Psl 07

Page 1

รายงานประจําปี 2550

ANNUAL REPORT 2007 PRECIOUS SHIPPING PUBLIC COMPANY LIMITED ANNUAL REPORT 2007

MARINE MONEY 2006 RANKINGS FIRST PLACE IN ASIA

ชัน้ 7 อาคารคาเธ่ยเ์ ฮ้าส์ 8 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ : 66-2 696-8800, 66-2 696-8820 โทรสาร : 66-2 236-7654, 633-8460

7th Floor, Cathay House, 8 North Sathorn Road, Silom, Bangrak, Bangkok 10500 Telephone : 66-2 696-8800, 66-2 696-8820 Fax : 66-2 236-7654, 633-8460

PRECIOUS SHIPPING PUBLIC COMPANY LIMITED

E-mail : psl@preciousshipping.com, ir@preciousshipping.com Home page : http://www.preciousshipping.com

รายงานประจำปี 2550 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

BEST PERFORMANCE-SERVICE SET AWARDS 2006

THE ASSET MAGAZINE 2007 RANKINGS THE BEST CORPORATE GOVERNANCE IN THAILAND

BEST CORPORATE GOVERNANCE REPORT SET AWARDS 2006

บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) PRECIOUS SHIPPING PUBLIC COMPANY LIMITED

MARINE MONEY 2006 RANKINGS FIRST PLACE IN THE WORLD


EXIT EMERGENCY WAY CO., LTD. TEL : 02-986-2525-28 FAX : 02-971-7764


สารบัญ

CONTENTS

จุดเด่นทางการเงิน

2

2

FINANCIAL HIGHLIGHTS

โครงสร้างกลุ่มบริษัท

4

4

CORPORATE STRUCTURE

ข้อมูลอื่นๆ ตามมาตรา 114 6 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จำกัด พ.ศ. 2535

7

OTHER INFORMATION PURSUANT TO SEC. 114

ลักษณะการประกอบธุรกิจและอุตสาหกรรม 12

13

NATURE OF BUSINESS AND INDUSTRY

กองกำลังเรือ 25

25

FLEET LIST

โครงสร้างรายได้ 27

27

REVENUE STRUCTURE

คณะกรรมการบริษัท 28

28

THE BOARD OF DIRECTORS

รายงานจากคณะกรรมการบริษัท 30

31

BOARD OF DIRECTORS’ REPORT

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ 44

45

AUDIT COMMITTEE REPORT

รายงานการกำกับดูแลกิจการ 48

49

CORPORATE GOVERNANCE REPORT

การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน 78

79

INSIDER TRADING CONTROLS

การควบคุมภายใน 80

81

INTERNAL CONTROL

รายงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม 82

83

CORPORATE SOCIAL RESPONSIBILITY (CSR) STATEMENT

ปัจจัยความเสี่ยงที่สำคัญ 98

99

SIGNIFICANT RISK FACTORS

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่และนโยบายการจ่ายเงินปันผล 106

107

MAJOR SHAREHOLDERS AND DIVIDEND POLICY STATEMENT

โครงสร้างการจัดการ 108

109

MANAGEMENT STRUCTURE

ประวัติคณะกรรมการบริษัท 114

115

BOARD OF DIRECTORS - PROFILE

คณะผู้บริหาร 132

133

MANAGEMENT TEAM

คำอธิบายและการวิเคราะห์ของผู้บริหาร 138

139

MANAGEMENT DISCUSSION AND ANALYSIS

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ 186 ต่อรายงานทางการเงิน

187

REPORT ON THE BOARD OF DIRECTORS’ RESPONSIBILITIES

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 188

189

REPORT OF INDEPENDENT AUDITOR

งบการเงิน 190

191

FINANCIAL STATEMENTS

หมายเหตุประกอบงบการเงิน 208

209

NOTES TO FINANCIAL STATEMENTS

งบการเงินแปลงค่าเป็นเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา 268

269

RESTATED US DOLLAR FINANCIAL STATEMENTS

นโยบายที่ ใช้ ในการปรับปรุงงบการเงินสกุลไทยบาท 282 เป็นสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา

283

POLICY OF RESTATEMENT FROM THAI BAHT TO

สรุปความแตกต่างที่สำคัญระหว่างมาตรฐานการบัญชี 288 ที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย (Thai GAAP) และมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (IFRS)

289

SUMMARY OF SIGNIFICANT DIFFERENCES BETWEEN THAI

รายการที่เกี่ยวโยงกัน 292

293

CONNECTED TRANSACTIONS

ดัชนีแสดงรายการที่กำหนดตามแบบ 56-2 296

297

INDEX OF REPORT IN ACCORDANCE WITH FORM 56-2

บุคคลอ้างอิง 298

298

REFERENCES

OF PUBLIC LIMITED COMPANIES ACT B.E. 2535

FOR FINANCIAL STATEMENTS

US DOLLAR CURRENCY

GAAP AND INTERNATIONAL FINANCIAL REPORTING STANDARDS (IFRS)


จุดเด่นทางการเงิน FINANCIAL HIGHLIGHTS หน่วย : ล้านบาท / Unit : Baht Million

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

รายการ Details Vessel Operating Income รายได้จากการเดินเรือ Vessel Operating Costs ต้นทุนการเดินเรือ กำไรขั น ้ ต้ น Gross Profit Total Revenues รายได้รวม ต้ น ทุ น รวม (ไม่ ร วมค่ า เสื อ ่ มราคา) Total Expenses (excl. depreciation) Depreciation ค่าเสือ่ มราคา รายการพิ เ ศษ Extra-ordinary items กำไรก่อนภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล Net Income before Corporate Income Tax Corporate Income Tax ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล กำไรสุ ท ธิ Net Income

2550 2007 7,288.37 1,872.37 5,416.00 9,033.04 2,836.73 1,824.58 - 4,371.73

2549 2548 2006 2005 9,056.30 11,006.82 2,949.98 2,288.95 6,106.32 8,717.87 9,250.76 11,090.75 3,442.20 3,039.55 2,093.43 1,874.59 - - 3,715.12 6,176.61

2547 2004 8,540.26 1,844.29 6,695.96 8,728.12 2,595.05 1,383.30 - 4,749.77

2546 2003 3,796.88 1,530.82 2,266.05 3,990.53 1,999.61 601.97 147.61 1,536.56

2545 2002 3,290.90 1,758.12 1,532.78 3,402.39 2,355.75 634.97 90.76 502.43

215.57 4,156.16

- 3,715.12

- 4,749.77

- 1,536.56

- 502.43

สินทรัพย์หมุนเวียนรวม สินทรัพย์ถาวร (สุทธิ) สินทรัพย์รวม หนีส้ นิ หมุนเวียนรวม เงินกูย้ มื ระยะยาวรวม หนีส้ นิ รวม ส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวม ทุนทีไ่ ด้ชำระแล้ว

1,762.90 1,602.97 1,166.94 1,759.53 9,569.51 11,023.85 12,496.75 11,517.59 15,018.14 12,758.15 13,780.61 13,375.78 788.31 720.44 540.94 1,649.64 - - 3,293.97 7,561.17 953.21 720.44 3,834.90 9,210.81 14,064.93 12,037.71 9,945.71 5,292.51 1,039.52 520.00 520.00 520.00

1,073.54 4,618.00 5,867.92 1,426.28 3,422.35 4,848.63 1,957.87 520.00

629.30 4,207.70 5,103.84 796.12 4,024.52 4,820.64 676.59 520.00

6,052.96

2,196.35

1,285.40

(308.66) (2,731.24) (8,232.06)

(922.45)

(85.50)

Total Current Assets Fixed Assets (net) Total Assets Total Current Liabilities Total Long-Term Loans Total Liabilities Total Shareholders’ Equity Paid-up Capital

กระแสเงินสดจากกิจกรรม Cash flow from Operating activities ดำเนินงาน กระแสเงิ น สดจากกิ จ กรรม Cash flow from Investing ลงทุ น activities กระแสเงินสดจากกิจกรรม Cash flow from Financing activities จัดหาเงิน มูลค่าตามบัญชีตอ่ หุน้ (บาท) * Book Value per share (Baht) * Earnings per share (Baht) ** กำไรต่อหุน้ (บาท) ** Cash Dividend paid out เงินสดปันผลทีจ่ า่ ยแล้ว ต่ อ หุ น ้ (บาท) * per share (Baht) * Gross Profit Margin (%) อัตรากำไรขัน้ ต้น (ร้อยละ) อั ต รากำไรสุ ท ธิ (ร้ อ ยละ) Net Profit Margin (%) อัตราผลตอบแทนผูถ้ อื หุน้ Return on Equity (%) (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ Return on Total Assets (%) (ร้อยละ) Total Liabilities/Equity Ratio อัตราส่วนหนีส้ นิ รวมต่อ ส่วนผูถ้ อื หุน้ จำนวนเรือ (ณ วันสิน้ ปี) Number of Ships (As At End of The Year)

4,760.18 (2,123.63)

5,896.56

- 6,176.61

7,903.71

(2,391.33) (5,032.94) (5,989.85)

2,828.46

(697.16) (1,157.59)

13.53 4.01 2.56

11.58 3.62 1.78

9.57 6.02 1.53

5.09 4.60 0.88

1.88 1.48 0.25

0.65 0.48 0.00

74.31 46.01 59.05

67.43 40.16 33.80

79.20 55.69 81.07

78.40 54.42 131.02

59.68 38.51 116.65

46.58 14.77 87.33

55.30

28.00

45.49

49.36

28.01

9.21

0.07

0.06

0.39

1.74

2.48

7.12

44

54

54

52

29

28

* มูลค่าตามบัญชีตอ่ หุน้ และเงินสดปันผลทีจ่ า่ ยแล้วต่อหุน้ คำนวณโดยใช้จำนวนหุน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 (1,039,520,600 หุน้ ) เพือ่ ให้งา่ ยในการเปรียบเทียบกับ ตัวเลขของปี 2550 หลังจากทีไ่ ด้จา่ ยหุน้ ปันผล ** กำไรต่อหุน้ ได้ปรับปรุงจำนวนหุน้ สามัญของงวดก่อนโดยถือเสมือนว่าการออกหุน้ ปันผลได้เกิดขึน้ ตัง้ แต่วนั เริม่ ต้นของงวดแรกทีเ่ สนอรายงาน * Book value per share and Cash dividend paid out per share for all years is calculated per number of shares outstanding (1,039,520,600 shares) as on

December 31, 2007, to facilitate comparision of latest figures of year 2007,after stock dividend. ** Earnings per share is adjusted as if stock dividend had been distributed at the beginning of the earliest period reported.


กำไรสุทธิและอัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น Net Income and Return on Equity 8,000

หน่วย : ล้านบาท Unit : Baht Million

131%

7,000

140%

117%

6,177

120%

6,000 5,000

87%

4,750

100%

81%

4,156 3,715

4,000

80%

59% 60%

3,000

34%

2,000 1,000 0

กำไรสุทธิ

Net Income

40%

1,537

20%

502 2545 • 2002

2546 • 2003

2547 • 2004

2548 • 2005

2549 • 2006

อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น

Return on Equity

0

2550 • 2007

สินทรัพย์รวม Total Assets

หน่วย : ล้านบาท Unit : Baht Million

14,000

15,018.14

16,000

12,758.15

13,375.78

18,000

13,780.61

20,000

12,000

8,000 6,000

อื่นๆ

5,867.92

5,103.84

10,000

Others เงินล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือ

Advances for vessel construction

4,000 2,000

เรือเดินทะเล 2545 • 2002

2546 • 2003

2547 • 2004

2548 • 2005

2549 • 2006

2550 • 2007

ส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและอัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น Shareholders’ Equity and Total Liabilities /Equity Ratio 16,000 14,000

7

12,038

12,000

6

9,946

5

10,000

4

8,000

5,293

2.48

6,000

0.39

667 2545 • 2002

2546 • 2003

Total Shareholders’ Equity

2

1,958

2,000

ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม

3

1.74

4,000

0

หน่วย : ล้านบาท Unit : Baht Million

8

14,065

7.12

2547 • 2004

2548 • 2005

2549 • 2006

อัตราส่วนหนี้สินรวม ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

1

0.07

0.06

Total Liabilities/ Equity Ratio

0

2550 • 2007

กระแสเงินสด Cash Flows

หน่วย : ล้านบาท Unit : Baht Million 4,760.18

5,896.56

7,903.71

6,052.96

1,285.40

2,000

2,196.35

6,000

2,828.46

8,000

4,000

กระแสเงินสด จากกิจกรรมดำเนินงาน

Cash flow from Operating activities

-10,000

2545 • 2002

2546 • 2003

2547 • 2004

2548 • 2005

2549 • 2006

-2,391.33

-5,032.94

-2,123.63

-308.66 -5,989.85

-8,000

-2,731.24

-6,000

-8,232.06

-697.16

-922.45

-1,157.59

-4,000

-85.50

0 -2,000

Vessels

กระแสเงินสด จากกิจกรรมลงทุน

Cash flow from Investing activities กระแสเงินสด จากกิจกรรมจัดหาเงิน

2550 • 2007

Cash flow from Financing activities

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

0


โครงสร้างกลุ่มบริษัท CORPORATE STRUCTURE

เจ้าของเรือ

ให้บริการเช่าเรือ

Ship Owning

บริษัทในลำดับที่ 1 ถึง 34 ตามตารางหน้า 8-9

99.99%

และลำดับที่ 35-36 ตามตารางหน้า 9

69.99%

ประเทศไทย

Companies Nos : 1 to 34 Per list On Page 8-9 99.99% and Nos: 35 to 36 Per list On Page 9 69.99%

Thailand

Ship Chartering

บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง (ปานามา) เอส เอ ประเทศปานามา

บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (สิงคโปร์) พีทีอี ลิมิเตด ประเทศสิงคโปร์

บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง (ยูเค) ลิมิเตด ประเทศอังกฤษ

Precious Shipping (Panama) S.A. Republic of Panama

Precious Shipping (Singapore) Pte Limited Singapore

Precious Shipping (UK) Limited United Kingdom

99.99%

100%

99.99%

100%

บริษัท พีเอสแอล ทุน ชิพปิ้ง พีทีอี ลิมิเตด ประเทศสิงคโปร์

64.06%*

PSL Thun Shipping Pte Ltd. Singapore

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

64.06%*

* แสดงการถือหุน้ ทางอ้อมของ PSL * Represents indirect ownership of PSL

99.99%

99.99%

บริษัท เรจิดอร์ พีทีอี ลิมิเตด ประเทศสิงคโปร์

100%*

Regidor Pte Ltd. Singapore

100%*


บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) ประเทศไทย (PSL)

Precious Shipping Public Company Limited, Thailand (PSL)

การจัดการท่าเรือ

บริษัท เกรท เซอร์เคิล ชิปปิ้ง เอเยนซี่ จำกัด ประเทศไทย

บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง (เมอริเชียส) ลิมิเตด ประเทศเมอริเชียส

ผูบ้ ริหารการลงทุน

Port Development

99.99%

100%

Great Circle Shipping Agency Limited Thailand

Precious Shipping (Mauritius) Limited Mauritius

99.99%

Investment Holding Company

บริษัท เทบส์ พีทีอี ลิมิเตด ประเทศสิงคโปร์

100%

Thebes Pte Ltd Singapore

100%

บริษัท พรีเชียส โปรเจคส์ พีทีอี ลิมิเตด ประเทศสิงคโปร์

100%

100%

Precious Projects Pte Limited Singapore

100%

บริษัท พีเอสแอล อินเวสท์เมนท์ ลิมิเตด ประเทศเมอริเชียส

บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล ไลเทอร์เรจ ลิมิเตด ประเทศเมอริเชียส

บริษัท พีเอสแอล บัลค์ เทอร์มิเนอร์ ลิมิเตด ประเทศเมอริเชียส

บริษัท แรพพิด พอร์ท ลิสซิ่ง พีทีอี ลิมิเตด ประเทศสิงคโปร์

PSL Investments Limited Mauritius

International Lighterage Ltd Mauritius

PSL Bulk Terminal Company Limited Mauritius

Rapid Port Leasing Company Pte Ltd Singapore

100%*

100%*

100%*

100%*

100%*

100%*

10%

40%

บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล ซีพอร์ทส์ (ฮาลเดีย) ไพรเวท ลิมเิ ตด ประเทศอินเดีย

Southern LPG Limited India

International Seaports (Haldia) Private Limited India

50%*

100%*

ลำดับในกรอบ / Legend

บริษัท เซาน์เทอร์น แอลพีจี ลิมิเตด ประเทศอินเดีย

50%*

100%*

22.40%*

22.40%*

บริษัท จัดตั้งขึ้นในประเทศ อัตราร้อยละของการถือหุ้น

Name of Company. Country of Incorporation. Percentage Ownership.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

ผูบ้ ริหารเรือ

Ship Management


ข้อมูลอื่นๆ ตามมาตรา 114 แห่งพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชน จำกัด พ.ศ. 2535

รายละเอียดของบริษัท บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) ประเภทธุรกิจ

: เจ้าของเรือและโฮลดิง้ คัมพานี

ทะเบียนเลขที่ *

: 0107537000629 (เดิมเลขที่ บมจ. 309)

ทุนจดทะเบียน

: 1,039,520,600 บาท (1,039,520,600 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท)

หุน้ ทีอ่ อกและเรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว

: 1,039,520,600 บาท (1,039,520,600 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท)

ทีต่ งั้

: ชัน้ 7 อาคารคาเธ่ยเ์ ฮ้าส์ 8 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

โทรศัพท์

: 66-2 696-8800

โทรสาร

: 66-2 236-7654

E-mail

: ir@preciousshipping.com

Home page

: http://www.preciousshipping.com

หมายเหต ุ

* ตัง้ แต่วนั ที่ 4 มกราคม 2549 กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (กรมฯ), กระทรวงพาณิชย์ ได้ทำการแก้ไขปรับเปลีย่ นเลข ทะเบียนของธุรกิจ โดยได้แก้ไขจากเลขทะเบียนเดิมให้เป็นเลข 13 หลัก และเพือ่ ป้องกันความสับสนระหว่างเลข ทะเบียนเดิม กับเลขทะเบียนใหม่ ในเอกสารทีก่ รมฯ ออกให้กบั ธุรกิจทุกฉบับ จะปรากฏเลขทะเบียนเก่าควบคู่ ไปกับ เลขทะเบียน 13 หลัก ทีไ่ ด้ปรับแก้ไขใหม่ดว้ ยทุกครัง้


OTHER INFORMATION PURSUANT TO SEC. 114 OF PUBLIC LIMITED COMPANIES ACT B.E. 2535

Details of the Company PRECIOUS SHIPPING PUBLIC COMPANY LIMITED

Business

: Shipowner and Holding Company

Registration No. *

: 0107537000629 (Previous No. Bor Mor Jor. 309)

Authorized share capital

: Baht 1,039,520,600.- (1,039,520,600 shares of Baht 1 each)

Issued and fully paid-up share capital : Baht 1,039,520,600.- (1,039,520,600 shares of Baht 1 each) : 7th Floor, Cathay House, 8 North Sathorn Road, Silom,

Location Telephone

: 66-2 696-8800

Fax

: 66-2 236-7654

E-mail

: ir@preciousshipping.com

Home page

: http://www.preciousshipping.com

Note

* With effect from 4 January 2006, the Department of Business Development (DBD), Ministry of Commerce has changed the registration number of all companies to the new 13 digit registration number. These previous and new registration numbers will both appear together on all certificates issued by DBD.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Bangrak, Bangkok 10500


ชื่อ และ ประเภทธุรกิจ ของบริษัทย่อยและบริษัทร่วมที่บริษัทฯ ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป ของจำนวนหุ้นที่ จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของนิติบุคคลนั้น Name and category of subsidiary and associated companies in which the Company holds more than 10% of shares sold by them.

Sr

ชือ่ บริษทั ย่อย / บริษทั ร่วม

สกุล เงิน

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

Name of Subsidiaries / Associate Currency

1 บริษทั พรีเชียส เม็ททัลซ์ จำกัด Precious Metals Limited 2 บริษทั พรีเชียส วิชเชส จำกัด Precious Wishes Limited 3 บริษทั พรีเชียส สโตนส์ ชิปปิง้ จำกัด Precious Stones Shipping Limited 4 บริษทั พรีเชียส มิเนอรัลส์ จำกัด Precious Minerals Limited 5 บริษทั พรีเชียส แลนด์ จำกัด Precious Lands Limited 6 บริษทั พรีเชียส ริเวอร์ส จำกัด Precious Rivers Limited 7 บริษทั พรีเชียส เลคส์ จำกัด Precious Lakes Limited 8 บริษทั พรีเชียส ซีส์ จำกัด Precious Seas Limited 9 บริษทั พรีเชียส สตาร์ส จำกัด Precious Stars Limited 10 บริษทั พรีเชียส โอเชีย่ นส์ จำกัด Precious Oceans Limited 11 บริษทั พรีเชียส แพลนเนตส์ จำกัด Precious Planets Limited 12 บริษทั พรีเชียส ไดมอนด์ส จำกัด Precious Diamonds Limited 13 บริษทั พรีเชียส แซฟไฟร์ส จำกัด Precious Sapphires Limited 14 บริษทั พรีเชียส เอ็มเมอรัลส์ จำกัด Precious Emeralds Limited 15 บริษทั พรีเชียส รูบสี ์ จำกัด Precious Rubies Limited 16 บริษทั พรีเชียส โอปอลส์ จำกัด Precious Opals Limited 17 บริษทั พรีเชียส การ์เน็ตส์ จำกัด Precious Garnets Limited 18 บริษทั พรีเชียส เพิรล์ ส์ จำกัด Precious Pearls Limited

บาท Baht บาท Baht บาท Baht บาท Baht บาท Baht บาท Baht บาท Baht บาท Baht บาท Baht บาท Baht บาท Baht บาท Baht บาท Baht บาท Baht บาท Baht บาท Baht บาท Baht บาท Baht

ทุนจดทะเบี ยน Registered Capital

250,000,000 250,000,000 230,000,000 230,000,000 260,000,000 260,000,000 230,000,000 230,000,000 84,000,000 84,000,000 234,000,000 234,000,000 99,000,000 99,000,000 100,000,000 100,000,000 105,000,000 105,000,000 175,000,000 175,000,000 100,000,000 100,000,000 205,000,000 205,000,000 144,000,000 144,000,000 366,000,000 366,000,000 84,000,000 84,000,000 74,000,000 74,000,000 379,000,000 379,000,000 73,000,000 73,000,000

ทุนทีอ่ อกและเรียก ชำระเต็มมูลค่าแล้ว

สัดส่วน การถือหุน้

ประเภทธุ รกิจ

Issued and fully paid-up Percentage of Category of Share capital Shareholdings business

250,000,000 250,000,000 230,000,000 230,000,000 260,000,000 260,000,000 230,000,000 230,000,000 84,000,000 84,000,000 234,000,000 234,000,000 99,000,000 99,000,000 100,000,000 100,000,000 105,000,000 105,000,000 175,000,000 175,000,000 100,000,000 100,000,000 205,000,000 205,000,000 144,000,000 144,000,000 366,000,000 366,000,000 84,000,000 84,000,000 74,000,000 74,000,000 379,000,000 379,000,000 73,000,000 73,000,000

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99

เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner


ชือ่ บริษทั ย่อย / บริษทั ร่วม

สกุล เงิน

ทุนจดทะเบี ยน

Name of Subsidiaries / Associate

Currency

Registered Capital

ทุนทีอ่ อกและเรียก ชำระเต็มมูลค่าแล้ว

สัดส่วน การถือหุน้

ประเภทธุ รกิจ

Issued and fully paid-up Percentage of Category of Share capital Shareholdings business

19 บริษทั พรีเชียส ฟลาวเวอร์ส จำกัด บาท 76,000,000 76,000,000 99.99 Precious Flowers Limited Baht 76,000,000 76,000,000 99.99 20 บริษทั พรีเชียส ฟอเรสท์ จำกัด บาท 96,000,000 96,000,000 99.99 Precious Forests Limited Baht 96,000,000 96,000,000 99.99 21 บริษทั พรีเชียส ทรีส์ จำกัด บาท 80,000,000 80,000,000 99.99 Precious Trees Limited Baht 80,000,000 80,000,000 99.99 22 บริษทั พรีเชียส พอนด์ส จำกัด บาท 84,000,000 84,000,000 99.99 Precious Ponds Limited Baht 84,000,000 84,000,000 99.99 23 บริษทั พรีเชียส เว็นเจอร์ส จำกัด บาท 80,000,000 80,000,000 99.99 Precious Ventures Limited Baht 80,000,000 80,000,000 99.99 24 บริษทั พรีเชียส แคปปิตอลส์ จำกัด บาท 200,000,000 200,000,000 99.99 Precious Capitals Limited Baht 200,000,000 200,000,000 99.99 25 บริษทั พรีเชียส จัสมินส์ จำกัด บาท 98,000,000 98,000,000 99.99 Precious Jasmines Limited Baht 98,000,000 98,000,000 99.99 26 บริษทั พรีเชียส ออคิดส์ จำกัด บาท 217,000,000 217,000,000 99.99 Precious Orchids Limited Baht 217,000,000 217,000,000 99.99 27 บริษทั พรีเชียส ลากูนส์ จำกัด บาท 140,000,000 140,000,000 99.99 Precious Lagoons Limited Baht 140,000,000 140,000,000 99.99 28 บริษทั พรีเชียส คลิฟส์ จำกัด บาท 140,000,000 140,000,000 99.99 Precious Cliffs Limited Baht 140,000,000 140,000,000 99.99 29 บริษทั พรีเชียส ฮิลส์ จำกัด บาท 140,000,000 140,000,000 99.99 Precious Hills Limited Baht 140,000,000 140,000,000 99.99 30 บริษทั พรีเชียส เมาน์เท่นส์ จำกัด บาท 140,000,000 140,000,000 99.99 Precious Mountains Limited Baht 140,000,000 140,000,000 99.99 31 บริษทั พรีเชียส รีสอร์ทส์ จำกัด บาท 140,000,000 140,000,000 99.99 Precious Resorts Limited Baht 140,000,000 140,000,000 99.99 32 บริษทั พรีเชียส คอมเม็ทส์ จำกัด บาท 71,100,000 71,100,000 99.99 Precious Comets Limited Baht 71,100,000 71,100,000 99.99 33 บริษทั พรีเชียส ออนาเม้นท์ส จำกัด บาท 68,100,000 68,100,000 99.99 Precious Ornaments Limited Baht 68,100,000 68,100,000 99.99 34 บริษทั พรีเชียส ซิตส้ี ์ จำกัด บาท 170,000,000 170,000,000 99.99 Precious Cities Limited Baht 170,000,000 170,000,000 99.99 35 บริษทั พรีเชียส สตอเรจ เทอมินลั ส์ บาท 6,000,000 6,000,000 69.99 จำกัด Precious Storage Terminals Limited Baht 6,000,000 6,000,000 69.99 36 บริษทั เนดเท็กซ์ จำกัด บาท 10,000,000 2,500,000 69.99 Nedtex Limited Baht 10,000,000 2,500,000 69.99 37 บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ บาท 15,000,000 15,000,000 99.99 จำกัด Great Circle Shipping Agency Limited Baht 15,000,000 15,000,000 99.99

เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner เจ้าของเรือ Shipowner คลังเก็บสินค้า ลอยน้ำ Bulk Storage Barges คลังเก็บสินค้า ลอยน้ำ Bulk Storage Barges ผูบ้ ริหารเรือทาง ด้านเทคนิค Technical Manager of ships

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Sr


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

10

Sr

ชือ่ บริษทั ย่อย / บริษทั ร่วม

สกุล เงิน

ทุนจดทะเบี ยน

Name of Subsidiaries / Associate

Currency

Registered Capital

ทุนทีอ่ อกและเรียก ชำระเต็มมูลค่าแล้ว

สัดส่วน การถือหุน้

ประเภทธุ รกิจ

Issued and fully paid-up Percentage of Category of Share capital Shareholdings business

38 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (เมอริเชียส) ลิมเิ ตด เหรียญสหรัฐ 10,000 10,000 100 Precious Shipping (Mauritius) Limited USD 10,000 10,000 100 39 บริษทั พีเอสแอล อินเวสท์เมนท์ ลิมเิ ตด เหรียญสหรัฐ 10,000 1,160 100* PSL Investments Limited USD 10,000 1,160 100* 40 บริษทั อินเตอร์เนชัน่ แนล ไลเทอร์เรจ ลิมเิ ตด เหรียญสหรัฐ 10,000 10,000 100* International Lighterage Ltd. USD 10,000 10,000 100* 41 บริษทั พีเอสแอล บัลค์ เทอร์มเิ นอร์ ลิมเิ ตด เหรียญสหรัฐ 10,000 2 100* PSL Bulk Terminal Company Limited USD 10,000 2 100* 42 บริษทั แรพพิด พอร์ท ลิสซิง่ พีทอี ี ลิมเิ ตด เหรียญสหรัฐ 1,000,000 2 100* Rapid Port Leasing Company Pte. Ltd. USD 1,000,000 2 100* 43 บริษทั เทบส์ พีทอี ี ลิมเิ ตด เหรียญสิงคโปร์ 100,000 2 100 Thebes Pte. Ltd. SGD 100,000 2 100 44 บริษทั เรจิดอร์ พีทอี ี ลิมเิ ตด เหรียญสิงคโปร์ 100,000 2 100* Regidor Pte. Ltd. SGD 100,000 2 100* 45 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (สิงคโปร์) เหรียญสิงคโปร์ 20,000,000 15,000,000 100 พีทอี ี ลิมเิ ตด Precious Shipping (Singapore) SGD 20,000,000 15,000,000 100 Pte. Limited 46 บริษทั พีเอสแอล ทุน ชิพปิง้ พีทอี ี ลิมเิ ตด เหรียญสหรัฐ 500,000 12,864 64.06* PSL Thun Shipping Pte. Ltd. USD 500,000 12,864 64.06* 47 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (ปานามา) เอส เอ เหรียญสหรัฐ 10,000 10,000 99.99 Precious Shipping (Panama) S.A. USD 10,000 10,000 99.99 48 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (ยูเค) ลิมเิ ตด เหรียญสหรัฐ 10,000 10,000 99.99 Precious Shipping (UK) Limited USD 10,000 10,000 99.99 49 บริษทั เซาท์เทอร์น แอลพีจี ลิมเิ ตด อินเดียนรูป ี 100,000,000 64,592,200 50* Southern LPG Limited Indian Rs 100,000,000 64,592,200 50* 50 บริษทั อินเตอร์เนชัน่ แนล ซีพอร์ทส์ อินเดียนรูป ี 445,000,000 440,580,200 22.40* (ฮาลเดีย) ไพรเวท ลิมเิ ตด International Seaports Indian Rs 445,000,000 440,580,200 22.40* (Haldia) Private Limited 51 บริษทั พรีเชียส โปรเจคส์ พีทอี ี ลิมเิ ตด เหรียญสหรัฐ 1 1 100 Precious Projects Pte. Limited USD 1 1 100 * (แสดงการถือหุน้ ทางอ้อม) * (represents indirect ownership of shares)

โฮลดิง้ คัมพานี Holding company โฮลดิง้ คัมพานี Holding company โฮลดิง้ คัมพานี Holding company โฮลดิง้ คัมพานี Holding company โฮลดิง้ คัมพานี Holding company ผูบ้ ริหารการ ลงทุน Investment Holding company โฮลดิง้ คัมพานี Holding company โฮลดิง้ คัมพานี /ให้บริการเช่าเรือ Holding company /Chartering ให้บริการเช่าเรือ Chartering เจ้าของเรือ/ ให้บริการเช่าเรือ Shipowner/ Chartering ให้บริการเช่าเรือ Chartering ศูนย์กลางการ บรรจุและจัด จำหน่ายก๊าซ หุงต้ม Terminal owning, bottling and distribution of LPG ก่อสร้างและ พัฒนาท่า เทียบเรือ Berth construction & Development ผูบ้ ริหาร การลงทุน Investment Holding company


สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของบริษัทย่อยและบริษัทร่วมดังกล่าว

Registered Office of subsidiary and associated Companies are as follows:

บริษัทย่อยที่ 1-36 Subsidiary 1-36 • สำนักงานจดทะเบียนเลขที่ 8/27-28 ชัน้ 7 อาคารคาเธ่ยเ์ ฮ้าส์ ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 ประเทศไทย โทรศัพท์ : 66-2 696-8800 โทรสาร : 66-2 236-7654, 633-8460 • Registered Office is at 8/27-28, 7th Floor, Cathay House, North Sathorn Road, Silom, Bangrak, Bangkok 10500 Thailand. Tel : 66-2 696-8800, Fax : 66-2 236-7654, 633-8460

บริษัทย่อยที่ 37 Subsidiary 37 • สำนักงานจดทะเบียนเลขที่ 8/35 อาคารคาเธ่ยเ์ ฮ้าส์ ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 ประเทศไทย โทรศัพท์ : 66-2 696-8900 โทรสาร : 66-2 237-7842, 633-8468 • Registered Office is at 8/35 Cathay House, North Sathorn Road, Silom, Bangrak, Bangkok 10500 Thailand. Tel : 66-2 696-8900, Fax : 66-2 237-7842, 633-8468

บริษัทย่อยที่ 38-41 Subsidiary 38-41 • สำนักงานจดทะเบียนเลขที่ c/o Abacus Management Solutions Level 6, One Cathedral Square, Jules Koenig Street, Port Louis, Mauritius. • Registered Office is at c/o Abacus Management Solutions Level 6, One Cathedral Square, Jules Koenig Street, Port Louis, Mauritius.

