ รวมเพิม่ ขึน้ จากจำนวน 953.21 ล้านบาทในปี 2550 เป็น 1,783.08 ล้านบาทในปี 2551 มีสาเหตุหลักมาจากการเพิม่ ขึน้ ของเงินกูม้ หี ลักประกัน ดังทีไ่ ด้อธิบายไว้แล้วข้างต้น • เนือ่ งจากบริษทั ฯ มีกำไรสุทธิจำนวน 4,938.59 ล้านบาท เงินปันผลจ่ายจำนวน 2,858.21 ล้านบาท และผลต่างจากการ แปลงค่างบการเงินและส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยเพิม่ ขึน้ จำนวน 32.14 ล้านบาทในระหว่างปี ทำให้มสี ว่ นของผูถ้ อื หุน้ ณ ขณะนีเ้ ป็นจำนวน 16,177.45 ล้านบาท ซึง่ เพิม่ ขึน้ จำนวน 2,112.52 ล้านบาทเมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ น

8.3 การวิเคราะห์กระแสเงินสด

• ในระหว่างปี บริษทั ฯ มีกระแสเงินสดจากการดำเนินงานจำนวน 6,122.25 ล้านบาท ซึง่ เพิม่ ขึน้ ประมาณร้อยละ 32 เมือ่ เปรียบเทียบกับกระแสเงินสดจากการดำเนินงานของปีกอ่ น เนือ่ งจากกำไรขัน้ ต้นทีเ่ พิม่ ขึน้ ตามทีไ่ ด้อธิบายข้างต้น • หลังจากรายการปรับปรุงการเปลี่ยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียน บริษัทฯ มีกระแสเงินสดจำนวน 2,220.23 ล้านบาท ไว้สำหรับใช้ไปในกิจกรรมลงทุนและกิจกรรมจัดหาเงิน • ในระหว่างปี บริษทั ฯ มีกระแสเงินสดจ่ายสำหรับค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซมและสำรวจเรือจำนวน 640.55 ล้านบาท และ เงินจ่ายล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือจำนวน 1,473.94 ล้านบาท หลังจากการปรับปรุงรายการอื่นๆ บริษัทฯ มีกระแสเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรม ลงทุนจำนวน 2,067.33 ล้านบาท • ในระหว่างปี บริษทั ฯ เบิกเงินกูท้ มี่ หี ลักประกันจากธนาคารจำนวน 725.91 ล้านบาท เพือ่ เป็นการจ่ายชำระค่าจ้างต่อเรือ งวดทีส่ อง สำหรับเรือ 3 ลำ ให้กบั อูต่ อ่ เรือ ABG ดังทีไ่ ด้อธิบายไว้ในข้อ 3 ข้างต้น มีการจ่ายเงินปันผลเป็นเงินสดจำนวน 2,858.21 ล้านบาท กระแสเงินสดจากการดำเนินงานทีด่ ี และการบริหารเงินทุนหมุนเวียนทีม่ ปี ระสิทธิภาพทำให้บริษทั ฯ มีเงินสดคงเหลือทีเ่ พียงพอโดยไม่มปี ญั หา สภาพคล่องแต่อย่างใด

ภาคผนวก คำอ้างอิง และพาดหัวข่าวบางส่วนในปี 2551

บริษัทประเมินราคาเรือ HSBC Shipping Services Limited ได้กล่าวถึงแนวโน้มในปี 2551 ลงในคอลัมน์ Points of View ใน Weekly Commentary ประจำวันที่ 21 ธันวาคม 2550 ว่าประการแรก ปัญหาสินเชือ่ ตึงตัวจะยังคงไม่หมดไปและยังจะคงเป็นปัญหาต่อไปอีกระยะหนึง่ ประการทีส่ อง เราจะทราบในปีหน้าว่าเศรษฐกิจของประเทศตลาดเกิดใหม่จะสามารถรุง่ เรืองต่อไปในขณะทีเ่ ศรษฐกิจสหรัฐกำลังอ่อนแอได้หรือ ไม่ ประการทีส่ าม กองทุนความมัง่ คัง่ แห่งชาติอาจจะใช้อทิ ธิพลทีก่ ำลังมีมากขึน้ ในการต่อสูก้ บั ปัญหาสภาพคล่องทีร่ นุ แรงถึงขัน้ ทำให้ผวู้ า่ การ ธนาคารกลางนอนไม่หลับตอนกลางคืน ประการทีส่ ี่ ถึงแม้วา่ จะมีขา่ วจากประเทศบาหลีเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงสภาวะอากาศ เราก็ยงั คงมี ฤดู ก าล และตลาดการขนส ง สิ น ค า ทางทะเลก็ จ ะยั ง คงแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง การมี ฤ ดู ก าลอยู่ ประการสุ ด ท้ า ย การคาดการณ์ ต่ า งๆ ต้องคาดการณ์สถานการณ์บางอย่างในปีหน้าผิดพลาดไปเป็นแน่ ทฤษฎี Shock and ore, Fairplay International Shipping Weekly, 3 มกราคม 2551: เหตุการณ์ทงั้ หมดนัน้ นำไปสูข่ อ้ สรุปว่า อดีตนัน้ ช่วย อะไรไม่ได้มากนักในการวางแผนอนาคต โดยเฉพาะการวางแผนอนาคตสำหรับปีนี้ ซึ่งเลวร้ายมากกว่าปีไหนๆ นับตั้งแต่การทลายกำแพง เบอร์ลนิ เราคิดว่าเรารูว้ า่ เรากำลังยืนอยูท่ จี่ ดุ ใด เราคิดว่าเรารูว้ า่ เราอยากจะก้าวไปสูจ่ ดุ ใดในเดือนมกราคมปีหน้า แต่การเปลีย่ นแปลงอย่างไม่ คาดคิดกำลังรอเราอยูเ่ บือ้ งหน้า การหยุดชะงักการส่งออกของบริษทั เหมืองยักษ์ใหญ่ Vale ส่งผลให้คา่ ระวางเรือดิง่ ลงเหว Lloyd’s List, 17 มกราคม 2551 ‘เกมส์ไพ่โป๊กเกอร์เดิมพันสูง’ By Ian Lewis, TradeWinds, 18 มกราคม 2551: บรรยากาศตลาดเรือขนส่งสินค้าแห้งทำท่าแย่ลง เพราะติดอยู่ ในเกมส์ไพ่โป๊กเกอร์เดิมพันสูงทีเ่ ล่นโดยสามยักษ์ใหญ่ผผู้ ลิตแร่และโรงเหล็กของเอเชีย รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

101


การโทษตลาดค่าระวางล่วงหน้าว่าทำให้คา่ ดัชนีตกเป็นเรือ่ ง ‘ไร้สาระ’ By Jamie Dale, Lloyd’s List, 21 มกราคม 2551 พายุทกี่ ำลังก่อตัวอยูร่ นุ แรงแค่ไหน? By Terry Macalister, TradeWinds, 1 กุมภาพันธ์ 2551: แต่ใครเล่าจะกล้าพูดว่าปัญหาความยุง่ ยากทีม่ อี ยู่ ในขณะนีเ้ ป็นสิง่ ทีไ่ ม่มใี ครคาดคิดมาก่อน เราก็พดู กันมาตลอดถึงผลกระทบของปัญหาสินเชือ่ ตึงตัวและความเสือ่ มถอยของเศรษฐกิจสหรัฐ ยังไม่ รวมถึงปัญหาในส่วนของภาคธุรกิจการเดินเรือเองในเรือ่ งการสัง่ ต่อเรือเพิม่ ขึน้ มากเกินความต้องการและราคาทีเ่ พิม่ สูงขึน้ มากเกินจริงของตัวเรือ องค์กรตรวจคุณภาพเรือ ABS กล่าวว่าประเทศจีนจะไม่สามารถมีอตู่ อ่ เรือมากได้เท่าทีห่ วังไว้ By Michelle Wiese Bockmann, Lloyd’s List, 13 กุมภาพันธ์ 2551: แต่ ABS ยังไม่สามารถระบุได้แน่ชดั ว่าจะมีเรือสักกีล่ ำทีจ่ ะสามารถต่อได้ใน ‘อูต่ อ่ เรือทีเ่ สมือนว่ามีจริง’ ของประเทศจีน ซึง่ อูต่ อ่ เรือจำนวนมากได้รบั ออเดอร์สงั่ ต่อเรือมาทัง้ ๆ ทีอ่ ตู่ อ่ เรือยังไม่ทนั จะสร้างด้วยซ้ำ ความสำเร็จในการหาแร่เหล็กแหล่งใหม่ของจีนจะกระตุ้นให้ราคาค่าระวางเรือสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์ Lloyd’s List, 18 กุมภาพันธ์ 2551: สำนักข่าวรอยเตอร์รายงานว่า ค่าระวางเรือขนส่งสินค้าแห้งอาจพุ่งขึ้นสูงเป็นประวัติการณ์หลังจากที่มีการตกลงราคาซื้อขายแร่เหล็กได้ลงตัว และหลังจากทีจ่ นี สามารถหาแหล่งวัตถุดบิ ทำเหล็กจากผูข้ ายแหล่งอืน่ ทีไ่ กลกว่าได้แล้ว เนือ่ งมาจากภาษีอตั ราใหม่ทสี่ งู ขึน้ ของอินเดีย วิกฤตสินเชือ่ อาจจุดชนวนให้เกิดการขายเลหลังเรือต่อใหม่ By Julian Bray, Lloyd’s List, 19 กุมภาพันธ์ 2551: อูต่ อ่ เรือต่างๆ จะมีความ จำเป็นต้องเลหลังขายเรือทีต่ อ่ ขึน้ ใหม่ในราคาทีต่ ำ่ สุดกู่ เนือ่ งมาจากบริษทั ต่างๆ ทีส่ งั่ ต่อเรือซึง่ กำลังเงินฝืดอยูน่ นั้ จะไม่สามารถชำระเงินค่าต่อ เรือตามสัญญาได้ในภาวะเศรษฐกิจทีก่ ำลังย่ำแย่อยูใ่ นขณะนี ้ บริษทั เดินเรือ Precious กล่าวว่าอัตราการตัดเรือขนาดแฮนดีไ้ ซร์ handysize เพือ่ ขายเป็นเศษเหล็กจะพุง่ สูงขึน้ By Marcus Hand, Lloyd’s List, 20 กุมภาพันธ์ 2551

ความเข้าใจบทเรียนในประวัตศิ าสตร์ Lloyd’s List, 22 กุมภาพันธ์ 2551: ธุรกิจการเดินเรือประจำเส้นทางจะเป็นตัวบ่งชีแ้ รกของการตกต่ำลง ของธุรกิจการเดินเรือโดยรวม การขึน้ ราคาของเหล็กแผ่นทำให้กำไรของอูต่ อ่ เรือเอเชียลดลง By Mike Grinter, Lloyd’s List, 25 กุมภาพันธ์ 2551: บริษทั ต่อเรือของเอเชีย ท้ายสุดแล้วอาจไม่ได้รบั เงินค่าตอบแทนมากเท่าทีห่ วังไว้จากการสัง่ ต่อเรือทีม่ ากล้นในปี 2550 เนือ่ งจากราคาของเหล็กแผ่นสูงขึน้ HSH Nordbank ประกาศดำเนินการตามกฎหมายกับบริษทั หลักทรัพย์ยบู เี อส เพือ่ เรียกร้องค่าเสียหายจากการลงทุนในตราสารหนีท้ มี่ สี นิ ทรัพย์ ค้ำประกันในตลาดปล่อยกูจ้ ำนองของสหรัฐ By Katrin Berkenkopf, Lloyd’s List, 26 กุมภาพันธ์ 2551 คติพจน์ทองของบริษัทเจ้าของเรือ: เตรียมพร้อมอยู่เสมอ By Steve Allum, Lloyd’s List, 28 กุมภาพันธ์ 2551: แน่นอนว่าท้ายสุดแล้ว อุตสาหกรรมการเดินเรือจะประสบภาวะการผลิตล้นเกิน และการตกต่ำลงของราคาค่าขนส่ง อัตราการตัดเรือเพือ่ ขายเป็นเศษเหล็กจะเพิม่ ขึน้ และราคาตัวเรือทัง้ เรือใหม่และเรือเก่าจะตกลง นัน่ คือภาวะเสีย่ ง แต่เป็นสิง่ ทีเ่ ราเตรียมพร้อมรับมือได้ ตารางการส่งมอบเรือต่อใหม่มกี ารเลือ่ นออกไป By Geoff Garfield, TradeWinds, 29 กุมภาพันธ์ 2551 ธนาคารไม่คำ้ Lloyd’s List, 6 มีนาคม 2551: ขณะนีธ้ นาคารต่างๆ ปฏิเสธทีจ่ ะออกหนังสือการค้ำประกันการคืนเงินงวดให้กบั อูต่ อ่ เรือเล็กๆ ที่ ยังไม่มนั่ คงในจีนและเกาหลีใต้ อูต่ อ่ เรือต่างๆ ประสบวิกฤตการยกเลิกสัญญาสัง่ ต่อเรือเนือ่ งจากผลกระทบปัญหาสินเชือ่ By Keith Wallis, Lloyd’s List, 6 มีนาคม 2551 อัตราการตัดเรือขายเป็นเศษเหล็กพุง่ ทะยานสูงเป็นประวัตกิ ารณ์ By Michelle Wiese Bockmann, Lloyd’s List, 12 มีนาคม 2551 แร่เหล็ก ‘อาจทำให้คา่ BDI สูงขึน้ แตะระดับทีไ่ ม่เคยเป็นมาก่อน’ By Tony Gray, Lloyd’s List, 13 มีนาคม 2551 DNV เตือนว่าอาจมีการล่าช้าในการซ่อมเรือในอีกสองปีขา้ งหน้า By Richard Meade, Lloyd’s List, 20 มีนาคม 2551 อูต่ อ่ เรือ Dhumi Heavy Industries ล้มละลาย By Irene Ang, TradeWinds, 28 มีนาคม 2551: Dhumi Heavy Industries ซึง่ เป็นอูต่ อ่ เรือเกิด ใหม่ของเกาหลีใต้ลม้ ละลายลงก่อนทีจ่ ะเริม่ ต่อเรือใหม่ทพี่ งึ่ รับออเดอร์มาเมือ่ ปีทแี่ ล้ว ยอดสัง่ ต่อเรือเป็นเพียงตัวเลขลวงตารึเปล่า? Fairplay International Shipping Weekly, 27 มีนาคม 2551 วิกฤตสภาพคล่องกระทบอูต่ อ่ เรือเกิดใหม่ By Mike Grinter, Lloyd’s List, 1 เมษายน 2551 กำไรของธนาคาร HSH ตกฮวบเนือ่ งจากการขาดทุนจากการรับซือ้ หนีเ้ สีย Daily Fairplay News 10 เมษายน 2551 ราคาแผ่นเหล็กของโรงเหล็ก Posco จะเพิม่ ขึน้ 18 % By Mike Grinter, Lloyd’s List, 11 เมษายน 2551 อูต่ อ่ เรือกดดัน-ราคาเหล็กสูงลิบ By Tony Gray, Lloyd’s List, 16 เมษายน 2551 เจ้าของเรือหวัน่ ไม่ได้รบั การค้ำประกันการคืนเงินจากอูต่ อ่ เรือทีเ่ กาหลี By Tony Gray, Lloyd’s List, 8 พฤษภาคม 2551 ค่าระวางเรือมีแนวโน้มดีขนึ้ อย่าง ‘น่าประหลาดใจ’ By Jamie Dale, Lloyd’s List, 14 พฤษภาคม 2551 ค่ า ระวางเรื อ ขนส่ ง สิ น ค้ า แห้ ง พุ่ ง ขึ้ น ไปสู่ ห ลั ก 300,000 ดอลล่ า ร์ ส หรั ฐ ต่ อ วั น By Michelle Wiese Bockmann, Lloyd’s List,

20 พฤษภาคม 2551

102

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


บริษทั เหมืองยักษ์ใหญ่ Vale เซ็นสัญญาสัง่ ต่อเรือบรรทุกแร่ขนาดใหญ่หลายลำ รวมมูลค่าสูงถึง 2 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐ By Michelle Wiese Bockmann, Lloyd’s List, 22 พฤษภาคม 2551

ธุรกิจการเดินเรือขนส่งสินค้าแห้งกำลังเผชิญผลกระทบจากกีฬาโอลิมปิค By Ian Lewis, TradeWinds, 23 พฤษภาคม 2551 Huxley ผูบ้ ริหารระดับสูงแห่งบริษทั Wah Kwong กล่าวว่าธุรกิจการเดินเรือขนส่งสินค้าแห้งจะยังคงเฟือ่ งฟูตอ่ ไป By Keith Wallis, Lloyd’s

List, 29 พฤษภาคม 2551

Britannia Bulk จะนำบริษทั เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เพือ่ ทำการเสนอขายหุน้ ใหม่

By Dale Wainwright, TradeWinds, 03:53 GMT,

5 มิถนุ ายน 2551

บริษทั Wah Kwong ระงับการเสนอขายหุน้ ใหม่จำนวน 160 ล้านดอลล่าร์ไว้กอ่ น By Keith Wallis, Lloyd’s List, 9 มิถนุ ายน 2551 NOL ตัง้ เป้าหาเงินสูงถึง 7 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐเพือ่ เตรียมพร้อมซือ้ Hapag-Lloyd By Janet Porter, Lloyd’s List, 24 มิถนุ ายน 2551 บริษัทเจ้าของเรือ ‘ไม่สะทกสะท้าน’ กับความไม่แน่นอนของธนาคารในการอนุมัติเงินทุนจากการก่อหนี้ By Bob Rust, TradeWinds, 20

มิถนุ ายน 2551

ธุรกิจเดินเรือต้องการเงินจำนวน 150,000 ล้านดอลล่าห์สหรัฐในระยะเวลาสามปีขา้ งหน้าเพือ่ ใช้ในการสร้างกองเรือ

By Tony Gray, Lloyd’s

List, 25 มิถนุ ายน 2551

ผลการประเมินล่าสุดถึงความล่าช้าในการต่อเรือใหม่ทจี่ นี Lloyd’s List, 25 มิถนุ ายน 2551 Saade เป็นเจ้าของธุรกิจเรือคนแรกที่ออกมาคาดการณ์ถึงสถานการณ์ย่ำแย่ของธุรกิจเรือคอนเทนเนอร์

By Andrew Spurrier and Janet

Porter, Lloyd’s List, 3 กรกฎาคม 2551 เตรียมพร้อมรับปัญหา Lloyd’s List, 3 กรกฎาคม 2551:

ยิง่ นับวันเมฆฝนทีก่ ระหน่ำเศรษฐกิจโลกก็ยงิ่ มืดมัวลง อย่างไรก็ตามบริษทั เรือจำนวน มากก็ยังคงแจ่มใสหลังจากที่ธุรกิจเดินเรือเฟื่องฟูมากอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน แต่ขณะนี้เห็นได้ชัดว่าธุรกิจเดินเรือจะไม่สามารถเลี่ยงที่จะ โดนผลกระทบทางเศรษฐกิจทีม่ อี ยูใ่ นขณะนีไ้ ปได้นานมากนัก อูต่ อ่ เรือ CSBC อาจต้องเจรจาต่อรองค่าต่อเรือใหม่ By Mike Grinter, Lloyd’s List, 4 กรกฎาคม 2551 ราคาเหล็กทีเ่ พิม่ สูงขึน้ กระทบอูต่ อ่ เรือในเอเชีย By Adam Corbett, TradeWinds, 4 กรกฎาคม 2551 เป็นทีค่ าดการณ์วา่ การค้าถ่านหินจะมีอตั ราการโตต่อเนือ่ งไปจนเลยปี 2552 By Katrin Berkenkopf, Lloyd’s List, 7 กรกฎาคม 2551 ค่าระวางเรือบรรทุกน้ำมันพุง่ ขึน้ สูงเป็นประวัตกิ ารณ์ By Michelle Wiese Bockmann, Lloyd’s List, 9 กรกฎาคม 2551 เรือบรรทุกสินค้าประจำเส้นทางประสบวิกฤตเนือ่ งจากค่าระวางเรือเส้นทางเอเชีย-ยุโรปดิง่ หนัก By Janet Porter, Lloyd’s List, 14 กรกฎาคม 2551

ความเฟือ่ งฟูของธุรกิจการเดินเรือขนส่งสินค้าแห้งคาดว่าจะยังคงต่อเนือ่ งไปจนถึงปี 2552 Lloyd’s List, 16 กรกฎาคม 2551 เรือบรรทุกสินค้าประจำเส้นทางอนาคตมืดมน TradeWinds, 18 กรกฎาคม 2551 บริษทั OOIL กล่าวว่าค่าขนส่งเรือตูใ้ นเส้นทางสายเอเชีย-ยุโรปตกลงฮวบฮาบ By Sandra Tsui, Lloyd’s List, 1 สิงหาคม 2551 กำไรสุทธิของบริษทั Genmar เหลือเพียงครึง่ เดียวเนือ่ งจากผลขาดทุนจากการซือ้ ขายสัญญาเช่าเรือล่วงหน้า Rajesh Joshi, Lloyd’s List, 1

สิงหาคม 2551

ความเป็นจริงเริม่ ปรากฏ Lloyd’s List, 4 สิงหาคม 2551: บางทีอาจจะมีเรือใหม่ทรี่ าคาถูกและน่าสนใจให้เห็นมากขึน้ ถ้าค่าเช่าเรือในตลาด ตกต่ำลงเนือ่ งมาจากปัญหาเศรษฐกิจ จุดเปลีย่ นของธุรกิจการเดินเรือ? By Ian Lewis, TradeWinds, 15 สิงหาคม 2551: โอลิมปิคเกมส์ทปี่ กั กิง่ อาจทำให้ความมัง่ คัง่ ของธุรกิจเดินเรือ ถึงจุดจบเนือ่ งจากเศรษฐกิจของจีนจะโตช้าลง บริษทั เดินเรือ Sanko คาดว่าจะเข้าตลาดหลักทรัพย์ในปี 2552 By Keith Wallis, Lloyd’s List, 18 สิงหาคม 2551 ICAP กล่าวว่าการชะลอตัวลงของธุรกิจการเดินเรือขนส่งสินค้าแห้งเป็นแค่การตกต่ำลงตามฤดูกาล By Jamie Dale, Lloyd’s List, 18 สิงหาคม 2551

ราคาเหล็กส่งผลกระทบต่อการส่งออกแร่เหล็กของจีน By Jamie Dale, Lloyd’s List, 20 สิงหาคม 2551 บริษทั Atlas วางแผนขยายกองเรือขนาด handysize กับอูต่ อ่ เรือ DaoDa By Jerry Frank, Lloyd’s List, 22 สิงหาคม 2551 อูต่ อ่ เรือ Daehan ขอให้บริษทั Golden Ocean จ่ายเงินค่าต่อเรือล่วงหน้า By Mike Grinter and Keith Wallis, Lloyd’s List, 28 สิงหาคม 2551 การควบรวมกิจการกำลังเป็นทีน่ ยิ ม? Lloyd’s List, 28 สิงหาคม 2551: วานนี้ AP Moller Maersk ทุม่ เงินจำนวน 570 ล้านดอลล่าร์สหรัฐในการ เสนอซือ้ เรือบรรทุกน้ำมัน Brostrom ของสวีเดน รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

103


สถานการณ์ธรุ กิจเดินเรือขนส่งสินค้าแห้งกำลังจะเปลีย่ นเปลงในช่วงปลายปี 2551 By Michelle Wiese Bockmann, Lloyd’s List, 28 สิงหาคม 2551

แร่เหล็กจำนวนมากทีค่ งเหลือในคลังสินค้าของจีนทำให้อปุ สงค์เรือขนส่งสินค้าลดลง By Jamie Dale, Lloyd’s List, 29 สิงหาคม 2551 บริษทั Norden ประกาศว่าธุรกิจเดินเรือขนส่งสินค้าแห้งจะฟืน้ ปลายปีนี้ By Sandra Tsui, Lloyd’s List, 2 กันยายน 2551 เป็นทีค่ าดการณ์วา่ ค่าขนส่งจะตกลงอีก By Keith Wallis, Lloyd’s List, 5 กันยายน 2551 ค่าขนส่งแร่เหล็ก ‘มีแนวโน้มลดลงในเส้นทางหลักจากบราซิลไปจีน’ Lloyd’s List, 5 กันยายน 2551 สัญญาขายเรือเพื่อตัดเป็นเศษเหล็กของบริษัท TMT แสดงให้เห็นถึงการตกต่ำอย่างรุนแรงของราคาเรือ TradeWinds, 5 กันยายน 2551 ดู เหมือนราคาเศษเหล็กกำลังอยูใ่ นภาวะตกฮวบฮาบ ธนาคาร UBS คาดการณ์วา่ ธุรกิจเดินเรือขนส่งประจำเส้นทางจะขาดทุนไปอีก 18 เดือน By Michelle Wiese Bockmann, Lloyd’s List, 8

กันยายน 2551

ธนาคาร UBS เตือนว่าธุรกิจเดินเรือขนส่งสินค้าแห้งจะตกต่ำ ‘อย่างหนัก’ Lloyd’s List, 8 กันยายน 2551 การสัง่ ต่อเรือของบริษทั C&Heavy อยูใ่ นภาวะเสีย่ งเนือ่ งมาจากวิกฤตการเงิน By Mike Grinter, Lloyd’s List, 10 กันยายน 2551 Goldman Sachs จะซือ้ บริษทั เรือของญีป่ นุ่ By Mike Grinter, Lloyd’s List, 12 กันยายน 2551 การสัง่ ต่อเรือขนาด Capesize ทีอ่ ตู่ อ่ เรือ Daehan อยูใ่ นภาวะเสีย่ ง By Irene Ang, TradeWinds, 19 กันยายน 2551 หวัน่ คุณภาพของเรือทีต่ อ่ ใหม่ในจีน By Jim Mulrenan, TradeWinds, 19 กันยายน 2551 Bertram Rickmers กล่าวว่า วิกฤตการณ์ธนาคารหมายถึง ‘ยุคเฟือ่ งฟูของธุรกิจเดินเรือได้สนิ้ สุดลงแล้ว’ Lloyd’s List, 23 กันยายน 2551 อูต่ อ่ เรือ Lindenau ตกเป็นเหยือ่ วิกฤตสินเชือ่ By Katrin Berkenkopf and Patrick Hagen, Lloyd’s List, 23 กันยายน2551 ค่าระวางเรือในไตรมาสทีส่ จี่ ะไม่มี ‘การฟืน้ ตัวหลังโอลิมปิค’ By Jamie Dale, Lloyd’s List, 25 กันยายน 2551 ม้าศึกทั้งหลายของพระราชา Fairplay International Shipping Weekly, 25 กันยายน 2551: ถึงแม้ว่าปัจจัยพื้นฐานของธุรกิจเดินเรือจะดูดี ธนาคารต่างๆ รูส้ กึ ใจคอไม่ดเี ลย สถานการณ์ทางการเงินของธุรกิจเดินเรือจะต้องย่ำแย่ลงอย่างแน่นอน เงินทุนสำหรับการต่อเรือใหม่กจ็ ะสูง มากขึน้ (ถ้ายังมีแหล่งให้กยู้ มื ) ท่ามกลางสถานการณ์ความเปลีย่ นแปลงอันเนือ่ งมาจากปัญหาเศรษฐกิจ Howe Robinson ซึง่ เป็นนายหน้าซือ้ ขายเรือก็ได้คาดการณ์ถงึ อนาคตทีห่ ม่นหมองของธุรกิจการเดินเรือขนส่งสินค้าแห้ง รัฐบาลเกาหลีใต้พจิ ารณาให้ความช่วยเหลือธุรกิจอูต่ อ่ เรือ By Mike Grinter, Lloyd’s List, 26 กันยายน 2551 การเริม่ มีการผิดสัญญาเป็นสัญญาณบอกช่วงเวลาอันเลวร้าย? TradeWinds, 26 กันยายน 2551 บริษทั เจ้าของเรือคอนเทนเนอร์โดนกระทบสาหัสเนือ่ งจากต้นทุนการประกอบการพุง่ สูงขึน้ By Tony Gray, Lloyd’s List, 2 ตุลาคม 2551 รองประธานบริษัท Nordea คำนวนค่าความเสียหายทางการเงินของธุรกิจเดินเรือ By Rajesh Joshi, Lloyd’s List, 2 ตุลาคม 2551: รอง ประธานบริษทั Nordea ได้กล่าวเป็นนัยว่าเรือจำนวน 75 % ทีก่ ำลังสร้างอยูใ่ นอูต่ อ่ เรือต่างๆทัว่ โลกอาจประสบปัญหาในการขาดเงินทุนทีจ่ ะใช้ ต่อเรือเหล่านัน้ ให้เสร็จ ซึง่ ปัญหานีจ้ ะยืดยาวไปจนถึงปี 2555 Industrial Carriers ประกาศล้มละลาย By Michelle Wiese Bockmann, Lloyd’s List, 16 ตุลาคม 2551 บริษทั Noble จะดำเนินการตามกฎหมายกับบริษทั STX ด้วยข้อหาละเมิดสัญญาเช่า เพือ่ เรียกร้องค่าเสียหายจำนวน 8 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ By

Keith Wallis, Lloyd’s List, 16 ตุลาคม 2551 วงจรขาขึน้ รอบใหญ่มาถึงจุดสิน้ สุดแล้วหรือ? By David Osler, Lloyd’s List, 21 ตุลาคม 2551 Britannia Bulk เสีย่ งต่อการถูกจัดอันดับความน่าเชือ่ ถือลดลง By Tony Gray, Lloyd’s List, 24 ตุลาคม 2551 วันทีน่ า่ จดจำ Lloyd’s List, 28 ตุลาคม 2551: กระนัน้ ก็ตามเอกสารธรรมดาๆอย่าง LC ซึง่ เป็นเอกสารทีใ่ ช้มาหลายศตวรรษเพือ่ รับประกันให้ผู้

ส่งออกว่าจะมีการจ่ายเงินทันทีเมื่อสินค้าถูกขนลงเรือเพื่อนำส่งให้กับผู้ซื้อ ก็เป็นเพียงรูปแบบหนึ่งของการกู้ยืมเงิน และดังนั้นก็เลยกลายเป็น เหยือ่ ของวิกฤตสินเชือ่ ตามไปด้วย กำไรช่วงไตรมาสทีส่ ามทีต่ กลงไม่ทำให้อนาคตสดใสของ STX สะทกสะท้าน By Marcus Hand, Lloyd’s List, 29 ตุลาคม 2551 บริษทั NOL จะเริม่ หยุดเดินเรือเต็มตัวด้วยมุง่ หวังทีจ่ ะประหยัดค่าใช้จา่ ย 200 ล้านดอลล่าร์สหรัฐต่อปี By Marcus Hand, Lloyd’s List, 30 ตุลาคม 2551

บริษทั Pacific Basin กล่าวว่าค่าระวางเรือขนส่งสินค้าแห้งอาจตกต่ำมากกว่านี้ By Jamie Dale, Lloyd’s List, 31 ตุลาคม 2551 กล่าวกันว่าบริษทั Parkroad เป็นรายล่าสุดทีโ่ ดนผลกระทบจากสถานการณ์ยำ่ แย่ของธุรกิจเดินเรือขนส่งสินค้าแห้ง Irene Ang and Bob Rust,

TradeWinds, 30 ตุลาคม 2551

จะเกิดการล้มละลายครัง้ ใหญ่ในอีกไม่กสี่ ปั ดาห์

104

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

By Tony Gray, Lloyd’s List, 5 พฤศจิกายน 2551:

นายธนาคารชัน้ นำทางธุรกิจการเดินเรือ


เตือนว่าบริษทั เดินเรืออีกหลายแห่งจะต้องล้มละลาย และบางแห่งจะล้มละลายในอีกเพียงไม่กสี่ ปั ดาห์น ี้ บริษทั Golden Ocean พิจารณายกเลิกสัง่ ต่อเรือใหม่ By Michelle Wiese Bockmann, Lloyd’s List, 6 พฤศจิกายน 2551 วิกฤตธุรกิจเดินเรือคาดว่าจะยาวนาน ‘ถึงปี 2556’ Lloyd’s List, 7 พฤศจิกายน 2551 การตกต่ำลงของราคาเรือส่อเค้าไม่ดี TradeWinds, 7 พฤศจิกายน 2551 บริษทั เรือขนส่งสินค้าแห้งต่างๆจะหารือกันเรือ่ งวิกฤต By Michelle Wiese Bockmann, Lloyd’s List, 11 พฤศจิกายน 2551 WTO เป็นเจ้าภาพการประชุมสุดยอดเรือ่ งปัญหาสินเชือ่ ทางการค้าทีก่ รุงเจนีวา By Michelle Wiese Bockmann, Lloyd’s List, 12 พฤศจิกายน

2551

อูต่ อ่ เรือหลายแห่งในเกาหลีประสบปัญหาการยกเลิกสัง่ ต่อเรือ By Mike Grinter, Lloyd’s List, 18 พฤศจิกายน 2551 เดือดโรงเหล็กเบี้ยวจ่ายค่าสินค้า By Ian Lewis, TradeWinds, 14 พฤศจิกายน 2551: ตลาดขนส่งสินค้าแห้งกำลังจะมีปัญหาความขัดแย้ง รุนแรงกับลูกค้ารายใหญ่เนือ่ งมาจากโรงงานผลิตเหล็กไม่ยอมจ่ายเงินตามเงือ่ นไขสัญญาขนส่งสินค้าทางทะเล ธนาคารส่งสัญญาณถึงปัญหาของ L/C By Joe Brady, TradeWinds, 14 พฤศจิกายน 2551 คำร้องของ Brit ต่อศาลอเมริกา By Andy Pierce, TradeWinds, 09:04 GMT, 18 พฤศจิกายน 2551: บริษทั เรือ Britannia Bulk ผูล้ ม้ ละลาย ยืน่ ขอความคุม้ ครองจากศาลเนือ่ งจากกำลังถูกเจ้าหนีอ้ เมริกาพยายามยึดทรัพย์ อุตสาหกรรมการเดินเรือต้องจำกัดอุปทานเพือ่ ความอยูร่ อด By Tony Gray, Lloyd’s List, 21 พฤศจิกายน 2551 บริษทั 6 แห่งทีเ่ บีย้ วสัญญาซือ้ ขายค่าระวางล่วงหน้าต้องขึน้ ศาลอังกฤษ By Bob Rust, TradeWinds, 21 พฤศจิกายน 2551 STX Pan Ocean and TMT ถูกฟ้องโดยคูส่ ญั ญาทีเ่ ดือดร้อน TradeWinds, 21 พฤศจิกายน 2551 ระดับการขายเรือขนส่งสินค้าแห้งเพือ่ ตัดทำเป็นเศษเหล็กประจำเดือนสุงสุดในรอบ 6 ปี By Michelle Wiese Bockmann, Lloyd’s List, 24 พฤศจิกายน 2551