บริษัทย่อยที่ 42-44 Subsidiary 42-44 • สำนักงานจดทะเบียนเลขที่ 24 Raffles Place #18-00 Clifford Centre, Singapore 048621. • Registered Office is at 24 Raffles Place #18-00 Clifford Centre, Singapore 048621.

บริษัทย่อยที่ 45-46 Subsidiary 45-46 • สำนักงานจดทะเบียนเลขที่ 79A Tras Street, Singapore 079016 Republic of Singapore. • Registered Office is 79A Tras Street, Singapore 079016 Republic of Singapore.

บริษัทย่อยที่ 47 Subsidiary 47 • สำนักงานจดทะเบียนเลขที่ c/o ADR Building, 13th Floor, Samuel Lewis Avenue, Panama. • Registered Office is at c/o ADR Building, 13th Floor, Samuel Lewis Avenue, Panama.

บริษัทย่อยที่ 48 Subsidiary 48

บริษัทย่อยที่ 49 Subsidiary 49 • สำนักงานจดทะเบียนเลขที่ ICM Business Centre, Ceebros Arcade 1st Floor, No.1 3rd Cross Street, Kasturba Nagar, Adyar, Chennai 600 020 India. • Registered Office is at ICM Business Centre, Ceebros Arcade 1st Floor, No.1 3rd Cross Street, Kasturba Nagar, Adyar, Chennai 600 020 India.

บริษัทร่วมที่ 50 Associated Company 50 • สำนักงานจดทะเบียนเลขที่ 41, Jawahar Lal Nehru Road, Kanak Building, 3rd Floor, Kolkata - 700 071, India. • Registered Office is at 41, Jawahar Lal Nehru Road, Kanak Building, 3rd Floor, Kolkata - 700 071, India.

บริษัทย่อยที่ 51 Subsidiary 51 • สำนักงานจดทะเบียนเลขที่ 1 Marina Boulevard #28-00, Singapore 018989. • Registered Office is at 1 Marina Boulevard #28-00, Singapore 018989.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

• สำนักงานจดทะเบียนเลขที่ The Quadrangle - 2nd Floor, 180 Wardour Street, London W1F 8FY United Kingdom. • Registered Office is at The Quadrangle - 2nd Floor, 180 Wardour Street, London W1F 8FY United Kingdom.

11


ลักษณะการประกอบธุรกิจและอุตสาหกรรม

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

1. ลักษณะของธุรกิจ

12

1.1 ความเป็นมา บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) (“พีเอสแอล”) ก่อตั้งในปี 2532 และเข้าเป็นบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อปี 2536 โดยดำเนินธุรกิจหลักเป็นเจ้าของเรือเอนกประสงค์ขนาดเล็กและให้บริการเช่าเหมาเรือ สำหรับขนส่งสินค้าแห้งเทกองไม่ประจำเส้นทาง พีเอสแอลได้จดั โครงสร้างของบริษทั ฯ เหมือนกับโครงสร้างบริษทั เดินเรือทัว่ ไป คือมี บริษทั ย่อยเป็นเจ้าของเรือเพียง 1 ลำ (บางบริษทั ย่อยอาจเป็นเจ้าของเรือ 2-3 ลำ) เพือ่ จำกัดความรับผิด ปัจจุบนั (ณ วันที่ 31 มกราคม 2551) พีเอสแอล มีเรือขนส่งสินค้าเทกองจำนวน 43 ลำ และเรือขนส่งซีเมนต์ จำนวน 1 ลำ (“กองเรือ”) ซึง่ กองเรือของพีเอสแอล มีเดตเวทตันรวมทัง้ สิน้ 1,130,280 เดตเวทตัน โดยเรือ 43 ลำเป็นเรือธงไทยและจำนวน

1 ลำเป็นเรือธงบาฮามาส พีเอสแอลจัดเป็นหนึง่ ในบริษทั เดินเรือที่ใหญ่ทสี่ ดุ ที่ดำเนินธุรกิจเป็นเจ้าของเรือเอนกประสงค์ขนาดเล็ก (ขนาด 10,000 ถึง 30,000 เดตเวทตัน) สำหรับขนส่งสินค้าแห้งเทกองในตลาดการเดินเรือแบบไม่ประจำเส้นทาง ผู้ประกอบธุรกิจในกลุ่มนี้มีความ หลากหลายและมีลักษณะเฉพาะ กล่าวคือผู้ประกอบการหนึ่งๆ ส่วนใหญ่จะเป็นเจ้าของเรือในขนาดดังกล่าวเพียง 2-3 ลำ ทำให้ พีเอสแอลเป็นหนึง่ ในผูป้ ระกอบการรายใหญ่ทส่ี ดุ ในกลุม่ นี้ ผูค้ วบคุมบริหารการเดินเรือด้านเทคนิคของกองเรือพีเอสแอล คือ บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของพีเอสแอลและเป็นบริษทั ทีไ่ ด้รบั การรับรองมาตรฐาน ISO 9002 พีเอสแอลบริหารงานกองเรือแบบไม่ประจำเส้นทางซึ่งมีเส้นทางเดินเรือครอบคลุมไปทั่วโลก สินค้าพื้นฐานที่กองเรือ พีเอสแอลขนส่งคือสินค้าทางการเกษตร เหล็ก ปุย๋ สินแร่และเนือ้ แร่ ไม้ซงุ ถ่านหินและอืน่ ๆ พีเอสแอลได้ประมาณเครือข่ายการขนส่ง สิ นค้ า ของกองเรื อ ของบริษัทฯ อย่างคร่าวๆ เป็น 5 ภู ม ิ ภ าคประกอบด้ ว ย สหรั ฐ อเมริ ก า/แคนาดา ยุ โรป ละติ น อเมริกา-

แอฟริกา อินเดียอนุทวีป-ตะวันออกกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และตะวันออกไกล กองเรือพีเอสแอลสามารถให้บริการในท่าเรือ ทีม่ ขี ดี จำกัดในเรือ่ งของร่องน้ำ (เรือของพีเอสแอลมีอปุ กรณ์ขนถ่ายสินค้าติดตัง้ พร้อมอยู)่ เนือ่ งจากขนาดเรือของพีเอสแอลสามารถเข้า เทียบท่าในร่องน้ำตืน้ ได้ ขณะทีเ่ รือขนาดใหญ่ไม่สามารถเข้าเทียบท่าได้ ลักษณะดังกล่าวถือเป็นข้อได้เปรียบและส่งผลให้พเี อสแอลได้ อัตราค่าระวางที่สูงเมื่อเปรียบเทียบกับผู้ประกอบการเดินเรือขนาดใหญ่ ซึ่งความได้เปรียบนี้ช่วยให้เรือของบริษัทฯ ดำเนินธุรกิจใน ประเทศที่พัฒนาแล้วด้วยต้นทุนค่าแรงที่ต่ำกว่าค่าแรงของประเทศนั้นๆ และด้วยลูกเรือ พร้อมอุปกรณ์เกียร์เรือ เรือของ บริษทั ฯ สามารถขนถ่ายสินค้าได้งา่ ยและประหยัดต้นทุนกว่าเมือ่ เทียบกับเรือขนาดใหญ่กว่าทีไ่ ม่มอี ปุ กรณ์ ถึงแม้วา่ เรือขนาดใหญ่กว่า นีจ้ ะสามารถประหยัดต้นทุนจากการมีขนาดทีใ่ หญ่กว่าได้กต็ าม รูปแบบการให้บริการเช่าเรือขนส่งสินค้าของ พีเอสแอล แบ่งเป็น 2 ลักษณะ การเช่าเป็นระยะเวลา (Time Charter) การให้เช่าลักษณะนี้ ผูเ้ ช่าจะชำระค่าเช่า (Charter Hire) ให้พเี อสแอลเป็นค่าปฏิบตั ิ การควบคุมเรือตามระยะเวลาทีต่ กลง ผูเ้ ช่าจะเป็นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จา่ ยสำหรับเทีย่ วการเดินทางนัน้ ๆ (voyage costs) ซึง่ รวมถึงค่าน้ำมัน การเช่าเป็นรายเทีย่ ว (Voyage Charter) ผูเ้ ช่าจะชำระค่าระวาง (Freight) ให้พเี อสแอลสำหรับการรับขนส่งสินค้า จากท่าเรือต้นทางไปยังอีกท่าเรือปลายทางใดๆ ตามที่ตกลง ดังนั้นพีเอสแอลจึงเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายสำหรับเที่ยวการเดินเรือ (voyage costs) ซึง่ รวมถึงค่าน้ำมัน เส้นทางการเดินเรือของกองเรือพีเอสแอลไม่ได้กำหนดตายตัว แต่ขน้ึ อยูก่ บั ความต้องการของผูเ้ ช่าเรือ ทีผ่ า่ นมาพบว่ามี การเช่าทัง้ 2 ลักษณะ คือ Time Charter และ Voyage Charter ในอัตราใกล้เคียงกัน โดยมีระยะเวลาการเช่าประมาณ 1-3 เดือน จนถึงในปี 2547 เมือ่ ลักษณะการปล่อยให้เช่าเรือได้เปลีย่ นไปโดยเรือเกือบทุกลำถูกปล่อยให้เช่าในลักษณะการเช่าเป็นระยะเวลา โดย ในแต่ละปีตง้ั แต่ปี 2548 ถึง 2549 สัดส่วนของการปล่อยให้เช่าเป็นรายเทีย่ วได้เพิม่ ขึน้ เมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2547 อย่างไรก็ตาม ใน ช่วงปี 2550 สัดส่วนการปล่อยให้เช่าเรือได้เปลีย่ นไปโดยประมาณร้อยละ 99 ของการเช่าเป็นการเช่าแบบระยะเวลาและคงเหลือการให้ เช่าแบบรายเทีย่ วเพียงร้อยละ 1 เท่านัน้ ความสามารถในการให้บริการขนส่งสินค้าที่ไม่จำกัดเส้นทางและประเภทของสินค้า ซึ่งเป็นสินค้าพื้นฐานที่จำเป็น ทำให้พเี อสแอลสามารถลดความเสีย่ งจากผลกระทบอันเกิดขึน้ ในภูมภิ าคใดๆ ประเภทสินค้าและสภาพเศรษฐกิจ


NATURE OF BUSINESS AND INDUSTRY

1.1 Background Precious Shipping P.C.L. (“PSL”), established in 1989 and listed on the Stock Exchange of Thailand in 1993, owns and charters dry bulk ships, on a tramp shipping basis, in the small, handy size sector of the shipping markets. The corporate structure of PSL, similar to other shipping companies, has separate subsidiaries owning each vessel (sometimes 2 or 3 vessels) to limit liability. PSL presently (as on 31st January 2008) operates 43 bulkers and a cement carrier (the “Fleet”), representing 1,130,280 dwt. Of the entire Fleet, 43 ships are registered under the Thai flag, and 1 under Bahamas flag. PSL is one of the largest pure dry cargo ship-owning companies operating in the small handy size (10,000 to 30,000 dwt) sector of the tramp freight market. This segment is extremely fragmented and characterized by companies owning 2 or 3 ships. PSL’s Fleet makes it one of the largest, if not the single largest company in the world, operating in this segment. PSL’s Fleet is technically managed by Great Circle Shipping Agency Ltd, Bangkok, a wholly owned subsidiary of PSL that is ISO 9002 certified. PSL operates its Fleet on a tramp-shipping basis covering the entire world. Principal cargoes handled by PSL are agricultural products, steels, fertilizers, ores and concentrates, logs, coke and other items. PSL estimates its business to be divided evenly across five regions: USA/Canada, Europe, Latin America-Africa, Indian sub-continent – Middle East, and South East & Far East Asia. PSL operates its ships in ports that have restricted draft and limited infrastructure (PSL ships have equipment for loading/unloading) where larger ships cannot operate. This distinction is a comparative advantage and allows PSL to enjoy stable charter rates compared to larger vessel operators. This advantage also assists the Company’s ships do business in developed countries as the cost of shore labour in such countries is prohibitive and the ship’s staff, with the ship’s gears, can easily discharge and/or load cargoes in such countries at a very economical cost and are preferred over larger gearless ships despite the latter’s proven economy of scale. The Chartering of ships is mainly undertaken by PSL vide the following two options: Time Charter: Under this Charter, the Charterer pays Charter Hire to PSL to operate the vessel for an agreed time period. The Charterer bears all voyage costs including the cost of bunker fuels. Voyage Charter: Under this Charter, the Charterer pays freight to PSL to transport a particular cargo between two or more designated ports. In this case, PSL bears all the voyage costs including the cost of bunker fuels. PSL’s Fleet does not follow set voyage routes, but each ship keeps moving across the globe depending on its charters. The Fleet is hired on both, time charters as well as voyage charters, with typical voyage duration of 1-3 months. The mix between the two types of business has historically been equal, until the year 2004 when this changed to an extent that almost all the ships were on time charters. In each of the years 2005-2006, the proportion of voyage charters increased marginally as compared to the year 2004. However during 2007 the equation changed again and about 99% of the voyages were time charters and only about 1% were voyage charters. The well spread diversification and nature of its operations (dry bulk shipping in the small handy size sector carrying ‘essential basic’ commodities) enables PSL to minimise the impact of concentration risks in terms of regions or commodities covered, and economic cycles.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

1. Nature of Business

13


1.2 อายุกองเรือ กองเรือพีเอสแอล ไม่ได้มีอายุมากนัก เมื่อเปรียบเทียบกับอายุเฉลี่ยของกองเรือทั่วโลก ปัจจุบันอายุเฉลี่ยของกองเรือ พีเอสแอลอยูท่ ป่ี ระมาณ 20 ปี กราฟต่อไปนีเ้ ป็นการวิเคราะห์อายุของกองเรือขนส่งสินค้าทัว่ โลกและกองเรือพีเอสแอล ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 ทีม่ า : จาก Clarkson Research Studies / Aries Shipbroking Ltd (CRS/Aries) 1.3 การดำเนินธุรกิจ รายได้ของพีเอสแอลมีการกระจายแหล่งทีม่ าของรายได้เป็นอย่างดีดงั นี ้ i. ประเภทของสินค้าทีข่ นส่ง

ประเภทสินค้า

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

14

สินค้าการเกษตร เหล็ก ปุย๋ แร่ธาตุและสินแร่ ผลิตภัณฑ์จากไม้และซุง ถ่านหิน อืน่ ๆ รวม

(จำนวนเทีย่ วของการเดินเรือและร้อยละของจำนวนเทีย่ วการเดินเรือรวม) 2548

2549

2550

139 (26.02%) 99 (18.54%) 69 (12.92%) 97 (18.16%) 32 (6.00%) 45 (8.43%) 53 (9.93%) 534

126 (26.47%) 92 (19.33%) 70 (14.71%) 80 (16.80%) 24 (5.04%) 14 (2.94%) 70 (14.71%) 476

125 (28.08%) 62 (13.94%) 81 (18.20%) 71 (15.95%) 11 (2.47%) 20 (4.50%) 75 (16.86%) 445

ii. การเช่าเป็นรายเทีย่ วและการเช่าเป็นระยะเวลา ลักษณะการเช่า

การเช่าเป็นรายเทีย่ ว การเช่าเป็นระยะเวลา

(จำนวนเทีย่ วของการเดินเรือและร้อยละของจำนวนเทีย่ วการเดินเรือรวม) 2548

2549

2550

37 (8%) 450 (92%)

82 (17%) 394 (83%)

6 (1%) 439 (99%)


1.2 Fleet Age PSL’s fleet as compared to the world average is not much older, with present average age of about 20 years. An age wise analysis as on 01 January 2008 is given in the following graph vis-a-vis the World Fleet:

1.3 Business Operations PSL’s revenues are well diversified in terms of its business mix as can be seen from the following tables: i. Commodities/Cargoes Carried Commodity

Agricultural Commodities Steels Fertilisers Specialised Ores Forest Products/Logs Coke Others Total

139 (26.02%) 99 (18.54%) 69 (12.92%) 97 (18.16%) 32 (6.00%) 45 (8.43%) 53 (9.93%) 534

126 (26.47%) 92 (19.33%) 70 (14.71%) 80 (16.80%) 24 (5.04%) 14 (2.94%) 70 (14.71%) 476

125 (28.08%) 62 (13.94%) 81 (18.20%) 71 (15.95%) 11 (2.47%) 20 (4.50%) 75 (16.86%) 445

ii. Voyage Charter v/s Time Charter

(Number of Voyages and % of Total Voyages) 2005 2006 2007

Voyage Charters Time Charters

Charter

(Number of Voyages and % of Total Voyages) 2005 2006 2007

37 (8%) 450 (92%)

82 (17%) 394 (83%)

6 (1%) 439 (99%)

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

15


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

16

หมายเหตุ : ในปี 2548 - 2550 เรือเกือบทัง้ หมดของกองเรือพีเอสแอลถูกปล่อยให้เช่าแบบเป็นระยะเวลา (สัญญาเช่าแบบระยะเวลา ซึง่ มีระยะเวลาการเช่าทีย่ าวขึน้ ) ซึง่ การเช่าเป็นระยะเวลานัน้ ประเภทของสินค้าทีข่ นส่งจะขึน้ อยูก่ บั ผูเ้ ช่า (ลูกค้า) และ สามารถจะมีได้มากกว่า 1 ประเภทในหนึง่ เทีย่ วการเดินเรือ ดังนัน้ จำนวนเทีย่ วการเดินเรือในแต่ละปีของปี 2548 - 2550 ในตาราง 1.3 (i) ข้างต้น จึงมากกว่าจำนวนเทีย่ วการเดินเรือในตาราง 1.3 (ii) iii. พืน้ ทีใ่ นการให้บริการขนส่ง iv. เครือข่ายการตลาด และทีต่ ง้ั ของนายหน้ารายใหญ่ จากกราฟข้างต้นแสดงให้เห็นว่าพีเอสแอลมีเครือข่ายการตลาดทีค่ รอบคลุมทัว่ โลก โดยมีการติดต่อกันทางอินเตอร์เน็ต ทำให้การติดต่อครอบคลุมเครือข่ายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและลดต้นทุนการดำเนินงาน


iv. Marketing network and major broker locations: From the above graphs it can be observed that PSL enjoys a wide coverage with its top class world-wide marketing network. The extensive use of the internet has allowed this coverage to be obtained in an extremely cost effective manner.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Note: During the years 2005 - 2007, majority of PSL’s fleet was on Period Charters (Time Charters of longer duration). In a time charter, the commodities/cargo carried is up to the Charterer (customer) and could be more than 1 in one voyage. Therefore, number of voyages in each of the years 2005 - 2007, per

1.3 (i) above are more than that in 1.3 (ii) above. iii. Vessel Trading Areas

17


2. โครงสร้างอุตสาหกรรม

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

18

อุตสาหกรรมการเดินเรือทางทะเลสามารถจำแนกอย่างกว้างๆ ได้ดงั นี ้

2.1 ตลาดเรือเอนกประสงค์ขนาดเล็ก (Small Handy Size Market) ตลาดเรือเอนกประสงค์ขนาดเล็กประกอบด้วยเรือเดินทะเลที่มีขนาด 10,000 - 30,000 เดตเวทตัน แม้ว่าในปัจจุบัน อุตสาหกรรมการเดินเรือจะได้เริม่ รวมเอาเรือขนาด 30,000 - 40,000 เดตเวทตันมาไว้ในประเภทนีด้ ว้ ย ความต้องการใช้บริการของเรือ เดินทะเลในตลาดนีค้ อ่ นข้างหลากหลายอันเนือ่ งมาจากความสามารถในการขนส่งสินค้าได้หลายชนิดและท่าเรือจำนวนมากทีส่ ามารถ ให้บริการแก่เรือเดินทะเลขนาดนี้ได้ ซึ่งลักษณะดังกล่าวทำให้ความต้องการใช้บริการของเรือเดินทะเลขนาดเล็กมีความผันผวน น้อยกว่าเมือ่ เปรียบเทียบกับความต้องการใช้เรือทีม่ ขี นาดใหญ่กว่า ผู้ให้บริการทั่วโลกที่มีเรือในกลุ่มนี้มีความหลากหลาย เรือในกลุ่มนี้มีประมาณ 3,164 ลำ (ณ สิ้นปี 2550) โดยผู้ ประกอบการรายใหญ่ทส่ี ดุ มีเรือเพียง 100 ลำ หรือคิดเป็นประมาณร้อยละ 4 ของส่วนแบ่งในตลาดของความสามารถในการขนส่ง คิดเป็นหน่วยเดตเวทตัน ทีเ่ หลือส่วนใหญ่เป็นผูป้ ระกอบการบริษทั เอกชนมีเรือเพียงไม่กล่ี ำ จากอดีตทีผ่ า่ นมาอุตสาหกรรมขนส่งทางทะเลเป็นอุตสาหกรรมทีม่ วี ฏั จักร โดยแต่ละรอบของวัฏจักรจะมีชว่ งทีอ่ ตั ราค่า เช่าขนส่งสินค้าลดต่ำลงประมาณสองปี หลังจากนัน้ จะมีการปรับตัวของอุปทานและอุปสงค์กอ่ นทีอ่ ตั ราค่าเช่าขนส่งสินค้าจะเริม่ ปรับ ตัวสูงขึน้ ช่วงตกต่ำครัง้ ล่าสุดเริม่ ต้นในกลางปี 2540 อันเนือ่ งมาจากวิกฤตการณ์เอเชีย ทำให้ความต้องการใช้บริการขนส่งสินค้าทาง ทะเลน้อยลงและต่อมาการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจก็ได้ค่อยๆ ปรับเพิ่มขึ้นในทุกภูมิภาคของโลก ทำให้มีความต้องการขนส่งสินค้า แห้งเทกองมากขึน้ ในปี 2543 และยังคงปรับเพิม่ ขึน้ จนถึงครึง่ แรกของปี 2544 นอกจากนีร้ าคารับซือ้ เศษเหล็กทีส่ งู ขึน้ ก็ชว่ ยทำให้เกิด การขายเรือเก่าเพิม่ ขึน้ ทำให้อปุ ทานในกองเรือกลุม่ นีล้ ดลงและส่งผลต่ออัตราค่าระวางให้เพิม่ ขึน้ หลังจากสิน้ ปี 2544 ตลาดได้ปรับตัว ลดลงอีกครัง้ อันเนือ่ งมาจากปัจจัยหลายอย่าง ตลาดการขนส่งทางเรือได้เริม่ มีการปรับตัวดีขน้ึ อย่างทีไ่ ม่เคยเกิดขึน้ ซึง่ ตลาดได้ปรับตัว สูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ งมาจนถึงไตรมาสสาม/ไตรมาสสีข่ องปี 2546-2547 และจนถึงครึง่ ปีแรกของปี 2548 หลังจากนัน้ ตลาดก็ได้เผชิญกับ การปรับตัวของอัตราค่าระวางอีกครัง้ โดยผูเ้ ชีย่ วชาญได้ให้ความเห็นว่าเป็นผลมาจากการเพิม่ ขึน้ ของอุปทานของเรือ ประกอบกับการ ลดลงของการปลดระวางเรือเก่า ซึง่ อย่างไรก็ตามก็เป็นสิง่ ทีส่ วนทางกับการคาดการณ์ เนือ่ งจากตลาดได้ปรับตัวจากสิน้ ไตรมาสสอง ของปี 2549 ในระหว่างปี 2550 ตลาดได้ปรับตัวพุง่ สูงขึน้ และถึงจุดสูงสุดตามดัชนี Baltic Dry Index (BDI) ทีข่ น้ึ ไปถึง 11,039 จุด ณ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2550 ก่อนทีจ่ ะปรับตัวต่ำลง


2. Industry Structure

Broadly the Shipping Industry is classified as under:

2.1 Small Handy Size Market The small handy size sector is classified as the ships in the range of 10,000 - 30,000 dwt, although lately the Industry has begun including ships of 30,000 - 40,000 DWT also in this sector. The demand in the small handy size market is fragmented because of the broad cargo base and multitude of ports serviced by the market segment. However, because this segment caters to such a wide variety of cargoes and calls on smaller ports, the demand is less volatile compared to the larger ships. On the supply side also the industry is highly fragmented. The fleet of about 3,164 ships (as at end 2007) has the largest operator having only about 100 ships or about 4 percent market share of capacity in DWT terms. The majority of the operators are private companies with a small number of vessels. Historically, the shipping industry has been a very cyclical industry with approximately two years of declining charter rates needed to stabilise supply and demand before utilisation rates, and therefore freight rates, would begin to increase. The previous “down cycle” started in mid 1997 because of the demand issues associated with the “Asian crisis”. With the gradual increase in economic growth in all regions of the world, the dry bulk demand improved in 2000 and the improvement continued till first half of 2001. Also helping the bullish freight rates was increased scrap prices that led to the demolition of older vessels. Thereafter, since the end of 2001, the market witnessed a downturn due to various factors which was of a rather limited duration. The market since then has witnessed an unprecedented upward trend starting in the third/fourth quarter of 2003, and has remained firm throughout 2004 and till the first half of 2005 after which the market again experienced a downturn which, experts attributed to an upsurge in supply of vessels coupled with a decline in scrapping of older vessels. However, contrary to expectations and conventional wisdom, the market turned north from the end of the second quarter of 2006. During 2007, the market continued heading north and reached a peak indicated by the Baltic Dry Index (BDI) touching 11,039 points on 13th November 2007 before starting to drift lower.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

19


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

2.2 ภาพรวมของอุปสงค์และอุปทาน แม้วา่ สภาพและอายุของกองเรือบริษทั ฯ จะมีผลต่อรายได้และค่าใช้จา่ ยก็ตาม แต่จากตารางดังต่อไปนี้ แสดงให้เห็นถึง ปัจจัยภายนอกอันหลากหลายซึ่งครอบงำอุปสงค์และอุปทานที่เป็นส่วนผลักดันในอุตสาหกรรมการขนส่งและเป็นตัวสร้างวงจรของ ธุรกิจ 2.3 ดัชนีตลาดการขนส่งทางเรือ กราฟข้างใต้แสดงถึงความเปลีย่ นแปลงของดัชนี Baltic Dry Index (BDI) ซึง่ เป็นดัชนีสำคัญทีแ่ สดงอัตราค่าขนส่งสินค้า แห้งเทกอง คำนวณโดย Baltic Exchange ตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอน ตั้งแต่ต้นปี 2550 องค์ประกอบของดัชนี BDI ได้ถูกเปลี่ยนให้ ครอบคลุมมากขึน้ โดยเป็นดัชนีชว้ี ดั ของเรือประเภทเคปไซส์ (Capesize) ปานาแมกซ์ (Panamax) ซุปราแมกซ์ (Supramax) และ แฮนดีไ้ ซส์ (Handysize) โดยได้ให้น้ำหนักที่เท่ากันแก่เรือทั้ง 4 ประเภท ในระหว่างปี 2550 ดัชนี Baltic Dry Index (BDI) เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อ เนือ่ งจาก 4,452 จุด เมือ่ ต้นปี และสูงขึน้ ไปแตะจุดสูงสุดเมือ่ วันที่ 13 พฤศจิกายน ที่ 11,039 จุด ก่อนจะปิดท้ายในปีเดียวกัน ที่ 9,143 จุด

20


2.2 Demand - Supply While the composition and the age of a Company’s fleet does have an effect on its earnings and expenses, the following table illustrates the various external factors governing demand and supply which drive the shipping industry and create the business cycle.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

2.3 Shipping Market Index The following graph below shows the movement of the Baltic Dry Index (BDI), which is the leading indicator of spot dry bulk cargo market rates, calculated by the London-based Baltic Exchange. Since the beginning of 2007 the BDI’s composition has changed and the Index is more broad-based now, as it represents the capsize, panamax, supramax and handysize sectors with equal weightage being given to all four sectors. During 2007, the Baltic Dry Index (BDI) increased continuously from 4,452 points at the beginning of the year, reaching its highest level ever on 13th November at 11,039 points, before closing the year at 9,143 points.

21


2.4 กฎหมายพาณิชยนาวีและกฎระเบียบเกีย่ วกับธุรกิจการเดินเรือ กฎหมายพาณิชยนาวีและกฎระเบียบทีใ่ ช้ควบคุมในธุรกิจการเดินเรือระหว่างประเทศ เป็นกฎระเบียบทีม่ คี วามซับซ้อน และเข้มงวด พีเอสแอลได้ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบดังกล่าวอย่างเข้มงวด ควบคูก่ บั การบำรุงรักษาเรือทีด่ เี ยีย่ ม ทำให้ไม่เป็นการยากทีจ่ ะ ปฏิบัติตามกฎระเบียบที่เข้มงวดนั้น ตัวอย่างเช่น เรืออายุมากของบริษัทฯ บ่อยครั้งจะเข้าน่านน้ำของออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา แคนนาดา และสหภาพยุโรป ทีซ่ ง่ึ เจ้าหน้าทีข่ องรัฐมีความเข้มงวด ซึง่ หากเป็นผูป้ ระกอบการรายอืน่ ทีบ่ ริหารหรือมีเรืออายุมาก ก็อาจ เลือกที่จะไม่นำเรืออายุมากเข้าน่านน้ำของประเทศดังกล่าวเนื่องจากมีความเสี่ยงต่อการถูกกักเรือซึ่งก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายที่สงู มากและ การถูกให้ซอ่ มแซมเรือทีไ่ ม่ได้กำหนดไว้ กฎหมายและกฎระเบียบทีส่ ำคัญทีใ่ ช้ควบคุมในธุรกิจการเดินเรือระหว่างประเทศมีดงั ต่อไปนี ้ 1. ธงประจำชาติ (Flag State) เรือแต่ละลำจะต้องมีการจดทะเบียนภายใต้ธงประจำชาติซึ่งถือเป็นการจดทะเบียนภายใต้กฎหมายประเทศ นัน้ ๆ การจดทะเบียนเรือจะมีการออกใบทะเบียนเรือซึง่ เป็นเอกสารสำคัญทีเ่ รือแต่ละลำต้องมี เพือ่ เป็นเอกสารให้ ตรวจสอบเมือ่ มีการเดินเรือในน่านน้ำระหว่างประเทศ รวมถึงการเข้าเทียบท่าเรือต่างๆ ทัว่ โลก โดยทัว่ ไปทะเบียน เรือ ดังกล่าวนีจ้ ะประกอบไปด้วยรายละเอียดเกีย่ วกับตัวเรือ ธงประจำเรือ และเจ้าของเรือ 2. องค์การทางทะเลระหว่างประเทศ (International Maritime Organization) องค์การทางทะเลระหว่างประเทศ (The International Maritime Organization, IMO) เป็นทบวงการชำนาญ พิเศษที่อยู่ภายใต้สหประชาชาติ (United Nation-UN) ซึ่งทำหน้าที่เป็นศูนย์การของความร่วมมือระหว่างประเทศ สมาชิกในการกำหนดมาตรฐาน ข้อบังคับ และแนวปฏิบตั ิ เพือ่ ความปลอดภัยในชีวติ ทรัพย์สนิ และสิง่ แวดล้อม อนุสญ ั ญาหลายฉบับซึง่ ออกโดย IMO เช่น อนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้วยเรือ่ งน้ำหนักบรรทุก (the Load Line Convention) อนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่งชีวติ ในทะเล (the SOLAS Convention; Safety of Life at Sea) อนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้วยการป้องกันมลพิษจากเรือ (MARPOL; Prevention of Pollution from Ships) เหล่านี้ได้ช่วยสร้างมาตรฐานของกฎระเบียบ ข้อบังคับในการเดินเรือและการออกใบรับรอง อนุสัญญาหลายฉบับของ IMO ยังคงถูกนำกลับมาทบทวนและปรับปรุงเพื่อให้ทันเหตุการณ์ที่เปลี่ยนไปอย่าง ต่อเนือ่ ง

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

3. การจัดชัน้ เรือ (Classification Societies) กรมธรรม์ประกันภัยทางทะเลได้มกี ารกำหนดให้มกี ารจัดชัน้ เรือ โดยเรือแต่ละลำจะต้องมีการจดทะเบียนหรือ มีการจัดชั้นเรือโดยหน่วยงานที่มีประสบการณ์ มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับซึ่งเรียกกันว่า สมาคมจัดชั้นเรือ (Classification Societies) โดยหน่วยงานนีไ้ ด้รเิ ริม่ ขึน้ จากอนุสญ ั ญา Load Line ในปี ค.ศ. 1930 และอนุสญ ั ญา ระหว่างประเทศในปี ค.ศ. 1955 และ ค.ศ. 1959 โดยสมาคมจัดชั้นเรือระหว่างประเทศ (The International of Classification Societies, IACS) ได้กอ่ ตัง้ ขึน้ เมือ่ ค.ศ. 1968 ซึง่ มีสมาคมจัดชัน้ เรือต่างๆ เข้าร่วมเป็นสมาชิก โดย สมาคมจัดชัน้ เรือจะตรวจสอบในเรือ่ งมาตรฐานในการก่อสร้างเรือและการบำรุงรักษาตัวเรือ

22

4. พระราชบัญญัตกิ ารรับขนของทางทะเล (Carriage of Goods by Sea Act) พระราชบัญญัติการรับขนของทางทะเล (The Carriage of Goods by Sea Act: COGSA) ได้มีขึ้น ในปี

ค.ศ. 1924 ภายหลังจากทีม่ กี ารประชุมทีเ่ กีย่ วกับการขนส่งทางเรือหลายครัง้ ซึง่ จัดขึน้ ในกรุงบรัสเซลส์ระหว่างกลุม่ ประเทศยุโรปที่สนใจการขนส่งทางเรือและต่อมากฎหมายในลักษณะเดียวกันนี้ก็ได้มีขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา เช่นกัน โดยกฎหมายนีไ้ ด้ครอบคลุมไปถึงการขนส่งสินค้าทางทะเลระหว่างประเทศ


2.4 Maritime Laws and Regulations Maritime laws and regulations are very complex and rigid. Due to PSL’s strict observance of all maritime laws and regulations coupled with excellent maintenance of its vessels, increasingly stringent regulatory environments actually play to PSL’s strengths. Example PSL’s older vessels frequently sail into Australia, U.S., Canada and the European Union where authorities are very harsh, and similarly aged vessels owned/managed by others would prefer not to, due to the possibility of being detained and incurring very costly and unplanned repairs. The following major laws and regulations govern the International Shipping Industry 1. Flag State Each ship is registered under a Flag State, which is the nation in which the ship is registered and which holds legal jurisdiction as regards operation of the ship. The Flag State issues a Certificate of Registry, which is one of the essential documents that every ship has to possess before she can operate and sail from or to any port. This certificate generally contains details of the ship, flag and owners. 2. International Maritime Organization The International Maritime Organization (IMO) is a UN body, which regulates the International Shipping Industry for safety of life, property and the environment. The numerous IMO conventions for example, the Loadline Convention, the SOLAS Convention (Safety of Life at Sea), and MARPOL (Prevention of Pollution from Ships), form the basis of Maritime regulations and certification. IMO Conventions are constantly being reviewed and updated to keep in line with changing trends.