Metrostar ยกเลิกซือ้ เรือใหม่ 10 ลำจากอูต่ อ่ เรือ Jinse By Nigel Lowry, Lloyd’s List, 25 พศจิกายน 2551 อูต่ อ่ เรือของจีนเจอปัญหาการขอเจรจาต่อรองใหม่ By Sandra Tsui, Lloyd’s List, 27 พฤศจิกายน 2551 จากผลสำรวจของ Pacific Carriers คาดว่าจะมีการยกเลิกสัญญาสัง่ ต่อเรือทัง้ หมด 382 ลำ Lloyd’s List, 27 พฤศจิกายน 2551 ธนาคารจีนอัดฉีดหลายพันล้านเพือ่ พยุงธุรกิจอูต่ อ่ เรือ By Mike Grinter, Lloyd’s List, 2 ธันวาคม 2551 ค่าเช่าเรือขนาด Capesize และ Panamax ต่ำสุดเป็นประวัตกิ ารณ์ By Liz McCarthy, Lloyd’s List, 3 ธันวาคม 2551 การเจรจาตกลงราคาแร่เหล็กได้เร็วจะทำให้ธรุ กิจขนส่งฟืน้ Lloyd’s List, 10 ธันวาคม 2551 บริษทั Tsuji ล้มละลาย By Irene Ang, TradeWinds, 08:58 GMT, 15 ธันวาคม 2551 ครึง่ หนึง่ ของใบสัญญาสัง่ ต่อเรือขนส่งสินค้าแห้งเทกองในปี 2553 อาจมีปญั หา By Jamie Dale, Lloyd’s List, 17 ธันวาคม 2551 บริษทั Atlas แย่หนัก- ประกาศล้มละลายแล้ว By Craig Eason, Lloyd’s List, 19 ธันวาคม 2551 อายัดครัง้ ใหญ่ By Bob Rust, TradeWinds, 15:36 GMT, 17 ธันวาคม 2551: บริษทั Fortescue ของออสเตรเลียมีแนวโน้มทีจ่ ะถูกศาลอเมริกา ยึดและอายัดเงินจำนวนหลายร้อยล้านดอลล่าร์ หลังจากทีบ่ ริษทั ประกาศว่าจะระงับข้อสัญญาขนส่งสินค้าระยะยาวทีท่ ำไว้กบั ผูป้ ระกอบการและ เจ้าของธุรกิจเดินเรือหลายราย การฟ้องร้องบริษทั STX Pan Ocean มีมากขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง By Ian Lewis and Trond Lillestolen, TradeWinds, 19 ธันวาคม 2551 ครึง่ หนึง่ จะล้มละลาย By Andy Pierce in London, Tradewinds, 22 ธันวาคม 2551: แหล่งข่าวอ้างว่า ความตกต่ำของเศรษฐกิจโลกอาจส่งผล ทำให้อตู่ อ่ เรือครึง่ หนึง่ ของจีนต้องปิดตัวลงในปีหน้า บริษทั Armada ใน Singapore พิจารณาปรับโครงสร้างหลังประสบปัญหาผูเ้ ช่าเรือไม่จา่ ยหนี้ By Marcus Hand, Lloyd’s List, 6 มกราคม 2552

แสงแห่งความหวัง By Andy Pierce, TradeWinds, 6 มกราคม 2552: การเพิม่ สูงขึน้ มากของการตัดเรือขายเป็นเศษเหล็กในช่วงไตรมาสทีส่ ี่ ของปี 2551 ทำให้บริษทั เรือต่างๆทีป่ ระสบปัญหาอยูน่ นั่ มีความหวังขึน้ มา ราคาเหล็กทีต่ กลงอาจทำให้ราคาเรือทีต่ อ่ ใหม่ลดตามไปด้วย By Liz McCarthy, Lloyd’s List, 8 มกราคม 2552 บริษทั Korea Line Corp กำลังเจรจาต่อรองในสถานการณ์วกิ ฤต By Bob Rust and Irene Ang, TradeWinds, 16 มกราคม 2552 บริษทั Oldendofff เป็นเจ้าหนีร้ ายล่าสุดของบริษทั Jindal By Bob Rust, TradeWinds, 16 มกราคม 2552

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

105


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ ต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริษัทฯ และสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจำปี

งบการเงินดังกล่าวจัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย โดยใช้นโยบายการบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่าง สม่ำเสมอและใช้ดลุ ยพินจิ อย่างรอบคอบและการประมาณการทีด่ ที สี่ ดุ ในการจัดทำ รวมทัง้ มีการเปิดเผยข้อมูลสำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน คณะกรรมการบริษัทฯ ได้จัดให้มีและการดำรงรักษาไว้ซึ่งระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิผลเพื่อให้มั่นใจได้อย่างมีเหตุผลว่าการ บันทึกข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้อง ครบถ้วนและเพียงพอที่จะรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สินของบริษัทฯ และเพื่อให้ทราบถึงจุดอ่อนเพื่อป้องกันไม่ให้ เกิดการทุจริตหรือการดำเนินการทีผ่ ดิ ปกติอย่างมีสาระสำคัญ ในการนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระทุกท่าน เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบ เกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบควบคุมภายในและความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ได้แสดงไว้ใน รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ในรายงานประจำปีนแี้ ล้ว คณะกรรมการบริษทั ฯ มีความเห็นว่าระบบควบคุมภายในของบริษทั ฯ โดยรวมอยูใ่ นระดับทีน่ า่ พอใจทีส่ ามารถสร้างความเชือ่ มัน่ และ ความเชือ่ ถือได้ของงบการเงินของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ในนามของคณะกรรมการ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (คาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม) (คูชรู คาลี วาเดีย) กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการบริหาร

106

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 งบกำไรขาดทุนรวม งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวม และ งบกระแสเงินสดรวมสำหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกันของบริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะ กิจการของบริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ซึง่ ผูบ้ ริหารของกิจการเป็นผูร้ บั ผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูล ในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าไม่ได้ ตรวจสอบงบการเงินของบริษทั ย่อยในต่างประเทศจำนวน 5 บริษทั ทีร่ วมอยูใ่ นงบการเงินรวมนี้ ซึง่ มียอดสินทรัพย์คดิ เป็นร้อยละ 9.5 ของยอด สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และยอดรายได้คดิ เป็นร้อยละ 1.4 ของยอดรายได้รวมสำหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกัน งบการเงินของ บริษัทย่อยดังกล่าวตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีอื่น โดยข้าพเจ้าได้รับรายงานของผู้สอบบัญชีนั้นและความเห็นของข้าพเจ้าในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ จำนวนเงินของรายการต่างๆ ของบริษัทย่อยดังกล่าวซึ่งรวมอยู่ในงบการเงินรวมได้ถือตามรายงานของผู้สอบบัญชีอื่นนั้น งบการเงินรวมของ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อยและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) สำหรับปีสนิ้ สุด วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ทีน่ ำมาแสดงเปรียบเทียบไว้ ณ ทีน่ ไี้ ด้ตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชีอกี ท่านหนึง่ ในสำนักงานเดียวกันกับข้าพเจ้า ซึง่ ได้ แสดงความเห็นอย่างไม่มเี งือ่ นไขตามรายงานลงวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2551 ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป ซึง่ กำหนดให้ขา้ พเจ้าต้องวางแผนและปฏิบตั งิ านเพือ่ ให้ได้ ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบ หลักฐานประกอบรายการทัง้ ทีเ่ ป็นจำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีทกี่ จิ การใช้และ ประมาณการเกีย่ วกับรายการทางการเงินที่เป็นสาระสำคัญ ซึง่ ผูบ้ ริหารเป็นผูจ้ ดั ทำขึน้ ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดง รายการทีน่ ำเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชือ่ ว่าการตรวจสอบดังกล่าวประกอบกับรายงานของผูส้ อบบัญชีอนื่ ทีก่ ล่าวถึงในวรรคแรกให้ขอ้ สรุปทีเ่ ป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า จากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้าและรายงานของผูส้ อบบัญชีอนื่ ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนีแ้ สดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ผลการดำเนินงานและกระแสเงินสดสำหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกันของบริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย และ เฉพาะของบริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามทีค่ วรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป ชยพล ศุภเศรษฐนนท์ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต เลขทะเบียน 3972 บริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด กรุงเทพฯ: 4 กุมภาพันธ์ 2552 รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

107


งบดุล

บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

(หน่วย: บาท)

หมายเหตุ

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว - สุทธิ ลูกหนีก้ ารค้า - สุทธิ ลูกหนีแ้ ละเงินทดรองจ่ายแก่บริษทั ย่อย น้ำมันเชือ้ เพลิง สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ เงินทดรองจ่ายแก่กปั ตันเรือ ค่าสินไหมทดแทนค้างรับ อืน่ ๆ รวมสินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษทั ย่อย - สุทธิ เงินลงทุนในบริษทั ร่วมทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อย เงินลงทุนระยะยาวอืน่ ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ - สุทธิ เงินล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือ ค่าธรรมเนียมทางการเงินรอตัดจ่าย อืน่ ๆ รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

17 7 8 9

3,350,024,741 - 46,765,842 - 6,667,192

1,470,244,256 - 34,638,681 - 5,636,525

914,837,752 - - 1,279,232,384 -

194,974,853 998,556,335 -

102,137,723 89,737,672 42,589,372 234,464,767

100,196,046 100,254,008 51,927,935 252,377,989

- - 20,632,606 20,632,606

184,290 28,981,929 29,166,219

3,637,922,542

1,762,897,451

2,214,702,742 1,222,697,407

10 11 12 13

- 122,566,201 10,130,430 9,080,505,371

- 134,282,332 10,130,430 9,525,658,693

5,663,012,341 5,618,012,341 - 10,130,430 10,130,430 26,282,292 24,767,763

14 15 16

54,825,388 4,720,520,133 330,740,492 3,322,306 5,109,408,319

43,495,617 3,239,547,115 298,101,974 4,024,453 3,585,169,159

54,825,388 43,495,617 4,720,520,133 3,239,547,115 330,740,492 298,101,974 2,615,865 3,396,159 5,108,701,878 3,584,540,865

รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

14,322,610,321 13,255,240,614 10,808,126,941 9,237,451,399

รวมสินทรัพย์

17,960,532,863 15,018,138,065 13,022,829,683 10,460,148,806

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้

108

งบการเงินรวม 2551 2550

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


งบดุล (ต่อ)

บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

(หน่วย: บาท)

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2551 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนีส้ นิ หมุนเวียน เจ้าหนีก้ ารค้า เจ้าหนีแ้ ละเงินทดรองจ่ายจากบริษทั ย่อย 9 เงินรับล่วงหน้าค่าขายเรือเดินทะเล 17 รายได้รบั ล่วงหน้า หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับลูกเรือค้างจ่าย ผลประโยชน์พนักงานค้างจ่าย - ส่วนทีถ่ งึ กำหนดจ่าย ภายในหนึง่ ปี 18 ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ประมาณการภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ า่ ยค้างจ่าย อืน่ ๆ รวมหนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่

96,213,245 - 21,891,418 211,642,085

66,544,366 - - 171,470,255

101,031,624

96,522,767

147,794,957 112,153,882 11,082,386 54,438,912 21,383,258 447,885,019

58,447,242 112,930,522 216,229,956 38,021,854 28,141,060 550,293,401

รวมหนีส้ นิ หมุนเวียน

777,631,767

788,308,022

หนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน ผลประโยชน์พนักงานค้างจ่าย - สุทธิจากส่วนทีถ่ งึ กำหนดจ่ายภายในหนึง่ ปี 18 ประมาณการค่าความเสียหายจากการเดินเรือทะเล เงินกูย้ มื ระยะยาว - สุทธิ 16, 19

217,850,070 48,106,741 739,495,539

95,947,000 68,951,739 -

199,435,375 - 739,495,539

88,598,533 -

938,930,914

88,598,533

รวมหนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน

1,005,452,350

164,898,739

รวมหนีส้ นิ

1,783,084,117

953,206,761

1,209,938 1,546,830 1,618,831,861 1,360,441,634 - - - 135,676,932 8,419,749 - 53,084,164 5,150,796 202,331,641

53,808,471 426,733 36,461,519 11,585,010 102,281,733

1,822,373,440 1,464,270,197

2,761,304,354 1,552,868,730

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้ รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

109


งบดุล (ต่อ)

บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

(หน่วย: บาท) หมายเหตุ

ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ทุนเรือนหุน้ ทุนจดทะเบียน หุน้ สามัญ 1,039,520,600 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท

ทุนทีอ่ อกและชำระแล้ว หุน้ สามัญ 1,039,520,600 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท ส่วนเกินทุน ส่วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ ส่วนเกินทุนหุน้ ทุนซือ้ คืน ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ของบริษทั ย่อย ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน กำไรสะสม จัดสรรแล้ว สำรองตามกฎหมาย - บริษทั ฯ - บริษทั ย่อย สำรองเพือ่ กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม ยังไม่ได้จดั สรร

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

21

1,039,520,600

1,039,520,600

1,039,520,600 1,039,520,600

21

1,039,520,600

1,039,520,600

1,039,520,600 1,039,520,600

25

411,429,745 172,445,812

411,429,745 172,445,812

22

103,711,800 120,183,371

123,965,882 86,324,046

23 103,952,060 103,952,060 23 496,020,000 467,720,000 26 24,692,961 - 13,694,533,528 11,646,881,980

411,429,745 172,445,812 - -

411,429,745 172,445,812 -

103,952,060 103,952,060 - 24,692,961 8,509,484,151 7,179,931,859

รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยของบริษทั ย่อย

16,166,489,877 14,052,240,125 10,261,525,329 8,907,280,076 10,958,869 12,691,179 - -

รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้

16,177,448,746 14,064,931,304 10,261,525,329 8,907,280,076

รวมหนีส้ นิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้

17,960,532,863 15,018,138,065 13,022,829,683 10,460,148,806

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้

110

งบการเงินรวม 2551 2550

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


งบกำไรขาดทุน

บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย สำหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

(หน่วย: บาท) หมายเหตุ

รายได้ รายได้จากการเดินเรือ รายได้คา่ เช่าเรือ รายได้คา่ ระวางเรือ รวมรายได้จากการเดินเรือ รายได้จากการให้บริการ กำไรจากการจำหน่ายเรือเดินทะเลและอุปกรณ์ ดอกเบีย้ รับ กำไรจากอัตราแลกเปลีย่ น รายได้อน่ื เงินปันผลรับ ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม ทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อย รวมรายได้ ค่าใช้จา่ ย ต้นทุนการเดินเรือ ค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือ รายจ่ายท่าเรือ น้ำมันเชือ้ เพลิง รวมต้นทุนการเดินเรือ ค่าเสือ่ มราคา ต้นทุนการให้บริการ ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร หนีส้ ญู และค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ ขาดทุนจากสัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงิน ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ น รวมค่าใช้จา่ ย

งบการเงินรวม 2551 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

9 9

8,337,105,438 198,694,145 8,535,799,583 2,831,834 - 49,565,052 61,130,752 319,174 -

6,969,502,482 318,867,103 7,288,369,585 8,974,530 1,558,219,821 142,124,906 - 1,222,118 -

- - - 94,428,000 154,750,779 - 1,537,369 14,587,830 36,942,982 33,925,762 27,687 3,147,653 4,700,417,749 4,453,244,722

11

10,167,494

34,126,828

8,659,813,889

9,033,037,788

13 9 28

1,855,744,943 32,696,621 37,805,454 1,926,247,018 1,085,164,801 39,788,613 508,598,322 11,131,965 - -

1,758,125,442 54,026,838 60,213,076 1,872,365,356 1,824,365,929 29,494,469 381,785,480 4,747,387 241,969,452 175,167,588

- - - - 9,545,256 - 489,994,758 1,477,044 - -

7,511,517 357,776,174 1,550 45,404,564

3,570,930,719

4,529,895,661

501,017,058

410,693,805

-

-

4,843,387,028 4,649,623,505

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้ รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

111


งบกำไรขาดทุน (ต่อ)

บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย สำหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

(หน่วย: บาท) หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

กำไรก่อนค่าใช้จา่ ยทางการเงินและภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน

5,088,883,170 4,503,142,127 (130,644,868) (126,755,592)

4,342,369,970 4,238,929,700 (129,918,973) (78,787,758)

กำไรก่อนภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล

4,958,238,302 4,376,386,535 (21,374,441) (215,570,735)

4,212,450,997 4,160,141,942 - -

4,936,863,861

4,160,815,800

4,212,450,997 4,160,141,942

4,938,592,249

4,156,160,222

4,212,450,997 4,160,141,942

(1,728,388)

4,655,578

4,936,863,861

4,160,815,800

กำไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐาน กำไรสุทธิสว่ นทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ บริษทั ใหญ่

31

4.75

4.01

จำนวนหุน้ สามัญถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนัก (หุน้ )

1,039,520,600

1,037,259,517

กำไรสุทธิสำหรับปี

29

การแบ่งปันกำไร (ขาดทุน) สุทธิ กำไรสุทธิสว่ นทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ บริษทั ใหญ่ กำไร (ขาดทุน) สุทธิสว่ นทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย ของบริษทั ย่อย กำไรสุทธิสำหรับปี

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้

112

งบการเงินรวม 2551 2550

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

-

-

4,212,450,997 4,160,141,942 4.05

4.01

1,039,520,600 1,037,259,517


รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

113

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 รายได้และค่าใช้จา่ ยทีร่ บั รูใ้ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ : ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ตัดจำหน่ายส่วนเกินทุนจากการตีราคา สินทรัพย์ของบริษทั ย่อยสำหรับปี 22 รวมรายได้และค่าใช้จา่ ยทีร่ บั รูใ้ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ กำไรสุทธิสำหรับปี รวมรายได้ (ค่าใช้จา่ ย) ทัง้ สิน้ ทีร่ บั รูส้ ำหรับปี จัดสรรสำรองตามกฎหมาย 23 ปรับปรุงสำรองหุน้ ทุนซือ้ คืน 24, 25 จำหน่ายหุน้ ทุนซือ้ คืน 25 หุน้ ปันผลจ่าย 21 เงินสดปันผลจ่ายแก่ผถู้ อื หุน้ บริษทั ฯ 34 เงินสดปันผลจ่ายแก่ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 รายได้และค่าใช้จา่ ยทีร่ บั รูใ้ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ : ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ตัดจำหน่ายส่วนเกินทุนจากการตีราคา สินทรัพย์ของบริษทั ย่อยสำหรับปี 22 รวมรายได้และค่าใช้จา่ ยทีร่ บั รูใ้ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ กำไร (ขาดทุน) สุทธิสำหรับปี รวมรายได้ (ค่าใช้จา่ ย) ทัง้ สิน้ ทีร่ บั รูส้ ำหรับปี จัดสรรสำรองตามกฎหมาย 23 จัดสรรสำรองเพือ่ กิจกรรม ความรับผิดชอบต่อสังคม 26 เงินสดปันผลจ่ายแก่ผถู้ อื หุน้ บริษทั ฯ 34 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 -

-

-

(40,365,637)

21,114,984 144,278,576 126,689,683 -

-

-

52,000,000 424,620,000 414,918,176

- 33,859,325 - 33,859,325 -

- - - - -

-

-

-

- - -

(20,254,082) (20,254,082) - (20,254,082) -

33,859,325

- - - - - - - - - - - - - - 1,039,520,600 411,429,745 172,445,812 103,711,800 120,183,371 103,952,060 496,020,000

- - - - -

-

- - - - -

- - - - -

- - - - -

-

- - - - 28,300,000

-

-

- - - (20,312,694) - - - - - - - (20,312,694) (40,365,637) - - - - - - - - - - - - - - (20,312,694) (40,365,637) - - - - - - - - 51,952,060 43,100,000 - - - - - - - - (414,918,176) - - 151,330,828 - - - - - 519,520,600 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 1,039,520,600 411,429,745 172,445,812 123,965,882 86,324,046 103,952,060 467,720,000 - 1,039,520,600 411,429,745 172,445,812 123,965,882 86,324,046 103,952,060 467,720,000 -

-

520,000,000 411,429,745

-

(40,365,637)

20,258,004 20,258,004 4,938,592,249 4,958,850,253 (28,300,000)

-

- - -

- - - - -

-

- (2,858,205,744) 16,166,489,877

3,922 33,863,247 4,938,592,249 4,972,455,496 -

33,859,325

20,313,507 - 813 20,313,507 - (40,364,824) 4,156,160,222 - 4,156,160,222 4,176,473,729 - 4,115,795,398 (95,052,060) - - - 414,918,176 - 414,918,176 - 566,249,004 (519,520,600) - - (2,655,047,466) - (2,655,047,466) - - - 11,646,881,980 - 14,052,240,125 11,646,881,980 - 14,052,240,125

-

10,325,110,201 (414,918,176) 12,025,243,189

24,692,961 (24,692,961) - (2,858,205,744) 24,692,961 13,694,533,528

- - - - -

-

- - - - - - - - - - - -

-

-

รวม

(40,365,637)

33,859,325

- - (2,858,205,744) 10,958,869 16,177,448,746

(3,922) (3,922) 33,859,325 (1,728,388) 4,936,863,861 (1,732,310) 4,970,723,186 - -

-

(813) (813) (40,365,637) 4,655,578 4,160,815,800 4,654,765 4,120,450,163 - - - 566,249,004 - - (2,655,047,466) (4,427,031) (4,427,031) 12,691,179 14,064,931,304 12,691,179 14,064,931,304

-

12,463,445 12,037,706,634

จัดสรรแล้ว ส่วนเกินทุน สำรองสำหรับ ส่วนของ ทุนเรือนหุ้น ส่วนเกิน จากการตีราคา ผลต่างจาก สำรองตามกฎหมาย การสร้างความ รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้น ที่ออก มูลค่า ส่วนเกินทุน สินทรัพย์ของ การแปลงค่า สำรอง รับผิดชอบ ผู้ถือหุ้น ส่วนน้อยของ บริษัทฯ บริษัทย่อย หุ้นทุนซื้อคืน ต่อสังคม ยังไม่ ได้จัดสรร หุ้นทุนซื้อคืน บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย หมายเหตุ และชำระแล้ว หุ้นสามัญ หุ้นทุนซื้อคืน บริษัทย่อย งบการเงิน

กำไรสะสม

(หน่วย: บาท)

บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย สำหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

งบการเงินรวม

ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น


114

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

26 34

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 กำไรสุทธิสำหรับปี จัดสรรสำรองเพือ่ กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม เงินสดปันผลจ่ายแก่ผถู้ อื หุน้ บริษทั ฯ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้

23 24, 25 25 21 34

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 กำไรสุทธิสำหรับปี จัดสรรสำรองตามกฎหมาย ปรับปรุงสำรองหุน้ ทุนซือ้ คืน จำหน่ายหุน้ ทุนซือ้ คืน หุน้ ปันผลจ่าย เงินสดปันผลจ่ายแก่ผถู้ อื หุน้ บริษทั ฯ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 1,039,520,600 411,429,745 172,445,812 103,952,060 - - - - - - - - - - - - 1,039,520,600 411,429,745 172,445,812 103,952,060

- - - - -

520,000,000 411,429,745 21,114,984 52,000,000 414,918,176 - - - - - - - - 51,952,060 - - - - - (414,918,176) - - 151,330,828 - - 519,520,600 - - - - - - - - - 1,039,520,600 411,429,745 172,445,812 103,952,060 -

รวม

- - - - -

8,907,280,076 4,212,450,997 (2,858,205,744) 10,261,525,329

5,831,391,867 (414,918,176) 6,835,936,596 4,160,141,942 - 4,160,141,942 (51,952,060) - - 414,918,176 414,918,176 - 566,249,004 (519,520,600) - (2,655,047,466) - (2,655,047,466) 7,179,931,859 - 8,907,280,076 - 7,179,931,859 - 4,212,450,997 24,692,961 (24,692,961) - (2,858,205,744) 24,692,961 8,509,484,151

- - - - - - - -

กำไรสะสม จัดสรรแล้ว สำรองสำหรับ ทุนเรือนหุ้น การสร้าง ที่ออก ส่วนเกินมูลค่า ส่วนเกินทุน สำรอง สำรอง ความรับผิดชอบ และชำระแล้ว หุ้นสามัญ หุ้นทุนซื้อคืน ตามกฎหมาย หุ้นทุนซื้อคืน ต่อสังคม ยังไม่ ได้จัดสรร หุ้นทุนซื้อคืน หมายเหตุ

(หน่วย: บาท)

บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย สำหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)


งบกระแสเงินสด

บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย สำหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

(หน่วย: บาท)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรก่อนภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล รายการปรับกระทบยอดกำไรก่อนภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล เป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำเนินงาน ค่าเสือ่ มราคาและค่าตัดจำหน่าย หนีส้ ญู และค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ ขาดทุน (กำไร) จากการจำหน่ายเรือเดินทะเล และอุปกรณ์ ค่าตัดจำหน่ายส่วนต่ำกว่ามูลค่าเงินลงทุนในตราสารหนี ้ ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วมทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อย ตัดจำหน่ายค่าธรรมเนียมทางการเงินรอตัดจ่าย ประมาณการค่าความเสียหายจากการเดินเรือทะเล (โอนกลับ) ขาดทุน (กำไร) จากอัตราแลกเปลีย่ นทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริง ดอกเบีย้ รับ กำไรจากการดำเนินงานก่อนการเปลีย่ นแปลง ในสินทรัพย์และหนีส้ นิ ดำเนินงาน สินทรัพย์ดำเนินงาน (เพิม่ ขึน้ ) ลดลง ลูกหนีก้ ารค้า ลูกหนีแ้ ละเงินทดรองจ่ายแก่บริษทั ย่อย น้ำมันเชือ้ เพลิง สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ หนีส้ นิ ดำเนินงานเพิม่ ขึน้ (ลดลง) เจ้าหนีก้ ารค้า เจ้าหนีแ้ ละเงินทดรองจ่ายจากบริษทั ย่อย รายได้รบั ล่วงหน้า หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ หนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน เงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน จ่ายภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงาน

งบการเงินรวม 2551 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

4,958,238,302

4,376,386,535

1,085,862,357 11,131,965

1,824,575,209 4,747,387

10,242,812 1,477,044

7,720,797 1,550

400,495 (1,558,219,821) (4,196,977) (3,665,798)

15,338 (4,196,977)

(1,537,369) (3,665,798)

(10,167,494) 50,669,413

(34,126,828) -

- 50,669,413

-

(20,844,998) 17,360,454 (22,309,161)

68,951,739 3,764,015 (108,820,130)

- 17,805,239 (9,008,244)

-

6,066,144,356

4,573,592,308

(19,347,427) - (1,030,667) 22,160,705 702,147

57,295,687 - (23,831,394) (55,905,114) (2,594,747)

27,821,702 (16,072,956) - - 40,147,963 (4,242,322) 94,444,843 34,260,100 121,903,070 95,947,000 6,352,946,692 4,658,448,562 (230,699,349) (7,085,741) 6,122,247,343 4,651,362,821

4,212,450,997 4,160,141,942

(5,637) (24,038,100)

4,279,455,622 4,138,617,385 - (280,676,049) - 10,033,529 780,294

759,375,925 (6,903,492) (2,733,448)

(225,048) 856,994 258,390,227 781,300,044 - 93,309,732 12,411,147 110,836,842 88,598,533 4,471,905,149 5,771,523,088 (2,976,959) (4,978,483) 4,468,928,190 5,766,544,605

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้ รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

115


งบกระแสเงินสด (ต่อ)

บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย สำหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

(หน่วย: บาท)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน ซือ้ เงินลงทุนชัว่ คราว เงินสดรับจากการจำหน่ายเงินลงทุนชัว่ คราว เงินปันผลรับจากบริษทั ร่วมทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อย ซือ้ อุปกรณ์และจ่ายค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซมและสำรวจเรือ ซือ้ คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ เงินสดจ่ายล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือ เงินสดรับจากการจำหน่ายเรือเดินทะเลและอุปกรณ์ ลงทุนเพิม่ ในบริษทั ย่อย เงินรับล่วงหน้าค่าขายเรือเดินทะเล ดอกเบีย้ รับ เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดจ่ายค่าธรรมเนียมทางการเงินรอตัดจ่าย เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาว เงินสดรับจากการจำหน่ายหุน้ ทุนซือ้ คืน เงินสดปันผลจ่ายแก่ผถู้ อื หุน้ บริษทั ฯ เงินสดปันผลจ่ายแก่ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อย เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินเพิม่ ขึน้ (ลดลง) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิม่ ขึน้ สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี ข้อมูลเพิม่ เติมประกอบงบกระแสเงินสด รายการทีม่ ใิ ช่เงินสด เงินปันผลรับจากบริษทั ย่อยโดยหักกลบลบหนีก้ บั ลูกหนี/้ เจ้าหนีบ้ ริษทั ย่อย หุน้ ปันผลจ่าย ตัดจำหน่ายส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ของบริษทั ย่อยตามสัดส่วนทีบ่ ริษทั ฯถือหุน้ ตัดจำหน่ายส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ของบริษทั ย่อยตามสัดส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย โอนค่าธรรมเนียมทางการเงินรอตัดจ่ายเป็นเงินล่วงหน้า ค่าจ้างต่อเรือ โอนดอกเบีย้ จ่ายเป็นเงินล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือ ค่าธรรมเนียมทางการเงินรอตัดจ่ายแสดงหักจาก เงินกูย้ มื ระยะยาว

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้

116

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

งบการเงินรวม 2551 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

(1,957,368,497) 1,961,565,474 10,653,816 (640,549,919) (12,027,328) (1,473,937,448) 137,944 - 21,891,418 22,309,161 (2,067,325,379)

(1,988,563,709) (1,957,368,497) (1,988,563,709) 1,992,229,507 1,961,565,474 1,992,229,507 12,806,153 - (785,443,274) (11,075,123) (10,022,203) (5,623,262) (12,027,328) (5,623,262) (3,239,547,115) (1,473,937,448) (3,239,547,115) 1,890,515,572 - 1,537,383 - (45,000,000) (35) - - 108,820,130 9,008,244 24,038,100 (2,014,805,998) (1,528,834,678) (3,225,951,334)

(87,933,966) 725,909,097 - (2,858,205,744) - (2,220,230,613) 45,089,134 1,879,780,485 1,470,244,256 3,350,024,741

(298,101,974) (87,933,966) (298,101,974) - 725,909,097 566,249,004 - 566,249,004 (2,655,047,466) (2,858,205,744) (2,655,047,466) (4,427,031) - (2,391,327,467) (2,220,230,613) (2,386,900,436) (33,559,677) - 211,669,679 719,862,899 153,692,835 1,258,574,577 194,974,853 41,282,018 1,470,244,256 914,837,752 194,974,853

- -

- 519,520,600

4,700,417,749 4,453,244,722 - 519,520,600

20,254,082

20,312,694

-

-

3,922

813

-

-

374,800 6,660,769

- -

374,800 6,660,769

-

4,251,235

-

4,251,235

-


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม

บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย สำหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

1. ข้อมูลทั่วไป

1.1 ข้อมูลทัว่ ไปของบริษทั ฯ

1.2 วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ

บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) จัดตัง้ ขึน้ เป็นบริษทั มหาชนและมีภมู ลิ ำเนาในประเทศไทย บริษทั ฯดำเนิน ธุรกิจหลักเป็นบริษัทโฮลดิ้ง คัมพานี เพื่อลงทุนในธุรกิจด้านการขนส่งสินค้าทางทะเล โดยมีที่อยู่ตามที่จดทะเบียนตั้งอยู่เลขที่ 8 อาคาร คาเธ่ยเ์ ฮ้าส์ ชัน้ 7 ถนนสาทรเหนือ สีลม บางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 วิกฤตการณ์ทางการเงินที่เกิดขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกาในช่วงปีที่ผ่านมาได้ส่งผลกระทบต่อสภาวะเศรษฐกิจโลกอย่างรุนแรง โดยจะเห็นได้จากการลดลงอย่างมากของราคาหุน้ ทัว่ โลก ภาวะการตึงตัวของตลาดสินเชือ่ รวมทัง้ การกูย้ มื ระหว่างธนาคาร การล้มละลายของ สถาบันการเงินขนาดใหญ่และความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่ลดลง วิกฤตการณ์ดังกล่าวได้ส่งผลกระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่อแผนการดำเนิน ธุรกิจและการเงินรวมถึงมูลค่าของสินทรัพย์ของผู้ประกอบการในประเทศไทยเป็นจำนวนมาก ถึงแม้ว่ารัฐบาลของประเทศต่างๆได้ใช้ความ พยายามในการทีจ่ ะแก้ไขปัญหาเหล่านี้ แต่ยงั คงมีความไม่แน่นอนว่าสภาวะเศรษฐกิจของโลกจะกลับคืนสูส่ ภาวะปกติเมือ่ ใด งบการเงินนีจ้ ดั ทำ บนพืน้ ฐานข้อเท็จจริงของสภาวะเศรษฐกิจทีเ่ ป็นอยูใ่ นปัจจุบนั และประมาณการและข้อสมมติฐานต่างๆทีบ่ ริษทั ฯและบริษทั ย่อยพิจารณาแล้วว่า เหมาะสมในสถานการณ์ปจั จุบนั อย่างไรก็ตาม งบการเงินนีอ้ าจได้รบั ผลกระทบในทางลบจากเหตุการณ์ตา่ งๆทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ในอนาคต 2. เกณฑ์ ในการจัดทำงบการเงิน 2.1 งบการเงินฉบับภาษาไทยนีจ้ ดั ทำขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีทกี่ ำหนดในพระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และการแสดง รายการในงบการเงินได้ทำขึ้นเพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 14 กันยายน 2544 ออกตามความใน พระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับที่บริษัทฯใช้เป็นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลมาจาก งบการเงินตามกฎหมายดังกล่าว งบการเงินนีไ้ ด้จดั ทำขึน้ โดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอืน่ ในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนีไ้ ด้จดั ทำขึน้ โดยรวมงบการเงินของบริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (ซึง่ ต่อไปนีเ้ รียกว่า “บริษทั ฯ”) และบริษทั ย่อย (ซึง่ ต่อไปนีเ้ รียกว่า “บริษทั ย่อย”) ดังต่อไปนี ้ จัดตั้ง ขึ้นใน ลั ก ษณะธุ ร กิ จ ประเทศ ชื อ ่ บริ ษ ท ั