4. Carriage of Goods by Sea Act The Carriage of Goods by Sea Act (COGSA) was introduced in 1924 after many shipping conferences were held in Brussels among various European nations interested in shipping transportation and subsequently, similar legislation was also introduced in America. This law covers the international transportation of merchandise by sea.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

3. Classification Societies Marine insurance policies are subject to a classification clause. Each ship is required to be registered or classed with a world-wide, experienced, and reputable organization, called Classification Societies. The International Association of Classification Societies (IACS) was established in 1968 and has leading societies as members. The classification societies ensure that standards for construction and maintenance of the ships are complied with.

23


5. ประมวลข้อบังคับเกีย่ วกับการบริหารความปลอดภัยระหว่างประเทศ (International Safety Management Code: ISM Code) ประมวลข้อบังคับนี้มีขึ้นเพื่อความปลอดภัยในการดำเนินงานของเรือเดินทะเลและการป้องกันมลพิษต่างๆ โดยได้มผี ลบังคับใช้ตง้ั แต่วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2541 ISM Code ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของอนุสญ ั ญา IMO SOLAS นี้ ได้ ครอบคลุมเรือเดินทะเลในน่านน้ำระหว่างประเทศ เพือ่ ให้เป็นไปตามกฎระเบียบของ ISM Code จึงได้มกี ารออกใบ ประกาศนียบัตรใน 2 ระดับ คือ: ระดับของผูบ้ ริหารเรือ (ภายใต้คำนิยามว่า “บริษทั ฯ” ในประมวลนี)้ ซึง่ จะมี เอกสารวิธกี ารปฏิบตั ิ (Document of Compliance: DOC) และสำหรับเรือทุกลำ ซึง่ จะต้องมีใบรับรองการบริหาร ความปลอดภัย (Safety Management Certificate: SMC)

6. ประมวลข้อบังคับว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยของเรือและท่าเรือระหว่างประเทศ (International Code for the Security of Ships and of Port Facility: ISPS Code) ประมวลข้อบังคับนี้ได้ถูกพัฒนามาจาก IMO หลังเกิดเหตุการณ์การจู่โจมในกรุงนิวยอร์ค เมื่อวันที่ 11 กันยายน (9/11) ISPS Code มีผลบังคับใช้ในเดือน กรกฎาคม 2547 โดยเป็นเครือ่ งมือกำหนดเกณฑ์การวัดและ การพัฒนาความปลอดภัยของเรือและท่าเรือ เพือ่ ให้มรี ะบบการป้องกันตนเองจากการก่อการร้าย

5. International Safety Management Code (ISM Code) This code is for the safe operation of ships and prevention of pollution at sea and came into force on 1st July 1998. The ISM Code, which a part of the IMO SOLAS Convention, applies to all vessels engaged in international trade. For compliance with the ISM code, two levels of certification are required: the manager/operator (defined as the “Company” in the code) will have a Document of Compliance ‘DOC’, and each and every vessel will have a Safety Management Certificate ‘SMC.’

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

6. International Code for the Security of Ships and of Port Facilities (ISPS Code) This code was developed by the IMO in the aftermath of 9/11 attacks in New York. The ISPS Code came into force in July 2004 and establishes mandatory measures aimed at improving the security of ships and port facilities to better protect them from all sorts of threats.

24


กองกำลังเรือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 FLEET LIST As on 31st December 2007

1 ฟูจซิ าน มารู * Fujisan Maru *

บาฮามาส Bahamas 2519 1976

ขนาดระวางบรรทุก

**มูลค่าสุทธิตามบัญชี ***มูลค่าทีเ่ อาประกันภัย Dead Weight (ล้านเหรียญสหรัฐฯ) (ล้านเหรียญสหรัฐฯ) Tonnes (DWT) **Net Book Value ***Insured Value (Million US$) (Million US$)

16,922

0.65

7.00

2 มัลลิกา นารี

Mallika Naree

ไทย

Thai

2527 1984

23,386

1.50

23.00

3 แวนดา นารี

Vanda Naree

ไทย

Thai

2528 1985

23,849

4.04

24.00

4 รมิตา นารี

Ramita Naree

ไทย

Thai

2526 1983

23,360

2.73

22.00

5 สุมนา นารี

Sumana Naree

ไทย

Thai

2527 1984

23,423

2.20

23.00

6 ภวิตรา นารี

Pawitra Naree

ไทย

Thai

2528 1985

21,654

1.60

23.00

7 นัชชา นารี

Natcha Naree

ไทย

Thai

2527 1984

23,593

1.44

23.00

8 อภิสรา นารี

Apisara Naree

ไทย

Thai

2539 1996

18,596

8.54

26.00

9 ศิโรรัตน์ นารี

Sirorat Naree

ไทย

Thai

2527 1984

29,125

2.53

27.00

10 บุษรา นารี

Bussara Naree

ไทย

Thai

2540 1997

18,573

8.99

27.00

11 สุชาดา นารี

Suchada Naree

ไทย

Thai

2537 1994

23,732

7.56

35.00

12 ปริณดา นารี

Parinda Naree

ไทย

Thai

2538 1995

23,720

8.01

36.00

13 วราลี นารี

Waralee Naree

ไทย

Thai

2525 1982

25,413

1.41

20.00

14 บุณฑริกา นารี Boontrika Naree

ไทย

Thai

2533 1990

27,881

4.96

33.00

15 ธาริณี นารี

Tharinee Naree

ไทย

Thai

2537 1994

23,724

7.72

35.00

16 ชลลดา นารี

Chollada Naree

ไทย

Thai

2540 1997

18,485

9.49

27.00

17 ดุสติ า นารี

Dusita Naree

ไทย

Thai

2540 1997

18,486

9.45

27.00

18 เอมวิกา นารี

Emwika Naree

ไทย

Thai

2540 1997

18,462

9.97

27.00

19 พัชระ นารี

Patchara Naree

ไทย

Thai

2527 1984

25,403

2.40

23.50

20 พลอยไพลิน นารี Ploypailin Naree

ไทย

Thai

2538 1995

26,472

8.71

37.00

21 นีระ นารี

Neera Naree

ไทย

Thai

2529 1986

25,309

3.36

26.00

22 ฝนธิดา นารี

Fonthida Naree

ไทย

Thai

2538 1995

28,484

10.06

38.50

23 รัตนะ นารี

Rattana Naree

ไทย

Thai

2545 2002

28,442

16.00

50.00

24 สุธาทิพย์ นารี Suthathip Naree

ไทย

Thai

2526 1983

25,404

2.22

22.00

25 กนก นารี

ไทย

Thai

2528 1985

33,024

4.40

30.00

26 ศุกรวรรณ นารี Sukarawan Naree

ไทย

Thai

2528 1985

25,729

3.95

25.00

27 ธามิสา นารี

Thamisa Naree

ไทย

Thai

2525 1982

34,072

1.45

24.00

28 นิภา นารี

Nipha Naree

ไทย

Thai

2527 1984

33,024

3.94

28.00

Kanok Naree

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

ชือ่ เรือ สัญชาติ ปีทสี่ ร้าง พ.ศ. Vessel Name FLAG Year Built No.

25


ชือ่ เรือ สัญชาติ ปีทสี่ ร้าง พ.ศ. Vessel Name FLAG Year Built No.

ขนาดระวางบรรทุก **มูลค่าสุทธิตามบัญชี ***มูลค่าทีเ่ อาประกันภัย Dead Weight (ล้านเหรียญสหรัฐฯ) (ล้านเหรียญสหรัฐฯ) Tonnes (DWT) **Net Book Value ***Insured Value (Million US$) (Million US$)

29 วรดา นารี

Worada Naree

ไทย

Thai

2526 1983

25,424

1.74

22.00

30 ดารินทร์ นารี

Darin Naree

ไทย

Thai

2527 1984

30,898

3.24

27.00

31 โกเมน นารี

Gomain Naree

ไทย

Thai

2526 1983

23,796

2.24

21.00

32 นัยนา นารี

Nayana Naree

ไทย

Thai

2528 1985

23,846

3.86

24.00

33 โอปอล นารี

Opal Naree

ไทย

Thai

2525 1982

28,780

1.66

22.00

34 กฤติกา นารี

Kritika Naree

ไทย

Thai

2525 1982

34,072

2.13

24.00

35 อรณา นารี

Urana Naree

ไทย

Thai

2526 1983

33,005

1.49

26.00

36 มณีสมุทร นารี Manisamut Naree

ไทย

Thai

2526 1983

21,341

2.00

21.00

37 ฝนอรุณ นารี

Fonarun Naree

ไทย

Thai

2527 1984

22,835

2.26

23.00

38 มโนราห์ นารี

Manora Naree

ไทย

Thai

2527 1984

29,159

2.63

27.00

39 ชโลธร นารี

Chalothorn Naree

ไทย

Thai

2539 1996

27,079

13.37

39.00

40 ศรัณยา นารี

Saranya Naree

ไทย

Thai

2534 1991

28,583

9.99

34.00

41 สุจติ รา นารี

Sujitra Naree

ไทย

Thai

2538 1995

28,290

10.98

38.50

42 วิจติ รา นารี

Vijitra Naree

ไทย

Thai

2540 1997

28,646

13.13

42.00

43 อุรวี นารี

Urawee Naree

ไทย

Thai

2540 1997

28,415

20.77

42.00

44 มาธวี นารี

Mathawee Naree

ไทย

Thai

2539 1996

28,364

20.30

40.00

44 ลำ / 44 Vessels

รวม Total

1,130,280

261.07

1,241.50

หมายเหตุ * กลุม่ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ ถือหุน้ ร้อยละ 64 ** มูลค่าสุทธิตามบัญชีหมายถึงมูลค่าสุทธิตามบัญชีจากงบการเงินปรับปรุงในรูปดอลล่าร์สหรัฐ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 *** มูลค่าทีเ่ อาประกันภัยหมายถึงจำนวนเงินซึง่ จะได้รบั จากผูร้ บั ประกันภัยในกรณีเกิดความเสียหายโดยสิน้ เชิงต่อตัวเรือ

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

Remarks * 64% shares held by PSL Group ** Net Book Value is as per restated US Dollars financial statements as on 31st December 2007 *** Insured Value means amount to be received from the insurer in case of total loss of the Vessel

26


โครงสร้างรายได้ REVENUE STRUCTURE

โครงสร้างรายได้จากการดำเนินงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยในรอบ 2 ปีทผ่ี า่ นมา Revenue Structure from the Operation of the Company and Subsidiaries for the last 2 years

2550 / 2007 ล้านบาท ร้อยละ

รายได้ / Revenues

Baht Million

รายได้จากการเดินเรือ Vessel operating income กำไรจากอัตราแลกเปลีย่ น Exchange gains กำไรจากการขายเรือเดินทะเลและอุปกรณ์ Gain on sales of vessels and equipment รายได้อน่ื Other income รวมรายได้ Total revenues

2550

%

Baht Million

7,288.37

80.69

9,056.30

97.90

0.00

0.00

122.84

1.33

1,558.22

17.25

0.00

0.00

186.45

2.06

71.62

0.77

9,033.04

100.00

9,250.76

100.00

• 2007

2549

2.06%

0.77%

รายได้อื่น

รายได้อื่น

Other income

17.25%

• 2006

1.33%

กำไรจาก อัตราแลกเปลี่ยน

Gain on sales of vessels and equipment

Exchange gains

80.69%

97.90%

รายได้จากการเดินเรือ

รายได้จากการเดินเรือ

Vessel operating income

Vessel operating income

%

Other income

กำไรจากการขาย เรือเดินทะเลและอุปกรณ์

รายได้จากการเดินเรือ

2549 / 2006 ล้านบาท ร้อยละ

Vessel operating income

กำไรจากการขายเรือเดินทะเลและอุปกรณ์ Gain on sales of vessels and equipment

กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน Exchange gains

รายได้อื่น

Other income

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

27


คณะกรรมการบริษัท THE BOARD OF DIRECTORS

พลเรือเอก ดร.อำนาจ จันทนมัฎฐะ

Admiral Dr.Amnad Chandanamattha

•ประธานคณะกรรมการบริษัท •กรรมการตรวจสอบ •กรรมการอิสระ •Chairman of the Board of Directors, •Audit Committee Member, •Independent Director

นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม

Mr.Khalid Moinuddin Hashim •กรรมการผู้จัดการ •กรรมการบริหาร •Managing Director, •Executive Director

นายมูนรี มอยนูดดิน ฮาชิม

Mr.Munir Moinuddin Hashim •กรรมการ •กรรมการบริหาร •Director, •Executive Director

นายคูชรู คาลี วาเดีย

Mr.Khushroo Kali Wadia

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

•กรรมการ •กรรมการบริหาร •Director, •Executive Director

28

พลตำรวจโท เกียรติศกั ดิ์ ประภาวัต

Police LT. Gen.Kiattisak Prabhavat

•ประธานคณะกรรมการตรวจ สอบ •กรรมการอิ สระ •Chairman of Audit Committee, •Independent Director

นายสุพฒ ั น์ ศิวะศรีอำไพ

Mr.Suphat Sivasriaumphai

•กรรมการอิสระ •กรรมการตรวจส อบ •กรรมการสรรหา •Independent Director, •Audit Committee Member, •Nomination Committee Member


นายชีระ ภาณุพงศ์

Mr.Chira Panupong

•กรรมการอิ สระ •กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน •Independent Director, •Remuneration Committee Member

นายธีระ วิภชู นิน

Mr.Thira Wipuchanin

•กรรมการอิส ระ •ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน •ประธานคณะกรรมการสรรหา •Independent Director, •Chairman of the Remuneration Committee, •Chairman of the Nomination Committee

นายไจปาล มันสุขานี

Mr.Jaipal Mansukhani •กรรมการ •Director

นางสาวนิชติ า้ ชาห์ Ms.Nishita Shah

นายกิรติ ชาห์

Mr.Kirit Shah

•กรรมการ •กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน •Director, •Remuneration Committee Member

นายปีเต้อร์ เฟ็ดเดอร์เซ่น Mr.Peter Feddersen

•กรรมการอิสระ •กรรมการสรรหา •Independent Director, •Nomination Committee Member

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

•กรรมการ •Director

29


รายงานจากคณะกรรมการบริษัท

นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม Mr. Khalid Moinuddin Hashim เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

คณะกรรมการมีความยินดีอย่างยิ่งที่จะนำเสนอรายงานประจำปีที่ 19 และรายงานงบการเงินของบริษัทฯ ที่ได้ตรวจสอบ แล้ว สำหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 แก่ผถู้ อื หุน้ ทุกท่านได้รบั ทราบดังนี ้ เพื่อความเข้าใจถึงความโดดเด่นของบริษัทฯ สำหรับปี 2550 ที่ผ่านมา คณะกรรมการขอนำเสนอตัวเลขผลกำไรสุทธิ (ขาดทุน) จากงบการเงินแปลงค่าเป็นเงินดอลล่าร์สหรัฐ ในช่วงหลายปีทผ่ี า่ นมา ในปี 2545 บริษทั ฯ มีผลขาดทุนสุทธิจำนวน 0.48 ล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2546 บริษทั ฯ มีผลกำไรจำนวน 24.79 ล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2547 ผลกำไรเพิม่ ขึน้ กว่าสีเ่ ท่าตัวอยูท่ ่ี 110.10 ล้านเหรียญสหรัฐ และสำหรับปี 2548 ผลกำไรสุทธิของบริษทั ฯ ก็พงุ่ ขึน้ สูงไปอีกกว่าร้อยละ 40 มาอยูท่ จ่ี ำนวน 154.22 ล้านเหรียญ สหรัฐ และลดลงมาอยู่ที่ผลกำไรจำนวน 92.63 ล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2549 และกำไรสุทธิที่เพิ่มขึ้นจากผลการดำเนินงานจำนวน 96.48 ล้านเหรียญสหรัฐในปี 2550 (กล่าวคือ ไม่รวมกำไรจากการขายเรือ ขาดทุนจากสัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงินและภาษีของกำไร จากการขายเรือ) แม้วา่ บริษทั ฯ มีกองเรือเฉลีย่ ลดเหลือ 45 ลำ หากเทียบกับปี 2549 ทีบ่ ริษทั มีกองเรือถึง 54 ลำและทีก่ ล่าวมาโดย สรุปแสดงถึงความโดดเด่นของบริษทั ฯ ในปีทผ่ี า่ นมา

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

จุดเด่นทางการเงิน (จากงบการเงินสกุลเงินบาท) และผลการดำเนินงานสำหรับปี:

30

ผลการดำเนินงานในรอบปี บริษทั ฯ มีรายได้รวม 9,033.04 ล้านบาท (ปี 2549: 9,250.76 ล้านบาท) และมีผลกำไรสุทธิเป็น เงิน 4,156.16 ล้านบาท (ปี 2549: กำไรสุทธิ 3,715.12 ล้านบาท) ส่วนของผูถ้ อื หุน้ เพิม่ ขึน้ อย่างมากมาอยูท่ ่ี 14,064.93 ล้านบาท (ปี 2549: 12,037.71 ล้านบาท) สินทรัพย์รวมของบริษทั ฯ เพิม่ ขึน้ มาอยูท่ ่ี 15,018.14 ล้านบาท (ปี 2549: 12,758.15 ล้านบาท) แม้วา่ จะ มีการขายเรือไปจำนวน 10 ลำระหว่างปีกต็ าม ทัง้ นีเ้ นือ่ งมาจากการขายหุน้ ทุนซือ้ คืนและกำไรสุทธิหาได้ระหว่างปี ในระหว่างปี บริษัทฯ มีกำไรสุทธิจำนวน 3,230.65 ล้านบาท ก่อนการขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน 175.17 ล้านบาท (ปี 2549: กำไรจากอัตราแลกเปลีย่ นอยูท่ ่ี 122.84 ล้านบาท) กำไรจากการขายสินทรัพย์ถาวรอยูท่ ่ี 1,558.22 ล้านบาท (ปี 2549: ไม่ม)ี ขาดทุนจากสัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงินอยูท่ ่ี 241.97 ล้านบาท (ปี 2549: ไม่ม)ี และภาษีเงินได้อยูท่ ่ี 215.57 ล้านบาท (ปี 2549: ไม่ม)ี ในด้านของรายได้ เรือของบริษทั ฯ มีรายได้ตอ่ วันต่อลำเรือเป็นจำนวน 13,147 เหรียญสหรัฐเมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2549 ทีท่ ำรายได้ตอ่ วันต่อลำเรือเป็นจำนวน 11,387 เหรียญสหรัฐ แม้ว่ารายได้เฉลี่ยต่อวันต่อลำเรือปี 2550 เพิ่มขึ้นกว่าปีก่อน แต่รายได้รวมทั้งหมด ต่ำกว่าปีกอ่ น โดยมีสาเหตุหลักมาจากการลดจำนวนเรือเฉลีย่ ระหว่างปี เพราะการขายเรือของบริษทั ฯ รวมจำนวน 10 ลำ ค่าใช้จา่ ย ในการเดินเรือในระหว่างปี 2550 ลดลงร้อยละ 37 นัน้ สืบเนือ่ งมาจากการลดจำนวนเรือในระหว่างปี ระยะเวลาหยุดการเดินเรือเพือ่ การซ่อมบำรุงเฉลีย่ ประมาณ 17.5 วันต่อลำเรือ ซึง่ จัดว่าสมเหตุสมผล เมือ่ พิจารณาถึงอายุเฉลีย่ ของกองเรือของพีเอสแอล ซึง่ มีอายุ ประมาณ 19.6 ปีในปี 2550 อีกทัง้ มีเรือบางลำของบริษทั ฯ ได้เข้าซ่อมบำรุงสภาพก่อนถึงกำหนดในปี 2551 ดังนัน้ จากผลของการ


BOARD OF DIRECTORS’ REPORT

นายคูชรู คาลี วาเดีย Mr. Khushroo Kali Wadia TO THE SHAREHOLDERS:

The Directors are pleased to present the Nineteenth Annual Report of the Company along with the Audited Financial Statements as on 31st December 2007 To really grasp how great 2007 has been for our Company, we would like to draw your attention to the net profits (loss) from the Restated US dollar Financial Statements over the last few years. In 2002 we incurred a loss of USD 0.48 million, in 2003 we earned a profit of USD 24.79 million, in 2004 it more than quadrupled to USD 110.10 million and for 2005 we had a blow out 40% higher net profit at USD 154.22 million followed by a more sedate USD 92.63 million for 2006, and an increased normalised net profit number of USD 96.48 million (net profit excluding the one time capital gain on sale of ships, the one-time losses on Derivative Contracts and Income-Tax on the capital gain) even though we had an average of just 45 ships as compared to 54 ships for 2006. That’s how great a year 2007 has been. In terms of operations, during the year under review, the Total Revenues of the Company were Baht 9,033.04 million [2006: Baht 9,250.76 million] and the Company earned a Net Profit of Baht 4,156.16 million [2006: Baht 3,715.12 million]. The Shareholders’ Equity of the Company has increased significantly to Baht 14,064.93 million [2006: Baht 12,037.71 million] and the Total Assets of the Company have also increased in spite of the sale of 10 Ships during the year to Baht 15,018.14 million [2006: Baht 12,758.15 million] mainly due to the sale of the Treasury Stock and net profit earned with a substantial part thereof being retained during the year. During the year, the Company earned Baht 3,230.65 million as Net Profit before Exchange Loss of Baht 175.17 million [2006: Exchange Gain of Baht 122.84 million], Gain on sale of Fixed assets of Baht 1,558.22 million [2006: Baht 0.85 Million], Loss on Derivative Contracts Baht 241.97 million [2006: Nil] and Income Tax of Baht 215.57 million [2006: Nil]. In terms of the Earnings, the Company’s ships achieved an average time-charter equivalent earnings of USD 13,147 per day per ship as compared to USD 11,387 per day per ship for year 2006. In spite of an increase in average earnings per day per ship in year 2007 as compared to year 2006, the total revenues in absolute terms were lower than that of the previous year, mainly due to the reduction in the average number of ships operated during the year because of the sale of the 10 oldest ships of the fleet. Absolute ship operating expenses, also, decreased by about 37% during the year 2007, due to the reduction in the average number of ships operated during the year. The technical downtime was an average of 17.5 days per Ship, which is quite reasonable considering the average age of the fleet of

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

FINANCIAL HIGHLIGHTS (THAI BAHT TERMS) AND REVIEW OF THE YEAR:

31


ทำกำไรและกระแสเงินสดทีเ่ พิม่ ขึน้ ทำให้บริษทั ฯ มีสภาพคล่องทีส่ งู มากในระหว่างปี 2550 และได้จา่ ยเงินปันผลไปจำนวน 2,655.05 ล้านบาท ยกเว้นหุน้ ปันผลในอัตราส่วน 1:1 หุน้ ทีอ่ อกในระหว่างปี 2550

จุดเด่นประจำปี:

หนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ โดยความร่วมมือกับบริษทั เลค คอนซัลติง้ ได้จดั ทำสกอร์การ์ดขึน้ เพือ่ แสดงผลตอบแทนรวม ของผูถ้ อื หุน้ Total Shareholder Return (TSR) ของบริษทั จดทะเบียนต่างๆ ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นประจำทุกปี จาก ตารางเปรียบเทียบในหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ฉบับวันที่ 18 พฤษภาคม 2550 ในช่องสำหรับ 3 ปี บริษทั ฯ ได้รบั การจัดอันดับเป็น อันดับหนึง่ โดยพิจารณาจากผลการดำเนินงานประจำปี 2549 Best and worst performers

Top 20th percentile across all scorecards

Central Pattana ■ Minor International ■ Precious Shipping ■ Central Plaza Hotel ■ Ramkhamhaeng Hospital ■ Minor Corporation ■ Bangkok Ranch

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

32

TSR (%)

Market value (bt m)

Sector

1-year 3-year 5-year 10-year

49,241 34,446 26,520 8,978 5,424 4,368 4,052

Property development Food and beverages Transportation and logistics Tourism Health care Commerce Agribusiness

60.1 34.3 61.6 86.5 66.1 77.8 77.0 21.5 113.8 59.8 50.8 46.6 76.6 42.0 106.2 85.5 80.6 79.1 290.4 736.6 257.7

20.6 37.2 31.8 34.8 31.3 28.0 43.6

แผนการปรับปรุงกองเรือ: เริม่ ด้วยเมือ่ วันที่ 30 สิงหาคม 2550 มติทป่ี ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ อนุมตั สิ ญ ั ญาสัง่ ต่อเรือใหม่ จำนวน 12 ลำ ทีร่ ะวางบรรทุก 34,000 เดทเวทตัน จากบริษทั ABG Shipyard ประเทศอินเดีย เป็นเรือผนัง 2 ชัน้ มีฝาระวางปิดด้าน บน รูปทรงครึง่ กล่องสีเ่ หลีย่ ม ประกอบด้วย เครนขนถ่ายสินค้า โดยเรือทัง้ 12 ลำมีกำหนดทยอยส่งมอบได้ปลี ะ 3 ลำ เริม่ ส่งมอบ ครัง้ แรกปี 2553 และเสร็จสิน้ การส่งมอบในปี 2556 แผนการปรับปรุงกองเรือเพิม่ เติมได้ดำเนินการต่อเนือ่ งโดยในเดือนกันยายน 2550 มีการสัง่ ต่อเรือใหม่ซปุ ราแมกซ์ ขนาด 54,000 เดทเวทตัน เพิม่ จำนวน 3 ลำ จากบริษทั ABG Shipyard เป็นเรือผนัง 2 ชัน้ ติดตัง้ เครน ขนถ่ายสินค้า โดยมีกำหนดส่งมอบปี 2553 จำนวน 1 ลำ และปี 2554 จำนวน 2 ลำ และ ณ ปัจจุบนั อูต่ อ่ เรือ ABG Shipyard ได้ ยืนยันถึงความสามารถในการจัดหาเครือ่ งยนต์หลักของเรือได้เพิม่ อีกสำหรับเรือจำนวน 3 ลำ ดังนัน้ บริษทั ฯ เพิง่ ลงนามในสัญญาสัง่ ต่อเรือขนาดซุปราแมกซ์เพิม่ อีก จำนวน 3 ลำ โดยมีกำหนดส่งมอบปี 2555 สัญญาสัง่ ต่อเรือ 3 ฉบับหลังต้องได้รบั การอนุมตั จิ ากที่ ประชุมใหญ่สามัญประจำปีผถู้ อื หุน้ ซึง่ จะจัดขึน้ ในเดือนมีนาคม 2551 นิตยสาร Marine Money: ฉบับเดือนตุลาคม ปี 2550 จัดอันดับพีเอสแอล อยูใ่ นลำดับที่ 1 ของโลก ก่อนหน้านีท้ าง นิตยสารได้จดั อันดับผิดพลาดไปในฉบับเดือนมิถนุ ายน แต่ภายหลังมีการแก้ไขให้ถกู ต้อง วิธกี ารจัดอันดับทีน่ ติ ยสาร Marine Money ได้ใช้ในการจัดลำดับ คือการจัดลำดับของยอดรวมของเกณฑ์สำคัญ 6 อย่าง ได้แก่ ผลตอบแทนรวมต่อผู้ถือหุ้น (Total return to shareholders), อัตราการก่อรายได้ของสินทรัพย์รวม (Asset turnover), อัตรากำไรขัน้ ต้น (Profit margin), ผลตอบแทนต่อส่วนของผู ้

ถือหุน้ (Return on Equity), ผลตอบแทนของสินทรัพย์รวม (Return on Assets) และราคาตลาดต่อมูลค่าทางบัญชี (Price to book value) บริษทั ฯ เชือ่ ว่าครัง้ นีอ้ าจจะเป็นครัง้ แรกทีบ่ ริษทั ไทย ได้รบั การจัดเป็นอันดับ 1 ในโลก ในประเภทธุรกิจใดๆ ก็ตาม บริษทั ฯ ได้ลองคำนวณผลตอบแทนต่อผูถ้ อื หุน้ สำหรับ 14 ปี นับตัง้ แต่บริษทั ฯ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เมือ่ วันที่ 16 กันยายน 2536 จนถึง ณ วันศุกร์ท่ี 14 กันยายน 2550 มีราคาปิดอยูท่ ่ี 34.25 ต่อหุน้ หากนักลงทุนได้ถอื หุน้ ไว้ตง้ั แต่เปิด IPO ครัง้ แรกจนครบ 14 ปี นักลงทุนจะได้ผลตอบแทนถึง 18.34 เท่าของเงินลงทุนครัง้ แรก โดยการคำนวณนีย้ งั ไม่ได้คำนึงถึงผลตอบแทน จากการนำเงินปันผลทีไ่ ด้รบั ไปลงทุนใหม่ ในรูปหุน้ หรือดอกเบีย้ รับ


about 19.6 years in 2007 and the fact that some of the ships were dry-docked during the year well in advance of the statutory dates in 2008. As a result of the good profitability and robust cash flows, the Company has enjoyed extremely high level of liquidity during 2007 and has paid dividends of Baht 2,655.05 million excluding stock dividend in the ratio of 1:1 shares issued during the year 2007 ANNUAL HIGHLIGHTS:

The Bangkok Post, in conjunction with LEK Consulting, makes out a Scorecard every year to see the Total Shareholder Return (TSR) from different listed companies on the SET. In the Bangkok Post issue published on 18th May 2007, for the third year in a row, based on our annual results for 2006, PSL has been placed in the top slots of the rankings. Best and worst performers

Central Pattana ■ Minor International ■ Precious Shipping ■ Central Plaza Hotel ■ Ramkhamhaeng Hospital ■ Minor Corporation ■ Bangkok Ranch ■

Market value (bt m)

Sector

49,241 34,446 26,520 8,978 5,424 4,368 4,052

Property development Food and beverages Transportation and logistics Tourism Health care Commerce Agribusiness

TSR (%) 1-year 3-year 5-year 10-year

60.1 34.3 61.6 86.5 66.1 77.8 77.0 21.5 113.8 59.8 50.8 46.6 76.6 42.0 106.2 85.5 80.6 79.1 290.4 736.6 257.7

20.6 37.2 31.8 34.8 31.3 28.0 43.6

The Fleet Rejuvenation Plan began with the 30th August 2007 EGM of shareholders’ endorsement of the new building contracts for twelve 34,000 DWT, double hull, open hatch, semi box shaped, craned log-carriers/bulkers from ABG Shipyard, India. These 12 ships will be delivered at the rate of 3 ships a year beginning in 2010 and completing in 2013. The rejuvenation continued with the contracts signed in September 2007 for an additional three 54,000 DWT double hull, Craned, Supramax New Buildings from ABG Shipyard, for delivery in 2010 (1 ship) and 2011 (2 ships). Now that ABG Shipyard has confirmed availability of main engines for three more ships, we have just recently signed contracts for an additional three similar Supramax ships to be delivered in 2012. The latter contracts have to be approved at the AGM of the shareholders set for March 2008. The Marine Money issue for October 2007 ranked PSL as the No.1 publicly listed shipping company in the whole world. They had made a mistake in their earlier compilation used in the June Ranking Issue but have since corrected the same. The methodology used by Marine Money for their rankings was a simple aggregate of the ranks based on 6 criteria: Total return to shareholders, Asset turnover, Profit margin, Return on Equity, Return on Assets and Price to book value. We believe that this is the first time ever that a Thai Corporate has been ranked number 1 in the world in any business category. We also undertook an “in-house” exercise to determine Total Return to Shareholders, which was calculated for the 14 years that we have been operating as a listed entity. Based on the closing share price as on Friday the 14th September 2007 of Baht 34.25 per share (we started trading on the SET on the 16th September 1993) and assuming you had subscribed at the IPO, then, at the end of 14 years, you would have got a return of 18.34 times your initial investment. This return does not assume any re-investment of the dividends into shares or any interest on the dividends themselves.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Top 20th percentile across all scorecards