2551 %

2550 %

2551 %

2550 %

2551 %

บริษทั ย่อยทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ฯ 1. บริษทั พรีเชียส เม็ททัลซ์ จำกัด 2. บริษทั พรีเชียส วิชเชส จำกัด 3. บริษทั พรีเชียส สโตนส์ ชิปปิง้ จำกัด 4. บริษทั พรีเชียส มิเนอรัลส์ จำกัด 5. บริษทั พรีเชียส แลนด์ จำกัด 6. บริษทั พรีเชียส ริเวอร์ส จำกัด 7. บริษทั พรีเชียส เลคส์ จำกัด 8. บริษทั พรีเชียส ซีส์ จำกัด

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99

1.21 0.94 3.68 3.15 0.47 3.01 0.91 1.33

1.54 1.50 4.25 3.74 0.65 3.67 0.92 1.43

4.32 4.63 1.24 4.73 2.96 1.76 3.00 4.02

เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

อัตราร้อยละ ของการถือหุ้น โดยบริษัทฯ ทั้งทางตรง และทางอ้อม

ร้อยละของ ร้อยละของรายได้ สินทรัพย์ที่รวม ที่รวมอยู่ในรายได้ อยู่ในสินทรัพย์รวม รวมสำหรับปีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2550 %

3.51 4.23 2.04 3.57 2.29 3.60 1.47 1.58

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

117


จัดตั้ง ขึ้นใน ลักษณะธุรกิจ ประเทศ ชื่อบริษัท

9. บริษทั พรีเชียส สตาร์ส จำกัด 10. บริษทั พรีเชียส โอเชียนส์ จำกัด 11. บริษทั พรีเชียส แพลนเนตส์ จำกัด 12. บริษทั พรีเชียส ไดมอนด์ส จำกัด 13. บริษทั พรีเชียส แซฟไฟร์ส จำกัด 14. บริษทั พรีเชียส เอ็มเมอรัลส์ จำกัด 15. บริษทั พรีเชียส รูบสี ์ จำกัด 16. บริษทั พรีเชียส โอปอลส์ จำกัด 17. บริษทั พรีเชียส การ์เน็ตส์ จำกัด 18. บริษทั พรีเชียส เพิรล์ ส์ จำกัด 19. บริษทั พรีเชียส ฟลาวเวอร์ส จำกัด 20. บริษทั พรีเชียส ฟอเรสท์ จำกัด 21. บริษทั พรีเชียส ทรีส์ จำกัด 22. บริษทั พรีเชียส พอนด์ส จำกัด 23. บริษทั พรีเชียส เว็นเจอร์ส จำกัด 24. บริษทั พรีเชียส แคปปิตอลส์ จำกัด 25. บริษทั พรีเชียส จัสมินส์ จำกัด 26. บริษทั พรีเชียส ออคิดส์ จำกัด 27. บริษทั พรีเชียส ลากูนส์ จำกัด 28. บริษทั พรีเชียส คลิฟส์ จำกัด 29. บริษทั พรีเชียส ฮิลส์ จำกัด 30. บริษทั พรีเชียส เมาน์เท่นส์ จำกัด 31. บริษทั พรีเชียส รีสอร์ทส์ จำกัด 32. บริษทั พรีเชียส ซิตสี้ ์ จำกัด 33. บริษทั พรีเชียส คอมเม็ทส์ จำกัด 34. บริษทั พรีเชียส ออนาเม้นท์ส จำกัด 35. บริษทั เนดเท็กซ์ จำกัด 36. บริษทั พรีเชียส สตอเรจ เทอมินลั ส์ จำกัด 37. บริษัท เทบส์ พีทีอี ลิมิเตด 38. บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (ปานามา) เอส เอ

118

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย คลังเก็บสินค้า ไทย ลอยน้ำ* คลังเก็บสินค้า ไทย ลอยน้ำ* ผู้บริหาร สิงคโปร์ การลงทุน* เจ้าของเรือ/ ปานามา ให้บริการเช่าเรือ

อัตราร้อยละ ของการถือหุ้น โดยบริษัทฯ ทั้งทางตรง และทางอ้อม

ร้อยละของ ร้อยละของรายได้ สินทรัพย์ที่รวม ที่รวมอยู่ในรายได้ อยู่ในสินทรัพย์รวม รวมสำหรับปีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม

2551 %

2550 %

2551 %

2550 %

2551 %

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 69.99

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 69.99

1.02 1.05 1.44 2.43 2.04 4.88 0.58 0.39 5.24 0.39 0.68 0.70 0.92 0.95 0.43 1.11 0.94 3.70 1.17 1.34 1.47 1.48 1.77 2.00 0.39 0.64 -

1.34 0.94 1.89 3.36 2.41 7.15 0.64 0.50 6.15 0.53 0.83 0.91 0.81 1.13 0.70 1.40 0.87 5.06 1.57 1.64 1.85 1.95 2.26 2.67 0.66 0.64 -

1.95 1.61 6.75 3.53 1.63 2.79 2.76 3.46 2.45 3.14 4.26 1.40 3.48 2.44 2.86 2.79 5.98 5.16 1.32 1.41 1.43 1.40 1.40 1.83 1.43 2.46 -

1.84 1.84 4.62 3.31 1.86 4.18 2.51 2.25 4.62 3.79 5.21 3.75 4.85 2.95 3.85 3.92 4.10 3.68 1.32 1.36 1.25 1.42 1.36 1.81 1.29 2.04 -

69.99

69.99

-

-

-

-

100.00 100.00

-

-

-

-

99.99

1.86

1.89

0.21

0.20

99.99

2550 %


จัดตั้ง ขึ้นใน ลักษณะธุรกิจ ประเทศ ชื่อบริษัท

อัตราร้อยละ ของการถือหุ้น โดยบริษัทฯ ทั้งทางตรง และทางอ้อม 2551 %

2550 %

ร้อยละของ ร้อยละของรายได้ สินทรัพย์ที่รวม ที่รวมอยู่ในรายได้ อยู่ในสินทรัพย์รวม รวมสำหรับปีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2551 %

2550 %

2551 %

2550 %

39. บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (เมอริเชียส) ลิมเิ ตด โฮลดิง้ คัมพานี* เมอริเชียส 100.00 100.00 - - - - 40. บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (สิงคโปร์) พีทอี ี ลิมเิ ตด โฮลดิง้ คัมพานี/ สิงคโปร์ 100.00 100.00 7.81 2.29 0.16 0.19 ให้บริการเช่าเรือ 41. บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (ยูเค) ลิมเิ ตด ให้บริการเช่าเรือ อังกฤษ 99.99 99.99 0.04 0.01 (0.09) 0.04 42. บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด ผูบ้ ริหารเรือทาง ไทย 99.99 99.99 0.95 1.33 0.04 0.10 ด้านเทคนิค ผูบ้ ริหารการลงทุน สิงคโปร์ 100.00 100.00 - - - - 43. บริษทั พรีเชียส โปรเจคส์ พีทอี ี ลิมเิ ตด บริษทั ย่อยทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อย 44. บริษทั แรพพิด พอร์ท ลิสซิง่ พีทอี ี ลิมเิ ตด โฮลดิง้ คัมพานี* สิงคโปร์ 100.00 100.00 - - - - 45. บริษทั พีเอสแอล บัลค์ เทอร์มเิ นอร์ ลิมเิ ตด โฮลดิง้ คัมพานี* เมอริเชียส 100.00 100.00 - - - - 46. บริษทั พีเอสแอล อินเวสท์เมนท์ ลิมเิ ตด โฮลดิง้ คัมพานี* เมอริเชียส 100.00 100.00 - - - - 47. บริษทั อินเตอร์เนชัน่ แนล ไลเทอร์เรจ ลิมเิ ตด โฮลดิง้ คัมพานี เมอริเชียส 100.00 100.00 0.75 0.92 0.12 0.38 48. บริษทั พีเอสแอล ทุน ชิพปิง้ พีทอี ี ลิมเิ ตด ให้บริการเช่าเรือ สิงคโปร์ 64.06 64.06 0.89 0.43 1.24 1.38 49. บริษทั เรจิดอร์ พีทอี ี ลิมเิ ตด โฮลดิง้ คัมพานี* สิงคโปร์ 100.00 100.00 - - - -

*ปัจจุบนั ได้หยุดดำเนินธุรกิจแล้ว

ข) บริษัทฯจัดทำงบการเงินโดยรวมบริษัทย่อยทั้งหมดในงบการเงินรวมตั้งแต่วันที่ได้มา ซึ่งเป็นวันที่บริษัทฯมีอำนาจในการ ควบคุมบริษทั ย่อยจนถึงวันทีบ่ ริษทั ฯสิน้ สุดการควบคุมบริษทั ย่อยนัน้ ค) งบการเงินของบริษัทย่อยจัดทำขึ้นโดยมีวันที่ในงบการเงินเช่นเดียวกับบริษัทฯและจัดทำโดยใช้นโยบายการบัญชีที่สำคัญ เช่นเดียวกัน งบการเงินของบริษทั ร่วมจัดทำขึน้ โดยมีวนั ทีใ่ นงบการเงินแตกต่างจากบริษทั ฯไม่เกิน 3 เดือน ทัง้ นีช้ ว่ งระยะเวลาของงวด บัญชีและความแตกต่างของงบการเงินเหมือนกันในทุกงวดบัญชีและจัดทำโดยใช้นโยบายการบัญชีทสี่ ำคัญเช่นเดียวกัน ง) งบการเงินของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมซึง่ จัดตัง้ ในต่างประเทศได้แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีใ่ น งบดุลสำหรับรายการสินทรัพย์และหนีส้ นิ และใช้อตั ราแลกเปลี่ยนถัวเฉลีย่ รายเดือนสำหรับรายการทีเ่ ป็นรายได้และค่าใช้ จ่าย ผลต่างซึง่ เกิดขึน้ จากการแปลงค่าดังกล่าวได้แสดงไว้เป็นรายการ “ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน” ในส่วนของผู้ ถือหุน้ จ) ยอดคงค้างระหว่างบริษทั ฯและบริษทั ย่อย รายการค้าระหว่างกันทีม่ สี าระสำคัญและเงินลงทุนในบริษทั ย่อยของบริษทั ฯและ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ย่อยได้ตดั ออกจากงบการเงินรวมนีแ้ ล้ว ฉ) ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยคือส่วนของกำไรหรือขาดทุนและสินทรัพย์สทุ ธิของบริษทั ย่อยส่วนทีเ่ ป็นส่วนได้เสียทีไ่ ม่ได้เป็นของ กลุม่ บริษทั ฯ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในงบกำไรขาดทุนรวมและแสดงในส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในงบดุลรวมโดยแสดงแยกต่างหากจากส่วนของผูถ้ อื หุน้ ทีเ่ ป็นของบริษทั ใหญ่ 2.3 บริษทั ฯได้จดั ทำงบการเงินเฉพาะกิจการเพือ่ ประโยชน์ตอ่ สาธารณะ ซึง่ แสดงเงินลงทุนในบริษทั ย่อยตามวิธรี าคาทุน

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

119


3. การประกาศใช้มาตรฐานการบัญชีใหม่

3.1 มาตรฐานการบัญชีทมี่ ผี ลบังคับใช้ในปีปจั จุบนั

3.2 มาตรฐานการบัญชีทยี่ งั ไม่มผี ลบังคับใช้ในปีปจั จุบนั

สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 9/2550 ฉบับที่ 38/2550 และฉบับที่ 62/2550 เกีย่ วกับมาตรฐานการ บัญชี โดยให้ใช้มาตรฐานการบัญชีใหม่ดงั ต่อไปนี ้ ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550) งบกระแสเงินสด ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550) สัญญาเช่า ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2550) สินค้าคงเหลือ ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2550) ต้นทุนการกูย้ มื ฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550) การนำเสนองบการเงิน ฉบับที่ 39 (ปรับปรุง 2550) นโยบายการบัญชี การเปลีย่ นแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด ฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2550) งบการเงินระหว่างกาล ฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) การรวมธุรกิจ ฉบับที่ 49 (ปรับปรุง 2550) สัญญาก่อสร้าง ฉบับที่ 51 สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน มาตรฐานการบัญชีขา้ งต้นให้ถอื ปฏิบตั กิ บั งบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีทเี่ ริม่ ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 เป็นต้น ไป ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯได้ประเมินแล้วเห็นว่า มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) และฉบับที่ 49 (ปรับปรุง 2550) ไม่เกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ส่วนมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 39 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2550) และฉบับที่ 51 ไม่มผี ล กระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่องบการเงินสำหรับปีปจั จุบนั สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 86/2551 เกีย่ วกับมาตรฐานการบัญชี โดยให้ใช้มาตรฐานการบัญชีใหม่ ดังต่อไปนี ้ ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) การด้อยค่าของสินทรัพย์ ฉบับที่ 54 (ปรับปรุง 2550) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีถ่ อื ไว้เพือ่ ขายและการดำเนินงานทีย่ กเลิก มาตรฐานการบัญชีขา้ งต้นให้ถอื ปฏิบตั กิ บั งบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีทเี่ ริม่ ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้น ไป ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯได้ประเมินแล้วเห็นว่ามาตรฐานการบัญชีฉบับดังกล่าวจะไม่มผี ลกระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่องบการเงินสำหรับปี ทีเ่ ริม่ ใช้มาตรฐานการบัญชีฉบับดังกล่าว 4. การเปลี่ยนประมาณการทางบัญชี เมือ่ วันที่ 1 มกราคม 2551 กลุม่ บริษทั ได้เปลีย่ นประมาณการมูลค่าคงเหลือ (ราคาซาก) ของเรือเดินทะเลโดยการประมาณการราคา เหล็กเพิม่ ขึน้ เป็น 400 เหรียญสหรัฐฯต่อตันจากเดิม 135 เหรียญสหรัฐฯต่อตัน (มูลค่าคงเหลือคำนวณโดยการคูณน้ำหนักเหล็กของเรือเดินทะเล (Light Displacement Tonnage) กับประมาณการราคาเหล็กต่อตัน) การเปลีย่ นประมาณการดังกล่าวเพือ่ ให้เป็นไปตามราคาตลาดของเหล็ก ในช่วงระยะเวลาทีท่ ำการประมาณการ ซึง่ เพิม่ ขึน้ อย่างเป็นสาระสำคัญจากประมาณการเดิม อย่างไรก็ตาม การเปลีย่ นประมาณการดังกล่าว มิได้เปลีย่ นประมาณการอายุการใช้งานของเรือเดินทะเล ผลของการเปลีย่ นแปลงทำให้กำไรสุทธิสำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ใน งบกำไรขาดทุนรวมเพิม่ ขึน้ เป็นจำนวนเงิน 642.2 ล้านบาท (0.62 บาทต่อหุน้ ) และมูลค่าตามบัญชีของเรือเดินทะเลเพิม่ ขึน้ ด้วยจำนวนเดียวกัน การทบทวนและเปลีย่ นแปลงประมาณการทางบัญชีเกีย่ วกับมูลค่าคงเหลือของเรือเดินทะเลสอดคล้องกับข้อกำหนดในมาตรฐานการ บัญชีสากล IAS 16 Property, Plant and Equipment และถือปฏิบัติกันเป็นการทั่วไปในอุตสาหกรรมการเดินเรือทะเล นอกจากนั้น ร่าง มาตรฐานการบัญชีไทยฉบับที่ 32 ฉบับปรับปรุงซึ่งผ่านการเห็นชอบโดยคณะกรรมการสภาวิชาชีพบัญชีแล้ว และรอลงประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาก็กำหนดให้ต้องมีการทบทวนมูลค่าคงเหลือของสินทรัพย์อย่างน้อยที่สุดทุกสิ้นรอบปีบัญชีหากมูลค่าคงเหลือของสินทรัพย์ แตกต่างไปจากทีไ่ ด้เคยประมาณไว้

120

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


5. นโยบายการบัญชีที่สำคัญ

5.1 การรับรูร้ ายได้และค่าใช้จา่ ย

5.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

5.3 ลูกหนีก้ ารค้า

5.4 น้ำมันเชือ้ เพลิง

5.5 เงินลงทุน

รายได้จากการเดินเรือ รายได้จากการเดินเรือ (ประกอบด้วย รายได้คา่ เช่าเรือ (Hire income) ซึง่ เกิดจากการเช่าเป็นระยะเวลา (Time charter) และ รายได้คา่ ระวางเรือ (Freight income) ซึง่ เกิดจากการเช่าเป็นรายเทีย่ ว (Voyage charter)) และค่าใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วข้องบันทึกบัญชีตามเกณฑ์ คงค้าง รายได้จากการให้บริการ รายได้จากการให้บริการรับรูเ้ มือ่ ได้ให้บริการแล้วโดยพิจารณาถึงขัน้ ความสำเร็จของงาน ดอกเบีย้ รับ ดอกเบีย้ ถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยคำนึงถึงอัตราผลตอบแทนทีแ่ ท้จริง เงินปันผลรับ เงินปันผลรับถือเป็นรายได้เมือ่ มีสทิ ธิในการรับเงินปันผล เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง ซึ่งถึง กำหนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันทีไ่ ด้มาและไม่มขี อ้ จำกัดในการเบิกใช้ ลูกหนี้การค้าแสดงตามมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ บริษัทฯ และบริษัทย่อยบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับผลขาดทุนโดย ประมาณทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการเก็บเงินลูกหนีไ้ ม่ได้ ซึง่ โดยทัว่ ไปพิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุลกู หนี ้ น้ำมันเชือ้ เพลิงแสดงมูลค่าตามราคาทุน (วิธเี ข้าก่อน-ออกก่อน) หรือมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั แล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า และจะถือ เป็นส่วนหนึง่ ของต้นทุนการเดินเรือเมือ่ มีการเบิกใช้

ก) เงินลงทุนในตราสารหนีท้ จี่ ะครบกำหนดชำระใน 1 ปี และทีจ่ ะถือจนครบกำหนด แสดงมูลค่าตามวิธรี าคาทุนตัดจำหน่าย บริษัทฯตัดบัญชีส่วนเกิน/ส่วนต่ำกว่ามูลค่าตราสารหนี้ตามอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ซึ่งจำนวนที่ตัดจำหน่ายนี้จะแสดงเป็น รายการปรับกับดอกเบีย้ รับ ข) เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดถือเป็นเงินลงทุนทั่วไป ซึ่งแสดงในราคาทุนสุทธิจากค่าเผื่อจาก การด้อยค่า (ถ้ามี) ค) เงินลงทุนในบริษทั ร่วมทีแ่ สดงอยูใ่ นงบการเงินรวมแสดงมูลค่าตามวิธสี ว่ นได้เสีย ง) เงินลงทุนในบริษทั ย่อยทีแ่ สดงอยูใ่ นงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธรี าคาทุน

5.6 ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์

ทีด่ นิ แสดงมูลค่าตามราคาทุน/ราคาทีต่ ใี หม่ เรือเดินทะเล อาคารชุดและอุปกรณ์ แสดงมูลค่าตามราคาทุน/ราคาทีต่ ใี หม่หกั ค่า เสือ่ มราคาสะสม และค่าเผือ่ การด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) บริษัทย่อยแห่งหนึ่งบันทึกมูลค่าเริ่มแรกของที่ดินและอาคารชุดในราคาทุน ณ วันที่ได้สินทรัพย์มา หลังจากนั้นบริษัทย่อย ดังกล่าวจัดให้มกี ารประเมินราคาทีด่ นิ และอาคารชุดโดยผูป้ ระเมินราคาอิสระและบันทึกสินทรัพย์ดงั กล่าวในราคาทีต่ ใี หม่ ทัง้ นี้ บริษทั ย่อยจัด ให้มกี ารประเมินราคาสินทรัพย์ดงั กล่าวเป็นครัง้ คราวเพือ่ มิให้ราคาตามบัญชี ณ วันทีใ่ นงบดุลแตกต่างจากมูลค่ายุตธิ รรมอย่างมีสาระสำคัญ บริษทั ย่อยบันทึกส่วนต่างซึง่ เกิดจากการตีราคาสินทรัพย์ดงั ต่อไปนี ้ - บริษัทย่อยบันทึกราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นจากการตีราคาใหม่ในบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ของบริษทั ย่อย” ในส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในงบดุล อย่างไรก็ตาม หากสินทรัพย์นนั้ เคยมีการตีราคาลดลงและบริษทั ย่อยได้รบั รู้ ราคาทีล่ ดลงเป็นค่าใช้จา่ ยในงบกำไรขาดทุนแล้ว ส่วนทีเ่ พิม่ จากการตีราคาใหม่นจี้ ะถูกรับรูเ้ ป็นรายได้ไม่เกินจำนวนทีเ่ คย ลดลง ซึง่ รับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยในงบกำไรขาดทุนปีกอ่ นแล้ว

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

121


- บริษทั ย่อยรับรูร้ าคาตามบัญชีของสินทรัพย์ทลี่ ดลงจากการตีราคาใหม่เป็นค่าใช้จา่ ยในงบกำไรขาดทุน อย่างไรก็ตาม หาก สินทรัพย์นั้นเคยมีการตีราคาเพิ่มขึ้นและยังมียอดคงค้างของบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ของบริษัทย่อย” อยูใ่ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนทีล่ ดลงจากการตีราคาใหม่จะถูกนำไปหักออกจาก “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ของ บริษทั ย่อย” ไม่เกินจำนวนซึง่ เคยตีราคาเพิม่ ขึน้ ของสินทรัพย์ชนิดเดียวกัน และส่วนทีเ่ กินจะรับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยในงบกำไร ขาดทุน

5.7 ค่าเสือ่ มราคา

5.8 ต้นทุนการกูย้ มื

5.9 สินทรัพย์ไม่มตี วั ตนและค่าตัดจำหน่าย

ค่าเสือ่ มราคาของเรือเดินทะเล อาคารชุดและอุปกรณ์คำนวณจากราคาทุนหรือราคาทีต่ ใี หม่ของสินทรัพย์หลังจากหักมูลค่าซาก โดยวิธเี ส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณดังนี ้ เรือเดินทะเลและอุปกรณ์ 3 - 25 ปี ค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซมและสำรวจเรือ 2 ปี และ 4 ปี ตามลำดับ อาคารชุด 20 ปี สิง่ ปรับปรุงสินทรัพย์เช่า 5 ปี อืน่ ๆ 5 ปี ค่าเสือ่ มราคารวมอยูใ่ นการคำนวณผลการดำเนินงาน ไม่มกี ารคิดค่าเสือ่ มราคาสำหรับทีด่ นิ และงานระหว่างทำ ต้นทุนการกูย้ มื ทีเ่ กิดจากเงินกูย้ มื ทีน่ ำไปใช้ในการจัดหาหรือก่อสร้างสินทรัพย์ทตี่ อ้ งใช้ระยะเวลานานในการแปลงสภาพให้พร้อม ทีจ่ ะใช้หรือขาย ได้นำไปรวมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์จนกว่าสินทรัพย์นนั้ จะอยูใ่ นสภาพพร้อมทีจ่ ะใช้ได้ตามประสงค์ ต้นทุนการกูย้ มื อืน่ ๆถือ เป็นค่าใช้จา่ ยในงวดทีเ่ กิดรายการ ต้นทุนการกูย้ มื ประกอบด้วยดอกเบีย้ และต้นทุนอืน่ ทีเ่ กิดขึน้ จากการกูย้ มื ของกิจการ บริษัทฯวัดมูลค่าเริ่มแรกสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่ได้มาแบบแยกต่างหากด้วยราคาทุน ต้นทุนของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่ได้มาจาก การรวมธุรกิจคือมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซื้อ และภายหลังการรับรู้รายการครั้งแรก สินทรัพย์ไม่มีตัวตนแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัด จำหน่ายสะสมและค่าเผือ่ การด้อยค่าสะสม (ถ้ามี) ของสินทรัพย์นนั้ บริษัทฯคิดค่าตัดจำหน่ายของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์ทราบได้แน่นอนอย่างมีระบบตลอดอายุการให้ ประโยชน์ของสินทรัพย์นั้น และจะมีการประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์เมื่อมีข้อบ่งชี้ที่ทำให้สินทรัพย์อาจเกิดการด้อยค่าได้ บริษัทฯจะ ทบทวนระยะเวลาการตัดจำหน่ายและวิธกี ารตัดจำหน่ายของสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนทีม่ อี ายุการให้ประโยชน์ทราบได้แน่นอนทุกสิน้ ปีเป็นอย่างน้อย ค่าตัดจำหน่ายรับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยในงบกำไรขาดทุน สินทรัพย์ไม่มตี วั ตนทีม่ อี ายุการใช้ประโยชน์จำกัดมีอายุการใช้ประโยชน์ดงั นี ้ คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 5 ปี และ 10 ปี ไม่มกี ารคิดค่าตัดจำหน่ายสำหรับคอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ระหว่างพัฒนา

5.10 ค่าธรรมเนียมทางการเงินรอตัดจ่าย

5.11 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน

ค่าใช้จ่ายทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับการกู้ยืมเงินซึ่งเกิดขึ้นก่อนการทำสัญญาวงเงินสินเชื่อและก่อนการเบิกถอนเงินกู้ยืมจะถูก บันทึกเป็นค่าธรรมเนียมทางการเงินรอตัดจ่ายและตัดจำหน่ายโดยวิธอี ตั ราดอกเบีย้ ทีแ่ ท้จริงตามอายุของเงินกู ้ ค่าตัดจำหน่ายค่าใช้จา่ ยทางการเงินทีเ่ กีย่ วข้องกับการกูย้ มื เงินรวมอยูใ่ นการคำนวณต้นทุนการกูย้ มื บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัทฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอำนาจควบคุมบริษัทฯ หรือถูกควบคุมโดยบริษัทฯ ไม่วา่ จะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยูภ่ ายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษทั ฯ นอกจากนี้ บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันยังหมายรวมถึงบริษทั ร่วมและบุคคลซึง่ มีอทิ ธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญกับบริษทั ฯ ผู้ บริหารสำคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษทั ฯ ทีม่ อี ำนาจในการวางแผนและควบคุมการดำเนินงานของบริษทั ฯ

122

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


5.12 เงินตราต่างประเทศ

5.13 การด้อยค่าของสินทรัพย์

5.14 ผลประโยชน์พนักงาน

5.15 ประมาณการหนีส้ นิ

5.16 ภาษีเงินได้

5.17 ตราสารอนุพนั ธ์

รายการทีเ่ ป็นเงินตราต่างประเทศทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างเดือนแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ นถัวเฉลีย่ ของเดือนก่อนเดือน ทีเ่ กิดรายการ สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีเ่ ป็นเงินตราต่างประเทศคงเหลืออยู่ ณ วันทีใ่ นงบดุลแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันที่ ในงบดุล กำไรและขาดทุนทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงในอัตราแลกเปลีย่ นได้รวมอยูใ่ นการคำนวณผลการดำเนินงาน ทุกวันทีใ่ นงบดุล บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะทำการประเมินว่ามีขอ้ บ่งชีซ้ งึ่ แสดงว่าสินทรัพย์ของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยด้อยค่าลง หรือไม่ หากมีขอ้ บ่งชีข้ องการด้อยค่า หรือเมือ่ ต้องทำการประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์เป็นรายปี บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะทำการประมาณ มูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนของสินทรัพย์ มูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนของสินทรัพย์หมายถึง มูลค่ายุตธิ รรมหักต้นทุนในการขายของสินทรัพย์หรือ มูลค่าจากการใช้สินทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า และหากพบว่าราคาตามบัญชีของสินทรัพย์นั้นมีมูลค่าสูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน แสดงว่าสินทรัพย์ดังกล่าวเกิดการด้อยค่า บริษัทฯและบริษัทย่อยจะลดมูลค่าของสินทรัพย์ลงให้เท่ากับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ในการ ประเมินมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการคาดว่าจะได้รับจากสินทรัพย์จะถูกคำนวณคิดลดเป็นมูลค่า ปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดก่อนภาษีที่สะท้อนถึงการประเมินความเสี่ยงในสภาพตลาดปัจจุบันของเงินสดตามระยะเวลาและความเสี่ยงซึ่งเป็น ลักษณะเฉพาะของสินทรัพย์ที่กำลังพิจารณาอยู่ ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย บริษัทฯและบริษัทย่อยใช้แบบจำลองการ ประเมินมูลค่าทีด่ ที สี่ ดุ ซึง่ เหมาะสมกับสินทรัพย์ ซึง่ สะท้อนถึงจำนวนเงินทีก่ จิ การสามารถจะได้มาจากการจำหน่ายสินทรัพย์ในงบดุล หักด้วย ต้นทุนในการจำหน่าย โดยการจำหน่ายนั้นผู้ซื้อกับผู้ขายมีความรอบรู้และเต็มใจในการแลกเเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็น อิสระในลักษณะของผูท้ ไี่ ม่มคี วามเกีย่ วข้องกัน บริษัทฯและบริษัทย่อยจะรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าในงบกำไรขาดทุน ยกเว้นที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ซึ่งใช้วิธีการตี ราคาใหม่และได้บนั ทึกส่วนเกินทุนจากการตีราคาใหม่ไว้ในส่วนของผูถ้ อื หุน้ แล้ว ค่าเผือ่ การด้อยค่าของสินทรัพย์จะถูกนำไปลดจากส่วนเกินทุน จากการตีราคาสินทรัพย์กอ่ นในจำนวนทีไ่ ม่เกินส่วนเกินทุนทีเ่ คยบันทึกไว้ ณ วันทีใ่ นงบดุล บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะประเมินว่ามีขอ้ บ่งชีท้ ี่แสดงให้เห็นว่ารายการขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่ ไม่ใช่ค่าความนิยมที่บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้รับรู้ในงวดก่อนได้หมดไปหรือลดลงหรือไม่ หากมีข้อบ่งชี้ดังกล่าว บริษัทฯและบริษัทย่อยต้อง ประมาณมูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนของสินทรัพย์นนั้ และกลับรายการบัญชีขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทไี่ ม่ใช่คา่ ความนิยมทีบ่ ริษทั ฯ และบริษทั ย่อยรับรูใ้ นงวดก่อน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยรับรูเ้ งินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสำรองเลีย้ งชีพเป็นค่าใช้จา่ ย เมือ่ เกิดรายการ บริษัทฯและบริษัทย่อยจะบันทึกประมาณการหนี้สินไว้ในบัญชีเมื่อภาระผูกพันซึ่งเป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีตได้เกิดขึ้นแล้ว และมีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่นอนว่าบริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพือ่ ปลดเปลือ้ งภาระผูกพันนัน้ และบริษทั ฯและ บริษทั ย่อยสามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพันนัน้ ได้อย่างน่าเชือ่ ถือ ประมาณการค่าความเสียหายจากการเดินเรือทะเล บริษัทย่อยบันทึกประมาณการค่าความเสียหายจากการเดินเรือทะเลเมื่อได้รับการแจ้งคำเรียกร้องค่าเสียหายจากผู้เช่าเรือโดย บันทึกตามมูลค่าประมาณการความเสียหายสูงสุดทีบ่ ริษทั ย่อยต้องรับผิดชอบหลังจากทีไ่ ด้พจิ ารณามูลค่าความเสียหายทีจ่ ะได้รบั คืนจากบริษทั ประกันตามทีร่ ะบุไว้ในสัญญากรมธรรม์ประกันภัยทีเ่ กีย่ วข้อง

บริษทั ฯและบริษทั ย่อยในประเทศไทยบันทึกภาษีเงินได้โดยคำนวณจากกำไรสุทธิทางภาษีตามกฎหมายภาษีอากร บริษทั ย่อยในต่างประเทศคำนวณภาษีเงินได้ตามอัตราภาษีทรี่ ะบุในกฎหมายภาษีอากรของประเทศนัน้

Treasury Rate Lock Agreements บริษทั ย่อยรับรูจ้ ำนวนสุทธิของดอกเบีย้ ทีไ่ ด้รบั จาก/จ่ายให้แก่คสู่ ญั ญาตาม Treasury Rate Lock Agreements เป็นรายได้/ค่าใช้ จ่ายในงบกำไรขาดทุนโดยอ้างอิงจากการเปลีย่ นแปลงของมูลค่ายุตธิ รรมของตราสาร รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