33


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

34

ผลขาดทุนพิเศษครัง้ เดียว: ทีเ่ กิดขึน้ ในไตรมาสที่ 3 จำนวนเงิน 6.84 ล้านเหรียญสหรัฐ เป็นผลจากการทีบ่ ริษทั ฯ ได้เข้า ทำสัญญา Treasury Lock Transaction (T-Lock) กับสาขาของธนาคารต่างประเทศแห่งหนึง่ เพือ่ เป็นเครือ่ งมือป้องกันความเสีย่ งในการ กำหนดอัตราดอกเบีย้ ของหุน้ กู้ (ซึง่ ใช้เป็นฐานในการกำหนดราคาในการออกหุน้ กู)้ สำหรับหุน้ กูท้ บ่ี ริษทั ฯ หวังว่าจะสามารถออกและ ใช้เป็นแหล่งเงินทุนระยะยาวด้วยต้นทุนทีน่ า่ สนใจ แต่เนือ่ งจากผลกระทบจากวิกฤตซับไพร์ม เงือ่ นไขทีจ่ งู ใจในตลาดเงินได้เปลีย่ นไป หรือในอีกแง่หนึง่ คือการออกหุน้ กูข้ องบริษทั ฯ จะมีตน้ ทุนทางการเงินทีไ่ ม่นา่ สนใจ ทำให้บริษทั ฯ ต้องหยุดชะลอแผนการออกหุน้ กูอ้ อก ไปอย่างไม่มกี ำหนด และเป็นผลให้บริษทั ฯ ต้องยกเลิกสัญญา T-Lock โดยเกิดผลขาดทุนจำนวน 7.07 ล้านเหรียญสหรัฐ ดัชนีบอลติค (Baltic Dry Index, BDI): ณ สิน้ ปีอยูท่ ่ี 9,143 จุด ซึง่ สูงขึน้ ถึงร้อยละ 105 จากจุดเริม่ ต้นของปี ซึง่ อยูท่ ่ี 4,452 จุด ดัชนีได้ขน้ึ แตะระดับสูงสุดที่ 11,039 จุด เมือ่ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2550 โดยมีคา่ เฉลีย่ ของปีท่ี 7,070 จุด ซึง่ เพิม่ ขึน้ ถึงร้อยละ 222 จากค่าเฉลีย่ 3,180 ของปี 2549 อย่างไรก็ตามดัชนีบอลติคตัง้ แต่วนั ที่ 13 พฤศจิกายน 2550 ได้ดง่ิ ลงอย่างรวดเร็ว จนถึงระดับ 5,615 จุด เมือ่ วันที่ 29 มกราคม 2551 ลดลงจากจุดสูงสุดถึงร้อยละ 49 จากนัน้ ดัชนีเริม่ ปรับขึน้ เล็กน้อยก่อนเริม่ ชะลอตัวที่ 6,032 จุด เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2551 ไม่มีตัวอย่างที่ดีเท่านี้แล้วที่จะทำให้นักลงทุนตระหนักถึงความจริงของลักษณะประเภทธุรกิจและ อุตสาหกรรมทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงสูงมาก และเพือ่ ให้เห็นว่ากลยุทธ์ของบริษทั ฯ ในการทำสัญญาระยะยาวเป็นสิง่ ทีส่ มควรอย่างยิง่ รายได้ตอ่ วันต่อลำเรือ: ในระหว่างปี 2550 รายได้คา่ เช่าต่อวันต่อลำเรือของกองเรือบริษทั ฯ ได้แสดงถึงกลยุทธ์ในการทำ ธุรกิจของบริษทั ฯ ทีเ่ ปลีย่ นจากตลาดรายวัน (Spot market) มาเป็นการทำสัญญาให้เช่าเรือระยะยาว เพือ่ หลีกเลีย่ งความผันผวนของ อัตราค่าเช่าเรือต่อวันต่อลำทีเ่ ปลีย่ นไปตามการขึน้ ลงของดัชนี BDI สำหรับปี 2550 บริษทั ฯ มีรายได้เฉลีย่ ต่อวันต่อลำเรืออยูท่ ่ี 13,147 เหรียญสหรัฐ ซึง่ เมือ่ เปรียบเทียบกับประมาณการของบริษทั ฯ ทีไ่ ด้คาดไว้วา่ จะอยูร่ ะหว่าง 11,000 และ 13,000 เหรียญสหรัฐต่อวันต่อ ลำเรือ ตัวเลขนี้นับว่าเป็นตัวเลขที่น่าพอใจ เมื่อเปรียบเทียบกับผลประกอบการในอดีตที่ผ่านมา เมื่อปี 2549 อยู่ที่ 11,387 เหรียญ สหรัฐต่อวัน ปี 2548 อยูท่ ่ี 14,449 เหรียญสหรัฐ ปี 2547 อยูท่ ่ี 13,248 เหรียญสหรัฐ และปี 2546 อยูท่ ่ี 7,870 เหรียญสหรัฐ ปี 2545 อยูท่ ่ี 5,854 เหรียญสหรัฐ และ ปี 2544 อยูท่ ่ี 5,855 เหรียญสหรัฐ ปัจจัยจากประเทศจีน: ยังคงมีผลกระทบต่อตลาดเรือเทกองอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้เห็นภาพ ทางบริษทั ฯ ขออ้างข้อมูลวิจยั ตลาดทุนของ Credit Suisse ฉบับวันที่ 17 มกราคม 2551 ได้กล่าวไว้วา่ จีนถูกคาดว่าจะนำเข้า สินแร่เหล็กประมาณ 433.6 ล้าน เมตริกตัน หรือประมาณร้อยละ 50 ของปริมาณการค้าสินแร่เหล็กทั่วโลกในปี 2551 และสูงขึ้นร้อยละ 13 จากปริมาณที่คาดว่ามี การนำเข้าจากประเทศจีนที่ 383.60 ล้านเมตริกตัน เมือ่ ปี 2550 ทีผ่ า่ นมา ตามทีน่ กั วิจยั จากหน่วยงานวิจยั การพัฒนาประเทศและ กรรมการปฏิรปู สำนักวางแผนของประเทศจีนคาดการณ์วา่ การนำเข้าสินแร่เหล็กจะถึงระดับสูงเฉียด 650 ล้านเมตริกตันในปี 2553 แม้วา่ การชะลอตัวจะเป็นทีก่ ล่าวถึงตลอดปี การผลิตเหล็กกล้าในปี 2550 ได้ขน้ึ ไปเกือบถึงระดับ 490 ล้านเมตริกตัน ซึง่ ตัวเลขนีม้ าก กว่าปี 2549 ถึงร้อยละ 17 ซึง่ อยูท่ ่ี 421 ล้านเมตริกตัน และมากกว่าผลผลิตทีผ่ ลิตได้ในระหว่างปี 2548 ที่ 389 ล้านตัน และคาดว่าจะ มากกว่า 550 ล้านตันในปี 2551 ตามรายงานข่าว Bloomberg ระบุวา่ ในปี 2550 การนำเข้าถ่านหินของจีนเพิม่ ขึน้ ถึงร้อยละ 34 มาอยู่ ที่ 51 ล้านเมตริกตัน เปรียบเทียบกับเมือ่ ปีกอ่ นหน้าอยูท่ ร่ี ะดับ 38.2 ล้านเมตริกตัน ประเทศจีนเป็นผูใ้ ช้และผูผ้ ลิตถ่านหินรายใหญ่ ทีส่ ดุ ในโลก และยังคงเป็นผูส้ ง่ ออกทีส่ ำคัญในปี 2550 ด้วยยอดส่งออกรวม 53.2 ล้านเมตริกตัน การเปลีย่ นบทบาทจากผูส้ ง่ ออกมา นำเข้ามากขึ้นทำให้คาดการณ์ได้ว่าปีนี้ประเทศจีนจะเป็นผู้นำเข้าสุทธิที่ระดับ 15 ล้านเมตริกตัน การขยายตัวอย่างรวดเร็วของ เศรษฐกิจเป็นสาเหตุของการพลิกบทบาทของจีน และเมือ่ วันที่ 14 มกราคม 2551 โรงงานผลิตไฟฟ้าในแถบจังหวัดทางตอนใต้ของจีน ถูกปิดไปเพราะปริมาณถ่านหินไม่พอเพียงทีจ่ ะใช้ผลิตไฟฟ้า สำนักข่าว Bloomberg แจ้งรายงานของ SSY เมือ่ 23 มกราคม 2551 ระบุ ว่าสถานีผลิตไฟฟ้าจากถ่านหินของจีนประมาณร้อยละ 5 ถูกปิดไปเนื่องจากหิมะตกหนัก ราคาถ่านหินสูงขึ้น และข้อจำกัดในการ ขนส่ง สถานีไฟฟ้ากว่า 90 สถานี ทีม่ กี ำลังการผลิตไฟฟ้ามากกว่า 20,000 เมกกะวัตต์ ไม่สามารถให้บริการได้ ตามรายงานของสือ่ ใน ประเทศจีนระบุว่าการขาดแคลนไฟฟ้าทั่วประเทศครั้งนี้สงู กว่าที่เกิดขึ้นเมื่อกลางปี 2547 สื่อในจีนรายงานว่าสต็อคของถ่านหินที่ใช้ ผลิตไฟฟ้าต่ำกว่าระดับปกติเกือบร้อยละ 40 ซึ่งเพียงพอแก่การผลิตไฟฟ้าได้แค่ 8 วันเท่านั้น จึงมีความเป็นไปได้ที่จีนจะเปลี่ยน สถานภาพเป็นผูน้ ำเข้าตามคำคาดการณ์ดงั กล่าว นอกจากนีย้ งั มีประเทศอินเดีย บราซิลและรัสเซีย ทีช่ ว่ ยสร้างคลืน่ เศรษฐกิจโลก นอกเหนือจากการเคลือ่ นไหวพยายาม พัฒนาเพือ่ ความมัน่ คงในดินแดนแถบตะวันออกกลาง อันจะนำมาซึง่ ความจำเป็นและแรงกดดันต่อความต้องการใช้เรือเทกอง


Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

The One Time Extraordinary Loss that we have provisioned in Q3 of USD 6.84 million was a result of the step we undertook by entering into a Treasury Lock transaction (T-Lock) with a Foreign Bank, as a hedge to fix the Treasury Rate (which would have been the basis of pricing of the Bond) for the Bond Issue that would have raised some very long tenor funds at a very reasonable cost. Due to the after-effects of the sub-prime crisis, the extremely favourable conditions which existed in the financial markets have now disappeared or at best have rendered our Bond issue cost-ineffective in terms of pricing, as a result of which, we have to indefinitely put on hold, our plans to issue the Bonds. Consequently, in the absence of the “underlying”, we have since unwound the T-Lock with an actual loss of USD 7.07 million. The Baltic Dry Index (BDI) ended the year at 9,143 points, 105% higher than from where it had started out the year at 4,452 points, after having peaked at 11,039 points on the 13th November 2007. Its average for the year was 7,070 points, some 222% of the average of 3,180 recorded in 2006. However, the BDI since the 13th November 2007 has been falling like a stone and had reached 5,615 points on the 29th January 2008, some 49% below its peak level. The index since then has improved marginally before starting another slower but downward trend and was at 6,032 points on the 5th February 2008. No better example can be given of the highly volatile nature of our business and the Industry and investors must always be mindful of this fact. To a large extent, our strategy of booking long term charters for our ships, at reasonably high rates, is therefore vindicated once again. The earnings per day per ship during 2007 for our fleet continued to reflect our strategy to move from the spot market to longer term charters for our fleet and thereby avoiding the dramatic changes in earnings per day per ship as would have been the case had earnings followed the BDI movements. For 2007 we averaged earnings of USD 13,147 per day per ship which compared very favourably with our forecast of between USD 11,000 and USD 13,000 per day per ship. This figure also compared favourably with our past results of USD 11,387 per day in 2006, USD 14,449 per day in 2005, USD 13,248 in 2004, USD 7,870 for 2003, USD 5,854 in 2002 and USD 5,855 in 2001. THE CHINA FACTOR continues to have a disproportionate impact on the dry bulk markets. Just to give you a flavour of what this means, we quote from a Credit Suisse Equity Research report dated 17th January 2008 stating that China was expected to import about 433.6 million MT of Iron Ore or 50% of the entire worldwide Iron Ore trade for 2008 and about 13% higher than the 383.6 million MT of Iron Ore estimated to have been imported into China in 2007. According to a researcher from the National Development and Reform Commission, China’s State Planning Authority, has forecast Iron Ore imports will reach a staggering 650 million MT by 2010. Despite all the ‘slow down’ talks over the year, the steel production for 2007 reached a staggering figure of about 490 million tons. This would be some 17% more than the already phenomenal figure of 421 million tons in 2006 and the equally robust 389 million tons achieved during 2005 with expectations of 550+ million MT for 2008. Coal imports to China rose by 34% in 2007 to reach 51 million MT compared with 38.2 million MT in the previous year, according to a Bloomberg report. China is, both, the largest user and producer of coal and the country remained a net exporter in 2007 as its exports totaled 53.2 million MT. The pattern of falling exports and increasing imports of coal is expected to grow this year with a forecast that China will be a net importer of coal in 2008 to the amount of some 15 million MT. The rapid expansion of the economy has caused this turnaround and on the 14th January 2008 Power generating plants in the southern provinces in China were shut because there was insufficient coal available to provide power. The SSY daily dated 23rd January 2008 had this to say, “Around 5% of China’s coal-fired power stations have been closed as heavy snowfall, high coal prices and transportation difficulties constrain coal supplies, Bloomberg reports. Some 90 power stations with a generating capacity of over 20,000 MW have been withdrawn from service. According to the country’s state media, the shortfall in electricity generation across the country is higher than during the previous energy shortfall in mid-2004. Chinese media report that steam coal stockpiles are now almost 40% below normal levels, sufficient for just eight days’ generation.” The propensity for China to surprise on the upside is not quite being given the importance that it deserves. We also have India, Brazil and Russia making economic waves besides the sterling developmental efforts underway in the Middle-East that will add even more weight and pressure from the Demand side for Dry Bulk markets.

35


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

36

งานนักลงทุนสัมพันธ์: เป็นส่วนงานหนึ่งที่สำคัญของบริษัทฯ กรรมการผู้จัดการจะเป็นผู้ดำเนินการดูแลข่าวสาร

บทวิเคราะห์สำหรับนักลงทุน และการ Road Shows ในระหว่างปี 2550 บริษทั ฯ ได้เข้าร่วมงาน SET Opportunity Days ทีจ่ ดั โดย ตลาดหลักทรัพย์ฯ ทัง้ 4 ไตรมาส บริษทั ฯ ตัง้ มัน่ ว่าจะดำเนินกิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์เช่นนีใ้ นปี 2551 และปีตอ่ ไป กองเรือของบริษทั : เป็นทีท่ ราบว่า ณ สิน้ ปี 2550 บริษทั ฯ มีเรือจำนวน 26 ลำซึง่ มีอายุมากกว่า 20 ปี ในระหว่าง 5 ถึง 7 ปีข้างหน้านี้ เรือเหล่านี้จำเป็นต้องถูกขายหรือไม่ก็ถูกปลดระวางและจะถูกแทนที่ด้วยเรือที่มีอายุน้อยกว่าและใหญ่กว่า กองเรือของ บริษทั ฯ ณ สิน้ ปี 2550 มีจำนวนทัง้ สิน้ 44 ลำ ซึง่ มีขนาดระวางบรรทุกรวมที่ 1.13 ล้าน เดตเวทตัน คิดเป็นขนาดระวางบรรทุกเฉลีย่ ที่ 25,688 เดตเวทตันต่อลำเรือ และมีอายุเฉลีย่ ประมาณ 19.6 เพือ่ ไปให้ถงึ จุดหมาย บริษทั ฯ ได้ทำการปรับปรุงกองเรืออย่างทีไ่ ด้กล่าว ไปข้างต้น บริษทั ฯ จะยังคงมุง่ หาโอกาสทีเ่ หมาะสม ในการเพิม่ กองเรือของบริษทั ฯ ให้ถงึ เป้าหมายทีม่ กี องเรือรายปีจำนวน 50 ถึง

70 ลำ ภายในอนาคตอันใกล้ ทิศทางอุตสาหกรรมเดินเรือทะเล: การปลดระวางเรือในกองเรือโลกได้ลดลง โดยมีเรือเพียง 8 ลำได้ถกู ปลดระวาง ขณะ ที่มีเรือใหม่จำนวน 88 ลำถูกส่งมอบเข้าสู่กองเรือของโลก ส่งผลให้มีการเติบโต 80 ลำ หรือร้อยละ 2.6 ในกองเรือโลก ดังนั้นเรือ เอนกประสงค์ขนาดเล็กในกองเรือโลกมีทง้ั สิน้ 3,164 ลำ ณ สิน้ ปี 2550 เหตุผลทีอ่ ตั ราการปลดระวางเรือหยุดชะงักเนือ่ งจากสภาพ ตลาดขนส่งสินค้าทางทะเลที่ปรับตัวแข็งแกร่งขึ้นอย่างมาก แต่ก็เป็นไปไม่ได้ที่จะหลีกเลี่ยงข้อสรุปที่ว่า เรือที่มีอายุมากขึ้นจะต้องถูก ปลดระวางในอนาคตอันใกล้ในอัตราทีม่ ากขึน้ แม้วา่ กำไรทีจ่ ะได้รบั จากค่าระวางเรือในตลาดจะยังสูงอยู ่ สำหรับปี 2551 อุปทานของเรือต่อใหม่มมี าก ในกลุม่ เรือประเภทเคปไซส์ (Capesize) มีเรือต่อใหม่ 47 ลำ หรือร้อยละ 6.1 ของกองเรือประเภทนี้ ทีม่ กี ำหนดส่งมอบในปี 2551 และมีอกี 139 ลำหรือร้อยละ 18.1 ทีม่ กี ำหนดส่งมอบในปี 2552 และตามด้วย 263 ลำหรือร้อยละ 34.3 ทีจ่ ะส่งมอบในปี 2553 ในเรือประเภทเคปไซส์นม้ี จี ำนวน 100 ลำหรือประมาณร้อยละ 13.1 ของกองเรือใน ปัจจุบันที่มีจะอายุเกิน 22 ปีในปี 2554 และเรือดังกล่าวมีโอกาสที่จะถูกปลดระวางในระหว่างปี 2551-2554 ซึ่งอาจทำให้อัตราค่า ระวางเรือลดลงถึงระดับที่เหมาะสม ในกลุ่มเรือประเภทปานาแมกซ์ (Panamax) มีเรือต่อใหม่จำนวน 114 ลำหรือร้อยละ 7.7 ของกองเรือประเภทนี้ มีกำหนดส่งมอบในปี 2551 และอีก 121 ลำ หรือร้อยละ 8.2 ได้ทำสัญญาส่งมอบในปี 2552 ตามด้วยอีก 201 ลำหรือร้อยละ 13.6 ที่กำหนดส่งมอบในปี 2553 ส่วนที่ช่วยให้สถานการณ์ของกองเรือกลุ่มปานาแมกซ์ดีขึ้นคือมีเรือ 228 ลำ หรือ ร้อยละ 15.4 ของกองเรือ จะมีอายุเกิน 24 ปีในปี 2554 และอาจจะถูกปลดระวางในระหว่างปี 2551 ถึงปี 2554 อันจะนำมาซึง่ อัตรา ค่าระวางเรือที่ลดลงอย่างรวดเร็วพอที่จะทำให้เกิดการปรับสมดุลจนกระทั่งได้ดุลยภาพกับอุปทานเรือที่จะเข้ามาใหม่ในตลาด หลัง จากนัน้ อัตราค่าระวางเรืออาจดีดตัวกลับขึน้ มาใหม่ได้เร็วขึน้ สำหรับเรือประเภทซูปราแมกซ์ (Supramax) มีเรือใหม่จำนวน 160 ลำ หรือร้อยละ 10.1 ของกองเรือประเภทนี้ มีกำหนดส่งมอบในปี 2551 และอีก 240 ลำหรือร้อยละ 15.1 มีกำหนดส่งมอบในปี 2552 ตามด้วย 230 ลำหรือร้อยละ 14.4 ทีจ่ ะส่งมอบตามในปี 2553 ในเรือประเภทนีม้ เี รือ 125 ลำ หรือร้อยละ 7.9 จะมีอายุเกิน 25 ปีในปี 2554 และน่าจะถูกปลดระวางลงในระหว่างปี 2551 ถึง 2554 ถ้าค่าระวางเรือลดลงมาก ในเรือประเภทแฮนดีแ้ มกซ์ (Handymax) มีเรือต่อใหม่จำนวน 68 ลำหรือร้อยละ 7.3 ของกองเรือประเภทนี้ มีกำหนดส่งมอบในปี 2551 และอีก 161 ลำหรือร้อยละ 17.3 มี กำหนดส่งมอบในปี 2552 และอีก 155 ลำ หรือร้อยละ 16.7 มีกำหนดส่งมอบในปี 2553 สำหรับเรือประเภทนี้มีเรือ 307 ลำหรือ

ร้อยละ 33.1 จะมีอายุเกิน 25 ปีในปี 2554 และน่าจะถูกปลดระวางลงในระหว่างปี 2551 ถึง 2554 ถ้าค่าระวางเรือลดลงมาก ในเรือ ประเภทเรืออเนกประสงค์ขนาดเล็ก (Small Handy Size) มีเรือต่อใหม่จำนวน 136 ลำ หรือร้อยละ 4.3 มีกำหนดส่งมอบในปี 2551 และอีก 118 ลำ หรือร้อยละ 3.7 มีกำหนดส่งมอบในปี 2552 และอีก 78 ลำหรือร้อยละ 2.5 มีกำหนดส่งมอบตามมาในปี 2553 สำหรับเรือประเภทเดียวกับเรือของบริษทั ฯ มีเรือจำนวน 1,141 ลำหรือร้อยละ 36.1 จะมีอายุเกิน 27 ปีในปี 2554 และน่าจะถูกปลด ระวางลงในระหว่างปี 2551 ถึงปี 2554 ถ้าค่าระวางเรือลดลงมาก และด้วยการที่มีเรืออายุมากยังคงดำเนินการอยู่จำนวนมาก อุปทานและอุปสงค์จงึ มีการเคลือ่ นไหวทีร่ นุ แรงในตลาดเรือเอนกประสงค์ขนาดเล็ก ซึง่ เป็นตลาดเดียวกับทีบ่ ริษทั ฯ ดำเนินธุรกิจอยูน่ น่ั คือตลาดขนส่งสินค้าแห้งเทกองไม่ประจำเส้นทาง สภาพการแข่งขันในอุตสาหกรรมเรือเดินทะเล: บริษทั ฯ ปัจจุบนั มีเรือเอนกประสงค์ทง้ั สิน้ จำนวน 44 ลำ และอีก 12 ลำที่อยู่ระหว่างการสร้าง คิดเป็นร้อยละ 1.5 ของกำลังกองเรือโลก ซึ่งทำให้บริษัทฯ เป็นหนึ่งในบริษัทที่ใหญ่ที่สุดในตลาดเรือ ประเภทนี้โดยรวมจำนวนเรือที่สั่งต่อใหม่ทั้งหมดของบริษัทฯ และเนื่องจากเจ้าของเรือในกลุ่มเรือประเภทนี้มีลักษณะกระจัดกระจาย อย่างมาก ดังนัน้ ลูกค้าจะนึกถึงและต้องการทีจ่ ะใช้บริการเรืออเนกประสงค์ขนาดเล็กของบริษทั ฯ ก่อนทีจ่ ะไปใช้บริการกับเจ้าของเรือ รายย่อยอืน่ ๆ ปัจจัยที่สำคัญอย่างเช่นความแออัดของทางเรือที่ส่งผลต่อสมการ อุปสงค์ อุปทานยังคงเป็นเครื่องพิสูจน์ที่สำคัญ การวัด ระดับความแออัดของ SSY’s Australian Coal Port Congestion ณ สิน้ ปี 2550 อยูท่ ร่ี ะดับ 14.8 วัน ซึง่ ถ้าเปรียบเทียบกับค่าเฉลีย่ ของปี


Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Investor Relations is an area where we accord the greatest importance and have our Managing Director handle the Press/analysts briefings part of investor relations. In addition to the various Road Shows during the year we also attended the 4 quarterly SET Opportunity Days during 2007. We hope to continue actively with this important part of our Investor Relations Program in 2008 and beyond. OUR FLEET: As you may be aware, the Company had a total of 26 ships that were over 20 years of age at the end of 2007. Over the next 5 to 7 years, these ships need to be either sold or scrapped, and eventually replaced with younger and larger units. The fleet strength at the end of 2007 was 44 vessels with an aggregate capacity of 1.13 million DWT, an average 25,688 DWT per ship, and an average age of about 19.6 years. To that end, the Company has already commenced the Fleet Rejuvenation process as explained hereinabove. The Company will continue to be on the lookout for the right opportunities for additional fleet renewal as we would like to achieve an annual fleet strength of between 50 and 70 ships within the next few years. THE INDUSTRY OUTLOOK: Ship scrapping was understandably anemic with a total of just 8 ships being scrapped and 88 new ships being delivered into the world fleet, resulting in a positive growth of 80 ships or 2.6% in the world fleet to 3,164 ships in our sector during 2007. The reason for scrapping rates to have ground to a virtual halt as the year progressed has been the continued strength of the freight market. But it is impossible to escape the conclusion that, for the most part, the ever greater age of more and more ships will lead to an upswing in deletion rates in the near future regardless of the profitability of the underlying markets. For 2008, the supply of new ships is quite strong. In the Capesize sector, 47 ships or 6.1% are scheduled for delivery in 2008, another 139 ships or 18.1% to follow in 2009 with 263 ships or 34.3% to follow in 2010. In this sector, 100 ships or 13.1% will be over 22 years of age by 2011 and likely to be scrapped during 2008 to 2011 should freight rates reach low enough levels. In the Panamax sector, there are 114 ships or 7.7% to be delivered during 2008, another 121 ships or 8.2% contracted for delivery in 2009 with 201 ships or 13.6% for delivery in 2010. The saving grace in the Panamax sector is that 228 ships or 15.4% of the fleet will be over 24 years of age by 2011 and would likely be scrapped during 2008 to 2011 should freight rates decline sharply enough thereby balancing out the fresh supply and restoring freight rates rather quickly. In the Supramax sector, 160 ships or 10.1% are scheduled for delivery in 2008, another 240 ships or 15.1% are scheduled for delivery in 2009 with 230 ships or 14.4% to follow in 2009. In this sector, 125 ships or 7.9% will be over 25 years of age by 2011 and likely to be scrapped during 2008 to 2011 if freight rates drop by any appreciable margin. In the Handymax sector, 68 ships or 7.3% are scheduled for delivery in 2008, another 161 ships or 17.3% in 2009, with another 155 ships or 16.7% to follow in 2010. In this sector, 307 ships or 33.1% will be over 25 years of age by 2011 and likely to be scrapped during 2008 to 2011 if freight rates drop by any appreciable margin. In the Small Handy Size sector, 136 ships or 4.3% are scheduled for delivery in 2008, another 118 ships or 3.7% in 2009, with another 78 ships or 2.5% to follow in 2010. In our sector, 1,141 ships or 36.1% will be over 27 years of age by 2011 and likely to be scrapped during 2008 to 2011 if freight rates drop sharply. With this extremely large overhang of very old ships, the supply demand dynamics appear to be the strongest in the small handy size sector, the sector in which your Company operates more or less exclusively, of the Dry Bulk Tramp Freight market. Our Competitive Position with our existing 44 ships and the 12 ships on order is that we have about 1.5% of the existing world fleet capacity which makes us one of the biggest players in this sector of the market with one of the largest new building orders in hand. With the ownership structure in this sector being extremely fragmented, we are recognized as an established brand name with every client wanting to do business with us first before they take their custom to any of the other smaller players within the sector. Factors like congestion that affect the demand supply equation are still in evidence. The SSY Australian Coal Port Congestion Index finished 2007 at 14.8 days. This compares with an average of close to 17 days for the year and an average

37


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

38

อยูท่ ร่ี ะดับ 17 วัน และค่าเฉลีย่ ของปี 2549 อยูท่ ร่ี ะดับ 8 วัน ความแออัดทีค่ ลีค่ ลายนัน้ เป็นผลมาจากการใช้ระบบโควต้าของการ ท่าเรือประเทศออสเตรเลีย ซึ่งนั่นไม่ได้หมายความว่าปัญหาอุปทานของการจราจรในท่าเรือที่หนาแน่นลักษณะคอขวดนี้คลี่คลายลง หรืออุปสงค์หยุดชะงักเหนือระดับอุปทานทีเ่ พิม่ ขึน้ ธนาคารเพือ่ การลงทุนของสหรัฐอเมริกา Jefferies ชีแ้ จงในบทความรายสัปดาห์ฉบับวันที่ 7 มกราคม 2551 ว่า “สัปดาห์ท่ี แล้วบริษทั Rio Tinto ประกาศว่าทางบริษทั ได้สง่ั ต่อเรือ VLOC (เรือบรรทุกสินแร่ขนาดใหญ่) จำนวน 3 ลำ กำหนดส่งมอบปี 2555 อันเป็นช่วงจังหวะต่อเนื่องที่บริษัทเหมืองแร่ขนาดใหญ่มีแนวโน้มเพิ่มการลงทุนในธุรกิจเรือเทกอง ขณะที่บริษัทฯ เชื่อว่าการที่บริษัท เหมืองแร่เหล็กขนาดใหญ่แสดงความต้องการเป็นเจ้าของเรือเทกองเองนั้นสะท้อนชัดว่าบริษัทเหล่านั้นมั่นใจว่าต้นทุนการเดินเรือและ มูลค่าสินทรัพย์อนั ได้แก่ตวั เรือนัน้ มีแน้วโน้มเพิม่ สูงขึน้ กว่าระดับปัจจุบนั ประเทศจีนกลายเป็นผูส้ ง่ ออกเหล็กใหญ่ทส่ี ดุ รายเดียวในโลก ด้วยปริมาณการส่งออกเหล็กจำนวน 52 ล้านเมตริกตันในปี 2549 และยังคงรักษาตำแหน่งการส่งออกเหล็กทีม่ ากทีส่ ดุ ในปี 2550 ทีร่ ะดับ 63 ล้านเมตริกตัน หากพิจารณาอย่างเป็นเหตุเป็นผล แล้วบริษทั ฯ คาดการณ์วา่ ตัวเลขการส่งออกนีจ้ ะเพิม่ ขึน้ อีก 10-20 ล้านตันในปี 2551 จากบทความของสำนักข่าว Reuters วันที่ 26 พฤศจิกายน 2550 ร่วมกับ Yin Zhen หน่วยงานวิจยั การพัฒนาประเทศและ กรรมการปฏิรูป สำนักวางแผนของประเทศจีนคาดการณ์ว่า การนำเข้าถ่านหินไปยังประเทศจีนจะสูงถึง 1 พันล้านเมตริกตันในปี 2553 และ 1.2 พันล้านเมตริกตันในปี 2563 บริษทั ฯ ยังคงสงสัยว่าตัวเลขนำเข้าจริงในปี 2553 น่าจะเป็น 100 ล้านเมตริกตัน เพราะ งานวิจัยอื่นๆ ที่ตีพิมพ์ระบุว่าตัวเลขการนำเข้าถ่านหินของจีนน่าจะอยู่ที่ระดับ 150 ถึง 250 ล้านเมตริกตันภายในปี 2553 จำนวน การนำเข้าถ่านหินของจีนจะมีผลกระทบอย่างรวดเร็วต่อดัชนีบอลติคและอัตราค่าระวางในกลุม่ เรือทีบ่ ริษทั ฯ อยู่ ดังนัน้ เจ้าของเรือทัว่ โลกอาจจะต้องจับตาดูประเทศจีนก่อนสิน้ ศตวรรษนีใ้ ห้ด ี ตามที่นิตยสาร Fairplay International Shipping รายสัปดาห์ฉบับวันที่ 3 มกราคม 2551 สรุปไว้อย่างดีว่า “สิ่งที่นำไปสู ่ บทสรุปสำหรับปีนี้ โดยนับแต่การล่มสลายของกำแพงเบอร์ลนิ อดีตทีผ่ า่ นมาเป็นเพียงตัวช่วยกำหนดอนาคตเท่านัน้ เราคิดว่าเรารูจ้ ดุ ที่เราอยู่และเราคิดว่าเรารู้จุดหมายที่เราอยากจะไปถึงในช่วงเดือนมกราคมปีหน้าแต่ว่าสถานการณ์ข้างหน้านั้นดูมีความผันผวนอย่าง มาก” บริษัทฯ คิดว่าบริษัทฯ สามารถฟันฝ่าได้ แต่ก็หวังว่าท่านจะผ่านพ้นสถานการณ์อันผันผวนดังที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในปี 2551 ลุลว่ งด้วยดี รายงานประจำปีของ Howe Robinson สรุปได้วา่ “อุปสงค์ทเ่ี พิม่ ขึน้ อย่างมากของสินค้ายังคงเติบโตต่อเนือ่ งในปี 2551 และ คาดได้ว่าจะบรรจบกับอุปทานระวางเรือที่เพิ่มขึ้น การแปรปรวนของความแออัดในท่าเรือและความไม่สมดุลอื่นๆ เปรียบเสมือนการ เล่นไพ่ทผ่ี ลัดกันรุกผลัดกันรับ การเข้ามาของเรือใหม่ทไ่ี ม่สม่ำเสมอซึง่ นำไปสูก่ ารผันแปรอย่างมาก นอกจากนีค้ วามไม่แน่นอนในความ แข็งแกร่งในช่วงครึ่งปีหลังจะนำไปสู่ความไม่สมดุลของแร่เหล็กที่เข้าสู่ตลาด ความเสี่ยงในวงจรการสินค้าที่ต้องขนส่งกำลังขยายวง กว้างจากสภาพปัญหาคอขวดซึ่งอาจส่งผลตรงกระทบอย่างรุนแรงมากกว่าที่คาดไว้ก่อนหน้านี้ และจากการลงทุนที่มากเกินโดย เฉพาะเรือและอูต่ อ่ เรือ ซึง่ คาดว่าน่าจะเกินความต้องการตัง้ แต่ปี 2552 เป็นต้นไป บนความสมดุลบริษทั ฯ คิดว่าตลาดในช่วงสัน้ ๆ นี้ ถูกประเมินค่าความเสีย่ งต่ำไป ซึง่ มีความเสีย่ งสูงผิดปกติ หากมองล่วงหน้าไปปี 2552 และต่อไป บริษทั ฯ คาดว่าการขยายกองเรือใน กลุม่ เรือเคปไซส์เพือ่ รองรับอุตสาหกรรมแร่เหล็กและเหล็กกล้ามากไป และถ้าอูต่ อ่ เรือใหม่สามารถส่งมอบเรือได้ตามคำสัง่ เรือในกลุม่ นีก้ น็ า่ จะมีมากเกินความต้องการ ปัญหาทีอ่ ตุ สาหกรรมเดินเรือประสบอยูใ่ นปัจจุบนั : การทีต่ ลาดขนส่งสินค้าทางทะเลได้เติบโตสูงเป็นประวัตกิ ารณ์ในระหว่างปี 2547 และ 2548 และอีกครัง้ ในปี 2550 บริษทั ฯ ทีร่ อบคอบในปัจจุบนั จะมีหนีเ้ หลืออยูเ่ พียงเล็กน้อย ในบัญชีงบดุล และมีเงินสดเหลืออยูม่ าก ซึง่ เงินสดจะถูกนำไปใช้ในการรวมตัวกัน ในอุตสาหกรรม นัน้ คืออาจจะเป็นการใช้เงินสดนีเ้ พือ่ ซือ้ เรือมือสอง หรือโดยการควบรวมกิจการหรือซือ้ กิจการ และไม่วา่ จะโดยวิธใี ด ก็ตาม ตราบใดที่การใช้เงินลงทุนนั้นยังวนเวียนอยู่ในอุตสาหกรรมสิ่งเหล่านั้นเป็นเรื่องที่น่ายินดี เพราะถือเป็นการเติบโตของ อุตสาหกรรมให้ดขี น้ึ ต้นทุนการดำเนินกิจการ: ยังคงเป็นความกดดันทีต่ อ้ งเผชิญอย่างต่อเนือ่ งใน 2-3 เรือ่ งในช่วง 2-3 ปีขา้ งหน้าจากหลายๆ ปัจจัย การขาดแคลนอูซ่ อ่ มเรือและจำนวนเรือเก่าทีร่ อการตรวจเช็คสภาพทัว่ ไปเพิม่ ขึน้ อีก ทัง้ เวลาทีต่ อ้ งใช้ในการตรวจเช็คทัว่ ไป หรือ การตรวจเช็คอย่างละเอียดซึ่งนับเป็นเรื่องที่จำเป็น ความล่าช้าเป็นเรื่องปกติ เมื่อไรก็ตามที่เรือต้องเข้าตรวจเช็คสภาพหรือซ่อมแซม อุปกรณ์เครื่องใช้ จะเกี่ยวเนื่องกับต้นทุนที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของทั้งค่าเหล็ก ชิ้นส่วนอะไหล่ อุปกรณ์เสบียง และสีทาตัวเรือ ซึ่ง ทัง้ หมดทีก่ ล่าวมานีม้ สี ว่ นผลักดันค่าซ่อมแซมในอูแ่ ห้ง ค่าตรวจสภาพ ค่าซ่อมบำรุงรักษา เสบียงและอะไหล่ในปี 2550 ในทัง้ อุตสาหกรรมเพิม่ สูงขึน้ ราคาน้ำมันหล่อลืน่ ก็มสี ว่ นสัมพันธ์อย่างมากกับราคาน้ำมันดิบต่อบาร์เรล จากการทีร่ าคาน้ำมันดิบขึน้ สูงต่อเนือ่ ง


Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

of around 8 days for 2006. Most of the improvement in congestion has been the result of a quota system implemented by Port Authorities in Australia and does not necessarily mean that the supply side bottle necks have been resolved or that demand has stopped growing at a faster pace than supply side efficiency gains. US investment bank Jefferies points out in their shipping weekly issue dated 7th January 2008 that ‘Last week, Rio Tinto announced the Company had ordered three VLOCs with delivery scheduled for 2012 continuing a trend of large mining companies increasing investments in dry bulk vessels. We believe the increased ownership in dry bulk vessels on the part of the large iron ore mining companies reflects the view that the large iron ore mining companies believe both shipping costs and asset values are likely to increase from current levels.’ China, which had become the single largest Steel exporter in the world during 2006 with their exports of 52 million MT, has further consolidated that position by exporting almost 63 million MT in 2007. We could reasonably expect to see this export figure rise by another 10/20+ million MT during 2008. According to an article in Reuters dated 26 November 2007, Yin Zhen, with a research unit of the National Development and Reform Commission, the State Planning Agency in China, forecast that Coal imports into China would reach 1 billion MT in 2010 and 1.2 billion MT in 2020. We suspect that the figure should have actually read as 100 million MT imports by 2010 as other research publications have indicated that the coal import figures into China may reach anywhere between 150 and 250 million MT by 2010. Once again, such quantities of coal imports into China would have a rather meteoric impact on the BDI and the freight markets in which we operate. Ship owners the world over, may soon be paying justified homage to “Old King Coal” before the decade is out. As the Fairplay International Shipping Weekly, issue dated 03 Jan 2008 nicely summed up “…all of which leads to the conclusion that for this year, more than perhaps for any year since the fall of the Berlin Wall, the past is of only limited help in plotting the future. We think we know where we are, we think we know where we’d like to be next January, but there’s a rollercoaster ride ahead.” We can, but wish you a safe journey on the rollercoaster ride that the year 2008 promises to be. The Howe Robinson Dry Cargo Annual Review concluded as follows “Strong increases in cargo demand will continue in 2008, and they are likely to be broadly matched by increases in tonnage supply. Rises and falls in congestion and other imbalances are a wild card which could cut either way. There will be an uneven flow of ships leading to extreme volatility. There is a bias towards second half year strength given the imbalance in iron ore flows. Downside risks to the whole commodity cycle are growing from bottlenecks which might adversely affect the cycle earlier than expected, and from over investment, particularly in ships and shipyards, which is likely to overshoot demand from 2009 onwards. On balance, we think market sentiment is underestimating the risks faced in the near term in a market, which, although well off its peak, is extraordinarily high. Looking ahead to 2009 and beyond, we think fleet expansion in the Cape sector will simply ask too much of the iron ore and steel industry, and a severe retrenchment can therefore be expected if the new yards deliver to order.” THE ISSUES FACING OUR INDUSTRY: With the Freight Markets hitting all time highs during 2004 and 2005, and, once again, in 2007, most prudent companies today have very little debt on their balance sheets with a lot of cash in their pockets which will be used to further consolidate the industry. This could happen through the judicious purchase of second-hand tonnage or via mergers and acquisitions. By whatever means consolidation takes place, it is to be welcomed, as it can only make life a bit better for the participants in this industry. Operating Costs will continue to face upward pressure from a few areas for a few years to come. With a scarcity of Repair Yard capacity, and increased queues of older ships waiting at their door steps, time spent in completing the usual dry dockings or special surveys is anything but usual. Delays are the norm rather than the exception whenever ships need to visit dry docks or repair facilities. This, coupled with the rapid increase in cost of steel, spare parts, stores and paints, has helped push up dry dock, special survey, repairs, maintenance, stores and spares costs during 2007 for the entire industry. Lubricating Oil prices are linked with, and married to the price of Crude Oil per barrel. With Crude Oil prices being at

39


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

40

ต้นทุนค่าน้ำมันหล่อลืน่ จึงขยับตามอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ โดยทัว่ ไปในฐานะเจ้าของเรือนัน้ ลังเลทีจ่ ะปลดระวางเรือทีส่ ร้างรายได้เป็น กอบเป็นกำและหากถึงเวลาอู่ต่อเรือเริ่มส่งมอบเรือใหม่ เมื่อนั้นปัญหาขาดแคลนลูกเรือก็ตามมา เนื่องด้วยปริมาณคนที่เข้าสู่อาชีพ ด้านการเดินเรือนัน้ เพิม่ ขึน้ ไม่สมดุลกับปริมาณเรือทีท่ ยอยเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งทำให้อำนาจการต่อรองค่าจ้างตกอยูก่ บั ฝ่ายลูกเรือ ซึง่ สร้างความกดดันอย่างต่อเนื่องให้กับผู้ประกอบการ เป็นผลให้เจ้าของเรือหลายรายต้องใช้ลกู เรือที่ไม่มีประสบการณ์ ไม่เคยผ่านงาน หรือไม่ได้รับการทดสอบมาทำงานในการปฏิบัติงานหลัก และด้วยจำนวนเรือที่เพิ่มขึ้นแต่จำนวนท่าเรือกลับไม่มีการขยายให้สมดุล ทำให้มจี ำนวนเรือเข้าและออกจากท่ามากขึน้ อย่างมีนยั สำคัญเป็นผลให้ผนู้ ำร่องเส้นทางและเรือโยงนำเข้าเทียบท่าถูกใช้งานอย่างหนัก จากความกดดันทีจ่ ะลดความล่าช้าของการดำเนินการให้อยูใ่ นระดับต่ำทีส่ ดุ เป็นผลให้มรี ายงานอุบตั เิ หตุจากการชนและการเทียบท่า เกยตืน้ เพิม่ สูงขึน้ ด้วยเทคโนโลยีทเ่ี ข้ามาและระบบตรวจเส้นทาง GPS ของเรือ ได้ดำเนินตามเส้นทางเดินเรือเดิมทีเ่ คยเกิดอุบตั เิ หตุซำ้ รอยเดิม ในทางปฏิบตั ขิ องอุตสาหกรรมการเดินเรือนัน้ การเรียกร้องค่าเสียหายทัง้ หมด (ซึง่ ค่าเรียกร้องชดใช้ของการรัว่ ของน้ำมันเป็น ค่าใช้จา่ ยทีแ่ พงทีส่ ดุ ) ในระดับต่ำสุดของค่าชดเชยจะถูกรวมกันและรับผิดชอบโดยเจ้าของเรือแต่ละรายผ่านทางผูร้ บั ประกันตามลำดับ (เรียกว่าสมาคม P&I Clubs) ดังนัน้ บริษทั ฯ มีความเสีย่ งเพิม่ ขึน้ ทีจ่ ะต้องรับภาระการเรียกร้องค่าเสียหาย แม้วา่ เรือบริษทั ฯ อาจจะไม่ เกีย่ วข้องด้วย ยิง่ กว่านัน้ การเปลีย่ นแปลงกฎระเบียบภายในสมาคม P&I Clubs ส่งให้ทางสมาคม เรียกร้องให้สมาชิกรักษาระดับการ ชำระหนี้ ซึง่ จะมีผลต่อค่าเบีย้ ประกันทีส่ มาชิกทีเ่ ป็นเจ้าของเรือต้องจ่ายสูงขึน้ สิง่ ต่างๆ เหล่านีก้ อ่ ให้มลู ค่าของเรือสูงขึน้ และส่งผลถึง ค่าเบีย้ ประกันทีเ่ พิม่ ขึน้ ด้วย ในปี 2550 ค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือต่อวันต่อลำเรือของบริษทั ฯ สูงขึน้ ร้อยละ 11 บริษทั ฯ ยังไม่มตี วั เลข เฉลีย่ ของอุตสาหกรรม แต่จากอดีตทีผ่ า่ นมาค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือของอุตสาหกรรมจะสูงกว่าของบริษทั ฯ การประชุมองค์กรการเดินเรือทะเลสากล (IMO): ได้รับการปรับปรุงเพื่อให้เข้ากับความต้องการที่จะส่งเสริมปกป้อง สิง่ แวดล้อม ซึง่ ทำให้ตน้ ทุนของเจ้าของเรือเพิม่ สูงขึน้ และเพิม่ แรงกดดันสำหรับผูร้ กั ษากฎ ได้แก่ เจ้าหน้าทีธ่ งประจำชาติและสมาคม จัดลำดับชัน้ เรือ ในขณะเดียวกันเจ้าของเรือก็กำลังเผชิญปัญหาขาดแคลนบุคลากรทีม่ ปี ระสบการณ์ ศูนย์ฝกึ บุคลากรด้านการเดินเรือและการจัดการด้านทรัพยากรบุคคลด้านการเดินเรือ: บริษทั ฯ ตัดสินใจสร้างศูนย์ ฝึกบุคลากรด้านการเดินเรือที่สำนักงานใหญ่ในกรุงเทพฯ ซึ่งได้รวมห้องจำลองการควบคุมเรือเพื่อฝึกบุคลากรด้านการเดินเรือ การ จัดการด้านบุคลากรเรือ (Maritime Resource Management, MRM) เป็นโปรแกรมเพื่อฝึกลูกเรือ วิศวกร กัปตัน และคนประจำฝั่ง จุดประสงค์คือเพื่อเพิ่มความรู้ เสริมสร้างความสามารถ และเรียนรู้ข้อจำกัดการทำงาน รวมถึงส่งเสริมทัศนคติด้านบวกต่อความ ปลอดภัยและการทำงานเป็นทีม MRM เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่าเป็นหนึ่งในวิธีการที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการปรับปรุงการทำงาน ของลูกเรือและลดความเสีย่ งในการเกิดอุบตั เิ หตุ การอบรม MRM ได้รบั อนุมตั แิ ละอนุญาตจาก The Swedish Club และจำนวนของผู้ ทำการอบรม MRM ทั่วโลกปัจจุบันมี 27 ราย เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้จะปฏิบัติงานได้เต็มกำลังภายในเดือนมีนาคม 2551 นอกจากการอบรม MRM แล้ว เรายังสร้างห้องเรียน การอบรมผ่านวีดโี อ และการฝึกผ่านคอมพิวเตอร์ (Computer Based Training, CBT) สำหรับลูกเรือ นอกจากนี้ยังมีการอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการเดินเรือ การเรียนในห้องเรียน และการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์เพื่อ ความปลอดภัยและการปฏิบัติงานเรือที่มีประสิทธิภาพ การจัดการดังกล่าวนับเป็นการวางรากฐานที่สำคัญต่อกิจกรรมการฝึกทำให้ เจ้าหน้าที่และลูกเรือของบริษัทฯ ตามทันพัฒนาการใหม่ๆ ในการปฏิบัติงานเรือ ห้องจำลองการควบคุมเรือ ได้รวมรูปแบบการฝึก ขณะทีน่ ำเรือเข้าท่าและจำลองสภาพการเดินเรือหลากหลายแบบเพือ่ ให้เจ้าหน้าทีแ่ ละลูกเรือได้เรียนรูก้ ารจัดการเรือและการบังคับเรือ เรื่องดังกล่าวเป็นเรื่องสำคัญที่บริษัทฯ มุ่งหวังที่จะฝึกและเตรียมเจ้าหน้าที่และลูกเรือเพื่อให้คนกลุ่มนี้ดแู ลตัวเองและเรือได้ดีขึ้น เพื่อ ความปลอดภัยของตัวลูกเรือเอง ป้องกันการเกิดอุบตั เิ หตุ และเพือ่ ช่วยรักษาสิง่ แวดล้อมอีกด้วย สภาวะของเงินทีถ่ กู และได้มาง่าย: ในตลาดหนีข้ องธุรกิจเดินเรือเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นชัดในช่วง 2 ปีทผ่ี า่ นมา สภาพดังกล่าวเริม่ ถดถอยในช่วงหลังของปี 2550 โดยสภาพคล่องเริ่มชะงักอันเนื่องมาจากวิกฤตสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ (ซับไพร์ม) ในประเทศ สหรัฐอเมริกากระทบกับระบบการเงิน ธนาคารยุโรปทีป่ ล่อยกูใ้ ห้กบั ธุรกิจการเดินเรือพบว่าเป็นเรือ่ งยากทีจ่ ะปล่อยให้กโู้ ดยมีจำนองเรือ ทีซ่ ง่ึ ได้เซ็นสัญญาในช่วงต้นปีทผ่ี า่ นมา ปัจจัยนีม้ ผี ลต่อต้นทุนของผูก้ เู้ พิม่ ขึน้ จากมาร์จนิ ทีส่ งู ขึน้ และค่าธรรมเนียมทีส่ งู ขึน้ ทีบ่ ริษทั เรือ ต้องจ่ายให้ธนาคารเพือ่ แปลงสภาพหนีใ้ หม่ในขณะทีเ่ งือ่ นไขการกูเ้ งินยุง่ ยากมากกว่าเมือ่ 2-3 เดือนก่อนหน้านี้ ไม่เพียงแต่ตน้ ทุนเงินกู้ ของธุรกิจเดินเรือทีส่ งู ขึน้ ธนาคารส่วนมากยังได้ปรับลดจำนวนเงินทีจ่ ะปล่อยให้กเู้ งินเพือ่ ธุรกิจเรือในปี 2551 ด้วย และ “เพิกเฉย” ต่อ รายการที่น่าสนใจ ที่ทางธนาคารเคยพยายามตามอยู่ก่อนหน้านี้ เราอยากที่จะมองไปที่โอกาสที่สว่างสดใสท่ามกลางอุปสรรคทั้ง หลาย จากสภาพคล่องทีบ่ บี รัดดังกล่าวไม่เพียงแต่ทำให้เราได้เปรียบกว่าบริษทั อืน่ และผูก้ หู้ น้าใหม่ เพราะบริษทั ฯ เรามีสถานภาพการ เงินทีม่ น่ั คงมาก นอกจากนีก้ ารขาดสภาพคล่องของเงินในตลาดอาจทำให้สง่ั ต่อเรือใหม่นอ้ ยลงและชะลอศักยภาพการส่งมอบเรือใหม่ อย่างทีไ่ ด้กล่าวไว้ในเรือ่ งทิศทางอุตสาหกรรมเดินเรือทะเล


Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

almost all time highs, Lubricating Oil costs have gone up proportionately. With owners, in general, reluctant to scrap their vintage tonnage, and with new ships literally pouring in from ship yards, there has been a real scramble for officers and crews to man these ships. With the pipeline of new entrants into a seafaring career not having increased in proportion to the increase in the number of ships in operation worldwide, it has led to pricing power slipping into the hands of the seafarers resulting in a sustained pressure on crew costs for all owners. As a result, many owners are relying on inexperienced, untried and untested crew to man critical operational areas. With the increase in the number of ships in operation and with the number of ports not going up in proportion, the number of ships entering and exiting ports has gone up significantly resulting in over-worked Pilots and Tug Boats. With commercial pressures mounting to try and keep all operational delays to a bare minimum, many more accidents in the form of collisions and groundings are being reported. With the advent of technology and GPS navigation, all ships on a particular route follow the same identical track, making collisions a fairly common phenomenon. In a practice unique to the Shipping industry, all liability claims (of which the oil spill claims are usually the most expensive) above a threshold level are pooled and shared by individual shipowners through their respective liability insurers (called ‘P&I Clubs’); as a result, we carry an exposure to the increasing frequency and magnitude of claims even when our own vessels are not involved. Furthermore, changes in regulations governing the P&I Clubs requiring them to maintain an acceptable solvency ratio gets reflected in higher insurance premiums payable by all their shipowner members. All these factors, and the greatly increased values of ships, are resulting in a general increase in Insurance costs. For 2007 our average operating costs per day per ship have gone up by about 11% and whilst we do not have figures for the industry norm for 2007, we expect that they will be higher than ours based on past experience. IMO conventions are being constantly updated to match demands for enhanced steps to protect the environment. This has resulted in increased costs to ship owners and increased pressure on the regulators - the Flag State authorities and the Classification Societies - who, much like ship owners themselves, are facing a huge shortage of trained personnel. Maritime Training Center & Maritime Resource Management: The Company has decided to set up a

full-fledged Maritime Training Center at its Head Office in Bangkok which includes a state-of-the-art Bridge Navigation Simulator for training of maritime personnel. Maritime Resource Management (MRM) is a training programme for ship’s officers, engineers, pilots and shore-based personnel. The aim is to increase knowledge about human capabilities and limitations and to reinforce positive attitudes towards safety and teamwork. MRM is generally accepted to be one of the most efficient means of improving crew cooperation and minimizing the risk of accidents. The MRM course is authorized and licensed by The Swedish Club and the number of MRM training providers worldwide currently number 27 in all. The facility will be fully operational by March 2008. Apart from the MRM courses, we have also set up classrooms, video training and Computer based training (CBT) for our ship staff. Courses include but are not limited to MRM, Maritime English training, classroom lectures and CBT for safety and efficient ship operations. This will give a solid foundation to the Company’s training activities and will enable our Officers and Crew to keep abreast of the latest developments in ship operations. The Bridge Navigation Simulator recreates the actual bridge on a ship as it enters a major port and provides ideal conditions in which to train Officers and Crew in ship-handling and navigation. This is a significant step taken by the Company to train and equip its Officers and Crew to take better care of themselves and their ships, all with a view to ensure safety of the crew, safety of the ship by preventing accidents, thus also helping to preserve the environment. The “cheap and easy money” environment in the shipping debt market witnessed in the past couple of years started to wane in the latter part of 2007 as the liquidity squeeze triggered by the US sub-prime crisis hit the financial system. A number of European shipping banks found it difficult to syndicate ship mortgage loans they had committed in the earlier part of the year. This has now resulted in an increase in costs for borrowers by way of higher margins and higher fees to be paid to the banks to syndicate new debt on terms much tighter than what they (borrowers) could achieve just a few months earlier. Not only has shipping debt now become costlier, but, most banks have actually scaled down their ship lending targets for 2008 and may even prefer to “pass” many potential transactions which they would have run after, not so long ago. We prefer to look at the silver lining in these dark clouds that the liquidity squeeze would not only place us at an advantage over weaker and newer borrowers because of our strong financial position, but the shortage of easy money could also reduce the rash of newbuilding orders and slow down the potential supply of new ships discussed above in the Industry Outlook section.

41


โครงการร่วมทุน:

การดำเนินงานของโครงการร่วมทุน มีตอ่ ไปดังนี้ ■ Southern LPG (SLPG): กระบวนการปิดบัญชีโครงการร่วมทุนนีไ ้ ด้ขอ้ ยุตแิ ล้ว บริษทั ฯ ได้ขายสินทรัพย์หลักๆ ของบริษทั นี้ เรียบร้อยแล้ว และคาดว่าจะปิดการขายส่วนทีเ่ หลือของบริษทั นีไ้ ด้อย่างสมบูรณ์ในอนาคตอันใกล้น้ี ■ International Seaports (Haldia) Pvt Ltd: เป็นการลงทุนที่ท่าเรือเมืองฮัลเดียเพียงแห่งเดียว (ประมาณร้อยละ 22.4 ของทุนจดทะเบียน) ทีล่ งทุนดำเนินงานภายใต้โครงการท่าเรือในอดีต ส่วนโครงการนี้ มีผลการดำเนินงานทีด่ อี ย่างต่อเนือ่ งและบริษทั ฯ ได้รบั เงินปันผลจำนวน 0.36 ล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2550 จากการลงทุนนี้

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

บทสรุป:

42

จากการเปลี่ยนแผนกลยุทธ์ในการทำธุรกิจของบริษัทฯ จากการให้บริการเป็นรายเที่ยวหรือการให้เช่าเรือระยะสั้น ซึ่งเป็น ลักษณะการทำธุรกิจก่อนปี 2546 มาเป็นการทำสัญญาให้เช่าเรือระยะยาวมากขึ้น ทำให้บริษัทฯ ประสบความสำเร็จและมีกระแส เงินสดที่มั่นคง การมีกระแสเงินสดที่มั่นคงและความชัดเจนในรายได้ในอนาคต ทำให้บริษัทฯ สามารถปลดภาระหนี้เงินกู้ได้หมดใน เดือนตุลาคม 2549 ดังนัน้ ช่วงโอกาสทีเ่ หมาะสมนี้ บริษทั ฯ อยูใ่ นสถานภาพทีพ่ ร้อมในการสัง่ ต่อเรือใหม่จำนวน 18 ลำ กับอูต่ อ่ เรือ ABG และบริษทั ฯ ยังมองหาโอกาสทีด่ ที จ่ี ะเข้ามาสำหรับการขยายกิจการขัน้ ต่อไป ความมุ่งมั่นที่จะเร่งรีบขยายธุรกิจในอนาคตไม่นา่ จะมีขอ้ จำกัด เนื่องจากบริษัทฯ มีประวัติท่ดี ีในการจ่ายชำระหนี้คืนได้เร็ว ก่อนกำหนด ทำให้บริษัทฯ สามารถระดมเงินทุนเพื่อการขยายกองเรือในอนาคตจากการกู้ยืมเพียงอย่างเดียวได้ในระดับที่แข่งขันได้ และด้วยเป้าหมายที่ตั้งใจเช่นนี้ บริษัทฯ จึงได้ขยายระยะเวลาวงเงินสินเชื่อ (จนถึงสิ้นปี 2551) ในวงเงินสินเชื่อจำนวน 500 ล้าน เหรียญสหรัฐ จากกลุม่ ธนาคารชัน้ นำทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ซึง่ วงเงินสินเชือ่ นีจ้ ะทำให้บริษทั ฯ สามารถทีจ่ ะช่วงชิงโอกาสทาง ธุรกิจใดๆ ทีจ่ ะเข้ามาได้ทนั ที บริษัทฯ ได้วางพื้นฐานแห่งความเติบโตของบริษัทฯ ไว้อย่างแข็งแกร่งโดยการปลดหนี้ให้หมด ขยายเวลาวงเงินสินเชื่อ จำนวน 500 ล้านเหรียญสหรัฐ เพือ่ ซือ้ เรือมือสอง รวมถึงโครงการสัง่ ต่อเรือใหม่ 18 ลำ ทีท่ ำสัญญากับอูต่ อ่ เรือ ABG ซึง่ เป็นการสร้าง ความได้เปรียบในการช่วงชิงโอกาสในตลาดขนส่งสินค้าแห้งเทกองแบบไม่ประจำทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต ด้วยพระพรจากพระผูเ้ ป็นเจ้า พวกเราหวังว่าจะสามารถทำตามสัญญาทีม่ กี บั ผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสียทัง้ หลาย ด้วยการเสียสละ การทำงานหนักของมืออาชีพทัง้ ทีส่ ำนักงานและเจ้าหน้าทีป่ ระจำการบนเรือของพีเอสแอลทุกคน ในนามคณะกรรมการ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม

นายคูชรู คาลี วาเดีย

กรรมการผูจ้ ดั การ

กรรมการ

12 กุมภาพันธ์ 2551


JOINT VENTURES:

The status of our joint-venture investments is as follows: â– Southern LPG (SLPG): The process of closing down this entity has been finalized. We have completed the sale

of the major assets in this company and we should be able to close the balance sales completely in the near future. â– International Seaports (Haldia) Pvt Ltd: This is our only investment in Ports now which is in the Haldia port

(about 22.4% of the total capital) and is operational under our past port projects investments, This project continues to operate superbly well and we have received dividends of USD 0.36 Million in 2007 from this investment. IN CONCLUSION:

Mr. Khalid Moinuddin Hashim Managing Director February 12, 2008

Mr. Khushroo Kali Wadia Executive Director

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

With the changed business strategy of going for longer term time charter contracts as opposed to the spot business, that was conducted during and up to 2003, we have been able to achieve steady cash flows whilst giving greater visibility to forward earnings. The steady cash flows, coupled with the forward visibility, have also helped us put in place a strategy that made us debt free in October 2006. We were therefore, in the right position, to order the 18 new buildings with ABG shipyard when the opportunity did present itself. We continue to look out for the next phase of expansion as and when a suitable opportunity was to present itself in the future. The prospects of rapid future expansion should, therefore, not be ruled out. Our enviable track record of rapid prepayment of debt should allow our future expansion to be funded solely from new debt raised at extremely competitive levels. With this in mind, we have extended the availability period (till end 2008) of the credit facilities of USD 500 million from a consortium of leading Local and International Banks, which will enable us to react quickly to any such opportunity. We have therefore set up a very strong growth-platform for your Company by being debt free; having a credit facility of USD 500 million to purchase second hand ships; and the 18 ship new building program that we have entered into with ABG shipyard. We feel that we are poised to take advantage of any other opportunities, that the Dry Bulk Tramp Freight Markets, may throw our way in the years ahead. With Gods Grace, we hope to be able to deliver, to our shareholders and other stakeholders, the promise of this potential. This will, in no small measure, be due to the very dedicated and hardworking professionals that make up the office, as well as, floating staff at PSL. For and on behalf of the Board of Directors of Precious Shipping Public Company Limited

43


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

44

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระจำนวน 3 ท่านได้แก่ พลตำรวจโท เกียรติศกั ดิ์ ประภาวัต ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ พลเรือเอก ดร. อำนาจ จันทนมัฎฐะ และนายสุพฒ ั น์ ศิวะศรีอำไพ เป็ นกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ฏิ บ ั ต ิ ห น้ า ที ่ ต ามกฎบั ต รคณะกรรมการตรวจสอบที ่ ได้ ร ั บ อนุ ม ั ต ิ จ าก คณะกรรมการบริ ษ ั ท ฯ และตามข้ อ กำหนดของสำนั ก งานคณะกรรมการกำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ รวมทั ้ ง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึง่ สรุปได้ดงั ต่อไปนี ้ ในปี 2550 ได้จดั ให้มกี ารประชุมคณะกรรมการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ เพือ่ พิจารณาสอบทานงบการเงินของบริษทั ฯ และ บริษัทย่อยและคณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีภายนอกทุกไตรมาส เพื่อรับฟังคำชี้แจงเกี่ยวกับรายงานของ ผูส้ อบบัญชี ผลการตรวจสอบงบการเงินและข้อเสนอแนะเกีย่ วกับมาตรฐานการบัญชีทเ่ี กีย่ วข้อง คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็น ว่าบริษทั ฯ มีกระบวนการจัดทำและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินทีถ่ กู ต้อง เพียงพอและเป็นทีเ่ ชือ่ ถือได้ คณะกรรมการตรวจสอบได้รว่ มปรึกษากับผูต้ รวจสอบภายในเกีย่ วกับขอบเขตความรับผิดชอบและหน้าทีข่ องฝ่ายตรวจสอบ ภายในและได้อนุมตั แิ ผนงานการตรวจสอบของฝ่ายตรวจสอบภายใน ในปี 2550 ฝ่ายตรวจสอบภายในได้ทำการประเมินความเสีย่ ง และกลไกการควบคุมภายในสำหรับทุกแผนกของบริษทั ฯ ตรวจสอบด้านการปฏิบตั งิ านสำหรับบางแผนก ตรวจสอบรายการทีอ่ าจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์และตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รวมทัง้ กฎหมายต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั ฯ ซึง่ ได้แก่การปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องทางภาษีอากร รวมทัง้ ได้ดำเนินการติดตามผลการตรวจสอบและนำผลการตรวจสอบและ คำเสนอแนะต่างๆ ได้มกี ารพูดคุยกับเจ้าหน้าทีท่ เ่ี กีย่ วข้องและผูบ้ ริหารและได้รายงานผลการตรวจสอบต่อคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าบริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในทีเ่ หมาะสมเพียงพอและไม่มจี ดุ บกพร่องทีม่ สี าระ สำคัญ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าบริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องโดยตรงต่อการดำเนินการ ซึ่งกฎหมายหลักที่เกี่ยวข้องเหล่านี้ก็คือ พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด ประมวลรัษฎากร พระราชบัญญัติเรือไทย พระราช บัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ฝ่ายตรวจสอบภายในได้สอบทานรายการที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่อง “การเปิดเผยข้อมูลและการปฏิบตั กิ ารของบริษทั จดทะเบียนในรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2547” ผลการสอบทานพบว่า บริษทั ฯ มีรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันจำนวน 3 รายการ โดยเป็นรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันประเภทที่ 2 จำนวน 2 รายการและเป็นรายการที่ เกีย่ วโยงกันประเภทที่ 3 จำนวน 1 รายการ ตามความหมายของประกาศฉบับดังกล่าว ค่าตัว๋ เครือ่ งบินและค่าใช้จา่ ยในการติดตัง้ และ ซ่อมบำรุงรักษาเครือ่ งปรับอากาศทีส่ ำนักงานบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยและทีค่ อนโดมิเนียมของบริษทั ย่อย จัดอยูใ่ นรายการทีเ่ กีย่ วโยง กันประเภทที่ 2 ซึง่ เป็นรายการสนับสนุนธุรกิจปกติของบริษทั ฯ ในขณะทีค่ า่ เช่าสำนักงานจัดอยูใ่ นรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันประเภทที่ 3 คือรายการเช่าหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ระยะสัน้ ซึง่ รายละเอียดของรายการดังกล่าวได้อธิบายไว้แล้วภายใต้หวั ข้อเรือ่ ง “รายการที่ เกีย่ วโยงกัน” ในรายงานประจำปีฉบับนี้ ผลการสอบทานได้เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ทราบในการประชุมคณะกรรมการ บริษทั ฯ ครัง้ ที่ 1/2551 เมือ่ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2551 ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษทั ฯ มีความเห็นว่ารายการที่ เกีย่ วโยงกันดังกล่าวมีความยุตธิ รรมและเพือ่ ผลประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ ในระหว่างปี 2550 ฝ่ายตรวจสอบภายใน ได้ทำการสอบทานรายการเกีย่ วกับการได้มาซึง่ สินทรัพย์ของบริษทั ฯ เพือ่ เป็นไป ตามประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรือ่ ง การเปิดเผยข้อมูลและการปฏิบตั กิ ารของบริษทั จดทะเบียนในการ ได้มาหรือจำหน่ายไปซึง่ สินทรัพย์ พ.ศ. 2547 และคณะกรรมการตรวจสอบได้แสดงความเห็นและจัดทำรายงานแสดงความเห็นเสนอ ต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ออกเสียงลงคะแนนสนับสนุนต่อรายการทำสัญญาสัง่ ต่อเรือใหม่ จำนวน 12 ลำ มูลค่า 360 ล้านเหรียญสหรัฐ (ตามทีไ่ ด้รบั การอนุมตั จิ ากมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 6/2550 เมือ่ วันที่ 23 กรกฎาคม 2550) ส่วนรายงานจากทีป่ รึกษา ทางการเงินอิสระ คือ บริษทั หลักทรัพย์ ซีมโิ ก้ จำกัด (มหาชน) ซึง่ เป็นผูส้ อบทานความสมเหตุสมผล ประโยชน์ของการทำรายการ และความเป็นธรรมของราคาและเงือ่ นไขของรายการ คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่าสัญญาสัง่ ต่อเรือมีความสมเหตุสมผลและก่อให้ เกิดประโยชน์ต่อบริษัทฯ และความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ สอดคล้องกับรายงานแสดงความเห็นของที่ปรึกษาทางการเงิน อิสระ