123


5.18 หุน้ ทุนซือ้ คืน

หุน้ ทุนซือ้ คืนแสดงมูลค่าในงบดุลด้วยราคาทุนเป็นรายการหักจากส่วนของผูถ้ อื หุน้ ทัง้ หมดหากราคาขายของหุน้ ทุนซือ้ คืนสูงกว่า ราคาซือ้ ของหุน้ ทุนซือ้ คืน บริษทั ฯ จะรับรูผ้ ลต่างเข้าบัญชีสว่ นเกินทุนหุน้ ทุนซือ้ คืนและหากราคาขายของหุน้ ทุนซือ้ คืนต่ำกว่าราคาซือ้ ของหุน้ ทุน ซือ้ คืน บริษทั ฯจะนำผลต่างหักจากส่วนเกินทุนหุน้ ทุนซือ้ คืนให้หมดไปก่อน แล้วจึงนำผลต่างทีเ่ หลืออยูไ่ ปหักจากบัญชีกำไรสะสม 6. การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สำคัญ ในการจัดทำงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฝ่ายบริหารอาจต้องใช้ดุลยพินิจและการประมาณการผลกระทบของ เหตุการณ์ที่ไม่แน่นอนในอนาคตที่อาจมีผลกระทบต่อจำนวนเงินที่แสดงในงบการเงินและการเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ด้วยเหตุนี้ ผลทีเ่ กิดขึน้ จริงจึงอาจแตกต่างไปจากจำนวนทีป่ ระมาณการไว้ การใช้ดลุ ยพินจิ และการประมาณการทางบัญชีทสี่ ำคัญ ได้แก่ ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญของลูกหนี ้ ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญของลูกหนีเ้ กิดจากการปรับมูลค่าของลูกหนีจ้ ากความเสีย่ งด้านเครดิตทีอ่ าจเกิดขึน้ ฝ่ายบริหารได้ใช้ดลุ ยพินจิ ในการประมาณการผลขาดทุนทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ จากลูกหนีแ้ ต่ละราย โดยใช้การวิเคราะห์สถานะของลูกหนีร้ ายตัว ประสบการณ์การเก็บเงินใน อดีต การวิเคราะห์อายุลกู หนีแ้ ละการเปลีย่ นแปลงของสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบนั อย่างไรก็ตาม การใช้ประมาณการและข้อสมมติฐานทีแ่ ตก ต่างกันอาจมีผลต่อจำนวนค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ ดังนัน้ การปรับปรุงค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญอาจมีขนึ้ ได้ในอนาคต มูลค่ายุตธิ รรมของเครือ่ งมือทางการเงิน ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินที่ไม่มีการซื้อขายในตลาดและไม่สามารถหาราคาได้ในตลาดซื้อขายคล่อง ฝ่ายบริหารได้ใช้ดลุ ยพินจิ ในการประมาณมูลค่ายุตธิ รรมของเครือ่ งมือทางการเงินดังกล่าว โดยคำนวณตามหลักเกณฑ์การประเมินมูลค่าทีเ่ ป็น ที่ยอมรับกันทั่วไป ซึ่งตัวแปรที่ใช้ในการคำนวณมาจากการเทียบเคียงกับตัวแปรที่มีอยู่ในตลาด โดยคำนึงถึงสภาพคล่อง และข้อมูลความ สัมพันธ์ และการเปลีย่ นแปลงของมูลค่าของเครือ่ งมือทางการเงินในระยะยาว ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์และค่าเสือ่ มราคา ในการคำนวณค่าเสือ่ มราคาของเรือเดินทะเล อาคารชุดและอุปกรณ์ ฝ่ายบริหารใช้ประมาณอายุการใช้งานและมูลค่าซากเมือ่ เลิกใช้ งานของเรือเดินทะเล อาคารชุดและอุปกรณ์ และได้มกี ารทบทวนอายุการใช้งานและมูลค่าซากหากมีการเปลีย่ นแปลง บริษทั ย่อยแห่งหนึง่ แสดงทีด่ นิ และอาคารชุดด้วยราคาทีต่ ใี หม่ มูลค่ายุตธิ รรมจากการตีราคาใหม่ได้ประเมินโดยผูป้ ระเมินราคาอิสระ โดยใช้วิธีเปรียบเทียบราคาตลาด ทั้งนี้ ฝ่ายบริหารได้มีการพิจารณาข้อสมมติและประมาณการเพื่อให้ผู้ประเมินราคาอิสระใช้ในการประเมิน มูลค่ายุตธิ รรม สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนตัดจำหน่ายโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณ และจะพิจารณาการด้อยค่าหากมีข้อบ่งชี้ ในการ บันทึกและวัดมูลค่าเริ่มแรกและการพิจารณาการด้อยค่าของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนนั้น จำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจของฝ่ายบริหารในการประมาณ มูลค่าของสินทรัพย์ทคี่ าดว่าจะได้รบั ในอนาคต โดยวิธปี ระมาณการกระแสเงินสดคิดลด ซึง่ ประมาณการกระแสเงินสดดังกล่าวอาจเปลีย่ นแปลง ได้เนือ่ งจากภาวะการแข่งขัน แนวโน้มการเปลีย่ นแปลงของรายได้ โครงสร้างต้นทุน การเปลีย่ นแปลงของอัตราคิดลด ภาวะอุตสาหกรรมและ ภาวะตลาดทีเ่ กีย่ วข้อง

124

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


7. เงินลงทุนชั่วคราว (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

ทุนเรียกชำระแล้ว สัดส่วนเงินลงทุน ราคาทุน

เงินลงทุนในบริษทั ร่วมทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อย บริษทั เซาท์เทอร์น แอลพีจี ลิมเิ ตด หัก: ค่าเผือ่ ผลขาดทุนจากเงินลงทุน เงินลงทุนชัว่ คราว - สุทธิ

2551 2550 พันอินเดียรูปี พันอินเดียรูปี

64,592

64,592

มูลค่าตามบัญชีตาม วิธีส่วนได้เสีย

2551 %

2550 %

2551

2550

50.00

50.00

31,716

31,716

2551

2550

19,365 19,365 (19,365) (19,365) - -

บริษทั ย่อย (บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (เมอริเชียส) จำกัด) บันทึกเงินลงทุนในบริษทั ร่วมทีจ่ ดทะเบียนจัดตัง้ ขึน้ ในประเทศอินเดีย ตาม วิธสี ว่ นได้เสียจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2543 เท่านัน้ เนือ่ งจากฝ่ายบริหารของบริษทั ฯมีความตัง้ ใจทีจ่ ะเสนอขายเงินลงทุนดังกล่าว ดังนัน้ จึงได้ จัดประเภทเงินลงทุนดังกล่าวเป็นเงินลงทุนชัว่ คราวในสินทรัพย์หมุนเวียนและบันทึกค่าเผือ่ ผลขาดทุนจากเงินลงทุนเต็มจำนวน 8. ลูกหนี้การค้า ยอดคงเหลือของลูกหนีก้ ารค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 แยกตามอายุหนีท้ คี่ งค้างนับจากวันทีใ่ นใบแจ้งหนีไ้ ด้ดงั นี ้

(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม 2551 2550

อายุหนีค้ า้ งชำระ ไม่เกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน รวม หัก: ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ ลูกหนีก้ ารค้า - สุทธิ

61,271 3,203 190 8,000 72,664 (25,898) 46,766

33,268 531 723 34,037 68,559 (33,920) 34,639

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

125


9. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ในระหว่างปี บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่สำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตาม เงือ่ นไขทางการค้าและเกณฑ์ตามทีต่ กลงกันระหว่างบริษทั ฯและบริษทั เหล่านัน้ ซึง่ เป็นไปตามปกติธรุ กิจ โดยสามารถสรุปได้ดงั นี ้

(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม 2551 2550

รายการธุรกิจกับบริษทั ย่อย (ได้ตดั ออกจากงบการเงินรวมแล้ว) รายได้จากการให้บริการ - ค่าบริหาร - - รายได้จากการให้บริการ - ค่านายหน้าขายเรือ - - เงินปันผลรับ - - ค่าเช่าอาคารชุดจ่าย - - รายการธุรกิจกับบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน เงินปันผลรับ 10,654 12,806 ค่าตัว๋ เครือ่ งบินจ่าย 15,801 16,061 ค่าเช่าและบริการจ่าย 8,310 7,323

นโยบายการ กำหนดราคา

94,428 96,300 อัตราคงทีต่ อ่ ลำต่อวันโดยอ้าง อิงกับค่าใช้จา่ ยในการ บริหารของบริษทั ฯ - 58,451 ร้อยละ 3 ของราคาขายเรือ 4,700,418 4,453,245 ตามทีป่ ระกาศจ่าย 9,249 9,549 ราคาตลาด - 3,806 4,882

- ตามทีป่ ระกาศจ่าย 3,350 ราคาตลาด 3,813 ราคาตลาด

ยอดคงค้างระหว่างบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 มีรายละเอียด ดังนี ้

ลูกหนีแ้ ละเงินทดรองจ่ายแก่บริษทั ย่อย บริษทั พรีเชียส สโตนส์ ชิปปิง้ จำกัด บริษทั พรีเชียส ริเวอร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส เลคส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส แพลนเนตส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส แซฟไฟร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส เอ็มเมอรัลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส การ์เน็ตส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส พอนด์ส จำกัด

126

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

2550

41,146 72,120 1,948 814 - 181,426 4,089 4,203

งบการเงินเฉพาะกิจการ เพิ่มขึ้น ลดลง

85,935 - - - 244,388 292,725 - -

105,636 72,120 1,948 814 210,798 461,683 4,089 4,203

(หน่วย: พันบาท) 2551

21,445 33,590 12,468 -


(หน่วย: พันบาท)

บริษทั พรีเชียส ออคิดส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ฮิลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ซิตส้ี ์ จำกัด บริษทั เนดเท็กซ์ จำกัด บริษทั พรีเชียส สตอเรจ เทอมินลั ส์ จำกัด บริษทั เทบส์ พีทอี ี ลิมเิ ตด บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (ปานามา) เอส เอ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (เมอริเชียส) ลิมเิ ตด บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (สิงคโปร์) พีทอี ี ลิตเิ ตด บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (ยูเค) ลิมเิ ตด บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด บริษทั พรีเชียส โปรเจคส์ พีทอี ี ลิมเิ ตด รวม

2550

40,302 5,881 3,624 108 64 904 304,682 120,834 - - 216,410 1 998,556

งบการเงินเฉพาะกิจการ เพิ่มขึ้น ลดลง

- - - 52 22 170 173,465 30,210 1,422,369 129,130 26,593 396 2,405,455

40,302 5,881 3,624 - - 84 178,013 31,644 807,716 115,477 80,641 106 2,124,779

2551

160 86 990 300,134 119,400 614,653 13,653 162,362 291 1,279,232 (หน่วย: พันบาท)

เจ้าหนีแ้ ละเงินทดรองจ่ายจากบริษทั ย่อย บริษทั พรีเชียส เม็ททัลซ์ จำกัด บริษทั พรีเชียส วิชเชส จำกัด บริษทั พรีเชียส มิเนอรัลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส แลนด์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ริเวอร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส์ เลคส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ซีส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส สตาร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส โอเชียนส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส แพลนเนตส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส์ ไดมอนด์ส จำกัด

2550

113,395 103,181 16,682 26,702 - - 28,834 32,287 87,260 - 24,408

งบการเงินเฉพาะกิจการ เพิ่มขึ้น ลดลง

813,101 468,234 424,970 278,167 150,995 284,805 437,172 189,470 197,432 693,914 404,955

786,862 377,849 360,341 221,607 146,948 212,883 424,866 193,590 235,140 678,464 378,126

2551

139,634 193,566 81,311 83,262 4,047 71,922 41,140 28,167 49,552 15,450 51,237

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

127


(หน่วย: พันบาท)

128

บริษทั พรีเชียส แซฟไฟร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส รูบสี ์ จำกัด บริษทั พรีเชียสโอปอลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส การ์เน็ตส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส เพิรล์ ส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ฟลาวเวอร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส ฟอเรสท์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ทรีส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส พอนด์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส เว็นเจอร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส แคปปิตอลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส จัสมินส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ออคิดส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ลากูนส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส คลิฟส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ฮิลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส เมาน์เท่นส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส รีสอร์ท จำกัด บริษทั พรีเชียส ซิตส้ี ์ จำกัด บริษทั พรีเชียส คอมเม็ทส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ออนาเม้นท์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (สิงคโปร์) พีทอี ี ลิมเิ ตด บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (ยูเค) ลิมเิ ตด รวม

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ เพิ่มขึ้น ลดลง

32,517 43,267 54,435 - 45,358 29,573 34,592 21,576 - 43,502 36,325 86,241 - 5,566 2,922 - 5,629 356 - 9,280 9,397 467,082 75 1,360,442

- 284,532 332,911 310,286 322,163 413,087 153,240 294,510 282,394 296,866 293,607 576,796 573,254 167,996 154,489 157,193 160,974 148,366 183,087 631,487 566,696 - - 10,647,149

32,517 319,542 296,951 307,172 280,248 382,051 179,664 295,387 246,274 290,662 255,189 553,361 501,203 145,785 151,957 131,965 148,392 127,455 140,237 592,551 526,363 467,082 75 10,388,759

2551

8,257 90,395 3,114 87,273 60,609 8,168 20,699 36,120 49,706 74,743 109,676 72,051 27,777 5,454 25,228 18,211 21,267 42,850 48,216 49,730 1,618,832


ยอดคงเหลือของลูกหนี/้ เจ้าหนีบ้ ริษทั ย่อยเป็นรายการทีเ่ กิดจากบัญชีเดินสะพัดระหว่างบริษทั ฯและบริษทั ย่อยเหล่านัน้ ซึง่ ฝ่ายบริหาร ของบริษัทฯเชื่อว่าไม่มีความจำเป็นที่จะต้องบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับหนี้ดังกล่าว เงินทดรองจ่ายแก่/จากบริษัทย่อยไม่มีการคิด ดอกเบีย้ ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร ในปี 2551 และ 2550 บริษัทฯและบริษัทย่อยได้จ่ายเงินเดือน โบนัส ภาษีเงินได้ ค่าเช่าบ้าน เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ สวัสดิการอืน่ และค่าเบีย้ ประชุมให้แก่กรรมการและผูบ้ ริหาร โดยสามารถสรุปค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหารซึง่ รวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการ บริหารได้ดงั นี ้ (หน่วย: พันบาท)

ตำแหน่งกรรมการ ตำแหน่งผูบ้ ริหาร รวม

งบการเงินรวม 2551 2550

8,050 159,800 167,850

10. เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษทั ย่อย ประกอบด้วยเงินลงทุนในหุน้ สามัญของบริษทั ดังต่อไปนี ้

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

7,112 138,581 145,693

8,050 140,953 149,003

(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ทุนเรียกชำระแล้ว สัดส่วนเงินลงทุน ราคาทุน ชื่อบริษัท 2551 2550

บริษทั พรีเชียส เม็ททัลซ์ จำกัด บริษทั พรีเชียส วิชเชส จำกัด บริษทั พรีเชียส สโตนส์ ชิปปิง้ จำกัด บริษทั พรีเชียส มิเนอรัลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส แลนด์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ริเวอร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส เลคส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ซีส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส สตาร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส โอเชียนส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส แพลนเนตส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ไดมอนด์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส แซฟไฟร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส เอ็มเมอรัลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส รูบสี ์ จำกัด บริษทั พรีเชียส โอปอลส์ จำกัด

7,112 122,961 130,073

250,000 230,000 260,000 230,000 84,000 234,000 99,000 100,000 105,000 175,000 100,000 205,000 144,000 366,000 84,000 74,000

250,000 230,000 260,000 230,000 84,000 234,000 99,000 100,000 105,000 175,000 100,000 205,000 144,000 366,000 84,000 74,000

เงินปันผลรับสำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

2551 %

2550 %

2551

2550

2551

2550

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99

250,000 229,999 260,000 230,000 84,000 234,000 99,000 100,000 105,000 175,000 100,000 205,000 143,999 366,000 84,000 74,000

250,000 229,999 260,000 230,000 84,000 234,000 99,000 100,000 105,000 175,000 100,000 205,000 143,999 366,000 84,000 74,000

217,499 227,699 - 218,499 150,359 - 100,979 261,998 124,949 68,250 431,997 174,249 136,799 73,200 168,839 205,718

126,250 160,999 94,300 86,939 156,780 93,059 89,999 94,499 92,750 230,999 32,800 38,880 102,479 112,849

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

129


(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ทุนเรียกชำระแล้ว สัดส่วนเงินลงทุน ราคาทุน ชื่อบริษัท 2551 2550 2551 2550 2551 2550 % %

บริษทั พรีเชียส การ์เน็ตส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส เพิรล์ ส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ฟลาวเวอร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส ฟอเรสท์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ทรีส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส พอนด์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส เว็นเจอร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส แคปปิตอลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส จัสมินส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ออคิดส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ลากูนส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส คลิฟส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ฮิลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส เมาน์เท่นส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส รีสอร์ทส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ซิตส้ี ์ จำกัด บริษทั พรีเชียส คอมเม็ทส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ออนาเม้นท์ส จำกัด บริษทั เนดเท็กซ์ จำกัด บริษทั พรีเชียส สตอเรจ เทอมินลั ส์ จำกัด บริษทั เทบส์ พีทอี ี ลิมเิ ตด บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (ปานามา) เอส เอ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (เมอริเชียส) ลิมเิ ตด บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (สิงคโปร์) พีทอี ี ลิมเิ ตด บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (ยูเค) ลิมเิ ตด บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด บริษทั พรีเชียส โปรเจคส์ พีทอี ี ลิมเิ ตค รวมเงินลงทุนในบริษทั ย่อย หัก: ค่าเผือ่ ผลขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษทั ย่อย รวมเงินลงทุนในบริษทั ย่อย - สุทธิ

130

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

379,000 73,000 76,000 96,000 80,000 84,000 80,000 200,000 98,000 217,000 140,000 140,000 140,000 140,000 140,000 170,000 71,100 68,100 2,500 6,000 0.0365 250 250 363,338 250 60,000 0.0345

379,000 73,000 76,000 96,000 80,000 84,000 80,000 200,000 98,000 217,000 140,000 140,000 140,000 140,000 140,000 170,000 71,100 68,100 2,500 6,000 0.0365 250 250 363,338 250 15,000 0.0345

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 69.99 69.99 100.00 99.99 100.00 100.00 99.99 99.99 100.00

เงินปันผลรับสำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551

2550

99.99 378,999 378,999 37,900 56,850 99.99 72,999 72,999 148,919 270,828 99.99 75,999 75,999 278,918 281,198 99.99 95,999 95,999 43,200 225,598 99.99 79,999 79,999 185,599 375,197 99.99 83,999 83,999 50,400 230,998 99.99 79,999 79,999 187,999 286,398 99.99 199,999 199,999 145,000 301,999 99.99 97,999 97,999 327,318 229,809 99.99 216,999 216,999 249,549 167,089 99.99 139,999 139,999 56,000 46,200 99.99 139,999 139,999 60,200 63,000 99.99 139,999 139,999 44,800 65,800 99.99 139,999 139,999 67,200 67,200 99.99 139,999 139,999 49,000 35,000 99.99 169,999 169,999 68,000 105,400 99.99 71,099 71,099 27,018 40,527 99.99 68,099 68,099 112,364 90,572 69.99 648 648 - 69.99 4,199 4,199 - 100.00 0.0365 0.0365 - 99.99 250 250 - 100.00 250 250 - 100.00 363,338 363,338 - 99.99 250 250 - 99.99 166,995 121,995 - 100.00 0.0345 0.0345 - 5,668,110 5,623,110 4,700,418 4,453,245 (5,097) (5,097) 5,663,013 5,618,013


บริษทั ฯได้นำเงินปันผลรับไปหักกลบลบหนีก้ บั ยอดคงค้างบัญชีลกู หนี/้ เจ้าหนีบ้ ริษทั ย่อยในงบดุล เมือ่ วันที่ 22 มกราคม 2551 บริษทั ย่อยในประเทศ (บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด) ได้ออกหุน้ สามัญเพิม่ ทุน โดย บริษทั ฯได้ซอื้ หุน้ สามัญเพิม่ ทุนนัน้ ทัง้ จำนวนด้วยมูลค่าตราไว้ของหุน้ สามัญของบริษทั ย่อยดังกล่าวเป็นจำนวนเงินรวม 45 ล้านบาท ในระหว่างปี 2550 เงินลงทุนในบริษทั ย่อยของบริษทั ฯมีการเปลีย่ นแปลงดังนี ้ ก) ในเดือนกุมภาพันธ์ 2550 บริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ในต่างประเทศ (บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (สิงคโปร์) พีทอี ี ลิมเิ ตด) ได้รบั เงินปันผล จากบริษทั ย่อย (บริษทั พีเอสแอล ทุน ชิพปิง้ พีทอี ี ลิมเิ ตด) เป็นจำนวนเงิน 0.3 ล้านเหรียญสิงคโปร์ ข) ในเดือนกรกฎาคม 2550 บริษทั ฯได้ลงทุนในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนชำระแล้วของบริษทั พรีเชียส โปรเจคส์ พีทอี ี ลิมเิ ตด ซึง่ เป็นบริษทั ทีจ่ ดทะเบียนจัดตัง้ ขึน้ ใหม่ในประเทศสิงคโปร์เป็นจำนวนเงิน 1 เหรียญสหรัฐฯ บริษทั ดังกล่าวดำเนินธุรกิจหลักเป็น บริษทั ผูบ้ ริหารการลงทุน 11. เงินลงทุนในบริษัทร่วมที่ถือหุ้นโดยบริษัทย่อย

11.1 รายละเอียดของบริษทั ร่วมทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อย

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

จัดตั้งขึ้นใน มูลค่าตามบัญชีตาม ชื่อบริษัท ลักษณะธุรกิจ ประเทศ สัดส่วนเงินลงทุน ราคาทุน วิธีส่วนได้เสีย 2551 2550 2551 2550 2551 2550 % %

บริษทั อินเตอร์เนชัน่ แนล ซีพอร์ทส์ (ฮาลเดีย) ไพรเวท ลิมเิ ตด

ออกแบบ ก่อสร้าง พัฒนา และบริหารท่าเทียบเรือ

อินเดีย

22.40

22.40 87,701 87,701 122,566 134,282 (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

ชื่อบริษัท

บริษทั อินเตอร์เนชัน่ แนล ซีพอร์ทส์ (ฮาลเดีย) ไพรเวท ลิมเิ ตด

เงินปันผลรับ จากบริษัทร่วมที่ถือหุ้น โดยบริษัทย่อยสำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551

10,654

2550

12,806

ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุน ในบริษัทร่วมที่ถือหุ้น โดยบริษัทย่อยสำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551

10,167

2550

34,127

ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วมทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อยสำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ซึง่ รวมอยูใ่ นงบกำไรขาดทุน รวม คำนวณจากงบการเงิน ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 ซึง่ ผ่านการตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชีของบริษทั ร่วมแล้ว

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

131


11.2 ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษทั ร่วมทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อย (หน่วย: พันบาท)

รายได้รวม ทุนเรียกชำระ สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม สำหรับปีสิ้นสุด ชื่อบริษัท ณ วันที่ 30 กันยายน ณ วันที่ 30 กันยายน ณ วันที่ 30 กันยายน วันที่ 30 กันยายน

กำไรสุทธิ สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 30 กันยายน

2551

บริษทั อินเตอร์เนชัน่ แนล ซีพอร์ทส์ (ฮาลเดีย) ไพรเวท ลิมเิ ตด

2551

2550

พันอินเดีย พันอินเดีย รูปี รูปี

2551

2550

2551

2550

2551

2550

2550

440,580 440,580 790,178 1,008,471 336,002 486,893 489,526 564,440 45,391 152,352

เมือ่ วันที่ 30 ธันวาคม 2551 บริษทั อินเตอร์เนชัน่ แนล ไลเทอร์เรจ ลิมเิ ตด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ (โดยการถือหุน้ ผ่านบริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (เมอริเชียส) ลิมเิ ตด) ได้ลงนามในสัญญาซือ้ หุน้ จำนวน 4.92 ล้านหุน้ ในบริษทั อินเตอร์เนชัน่ แนล ซีพอร์ทส์ (ฮาลเดีย) ไพรเวท ลิมเิ ตด กับผูถ้ อื หุน้ เดิม คิดเป็นจำนวนเงิน 110.46 ล้านอินเดียรูปี ซึง่ การซือ้ หุน้ ดังกล่าวจะมีผลบังคับเมือ่ ได้รบั อนุมตั จิ ากหน่วยงานราชการที่ เกี่ยวข้องกับบริษัทร่วมในประเทศนั้น ดังนั้น บริษัทฯจึงยังไม่ได้บันทึกรายการซื้อเงินลงทุนดังกล่าวในปีปัจจุบัน นอกจากนี้ บริษัทฯคาดว่า รายการดังกล่าวจะเสร็จสมบูรณ์ในปี 2552 และผลจากการลงทุนซือ้ หุน้ เพิม่ ในครัง้ นี้ จะทำให้บริษทั ฯมีสว่ นได้เสียในบริษทั ดังกล่าวเพิม่ ขึน้ เป็น ร้อยละ 33.55 12. เงินลงทุนระยะยาวอื่น บริษทั ฯได้ลงทุนในหุน้ สามัญของบริษทั บทด จำกัด จำนวน 2,026,086 หุน้ มูลค่าตราไว้หนุ้ ละ 10 บาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 3 ของทุนจดทะเบียน บริษทั ฯชำระค่าหุน้ แล้วหุน้ ละ 5 บาท คิดเป็นจำนวนเงิน 10.1 ล้านบาท

132

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

133

งบการเงินรวม

ราคาทุน/ราคาทีต่ ใี หม่ 31 ธันวาคม 2550 325,978 16,261,193 1,424,363 17,685,556 46,818 20,568 ซือ้ เพิม่ 230 - 626,199 626,199 11,434 - จำหน่าย - - (346,978) (346,978) (4,078) - โอนเข้า (ออก) - - - - 1,030 - 31 ธันวาคม 2551 326,208 16,261,193 1,703,584 17,964,777 55,204 20,568 ค่าเสือ่ มราคาสะสม 31 ธันวาคม 2550 137,727 7,791,111 588,820 8,379,931 34,357 8,941 ค่าเสือ่ มราคาสำหรับปี 9,483 498,689 544,998 1,043,687 5,753 3,563 ค่าเสือ่ มราคาสำหรับส่วนทีต่ รี าคาเพิม่ 20,258 - - - - - โอนออกสำหรับส่วนทีจ่ ำหน่าย - - (346,978) (346,978) (4,062) - 31 ธันวาคม 2551 167,468 8,289,800 786,840 9,076,640 36,048 12,504 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2550 188,251 8,470,082 835,543 9,305,625 12,461 11,627 31 ธันวาคม 2551 158,740 7,971,393 916,744 8,888,137 19,156 8,064 ค่าเสือ่ มราคาสำหรับปี 2550 2551

สิ่งตกแต่ง ติดตั้งและ อุปกรณ์ สำนักงาน ยานพาหนะ

สินทรัพย์ซึ่ง แสดงตาม ราคาที่ตีใหม่ สินทรัพย์ซึ่งแสดงตามราคาทุน

เรือเดินทะเลและอุปกรณ์ ค่าใช้จ่ายใน เรือและ การซ่อมแซม ที่ดินและ อุปกรณ์ และสำรวจเรือ รวม อาคารชุด

13. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

1,030 -

6,665 6,408

1,824,366 1,085,165

9,525,659 9,080,505

8,567,290 1,064,907 20,258 (352,541) 9,299,914

- - - - -

6,334 2,421 - (1,501) 7,254

รวม

1,030 18,092,949 - 640,550 - (353,080) (1,030) - 18,380,419

งาน ระหว่างทำ

12,999 2,687 (2,024) - 13,662

สิ่งปรับปรุง สินทรัพย์เช่า

(หน่วย: พันบาท)


(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ สิ่งตกแต่ง ติดตั้ง และอุปกรณ์ สำนักงาน ยานพาหนะ

สิ่งปรับปรุง สินทรัพย์เช่า

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2550 18,543 19,392 ซือ้ เพิม่ 8,388 - จำหน่าย (56) - โอนเข้า (ออก) 1,030 - 31 ธันวาคม 2551 27,905 19,392 ค่าเสือ่ มราคาสะสม 31 ธันวาคม 2550 10,568 7,765 ค่าเสือ่ มราคาสำหรับปี 4,226 3,563 โอนออกสำหรับส่วนทีจ่ ำหน่าย (41) - 31 ธันวาคม 2551 14,753 11,328 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2550 7,975 11,627 31 ธันวาคม 2551 13,152 8,064 ค่าเสือ่ มราคาสำหรับปี 2550 2551

7,634 2,687 - - 10,321 3,498 1,757 - 5,255 4,136 5,066

งาน ระหว่างทำ

รวม

1,030 - - (1,030) -

46,599 11,075 (56) 57,618

- - - -

21,831 9,546 (41) 31,336 1,030

24,768 26,282

7,512 9,546

-

ในปี 2549 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้จัดให้มีการประเมินราคาที่ดินและอาคารชุดโดยผู้ประเมินราคาอิสระโดยใช้วิธีเปรียบเทียบราคา ตลาด (Market Approach) หากบริษัทย่อยแสดงมูลค่าของที่ดินและอาคารชุดดังกล่าวด้วยวิธีราคาทุน มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 จะเป็นดังนี ้

(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม 2551 2550

134

ทีด่ นิ และอาคารชุด

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

34,799

39,481


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีอปุ กรณ์จำนวนหนึง่ ซึง่ ตัดค่าเสือ่ มราคาหมดแล้วแต่ยงั ใช้งานอยู่ ราคาทุนของ สินทรัพย์ดงั กล่าวมีจำนวนเงินประมาณ 4,151.1 ล้านบาท (2550: 1,037.8 ล้านบาท) ในงบการเงินรวม และประมาณ 6.1 ล้านบาท (2550: 6.0 ล้านบาท) ในงบการเงินเฉพาะกิจการ 14. คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ (หน่วย: พันบาท)

คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ ซือ้ เพิม่ ค่าตัดจำหน่ายสะสม สุทธิ ค่าตัดจำหน่ายทีร่ วมอยูใ่ นงบกำไรขาดทุนสำหรับปี

งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

44,269 12,027 (1,471) 54,825 697

38,646 5,623 (774) 43,495 209

15. เงินล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือ เมือ่ วันที่ 20 กรกฎาคม 2550 14 กันยายน 2550 และ 11 กุมภาพันธ์ 2551 บริษทั ฯได้ลงนามในสัญญาสัง่ ต่อเรือจำนวน 18 ฉบับกับ ผูร้ บั ต่อเรือรายหนึง่ เพือ่ สัง่ ต่อเรือประเภทขนส่งสินค้าเทกองจำนวน 18 ลำ (เรือขนาด handysize จำนวน 12 ลำ และเรือขนาด supramax จำนวน 6 ลำ) เป็นจำนวนเงินรวมประมาณ 588 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (หรือประมาณ 30 ล้านเหรียญสหรัฐฯต่อลำสำหรับเรือขนาด handysize และ 38 ล้านเหรียญสหรัฐฯต่อลำสำหรับเรือขนาด supramax) ทัง้ นี้ ราคาของสัญญาสัง่ ต่อเรือแต่ละลำจะถูกแบ่งชำระออกเป็น 5 งวด งวดละ ร้อยละ 20 ของสัญญาต่อเรือ การจ่ายเงินงวดดังกล่าว (ยกเว้นงวดที่ 5) บริษทั ฯจะจ่ายชำระเมือ่ บริษทั ฯได้รบั หนังสือค้ำประกันจากธนาคารเพือ่ ค้ำประกันการคืนเงินงวด (พร้อมดอกเบีย้ ร้อยละ 7.5 ต่อปี) ทีบ่ ริษทั ฯได้จา่ ยออกไปในกรณีทผี่ รู้ บั ต่อเรือไม่สามารถปฏิบตั ติ ามสัญญาสัง่ ต่อเรือ ได้ โดยเรือทีส่ งั่ ต่อใหม่มกี ำหนดการรับมอบเรือในปี 2553 ถึง 2556 อย่างไรก็ตาม ถ้าผูร้ บั ต่อเรือสามารถส่งมอบเรือให้บริษทั ฯก่อนกำหนด บริษทั ฯจะต้องจ่ายเงินส่วนเพิม่ ให้แก่ผรู้ บั ต่อเรือเป็นจำนวนเงินไม่เกิน 18.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯสำหรับเรือทัง้ หมดจำนวน 18 ลำ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 เงินล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือแสดงได้ดงั นี ้

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ

2551

2550

3,239,547 1,468,444 6,956 5,573 4,720,520

3,239,191 356 3,239,547

ยอดคงเหลือต้นปี จ่ายเพิม่ ต้นทุนดอกเบีย้ ต้นทุนอืน่ ยอดคงเหลือปลายปี

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

135


ในระหว่างปี 2551 บริษทั ฯได้จา่ ยเงินงวดให้แก่ผรู้ บั ต่อเรือเป็นจำนวนเงิน 44.0 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 1,468.4 ล้านบาท (2550: 94.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 3,239.2 ล้านบาท) ซึง่ เงินงวดทีจ่ า่ ยไปจำนวน 21.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 725.9 ล้านบาท เป็นการจ่ายชำระเงินงวดที่สองสำหรับเรือที่สั่งต่อเพิ่มจำนวน 3 ลำ โดยการจัดหาเงินจำนวนดังกล่าวได้มาจากการกู้ยืมเงินจาก ธนาคารต่างประเทศและในประเทศหลายแห่ง ในระหว่างปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษทั ฯได้รวมต้นทุนการกูย้ มื เข้าเป็นราคาทุนของเงิน ล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือเป็นจำนวน 7.0 ล้านบาท โดยคำนวณจากอัตราการตัง้ ขึน้ เป็นทุนในอัตราร้อยละ 4.74 - 5.14 16. ค่าธรรมเนียมทางการเงินรอตัดจ่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ค่าธรรมเนียมทางการเงินรอตัดจ่ายแสดงได้ดงั นี ้