AUDIT COMMITTEE REPORT

The Audit Committee of Precious Shipping Public Company Limited consists of 3 independent directors viz., Police LT. Gen. Kiattisak Prabhavat as Chairman of the Audit Committee, Admiral Dr. Amnad Chandanamattha and Mr. Suphat Sivasriaumphai, both, as Audit Committee members. The Audit Committee has performed with total responsibility in compliance with the Audit Committee Charter approved by the Board of Directors and the requirements of the Securities and Exchange Commission and the Stock Exchange of Thailand, which is summarized as follows: In the year 2007, meetings of the Audit Committee have been held through the year to review financial statements of the Company and its subsidiaries and meetings with external auditor were also held every quarter for discussions of the Auditor’s report, financial statements and recommendations of the relevant accounting standards. The Audit Committee is of the opinion that the Company has a proper financial reporting process to disclose its financial information, in which the financial statements are correct, sufficient and credible. The Audit Committee has also discussed with internal auditors the scope of internal auditing, their responsibilities and functions and approved the internal audit plan for the Internal Audit Department. In the year 2007, Internal Audit Department reviewed the risk assessment and internal control activities of all departments, audited the operations of some departments, reviewed conflict of interest transactions and reviewed compliance with regulations and laws relating to the business of the Company such as compliance with conditions of tax related Regulations. Internal auditors also followed up on the results of the aforesaid review. The results of the review and the recommendations were discussed with the related staff and management and reported to the Audit Committee. The Audit Committee is of the opinion that the Company has proper and adequate internal control systems and there are no significant deficiencies. The Audit Committee is of the opinion that the Company has been in compliance with laws and regulations to which the operations of the Company are subjected. Principally, these laws are the Public Limited Companies Act, Revenue Code, Thai Vessels Act, SEC Act and regulations of the SET. Internal Auditors have reviewed the connected transactions according to the Notification of the Stock Exchange of Thailand Re: The Disclosure of Information and Act of Listed Companies Concerning Connected Transactions (No. 2), 2004. The Company has 3 connected transactions of which 2 are classified as type 2 transaction and 1 is classified as type 3 transaction under this notification. Air ticket expenses and maintenance expenses for air conditioning system at the main operational office and the condominium apartments of the Company and its subsidiary are classified as Type 2 which are supporting transactions for core business. Office lease rental is classified as Type 3 which is short term office rental. The details of these transactions have been explained under the topic “Connected Transactions” in this annual report. The result of the review has been discussed in the Board of Directors Meeting No. 1/2008 held on 12th February 2008. Audit Committee and Board of Directors are of the opinion that the aforesaid transactions are fair and for the full benefit of the Company. During the year 2007, Internal Auditors reviewed the Asset Acquisition Transaction of the Company, according to the Notification of the Stock Exchange of Thailand (SET) regarding the Disclosure of Information and Other Acts of Listed Companies Concerning the Acquisition and Disposition of Assets 2004, and the Audit Committee expressed its opinion and placed its recommendation to Shareholders to vote in favor of the signing of the new building contracts for 12 new ships valued at about USD 360 million (approved by the resolution of the Board of Directors in the Board meeting no.6/2007 held on 23rd July 2007), after receiving the Report of the Independent Financial Advisor, viz. Seamico Securities PLC, who reviewed the reasonableness, benefits and fairness of terms and conditions of the transaction. The Audit Committee was of the opinion that the shipbuilding contracts were reasonable and for the best benefit for the Company and the Audit Committee’s opinion conformed with the opinion of the Independent Financial Advisor.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

To the Shareholders

45


ปกติการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบจะมีขึ้นก่อนการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ทั้งนี้เพื่อให้รายงานการประชุมของ คณะกรรมการตรวจสอบซึ่งประชุมร่วมกับผู้ตรวจสอบภายในและผู้สอบบัญชีภายนอก สามารถส่งให้คณะกรรมการก่อนการประชุม คณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ รับทราบและรับคำแนะนำต่าง ๆ จากคณะกรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการตรวจสอบมีการพูดคุยกับผู้ตรวจสอบภายในอย่างสม่ำเสมอถึงประเด็นต่างๆ ที่ผู้ตรวจสอบภายในตรวจพบ จากการตรวจสอบและมีการจัดประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบแต่ละครัง้ จะใช้เวลาประมาณ 2 ชัว่ โมง โดยในปี 2549 และ 2550 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมตามวาระปกติจำนวน 4 ครัง้ และไม่มกี ารประชุมตามวาระ พิเศษ โดยการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่านสรุปได้ดงั นี ้

รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ

การเข้าร่วมประชุม / การประชุมทั้งหมด (ครั้ง) ปี 2550 ปี 2549 การประชุมตามวาระปกติ การประชุมตามวาระปกติ

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

1. พลตำรวจโท เกียรติศกั ดิ์ ประภาวัต 2. พลเรือเอก ดร.อำนาจ จันทนมัฎฐะ 3. นายสุพฒ ั น์ ศิวะศรีอำไพ

46

4/4 4/4 4/4

4/4 4/4 3/4

การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ได้มีการพิจารณาเรื่องการแต่งตั้งผู้สอบ บัญชีภายนอกและมีมติเพือ่ เสนอการแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชี จากบริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด เป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย สำหรับรอบระยะเวลาบัญชี สำหรับปี 2551 ดังนี ้ 1. นายชยพล ศุภเศรษฐนนท์ (ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขทะเบียน 3972) เป็นผูส้ อบบัญชีแทนนางสาวสุมาลี รีวราบัณฑิต ซึง่ ได้เป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ ตัง้ แต่ปี 2546 จนถึงปี 2550 และปีปจั จุบนั จะไม่สามารถถูกแต่งตัง้ ได้ ตามหลักเกณฑ์ของสำนักงาน คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เนือ่ งจากนางสาวสุมาลี รีวราบัณฑิต ได้เป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ เป็นระยะ เวลา 5 ปีตดิ ต่อกัน ซึง่ ครบตามวาระสูงสุด ตามหลักเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 2. นางสาววิสสุตา จริยธนากร (ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขทะเบียน 3853) 3. นางสาวรุง้ นภา เลิศสุวรรณกุล (ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขทะเบียน 3516) โดยกำหนดให้ผู้สอบบัญชีคนใดคนหนึ่งข้างต้น ที่มีคุณสมบัติในการปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบและแสดงความเห็นต่อ งบการเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้และในกรณีทผ่ี สู้ อบบัญชีคนใดคนหนึง่ ดังกล่าวไม่สามารถปฏิบตั งิ านได้ ให้บริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด มีอำนาจแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีอน่ื ทีม่ คี ณ ุ สมบัตแิ ละมีความสามารถของบริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด มาปฏิบตั หิ น้าทีต่ รวจสอบและแสดงความเห็นต่องบการเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยแทน บริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด เป็นบริษทั ตรวจสอบบัญชีทม่ี ชี อ่ื เสียงเป็นทีย่ อมรับโดยทัว่ ไป มีความเป็นอิสระ และมีผลการปฏิบตั งิ านสำหรับปีทผ่ี า่ นมาเป็นทีน่ า่ พึงพอใจ โดยบริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด เป็นผูส้ อบบัญชีภายนอก ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยทีจ่ ดทะเบียนในประเทศไทย ตัง้ แต่ปี 2544 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาค่าตอบแทนการสอบบัญชีของผูส้ อบบัญชีภายนอกสำหรับปี 2551 จำนวนเงิน ไม่เกิน 5.25 ล้านบาท แยกต่างหากจากค่าใช้จา่ ยเบ็ดเตล็ด (ปี 2550: ค่าสอบบัญชีจำนวน 5.15 ล้านบาท) ซึง่ จะได้เสนอให้ผถู้ อื หุน้ ของบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติและที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบยังได้พิจารณาค่าตอบแทนจากการให้บริการด้านอื่นๆ ซึ่งไม่ เกีย่ วข้องกับการสอบบัญชี จำนวนเงินไม่เกิน 0.55 ล้านบาท (ปี 2550 : 0.55 ล้านบาท) ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ ของบริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

พล.ต.ท.เกียรติศักดิ์ ประภาวัต ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 12 กุมภาพันธ์ 2551


Normally the Audit Committee Meeting is held before the Board of Directors Meeting so that the minutes of the Audit Committee Meeting with internal auditors and external auditors could be sent to Board of Directors for acknowledgement and receiving suggestions from the Board. The members of Audit Committee regularly have informal discussions with internal auditors in connection with the results of the various areas of review undertaken by internal auditors. The formal Audit Committee Meeting usually takes around 2 hours. In the years 2006 and 2007, Audit Committee held 4 regular meetings and no special meeting. The record of attendance of the members of Audit Committee is summarized as follows: Number of Attendance / Total Meeting (Times)

Name

2007 Regular Meeting

2006 Regular Meeting

4/4 4/4 4/4

4/4 4/4 3/4

1. Police Lt. Gen Kiattisak Prabhavat 2. Admiral Dr. Amnad Chandanamattha 3. Mr. Suphat Sivasriaumphai

Audit Committee Meeting No.1/2008 held on 6th February 2008 considered the appointment of Auditors and resolved to propose the appointment of the following auditors of Ernst & Young Office Limited as the auditor of the Company and its subsidiaries for 2008. 1. Mr. Chayapol Suppasedtanon (Certified Public Accountant (Thailand) No. 3972) in place of Ms. Sumalee Reewarabandith who has been the Company’s Auditor since the year 2003 until 2007 and is now not eligible for reappointment in accordance with SEC regulations since she has been the Auditor of the Company for a consecutive period of 5 years, which is the maximum allowed per SEC regulations. 2. Ms. Vissuta Jariyathanakorn (Certified Public Accountant (Thailand) No. 3853) 3. Ms. Rungnapa Lertsuwankul (Certified Public Accountant (Thailand) No. 3516) Any of the above auditors is qualified to conduct the audit and express an opinion on the financial statements of the Company and its subsidiaries. In the event that any of the above auditors is not available, Ernst & Young Office Limited is authorized to nominate a qualified and competent auditor from Ernst & Young Office Limited to conduct the Audit. Ernst & Young Office Limited is a reputable audit firm, independent and has shown satisfactory performance according to past records. Ernst & Young Office Limited has been the Auditor of the Company and Thai subsidiaries since 2001. The meeting also approved the audit fees of an amount not exceeding Baht 5.25 million plus out-of-Pocket expenses for the year 2008 (2007 Fees: Baht 5.15 million) subject to further approval by shareholders. Further, the meeting also approved the fees for other services (non-audit related) of an amount not exceeding Baht 0.55 million (2007: Baht 0.55 million). For and on behalf of the Audit Committee of Precious Shipping Public Company Limited

Police Lt. Gen. Kiattisak Prabhavat

Chairman of the Audit Committee 12th February 2008

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

47


รายงานการกำกับดูแลกิจการ

คำจำกัดความ

การกำกับดูแลกิจการ หรือ Corporate Governance หมายถึงระบบที่จัดให้มีโครงสร้างและกระบวนการของความสัมพันธ์ ระหว่างคณะกรรมการ ฝ่ายจัดการและผูถ้ อื หุน้ เพือ่ สร้างความสามารถในการแข่งขัน นำไปสูก่ ารเติบโตและเพิม่ คุณค่าให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ในระยะยาวโดยคำนึงถึงผูม้ สี ว่ นได้เสียอืน่ ประกอบ คำจำกั ด ความดั ง กล่ า วในข้ า งต้ น เป็ น ไปตามข้ อ เสนอแนะของสำนั ก งานคณะกรรมการกำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์และบริษัทฯ มีความพยายามอย่างยิ่งที่จะผลักดันให้การกำกับดูแลกิจการดังกล่าวเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ภายใน องค์กร บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) ตระหนักดีวา่ การกำกับดูแลกิจการทีด่ มี คี วามสำคัญและเป็นสิง่ จำเป็น สำหรับการเจริญเติบโตทางธุรกิจอย่างยั่งยืนและสร้างมูลค่าให้กับผู้ถือหุ้นในระยะยาวและทางคณะกรรมการบริษัทฯ ได้จัดทำคู่มือ นโยบายการกำกับดูแลกิจการ จริยธรรมธุรกิจและแนวทางปฏิบัติที่ดีขึ้น ซึ่งได้เปิดเผยบนเว็บไซต์ของบริษัทฯ ภายใต้หัวข้อ “การ กำกับดูแลกิจการ” ทีผ่ า่ นมา บริษทั ฯ ได้รบั รางวัลต่างๆ ในเรือ่ งการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี ดังต่อไปนี ้ • ได้รบั การจัดอับดับในปี 2550 จากนิตยสาร “The Asset” ประเทศฮ่องกง ให้เป็นบริษทั ทีด่ ที ส่ี ดุ ในประเทศไทยด้านการ กำกับดูแลกิจการ จากรายชือ่ บริษทั ทีม่ กี ารกำกับดูแลกิจการทีด่ จี ำนวน 60 บริษทั ในเอเซีย • ได้รบั การจัดกลุม่ ในกลุม่ “ดีมาก” สำหรับการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี ในรายงานผลสำรวจการกำกับดูแลกิจการบริษทั จดทะเบียนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประจำปี 2549 • ได้รบั รางวัล “Best Corporate Governance Report” และ “Best Performance” จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในงาน “SET Award 2006” การดำเนินการด้านหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ สรุปได้เป็น 5 หมวด ภายใต้หวั ข้อดังต่อไปนี ้

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

1. สิทธิของผู้ถือหุ้น

48

บริษัทฯ ได้ตระหนักถึงสิทธิของผู้ถือหุ้นเพื่อให้เป็นไปตามแนวทางการกำกับดูแลกิจการที่ดีและได้มุ่งปฏิบัติในการปกป้อง สิทธิของผู้ถือหุ้นและการส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิ ซึ่งนโยบายสำหรับการรักษาสิทธิของผู้ถือหุ้น อยู่ในส่วนของคู่มือนโยบายกำกับ ดูแลกิจการของบริษทั ฯ ซึง่ ได้เปิดเผยบนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ บริษัทฯ มีความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้นในเรื่องที่เกี่ยวกับการเปิดเผยสารสนเทศ วิธีการปฏิบัติทางบัญชี การใช้สารสนเทศ ภายในและในเรื่องที่เกี่ยวกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยคณะกรรมการและผู้บริหารจะต้องมีความซื่อสัตย์สุจริต ตลอดจน ตัดสินใจดำเนินการใดๆ ด้วยความสุจริตใจและเป็นธรรมต่อผูถ้ อื หุน้ ทัง้ รายใหญ่และรายย่อยและเพือ่ ผลประโยชน์โดยรวม โดยในส่วน นโยบายและกระบวนการปกป้องสิทธิของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ มีดงั ต่อไปนี ้ 1.1 พิจารณาแต่งตัง้ กรรมการบริษทั ฯ บริษัทฯ ได้ปรับปรุงเอกสารประกอบการพิจารณาแต่งตั้งกรรมการบริษัทฯ เป็นรายบุคคล รวมทั้งเพิ่มเติมข้อมูลอื่นๆ ของกรรมการบริษทั ฯ แต่ละท่านในรายงานประจำปีและเสนอต่อผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาอนุมตั แิ ต่งตัง้ ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจำปี เพื่อให้ผ้ถู ือหุ้นของบริษัทฯ ได้รับข้อมูลที่ถกู ต้อง ครบถ้วนและเพียงพอต่อการพิจารณาแต่งตั้งกรรมการบริษัทฯ ซึ่ง ข้อมูลดังกล่าวมีรายละเอียดดังต่อไปนี ้ ประวัตขิ องกรรมการเบือ้ งต้น ได้แก่ ชือ่ ตำแหน่ง อายุ ประวัตกิ ารศึกษา การฝึกอบรม อาชีพ การเป็นกรรมการใน บริษทั อืน่ ประสบการณ์อน่ื ๆ และข้อพิพาททางกฎหมาย (ถ้ามี)


CORPORATE GOVERNANCE REPORT

DEFINITION

Corporate Governance is a set of structure and process of relationships between Company’s management, its board and its shareholders to enhance its competitiveness towards business prosperity and long-term shareholder value taking into consideration the interests of other stakeholders. The above definition is as recommended by the SEC and the Company has endeavoured to follow the same completely in letter and spirit. Precious Shipping Public Company Limited (“The Company”) recognizes that Good Corporate Governance is important and necessary for sustainable growth in business and long term shareholder value, and accordingly, the Board has set up a Corporate Governance Policy Manual, Business Ethics and Code of Conduct Manual which have been disclosed on the website of the Company under the subject of “Corporate Governance”. The Company has recently won the following awards for Good Corporate Governance: • Ranked in 2007 by “The Asset” Magazine of Hong Kong as the Best Company in Thailand for Corporate Governance in the annual list of the Best Governed 60 Companies in Asia. • Classified as one of the Companies with “Very Good” for Corporate Governance in the SET’s Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2006. • Conferred the “Best Corporate Governance Report” and “Best Performance” Award by the SET at the “SET AWARDS 2006”. The Company’s implementation of Good Corporate Governance Principles is outlined in 5 sections hereunder as follows: The Company recognizes the rights of shareholders in accordance with good corporate governance guidelines and has conducted its affairs with a view to protecting shareholders’ right and also encouraging shareholders to exercise their rights. The policy for maintaining rights of shareholders is part of the Company’s Corporate Governance Policy Manual which is disclosed on the Company’s website. The Company is responsible to the shareholders in terms of information disclosure, accounting methods, internal information usage and conflict of interests. The Board of Directors and management are expected to be honest and any decision must be based on honesty and fairness to both major and minor shareholders, and for the collective benefit of all. Some of the policies and procedures followed to protect the Rights of the Company’s shareholders are as follows: 1.1 Appointment of Board members The Company has continuously improved the requirement of documents required for the appointment of each board member individually to give additional information in the nominees’/existing Directors’ profile in the Company’s Annual Report and also to present to the Company’s shareholders in the AGM. The aforesaid information is provided so that the Company’s shareholders can get correct and complete information, which is relevant and required for their appointment as follows: Nominee’s/Director’s profile: Name, position, age, education, relevant knowledge, occupation, working experience and illegal acts (if any).

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

1. RIGHTS OF SHAREHOLDERS

49


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

50

การดำรงตำแหน่งของกรรมการ ในธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจของบริษทั ฯ วิธกี ารสรรหา (กรณีพน้ จากตำแหน่งตามวาระการดำรงตำแหน่ง) ผลการปฏิบตั งิ านของกรรมการทีผ่ า่ นมา เช่น การเข้าร่วมประชุมของกรรมการ 1.2 พิจารณานโยบายและค่าตอบแทนของกรรมการบริษทั ฯ บริษทั ฯ ได้ปฏิบตั ติ ามนโยบายว่าด้วยค่าตอบแทนของกรรมการบริษทั ฯ ซึง่ จะพิจารณาอนุมตั โิ ดยผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจำปี โดยได้เปิดเผยแนวทาง/วิธกี ารกำหนดค่าตอบแทนของกรรมการบริษทั ฯ ในข้อ 5.5 ในรายงานนี ้ 1.3 พิจารณาแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีภายนอก บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามนโยบายว่าด้วยการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีภายนอกของบริษัทฯ ซึ่งจะพิจารณาอนุมัติโดยผู้ถือหุ้น ของบริษัทฯ ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปีและได้ปรับปรุงให้ข้อมูลประกอบการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีภายนอกของบริษัทฯ มีความถูกต้อง ครบถ้วนและเพียงพอต่อการพิจารณาอนุมัติของผู้ถือหุ้น ซึ่งข้อมูลประกอบการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีภายนอกมี รายละเอียดดังต่อไปนี ้ ชือ่ สำนักงานสอบบัญชี ชือ่ ผูส้ อบบัญชี ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชีสำหรับปีที่ขออนุมัติ โดยแยกต่างหากอย่างชัดเจนระหว่างค่าสอบบัญชีกับค่าบริการอื่นๆ ทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกับการสอบบัญชี ค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชีสำหรับปีทผ่ี า่ นมา ความสัมพันธ์อน่ื ๆ กับบริษทั ฯ จำนวนปีทเ่ี ป็นผูส้ อบบัญชี (ในกรณีทแ่ี ต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีคนเดิม) การประเมินผลงานในปีทผ่ี า่ นมา เหตุผลในการเปลีย่ นแปลงผูส้ อบบัญชี (ในกรณีทม่ี กี ารแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีคนใหม่) 1.4 พิจารณานโยบายจ่ายเงินปันผล ปัจจุบันนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทฯ ได้อนุมัติโดยผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เมื่อครั้งการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญ ประจำปี 2547 และถ้ามีการเปลีย่ นแปลงในอนาคตบริษทั ฯ จะนำเสนอให้มกี ารพิจารณาอนุมตั โิ ดยผูถ้ อื หุน้ 1.5 พิจารณาแผนการซือ้ หุน้ คืน บริษทั ฯ ได้ขออนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ สำหรับแผนการดำเนินการเรือ่ งการซือ้ หุน้ คืน โดยผูถ้ อื หุน้ อนุมตั ใิ ห้คณะกรรมการ บริษทั ฯ สามารถทำการซือ้ หุน้ คืนได้ โดยให้เป็นไปตามกฎข้อบังคับของ ตลท./กลต. และจัดให้มขี อ้ มูลทีถ่ กู ต้องและครบถ้วนเพียงพอ ต่อการตัดสินใจ 1.6 การประชุมผูถ้ อื หุน้ บริษัทฯ ได้มีการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสำนักงานคณะกรรมการกำกับ

หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ สำหรับการจัดประชุมผูถ้ อื หุน้ ซึง่ มีการปฏิบตั ดิ งั ต่อไปนี ้ • สำหรับการประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจำปี 2549 ซึง่ ได้ปฏิบตั ติ อ่ มาในปี 2550 เช่นกัน โดยบริษทั ฯ ได้เปิดโอกาสให้ผู้ ถือหุ้นได้เสนอวาระสำหรับการประชุม โดยกำหนดนโยบายและช่องทางการสื่อสารผ่านเว็บไซต์ของบริษัทฯ และประกาศผ่านทาง ตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยผูถ้ อื หุน้ หรือกลุม่ ผูถ้ อื หุน้ สามารถนำเสนอวาระการประชุมล่วงหน้า เพือ่ พิจารณาบรรจุในวาระการประชุมผูถ้ อื หุน้ • บริษทั ฯ จัดทำหนังสือเชิญประชุมผูถ้ อื หุน้ ทีม่ ขี อ้ มูลทีถ่ กู ต้อง ครบถ้วนและเพียงพอต่อการพิจารณาของผูถ้ อื หุน้ ซึง่ ถือเป็นนโยบายปกติของบริษทั ฯ โดยหนังสือเชิญประชุมผูถ้ อื หุน้ ทีจ่ ะส่งถึงผูถ้ อื หุน้ สำหรับการประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจำปีได้ระบุถงึ จุดประสงค์ เหตุผลและความเห็นของกรรมการบริษัทฯ ประกอบในแต่ละวาระการประชุม โดยบริษัทฯ จะไม่แก้ไขวาระการประชุม

ถ้าไม่ได้แจ้งให้ผถู้ อื หุน้ ทราบล่วงหน้า • บริษทั ฯ ได้เปิดเผยร่างหนังสือเชิญประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจำปี ไว้ในเว็บไซต์ของบริษทั ฯ ล่วงหน้าก่อนจัดส่งให้ กับผูถ้ อื หุน้ และจะแจ้งวันประชุมผูถ้ อื หุน้ ต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ อย่างน้อย 45 วันก่อนวันประชุมและทางบริษทั ฯ ได้ดำเนินการจัดส่ง หนังสือเชิญประชุมให้แก่ผถู้ อื หุน้ อย่างน้อย 14 วันก่อนวันประชุม


Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Nominees’/Director’s positions in any materially connected business Nomination procedures (in case of the directors who retire by rotation) Directors’ previous performance as director in terms of meeting attendance 1.2 Consideration of the policy on Directors’ remuneration The Company follows the policy of obtaining the approval of the policy on Directors’ remuneration from the shareholders in the AGM and has also disclosed guidelines/procedures for determining Directors’ remuneration in 5.5 hereunder. 1.3 Appointment of auditors The Company follows the policy of obtaining the approval of appointment of auditors from the shareholders in the AGM and has improved the information disclosure for the correctness and completeness of the information required for the decision on the appointment of auditors. The information provided in the AGM includes details as follows: Auditor’s firm Auditor’s name Auditor’s remuneration for approval including separate disclosure for audit and non-audit related remuneration Auditor’s remuneration for the previous year Relationship with the Company such as being the Company’s advisor Number of years as the Company’s auditor (in case of reappointment of the present auditor) Auditor’s performance The reasons for changing the Auditor (in case the Company appoints a new auditor) 1.4 Consideration of the dividend policy The Company obtained the approval of the new dividend policy in the shareholders’ meeting in year 2004 and will continue to obtain such approvals in case of any changes in future. 1.5 Consideration of the share repurchase plan The Company obtained the approval for the share repurchase plan from the shareholders in the shareholders’ meeting, authorizing the Board of Directors to repurchase the Company’s shares in accordance with SET/SEC regulations and provided the correct and complete information required for their decision. 1.6 Shareholders’ Meetings The Company has followed the recommended practices of SET/SEC for holding shareholders’ Meeting as follows: • For the Annual General Meeting of shareholders (AGM) of 2006, which, is being repeated in 2007, the Company has provided an opportunity to the shareholders to propose agenda items for the AGM and set up the policy and communication channels through the website and announcement through the SET, based on which, a shareholder or a group of shareholders could propose an agenda item for consideration in the AGM. • Providing a complete and correct notice with full information to call shareholders’ meeting is the normal policy of the Company. The notice includes the objective and reasons for each agenda item apart from the Board of Directors’ comment/opinion, which, has always been included. It is made certain that the Company does not amend the agenda of the shareholders’ meeting without giving notice to shareholders. • The Company discloses the draft notice of shareholders’ annual general meeting (AGM) on the Company’s website before sending out to shareholders and informs the AGM date to the SET at least 45 days before the date of the AGM. The Company also sends the AGM notice to shareholders, at least 14 days in advance of the AGM.

51


• บริษัทฯ ได้ทำการเผยแพร่หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปี ผ่านทางสื่อหนังสือพิมพ์รายวันทั้งฉบับ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เป็นเวลา 3 วันติดต่อกันและประมาณ 14 วันล่วงหน้า ก่อนการประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจำปี • บริษัทฯ จัดให้ผู้ถือหุ้นได้มีโอกาสอย่างเต็มที่ในการมีส่วนร่วมในการประชุมผู้ถือหุ้นและสนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นได้

ซักถามในประเด็นสงสัยต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง โดยผูบ้ ริหารและ/หรือผูท้ เ่ี กีย่ วข้องโดยตรงกับประเด็นนัน้ ๆ จะเป็นผูต้ อบคำถาม • บริษัทฯ ได้จัดทำรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นที่ถูกต้อง ครบถ้วนและชัดเจนรวมถึงรายชื่อของกรรมการที่เข้าร่วม ประชุม ในรายงานยังได้บันทึกข้อมูล คำถาม/คำตอบในที่ประชุมผู้ถือหุ้น วิธีการลงคะแนนเสียง วิธีนับคะแนนเสียงและผลการลง คะแนนเสียง • บริษัทฯ มีนโยบายจัดประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติกรณีที่มีเหตุการณ์สำคัญๆ ที่กระทบต่อการดำเนินงาน ของบริษทั ฯ โดยจัดเอกสารประกอบการพิจารณาทีถ่ กู ต้องและเพียงพอต่อการตัดสินใจของผูถ้ อื หุน้ เช่น ในปี 2547 กรณีซอ้ื เรือเดิน ทะเลจำนวน 15 ลำ และในปี 2550 การทำสัญญาว่าจ้างต่อเรือเดินทะเลใหม่จำนวน 12 ลำ เป็นต้น ซึง่ บริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ ทีป่ รึกษา ทางการเงินอิสระเพือ่ ทำหน้าทีเ่ ป็นทีป่ รึกษาให้แก่ผถู้ อื หุน้ ทัง้ สองกรณี • บริษัทฯ มีการติดตามและสอบทานเงินปันผลที่ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ที่ยังไม่ได้รับและพยายามติดต่อกับผู้ถือหุ้น เพื่อให้ผู้ถือหุ้นทุกคนได้รับเงินปันผลจากบริษัทฯ ทั้งนี้บริษัทฯ ยังได้แจ้งข้อมูลและให้คำแนะนำแก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ถึงวิธีการรับ เงินปันผล ในระหว่างปี 2550 บริษทั ฯ มีการประชุมผูถ้ อื หุน้ ทัง้ หมด 3 ครัง้ เป็นการประชุมสามัญประจำปี 1 ครัง้ เมือ่ วันที่ 24 เมษายน 2550 และการประชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ 2 ครัง้ ในวันที่ 6 กรกฎาคม และ 30 สิงหาคม 2550 ทีโ่ รงแรม อมารี เอเทรียม โดย กรรมการทุกท่านเข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจำปี 2550 และประชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 2/2550 และกรรมการจำนวนมากกว่า ร้อยละ 90 ได้เข้าร่วมประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นในครั้งที่ 1/2550 ซึ่งรวมถึงกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระและผู้สอบบัญชี ภายนอกได้เข้าร่วมในการประชุมสามัญประจำปีเพื่อตอบคำถามจากผู้ถือหุ้นในประเด็นที่เกี่ยวกับข้อมูลทางบัญชีหรือการปฏิบัติงาน ตรวจสอบบัญชี โดยประธานในทีป่ ระชุมได้อธิบายเกีย่ วกับวิธกี ารลงคะแนนเสียงและวิธนี บั คะแนนเสียงเมือ่ การประชุมเริม่ ขึน้ และเปิด โอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ทุกรายมีสทิ ธิอย่างเท่าเทียมกัน ในการตรวจสอบการดำเนินงานของบริษทั ฯ เปิดโอกาสให้ซกั ถามและแสดงความคิด เห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ ในแต่ละวาระการประชุม รวมทัง้ ได้บนั ทึกมติทป่ี ระชุมและประเด็นต่างๆ ไว้ในรายงานการประชุมอย่างถูก ต้องและครบถ้วนแล้ว หลังจากนัน้ บริษทั ฯ ได้นำส่งรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ ให้กบั ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและเปิดเผยใน เว็บไซต์ของบริษทั ฯ ภายใต้หวั ข้อ “นักลงทุนสัมพันธ์” ภายในระยะเวลา 14 วันหลังวันประชุม

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน

52

บริษทั ฯ ยังได้ตระหนักและให้ความสำคัญถึงการปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมกัน ทัง้ ในส่วนของการเรียกประชุมผูถ้ อื หุน้ การจัดประชุมผูถ้ อื หุน้ และเพือ่ เป็นการปกป้องสิทธิของผูถ้ อื หุน้ สำหรับเรือ่ งทีเ่ ป็นสาระสำคัญ โดยได้ปฏิบตั ดิ งั ต่อไปนี ้ • กำหนดวัน เวลาและสถานทีใ่ นการประชุมผูถ้ อื หุน้ โดยคำนึงถึงความสะดวกในการเข้าร่วมประชุมของผูถ้ อื หุน้ ทุกราย อย่างเท่าเทียมกัน • กำหนดให้หนุ้ 1 หุน้ มีคะแนนเสียง 1 เสียง • อำนวยความสะดวกสำหรับการลงคะแนนเสียง ด้วยการจัดให้มกี ารมอบฉันทะโดยจัดแบบฟอร์มการมอบฉันทะพร้อม ทั้งอธิบายถึงขั้นตอนวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการมอบฉันทะและพยายามจัดส่งหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นภายในระยะเวลาที่มากพอ และเท่าทีบ่ ริษทั ฯ สามารถกระทำได้ภายใต้ขอ้ บังคับต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง คือก่อนวันประชุมผูถ้ อื หุน้ อย่างน้อย 14 วัน โดยผูถ้ อื หุน้ ทีไ่ ม่ สะดวกเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง บริษทั ฯ ได้กำหนดให้มปี ระธานกรรมการและ/หรือกรรมการอิสระรับมอบฉันทะเพือ่ เข้าร่วมประชุม และลงคะแนนเสียงแทนในการประชุมแต่ละครัง้ โดยรายละเอียดต่างๆ ได้ระบุไว้ในหนังสือเชิญประชุมแต่ละครัง้ อย่างครบถ้วน • กำหนดให้มกี ารลงทะเบียนผูถ้ อื หุน้ อย่างน้อย 1 ชัว่ โมง ก่อนเริม่ ประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ให้มเี วลาในการลงทะเบียนทีเ่ พียงพอ • ได้จดั เตรียมบัตรลงคะแนนสำหรับทุกวาระการประชุม