(หน่วย: พันบาท)

ยอดคงเหลือต้นปี จ่ายเพิม่ ตัดจำหน่าย โอนไปเป็นเงินล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือ แสดงหักจากเงินกูย้ มื ระยะยาว ยอดคงเหลือปลายปี

งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

298,102 87,934 (50,670) (375) (4,251) 330,740

298,102 298,102

ในระหว่างปี 2551 บริษัทฯได้ตัดจำหน่ายค่าธรรมเนียมทางการเงินรอตัดจ่ายที่ได้จ่ายไปในปีก่อนๆ เป็นจำนวน 50.7 ล้านบาท สำหรับการขอวงเงินสินเชือ่ ตามทีไ่ ด้กล่าวไว้ในหมายเหตุ 19.1 และ 19.2 ซึง่ ระยะเวลาการเบิกถอนเงินกูต้ ามสัญญาดังกล่าวคาดว่าจะขยาย ออกไปอีก 1 ปี แต่จำนวนวงเงินสินเชือ่ จะลดลง อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯยังไม่ได้มกี ารลงนามในสัญญาใดๆเกีย่ วกับการขอขยายระยะเวลาการ เบิกถอนเงินกูท้ งั้ สองวงเงิน การตัดจำหน่ายค่าธรรมเนียมทางการเงินรอตัดจ่ายนีไ้ ด้ประมาณการโดยใช้หลักการจัดสรรตามสัดส่วนของวงเงินกู้ ทีค่ าดว่าจะลดลงซึง่ ปัจจุบนั กำลังอยูใ่ นระหว่างเจรจากับผูใ้ ห้ก ู้ ค่าธรรมเนียมทางการเงินรอตัดจ่ายจำนวน 4.3 ล้านบาท ได้แสดงเป็นรายการหักจากรายการเงินกู้ยืมระยะยาวในด้านหนี้สินตาม สัดส่วนการเบิกถอนเงินกูย้ มื ตามทีก่ ล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 19.3 17. เงินรับล่วงหน้าค่าขายเรือเดินทะเล ในระหว่างปี 2551 บริษัทย่อยในประเทศแห่งหนึ่งได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงขายเรือเดินทะเลมือสองจำนวนหนึ่งลำกับบริษัทต่าง ประเทศแห่งหนึง่ เป็นจำนวนเงิน 3.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยผูซ้ อื้ จะต้องจ่ายเงินมัดจำเป็นจำนวนเงิน 0.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ประมาณ 21.9 ล้านบาท) (ร้อยละ 20 ของราคาขายของเรือ) และส่วนทีเ่ หลือจะชำระในวันส่งมอบเรือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดได้รวมเงินรับล่วงหน้าข้างต้นจำนวน 0.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ประมาณ 21.9 ล้านบาท) ซึง่ อยูใ่ นบัญชีเงินฝากธนาคารทีเ่ ปิดร่วมกันระหว่างผูซ้ อื้ และผูข้ าย โดยเงินจำนวนดังกล่าวรวมถึงเงินส่วนทีเ่ หลืออีก ร้อยละ 80 ของราคาขายเรือจะถูกโอนเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของบริษทั ย่อยในต้นปี 2552 หลังจากบริษทั ย่อยได้สง่ มอบเรือให้ผซู้ อื้ ตามบันทึก ข้อตกลงขายเรือเดินทะเลดังกล่าวแล้ว

136

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


18. ผลประโยชน์พนักงานค้างจ่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ผลประโยชน์พนักงานค้างจ่ายสามารถแยกตามปีทจี่ ะถึงกำหนดจ่ายชำระให้แก่พนักงานได้ ดังนี ้

(หน่วย: บาท)

จ่ายชำระภายใน

1 ปี 2 - 3 ปี รวม

งบการเงินรวม 2551 2550

147,794,957 217,850,070 365,645,027

58,447,242 95,947,000 154,394,242

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

135,676,932 199,435,375 335,112,307

53,808,471 88,598,533 142,407,004

19. วงเงินกู้ยืมระยะยาว 19.1 เมือ่ วันที่ 22 สิงหาคม 2548 28 ธันวาคม 2549 และ 6 มีนาคม 2551 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยในประเทศได้ลงนามในสัญญา วงเงินสินเชื่อหมุนเวียนหลักแบบมีหลักประกันและสัญญาให้สินเชื่อแก้ไขเพิ่มเติม เพื่อขอขยายระยะเวลาการเบิกถอนเงินกู้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 กับธนาคารต่างประเทศหลายแห่งจำนวน 200 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดดอกเบีย้ ในอัตราร้อยละ LIBOR บวก 1.00 ถึง 1.40 ต่อปี โดยอ้างอิงกับงบการเงินทีไ่ ด้ปรับปรุงเป็นสกุลเงินเหรียญสหรัฐฯของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยในแต่ละไตรมาส โดยมีรายละเอียดดังนี ้ - วงเงินสินเชื่อหมุนเวียนมีวัตถุประสงค์ในการกู้ยืมเพื่อนำไปจัดซื้อเรือเดินทะเลโดยมีระยะเวลาเบิกถอนเงินกู้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และจะถูกแปลงสภาพโดยอัตโนมัตเิ ป็นวงเงินสินเชือ่ หมุนเวียนลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 หรือก่อน หน้านีถ้ า้ หากผูก้ แู้ ละผูใ้ ห้กมู้ กี ารตกลงยินยอมร่วมกัน - วงเงินสินเชือ่ หมุนเวียนลดลง มีกำหนดชำระคืนตามสัดส่วนทีร่ ะบุในสัญญาเป็นระยะเวลา 32 ไตรมาสเริม่ ตัง้ แต่มนี าคม 2552 หรือสามเดือนหลังจากการแปลงสภาพจากวงเงินสินเชื่อหมุนเวียนเป็นวงเงินสินเชื่อหมุนเวียนลดลง ถ้าได้เกิดขึ้น ก่อน วงเงินสินเชื่อดังกล่าวค้ำประกันโดยการจดจำนองเรือเดินทะเลของบริษัทย่อย การโอนผลประโยชน์ในกรมธรรม์ประกันภัยของเรือ เดินทะเลทีเ่ ป็นหลักประกันของบริษทั ย่อยให้แก่เจ้าหนี้ และการโอนผลประโยชน์ในเงินรายได้ของเรือเดินทะเลทีเ่ ป็นหลักประกันของบริษทั ย่อย ให้แก่เจ้าหนี ้ สัญญาเงินกูย้ มื ได้ระบุขอ้ ปฏิบตั แิ ละข้อจำกัดบางประการ เช่น การจ่ายเงินปันผลจะไม่สามารถกระทำได้ในกรณีทบี่ ริษทั ฯและบริษทั ย่อยผิดนัดชำระหนี้ การจำนอง/จำนำ การค้ำประกันหนีส้ นิ เงือ่ นไขในการจำหน่ายกองเรือบางลำ และการดำรงอัตราส่วนทางการเงิน อาทิ เช่น ก) ดำรงรักษาอัตราส่วน funded debt to total shareholders’ equity ไม่เกินกว่า 2 ต่อ 1 ข) ดำรงรักษาอัตราส่วน funded debt to EBITDA ไม่เกินกว่า 5 ต่อ 1 ค) ดำรงเงินทุนหมุนเวียนอย่างน้อยเท่ากับ 100,000 เหรียญสหรัฐฯ ต่อเรือเดินทะเล 1 ลำ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยยังไม่ได้มกี ารเบิกถอนเงินกูข้ า้ งต้น และกำลังอยูใ่ นระหว่างการเจรจากับผูใ้ ห้กเู้ พือ่ ขอขยายระยะเวลาการเบิกถอนเงินกูเ้ พิม่ ขึน้ อีก 1 ปี เป็นวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ซึง่ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยคาดว่าจะลงนามในสัญญาเพือ่ ขอ ขยายระยะเวลาการเบิกถอนเงินกู้กับผู้ให้กู้ในระยะเวลาอันสั้น แต่คาดว่าอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขบางส่วน อาทิเช่น วงเงินสินเชื่อ อัตราดอกเบีย้ และค่าธรรมเนียมการกูย้ มื 19.2 เมือ่ วันที่ 18 มกราคม 21 พฤษภาคม และ 29 ตุลาคม 2550 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยในประเทศได้ลงนามในสัญญาให้สนิ เชือ่ หลักและสัญญาให้สนิ เชือ่ แก้ไขเพิม่ เติม ตามลำดับ กับธนาคารพาณิชย์ในประเทศหลายแห่ง โดยมีรายละเอียดดังนี ้

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

137


ก) วงเงินกูจ้ ำนวน 300 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดดอกเบีย้ ในอัตราร้อยละ LIBOR บวก 2.2 ต่อปี เงินกูย้ มื ดังกล่าวมีวตั ถุประสงค์ เพื่อนำไปจัดซื้อเรือเดินทะเล โดยมีระยะเวลาเบิกถอนเงินกู้ภายในวันที่ 18 มกราคม 2552 และมีกำหนดชำระคืนตาม สัดส่วนทีร่ ะบุในสัญญาเป็นรายไตรมาสภายในระยะเวลา 12 ปี โดยเริม่ ต้นชำระเงินต้นหลังจากระยะเวลาปลอดการชำระ หนี้ 1 ปีสนิ้ สุดลงนับแต่วนั ทีม่ กี ารเบิกถอนเงินกูค้ รัง้ แรก ข) วงเงินสินเชือ่ แลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศจำนวน 5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ วงเงินให้สินเชื่อดังกล่าวจะต้องค้ำประกันโดยการจดจำนองเรือเดินทะเลของบริษัทย่อย การจำนำหุ้นของบริษัทย่อย การโอนผล ประโยชน์ในกรมธรรม์ประกันภัยของเรือเดินทะเลที่เป็นหลักประกันของบริษัทย่อยให้แก่เจ้าหนี้ และการโอนผลประโยชน์ในเงินรายได้ของเรือ เดินทะเลทีเ่ ป็นหลักประกันของบริษทั ย่อยให้แก่เจ้าหนีเ้ มือ่ มีการเบิกใช้วงเงินสินเชือ่ ภายใต้สญั ญาให้สนิ เชือ่ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยต้องปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขทางการเงินบางประการ อาทิเช่น ก) ดำรงรักษาอัตราส่วน a total debt to total shareholders’ equity ไม่เกินกว่า 2 ต่อ 1 ข) ดำรงรักษาอัตราส่วน a total debt to EBITDA ไม่เกินกว่า 5 ต่อ 1 ค) ดำรงเงินทุนหมุนเวียนอย่างน้อยเท่ากับ 100,000 เหรียญสหรัฐฯ ต่อเรือเดินทะเล 1 ลำ ง) ดำรงรักษาอัตราส่วน debt service coverage ไม่นอ้ ยกว่า 1.1 ต่อ 1 เงือ่ นไขทางการเงินข้อ ก) ค) และ ง) มีผลบังคับตัง้ แต่วนั ที่ 18 มกราคม 2550 ในขณะทีเ่ งือ่ นไขทางการเงินข้อ ข) มีผลบังคับในวัน ทีม่ กี ารเบิกใช้วงเงินกูค้ รัง้ แรก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยยังไม่ได้มกี ารเบิกถอนเงินกูข้ า้ งต้น และกำลังอยูใ่ นระหว่างการเจรจากับผูใ้ ห้กเู้ พือ่ ขอขยายระยะเวลาการเบิกถอนเงินกูเ้ พิม่ ขึน้ อีก 1 ปี เป็นวันที่ 18 มกราคม 2553 ซึง่ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยคาดว่าจะลงนามในสัญญาเพือ่ ขอ ขยายระยะเวลาการเบิกถอนเงินกูก้ บั ผูใ้ ห้กใู้ นระยะเวลาอันสัน้ แต่คาดว่าอาจจะมีการเปลีย่ นแปลงเงือ่ นไขบางส่วน อาทิเช่น วงเงินสินเชือ่ สกุล เงิน อัตราดอกเบีย้ และค่าธรรมเนียมการกูย้ มื 19.3 เมือ่ วันที่ 3 กรกฎาคม 2551 บริษทั ฯได้ลงนามในสัญญาวงเงินสินเชือ่ แบบมีหลักประกันกับธนาคารต่างประเทศและในประเทศ หลายแห่งจำนวน 398.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดดอกเบีย้ ในอัตราร้อยละ LIBOR บวกส่วนเพิม่ เงินกูย้ มื ดังกล่าวมีวตั ถุประสงค์เพือ่ นำไปใช้ใน การสัง่ ต่อเรือใหม่จำนวน 15 ลำ (เรือขนาด handysize จำนวน 9 ลำ และเรือขนาด supramax จำนวน 6 ลำ) จากเรือทีบ่ ริษทั ฯสัง่ ต่อใหม่ จำนวน 18 ลำ ซึง่ จำนวนเงินกูท้ งั้ หมดเท่ากับร้อยละ 80 ของราคาตามสัญญาสัง่ ต่อเรือ 15 ลำ รายละเอียดการเบิกใช้วงเงินสินเชือ่ ระยะเวลา ครบกำหนด การชำระคืน และหลักประกัน สามารถสรุปได้ดงั นี ้

สินเชื่อ/รายละเอียด

138

การเบิกใช้วงเงินสินเชือ่ ระยะเวลาครบกำหนด การชำระคืน

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

สินเชื่อสำหรับใช้ก่อนรับเรือ

ให้เป็นไปตามขัน้ ความสำเร็จของงานการต่อเรือ ทีร่ ะบุในสัญญาสัง่ ต่อเรือ โดยการเบิกใช้วงเงิน สินเชือ่ เท่ากับร้อยละ 60 ของราคาตามสัญญา สัง่ ต่อเรือแต่ละลำ เมือ่ ส่งมอบเรือแต่ละลำ จะถูกชำระคืนทัง้ หมดครัง้ เดียวเมือ่ รับเรือ แต่ละลำ

สินเชื่อสำหรับใช้เมื่อรับเรือ

ร้อยละ 100 ของวงเงินสินเชือ่ สำหรับใช้เมือ่ รับเรือ ซึง่ เท่ากับร้อยละ 80 ของราคาตามสัญญาสัง่ ต่อ เรือแต่ละลำ ซึง่ จะถูกเบิกถอนในเวลารับเรือ และ จะใช้วงเงินนีใ้ นการจ่ายคืนสินเชือ่ สำหรับใช้ ก่อนรับเรือเต็มจำนวน 10 ปี นับจากวันทีไ่ ด้รบั เรือลำแรก วงเงินสินเชือ่ ของเรือแต่ละลำจะชำระคืนเป็นงวด รายไตรมาส แต่ละงวดจะเท่ากับ 1/60 ของ สินเชือ่ สำหรับใช้เมือ่ รับเรือทัง้ หมด และส่วน ทีเ่ หลือจะเท่ากับเงินกูค้ งเหลือของส่วนนัน้ ๆ ซึง่ จะจ่ายชำระเมือ่ วันครบกำหนดสุดท้าย ทัง้ นี ้ การชำระเงินกูค้ นื งวดแรกจะเริม่ ขึน้ หลังจากได้รบั เรือแต่ละลำแล้ว 3 เดือน


สินเชื่อ/รายละเอียด

หลักประกัน

สินเชื่อสำหรับใช้ก่อนรับเรือ

สินเชื่อสำหรับใช้เมื่อรับเรือ

ก) การค้ำประกันจากบริษทั ฯ ถ้าบริษทั ฯ ไม่ได้เป็นผูก้ รู้ ว่ ม ข) การโอนผลประโยชน์เป็นลำดับแรก ในสัญญาสัง่ ต่อเรือ ค) การโอนผลประโยชน์เป็นลำดับแรกในสัญญา ค้ำประกันการคืนเงินรายงวดซึง่ เกีย่ วเนือ่ ง จากสัญญาสัง่ ต่อเรือของบริษทั ฯ

ก) การจดจำนองเรือให้เป็นลำดับแรก ข) การจำนำหุน้ ของบริษทั ย่อยทีเ่ ป็นเจ้าของเรือ ค) การค้ำประกันจากบริษทั ฯ ถ้าบริษทั ฯ ไม่ได้เป็นผูก้ รู้ ว่ ม ง) การโอนผลประโยชน์เป็นลำดับแรกของ ค่าชดเชยต่างๆของเรือ จ) การโอนผลประโยชน์เป็นลำดับแรกของ เงินประกันภัย ฉ) การโอนผลประโยชน์เป็นลำดับแรกของเงิน รายได้จากเรือและการจดจำนำบัญชีเงิน รายได้ ของเรือแต่ละลำและบัญชีเงินชำระ คืนของบริษทั ฯ

ภายใต้สญั ญาให้สนิ เชือ่ บริษทั ฯต้องปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขทางการเงินบางประการ อาทิเช่น ก) ดำรงรักษาอัตราส่วน funded debt to total shareholders’ equity ไม่เกินกว่า 2 ต่อ 1 ข) ดำรงรักษาอัตราส่วน funded debt to EBITDA ไม่เกินกว่า 5 ต่อ 1 ค) ดำรงเงินทุนหมุนเวียนอย่างน้อยเท่ากับ 100,000 เหรียญสหรัฐฯ ต่อเรือเดินทะเล 1 ลำ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 เงินกูย้ มื ระยะยาวแสดงได้ดงั นี ้

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

เงินกูย้ มื ระยะยาว หัก: ค่าธรรมเนียมทางการเงินรอตัดจ่าย เงินกูย้ มื ระยะยาว - สุทธิ

743,747 (4,251) 739,496

-

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยยังมีวงเงินกูย้ มื ข้อ 19.3 ทีย่ งั ไม่ได้เบิกใช้เป็นจำนวน 377.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ 20. แผนการเสนอขายหุ้นกู้ เมือ่ วันที่ 6 กรกฎาคม 2550 ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯได้มมี ติอนุมตั ใิ ห้บริษทั ฯหรือบริษทั ย่อยของบริษทั ฯซึง่ จะจัดตัง้ ขึน้ ใหม่ ออกและเสนอขายหุน้ กูภ้ ายในวงเงินไม่เกิน 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯหรือเทียบเท่าในเงินสกุลอืน่ ให้แก่ผลู้ งทุนในต่างประเทศ และมอบ อำนาจให้คณะกรรมการบริษทั ฯมีอำนาจพิจารณากำหนดรายละเอียดอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการออกและเสนอขายหุน้ กูใ้ นภายหลัง เช่น ประเภท มูลค่า สกุลเงิน อัตราดอกเบีย้ ระยะเวลาครบกำหนด ระยะเวลาไถ่ถอน วิธกี ารเสนอขาย ระยะเวลาจองซือ้ วิธกี ารจัดสรรหุน้ กู้ และอืน่ ๆ เป็นต้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษทั ฯหรือบริษทั ย่อยข้างต้นยังไม่ได้ออกและเสนอขายหุน้ กูด้ งั กล่าว

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

139


21. ทุนเรือนหุ้นและหุ้นปันผล 21.1 เมือ่ วันที่ 24 เมษายน 2550 ทีป่ ระชุมสามัญประจำปีผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯได้มมี ติดงั นี ้ ก) อนุมตั เิ พิม่ ทุนจดทะเบียนจากเดิม 520 ล้านบาท เป็น 1,040 ล้านบาท โดยการออกหุน้ สามัญเพิม่ ทุนจำนวน 520 ล้านหุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เพื่อรองรับการจ่ายหุ้นปันผล ซึ่งบริษัทฯได้นำหุ้นเพิ่มทุนดังกล่าวไปจดทะเบียนเพิ่มทุนกับ กระทรวงพาณิชย์เมือ่ วันที่ 27 เมษายน 2550 ข) อนุมตั ใิ ห้บริษทั ฯจ่ายหุน้ ปันผลจากกำไรของปี 2549 โดยให้โอนกำไรสะสมจำนวน 520 ล้านบาทออก เพือ่ จัดสรรเป็นหุน้ ปันผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ หุน้ ละ 1 บาท ในอัตราส่วน 1 หุน้ เดิมต่อ 1 หุน้ ใหม่ รวมเป็นจำนวน 520 ล้านหุน้ ณ วันทีป่ ดิ สมุด ทะเบียนหุน้ จำนวนหุน้ ของบริษทั ฯทีถ่ อื โดยบุคคลภายนอกและมีสทิ ธิได้รบั หุน้ ปันผลมีจำนวน 519,520,600 หุน้ (หลังจาก หักหุน้ ทีไ่ ม่มสี ทิ ธิได้รบั เงินปันผลซึง่ เป็นหุน้ ทีบ่ ริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด รับเป็นนายทะเบียนให้ จำนวน 479,400 หุน้ จากจำนวนหุน้ ทีม่ อี ยู่ 520,000,000 หุน้ ) รวมเป็นหุน้ ปันผลจ่ายทัง้ สิน้ 519.5 ล้านบาท ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ ได้ยนื่ ขอให้ตลาดหลักทรัพย์รบั หุน้ เพิม่ ทุนจำนวน 519,520,600 หุน้ เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนเพิม่ เติมและได้รบั อนุมตั เิ มือ่ วันที่ 3 พฤษภาคม 2550 21.2 เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2550 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯได้มีมติอนุมัติลดทุนจดทะเบียนของบริษัทฯจากเดิม 1,040,000,000 บาทเป็น 1,039,520,600 บาท โดยการยกเลิกหุน้ ทุนจดทะเบียนซึง่ ยังมิได้ออกจำหน่ายจำนวน 479,400 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท ซึง่ เป็นหุน้ ทีบ่ ริษทั ฯประสงค์จะจัดสรรให้แก่ผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯในรูปของหุน้ ปันผลแต่ไม่สามารถจัดสรรหุน้ ดังกล่าวได้ เนือ่ งจากบริษทั ฯ ไม่สามารถระบุชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิได้รับการจัดสรรหุ้นนั้นได้ บริษัทฯได้จดทะเบียนการลดทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์แล้วเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2550 22. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ของบริษัทย่อย ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ของบริษทั ย่อย คือส่วนเกินทุนจากการตีราคาทีด่ นิ และอาคารชุด ส่วนเกินทุนดังกล่าวจะทยอย ตัดจำหน่ายโดยใช้วธิ เี ส้นตรงตามอายุการใช้งานทีเ่ หลืออยูข่ องสินทรัพย์นนั้ และบันทึกโอนไปยังกำไรสะสมโดยตรง

(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม 2551 2550

ยอดคงเหลือต้นปี หัก: การตัดจำหน่าย ยอดคงเหลือปลายปี

123,966 (20,254) 103,712

144,279 (20,313) 123,966

ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ดงั กล่าวไม่สามารถนำไปหักกับขาดทุนสะสมและไม่สามารถนำไปจ่ายเงินปันผลได้ 23. สำรองตามกฎหมาย เพือ่ ให้เป็นไปตามมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริษทั ฯต้องจัดสรรกำไรสุทธิประจำปีสว่ นหนึง่ ไว้ เป็นทุนสำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปีหักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำรองนี้จะมีจำนวนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำรองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนำไปจ่ายเงินปันผลได้ ตามมาตรา 1202 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บริษทั ย่อยทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ตามกฎหมายไทยต้องจัดสรรทุนสำรองตามกฎหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของจำนวนผลกำไรซึ่งบริษัททำมาหาได้ทุกคราวที่จ่ายเงินปันผลจนกว่าทุนสำรองนั้นจะมีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียนของบริษทั สำรองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนำไปหักกับขาดทุนสะสมและไม่สามารถนำไปจ่ายเงินปันผลได้

140

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


24. สำรองหุ้นทุนซื้อคืน ตามหนังสือสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ กลต.ชส. (ว) 2/2548 และหนังสือสภาวิชาชีพบัญชีที่ ส.สวบช. 016/2548 บริษทั มหาชนจำกัดทีม่ กี ารซือ้ หุน้ คืนต้องมีกำไรสะสมไม่นอ้ ยกว่ามูลค่าหุน้ ซือ้ คืนทีย่ งั คงเหลืออยูใ่ นบัญชี และในกรณีทจี่ ะ นำกำไรสะสมไปจ่ายเงินปันผล กำไรสะสมคงเหลือหลังจากจ่ายเงินปันผลต้องมีจำนวนไม่นอ้ ยกว่าหุน้ ซือ้ คืนทีย่ งั คงเหลืออยูใ่ นบัญชีดว้ ยเช่นกัน ดังนัน้ บริษทั ฯได้ถอื ปฏิบตั ติ ามแนวทางดังกล่าว โดยการจัดสรรกำไรสะสมเป็นสำรองหุน้ ทุนซือ้ คืนเท่ากับจำนวนเงินทีไ่ ด้จา่ ยซือ้ หุน้ คืน 25. หุ้นทุนซื้อคืน ในระหว่างปี 2550 บริษทั ฯได้จำหน่ายหุน้ ทุนซือ้ คืนจำนวน 12.3 ล้านหุน้ ซึง่ มีราคาทุน 414.9 ล้านบาท ในราคาขายรวม 566.2 ล้าน บาท การจำหน่ายหุน้ ทุนซือ้ คืนดังกล่าวได้ดำเนินการในตลาดหลักทรัพย์โดยกำหนดราคาจำหน่ายหุน้ ทุนซือ้ คืนจากราคาตลาดของหุน้ ณ วันที่ ขาย ทัง้ นี้ บริษทั ฯได้บนั ทึกผลต่างของราคาขายทีส่ งู กว่าราคาซือ้ ของหุน้ ทุนซือ้ คืนจำนวนประมาณ 151.3 ล้านบาท ใน “ส่วนเกินทุนหุน้ ทุนซือ้ คืน” ในส่วนของผูถ้ อื หุน้ และโอนกลับสำรองหุน้ ทุนซือ้ คืนไปยังกำไรสะสมทีย่ งั ไม่ได้จดั สรร 26. สำรองเพื่อกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม บริษทั ฯมีนโยบายในการจัดสรรเงินสำรองเพือ่ กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมในอัตราร้อยละ 0.5 ของกำไรสุทธิแต่ละปี โดยสะสม ไม่นอ้ ยกว่า 1.75 ล้านบาทแต่ไม่เกิน 25 ล้านบาทต่อปี การจัดสรรสำรองดังกล่าวได้รบั อนุมตั โิ ดยทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯเมือ่ วันที่ 14 สิงหาคม 2551 27. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ รายการค่าใช้จา่ ยตามลักษณะทีส่ ำคัญได้แก่

(หน่วย: พันบาท)

เงินเดือนและค่าแรงและผลประโยชน์อน่ื ของพนักงานและลูกเรือ ค่าเช่าจ่าย

งบการเงินรวม 2551 2550

1,580,625 3,012

1,325,844 3,751

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

453,474 2,235

322,612 2,413

28. ขาดทุนจากสัญญาอนุพันธ์ทางการเงิน

Treasury Rate Lock Agreements

Treasury Lock คือ เครือ่ งมือทางการเงินประเภทหนึง่ ทีท่ ำกับธนาคารเพือ่ ทำสัญญาขายล่วงหน้าสำหรับพันธบัตรรัฐบาลหรือหุน้ กูข้ อง ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยการจ่ายชำระเงินในวันทีค่ รบกำหนด จะอ้างอิงกับความแตกต่างของอัตราดอกเบี้ยของพันธบัตรรัฐบาลที่ตกลงกัน (ในทีน่ หี้ มายถึง อัตราทีต่ กลงกัน) กับอัตราดอกเบีย้ พันธบัตรรัฐบาลในท้องตลาดทัว่ ไปของประเทศสหรัฐฯ ถ้าหากว่าอัตราทัว่ ไปสูงกว่าอัตราที่ ตกลงกันไว้ธนาคารจะต้องจ่ายเงินส่วนต่างนี้ ในทางตรงกันข้าม หากอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาลในท้องตลาดต่ำกว่าอัตราที่ตกลงกันไว้ ธนาคารจะได้รบั ส่วนต่าง โดยทัว่ ไปแล้ว Treasury Lock เป็นเครือ่ งมือป้องกันความเสีย่ งอย่างหนึง่ สำหรับบริษทั เพือ่ “กำหนด” อัตราดอกเบีย้ พันธบัตรรัฐบาลทีค่ าดว่าจะใช้เป็นฐานในการกำหนดราคาสำหรับการออกหุน้ กูใ้ ห้ทงั้ แก่ประชาชนทัว่ ไปหรือแบบเฉพาะเจาะจง สำหรับการออกและเสนอขายหุน้ กูท้ ไี่ ด้รบั การอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯเมือ่ ไม่นานมานี้ ด้วยวัตถุประสงค์ในการกำหนด อัตราดอกเบีย้ พันธบัตรรัฐบาลทีแ่ น่นอน เพือ่ จะใช้เป็นฐานในการกำหนดราคาสำหรับการออกหุน้ กูน้ นั้ ดังนัน้ บริษทั ย่อยในประเทศ 2 แห่ง ได้ ทำสัญญา Treasury Lock Contracts จำนวนเงินต้นรวม 200 ล้านเหรียญสหรัฐฯ กับสาขาของธนาคารต่างประเทศแห่งหนึง่ สัญญาดังกล่าวมี ระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนและครบกำหนดในวันที่ 25 ตุลาคม 2550 (วันครบกำหนด) และถูกค้ำประกันโดยบริษทั ฯ ในวันครบกำหนดบริษทั ย่อยดังกล่าวจะจ่ายส่วนต่างให้กบั ธนาคารโดยใช้ฐานของอัตราทีก่ ำหนดไว้ในสัญญา คือ ร้อยละ 5.03 รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

141


ในเดือนตุลาคม 2550 ก่อนวันทีค่ รบกำหนดตามสัญญา บริษทั ย่อยดังกล่าวได้ทยอยยกเลิกสัญญา Treasury Lock Contracts ใน หลายวัน เป็นจำนวนเงินต้นรวม 200 ล้านเหรียญสหรัฐฯกับธนาคารดังกล่าว โดยเกิดขาดทุนจากสัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงินดังกล่าวเป็นจำนวน เงิน 7.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ประมาณ 242.0 ล้านบาท) ซึง่ บันทึกอยูใ่ นบัญชี “ขาดทุนจากสัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงิน” ในงบกำไรขาดทุน 29. ภาษีเงินได้นิติบุคคล บริษทั ฯไม่มภี าระภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลสำหรับปี 2551 และ 2550 เนือ่ งจากบริษทั ฯมีผลขาดทุนทางภาษียกมาจากปีกอ่ น บริษทั ย่อยได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับเงินได้จากการขนส่งสินค้าทางทะเลระหว่างประเทศ ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกีย่ ว กับภาษีเงินได้ฉบับที่ 72 ลงวันที่ 1 มกราคม 2541 นอกจากนี้ บริษทั ย่อยยังได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลตามพระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมการ ลงทุน พ.ศ. 2520 สำหรับกิจการขนส่งทางทะเลสำหรับเรือเดินทะเล ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลของบริษทั ย่อยในประเทศคำนวณขึน้ ในอัตราร้อยละ 30 สำหรับกำไรจากกิจกรรมทีไ่ ม่ได้รบั การยกเว้นภาษีเงิน ได้หลังจากบวกกลับด้วยรายการสำรองและค่าใช้จา่ ยต่างๆ ทีไ่ ม่อนุญาตให้ถอื เป็นรายจ่ายในการคำนวณภาษี ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลของบริษทั ย่อยในต่างประเทศคำนวณขึน้ โดยใช้อตั ราตามกฎหมายของประเทศเหล่านัน้ 30. การส่งเสริมการลงทุน บริษทั ฯได้รบั สิทธิและประโยชน์ภายใต้พระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมการลงทุนโดยการอนุมตั ขิ องคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนตามบัตร ส่งเสริมเลขที่ 1405/2550 ลงวันที่ 23 มีนาคม 2550 ภายใต้เงือ่ นไขทีก่ ำหนดบางประการ บริษทั ฯได้รบั สิทธิและประโยชน์ทสี่ ำคัญเกีย่ วกับ การนำคนต่างด้าวซึ่งเป็นช่างฝีมือหรือผู้ชำนาญการเข้ามาในประเทศไทยโดยได้รับอนุญาตให้ทำงานเฉพาะตำแหน่งหน้าที่การทำงานที่คณะ กรรมการให้ความเห็นชอบตลอดระยะเวลาเท่าทีไ่ ด้รบั อนุญาต และได้รบั อนุญาตให้ถอื กรรมสิทธิใ์ นทีด่ นิ ตามจำนวนทีค่ ณะกรรมการพิจารณา เห็นสมควร ตลอดจนได้รบั อนุญาตให้นำหรือส่งเงินออกนอกประเทศไทยเป็นเงินตราต่างประเทศได้ บริษัทย่อยได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีบางประการตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 สำหรับกิจการขนส่งทางทะเล สำหรับเรือเดินทะเล อาทิเช่น ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลเป็นเวลา 8 ปี นับแต่วนั ทีเ่ ริม่ มีรายได้จากการประกอบกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริม เป็นต้น โดยมีเงื่อนไขว่าบริษัทย่อยจะต้องจดทะเบียนเรือเดินทะเลของบริษัทย่อยเป็นเรือไทย ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทย่อย 34 บริษทั ได้จดทะเบียนเรือจำนวน 43 ลำเป็นเรือไทยแล้ว รายได้รวมและค่าใช้จา่ ยรวมสำหรับปี 2551 และ 2550 (ก่อนการตัดรายการระหว่างกัน) จำแนกตามกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมและ กิจการทีไ่ ม่ได้รบั การส่งเสริมสามารถแสดงสรุปได้ดงั นี ้

(หน่วย: พันบาท)

กิจการที่ ไม่ ได้รับการส่งเสริม

กิจการที่ ได้รับการส่งเสริม 2551 2550

142

รายได้ ต้นทุนและค่าใช้จา่ ย กำไรสุทธิ

กิจการที่ ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ฉบับที่ 72 2551 2550

กิจการที่ ไม่ ได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้ 2551 2550

รวม 2551

2550

4,889,451 4,318,407 3,576,784 2,912,534 5,118,303 6,542,008 13,584,538 13,772,949 (1,901,146) (2,557,028) (1,151,634) (1,256,902) (905,871) (1,282,392) (3,958,651) (5,096,322) 2,988,305 1,761,379 2,425,150 1,655,632 4,212,432 5,259,616 9,625,887 8,676,627

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


31. กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานสำหรับปี 2551 คำนวณโดยการหารกำไรสุทธิสำหรับปีดว้ ยจำนวนถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนักของหุน้ สามัญทีถ่ อื โดย บุคคลภายนอกทีอ่ อกอยูในระหว่างปี กำไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานสำหรับปี 2550 คำนวณโดยการหารกำไรสุทธิสำหรับปีดว้ ยจำนวนถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนักของหุน้ สามัญทีถ่ อื โดย บุคคลภายนอกที่ออกอยู่ในระหว่างปี โดยสุทธิจากหุ้นสามัญซื้อคืนที่ถือโดยบริษัทฯและได้ปรับจำนวนหุ้นสามัญที่ถือโดยบุคคลภายนอกตาม สัดส่วนทีเ่ ปลีย่ นไปของจำนวนหุน้ สามัญทีเ่ กิดจากการออกหุน้ ปันผลตามทีก่ ล่าวไว้ในหมายเหตุ 21 32. ข้อมูลทางการเงินจำแนกส่วนงาน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยประกอบธุรกิจส่วนใหญ่ภายใต้สว่ นงานทางธุรกิจเดียว คือ เป็นเจ้าของเรือเอนกประสงค์ขนาดเล็กสำหรับขน สินค้าแห้งเทกอง (small handy sized dry bulk ships) ระหว่างประเทศ โดยให้บริการแบบไม่ประจำเส้นทาง (tramp shipping basis) รายได้ เกือบทัง้ หมดมาจากส่วนงานนี้ ดังนัน้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจึงไม่มสี ว่ นงานทางธุรกิจด้านอืน่ นอกจากส่วนงานหลักดังทีไ่ ด้กล่าวไว้ขา้ งต้น กิจกรรมทางธุรกิจในส่วนงานนี้ ได้แก่ การให้บริการเช่าเรือขนส่งสินค้า โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การเช่าเป็นระยะเวลา (Time charter) และการเช่าเป็นรายเทีย่ ว (Voyage charter) สำหรับการเช่าเป็นระยะเวลาผูเ้ ช่าเรือ (ลูกค้า) จะจ่ายค่าเช่าแก่ผใู้ ห้เช่าเรือ (ใน อัตราต่อวันตามทีต่ กลงกัน โดยส่วนใหญ่จะตกลงชำระค่าเช่าเป็นเงินดอลล่าร์สหรัฐฯ) ตามระยะเวลาทีก่ ำหนด ในกรณีดงั กล่าว ผูเ้ ช่าเรือจะรับ ผิดชอบค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือทัง้ หมด รวมทัง้ รายจ่ายท่าเรือและน้ำมันเชือ้ เพลิง สำหรับการเช่าเป็นรายเทีย่ ว ผูเ้ ช่าเรือจะจ่ายค่าระวางเรือใน อัตราต่อตัน (ส่วนใหญ่จะตกลงกันเป็นเงินดอลล่าร์สหรัฐฯ) เพือ่ ขนส่งสินค้าทีร่ ะบุเฉพาะระหว่างท่าเรือทีก่ ำหนดตัง้ แต่สองท่าขึน้ ไป ในกรณีนี้ บริษทั ฯ (หรือบริษทั ย่อย) จะรับผิดชอบค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือทัง้ หมด ซึง่ ค่าใช้จา่ ยดังกล่าวแสดงไว้ในงบการเงินภายใต้ชอื่ “รายจ่ายท่าเรือ” (Voyage disbursement) และ “น้ำมันเชือ้ เพลิง” (Bunker consumption) การเช่าเป็นระยะเวลานัน้ เส้นทางเดินเรือจะถูกกำหนดหรือควบคุม โดยผูเ้ ช่าเรือและภายใต้สญั ญาเช่าเรือ โดยเส้นทางการเดินเรือจะแตกต่างกันไปในแต่ละเทีย่ วการเดินเรือ ขึน้ อยูก่ บั ปัจจัยต่างๆ ซึง่ อยูน่ อกเหนือ การควบคุมของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ดังนัน้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจึงไม่นำเสนอข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงานทางภูมศิ าสตร์ เพราะ อาจไม่สอื่ ความหมายและอาจทำให้เกิดความเข้าใจทีไ่ ม่ถกู ต้อง จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงานของรายได้จากการเดินเรือ (และค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือทีเ่ กีย่ วกับ การเช่าเป็นรายเทีย่ ว) จึงจำแนกได้เป็นสองประเภท คือ รายได้จากการเช่าเป็นระยะเวลา และการเช่าเป็นรายเทีย่ ว ซึง่ แสดงภายใต้ชอื่ “ราย ได้คา่ เช่าเรือ” (Hire income) และ “รายได้คา่ ระวางเรือ” (Freight income) ตามลำดับดังนี ้

(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม

รายได้คา่ เช่าเรือ รายได้คา่ ระวางเรือ รวมรายได้จากการเดินเรือ รายจ่ายท่าเรือ น้ำมันเชือ้ เพลิง รวมค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับการเช่า เป็นรายเทีย่ ว รายได้จากการเดินเรือสุทธิ/ รายได้เทียบเท่าจากการเช่า เรือเป็นระยะเวลา

การเช่าเป็นระยะเวลา การเช่าเป็นรายเที่ยว รวม 2551 2550 2551 2550 2551 2550

ตัดบัญชี 2551 2550

8,372,920 6,969,502 - - 8,372,920 6,969,502 (35,815) - - 251,430 372,933 251,430 372,933 (52,735) 8,372,920 6,969,502 251,430 372,933 8,624,350 7,342,435 (88,550) - - (121,246) (108,093) (121,246) (108,093) 88,550 - - (37,805) (60,213) (37,805) (60,213) - - - (159,051) (168,306) (159,051) (168,306) 88,550 8,372,920 6,969,502 92,379 204,627 8,465,299 7,174,129 -

รวม 2551

2550

- 8,337,105 6,969,502 (54,066) 198,695 318,867 (54,066) 8,535,800 7,288,369 54,066 (32,696) (54,027) - (37,805) (60,213) 54,066 (70,501) (114,240) -

8,465,299 7,174,129

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

143


ในระหว่างปี 2551 เงินชดเชยจากการยกเลิกสัญญาเช่าเป็นระยะเวลาจำนวนประมาณ 31.3 ล้านบาท ได้บนั ทึกรวมอยูใ่ นบัญชี “ราย ได้คา่ เช่าเรือ” ในงบกำไรขาดทุน 33. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บริษัทฯ บริษัทย่อย และพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 บริษทั ฯ บริษทั ย่อย และพนักงานจะจ่ายสมทบเข้ากองทุนเป็นรายเดือนในอัตราร้อยละ 5 ของเงินเดือน กองทุนสำรองเลีย้ งชีพนีบ้ ริหารโดย ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และจะจ่ายให้แก่พนักงานเมือ่ พนักงานออกจากงานตามระเบียบว่าด้วยกองทุนของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ใน ระหว่างปี 2551 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้จา่ ยเงินสมทบกองทุนเป็นจำนวนเงิน 2.5 ล้านบาท (2550: 2.1 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 2.2 ล้านบาท 2550: 1.8 ล้านบาท) 34. เงินสดปันผล เงินปันผลทีป่ ระกาศจ่ายในปี 2551 มีดงั นี ้ อนุมัติโดย

ก) เงินปันผลระหว่างกาลจากผลการ ดำเนินงานสำหรับงวดเก้าเดือน สิน้ สุดวันที่ 30 กันยายน 2551

ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2551

รวมเงินปันผล เงินปันผลต่อหุ้น (ล้านบาท) (บาท)

779.5

0.75

ณ วันทีป่ ดิ สมุดทะเบียนหุน้ จำนวนหุน้ ของบริษทั ฯทีถ่ อื โดยบุคคลภายนอกและมีสทิ ธิได้รบั เงินปันผลมีจำนวน 1,039,379,300 หุน้ (หลังจากหักหุน้ ทีไ่ ม่มสี ทิ ธิได้รบั เงินปันผลงวดสุดท้ายซึง่ บริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด เพือ่ ผูฝ้ าก เป็นผูถ้ อื หุน้ แทนผูถ้ อื หุน้ สัญชาติไทยและสัญชาติตา่ งด้าว รับเป็นนายทะเบียนให้จำนวน 141,300 หุน้ จากจำนวนหุน้ ทีม่ อี ยู่ 1,039,520,600 หุน้ ) รวมเป็นเงินปันผล จ่ายทัง้ สิน้ 779.5 ล้านบาท อนุมัติโดย

ข) เงินปันผลระหว่างกาลจากผลการ ดำเนินงานสำหรับงวดหกเดือน สิน้ สุดวันที่ 30 มิถนุ ายน 2551

ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ วันที่ 14 สิงหาคม 2551

รวมเงินปันผล เงินปันผลต่อหุ้น (ล้านบาท) (บาท)

779.5

0.75

ณ วันทีป่ ดิ สมุดทะเบียนหุน้ จำนวนหุน้ ของบริษทั ฯทีถ่ อื โดยบุคคลภายนอกและมีสทิ ธิได้รบั เงินปันผลมีจำนวน 1,039,380,300 หุน้ (หลังจากหักหุน้ ทีไ่ ม่มสี ทิ ธิได้รบั เงินปันผลงวดสุดท้ายซึง่ บริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด เพือ่ ผูฝ้ าก เป็นผูถ้ อื หุน้ แทนผูถ้ อื หุน้ สัญชาติไทยและสัญชาติตา่ งด้าว รับเป็นนายทะเบียนให้จำนวน 140,300 หุน้ จากจำนวนหุน้ ทีม่ อี ยู่ 1,039,520,600 หุน้ ) รวมเป็นเงินปันผล จ่ายทัง้ สิน้ 779.5 ล้านบาท

144

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


อนุมัติโดย

ค) เงินปันผลระหว่างกาลจากผลการ ดำเนินงานสำหรับงวดสามเดือน สิน้ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2551

ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ วันที่ 22 พฤษภาคม 2551

รวมเงินปันผล เงินปันผลต่อหุ้น (ล้านบาท) (บาท)

519.7

0.50

ณ วันทีป่ ดิ สมุดทะเบียนหุน้ จำนวนหุน้ ของบริษทั ฯทีถ่ อื โดยบุคคลภายนอกและมีสทิ ธิได้รบั เงินปันผลมีจำนวน 1,039,304,995 หุน้ (หลังจากหักหุน้ ทีไ่ ม่มสี ทิ ธิได้รบั เงินปันผลซึง่ เป็นหุน้ ทีบ่ ริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด เพือ่ ผูฝ้ าก เป็นผูถ้ อื หุน้ แทนผูถ้ อื หุน้ สัญชาติไทยและสัญชาติตา่ งด้าว รับเป็นนายทะเบียนให้จำนวน 215,605 หุน้ จากจำนวนหุน้ ทีม่ อี ยู่ 1,039,520,600 หุน้ ) รวมเป็นเงินปันผลจ่าย ทัง้ สิน้ 519.7 ล้านบาท อนุมัติโดย

ง) เงินปันผลงวดสุดท้ายจากกำไร ปี 2550

ทีป่ ระชุมสามัญประจำปีผถู้ อื หุน้ วันที่ 27 มีนาคม 2551

รวมเงินปันผล เงินปันผลต่อหุ้น (ล้านบาท) (บาท)

779.5

0.75

ณ วันที่ปิดสมุดทะเบียนหุ้น จำนวนหุ้นของบริษัทฯที่ถือโดยบุคคลภายนอกและมีสิทธิได้รับ เงินปันผลงวดสุดท้ายมีจำนวน 1,039,311,395 หุน้ (หลังจากหักหุน้ ทีไ่ ม่มสี ทิ ธิได้รบั เงินปันผลงวดสุดท้ายซึง่ บริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด เพือ่ ผูฝ้ าก เป็น ผูถ้ อื หุน้ แทนผูถ้ อื หุน้ สัญชาติไทยและสัญชาติตา่ งด้าว รับเป็นนายทะเบียนให้จำนวน 209,205 หุน้ จากจำนวนหุน้ ทีม่ อี ยู่ 1,039,520,600 หุน้ ) รวมเป็นเงินปันผลจ่ายทัง้ สิน้ 779.5 ล้านบาท เงินปันผลทีป่ ระกาศจ่ายในปี 2550 มีดงั นี ้ อนุมัติโดย

ก) เงินปันผลระหว่างกาลจากผลการ ดำเนินงานสำหรับงวดเก้าเดือน สิน้ สุดวันที่ 30 กันยายน 2550

ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2550

รวมเงินปันผล เงินปันผลต่อหุ้น (ล้านบาท) (บาท)

519.7

0.50

ณ วันทีป่ ดิ สมุดทะเบียนหุน้ จำนวนหุน้ ของบริษทั ฯทีถ่ อื โดยบุคคลภายนอกและมีสทิ ธิได้รบั เงินปันผลมีจำนวน 1,039,307,700 หุน้ (หลังจากหักหุ้นที่ไม่มีสิทธิได้รับเงินปันผลซึ่งเป็นหุ้นที่บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด รับเป็นนายทะเบียนให้จำนวน 212,900 หุน้ จากจำนวนหุน้ ทีม่ อี ยู่ 1,039,520,600 หุน้ ) รวมเป็นเงินปันผลจ่ายทัง้ สิน้ 519.7 ล้านบาท

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

145


อนุมัติโดย

ข) เงินปันผลระหว่างกาลจากผลการ ดำเนินงานสำหรับงวดหกเดือน สิน้ สุดวันที่ 30 มิถนุ ายน 2550

ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ วันที่ 8 สิงหาคม 2550

รวมเงินปันผล เงินปันผลต่อหุ้น (ล้านบาท) (บาท)

519.7

0.50

ณ วันทีป่ ดิ สมุดทะเบียนหุน้ จำนวนหุน้ ของบริษทั ฯทีถ่ อื โดยบุคคลภายนอกและมีสทิ ธิได้รบั เงินปันผลมีจำนวน 1,039,369,600 หุน้ (หลังจากหักหุ้นที่ไม่มีสิทธิได้รับเงินปันผลซึ่งเป็นหุ้นที่บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด รับเป็นนายทะเบียนให้จำนวน 151,000 หุน้ จากจำนวนหุน้ ทีม่ อี ยู่ 1,039,520,600 หุน้ ) รวมเป็นเงินปันผลจ่ายทัง้ สิน้ 519.7 ล้านบาท อนุมัติโดย

ค) เงินปันผลระหว่างกาลจากผลการ ดำเนินงานสำหรับงวดสามเดือน สิน้ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2550

ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ วันที่ 7 พฤษภาคม 2550

รวมเงินปันผล เงินปันผลต่อหุ้น (ล้านบาท) (บาท)

519.5

0.50

ณ วันทีป่ ดิ สมุดทะเบียนหุน้ จำนวนหุน้ ของบริษทั ฯทีถ่ อื โดยบุคคลภายนอกและมีสทิ ธิได้รบั เงินปันผลมีจำนวน 1,039,040,700 หุน้ (หลังจากหักหุ้นที่ไม่มีสิทธิได้รับเงินปันผลซึ่งเป็นหุ้นที่บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด รับเป็นนายทะเบียนให้จำนวน 479,900 หุน้ จากจำนวนหุน้ ทีม่ อี ยู่ 1,039,520,600 หุน้ ) รวมเป็นเงินปันผลจ่ายทัง้ สิน้ 519.5 ล้านบาท อนุมัติโดย

ง) เงินปันผลจากกำไรปี 2549

ทีป่ ระชุมสามัญประจำปีผถู้ อื หุน้ วันที่ 24 เมษายน 2550

รวมเงินปันผล เงินปันผลต่อหุ้น (ล้านบาท) (บาท)

1,096.2

2.11

ณ วันที่ปิดสมุดทะเบียนหุ้น จำนวนหุ้นของบริษัทฯที่ถือโดยบุคคลภายนอกและมีสิทธิได้รับเงินปันผลมีจำนวน 519,520,600 หุ้น (หลังจากหักหุ้นที่ไม่มีสิทธิได้รับเงินปันผลซึ่งเป็นหุ้นที่บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด รับเป็นนายทะเบียนให้จำนวน 479,400 หุน้ จากจำนวนหุน้ ทีม่ อี ยู่ 520,000,000 หุน้ ) รวมเป็นเงินปันผลจ่ายทัง้ สิน้ 1,096.2 ล้านบาท

146

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


35. ภาระผูกพัน

35.1 ภาระผูกพันเกีย่ วกับสัญญาสัง่ ต่อเรือ

35.2 ภาระผูกพันเกีย่ วกับค่าธรรมเนียมในการรักษาวงเงินกูท้ ยี่ งั ไม่ได้เบิกใช้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษทั ฯมีภาระผูกพันเกีย่ วกับสัญญาสัง่ ต่อเรือทีจ่ ะต้องจ่ายในอนาคตเป็นจำนวน 449.2 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ หรือประมาณ 15,759.0 ล้านบาท (2550: 379.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯหรือประมาณ 12,849.2 ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีภาระผูกพันเกีย่ วกับค่าธรรมเนียมในการรักษาวงเงินกูท้ ยี่ งั ไม่ได้เบิกใช้ ซึง่ สามารถสรุปได้ดงั นี ้

อัตรา วงเงินสินเชื่อ วงเงิน ภาระผูกพัน สูงสุดตามสัญญา

วงเงินกู้ที่ยังไม่ ได้ เบิกใช้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 กำหนดจ่ายชำระ

(ล้านเหรียญสหรัฐฯ)

(ล้านเหรียญสหรัฐฯ)

200

200

ทุกสามเดือน นับจาก 31 ธันวาคม 2551 วันที่ 22 สิงหาคม 2548 จนกระทัง่ สิน้ สุดระยะ เวลาเบิกใช้

300 398.4

300 377.2

ทุกสิน้ ไตรมาส นับจาก 18 มกราคม 2552 วันที่ 18 มกราคม 2550 จนกระทัง่ สิน้ สุดระยะ เวลาเบิกใช้ ทุกสามเดือน นับจาก เมือ่ ส่งมอบเรือแต่ละลำ วันที่ 3 กรกฎาคม 2551 จนกระทัง่ สิน้ สุดระยะ เวลาเบิกใช้

วงเงินที่ 1 วงเงินที่ 2 วงเงินที่ 3

ร้อยละ 30 ของส่วน เพิม่ ทีจ่ ะนำมาใช้ สำหรับอัตราดอกเบีย้ ต่อปีของผลต่างระหว่าง วงเงินสินเชือ่ คงเหลือ และวงเงินสินเชือ่ สูงสุด ตามสัญญา ร้อยละ 0.375 ต่อปี ของวงเงินกูย้ มื ทีย่ งั ไม่ได้เบิกใช้ ร้อยละ 0.35 ต่อปี ของวงเงินกูย้ มื ทีย่ งั ไม่ได้เบิกใช้

วันสิ้นสุดระยะเวลา เบิกใช้เงินกู้

ระยะเวลาการเบิกถอนเงินกูย้ มื สำหรับวงเงินที่ 1 และ 2 จะหมดอายุในวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 18 มกราคม 2552 ตามลำดับ ภาระผูกพันเกีย่ วกับค่าธรรมเนียมในการรักษาวงเงินกูท้ งั้ 2 วงเงินหมดอายุแล้วแต่จะถูกทดแทนด้วยภาระผูกพันใหม่ ซึง่ กำลังอยูใ่ นระหว่างการ เจรจากับผูใ้ ห้กตู้ ามทีก่ ล่าวไว้ในหมายเหตุ 19.1 และ 19.2

35.3 ภาระผูกพันเกีย่ วกับเงินลงทุนระยะยาวอืน่

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษทั ฯมีภาระผูกพันเกีย่ วกับส่วนของเงินลงทุนระยะยาวอืน่ ทีย่ งั ไม่เรียกชำระเป็นจำนวนเงิน 10.1 ล้านบาท (2550: 10.1 ล้านบาท)

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

147


36. เครื่องมือทางการเงิน

36.1 นโยบายการบริหารความเสีย่ ง

เครือ่ งมือทางการเงินทีส่ ำคัญของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยตามทีน่ ยิ ามอยูใ่ นมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 48 “การแสดงรายการและ การเปิดเผยข้อมูลสำหรับเครือ่ งมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนีก้ ารค้า เงินลงทุน เจ้าหนีก้ ารค้า และ เงินกูย้ มื บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับเครือ่ งมือทางการเงินดังกล่าว และมีนโยบายการบริหารความเสีย่ งดังนี ้ ความเสีย่ งด้านการให้สนิ เชือ่ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค้า ฝ่ายบริหารควบคุมความเสี่ยงนี้โดยการ กำหนดให้มนี โยบายการให้สนิ เชือ่ แก่ผเู้ ช่าเรือและบุคคลภายนอกโดยจำกัดการให้สนิ เชือ่ เฉพาะกับลูกค้าชัน้ ดี และให้ความเข้มงวดในการจัดทำ เอกสารประกอบรายการต่างๆ ให้ครบถ้วน ดังนัน้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจึงไม่คาดว่าจะได้รบั ความเสียหายทีเ่ ป็นสาระสำคัญจากการให้สนิ เชือ่ นอกจากนี้ การให้สินเชื่อของบริษัทฯและบริษัทย่อยไม่มีการกระจุกตัวเนื่องจากบริษัทฯและบริษัทย่อยมีฐานของลูกค้าที่หลากหลายและมีอยู่ จำนวนมากราย จำนวนเงินสูงสุดทีบ่ ริษทั ฯและบริษทั ย่อยอาจต้องสูญเสียจากการให้สนิ เชือ่ คือมูลค่าตามบัญชีของลูกหนีท้ แี่ สดงอยูใ่ นงบดุล ความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ ทีส่ ำคัญอันเกีย่ วเนือ่ งกับเงินฝากสถาบันการเงิน อย่างไรก็ตาม เนือ่ งจาก สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่มีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกล้เคียงกับอัตราตลาดใน ปัจจุบนั ความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ ของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยจึงอยูใ่ นระดับต่ำ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินทีส่ ำคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบีย้ และสำหรับสินทรัพย์ และหนีส้ นิ ทางการเงินทีม่ อี ตั ราดอกเบีย้ คงทีส่ ามารถแยกตามวันทีค่ รบกำหนดหรือวันทีม่ กี ารกำหนดอัตราดอกเบีย้ ใหม่ (หากวันทีม่ กี ารกำหนด อัตราดอกเบีย้ ใหม่ถงึ ก่อน) ได้ดงั นี ้

(หน่วย: พันบาท)

อัตรา อัตราดอกเบี้ย ดอกเบี้ยคงที่ ปรับขึ้นลง ไม่มี อัตราดอกเบี้ย ภายใน1 ปี ตามราคาตลาด อัตราดอกเบี้ย รวม (ร้อยละต่อปี) ปรับขึ้นลงตาม คงที่ อัตราตลาด สกุลเหรียญสหรัฐฯ สกุลเหรียญสหรัฐฯ

148

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการ เทียบเท่าเงินสด ลูกหนีก้ ารค้า รวม หนีส้ นิ ทางการเงิน เจ้าหนีก้ ารค้า เงินกูย้ มื ระยะยาว รวม

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

950,208 - 950,208 - - -

2,395,596 - 2,395,596

4,221 46,766 50,987

3,350,025 46,766 3,396,791

- 739,496 739,496

96,213 - 96,213

96,213 739,496 835,709

2.6334 -

0.9495 -

- -

4.7413


ความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ น รายได้และค่าใช้จ่ายเกือบทั้งหมดของบริษัทฯและบริษัทย่อยอยู่ในรูปสกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ จึงเป็นการป้องกันความเสี่ยงจาก อัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากรายการที่เป็นเงินเหรียญสหรัฐฯได้ในตัวเอง อย่างไรก็ตาม บริษัทฯและบริษัทย่อยยังคงมีความเสี่ยงจากอัตราแลก เปลีย่ นสำหรับเครือ่ งมือทางการเงินทีเ่ ป็นเงินตราสกุลอืน่ ซึง่ ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้พจิ ารณาแล้วและได้ตระหนักถึงความเสีย่ ง ดังกล่าวที่ยังคงมีอยู่ ดังนั้น จึงพยายามที่จะจำกัดความเสี่ยงดังกล่าวให้เหลือน้อยที่สุด โดยการไม่ถือเครื่องมือทางการเงินที่สำคัญที่เป็นเงิน ตราสกุลอืน่

36.2 มูลค่ายุตธิ รรมของเครือ่ งมือทางการเงิน

เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษัทฯและบริษัทย่อยจัดอยู่ในประเภทระยะสั้นและเงินกู้ยืมระยะยาวมี อัตราดอกเบีย้ ใกล้เคียงกับอัตราดอกเบีย้ ในตลาด บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจึงประมาณมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินใกล้เคียง กับมูลค่าตามบัญชีทแี่ สดงในงบดุล มูลค่ายุตธิ รรม หมายถึง จำนวนเงินทีผ่ ซู้ อื้ และผูข้ ายตกลงแลกเปลีย่ นสินทรัพย์กนั ในขณะทีท่ งั้ สองฝ่ายมีความรอบรู้ และเต็มใจ ในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน วิธีการกำหนดมูลค่ายุติธรรมขึ้นอยู่กับ ลักษณะของเครือ่ งมือทางการเงิน มูลค่ายุตธิ รรมจะกำหนดจากราคาตลาดล่าสุด หรือกำหนดขึน้ โดยใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าทีเ่ หมาะสม 37. การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงค์ของบริษทั ฯในการบริหารทางการเงินของบริษทั ฯคือ การดำรงไว้ซงึ่ ความสามารถในการดำเนินงานอย่างต่อเนือ่ ง และ การดำรงไว้ซงึ่ โครงสร้างของทุนทีเ่ หมาะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 งบการเงินรวมแสดงอัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อทุนเป็น 0.11:1.00 (งบการเงินเฉพาะกิจการ: อัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อ ทุนเป็น 0.27:1.00) 38. เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงิน ก) เมือ่ วันที่ 5 มกราคม 2552 บริษทั ฯได้ซอื้ หุน้ จากผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยของบริษทั ย่อยในประเทศ 37 บริษทั โดยซือ้ หุน้ เพิม่ บริษทั ละ 4 หุ้น ในราคาตามมูลค่าที่ตราไว้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2551 อย่างไรก็ตาม การซื้อหุ้นดังกล่าวมิได้ทำให้สัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทฯในบริษัทย่อย เปลีย่ นแปลงไปแต่อย่างใด ข) เมือ่ วันที่ 7 มกราคม 2552 บริษทั ฯได้เบิกเงินกูย้ มื จากวงเงินกูย้ มื ระยะยาวตามทีก่ ล่าวไว้ในหมายเหตุขอ้ 19.3 จำนวน 21.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพือ่ ใช้ในการชำระค่าต่อเรืองวดทีส่ องให้แก่ผรู้ บั ต่อเรือสำหรับเรือทีส่ งั่ ต่อจำนวน 3 ลำ ค) เมือ่ วันที่ 29 มกราคม 2552 บริษทั ย่อยในประเทศ (บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด) ได้ทำการออกหุน้ สามัญเพิม่ ทุน โดยบริษทั ฯได้ซอื้ เงินลงทุนเพิม่ ตามสัดส่วนการถือหุน้ ณ วันนัน้ ด้วยมูลค่าทีต่ ราไว้ของหุน้ สามัญของบริษทั ย่อยดังกล่าวเป็น จำนวนเงินรวม 40 ล้านบาท ง) ในเดือนมกราคม 2552 บริษทั ย่อยในประเทศ 2 บริษทั ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงขายเรือเดินทะเลมือสองจำนวน 2 ลำ กับ บริษทั ต่างประเทศ 2 บริษทั เป็นจำนวนเงิน 3.30 และ 3.45 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามลำดับ โดยจะทำการส่งมอบเรือทัง้ 2 ลำ ในไตรมาสแรกของปี 2552 จ) เมือ่ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2552 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯได้มมี ติเห็นชอบให้เสนอต่อทีป่ ระชุมสามัญประจำปีผถู้ อื หุน้ ซึง่ จะ จัดขึน้ ในเดือนมีนาคม 2552 ในเรือ่ งการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ จากกำไรของปี 2551 ในอัตราหุน้ ละ 0.80 บาท รวมเป็น เงิน 831.6 ล้านบาท เงินปันผลนีจ้ ะจ่ายและบันทึกบัญชีภายหลังจากได้รบั การอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมสามัญประจำปีผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

149


39. การจัดประเภทรายการในงบการเงิน บริษทั ฯได้มกี ารจัดประเภทรายการบัญชีบางรายการในงบการเงินสำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ใหม่เพือ่ ให้สอดคล้องกับ การจัดประเภทรายการบัญชีในปีปจั จุบนั ซึง่ ไม่มผี ลกระทบต่อกำไรสุทธิหรือส่วนของผูถ้ อื หุน้ การจัดประเภทรายการใหม่มดี งั ต่อไปนี ้

(หน่วย: บาท)

ทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ เงินล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือ ค่าเสือ่ มราคา ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร

งบการเงินรวม

การจัดประเภท รายการใหม่ เพิ่มขึ้น (ลดลง)

9,525,658,693 43,495,617 3,239,547,115 1,824,365,929 381,785,480

(43,852,045) 43,495,617 356,428 (209,280) 209,280

ตามที่เคย รายงานไว้

การจัดประเภท รายการใหม่ เพิ่มขึ้น (ลดลง)

9,569,510,738 24,767,763 - 43,495,617 3,239,190,687 3,239,547,115 1,824,575,209 7,511,517 381,576,200 357,776,174

40. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนีไ้ ด้รบั อนุมตั ใิ ห้ออกโดยคณะกรรมการบริษทั ฯ เมือ่ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2552

150

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามที่เคย รายงานไว้

(43,852,045) 68,619,808 43,495,617 356,428 3,239,190,687 (209,280) 7,720,797 209,280 357,566,894


งบการเงินแปลงค่าเป็น เงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา เหตุผลของการแปลงค่างบการเงินสกุลไทยบาทเป็นสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา การแปลงค่างบการเงินได้จัดทำขึ้นจากข้อมูลงบการเงินสกุลเงินไทยบาทซึ่งได้ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และงบการเงิน แปลงค่าในรูปสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกานี้ได้สอบทานและรับรองแล้วโดย นักบัญชีอิสระ-เบเคอร์ ทิลลี่ คอร์ปอเรท แอ็ดไวเซอรี่ เซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย) จำกัด บริษทั ฯ เห็นว่ามีความจำเป็นทีจ่ ะต้องจัดทำงบการเงินแปลงค่าในรูปสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกาให้ แก่นกั ลงทุน เนือ่ งจากงบการเงินดังกล่าวจะแสดงให้เห็นฐานะทางการเงินทีถ่ กู ต้องของบริษทั ฯ เนือ่ งจากโดยพืน้ ฐานแล้ว บริษทั ฯ จะซือ้ และ ขายสินทรัพย์ในการเดินเรือของบริษทั ฯ ด้วยเงินสกุลเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา และรายได้จากการเดินเรือทัง้ หมดของบริษทั ฯ จะได้รบั เป็น สกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกาด้วยซึ่งเกือบเท่ากับร้อยละ 98 ของสินทรัพย์รวมและรายได้รวม ในทางเดียวกันหนี้เงินกู้ทั้งหมดและ ค่าใช้จา่ ยส่วนใหญ่ของบริษทั ฯ จะเกิดขึน้ ในรูปสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา ดังนัน้ จึงไม่เกิดความสมดุลในงบดุลสกุลเงินไทยบาทของ บริษัทฯ ซึ่งสินทรัพย์ถาวรบางส่วน (เรือเดินทะเลซึ่งได้ซื้อก่อนวันที่ 1 กรกฎาคม 2540) ของบริษัทฯ ถูกบันทึกเป็นเงินไทยบาทตามอัตรา แลกเปลีย่ น ณ วันทีซ่ อื้ มาในอดีต (ทีอ่ ตั ราแลกเปลีย่ นประมาณ 25-26 บาท ต่อ 1 เหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา) ในขณะทีห่ นีส้ นิ ถูกบันทึกเป็น เงินไทยบาทตามอัตราแลกเปลีย่ น ณ วันสิน้ ปีนี้ (ทีอ่ ตั ราแลกเปลีย่ นประมาณ 35.08 บาท ต่อ 1 เหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา) การบันทึกด้วย วิธีดังกล่าวทำให้มูลค่าของสินทรัพย์ถาวรต่ำกว่ามูลค่าจริงเมื่ออยู่ในรูปสกุลเงินไทยบาท เนื่องจากอัตราแลกเปลี่ยนสำหรับการแปลงค่า สินทรัพย์ถาวร (เรือ) จากสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกาเป็นสกุลเงินไทยบาทยังคงใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ เวลาทีไ่ ด้มกี ารซือ้ เรือเข้ามา เนือ่ งจากสินทรัพย์ถาวรเกือบทัง้ หมดของบริษทั ฯ ซึง่ มีมลู ค่าเป็นเงินสกุลเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา การปรับปรุงสินทรัพย์ถาวรให้ อยู่ในรูปสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นราคา ณ วันที่ซื้อมาในอดีตจึงเป็นการกำจัดความไม่สมดุลระหว่างมูลค่าสินทรัพย์และ หนีส้ นิ ดังกล่าวข้างต้น ยิง่ ไปกว่านัน้ จากทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วข้างต้นเนือ่ งจากส่วนหนึง่ ในสัญญาให้สนิ เชือ่ ต่างๆ บริษทั ฯ มีหน้าทีต่ อ้ งจัดทำงบการเงินในรูปสกุล เงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกาให้เจ้าหนีท้ งั้ หลาย และคำนวณอัตราส่วนทางการเงินต่างๆ ตามข้อตกลงในสัญญาโดยใช้ขอ้ มูลจากงบการเงินที่ ปรับปรุงในรูปสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกานี้ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงได้เปิดเผยงบการเงินดังกล่าวให้แก่ผลู้ งทุนทีส่ นใจและผูถ้ อื หุน้ ด้วย