• The Company publishes the notice of shareholders’ meeting in both Thai and English language newspapers for three consecutive days and at least 14 days prior to shareholders’ meeting. • The Company provides full opportunity for shareholders to participate in the meetings and encourages the shareholders to ask relevant questions which are answered by Management and/or related persons. • The Company prepares minutes of shareholders’ meetings, which are clear and complete and include the names of board members’ who attended the meeting. The minutes also include a correct and complete record of questions/answers, voting method, vote counting procedure and voting results. • The Company has always followed the policy of obtaining shareholders’ approval for any major event and in case of any serious situation that affected the Company’s operations and provided correct and complete information required for their decision. An example of this was the acquisition of 15 ships during the year 2004 and the signing of contracts for 12 new buildings during the year 2007, for which, the Company also appointed an Independent Financial Advisor to advise the shareholders in both cases. • The Company follows the policy of regularly reviewing the outstanding unpaid dividends and tries to contact each shareholder who may have, for some reason, not received the dividends. Thereafter, the Company helps shareholders in terms of reminding and advising them on the required procedures to collect the dividends. During the year 2007, the Company held three shareholders’ meetings which were the Annual General Meeting (AGM) on 24th April 2007 and two Extraordinary General Meetings (EGM) on 6th July 2007 and 30th August 2007 at Amari Atrium Hotel, All Board members attended the AGM of 2007 and EGM No. 2/2007 and more than 90% of the Board members attended EGM No. 1/2007, which also included Audit Committee Members and Independent Directors. The Auditors also attended the AGM of shareholders to answer any questions raised by shareholders in respect of the accounts or the conduct of the Audit. The Chairman of the meeting explained the voting procedures to shareholders when the meeting was started and provided equal opportunity to all shareholders to examine the Company’s operations, to ask questions and express their opinions and advice, and ensured that all items and resolutions including questions and answers were properly recorded in the minutes of the meeting. Thereafter, the minutes of shareholders’ meetings were also sent to the SET and also disclosed on the website of the Company under the subject of “Investor Relations” within 14 days after the meetings. The Company recognizes the equitable treatment of shareholders in terms of calling and holding shareholders meetings and for protecting the Rights of Shareholders for other matters by taking the following steps: • Date, time, venue of the meeting is convenient to attend. • Offering one-share-one-vote. • Facilitate proxy voting: clearly specifying the documents required to give proxy and by sending out the Notice to the extent possible under the regulations, to the Company’s shareholders at least 14 days prior to the meeting date. For shareholders who are unable to attend in each meeting, the Company has designated the Chairman and/or Independent Director to attend and to vote on their behalf in each meeting. Full details for this purpose are provided in the Notice of shareholders’ meetings. • Registration period is commenced at least 1 hour in advance to keep adequate time for completion of registration. • Providing ballot papers for each agenda item.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

2. EQUITABLE TREATMENT OF SHAREHOLDERS

53


• ได้ใช้ระบบ Barcode ในการลงทะเบียนและนับคะแนนเสียง เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผ้ถู ือหุ้นที่เข้าร่วมประชุมและ เพือ่ ความถูกต้องแม่นยำในการนับคะแนนเสียง • เปิดโอกาสให้แก่ผู้ถือหุ้นในการเสนอวาระการประชุมเป็นการล่วงหน้าก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นประจำปี ในช่องทาง สือ่ สารต่างๆ รวมถึงเว็บไซต์ของบริษทั ฯ • เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ มีสทิ ธิในการเลือกตัง้ กรรมการ โดยการลงคะแนนเสียงจะใช้บตั รลงคะแนนเลือกกรรมการเป็นราย บุคคล • ไม่มกี ารเพิม่ วาระการประชุมใหม่ โดยไม่แจ้งให้ผถู้ อื หุน้ ทราบล่วงหน้า • กรรมการได้เปิดเผยข้อมูลต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เกีย่ วกับส่วนได้เสียของตนและผูเ้ กีย่ วข้อง • กรรมการได้รายงานการถือครองหลักทรัพย์ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ รับทราบเป็นประจำ • ให้ความสำคัญเกี่ยวกับการทำรายการที่เกี่ยวโยงกัน ที่อาจจะนำมาซึ่งความขัดแย้งทางผลประโยชน์และได้เปิดเผยไว้ ในหัวข้อ “รายการที่เกี่ยวโยงกัน” ในรายงานประจำปีนี้ ซึ่งได้อธิบายถึงลักษณะของความเกี่ยวโยงกัน ความสำคัญของการทำ รายการ มูลค่าของรายการและแนวโน้มการทำรายการในอนาคตและบริษัทฯ ไม่เคยมีกรณีไม่ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รวมทัง้ กฎหมายต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน • ปฏิบัติตามนโยบายอย่างเหมาะสมเกี่ยวกับมาตรการดูแลการใช้ข้อมูลภายในดังรายละเอียดที่กล่าวไว้ในหัวข้อ “การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน” ในรายงานประจำปีนี้และยังไม่เคยมีกรณีการใช้ข้อมูลภายในของกรรมการและ/หรือผู้บริหาร บริษทั ฯ

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย

54

บริษทั ฯ ตระหนักและให้ความสำคัญต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ ไม่วา่ จะเป็นผูม้ สี ว่ นได้เสียภายใน ได้แก่ ผูถ้ อื หุน้ พนักงาน และผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย หรือผูม้ สี ว่ นได้เสียภายนอก ได้แก่ เจ้าหนีก้ ารค้า คูค่ า้ ลูกค้า ชุมชน/สังคม ภาครัฐและ หน่วยงานอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง เนือ่ งจากบริษทั ฯ ตระหนักถึงแรงสนับสนุนจากผูม้ สี ว่ นได้เสียต่างๆ ในอันทีจ่ ะช่วยสร้างความสามารถใน การแข่งขันและสร้างกำไรให้กบั บริษทั ฯ และเป็นแรงสนับสนุนอย่างดียง่ิ ในการสร้างความสำเร็จในระยะยาวของบริษทั ฯ ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ ได้มกี ารปรับปรุงแก้ไขเว็บไซต์ของบริษทั ฯ ซึง่ รวมถึงหัวข้อ “กิจกรรมผูม้ สี ว่ นได้เสีย” นโยบายและแนวทางปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียใน คูม่ อื จริยธรรมธุรกิจและแนวทางปฏิบตั แิ ละรวมถึงการจัดให้มชี อ่ งทางบนเว็บไซต์สำหรับผูม้ สี ว่ นได้เสียสามารถใช้ตดิ ต่อสือ่ สารในการ แสดงความคิดเห็นต่างๆ และสามารถติดต่อโดยตรงกับคณะกรรมการบริษทั ฯตามความประสงค์ โดยไม่ตอ้ งผ่านผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ ด้านผูบ้ ริหาร: บริษทั ฯ ตระหนักถึงความสำคัญของผูบ้ ริหารซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของปัจจัยแห่งความสำเร็จของการดำเนินธุรกิจ ของบริษัทฯ โดยค่าตอบแทนของผู้บริหารมีโครงสร้างที่เหมาะสมและเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรมและค่าเฉลี่ยโดยทั่วไปของ บริษทั จดทะเบียนในประเทศไทย บริษทั ฯ เปิดโอกาสให้ผบู้ ริหารของบริษทั ฯ ได้ทำงานอย่างอิสระ ปราศจากการแทรกแซง ภายใต้ บทบาท หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบทีม่ อบหมายโดยคณะกรรมการบริษทั ฯ ด้านพนักงาน: บริษทั ฯ ตระหนักดีวา่ พนักงานเป็นส่วนสำคัญของปัจจัยแห่งความสำเร็จอีกปัจจัยหนึง่ ของการดำเนินธุรกิจ ของบริษทั ฯ จึงกำหนดวิธกี ารจ้างงาน ความเท่าเทียมกันในโอกาสของการจ้างงาน ความมัน่ คงและความก้าวหน้าทางอาชีพและหลัก การอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับพนักงานและการจ้างงาน บริษทั ฯ มัน่ ใจว่าพนักงานมีความรูค้ วามชำนาญทีจ่ ำเป็นสำหรับการดำเนินงานใน ธุรกิจของบริษทั ฯ และความเข้าใจในข้อพึงปฏิบตั ติ า่ งๆ มาตรฐานการปฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วข้องและสนับสนุนให้มกี ารพัฒนาความรูค้ วาม สามารถเพือ่ ให้ทนั กับการพัฒนาของอุตสาหกรรมในอนาคตและได้อธิบายถึง การดูแลด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยของพนักงาน ทีป่ ฏิบตั กิ ารบนเรือของบริษทั ฯ ภายใต้หวั ข้อ “รายงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม” ในรายงานประจำปีน ้ี


• Arranging barcode system for registration and vote counting for shareholders’ convenience and accuracy of the vote-count. • Providing an opportunity to shareholders to propose agenda items in advance for the Annual General Meeting of Shareholders (AGM) through various channels including the Company’s website. • Providing an opportunity for shareholders to elect Director by voting on the given ballot papers for each of the Directors separately. • Not adding any new agenda item without notice to shareholders in advance. • Directors disclosing their interests and those of their related parties to the Board. • Directors reporting their ownership of Company’s shares to the Board regularly. • Providing detailed explanation of related-party transactions characterizing names, relationship, policy, and value of each transaction as explained under the “Connected Transactions” section of this Annual Report. No non-compliance cases involving related-party transactions have been detected. • Following an appropriate policy and laying down procedures for monitoring the use of insider information as explained under the “Insider Trading Controls” section of this Annual Report. No cases of insider trading involving the Directors and/or the management have been detected. The Company recognizes the importance of all stakeholder groups whether it is the internal stakeholders such as shareholders, employees and management of the Company and subsidiaries or external stakeholders such as creditors, suppliers, customers, communities, government agencies and other related organizations. The Company is aware that the support from each stakeholder would help establish the Company’s competitive advantages and profitability, which, would contribute greatly to the Company’s long term success and prosperity. The Company has also amended the Company’s website to include under the subject of “Stakeholder Activities”, the Policy and Code of Conduct towards stakeholders in Business Ethics and Code of Conduct Manual and included therein a way whereby the website can be used as one of the intended channels for any stakeholder to express his/her opinion and contact the Board of Directors in case they wish to contact the Board of Directors directly without going through the management. Management: The Company recognizes that Management is one of the key success factors for the Company’s operations and accordingly, Management remuneration is appropriately structured and comparable with the Industry norms and other equivalent listed companies in Thailand. The Management is also allowed to work independently without interference as defined in their duties and responsibilities, which are approved by the Board of Directors. Employees: The Company recognizes that employees are one more key success factor for the Company’s operations. The Company provides equal opportunities in employment, job security, and career advancement, as well as adhering to other good principles related to employees and employment. The Company also ensures that employees are adequately knowledgeable and skillful to perform their jobs for the Company’s business, and understand relevant code of conduct and practice and are encouraged to gain knowledge and ability and keep them updated following Industry trends. The subject of safety and occupational health of all seafarers serving onboard the Company’s ships has been explained under the subject of “Corporate Social Responsibility (CSR) Statement” of this Annual Report.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

3. ROLE OF STAKEHOLDERS

55


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

56

นอกจากนี้ บริษทั ฯ จัดให้มนี โยบายด้านผลตอบแทนสำหรับพนักงานทีส่ ำนักงานของบริษทั ฯ ทัง้ ในรูปของเงินเดือน โบนัส และสวัสดิการต่างๆ เช่น การเสนอกองทุนสำรองเลี้ยงชีพตามความสมัครใจ ผลตอบแทนของพนักงานขึ้นอยู่กับผลการปฏิบัติงาน หน้าที่และความรับผิดชอบของพนักงาน ส่วนเพิ่มอื่นๆ/โบนัส ขึ้นอยู่กับฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงานและแผนงานในอนาคต ของบริษัทฯ ในเรื่องการสร้างแรงจูงใจระยะยาว แม้ว่าบริษัทฯ จะไม่มีผลตอบแทนระยะยาวสำหรับพนักงานในรูปของ ESOP เนื่องจากบริษัทฯ เห็นว่าราคาหุ้นของบริษัทฯ จะขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ซึ่งพนักงานไม่สามารถควบคุมได้โดยตรงเช่นเดียวกับอัตรา ค่าระวางเรือในตลาดสากล นอกจากนี้ราคาหุ้นของบริษัทฯ ก็ไม่ได้สะท้อนถึงผลการปฏิบัติงานของพนักงานที่แท้จริง ดังนั้นบริษัทฯ ได้จัดสรรผลกำไรจากการดำเนินงานแก่พนักงานของบริษัทฯ ในรูปของเงินโบนัสประจำปี โดยพิจารณาจากผลการดำเนินงานของ บริษทั ฯ เปรียบเทียบกับเป้าหมายทีก่ ำหนดไว้และใช้เป็นเกณฑ์ในการจ่ายโบนัสประจำปีแก่พนักงาน บริษทั ฯ จัดให้มกี ารฝึกอบรมภายในและส่งพนักงานไปอบรม สำหรับพนักงานทีส่ ำนักงานและลูกเรือบนเรือ โดยบริษทั ฯ จะ เป็นผู้รับภาระค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้น นอกจากนี้บริษัทฯ ยังอนุญาตให้ลางานหรือกำหนดเวลาการทำงานที่ยืดหยุ่นสำหรับ

พนักงานที่ต้องการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ส่งเสริมการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างพนักงานด้วยกันและ ระหว่างพนักงานกับผูบ้ ริหารบริษทั ฯ ด้านนายหน้า: บริษทั ฯ ตระหนักเป็นอย่างดีวา่ นายหน้าเป็นส่วนหนึง่ ของปัจจัยแห่งความสำเร็จของบริษทั ฯ และเป็นผูท้ ม่ี ี บทบาทสำคัญในฐานะผูส้ นับสนุนการดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ บริษทั ฯ จึงปฏิบตั กิ บั นายหน้าด้วยความเป็นธรรมตามเงือ่ นไขการค้าที่ ตกลงร่วมกันและคงรักษามาตรฐานการค้าโดยทัว่ ไปไว้ เพือ่ สร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างกันในระยะยาว ด้านเจ้าหนี้เงินกู้ยืม: บริษัทฯ ตระหนักเป็นอย่างดีว่าเจ้าหนี้เงินกู้ยืมเป็นส่วนหนึ่งของปัจจัยแห่งความสำเร็จที่สำคัญของ บริษทั ฯ ในฐานะผูส้ นับสนุนด้านการเงินแก่บริษทั ฯ ทีต่ อ้ งลงทุนในสินทรัพย์ดว้ ยเงินลงทุนทีส่ งู บริษทั ฯ ได้ปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขการกูย้ มื เงินต่างๆ รวมทั้งปฏิบัติตามวัตถุประสงค์การกู้เงิน การชำระคืน หลักทรัพย์ค้ำประกันและข้อตกลงอื่นๆ ที่ตกลงร่วมกันระหว่าง สองฝ่าย ด้านคูค่ า้ : บริษทั ฯ ตระหนักเป็นอย่างดีถงึ ความสำคัญของคูค่ า้ ของบริษทั ฯ และบริษทั ฯ มัน่ ใจว่าเงือ่ นไขทางการค้าต่างๆ เป็นไปด้วยความเป็นธรรมตามมาตรฐานการค้าโดยทัว่ ไป รวมทัง้ การปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขทางการค้าอย่างเคร่งครัด ด้านลูกค้า: บริษทั ฯ ตระหนักเป็นอย่างดีวา่ ลูกค้าเป็นส่วนหนึง่ ของปัจจัยแห่งความสำเร็จของการดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ บริษทั ฯ จึงทำการปกป้องผลประโยชน์ของลูกค้า การตอบสนองความต้องการของลูกค้า รวมทัง้ การให้บริการทีไ่ ด้มาตรฐานและการ รักษาสารสนเทศทีเ่ ป็นความลับของลูกค้าโดยจะไม่เปิดเผยสารสนเทศดังกล่าวหากไม่มกี ารกำหนดจากกฎหมาย ข้อกำหนด หรือได้ รับการยินยอมจากผู้เป็นเจ้าของสารสนเทศ รวมถึงประเด็นทางด้านการตลาด การกำหนดราคา รายละเอียดของการให้บริการ คุณภาพและความปลอดภัย เป็นต้น ด้านคูแ่ ข่ง: บริษทั ฯ ปฏิบตั ภิ ายใต้กรอบกติกาของการแข่งขันทีด่ ี ไม่ทำลายชือ่ เสียงของคูแ่ ข่งทางการค้าด้วยการกล่าวหา บริษทั ทีเ่ ป็นคูแ่ ข่งทางการค้าด้วยความไม่สจุ ริตและปราศจากข้อมูลความจริง รวมทัง้ ไม่เข้าถึงสารสนเทศทีเ่ ป็นความลับของคูแ่ ข่งด้วย วิธกี ารทีไ่ ม่สจุ ริตหรือไม่เหมาะสม ด้านชุมชนและ/หรือสังคม: บริษัทฯ ตระหนักเป็นอย่างดีถึงความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม รวมถึงการสนับสนุน กิจกรรมของชุมชนและการเอาใจใส่ต่อผลกระทบต่อผู้ที่อยู่รอบข้างมากกว่าที่มีกำหนดไว้ในกฎหมายและพยายามเข้าไปมีส่วนร่วม ทางสังคม โดยบริษทั ฯ ได้รายงานส่วนนีแ้ ยกไว้ภายใต้หวั ข้อ “รายงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม” ในรายงานประจำปีน ้ี


Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

The Company provides remuneration to office employees as salary, bonus, and other benefits, like Provident Fund on a voluntary basis, although the same is not required by law. Remuneration is based on their performance, roles and duties and incentives/increments/bonuses are also based on financial status/performance and future plans of the Company. As a long-term incentive, the Company does not have an ESOP plan in place since the Company feels that to a large extent, the share price of the Company depends on a number of factors beyond the employees’ direct control like the state of the International Freight Markets and therefore, the Company’s share price may not adequately reflect the better performance of the employees. Therefore, the Company has implemented a profit sharing scheme, which ensures that the employees are paid bonus annually based on the performance of the Company against specified quantitative targets, which are laid down annually in advance. The Company provides in-house and external training for officers of the Company both at Head Office as well as on the Ships. The costs of such training are borne by the Company. Moreover, the Company allows special leave and flexible working hours for employees who are undergoing longer term professional or degree courses. Moreover, the Company supports good relationship between all employees including the management. Brokers: The Company recognizes that ship-brokers with whom the Company regularly deals with for obtaining business for Company’s ships are one of the key success factors. Accordingly, terms are negotiated with a view to ensuring fairness and in keeping with industry norms so as to ensure a long term working relationship. Creditors: The Company recognizes Financial Creditors as one more important success factor who provide funds which are particularly required for the Company’s highly capital intensive business. The Company complies with all terms in borrowings including compliance with the objectives of using the borrowed funds, repayment, collateral, and other conditions as may be agreed. Suppliers: The Company recognizes the importance of satisfied Suppliers and the Company always ensures that terms and conditions for suppliers are based on industry norms and practices and thereafter, agreed terms and conditions are strictly followed by the Company. Customers: The Company recognizes that the Customers are the key success factors for the Company’s operations. The Company always protects customers’ interests, is attentive and ultimately responsible for the needs of the customers with regard to service, and in setting and maintaining steady standards of service. The customers’ confidential information is used exclusively for concerned business, without revealing it unless required by laws, regulations, or with consent from the information owners, including issues related to marketing, market power exercises, price setting, and details of services, quality and safety. Competitors: The Company acts within the rules of fair trade, not destroying trade competitors’ reputations with false allegations against their companies without truth, nor does the Company access competitors’ confidential information or use dishonest or inappropriate means for any purpose. Social Responsibility to the Community: the Company recognizes its responsibility to the Community and is often involved in supporting community activities and being attentive to the consequences of the Company’s conduct that affect the people more than what the laws require, including making efforts to absorb social accountability. The Company has provided a separate detailed report under the subject of “Corporate Social Responsibility (CSR) Statement” of this Annual Report.

57


ด้านผู้ออกกฎระเบียบข้อบังคับ: นอกเหนือจากที่ได้กล่าวไว้แล้วในส่วนของกฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับธุรกิจการ เดินเรือซึ่งบริษัทฯ ต้องปฏิบัติตามและได้อธิบายไว้ในรายงานประจำปีฉบับนี้ บริษัทฯ ตระหนักเป็นอย่างดีว่าภาครัฐบาลคือผู้ออก กฎระเบียบข้อบังคับ ทำหน้าที่ควบคุมเพื่อให้การดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เป็นไปด้วยความยุติธรรมและมีความโปร่งใส บริษัทฯ ตระหนักถึงความสำคัญของการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รวมทั้งกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของบริษัทฯ และได้รวมการสอบทานการปฏิบตั ติ ามระเบียบข้อบังคับต่างๆ ให้เป็นหนึง่ ในหน้าทีข่ องฝ่ายตรวจสอบภายใน ซึง่ มีผตู้ รวจสอบภายใน ที่มีคุณสมบัติเป็นหัวหน้าฝ่าย โดยผู้ตรวจสอบภายในได้จัดทำรายงานสอบทานการปฏิบัติตามกฎระเบียบต่างๆ ประจำปี และ รายงานผลโดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบตามรายละเอียดที่กล่าวในหัวข้อ “รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ” ในรายงาน ประจำปีน ้ี ด้านสิ่งแวดล้อม: บริษัทฯ ตระหนักดีว่าการดำเนินงานของธุรกิจเดินเรือถ้าขาดความรับผิดชอบแล้วอาจมีผลกระทบต่อ สภาพแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิง่ มลพิษทางน้ำและ/หรือมลพิษทางอากาศ บริษทั ฯ มุง่ มัน่ ต่อการปกป้องและรักษาสิง่ แวดล้อมและ ได้ให้ความสำคัญด้านสิง่ แวดล้อมเทียบเท่ากับการพาณิชย์และการดำเนินธุรกิจบริษทั ฯ และส่งเสริมการปฏิบตั ติ ามนโยบายนี้ ซึง่ ได้ รายงานส่วนนีภ้ ายใต้หวั ข้อ “รายงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม” ในรายงานประจำปีน ้ี

4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

บริษทั ฯ มีการดูแลกระบวนการเปิดเผยข้อมูลสำคัญทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั ฯ อย่างเข้มงวด ทัง้ ข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่ มิใช่ขอ้ มูลทางการเงินและรายงานอืน่ ๆ โดยข้อมูลจะต้องเปิดเผยอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา โปร่งใส โดยผ่านช่องทางทีถ่ กู ต้อง และผูใ้ ช้ขอ้ มูลสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างเท่าเทียมกันและมีความน่าเชือ่ ถือ 4.1 รายงานของคณะกรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของบริษัทฯ และบริษัทย่อยและสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏ ในรายงานประจำปี โดยมีการนำเสนอรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ ต่อรายงานทางการเงินควบคู่กับรายงาน ของผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตและงบการเงินทีต่ รวจสอบแล้วในรายงานประจำปีน ้ี 4.2 ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน เมือ่ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2550 เพือ่ ทำ หน้าที่ดูแลเรื่องการจ่ายค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหารระดับสูง โดยการนำเสนอค่าตอบแทนของกรรมการ ข้อแนะนำและ ความเห็นของคณะกรรมการบริษัทฯ เกี่ยวกับค่าตอบแทนกรรมการจะนำเสนอเพื่อขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้รายละเอียด เกี่ยวกับคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน เช่น รายชื่อสมาชิก คุณสมบัติ บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบและหลักเกณฑ์การ กำหนดค่าตอบแทนได้เปิดเผยข้อมูลบนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ และเปิดเผยภายใต้หวั ข้อ “โครงสร้างการจัดการ” ในรายงานประจำปีน ้ี ในปี 2550 และปี 2549 บริษทั ฯ ได้จา่ ยค่าตอบแทนกรรมการบริษทั ฯ เป็นจำนวนทีก่ ำหนดเป็นรายปี ซึง่ ได้รบั อนุมตั ิ จากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ดังรายละเอียดต่อไปนี ้

58


Regulators: Apart from the various regulations which the Company’s ships are subjected to and explained hereunder in this Report, on a corporate level, the Company recognizes that Government is a regulator who is in control of the Company’s operations in respect of the fairness and transparency of trading. The Company recognizes the significance of compliance with related laws and regulations and has included its review of compliance as one of the duties of the internal audit department headed by a qualified Internal Auditor. Internal auditors provide an annual compliance review report of related laws and regulation and directly report to the Audit Committee as explained under the “Audit Committee Report” of this Annual Report. Environment: The Company recognizes that shipping operations if conducted irresponsibly may affect the environment, particularly in terms of air and/ or water pollution. For the Environmental Protection Policy, the Company is committed to the protection and conservation of the environment and ranks environmental considerations equally with commercial and operational factors in managing its operations and implements this policy. The Company has provided a separate detailed report under the subject of “Corporate Social Responsibility (CSR) Statement” of this Annual Report. The Company has tightened procedures to take care of important information to be disclosed, including both financial and non-financial statements and Reports. The information is disclosed correctly, accurately, on a timely basis and transparently through the proper channels that users could fairly and trustfully access. 4.1 Board of Directors’ Report The Board of Directors is responsible for the Company and its subsidiaries’ financial statements and financial information presented in this Annual Report. The Report on the Board of Directors’ Responsibilities for Financial Statements is presented along with the Report of Independent Auditor and Audited Financial Statements in this Annual Report. 4.2 Directors and Management Remuneration The Board of Directors appointed the Remuneration Committee in its meeting held on 15th November 2007 in order to oversee the remuneration of Directors and Management. The proposal of the Directors’ Remuneration and the recommendations and opinion of the Board of Directors regarding the Directors’ Remuneration would be presented for approval in shareholders’ meeting. The details of Remuneration Committee such as members, qualification, duties, responsibilities and criteria to determine remuneration are disclosed on the website of the Company and under the subject “Management Structure” of this Annual Report. In the years 2007 and 2006, the Company paid the Directors’ Remuneration as a fixed annual amount which was approved in Shareholders’ Meeting as follows:

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

4. DISCLOSURE AND TRANSPARENCY

59


(หน่วย: ล้านบาท) รายชื่อกรรมการ ตำแหน่ง

จำนวนเงิน 2550 2549

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.

1.38 0.50 0.50 0.50 0.50 0.88 0.50 0.50 0.69 0.50 0.33 0.33 7.11

พลเรือเอก ดร. อำนาจ จันทนมัฎฐะ* นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม นายมูนรี มอยนูดดิน ฮาชิม นายคูชรู คาลี วาเดีย นายไจปาล มันสุขานี** พลตำรวจโท เกียรติศกั ดิ์ ประภาวัต*** นายชีระ ภาณุพงศ์ นายธีระ วิภชู นิน นายสุพฒ ั น์ ศิวะศรีอำไพ* นางสาวนิชติ า้ ชาห์ นายกิรติ ชาห์**** นายปีเต้อร์ เฟ็ดเดอร์เซ่น**** รวม

ประธานกรรมการบริษทั ฯ กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ (ไม่ใช่กรรมการบริหาร) กรรมการ กรรมการอิสระ

1.25 0.45 0.45 0.45 0.45 0.79 0.45 0.45 0.62 0.45 5.81

* รวมค่าตอบแทนจากการเป็นกรรมการตรวจสอบไว้ดว้ ย ** ทำหน้าทีบ่ ริหารและทำงานเต็มเวลาเหมือนพนักงานในบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ *** รวมค่าตอบแทนจากการเป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบไว้ดว้ ย **** เป็นค่าตอบแทนตามสัดส่วนจากจำนวนเต็มปี เนือ่ งจากได้ถกู แต่งตัง้ ตัง้ แต่เดือนเมษายน 2550 สำหรับค่าตอบแทนของกรรมการบริหารและผูบ้ ริหารประกอบด้วยเงินเดือน โบนัส และอืน่ ๆ เช่น ค่าภาษีเงินได้ ค่าเช่าบ้าน เงินชดเชยค่าเล่าเรียนบุตรในปี 2549 ซึ่งในระหว่างปี 2550 และปี 2549 บริษัทฯ และบริษัทย่อย ได้จ่ายค่าตอบแทนให้กรรมการ บริหารและผูบ้ ริหารดังรายละเอียดต่อไปนี ้

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

รายชื่อกรรมการบริหารและผู้บริหาร ตำแหน่ง

60

1. นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม 2. นายมูนรี มอยนูดดิน ฮาชิม 3. นายคูชรู คาลี วาเดีย 4. นายไจปาล มันสุขานี 5. นายชีลาล โกปินาธาน 6. นายโคคา เวนคาตารามานา สุดาการ์ 7. นายโกดาการาจีททิล มูราลี่ เมนนอน 8. นายนีลากันตัน วาสุเดวัน 9. นายสตีเฟน โคลา

กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการ (การพาณิชย์) กรรมการ (การเงิน) กรรมการ (ทำงานเต็มเวลาในบริษทั ย่อย ของบริษทั ฯ) ผูอ้ ำนวยการ (การพาณิชย์) ผูอ้ ำนวยการ (บริหารกองเรือ) ผูอ้ ำนวยการ (ด้านเทคนิค) ผูอ้ ำนวยการ (การจัดการด้านความเสีย่ ง) ผูอ้ ำนวยการ (บริหารความปลอดภัยระหว่างประเทศ)

(หน่วย: ล้านบาท) จำนวนเงิน 2550 2549

16.96 14.36 13.02 12.48

10.13 11.32 9.89 9.73

7.34 7.01 6.55 6.15 4.83

6.35 6.41 6.08 5.57 4.81


(In million Baht) Name of Director Position

Amount 2007 2006

1. Admiral Dr. Amnad Chandanamattha* 2. Mr. Khalid Moinuddin Hashim 3. Mr. Munir Moinuddin Hashim 4. Mr. Khushroo Kali Wadia 5. Mr. Jaipal Mansukhani** 6. Police Lt.Gen Kiattisak Prabhavat*** 7. Mr. Chira Panupong 8. Mr. Thira Wipuchanin 9. Mr. Suphat Sivasriaumphai* 10. Miss Nishita Shah 11. Mr. Kirit Shah**** 12. Mr. Peter Feddersen**** Total

1.38 0.50 0.50 0.50 0.50 0.88 0.50 0.50 0.69 0.50 0.33 0.33 7.11

* ** *** ****

Chairman of the Board of Directors Managing Director Executive Director Executive Director Director Independent Director Independent Director Independent Director Independent Director Non-executive Director Director Independent Director

1.25 0.45 0.45 0.45 0.45 0.79 0.45 0.45 0.62 0.45 5.81

Inclusive of remuneration as Audit Committee Member Employed in an executive position as a full-time employee in the Company’s subsidiary Inclusive of remuneration as Audit Committee Chairman Remuneration is partial and not for the full year since appointed in April 2007

The remuneration of the senior management included their salary, bonus, and other remuneration (income tax, house rental, and reimbursement of children’s school fees in 2006). During the years 2007 and 2006, the Company (and subsidiary) paid the remuneration to senior management (including the Executive Directors) as follows:

1. Mr. Khalid Moinuddin Hashim 2. Mr. Munir Moinuddin Hashim 3. Mr. Khushroo Kali Wadia 4. Mr. Jaipal Mansukhani 5. Mr. Shrilal Gopinathan 6. Mr. Koka Venkataramana Sudhakar 7. Mr. Kodakara Veettil Murali Menon 8. Mr. Neelakantan Vasudevan 9. Mr. Stephen Korah

Managing Director Director (Commercial) Director (Finance) Director (full time employed in the Company’s subsidiary) Vice President (Commercial) Vice President (Fleet Management) Vice President (Technical) Vice President (Risk Management) Vice President (International Safety Management)

16.96 14.36 13.02 12.48

10.13 11.32 9.89 9.73

7.34 7.01 6.55 6.15 4.83

6.35 6.41 6.08 5.57 4.81

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Name of Director and Management Position

(In million Baht) Amount 2007 2006

61


(หน่วย : ล้านบาท) รายชื่อกรรมการบริหารและผู้บริหาร ตำแหน่ง

10. 11. 12. 13.