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

151


เบเคอร์ ทิลลี่ คอร์ปอเรท แอ็ดไวเซอรี่ เซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย) จำกัด

บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) รายงานการแปลงค่าเป็นเงินเหรียญดอลลาร์สหรัฐอเมริกา สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เบเคอร์ ทิลลี่ คอร์ปอเรท แอ็ดไวเซอรี่ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด ชัน้ 21/1 อาคารสาธรซิตที้ าวเวอร์ 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุง่ มหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 02 679 5400 โทรสาร 02 679 5401

152

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


ขอบเขตหน้าที่การทำงาน เบเคอร์ ทิลลี่ คอร์ปอเรท แอ็ดไวเซอรี่ เซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย) จำกัด (“บีทซี เี อเอส”) ไม่ได้ทำการตรวจสอบบัญชีหรือข้อมูลเพือ่ การบริหารของบริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (“พรีเชียส” หรือ “บริษทั ฯ”) รวมทัง้ ไม่ได้ทำการพิสจู น์รายการค้าขายทีบ่ นั ทึกไว้แต่ อย่างใด ดังนัน้ บีทซี เี อเอส จึงไม่สามารถแสดงความคิดเห็นในตัวงบการเงินต่างๆ ได้ ความรับผิดชอบในเอกสารนีจ้ งึ เป็นเพียงการแปลงค่า จากงบการเงินสกุลไทยบาททีไ่ ด้รบั การตรวจสอบแล้วให้อยูใ่ นรูปเงินเหรียญดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ไม่วา่ ในกรณีใดๆ ก็ตาม บีทซี เี อเอส จะไม่ขอรับผิดในภาระขาดทุน ต้นทุน ค่าความเสียหาย หรือค่าใช้จา่ ยใดๆ ก็ตามทีเ่ กิดขึน้ จาก การกระทำฉ้อฉล การเสนอข้อมูลทีไ่ ม่ถกู ต้อง หรือการตัง้ ใจผิดนัดชำระโดยบริษทั ฯ กรรมการบริษทั ฯ พนักงานบริษทั ฯ หรือตัวแทนบริษทั ฯ รายงานฉบับนี้ได้รับการจัดทำขึ้นเพื่อเป็นข้อมูลของบริษัทฯ เจ้าหนี้ของบริษัทฯ รวมถึงที่ปรึกษาทางกฎหมายและทางการเงินของ บริษทั ฯ บีทซี เี อเอส ไม่ขอรับผิดชอบในพันธกรรมใดๆ ทีอ่ าจมีตอ่ บุคคลอืน่ ทีไ่ ม่ใช่บคุ คลทีร่ ะบุไว้ขา้ งต้น บีทซี เี อเอส ขอจำกัดความรับผิดชอบใดๆ ทีเ่ กิดจากความผิดพลาด หรือความไม่ถกู ต้องในการแปลนี้ ในกรณีทมี่ คี วามขัดแย้งเกิด ขึน้ ระหว่างรายงานภาคภาษาอังกฤษและภาษาไทย ขอให้ทา่ นยึดเอาตามรายงานภาคภาษาอังกฤษเป็นหลัก บทสรุปจากผู้บริหาร เมือ่ วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2547 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (“พรีเชียส” หรือ “บริษทั ฯ”) ได้วา่ จ้างให้ บริษทั เบเคอร์ ทิลลี่ คอร์ปอเรท แอ็ดไวเซอรี่ เซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย) จำกัด* (“บีทซี เี อเอส”) จัดทำรายงานประจำไตรมาสเกีย่ วการปรับปรุงงบการเงินใหม่เป็น สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา (“เหรียญสรอ.”) ของบริษทั ฯ โดยอิงจากงบการเงินรวมสกุลไทยบาททีไ่ ด้รบั การตรวจสอบ / สอบทานขึน้ การว่า จ้างดังกล่าวจะเป็นการตรวจทานการคำนวณตัวเลขและหลักเกณฑ์ทใี่ ช้ในการปรับปรุงค่างบดุลและงบกำไรขาดทุนใหม่เป็นเงินเหรียญสรอ. ดังนั้น ข้อสรุปที่เกี่ยวกับการปรับปรุงค่างบการเงินสกุลไทยบาทใหม่ให้เป็นเงินเหรียญสรอ. ได้ถูกแนบไว้ในนโยบายที่ใช้ในการ ปรับปรุงงบการเงินสกุลไทยบาทเป็นสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา “เหรียญสรอ” บีทซี เี อเอสได้ทำการรายงานผลจากการตรวจทานการปรับปรุงค่างบการเงินรวมใหม่ในรูปสกุลเงินเหรียญสรอ. สำหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ในการตรวจทานดังกล่าว บีทซี เี อเอสได้รบั การช่วยเหลือและความร่วมมือจากพนักงานบริษทั ฯ และผูบ้ ริหารเป็นอย่างดี งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ทีไ่ ด้มกี ารแปลงค่าเป็นเงินเหรียญสรอ. แล้วนัน้ แสดงให้เห็นว่ามูลค่ารวมของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ของบริษทั ฯ เป็นจำนวนทัง้ สิน้ 514 ล้านเหรียญสรอ. และ 51 ล้านเหรียญสรอ. ตามลำดับ ดังนัน้ ทุนเรือนหุน้ ของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 จึงมีมลู ค่า 463 ล้านเหรียญสรอ. ในส่วนของงบกำไรขาดทุน มูลค่ารวมของรายได้และค่าใช้จา่ ย (ไม่รวมดอกเบีย้ จ่ายและค่าใช้จา่ ยทางการเงิน) ของบริษทั ฯ สำหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เป็นจำนวนทัง้ สิน้ 259 ล้านเหรียญสรอ. และ 106 ล้านเหรียญสรอ. ตามลำดับ กำไรสุทธิหลังจากหักรายการ อืน่ ๆ อาทิ ดอกเบีย้ จ่ายและค่าใช้จา่ ยทางการเงิน และภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล จำนวน 5 ล้านเหรียญสรอ. แล้วนัน้ เป็นจำนวนทัง้ สิน้ 148 ล้าน เหรียญสรอ. ส่วนยอดกำไรสะสมสิน้ ปีมมี ลู ค่าเป็น 381 ล้านเหรียญสรอ.

*หมายเหตุ : บริษัท เบเคอร์ ทิลลี่ เอฟ เอ เอส (ประเทศไทย) จำกัด ได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท เบเคอร์ ทิลลี่ คอร์ปอเรท แอ็ดไวเซอรี่ เซอร์วิสเซส

(ประเทศไทย) จำกัด โดยมีผลตัง้ แต่วนั ที่ 25 เมษายน 2549

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

153


งบการเงิน สินทรัพย์

งบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 - สินทรัพย์

31/12/2551 บาท เหรียญสรอ.

31/12/2550 บาท เหรียญสรอ.

สินทรัพย์หมุนเวียน

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 3,350,024,741 96,250,973 1,470,244,256 ลูกหนีก้ ารค้า - สุทธิ 46,765,842 1,343,649 34,638,681 น้ำมันเชือ้ เพลิง 6,667,192 191,558 5,636,525 สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ เงินทดรองจ่ายแก่กปั ตันเรือ 102,137,723 2,934,562 100,196,046 ค่าสินไหมทดแทนค้างรับ 89,737,672 2,578,291 100,254,008 อืน่ ๆ 42,589,372 1,223,653 51,927,935 รวมสินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ 234,464,767 6,736,506 252,377,989 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 3,637,922,542 104,522,686 1,762,897,451 สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน

43,692,771 1,029,394 167,506 2,977,630 2,979,352 1,543,196 7,500,178 52,389,849

เงินลงทุนในบริษทั ร่วมทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อย 122,566,201 2,911,399 134,282,332 3,274,722 เงินลงทุนระยะยาวอืน่ 10,130,430 260,212 10,130,430 260,212 สินทรัพย์ถาวรทีร่ าคาทุน เรือเดินทะเล และอุปกรณ์เรือเดินทะเล 16,261,193,994 480,077,929 16,261,193,994 480,077,929 ค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซมและสำรวจเรือ 1,703,583,190 48,950,647 1,424,362,597 39,133,820 อุปกรณ์สำนักงาน 27,421,582 787,861 19,368,012 575,579 ส่วนปรับปรุงสัญญาเช่า 13,661,808 392,523 12,998,873 386,301 ยานพาหนะ 20,568,282 590,956 20,568,282 611,249 อาคารชุดและส่วนปรับปรุง 326,207,794 11,087,043 325,977,794 11,078,023 ส่วนตกแต่งและอุปกรณ์สำนักงาน 27,784,493 798,288 27,451,199 815,796 งานระหว่างก่อสร้าง - - 1,030,296 30,736 รวม 18,380,421,143 542,685,247 18,092,951,047 532,709,433 หัก: ค่าเสือ่ มราคาสะสม (9,299,915,772) (286,271,429) (8,567,292,354) (264,773,191) รวมสินทรัพย์ถาวร - สุทธิ 9,080,505,371 256,413,818 9,525,658,693 267,936,242 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ - สุทธิ 54,825,388 1,575,211 43,495,617 1,292,604 เงินล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือ 4,720,520,133 139,175,178 3,239,547,115 94,810,460 ค่าธรรมเนียมทางการเงินรอตัดจ่าย 330,740,492 9,418,797 298,101,974 8,859,005 อืน่ ๆ 3,322,306 95,454 4,024,453 119,599 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ 5,109,408,319 150,264,640 3,585,169,159 105,081,668 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 14,322,610,321 409,850,069 13,255,240,614 376,552,844 รวมสินทรัพย์ 17,960,532,863 514,372,755 15,018,138,065 428,942,693

154

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


งบการเงิน (ต่อ) หนี้สิน และส่วนของผู้ถือหุ้น

งบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 - หนีส้ นิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้

31/12/2551 บาท เหรียญสรอ.

31/12/2550 บาท เหรียญสรอ.

หนี้สิน

หนีส้ นิ หมุนเวียน เจ้าหนีก้ ารค้า เงินรับล่วงหน้าค่าขายเรือเดินทะเล รายได้รบั ล่วงหน้า หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับลูกเรือค้างจ่าย ผลประโยชน์พนักงานค้างจ่าย - ส่วนทีถ่ งึ กำหนดจ่ายภายในหนึง่ ปี ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ประมาณการภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ า่ ยค้างจ่าย อืน่ ๆ รวมหนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ รวมหนีส้ นิ หมุนเวียน หนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน ผลประโยชน์พนักงานค้างจ่าย - สุทธิจากส่วนทีถ่ งึ กำหนดจ่ายภายในหนึง่ ปี ประมาณการค่าความเสียหายจากการเดินเรือทะเล เงินกูร้ ะยะยาว - สุทธิ รวมหนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน รวมหนีส้ นิ ส่วนของผู้ถือหุ้น

ทุนเรือนหุน้ ทีอ่ อกและชำระแล้ว ส่วนเกินทุน ส่วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ ส่วนเกินมูลค่าหุน้ ซือ้ คืน ส่วนเกินจากการตีราคาสินทรัพย์ของบริษทั ย่อย ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน กำไรสะสม จัดสรรแล้ว สำรองตามกฎหมาย - บริษทั ฯ สำรองตามกฎหมาย - บริษทั ย่อย สำรองเพือ่ กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม ยังไม่ได้จดั สรร รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยของบริษทั ย่อย รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

96,213,245 21,891,418 211,642,085

2,742,493 624,000 6,032,714

66,544,366 - 171,470,255

1,963,830 5,060,358

101,031,624

2,879,838

96,522,767

2,848,540

147,794,957 112,153,882 11,082,386 54,438,912 21,383,258 447,885,019 777,631,767

4,212,795 3,196,870 315,896 1,551,745 609,515 12,766,659 22,165,866

58,447,242 112,930,522 216,229,956 38,021,854 28,141,060 550,293,401 788,308,022

1,724,871 3,332,759 6,381,288 1,122,085 830,487 16,240,030 23,264,218

217,850,070 48,106,741 739,495,539 1,005,452,350 1,783,084,117

6,209,668 1,371,250 21,071,938 28,652,856 50,818,722

95,947,000 68,951,739 - 164,898,739 953,206,761

2,831,548 2,034,875 4,866,423 28,130,641

1,039,520,600

35,308,137

1,039,520,600

35,308,137

411,429,745 172,445,812 103,711,800 120,183,371

16,134,500 4,818,466 2,841,271 6,077,761

411,429,745 172,445,812 123,965,882 86,324,046

16,134,500 4,818,466 3,396,149 5,958,100

103,952,060 496,020,000 24,692,961 13,694,533,528 16,166,489,877 10,958,869 16,177,448,746 17,960,532,863

2,796,327 13,673,730 704,744 380,886,722 463,241,658 312,375 463,554,033 514,372,755

103,952,060 467,720,000 - 11,646,881,980 14,052,240,125 12,691,179 14,064,931,304 15,018,138,065

2,796,327 12,833,524 319,192,312 400,437,515 374,537 400,812,052 428,942,693

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

155


งบการเงิน (ต่อ) งบกำไรขาดทุนรวม

งบกำไรขาดทุนรวม สำหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

31/12/2551 บาท เหรียญสรอ.

31/12/2550 บาท เหรียญสรอ.

รายได้

รายได้จากการเดินเรือ รายได้คา่ เช่าเรือ รายได้คา่ ระวางเรือ รวมรายได้จากการเดินเรือ รายได้จากการให้บริการ กำไรจากการจำหน่ายเรือเดินทะเลและอุปกรณ์ ดอกเบีย้ รับ กำไรจากอัตราแลกเปลีย่ น รายได้อน่ื ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วมทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อย รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย

ต้นทุนการเดินเรือ ค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือ รายจ่ายท่าเรือ น้ำมันเชือ้ เพลิง รวมต้นทุนการเดินเรือ ค่าเสือ่ มราคา ต้นทุนการให้บริการ ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร หนีส้ ญู และค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ ขาดทุนจากสัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงิน ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ น รวมค่าใช้จา่ ย กำไรก่อนค่าใช้จา่ ยทางการเงินและภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล หัก : ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน กำไรก่อนภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล หัก : ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล กำไรสุทธิสำหรับปี การแบ่งปันกำไร (ขาดทุน) สุทธิ

กำไรสุทธิสว่ นทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ บริษทั ใหญ่ กำไร (ขาดทุน) สุทธิสว่ นทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย ของบริษทั ย่อย กำไรสุทธิสำหรับปี

156

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

8,337,105,438 198,694,145 8,535,799,583 2,831,834 - 49,565,052 61,130,752 319,174

251,051,326 5,958,793 257,010,119 85,366 - 1,490,884 - 9,436

6,969,502,482 318,867,103 7,288,369,585 8,974,530 1,558,219,821 142,124,906 - 1,222,118

201,001,001 9,076,645 210,077,646 255,009 42,060,309 4,110,695 458,305 34,749

10,167,494 8,659,813,889

305,337 258,901,142

34,126,828 9,033,037,788

980,524 257,977,237

1,855,744,943 32,696,621 37,805,454 1,926,247,018 1,085,164,801 39,788,613 508,598,322 11,131,965 - - 3,570,930,719 5,088,883,170 (130,644,868) 4,958,238,302 (21,374,441) 4,936,863,861

55,858,913 1,025,651 1,113,029 57,997,593 30,626,121 1,194,230 15,268,716 299,871 - 923,998 106,310,529 152,590,613 (3,860,824) 148,729,789 (644,817) 148,084,972

1,758,125,442 54,026,838 60,213,076 1,872,365,356 1,824,365,929 29,494,469 381,785,480 4,747,387 241,969,452 175,167,588 4,529,895,661 4,503,142,127 (126,755,592) 4,376,386,535 (215,570,735) 4,160,815,800

50,637,340 1,548,707 1,708,429 53,894,476 49,711,374 850,181 11,030,101 135,789 7,073,000 122,694,921 135,282,316 (3,684,984) 131,597,332 (6,329,523) 125,267,809

4,938,592,249

148,137,556

4,156,160,222

125,134,107

(1,728,388) 4,936,863,861

(52,584) 148,084,972

4,655,578 4,160,815,800

133,702 125,267,809


งบการเงิน (ต่อ) งบกำไรขาดทุนรวม

งบกำไรขาดทุนรวม (ต่อ) สำหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

31/12/2551 บาท เหรียญสรอ.

31/12/2550 บาท เหรียญสรอ.

กำไรสุทธิสว่ นทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ บริษทั ใหญ่ สำรองหุน้ ทุนซือ้ คืน - โอนกลับ สำรองตามกฎหมาย - บริษทั ฯ สำรองตามกฎหมาย - บริษทั ย่อย สำรองเพือ่ กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม ค่าเสือ่ มราคาของส่วนเกินจากการตีราคาสินทรัพย์ เงินปันผลจ่าย

4,938,592,249 - - (28,300,000) (24,692,961) 20,258,004 (2,858,205,744)

148,137,556 4,156,160,222 - 414,918,176 - (51,952,060) (840,205) (43,100,000) (704,744) - 554,985 20,313,507 (85,453,182) (3,174,568,066)

125,134,107 10,323,444 (1,491,598) (1,260,776) 556,506 (91,992,460)

กำไรสะสม, ต้นปี กำไรสะสม, ปลายปี

11,646,881,980 13,694,533,528

319,192,312 10,325,110,201 380,886,722 11,646,881,980

277,923,089 319,192,312

กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน

กำไรสุทธิสว่ นทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ บริษทั ใหญ่

4.75

0.14

4.01

0.12

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

157


นโยบายที่ใช้ในการปรับปรุงงบการเงินสกุลไทยบาทเป็นสกุลเงิน เหรียญดอลลาร์สหรัฐอเมริกา (“เหรียญสรอ.”) ในการปรับปรุงงบการเงินนัน้ ได้มกี ารพิจารณาถึงข้อกำหนดต่างๆ ทีร่ ะบุไว้ในมาตรฐานการบัญชีของไทย อย่างไรก็ตาม เนือ่ งมา จากความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวในการปรับปรุงงบการเงินนี้ การจัดทำงบการเงินเหรียญสรอ. นีอ้ าจไม่จำเป็นทีจ่ ะต้องเป็นไปตามมาตรฐาน การบัญชีไทยแต่อย่างใด ลักษณะเฉพาะตัวทีส่ ำคัญอย่างหนึง่ ในทีน่ เี้ กิดขึน้ เนือ่ งจากสินทรัพย์ หนีส้ นิ และการค้าหลักๆ ของบริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) ได้เกิดขึน้ โดยใช้เงินเหรียญสรอ. ในการซือ้ ขาย แล้วจึงทำการแปลงค่าเป็นเงินสกุลไทยบาท ตามความ ต้องการของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จากทีไ่ ด้กล่าวมานีส้ นิ ทรัพย์ หนีส้ นิ และรายการค้าเหล่านีจ้ งึ มีการปรับปรุงใหม่เป็นเงินเหรียญ สรอ. โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนจากธนาคารแห่งประเทศไทย หรืออัตราแลกเปลี่ยนโดยประมาณที่ใช้ ณ วันที่ทำการแปลงค่าเป็นเงินไทยบาท อย่างไรก็ตาม นโยบายนีอ้ าจใช้ไม่ได้กบั การค้าขายทีบ่ นั ทึกไว้ในงบกำไรขาดทุน เนือ่ งจากจำเป็นจะต้องทำการหาอัตราแลกเปลีย่ น ณ วันทีม่ ี การค้าขายแต่ละครัง้ ซึง่ ในกรณีนอี้ ตั ราแลกเปลีย่ นถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนัก (ตามทีอ่ ธิบายไว้ในส่วนของงบกำไรขาดทุน) จึงถูกนำมาใช้ในการแปลง ค่าแทน จากความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวตามทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วข้างต้น เบเคอร์ ทิลลี่ คอร์ปอเรท แอ็ดไวเซอรี่ เซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย) จำกัด (“บีทีซีเอเอส”) ได้หานโยบายที่จะทำให้มั่นใจได้ว่าจะเป็นวิธีการปรับปรุงค่าที่เหมาะสมที่สุดในการแสดงมูลค่าและผลการดำเนินการ ของบริษทั ฯ พึงตระหนักว่าความรับผิดชอบของบีทซี เี อเอส จำกัด ในรายงานฉบับนีอ้ ยูเ่ พียงการตรวจสอบและรับรองการปรับปรุงงบการเงินใหม่ เป็นสกุลเงินเหรียญสรอ. ซึง่ จัดทำขึน้ โดยบริษทั อิงจากงบการเงินประจำไตรมาส / สำหรับงวดครึง่ ปี / สำหรับงวดประจำปี สกุลไทยบาททีไ่ ด้ รับการสอบทาน / ตรวจสอบจากผูต้ รวจสอบบัญชีทไี่ ด้รบั การแต่งตัง้ ตามกฎหมายเท่านัน้ ดังนัน้ ขอบเขตหน้าทีจ่ งึ จำกัดอยูเ่ พียงการตรวจทาน ความถูกต้องของการปรับปรุงงบการเงินใหม่เป็นสกุลเงินเหรียญสรอ. เท่านัน้ โดยอิงจากข้อมูลทางบัญชีทมี่ อี ยูแ่ ล้วในรูปสกุลเงินไทยบาท จากทีไ่ ด้กล่าวมานี้ นโยบายการปรับปรุงงบดุลและงบกำไรขาดทุนของบริษทั ฯ มีรายละเอียดดังต่อไปนี:้ งบดุล การแปลงค่าจากเงินไทยบาทเป็นเงินเหรียญสรอ. ในรายการส่วนใหญ่ในงบดุลทีไ่ ด้รบั การตรวจสอบ / สอบทานแล้วของบริษทั ฯ นัน้ จะใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีใ่ นงบดุล ในส่วนของสินทรัพย์จะใช้อตั ราซือ้ ไทยบาท / เหรียญสรอ. ในการแปลงค่า ส่วนหนีส้ นิ จะใช้อตั ราขาย ไทยบาท / เหรียญสรอ. ในการแปลงค่า อย่างไรก็ตาม นโยบายนีไ้ ม่ได้ใช้ในการแปลงค่ารายการบางรายการ เนือ่ งจากบริษทั ฯ เห็นว่าการใช้ นโยบายในรูปแบบอื่นจะแสดงการปรับปรุงค่าในรูปสกุลเงินเหรียญสรอ. ได้ถูกต้องมากกว่า รายการต่างๆ ที่ใช้นโยบายในรูปแบบอื่นมีดัง ต่อไปนี ้ • เงินลงทุนทีเ่ ป็นเงินเหรียญสรอ. นัน้ บริษทั ฯ จะใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีท่ ำการลงทุนนัน้ ในการแปลงค่าเป็นเงินไทยบาท ดังนัน้ ในการปรับปรุงค่าใหม่จงึ ใช้อตั ราแลกเปลีย่ นดังกล่าวในการแปลงค่ากลับเป็นเงินเหรียญสรอ. • เรือเดินทะเล และค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซมและสำรวจเรือ (Drydock and Special Survey expenses) ตามกำหนดเวลานัน้ ได้ มีการซือ้ ขายกันเป็นเงินเหรียญสรอ. แล้วจึงแปลงค่าเป็นเงินไทยบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันซือ้ ดังนัน้ ในการปรับปรุงค่า ใหม่จงึ ใช้อตั ราแลกเปลีย่ นดังกล่าวในการแปลงค่ากลับเป็นเงินเหรียญสรอ. สินทรัพย์ทมี่ กี ารซือ้ ด้วยเงินไทยบาทนัน้ จะถูกทำการแปลงค่าโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีซ่ อื้ ในการแปลงค่าสินทรัพย์ทเี่ ป็น เงินไทยบาทหลักๆ เช่น อาคารชุดและส่วนปรับปรุงอาคารชุด เป็นต้น อย่างไรก็ตาม สินทรัพย์ทมี่ กี ารซือ้ ด้วยเงินไทยบาทอืน่ ได้แก่ อุปกรณ์สำนักงาน ส่วนปรับปรุงสัญญาเช่า ยานพาหนะ ส่วนตกแต่งและอุปกรณ์สำนักงาน และงานระหว่างก่อสร้าง ใช้ อัตราแลกเปลีย่ น ณ วันทีง่ บดุล โปรดตระหนักว่ารายการใดๆ ทีม่ อี ยูใ่ นบัญชีกอ่ นเดือนกรกฎาคม 2540 นัน้ เช่น อาคารชุดและส่วนปรับปรุงอาคารชุดจะถูก แปลงค่าด้วยอัตราแลกเปลีย่ นไทยบาท / เหรียญสรอ. ที่ 25.5 เนือ่ งจากการลดค่าเงินบาทได้เริม่ เกิดขึน้ ในเดือนกรกฎาคม 2540 ในช่วงก่อนทีจ่ ะมีการลดค่าเงินบาทนัน้ อัตราแลกเปลีย่ นไทยบาท / เหรียญสรอ. จะค่อนข้างคงทีอ่ ยูท่ มี่ ลู ค่า 25.5 บาท / 1 เหรียญสรอ.

158

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


ค่าเสือ่ มราคาของสินทรัพย์ทซี่ อื้ ด้วยเงินเหรียญสรอ. จะมีการปรับปรุงค่าโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีไ่ ด้มาของสินทรัพย์ดงั กล่าว อย่างไรก็ตาม ค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ที่มีการซื้อด้วยเงินไทยบาทนั้น บริษัทฯ จะทำการแปลงค่าโดยใช้อัตราแลก เปลีย่ น ณ วันทีง่ บดุล ตามทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วข้างต้น อัตราแลกเปลีย่ น ณ วันทีซ่ อื้ ถูกใช้ในการแปลงค่าเสือ่ มราคาสินทรัพย์ทเี่ ป็น เงินไทยบาทหลักๆ • เงินล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือ ส่วนใหญ่อยูใ่ นรูปเงินเหรียญสรอ. แล้วจึงแปลงค่าเป็นเงินไทยบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันที่ จ่ายเงิน ดังนัน้ ในการปรับปรุงค่าใหม่ จึงใช้อตั ราแลกเปลีย่ นดังกล่าวในการแปลงค่ากลับเป็นเงินเหรียญสรอ. • ลูกหนีแ้ ละเจ้าหนีก้ ารค้า และรายได้รบั ล่วงหน้า ได้มกี ารซือ้ ขายกันเป็นเงินเหรียญสรอ. แล้วจึงแปลงค่าเป็นเงินไทยบาทโดยใช้ อัตราแลกเปลีย่ น ณ วันทีง่ บดุล ดังนัน้ ในการปรับปรุงค่าใหม่จงึ ใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีง่ บดุลในการแปลงค่ากลับเป็นเงิน เหรียญสรอ. • ลักษณะของสินทรัพย์และหนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ โดยมากจะมีการหมุนเวียนอย่างมาก ดังนัน้ การแปลงค่ารายการบัญชีดงั กล่าวจึง ใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีง่ บดุล • สินทรัพย์อื่นๆ มีการซื้อขายกันเป็นเงินเหรียญสรอ. แล้วจึงแปลงค่าเป็นเงินไทยบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่งบดุล ดังนัน้ ในการปรับปรุงค่าใหม่จงึ ใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีง่ บดุลในการแปลงค่ากลับเป็นเงินเหรียญสรอ. • ค่าธรรมเนียมการกูเ้ งินรอตัดจ่ายในปี 2550 รายการดังกล่าวได้แปลงค่าเป็นเงินไทยบาทเช่นเดียวกับสินทรัพย์อนื่ ขณะที่ในปี 2551 ทางบริษัทได้มีการเปลี่ยนวิธีการคำนวณอัตราแลกเปลี่ยนของรายการดังกล่าวใหม่ เนื่องจากค่าใช้จ่าย ดังกล่าวจ่ายชำระเป็นเงินเหรียญสรอ. แล้วจึงแปลงค่าเป็นเงินไทยบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนถั่วเฉลี่ยของเดือนที่รายการ ดังกล่าวเกิดขึ้น ดังนั้นทางบริษัทเห็นว่าควรทำการปรับปรุงค่าใหม่โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนดังกล่าวในการแปลงค่ากลับเป็นเงิน เหรียญสรอ. อย่างไรก็ตาม ผลต่างทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงอัตราแลกเปลีย่ นทีใ่ ช้ในการแปลงค่ารายการนีใ้ นปี 2550 มีเป็นจำนวนเพียงเล็ก น้อยและไม่มีสาระสำคัญเมื่อเทียบกับยอดรวมของสินทรัพย์ของบริษัท จึงมิได้มีการปรับปรุงรายการย้อนหลังสำหรับการ เปลีย่ นแปลงนีแ้ ต่อย่างใด • เงินกูย้ มื จากธนาคาร และดอกเบีย้ ค้างจ่าย ส่วนใหญ่อยูใ่ นรูปเงินเหรียญสรอ. แล้วจึงแปลงค่าเป็นเงินไทยบาทโดยใช้อตั ราแลก เปลีย่ น ณ วันทีง่ บดุล ดังนัน้ ในการปรับปรุงค่าใหม่จงึ ใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีง่ บดุลในการแปลงค่ากลับเป็นเงินเหรียญสรอ. • ส่วนได้เสียของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในกำไรสะสมของบริษัทย่อยของบริษัทฯ จะทำการแปลงค่าเป็นเงินไทยบาทโดยใช้อัตราแลก เปลีย่ น ณ วันทีง่ บดุล ดังนัน้ ในการปรับปรุงค่าใหม่จงึ ใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีง่ บดุล • ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศโดยหลักๆ แล้วจะเกี่ยวข้องกับสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นสกุลเงิน ไทยบาททีถ่ กู ปรับปรุงค่าใหม่ให้เป็นสกุลเงินเหรียญสรอ. โดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ นทีแ่ ตกต่างกัน ก่อให้เกิดความไม่สมดุลขึน้ ใน งบดุล กรณีเช่นนี้จะไม่เกิดขึ้นจากสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นสกุลเงินเหรียญสรอ. เนื่องจากเราทำการปรับปรุงค่าจากสกุลเงิน ไทยบาทกลับไปสูม่ ลู ค่าดัง้ เดิมในรูปเงินเหรียญสรอ. จึงเป็นทีเ่ ข้าใจได้วา่ ผลสะสมในรูปเงินเหรียญสรอ. ของการปรับปรุงทีเ่ กิด จากการแปลงค่างบการเงินทีเ่ ป็นเงินตราต่างประเทศนัน้ ไม่ได้หมายถึงการปรับปรุงทีเ่ กิดจากการแปลงค่าเป็นเงินไทยบาท • ทุนเรือนหุน้ และสำรอง จะทำการปรับปรุงค่าโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีเ่ กิดการเปลีย่ นแปลงในรายการ สำหรับรายการ เพิม่ หรือลดทุนนัน้ จะทำการปรับปรุงค่าโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ นถัว่ เฉลีย่ ของเดือนทีร่ ายการดังกล่าวเกิดขึน้

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

159


งบกำไรขาดทุน รายการส่วนใหญ่ในงบกำไรขาดทุนทีไ่ ด้รบั การตรวจสอบ / สอบทานแล้วของบริษทั ฯ นัน้ เป็นเงินเหรียญสรอ. แล้วถูกแปลงค่าเป็นเงิน ไทยบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ ขณะนัน้ 1 เพือ่ ให้การปรับปรุงค่าใหม่ในการค้าขายแต่ละรายการนีถ้ กู ต้องสมบูรณ์จำเป็นจะต้องทำการหา อัตราแลกเปลีย่ น ณ วันทีม่ กี ารค้าขายแต่ละครัง้ นโยบายดังกล่าวอยูน่ อกเหนือจากขอบเขตการตรวจทานของบีทซี เี อเอส รายการเหล่านีไ้ ด้มี การแปลงค่าโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักรายเดือน2 ภายในช่วงระยะเวลา 3 เดือน สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ซึ่ง (หากรายได้ ค่าใช้จ่าย และอัตราแลกเปลี่ยนค่อนข้างคงที่) อัตราแลกเปลี่ยนดังกล่าวน่าจะประมาณอัตราแลกเปลี่ยนในอดีตสำหรับการค้า แต่ละรายการได้ อนึง่ นโยบายนีไ้ ม่ได้ใช้ในการแปลงค่ารายการบางรายการ เนือ่ งจากบริษทั ฯ เห็นว่าการใช้นโยบายในรูปแบบอืน่ จะแสดงการ ปรับปรุงค่าในรูปสกุลเงินเหรียญสรอ. ได้ถกู ต้องยิง่ ขึน้ รายการต่างๆ ทีใ่ ช้นโยบายในรูปแบบอืน่ มีดงั ต่อไปนี ้ • ในทำนองเดียวกับรายการค่าเสื่อมราคาสะสมในงบดุล การแปลงค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ที่ซื้อด้วยเงินเหรียญสรอ. จะใช้ อัตราแลกเปลีย่ น ณ วันทีไ่ ด้มาของสินทรัพย์ดงั กล่าว มิใช่อตั ราแลกเปลีย่ นถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนักรายเดือน อย่างไรก็ตาม ตามที่ ได้กล่าวไปแล้วข้างต้นในส่วนของงบดุล นโยบายการแปลงค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ที่เป็นเงินไทยบาทนั้น อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันทีไ่ ด้มาของสินทรัพย์จงึ ถูกนำมาใช้ในส่วนของสินทรัพย์หลักทีเ่ ป็นเงินไทยบาท อย่างไรก็ตาม สินทรัพย์ทเี่ ป็นเงินบาทอืน่ เช่น ยานพาหนะ ส่วนตกแต่ง และอุปกรณ์สำนักงาน เป็นต้น จะถูกแปลงค่าด้วยอัตราแลกเปลีย่ นถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนักรายเดือน • กำไร / ขาดทุนจากการขายสินทรัพย์ถาวรจะถูกแปลงค่าด้วยอัตราแลกเปลีย่ นไทยบาท / เหรียญสรอ. ทีแ่ ท้จริง ณ วันทีข่ าย สินทรัพย์ทงั้ ทีเ่ ป็นเงินไทยบาทและเงินเหรียญสรอ. • กำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย่ นในงบกำไรขาดทุนในรูปสกุลเงินเหรียญสรอ. เกิดขึน้ จากรายการเกีย่ วกับเงินสินทรัพย์ถาวร ย่อยๆ รวมถึงสินทรัพย์และหนี้สินหมุนเวียน ที่อยู่ในรูปสกุลเงินไทยบาท โดยมูลค่าของรายการเหล่านี้ในรูปเงินเหรียญสรอ. ได้เปลี่ยนแปลงไปจากมูลค่าในไตรมาสที่ผ่านมา เนื่องจากความซับซ้อนในการได้มาซึ่งตัวเลขโดยละเอียดในแต่ละรายการ

จึงถือว่ารายการเหล่านีไ้ ม่มกี ารเปลีย่ นแปลงตลอดช่วงระยะเวลางบการเงิน นัน่ คือตัง้ แต่ไตรมาสทีผ่ า่ นมา • เงินปันผลทีจ่ า่ ยให้แก่ผถู้ อื หุน้ จะทำการปรับปรุงค่าโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ นถัว่ เฉลีย่ ของเดือนทีเ่ กิดรายการ • กำไรสะสมต้นปีได้ถกู ปรับปรุงค่าด้วยอัตราแลกเปลีย่ นไทยบาท / เหรียญสรอ. ทีแ่ ท้จริง ณ ช่วงเวลาทีม่ กี ารบันทึกกำไรสะสม 1

อัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศทีใ่ ช้เป็นอัตราแลกเปลีย่ นถัวเฉลีย่ ประจำเดือนทีไ่ ด้จากธนาคารแห่งประเทศไทยหนึง่ เดือนก่อนหน้านี้ เช่น อัตราแลกเปลีย่ น ไทยบาท / เหรียญสรอ. โดยเฉลีย่ ของเดือนเมษายนจะถูกนำไปใช้เป็นเกณฑ์การคำนวณตัวเลขในเดือนพฤษภาคม 2 อัตราแลกเปลีย่ นถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนัก คำนวณจากอัตราแลกเปลีย่ นเฉลีย่ ต่อเดือนของธนาคารแห่งประเทศไทย ถูกถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนักด้วยจำนวนวันทำการของ เรือเดินทะเลของบริษทั ฯ ในแต่ละเดือน

160

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


สรุปความแตกต่างที่สำคัญระหว่างมาตรฐานการบัญชีที่รับรอง ทั่วไปในประเทศไทย (Thai GAAP) และมาตรฐานการบัญชี ระหว่างประเทศ (IFRS) มาตรฐานการบัญชีไทยมีขอ้ แตกต่างอย่างมากในบางเรือ่ งเมือ่ เทียบกับมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ ซึง่ จะได้กล่าวถึงข้อแตกต่าง ที่เห็นชัดเจนโดยย่อต่อไป องค์กรที่มีอำนาจประกาศใช้มาตรฐานการบัญชีทั้งของไทย และมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศยังคงมีการ พัฒนาอย่างต่อเนื่องอันอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานการบัญชี ซึ่งจะมีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำคัญในการเปรียบเทียบใน อนาคตดังเช่นข้อสรุปทีจ่ ะกล่าวถึงต่อไป ซึง่ ข้อสรุปนี้ ไม่ได้ครอบคลุมถึงข้อแตกต่างทัง้ หมดทีม่ อี ยูแ่ ละทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคตของมาตรฐานการ บัญชีไทยและมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ ทัง้ ในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ หรือธุรกิจในอุตสาหกรรมเดียวกันและ ไม่มกี ารแสดงผลกระทบเป็นตัวเลขจากความแตกต่างนี้ บริษทั ฯ ไม่สามารถให้ความเชือ่ มัน่ ได้วา่ บทสรุปนีจ้ ะแสดงข้อแตกต่างอันเป็นสาระสำคัญโดยครบถ้วนสมบูรณ์ ระหว่างมาตรฐาน การบัญชีไทยและมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศที่อาจกระทบต่องบการเงินของบริษัทฯ โดยทั่วไปมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศจะ เข้มงวดและมีขอบเขตกว้างกว่ามาตรฐานการบัญชีไทยในเรือ่ งการรับรูแ้ ละการวัดมูลค่าของรายการ การจัดประเภทรายการทางบัญชีและการ เปิดเผยข้อมูล ในข้อสรุปนี้ บริษทั ฯ ไม่ได้นำเสนอข้อแตกต่างในการเปิดเผยข้อมูล การแสดงรายการในงบการเงิน หรือการจัดประเภทรายการ ในงบการเงินทีอ่ าจจะกระทบต่อแนวทางปฏิบตั ขิ องรายการและเหตุการณ์ตา่ งๆ ทีส่ ะท้อนอยูใ่ นงบการเงิน หรือหมายเหตุประกอบงบการเงิน ของบริษทั ฯ ทีจ่ ะกล่าวถึงต่อไปนีค้ อื ข้อสรุปทัว่ ไปของความแตกต่างทีส่ ำคัญระหว่างมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไปในประเทศไทยและมาตรฐาน การบัญชีระหว่างประเทศ (IFRS) ในเฉพาะส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั ฯ ต้นทุนในการออกตราสารหนี้ ยังไม่มมี าตรฐานการบัญชีไทยรองรับเรือ่ งนี ้ มาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ กำหนดให้มีการตั้งพักต้นทุนของการออกตราสารหนี้และตัดจำหน่ายเป็นค่าใช้จ่ายตลอดอายุ ของตราสารหนีน้ นั้ ตามวิธอี ตั ราดอกเบีย้ ทีแ่ ท้จริง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได้ ปัจจุบันยังไม่มีมาตรฐานการบัญชีไทยรองรับการบัญชีสำหรับภาษีเงินได้และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี โดยทั่วไปกิจการจะบันทึก สำรองภาษีเงินได้ทตี่ อ้ งจ่ายในงวดนัน้ ซึง่ คำนวณตามประมวลรัษฎากรของประเทศไทย ภายใต้ IAS ฉบับที่ 12 เรือ่ ง ภาษีเงินได้ กำหนดให้กจิ การรับรูส้ นิ ทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หรือหนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัด บัญชี สำหรับผลแตกต่างระหว่างราคาตามบัญชีกับฐานภาษีของสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะถูกคำนวณตามอัตราภาษีที่ กำหนดโดยกฎหมายภาษีอากร สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะถูกบันทึก ถ้ามีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่กิจการจะมีกำไรทางภาษี เพียงพอต่อการนำจำนวนผลแตกต่างชัว่ คราวทีใ่ ช้หกั ภาษีนนั้ มาใช้ประโยชน์ได้ในงวดอนาคต การบัญชีสำหรับผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานการบัญชีไทยไม่ได้กำหนดเงื่อนไขไว้ชัดเจนเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีสำหรับผลประโยชน์ของพนักงาน รวมถึงการเกษียณ และผลประโยชน์ทไี่ ด้หลังเกษียณในงบการเงินรวมของบริษทั ฯ เงินสบทบกองทุนสำรองเลีย้ งชีพในส่วนของบริษทั ฯ ได้ถกู บันทึกเมือ่ เกิดขึน้ จริง ตามมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ ผลประโยชน์ของพนักงานได้ถูกบันทึกตาม IAS ฉบับที่ 19 เรื่อง การบัญชีสำหรับผล ประโยชน์ของพนักงาน นอกเหนือจากข้อแตกต่างเรื่องการรับรู้ต้นทุน การเปิดเผยข้อมูลในส่วนของเงินบำนาญพนักงาน ตามมาตรฐานการ บัญชีระหว่างประเทศจะละเอียดกว่ามาตรฐานการบัญชีไทยในปัจจุบนั IAS ฉบับที่ 19 กำหนดให้ใช้เกณฑ์คณิตศาสตร์สถิติ (actuarial method) ในการคำนวณหาต้นทุนของเงินบำนาญพนักงานเพือ่ ทีจ่ ะ รับรูก้ ำไรหรือขาดทุนค้างรับค้างจ่ายในอนาคต (ในส่วนทีเ่ กินกว่าระดับทีก่ ำหนดไว้) ทีม่ ผี ลมาจากการเปลีย่ นแปลงในสมมติฐานหรือเหตุการณ์ ทีเ่ กิดขึน้ จริงทีต่ า่ งไปจากสมมติฐาน IAS ฉบับที่ 19 ยังได้กล่าวถึงการตัดจำหน่ายในอนาคตของต้นทุนทีเ่ กีย่ วข้องกับการเปลีย่ นแปลงของผล ประโยชน์ตามแผน เช่นเดียวกับภาระผูกพันในช่วงทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงและยังกำหนดให้ตอ้ งเปิดเผยส่วนประกอบของต้นทุนเงินบำนาญทีเ่ กิด ขึน้ ในงวดและสถานะของกองทุนเงินบำนาญ

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

161


IAS ฉบับที่ 19 ครอบคลุมถึงผลประโยชน์หลังเกษียณของพนักงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการประกันชีวติ นอกเหนือไปจากทีร่ ะบุในกองทุน บำนาญหรือผลประโยชน์หลังเกษียณอายุอนื่ ซึง่ รวมถึงค่ารักษาพยาบาลและผลประโยชน์ดา้ นสวัสดิการ ทีน่ ายจ้างพึงมีตอ่ พนักงานปัจจุบนั และ ผูเ้ คยเป็นพนักงาน ในด้านของต้นทุนของประโยชน์ทพี่ นักงานจะได้รบั หลังจากเกษียณอายุไปแล้ว ควรทีจ่ ะต้องถูกบันทึกตลอดอายุการทำงาน ของพนักงานคนนัน้ โดยใช้สมมติฐานทีอ่ งิ จากข้อเท็จจริง ในการประมาณต้นทุนของผลประโยชน์ดา้ นค่ารักษาพยาบาลและมูลค่าปัจจุบนั ภาย ใต้ IAS ฉบับที่ 19 กิจการต้องแสดงรายละเอียดเกีย่ วกับแผนงาน พนักงานทีอ่ ยูใ่ นกลุม่ ทีจ่ ะได้รบั ผลประโยชน์ ชนิดของประโยชน์ทจี่ ดั ไว้ให้ นโยบายการบริหาร กองทุน ต้นทุนทีเ่ กิดขึน้ ในงวด ชนิดของสินทรัพย์ทถี่ อื และผลกระทบทีเ่ กีย่ วข้องทีส่ ามารถเปรียบเทียบกันได้ เป็นต้น สำรองตามกฎหมาย บริษทั มหาชนจำกัดในประเทศไทย ต้องจัดสรรเงินส่วนหนึง่ ไว้เป็นทุนสำรองตามกฎหมายไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำ ปี หักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมาจากปีกอ่ นๆ จนกว่าทุนสำรองนีม้ จี ำนวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำรองตามกฎหมายนีไ้ ม่ สามารถนำไปแจกจ่ายได้จนกว่าจะมีการเลิกกิจการ นอกจากนี้บริษัทฯ ยังสามารถจัดสรรกำไรสุทธิไว้เป็นเงินสำรองทั่วไป ซึ่งสำรองทั่วไปนี้ สามารถนำมาจ่ายเป็นเงินปันผลได้ มาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ ไม่ได้ระบุถงึ การจัดสรรสำรองดังกล่าวหรือกำไรสะสม สกุลเงินที่ใช้ ในการดำเนินงาน มาตรฐานการบัญชีไทย ฉบับที่ 30 เรือ่ งผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ ไม่มกี ารพูดถึงเรือ่ ง สกุลเงินทีใ่ ช้ในการดำเนินงาน อย่างไรก็ตาม โดยทัว่ ไปบริษทั ไทยจะบันทึกรายการและรายงานงบการเงินด้วยสกุลเงินบาท ภายใต้ IAS ฉบับที่ 21 เรือ่ ง การแปลงค่าสกุลเงินตราต่างประเทศ สินทรัพย์ หนีส้ นิ และผลการดำเนินงานของกิจการ จะรับรูโ้ ดยใช้ สกุลเงินทีใ่ ช้ในการดำเนินงาน สกุลทีใ่ ช้ในการดำเนินงานของกิจการเป็นสกุลเงินทีใ่ ช้ในสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจหลักทีก่ จิ การดำเนินงานอยู่ ซึง่ โดยปกติเป็นสกุลเงินหลักทีก่ อ่ ให้เกิดกระแสเงินสดรับและจ่ายทีส่ ำคัญ ไม่มีการแสดงผลกระทบที่เป็นตัวเงินระหว่างข้อแตกต่างของทั้งสองมาตรฐานการบัญชี บริษทั ฯ ไม่ได้แสดงผลกระทบของข้อแตกต่างระหว่างมาตรฐานการบัญชีทงั้ สองในรูปของจำนวนตัวเลข ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ ไม่อาจให้ความ เชือ่ มัน่ ได้วา่ ผลการดำเนินงานและส่วนของเจ้าของทีบ่ นั ทึกตามมาตรฐานการบัญชีไทยจะไม่มขี อ้ แตกต่างหากบริษทั ฯ ได้นำมาตรฐานการบัญชี ระหว่างประเทศมาใช้

162

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


รายการที่เกี่ยวโยงกัน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีการทำรายการทีม่ สี าระสำคัญกับบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันดังต่อไปนี ้ 1. สัญญาเช่าสำนักงานระหว่างบริษัทฯ กับบริษัท ยูนิสเตรทช์ จำกัด ความเกีย่ วโยงกัน บริษทั ฯ ทำสัญญาเช่าสำนักงานและบริการอืน่ ๆ กับบริษทั ยูนสิ เตรทช์ จำกัด ซึง่ มีนางสาวนิชติ า้ ชาห์ ในฐานะกรรมการของบริษทั ฯ เป็นผู้มีส่วนได้เสียโดยตรง เนื่องจากนางสาวนิชิต้า ชาห์ เป็นกรรมการและผู้ถือหุ้นของบริษัท ยูนิสเตรทช์ จำกัด และนายกิริต ชาห์ ในฐานะกรรมการของบริษทั ฯ เป็นผูม้ สี ว่ นได้เสียเนือ่ งจากเป็นกรรมการของบริษทั ยูนสิ เตรทช์ จำกัด ความสำคัญของการทำรายการ สัญญาเช่าสำนักงานมีความจำเป็นต่อการดำเนินงานของบริษทั ฯ ความเป็นธรรมของการกำหนดราคาและเงือ่ นไข สำหรับปี 2551 บริษทั ฯ ได้จา่ ยค่าเช่าและค่าบริการอืน่ ๆ เป็นจำนวนเงินรวม 2.16 ล้านบาท (ปี 2550: 2.69 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 0.01 (ปี 2550: ร้อยละ 0.02) ของสินทรัพย์ทมี่ ตี วั ตนสุทธิ โดยบริษทั ฯ ได้ทำสัญญาเช่าสำนักงานและบริการในอัตรา 210 บาทต่อตารางเมตร ต่อเดือน ซึ่งเป็นอัตราเช่าที่เท่ากันกับที่บริษัทฯ ได้ทำสัญญาเช่าสำนักงานและบริการกับบุคคลภายนอกในชั้นอื่นที่ใกล้เคียงกันในอาคาร สำนักงานเดียวกันทีอ่ ตั รา 210 บาท ต่อตารางเมตรต่อเดือน แนวโน้มการทำรายการในอนาคต สำนักงานมีความจำเป็นต่อการดำเนินงานของบริษทั ฯ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงต่อสัญญาเช่าสำนักงานและบริการในปี 2552 ในอัตราค่า เช่าอัตราเดียวกัน (หรือทีใ่ ห้ผลประโยชน์ทมี่ ากกว่า) กับปี 2551 2. ซื้อตั๋วเครื่องบินจาก บริษัท แอมบิก้า ทัวร์ เอเยนซี่ จำกัด และบริษัท จีพี แอร์เซอร์วิส จำกัด ความเกีย่ วโยงกัน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้ซอื้ ตัว๋ เครือ่ งบินจาก บริษทั แอมบิกา้ ทัวร์ เอเยนซี่ จำกัด และบริษทั จีพี แอร์เซอร์วสิ จำกัด ซึง่ มี นางสาวนิชติ า้ ชาห์ ในฐานะกรรมการของบริษทั ฯ เป็นผูม้ สี ว่ นได้เสียโดยตรง เนือ่ งจากนางสาวนิชติ า้ ชาห์ เป็นกรรมการและผูถ้ อื หุน้ ของ บริษทั ดังกล่าว ความสำคัญของการทำรายการ โดยปกติการดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ตัว๋ เครือ่ งบินมีความจำเป็นตามสัญญาว่าจ้างลูกเรือ เนือ่ งจากบริษทั ฯต้องจัดหา ตัว๋ เครือ่ งบินเพือ่ รับส่งลูกเรือไปทำงานบนเรือ และเดินทางกลับจากเรือทีท่ า่ เทียบเรือต่างๆ ทัว่ โลก เมือ่ สัญญาว่าจ้างสิน้ สุดลง บริษทั แอมบิกา้ ทัวร์ เอเยนซี่ จำกัด และบริษทั จีพี แอร์เซอร์วสิ จำกัด ได้ถกู เลือกให้มาบริการในเรือ่ งนี้ โดยพิจารณาจากความสามารถในการแข่งขันทาง ด้านราคาและบริการ การให้บริการทีร่ วดเร็วกว่าและมีประสิทธิภาพมากกว่า รวมทัง้ มีสำนักงานอยูใ่ กล้กบั บริษทั ฯ ซึง่ ทำให้ไม่มปี ญั หาในการ รับส่งตัว๋ เครือ่ งบินในกรณีเร่งด่วน ความเป็นธรรมของการกำหนดราคาและเงือ่ นไข สำหรับปี 2551 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยซือ้ ตัว๋ เครือ่ งบินจาก 2 บริษทั ดังกล่าวจำนวน 15.80 ล้านบาท (ปี 2550: 16.06 ล้านบาท) หรือ เท่ากับร้อยละ 0.10 (ปี 2550: ร้อยละ 0.11) ของสินทรัพย์ทมี่ ตี วั ตนสุทธิ แนวโน้มการทำรายการในอนาคต สำหรับปี 2552 มีความเป็นไปได้วา่ มูลค่าการซือ้ ตัว๋ เครือ่ งบินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย จะมีจำนวนน้อยกว่าปี 2551 อันเนือ่ งมา จากสภาวะเศรษฐกิจทีต่ กต่ำและเป็นผลให้ราคาตัว๋ เครือ่ งบินมีราคาลดลง อย่างไรก็ตามบริษทั ฯ ได้ทำการเปรียบเทียบด้านราคาและมาตรฐาน ของการให้บริการของผู้จำหน่ายตั๋วเครื่องบินรายอื่นๆ อย่างสม่ำเสมอ ซึ่งรวมทั้ง บริษัท แอมบิก้า ทัวร์ เอเยนซี่ จำกัด และบริษัท จีพี แอร์เซอร์วิส จำกัด ในกรณีที่ราคาตั๋วเครื่องบินและมาตรฐานการให้บริการที่เสนอโดยผู้จำหน่ายตั๋วเครื่องบินไม่ได้เป็นไปตามราคาตลาดโดย ทัว่ ไป หรือเงือ่ นไขต่างๆ ไม่ได้เป็นไปเพือ่ ผลประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ บริษทั ฯ จะพิจารณาเลือกซือ้ จากบริษทั จัดหาตัว๋ เครือ่ งบินอืน่ แทน

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

163


3. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการจากกลุ่มบริษัท แม็กซ์วิน จำกัด ความเกีย่ วโยงกัน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้จา่ ยค่าบำรุงรักษาระบบเครือ่ งปรับอากาศและค่าบริการอืน่ ๆ ในส่วนสำนักงาน และห้องพักอาศัยสำหรับ พนักงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ให้แก่บริษทั แม็กซ์วนิ เอ็นจิเนียริง่ จำกัด และบริษทั ฯ ได้จา่ ยค่าบริหารจัดการห้องพักและค่าบริการอืน่ ๆ สำหรับพนักงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ให้แก่บริษทั แมกซ์วนิ บิลเดอร์ส จำกัด ซึง่ เป็นรายการเกีย่ วโยงกันโดยมีนางสาวนิชติ า้ ชาห์ ใน ฐานะกรรมการของบริษทั ฯ เป็นผูม้ สี ว่ นได้เสียโดยตรง เนือ่ งจากนางสาวนิชติ า้ ชาห์ เป็นกรรมการและผูถ้ อื หุน้ ของ บริษทั แม็กซ์วนิ เอ็นจิเนียริง่ จำกัด นายคูชรู คาลี วาเดีย และนายกิรติ ชาห์ ในฐานะกรรมการของบริษทั ฯ เป็นกรรมการของบริษทั แมกซ์วนิ บิลเดอร์ส จำกัด และ นางสาวนิชติ า้ ชาห์ เป็นผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั แมกซ์วนิ บิลเดอร์ส จำกัด ความสำคัญของการทำรายการ การบำรุงรักษาระบบเครือ่ งปรับอากาศสำหรับสำนักงานของบริษทั ฯ และห้องพักอาศัย รวมถึงการบริหารจัดการ ห้องพักนัน้ มีความ จำเป็นสำหรับการดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ เนือ่ งจากเป็นห้องพักอาศัยสำหรับพนักงานชาวต่างชาติของบริษทั ฯ และถือเป็นทรัพย์สนิ ของบริษทั ย่อย โดยบริษทั แม็กซ์วนิ เอ็นจิเนียริง่ จำกัด และบริษทั แมกซ์วนิ บิลเดอร์ส จำกัด ถูกเลือกให้มาดำเนินการในเรือ่ งนี้ โดยราคาและการให้ บริการต่างๆ เป็นไปตามการแข่งขันโดยทัว่ ไป ความเป็นธรรมของการกำหนดราคาและเงือ่ นไข สำหรับปี 2551 บริษัทฯ และบริษัทย่อย จ่ายค่าบำรุงรักษาระบบเครื่องปรับอากาศ สำหรับสำนักงานบริษัทฯ บริษัทย่อย และที่ คอนโดมิเนียมของบริษัทย่อยรวมถึงค่าบริหารจัดการห้องพัก จำนวน 1.75 ล้านบาท และค่าใช้จ่ายในการซื้อและติดตั้งเครื่องปรับอากาศ จำนวน 2.46 ล้านบาท โดยรวมจำนวนทัง้ สิน้ 4.21 ล้านบาท (ปี 2550: 4.63 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 0.03 (ปี 2550: ร้อยละ 0.03) ของ สินทรัพย์ทมี่ ตี วั ตนสุทธิ แนวโน้มการทำรายการในอนาคต สำหรับปี 2552 บริษัทฯ ยังคงมีค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาระบบเครื่องปรับอากาศ และค่าใช้จ่ายในการซื้อและติดตั้งเครื่อง ปรับอากาศ กับบริษทั แม็กซ์วนิ เอ็นจิเนียริง่ จำกัด และค่าบริหารจัดการห้องพักกับบริษทั แมกซ์วนิ บิลเดอร์ส จำกัด อย่างไรก็ตามบริษทั ฯ ได้ทำการเปรียบเทียบด้านราคา และมาตรฐานของการให้บริการ ในกรณีที่ราคาและมาตรฐานการให้บริการไม่ได้เป็นไปตามการแข่งขันโดย ทัว่ ไป หรือไม่ได้เป็นไปเพือ่ ผลประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ บริษทั ฯ จะพิจารณาเปลีย่ นผูใ้ ห้บริการ 4. ค่าเบี้ยประกันภัยจากกลุ่มบริษัท อินชัวร์เอ็กซ์เซลเลนซ์ อินชัวรันซ์ โบรกเกอร์ส จำกัด ซึ่งเป็นตัวแทนบริษัท ประกันภัย ความเกีย่ วโยงกัน บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้จ่ายค่าเบี้ยประกันภัยรถยนต์สำหรับพนักงานชาวต่างชาติของบริษัทฯ และเบี้ยประกันภัยทรัพย์สินของ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ให้แก่บริษทั อินชัวร์เอ็กซ์เซลเลนซ์ อินชัวร์รนั ซ์ โบรกเกอร์ส จำกัด และบริษทั ฯ ได้จา่ ยค่าเบีย้ ประกันชีวติ สำหรับ พนักงานของบริษทั ฯ ให้แก่บริษทั อินชัวร์เอ็กซ์เซลเลนซ์ ไลฟ์ อินชัวร์รนั ซ์ โบรกเกอร์ส จำกัด ซึง่ เป็นรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันโดยมีนางสาวนิชติ า้ ชาห์ ซึง่ เป็นกรรมการของบริษทั ฯ มีความสัมพันธ์เป็นพีน่ อ้ งกับนางสาวสมิหรา ชาห์ ในฐานะผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั อินชัวร์เอ็กซ์เซลเลนซ์ อินชัวร์ รันซ์ โบรกเกอร์ส จำกัด และบริษทั อินชัวร์เอ็กซ์เซลเลนซ์ ไลฟ์ อินชัวร์รนั ซ์ โบรกเกอร์ส จำกัด ความสำคัญของการทำรายการ การประกันชีวิตและสุขภาพและการประกันภัยรถยนต์ เป็นสวัสดิการสำหรับพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อย และการประกัน ทรัพย์สนิ มีความจำเป็นต่อทรัพย์สนิ ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย บริษทั อินชัวร์เอ็กซ์เซลเลนซ์ อินชัวร์รนั ซ์ โบรกเกอร์ส จำกัด และบริษทั อินชัวร์เอ็กซ์เซลเลนซ์ ไลฟ์ อินชัวร์รนั ซ์ โบรกเกอร์ส จำกัด ได้ถกู เลือกมาให้บริการในเรือ่ งนี้ โดยพิจารณาจากความสามารถในการแข่งขัน ด้านราคาและบริการ หลังจากผ่านการเปรียบเทียบราคาและบริการจากตัวแทนประกันภัยอืน่ ๆในตลาด ความเป็นธรรมของการกำหนดราคาและเงือ่ นไข สำหรับปี 2551 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้จา่ ยค่าเบีย้ ประกันภัยประเภทต่างๆ ให้กบั 2 บริษทั ดังกล่าวจำนวนรวม 1.94 ล้านบาท

(ปี 2550: ไม่ม)ี คิดเป็นร้อยละ 0.01 (ปี 2550: ไม่ม)ี ของสินทรัพย์ทมี่ ตี วั ตนสุทธิ

164

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)


แนวโน้มการทำรายการในอนาคต สำหรับปี 2552 บริษทั ฯ ยังคงมีคา่ ใช้จา่ ยในการทำประกันภัยประเภทต่างๆ กับบริษทั อินชัวร์เอ็กซ์เซลเลนซ์ อินชัวร์รนั ซ์ โบรกเกอร์ส จำกัด และบริษทั อินชัวร์เอ็กซ์เซลเลนซ์ ไลฟ์ อินชัวร์รนั ซ์ โบรกเกอร์ส จำกัด อย่างไรก็ตามบริษทั ฯ ได้ทำการเปรียบเทียบด้านราคาและ เงือ่ นไขต่างๆ ซึง่ เป็นไปตามการแข่งขันโดยทัว่ ไปและเป็นผลประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ อนึง่ ผูต้ รวจสอบภายในได้ตรวจสอบรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันข้างต้นและได้รายงานผลต่อคณะกรรมการตรวจสอบโดยมีการพิจารณาและ สอบทานรายการดังกล่าวในทีป่ ระชุมคณะกรรมการตรวจสอบครัง้ ที่ 1/2552 เมือ่ วันที่ 28 มกราคม 2552 และได้รายงานรายการดังกล่าวต่อ คณะกรรมการบริษทั ฯ ในทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 1/2552 ซึง่ ได้มกี ารสอบทานรายการดังกล่าวจากความเห็นและรายงานของ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั ฯ มีความเห็นว่าบริษทั ฯ มีกฎข้อบังคับและนโยบายป้องกันการทำรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์อย่างเพียงพอ โดยรายการระหว่างกันทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของบริษทั ฯข้างต้น เป็นไปตามมาตรฐานทางการ ค้าทัว่ ไป โดยยึดถือราคาตลาดเป็นสำคัญและเพือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ และมีการเปิดเผยอย่างเพียงพอแล้วในงบการเงิน และรายงาน ประจำปีของบริษทั ฯ

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

165


ดัชนีแสดงรายการที่กำหนดตามแบบ 56-2 (ตามมาตรา 56 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535)

ลำดับที่

หัวข้อ

1. ข้อมูลทัว่ ไป 1.1 ชือ่ สถานทีต่ ง้ั สำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจของบริษทั ฯ 1.2 ชือ่ สถานทีต่ ง้ั สำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจของนิตบิ คุ คลทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ ตัง้ แต่รอ้ ยละ 10 ขึน้ ไป 1.3 ชือ่ สถานทีต่ ง้ั ของบุคคลอ้างอิง 2. ข้อมูลทางการเงิน 2.1 ข้อมูลจากงบการเงินโดยสรุป 2.2 อัตราส่วนทางการเงินทีส่ ำคัญ

3.

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

5.

โครงสร้างผูถ้ อื หุน้ และการจัดการ

4.

3.1 ลักษณะการประกอบธุรกิจโดยสังเขป 3.2 โครงสร้างรายได้จากการดำเนินงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย 3.3 สรุปการเปลีย่ นแปลงทีส่ ำคัญของลักษณะการประกอบธุรกิจ ปัจจัยความเสีย่ ง

5.1 ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ 5.2 การจัดการ - โครงสร้างการจัดการ - การสรรหากรรมการและผูบ้ ริหาร - กรรมการอิสระ - นิยามของกรรมการอิสระ - ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร - การกำกับดูแลกิจการ - การดูแลเรือ่ งการใช้ขอ้ มูลภายใน - การควบคุมภายใน - ความเห็นของคณะกรรมการบริษทั ทีม่ ตี อ่ การควบคุมภายใน - รายงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม 5.3 นโยบายการจ่ายเงินปันผล

6.

7. 8.

166

รายการระหว่างกัน

6.1 การเปิดเผยรายการระหว่างกัน 6.2 ความจำเป็นและความสมเหตุสมผลของการทำรายการ 6.3 มาตรการหรือขัน้ ตอนการอนุมตั กิ ารทำรายการระหว่างกัน 6.4 นโยบายหรือแนวโน้มการทำรายการระหว่างกัน

คำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน งบการเงิน

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

หน้า 6 7-9 167 2-3 2-3 10 - 16 19 22 - 29 61 - 64 65 66 - 68 33, 66 41 - 42 34, 37 - 40 30 - 32, 33 - 46 47 48 - 49 30 - 32, 44 50 - 60 65 163 - 165 163 - 165 163 - 165 163 - 165 81 - 105 107 - 157


บุคคลอ้างอิง

s นายทะเบียนหลักทรัพย์

s ผู้สอบบัญชี

บริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด ชัน้ 4 และ 7 เลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ : 66-2 229-2800 โทรสาร : 66-2 359-1259 ศูนย์บริการข้อมูล : 66-2 229-2888 E-mail : contact.tsd@set.or.th Website : http://www.tsd.co.th ฝ่ายนายทะเบียนหลักทรัพย์ - ส่วนบริการผูอ้ อกหลักทรัพย์ 1 อาคารสถาบันวิทยาการตลาดทุน ชัน้ 2 2/7 หมูท่ ี่ 4 (โครงการนอร์ธปาร์ค) ถนนวิภาวดีรงั สิต กม. 27 แขวงทุง่ สองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ : 66-2 596-9000 โทรสาร : 66-2 832-4994-6 s ธนาคารหลัก

ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) เลขที่ 10 ถนนสุขมุ วิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 66-2 208-7000, 8000 โทรสาร : 66-2 255-9391-3 Website : http://www.ktb.co.th

บริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด ชัน้ 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 (ตรงข้ามสวนเบญจกิติ / เยือ้ งศูนย์ประชุมแห่งชาติสริ กิ ติ )ิ์ ตู้ ป.ณ. 1047, กรุงเทพฯ 10501 ประเทศไทย โทรศัพท์ : 66-2 264-0777, 66-2 661-9190 โทรสาร : 66-2 264-0789-90 E-mail : ErnstYoung.Thailand@th.ey.com Website : http://www.ey.com/th

รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

167


EXIT EMERGENCY WAY CO., LTD. TEL : 02-986-2525-28


รายงานประจำปี 2551 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

ชั้น 7 อาคารคาเธ่ย์เฮ้าส์ 8 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ : 66-2 696-8800, 66-2 696-8820 โทรสาร : 66-2 236-7654, 633-8460 E-mail : psl@preciousshipping.com, ir@preciousshipping.com Home page : http://www.preciousshipping.com

รายงานประจำปี 2551

บริ บริษษัทัท พรี พรีเเชีชียยสส ชิชิพพปิปิ้ง้ง จำกั จำกัดด (มหาชน) (มหาชน)


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.