นายกามาล กุมาร ดู นางสาวสมปรารถนา เทพนภาเพลิน นายกิรนั กิสซารินาท ไวดี นายยิง่ ยง กังแฮ รวม

จำนวนเงิน 2550 2549

ผูอ้ ำนวยการ (เทคโนโลยีสารสนเทศ) ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำนวยการ (การเงินและบัญชี) ผูจ้ ดั การอาวุโส (บัญชีและ MIS) ผูจ้ ดั การอาวุโส (บัญชีของกลุม่ บริษทั ฯ)

5.36 2.94 3.94 2.35 103.29

5.02 2.41 4.43 1.61 83.76

การเทียบเคียงค่าตอบแทน ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบและผูบ้ ริหาร ระหว่างบริษทั ฯ กับค่าเฉลีย่ ของกลุม่ บริษทั ทัว่ ไปและค่าเฉลีย่ ของกลุม่ ธุรกิจบริการและขนส่ง มีดงั รายละเอียดข้างล่างนี ้ (หน่วย : พันบาท ต่อคน ต่อปี) รายการ *พีเอสแอล 2550 2549

ประธานกรรมการ กรรมการบริษทั ฯ ผูบ้ ริหารบริษทั ฯ ประธานกรรมการ ตรวจสอบ*** กรรมการตรวจสอบ*** รวม

รายการ

1,190.00 1,080.00 1,192.45 469.70 450.00 635.43 7,945.38 6,443.07 3,250.33 375.00 337.50 333.25

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

62

ประธานกรรมการ กรรมการบริษทั ฯ ผูบ้ ริหารบริษทั ฯ ประธานกรรมการ ตรวจสอบ*** กรรมการตรวจสอบ*** รวม

25.00 3,360.00 951.86 37.14 1,807.78 519.17 928.46 8,338.85 3,253.50 30.00 801.00 262.26

190.00 168.75 288.25 30.00 801.00 179.67 10,170.08 8,479.32 5,699.71 1,050.60 15,108.63 5,166.46

15.00 23.53 15.00 28.00

9,792.00 6,666.67 26,062.00 3,500.00

20.00 1,400.00 101.53 47,420.67

(หน่วย : พันบาท ต่อคน ต่อปี)

*พีเอสแอล

**บริษัทจดทะเบียน บริษัทจดทะเบียนในกลุ่มขนส่ง บริษัทจดทะเบียนทั้งหมด และโลจิสติกส์ ค่าเฉลี่ย ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด

2550

2549

**บริษัทจดทะเบียน บริษัทจดทะเบียนที่มีขนาดรายได้ ต่อปี ตั้งแต่ 5,000 ล้านบาทถึง 10,000 ล้านบาท

ค่าเฉลี่ย

1,190.00 1,080.00 973.65 469.70 450.00 N.A. 7,945.38 6,443.07 4,009.30 375.00 337.50 256.34

บริษัทจดทะเบียนที่มี กำไร/ขาดทุนสุทธิ ต่อปี ตั้งแต่ 1,000 ล้านบาท ถึง 10,000 ล้านบาท

ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย

ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด

40.00 3,665.75 1,920.23 N.A. N.A. N.A. 909.53 13,978.00 6,211.22 82.00 600.00 535.66

63.33 6,480.00 N.A. N.A. 343.33 18,211.67 80.00 3,500.00

190.00 168.75 N.A. N.A. N.A. N.A. 10,170.08 8,479.32 5,239.29 1,031.53 18,243.75 8,667.11

N.A. N.A. 486.66 28,191.67


(In million Baht) Name of Director and Management Position

Amount 2007 2006

10. Mr. Kamal Kumar Dua Vice President (Information Technology) 5.36 5.02 11. Ms. Somprathana Thepnapaplern Assistant Vice President 2.94 2.41 (Finance & Accounts) 12. Mr. Kiran Kesarinath Vaidya Senior Manager (Accounts & MIS) 3.94 4.43 13. Mr. Yingyong Kanghae Senior Manager - Group Accounts 2.35 1.61 Total 103.29 83.76 The comparison of remuneration of Chairman, Directors, Chairman of Audit Committee, Audit Directors and Management between the Company and other listed companies and listed companies in the service/transportation sector is as follows:

Chairman Directors Management Chairman of Audit Committee*** Audit Directors*** Total

1,190.00 1,080.00 1,192.45 469.70 450.00 635.43 7,945.38 6,443.07 3,250.33 375.00 337.50 333.25

25.00 3,360.00 951.86 37.14 1,807.78 519.17 928.46 8,338.85 3,253.50 30.00 801.00 262.26

15.00 9,792.00 23.53 6,666.67 15.00 26,062.00 28.00 3,500.00

190.00 168.75 288.25 30.00 801.00 179.67 10,170.08 8,479.32 5,699.71 1,050.60 15,108.63 5,166.46

20.00 1,400.00 101.53 47,420.67

Description *PSL 2007 2006

Chairman Directors Management Chairman of Audit Committee*** Audit Directors*** Total

(In Thousand Baht / Person / Year) **Other listed Companies Listed Companies with annual Listed Companies with annual Revenue from 5,000 MB to Net Profit/(Loss) from 1,000 MB to 10,000 MB 10,000 MB Mean Min Max Mean Min Max

1,190.00 1,080.00 973.65 469.70 450.00 N.A. 7,945.38 6,443.07 4,009.30 375.00 337.50 256.34

40.00 3,665.75 1,920.23 N.A. N.A. N.A. 909.53 13,978.00 6,211.22 82.00 600.00 535.66

63.33 6,480.00 N.A. N.A. 343.33 18,211.67 80.00 3,500.00

190.00 168.75 N.A. N.A. N.A. N.A. 10,170.08 8,479.32 5,239.29 1,031.53 18,243.75 8,667.11

N.A. N.A. 486.66 28,191.67

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Description *PSL 2007 2006

(In Thousand Baht / Person / Year) **Other listed Companies Transportation & All Listed Companies Logistics Sector Mean Min Max Mean Min Max

63


* **

เป็นค่าตอบแทนทีบ่ ริษทั ฯ จ่ายในแต่ละปี ข้อมูลจากรายงานค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั จดทะเบียน สำหรับปี 2549 ซึง่ จัดทำโดย ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ค่าตอบแทนเฉพาะในส่วนของประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการตรวจสอบ ไม่มขี อ้ มูล

*** N.A. 4.3 ความสัมพันธ์กบั ผูล้ งทุน คณะกรรมการบริษัทฯ ให้ความสำคัญต่อการเปิดเผยข้อมูลที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส ทั้งรายงานข้อมูล ทางการเงินและข้อมูลทั่วไป ตลอดจนข้อมูลสำคัญที่อาจมีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษัทฯ โดยได้เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ต่างๆ ดังกล่าวเพือ่ ให้ผลู้ งทุนและผูท้ เ่ี กีย่ วข้องรับทราบ โดยผ่านช่องทางการเผยแพร่ขอ้ มูลต่างๆ ของตลาดหลักทรัพย์ฯ เว็บไซต์ของ บริษทั ฯ จดหมายแจ้งข่าวและจากการติดต่อกับกรรมการผูจ้ ดั การ ซึง่ บริษทั ฯ ให้ความสำคัญต่อผูล้ งทุน ดังนัน้ ผูบ้ ริหารระดับสูงจะ เป็นผู้รับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวกับการบริการนักลงทุนด้วย บริษัทฯ ได้กำหนดบุคคลเพื่อให้บริการข้อมูลข่าวสารสำหรับผู้ลงทุน ผูถ้ อื หุน้ นักวิเคราะห์และประชาชนทัว่ ไป ซึง่ มีรายละเอียดดังนี ้ คุณคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม กรรมการผูจ้ ดั การ โทรศัพท์ 66 2696 8801 อีเมล์ kh@preciousshipping.com คุณคูชรู คาลี วาเดีย กรรมการบริหาร โทรศัพท์ 66 2696 8836 อีเมล์ kw@preciousshipping.com คุณธีรดา ตันธรรศกุล เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยประชาสัมพันธ์ โทรศัพท์ 66 2696 8820 อีเมล์ corp@preciousshipping.com คุณสมปรารถนา เทพนภาเพลิน ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำนวยการ (การเงินและบัญชี) และเลขานุการบริษทั ฯ โทรศัพท์ 66 2696 8856 อีเมล์ som@preciousshipping.com บริษทั ฯ ได้เข้าร่วมกิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์ตา่ งๆ มากมาย โดยมีกรรมการผูจ้ ดั การได้เข้าร่วมกิจกรรม ซึง่ รายละเอียด ของกิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์ในช่วงสามปีทผ่ี า่ นมา มีดงั นี ้

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ปี / จำนวนครั้ง

64

2550 2549 2548

พบปะกับ นักวิเคราะห์

พบปะกับ นักลงทุน

76 37 43

39 33 23

5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ 5.1 โครงสร้างคณะกรรมการบริษทั ฯ

การนำเสนอ การให้สัมภาษณ์แก่ (Presentations) หนังสือพิมพ์และทีวี

14 10 16

1 3 5

รวม

130 83 87

จำนวนของกรรมการในคณะกรรมการบริษทั ฯ มีสดั ส่วนทีส่ มั พันธ์และเหมาะสมกับขนาดของกิจการและความซับซ้อน ทางธุรกิจของบริษทั ฯ ซึง่ ในปัจจุบนั คณะกรรมการบริษทั ฯ มีจำนวน 12 ท่าน ประกอบด้วยกรรมการบริหาร 3 ท่าน กรรมการ 1 ท่าน ซึง่ ทำหน้าทีบ่ ริหารและได้ปฏิบตั งิ านเต็มเวลาเหมือนพนักงานประจำในบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ กรรมการทีไ่ ม่ได้เป็นกรรมการบริหาร 2 ท่านและกรรมการอิสระ 6 ท่าน (เท่ากับกึ่งหนึ่งของกรรมการบริษัทฯ ทั้งคณะ) และมีคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งประกอบด้วย กรรมการอิสระทัง้ หมด


Year / Times Analyst Meetings

2007 2006 2005

76 37 43

Investor Meetings

Presentations Road shows

Press & TV Interview

Total

39 33 23

14 10 16

1 3 5

130 83 87

5. RESPONSIBILITIES OF THE BOARD

5.1 Board Structure The number of members on the Board of Directors is commensurate with the size and complexity of the Company’s business. Currently, there are 12 Directors on the Board of Directors of the Company which consists of 3 Executive Directors and 1 Director in an executive position in the Company’s subsidiary (as full-time employees of the Company/Subsidiary), 2 Non-Executive Directors and 6 Independent Directors (one half of Board of Directors). The Audit Committee comprises entirely of Independent Directors.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

* PSL’s figures are actuals of respective years ** From SET’s Remuneration report for the year 2006 *** Additional Remuneration as Chairman of Audit Committee/Audit Director N.A. Not available 4.3 Relations with investors The Board of Directors recognizes the importance of accurate, complete and transparent disclosure of financial information and general information, which may affect the Company share price. The Company provides the information through the channel of the SET, the Company’s website and through regular newsletters and communications from the Managing Director. While the Company undertakes investor relations at the top management level, the Company has also designated persons as the contact points in the Company to service investors, shareholders, analysts and public as under: Mr. Khalid Moinuddin Hashim Managing Director Telephone 66 2696 8801 Email at kh@preciousshipping.com Mr. Khushroo Kali Wadia Executive Director Telephone 66 2696 8836 Email at kw@preciousshipping.com Khun Teerada Tanthansakul PR and Corporate Affairs Executive Telephone 66 2696 8820 Email at corp@preciousshipping.com Khun Somprathana Thepnapaplern AVP (Finance & Accounts) and Company Secretary Telephone 66 2696 8856 Email at som@preciousshipping.com The Company has joined many events for press/analysts briefings, which are attended personally by the Managing Director. Some of the major events in which the Company participated in the last three years are enumerated herein as under:

65


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

66

คำจำกัดความ กรรมการบริหาร (Executive Director) คือ กรรมการที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการเต็มเวลาของบริษัทฯ และได้รับค่าตอบแทนรายเดือนเป็นประจำจาก บริษทั ฯ ในรูปของเงินเดือนหรือผลตอบแทนอืน่ ๆ ทีเ่ ทียบเท่า กรรมการอิสระ (Independent Director) คือ กรรมการที่ไม่มีหน้าที่ในการจัดการในบริษัทฯ หรือบริษัทย่อยและเป็นอิสระจากฝ่ายจัดการรวมทั้งผู้ถือหุ้นที่มีอำนาจ ควบคุมและไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจและอื่นๆ กับบริษัทฯ ซึ่งอาจจะกระทบต่อผลประโยชน์ของบริษัทฯ และ/หรือผู้ถือหุ้นของ บริษทั ฯ บริษัทฯ ได้กำหนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระเกี่ยวกับการถือครองหุ้นบริษัทฯ ที่สูงกว่ากฎ ระเบียบ ข้อบังคับทาง กฎหมาย ซึง่ คุณสมบัตขิ องกรรมการอิสระของบริษทั ฯ ได้แก่ ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 2 ของทุนชำระแล้วของบริษทั ฯ บริษทั ในเครือ บริษทั ร่วม หรือบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ นีใ้ ห้นบั รวมหุน้ ทีถ่ อื โดยผูท้ เ่ี กีย่ วข้องด้วย เป็นกรรมการที่ไม่มีส่วนร่วมในการบริหารงานบริษัทฯ บริษัทในเครือ บริษัทร่วม บริษัทที่เกี่ยวข้อง หรือผู้ถือหุ้นราย ใหญ่ของบริษทั ฯ เป็นกรรมการที่ไม่มีผลประโยชน์หรือส่วนได้ส่วนเสียไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ทั้งในการบริหารด้านการเงินและ การบริหารงานของบริษทั ฯ บริษทั ในเครือ บริษทั ร่วม บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง หรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั ฯ เป็นกรรมการทีไ่ ม่ใช่เป็นผูเ้ กีย่ วข้องหรือญาติสนิทของผูบ้ ริหารหรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั ฯ เป็นกรรมการที่ไม่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเป็นตัวแทนเพื่อรักษาผลประโยชน์ของกรรมการบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ

ผูถ้ อื หุน้ ซึง่ เป็นผูท้ เ่ี กีย่ วข้องกับผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั ฯ สามารถปฏิบัติหน้าที่แสดงความเห็นหรือรายงานผลการปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษทั ฯ โดยไม่ได้อยูภ่ ายใต้การควบคุมของกรรมการบริหารหรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั ฯ รวมทัง้ ผูท้ เ่ี กีย่ วข้องหรือญาติสนิทของ บุคคลดังกล่าว คำนิยามของผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง ผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง ความหมาย จะรวมถึงผูท้ ม่ี คี วามสัมพันธ์หรือเกีย่ วข้องกับบริษทั ฯ ในระดับทีท่ ำให้กรรมการอิสระไม่สามารถ ทำหน้าทีไ่ ด้อย่างอิสระหรือคล่องตัว เช่น คูค่ า้ ลูกค้า เจ้าหนี้ ลูกหนี้ หรือผูท้ ม่ี คี วามเกีย่ วข้องทางธุรกิจอย่างมีนยั สำคัญ เป็นต้น บทบาท หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของกรรมการอิสระ สามารถเข้าถึงสารสนเทศทางการเงินและทางธุรกิจอืน่ อย่างเพียงพอทีจ่ ะปฏิบตั หิ น้าทีข่ องตนได้อย่างมีประสิทธิผล เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการเป็นประจำทุกครัง้ รวมทัง้ ตัง้ ประเด็นคำถามในทีป่ ระชุมเพือ่ ให้มน่ั ใจว่า ผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียอื่นของบริษัทฯ ได้รับความคุ้มครองและเพื่อให้มั่นใจว่า บริษัทฯ มีการปฏิบัติตามข้อพึง ปฏิบตั ทิ ด่ี ี มีความสามารถและเต็มใจที่จะเรียนรู้ธุรกิจของบริษัทฯ พร้อมที่จะแสดงความเห็นอย่างเป็นอิสระ ตลอดจนอุทิศเวลาและ ทุม่ เทความสนใจทีจ่ ำเป็นให้กบั บริษทั ฯ จัดให้มกี ารประชุมกรรมการอิสระเป็นประจำและผูบ้ ริหารบริษทั ฯ เพือ่ พูดคุยในประเด็นทีเ่ กีย่ วข้องกับผูบ้ ริหาร จัดทำหนังสือยืนยันถึงความเป็นอิสระในวันที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งกรรมการอิสระและทุกๆ ปี ภายหลังที่ได้รับ การแต่งตัง้ ในกรณีทถ่ี กู ร้องขอ กำหนดวาระการดำรงตำแหน่งที่ชัดเจนและไม่มีกรรมการอิสระท่านใดที่ดำรงตำแหน่งเกินกว่าวาระที่กำหนดอย่างไรก็ตาม เป็นการยากที่จะค้นหาผู้ที่มีความเหมาะสมที่จะเข้ามารับตำแหน่งกรรมการอิสระ คือเป็นผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจอย่างดีในธุรกิจของ บริษทั ฯ อีกทัง้ ในปัจจุบนั ยังคงไม่มกี ฎข้อบังคับใดๆ ทีก่ ำหนดเกีย่ วกับจำนวนครัง้ ของการดำรงตำแหน่งของกรรมการอิสระบริษทั ฯ จึง ไม่ได้กำหนดจำนวนครัง้ ของการดำรงตำแหน่งกรรมการอิสระ


Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Executive Director: An Executive Director is a Director who is involved in the management of the Company on a full-time basis and receives regular monthly remuneration from the Company in the form of salary or its equivalent. Independent Director: The Independence of the Board of Directors is established by the appointment of Independent Directors who do not manage the Company or any of its subsidiaries, are independent from the management and significant shareholders, and have no business with the Company, which may compromise the Interests of the Company and/or the Shareholders. The qualifications of Independent Director of the Company are tighter than required by the regulations in the area of the holding of the Company’s shares. Qualifications of Independent Directors of the Company: They must not hold shares exceeding 2 percent, including shares held by a related person, of paid-up capital of the Company or of an affiliated, an associated company or a related company. They must not be involved in the day-to-day management of the Company or an affiliated company, an associated company or a related company, or with the major shareholders of the Company. They must be free of any present, direct or indirect, financial or other interest in the management and business of the Company, its subsidiaries, associated companies, or its major shareholders. They must not be a relative of any Executive Director, executive officer or major shareholder of the Company. They must not be acting as a nominee or representative of any director, major shareholder or shareholders, who are a relative of any major shareholders of the Company. They must be able to carry out their duties, exercise their judgement, and report the committee’s performances, which are assigned by the Board of Directors without being influenced by Executive Directors or major shareholders of the Company, including related persons or relatives. Definition of Related Persons Related persons shall include persons who are involved in any kind of benefits or are related to the Company’s business to a significant amount, such as suppliers, customers, or creditors. This kind of connection may affect the Independent Directors in carrying out their duties independently or conveniently. Independent Director’s Roles and Duties Independent Directors should have access to adequate financial and other business information for them to perform their duties effectively. They should regularly attend every board meeting, including committee meetings, and raise questions to ensure the interests of Company’s shareholders’ and the protection of rights of other stakeholders’, and that the Company complies with best practices. Independent Directors should possess abilities and display willingness to learn the Company’s businesses, and express their views independently, as well as dedicate time and attention to the Company as needed. Independent Directors should regularly hold meetings among themselves, and try in every way possible to look for opportunities in which they can discuss business management issues with the management. Independent Directors should submit a confirmation letter to the Company verifying their independence in accordance with the Company’s definition, on the date they accept the appointment and every subsequent year if required. It is expected that there should be specific terms given to Independent Directors, and no director is expected to stay on beyond a certain time limit. Nonetheless, the difficulties of searching for an appropriate replacement and the

67


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

68

คณะกรรมการอืน่ ๆ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ บริษัทฯ โดยรายละเอียดของสมาชิกของคณะกรรมการตรวจสอบ ตลอดจนหน้าที่และความรับผิดชอบได้กล่าวไว้ภายใต้หัวข้อ “โครงสร้างการจัดการและรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ” ในรายงานประจำปีน ้ี ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2550 ได้แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและ คณะกรรมการสรรหา ทัง้ นีร้ ายละเอียดของคณะกรรมการทัง้ สองชุด เช่น รายชือ่ จำนวนสมาชิก คุณสมบัติ บทบาทหน้าทีแ่ ละความ รับผิดชอบ ได้เปิดเผยบนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ และภายใต้หวั ข้อ “โครงสร้างการจัดการ” ในรายงานประจำปีน ้ี การรวมหรือแยกตำแหน่ง ประธานคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นกรรมการอิสระตามความหมายของตลาดหลักทรัพย์ฯ และไม่มีความสัมพันธ์ใดๆ กับ ฝ่ายบริหาร อีกทั้งประธานกรรมการไม่เป็นบุคคลเดียวกันกับกรรมการผู้จัดการและไม่มีความสัมพันธ์ใดๆ กับกรรมการผู้จัดการทั้งนี้ เพือ่ เป็นการแบ่งแยกหน้าทีร่ ะหว่างการกำหนดนโยบายและการบริหารนโยบายทีก่ ำหนดไว้ 5.2 บทบาท หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ภาวะผูน้ ำและวิสยั ทัศน์ คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้มีส่วนสำคัญในการกำหนดทิศทาง การดำเนินงานของบริษัทฯ ไปสู่เป้าหมายและ วัตถุประสงค์ทก่ี ำหนดไว้และเป็นผูท้ ม่ี บี ทบาทสำคัญในการกำหนดภารกิจ วิสยั ทัศน์ คุณค่าขององค์กร แผนกลยุทธ์ การดำเนินธุรกิจ การกำหนดอำนาจหน้าที่ การบริหารทีม่ ปี ระสิทธิภาพและการจัดการดำเนินงานของบริษทั ฯ รวมถึงการกำกับดูแลกิจการขององค์กร เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และให้เป็นไปตามนโยบายของบริษัทฯ และให้สอดคล้องกับกฎหมายต่างๆ โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจและมีคุณสมบัติที่จะปฏิบัติงานได้ตามหน้าที่และความ รับผิดชอบ โดยยึดถือมาตรฐานสูงสุดของหลักจรรยาบรรณทางธุรกิจ คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้พิจารณากำหนดบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการชุดต่างๆ อย่าง ชัดเจน ดังรายละเอียดในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” ในรายงานประจำปีน ้ี นโยบายเกีย่ วกับการกำกับดูแลกิจการ บริษทั ฯ ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นต่อการดำเนินธุรกิจให้มีการเจริญเติบโตและเพิ่มมูลค่าให้แก่ผ้ถู ือหุ้น ในระยะยาว คณะกรรมการบริษทั ฯ จึงได้กำหนดนโยบายเกีย่ วกับการกำกับดูแลกิจการขึน้ โดยคณะกรรมการบริษทั ฯ มีความมุง่ มัน่ และเสริมสร้างการกำกับดูแลกิจการโดยรวมถึงการกำหนดนโยบายและทิศทาง การดำเนินงานของบริษัทฯ การให้ความสำคัญต่อ ความเพียงพอของระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน การกำกับดูแลฝ่ายบริหารให้ดำเนินการตามนโยบายอย่างมี ประสิทธิภาพ เพือ่ ประโยชน์ในระยะยาวของผูถ้ อื หุน้ ภายใต้กรอบข้อกำหนดของกฎหมายด้วยความโปร่งใสและจริยธรรมทางธุรกิจทีด่ ี และได้จดั ทำคูม่ อื นโยบายการกำกับดูแลกิจการขึน้ อย่างเป็นลายลักษณ์อกั ษรและประกาศให้พนักงานในทุกระดับชัน้ ได้รบั ทราบ ทัง้ นี้ เพือ่ ให้ผทู้ เ่ี กีย่ วข้องทุกฝ่ายของบริษทั ฯ ได้มคี วามตระหนักและให้ความสำคัญด้านการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี รวมทัง้ ได้เปิดเผยนโยบาย ดังกล่าวไว้ในเว็บไซต์ของบริษทั ฯ คูม่ อื นโยบายการกำกับดูแลกิจการของบริษทั ฯ ครอบคลุมหลักสำคัญ 5 ส่วนดังต่อไปนี ้ 1. สิทธิและความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสีย 2. โครงสร้าง บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบและความเป็นอิสระของคณะกรรมการบริษทั ฯ 3. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส 4. การควบคุมและการบริหารความเสีย่ ง 5. จริยธรรมธุรกิจ


Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

benefits of the working relationship built up over the years within the Independent Directors and their understanding of the business is also taken into account. Accordingly, at present no time limit has been set up for the Independent Directors apart from the statutory limits placed under applicable law. Other Committees The Board of Directors appointed the Audit Committee as part of the good corporate governance policy of the Company. The details of the members of the committee, their duties and responsibilities are presented under the sections “Management Structure” and “Audit Committee Report” of this Annual Report. The Board of Directors appointed the Remuneration Committee and Nomination Committee in its meeting held on 15th November 2007. The details of these committees such as names and number of members, qualification, duties and responsibilities are disclosed on the website of the Company and under the subject “Management Structure” of this Annual Report. Aggregation or Segregation of Positions The Chairman of the Board of Directors is an Independent Director and has no relationship with the management, as defined by the Stock Exchange of Thailand. The Chairman is not the same person as the Managing Director of the Company nor is he related in any way to the Managing Director of the Company in order to segregate the duties between the policy maker and the policy manager. 5.2 Roles, Duties and Responsibilities Leadership and Vision The Board of Directors is the main driver in defining the direction of the company’s performance, achieving its goals and objectives and to define the Company Mission, Vision, Core Values, Strategic Business Plan, appointment of competent and effective management and managing the Company’s affairs with good corporate governance in order to reach the objectives in accordance with company’s policy and in accordance with the law. The Board of Directors comprises of persons who have the knowledge, expertise, business experience and backgrounds which qualify them to perform their duties and responsibilities in accordance with the highest standards of business ethics. The Board of Directors has clearly defined and demarcated powers, duties and responsibilities between each committee as mentioned under the “Management Structure” section of this Annual Report. The Corporate Governance Policy In recognition of the fact that it is important and necessary for sustainable growth of operating business and long-term shareholder value, the Board of Directors has set up a Corporate Governance Policy for the Company. The Board of Directors has reinforced corporate governance by including policies and directions on operating the business, set up adequate internal controls and internal audit systems and monitoring management to perform effectively under the policy to ensure long term interests of shareholders under applicable laws with full transparency and correct business ethics. A Corporate Governance Policy Manual outlining it’s features has been drawn up by the Company and already circulated to the Company’s employees for the recognition of the necessity of Good Corporate Governance and is also disclosed on the Company’s website. The Company’s Corporate Governance Policy consists of: 1. Right and Equitable Treatment of Shareholders and various groups of Stakeholders 2. Structure, Rules, Duties, Responsibilities, and Independence of the Board of Directors 3. Information Disclosure and Transparency 4. Controlling System and Risk Management 5. Business Ethics

69


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

70

คณะกรรมการบริษทั ฯ ยังกำหนดให้มกี ารทบทวนนโยบายการกำกับดูแลกิจการ รวมทัง้ การประเมินผลการปฏิบตั ติ าม คูม่ อื นโยบายดังกล่าวเป็นประจำทุกปี โดยเริม่ ถือปฏิบตั ติ ง้ั แต่ปี 2550 เป็นต้นมา ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้คมู่ อื นโยบายการกำกับดูแลกิจการของ บริษทั ฯ ได้มกี ารปรับปรุงให้มคี วามทันสมัยและเหมาะสมกับสถานการณ์ปจั จุบนั จริยธรรมธุรกิจ บริษทั ฯ ได้ออกประกาศข้อพึงปฏิบตั เิ กีย่ วกับจรรยาบรรณของกรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงาน เพือ่ ยึดถือเป็นแนวทาง ในการปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้ประสบผลสำเร็จตามภารกิจของบริษทั ฯ ด้วยความโปร่งใส ซือ่ สัตย์ สุจริตและเทีย่ งธรรมและบริษทั ฯ ได้เปิดเผย รายละเอียดนีไ้ ว้ในเว็บไซต์ของบริษทั ฯ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพือ่ เป็นการป้องกันรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการบริษทั ฯ และคณะกรรมการตรวจสอบ จึงได้ดแู ลอย่างรอบคอบ เมือ่ เกิดรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยกำหนดนโยบายและขัน้ ตอนการอนุมตั ริ ายการที่ อาจจะก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ไว้อย่างเป็นลายลักษณ์อกั ษร ดังนี ้ รายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการทราบเป็นอย่างดีถึงรายการที่อาจนำมาซึ่งความขัดแย้งทางผลประโยชน์และรายการที่เกี่ยวโยงกันและ ได้พจิ ารณาความเหมาะสมอย่างรอบคอบทุกครัง้ รวมทัง้ มีการปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อีกทัง้ การ ปฏิบตั ติ ามนโยบาย/แนวทางของบริษทั ฯ โดยราคาและเงือ่ นไขเสมือนทำรายการกับบุคคลภายนอก (Arms-Length Basis) เป็นไปโดย ปกติมาตรฐานทางการค้าทัว่ ไปและได้เปิดเผยรายละเอียด มูลค่ารายการ คูส่ ญ ั ญา เหตุผล/ความจำเป็น ไว้ในรายงานประจำปีและ แบบ 56-1 อย่างครบถ้วนแล้ว อีกทัง้ คณะกรรมการตรวจสอบและฝ่ายตรวจสอบภายในมีการวางแผนงานตรวจสอบเรือ่ งการทำรายการทีอ่ าจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยจัดให้มีการบรรจุเรื่องดังกล่าวไว้ในแผนการตรวจสอบภายในเป็นประจำทุกปี สำหรับปี 2550 ผู้ตรวจ สอบภายในได้ตรวจสอบรายการดังกล่าวและได้รายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบ เมื่อการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบครั้งที่ 1/2551 ในเดือนกุมภาพันธ์ 2551 พบว่าบริษัทฯ มีนโยบายการอนุมัติรายการเพื่อป้องกันการทำรายการที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ โดยรายการที่บริษัทฯ มีอยู่ในปัจจุบันเป็นรายการที่มีความจำเป็นต่อการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ และเป็นไปตาม มาตรฐานทางการค้าการแข่งขันโดยทั่วไป โดยยึดถือราคาตลาดเป็นสำคัญและเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ รวมทั้งได้มีการเปิด เผยข้อมูลดังกล่าวในรายงานประจำปีอย่างเพียงพอแล้ว นอกจากนี้ ฝ่ายตรวจสอบภายในยังได้ตรวจสอบการปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย เรื่อง “การเปิดเผยข้อมูลและการปฏิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกัน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2547” และรายงานผลการตรวจสอบต่อคณะกรรมการบริษัทฯ แล้ว ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ เห็นว่ารายการเกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ เป็นรายการทีเ่ หมาะสมและเพือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน บริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความสำคัญต่อระบบควบคุมภายในระดับปฏิบัติงานเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ จึงได้กำหนดอำนาจ หน้าที่ ในการดำเนินงานของผูป้ ฏิบตั งิ าน ผูบ้ ริหาร ไว้เป็นลายลักษณ์อกั ษรอย่างชัดเจน มีการ ควบคุมดูแลการใช้ทรัพย์สนิ ของบริษทั ฯ เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั ฯ และมีการแบ่งแยกหน้าทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ าน ผูต้ ดิ ตามควบคุม และประเมินผลออกจากกัน เพื่อรักษาไว้ซึ่งการถ่วงดุลและตรวจสอบระหว่างกันอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ ยังมีระบบการควบคุม ภายในที่เกี่ยวข้องกับทางการเงินและบัญชี โดยบริษัทฯ ได้จัดให้มีระบบรายงานที่ชัดเจนและเพียงพอเสนอผู้บริหารสายงานที ่ รับผิดชอบ บริษัทฯ มีฝ่ายตรวจสอบภายในทำหน้าที่ตรวจสอบเพื่อให้มั่นใจว่าการปฏิบัติงานหลักและกิจกรรมการทางการเงินที่ สำคัญของบริษทั ฯ ได้ดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพภายใต้แนวทางทีก่ ำหนดและกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ให้มน่ั ใจว่าบริษทั ฯ มีการ ปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ โดยฝ่ายตรวจสอบภายในมีการตรวจสอบการปฏิบัติงานแต่ละ แผนกและรายงานผลตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบเพือ่ ให้หน่วยงานตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระจากผูบ้ ริหาร


Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

The Board of Directors has started the process of annual review of Corporate Governance Policy and evaluation of the policy implementation from the year 2007 so that the Corporate Governance Policy of the Company is up to date and appropriate with the current situation. Business Ethics The Company has set up a code of ethics for Directors, management and employees as a guideline to carry out their respective work for the Company in a transparent, honest, faithful and justifiable manner. It is also disclosed on the Company’s website. Conflict of Interest In order to prevent conflict of interest transactions, The Board of Directors, through the Audit Committee has supervised carefully such potential transactions by setting out a written policy and procedure of approval of transactions involving any potential conflict of interests and has set up an appropriate policy as follows: Potential conflict of interest transactions The Board of Directors is well aware of any transaction which could lead to a potential conflict of interest and/or a related party transaction, which, if any, is considered very carefully with a view to full compliance with the relevant rules and regulations of the Stock Exchange of Thailand, apart from compliance with the internal policies and guidelines set up by the Company. Moreover, such transactions are entered into strictly on an “Arms-Length” basis. The terms and conditions of such transactions are always in compliance with generally acceptable, standard commercial terms and conditions and appropriate disclosure regarding the details of the transactions viz. value, counter-party, reason and necessity of the transaction is made in this Annual Report and also in Form 56-1. In addition to the above, Audit Committee and Internal Audit Department prepared the annual audit plan to review transactions that may cause conflict of interests. For the year 2007, the internal auditors audited the aforesaid transactions and reported the results thereof to the Audit Committee in the Audit Committee’s Meeting No. 1/2008 in February 2008. The Audit Committee found that the Company has a proper policy for approval and prevention of abuse in such transactions. The existing conflict of interest transactions are made only on the basis of proper comparison of market prices and for the benefit of the Company. Adequate disclosures of all such material transactions have been made in this Annual Report. Moreover, Internal Audit Department has reviewed the compliance of the Company in respect of the Notifications of the Stock Exchange of Thailand Re: Disclosure of Information and Act of Listed Companies Concerning the Connected Transactions (No.2), 2004. The details of the connected transactions have been explained under the topic “Connected Transactions” of this Annual Report. The results of the review have been reported to the Board of Directors of the Company. The Board of Directors of the Company is of the opinion that such transactions are fair and for the full benefit of the Company. Controlling System and Internal Audit The Company recognizes the importance of internal control systems on an operational level to ensure that the operations are conducted efficiently. Powers and Duties of operations and management level personnel are laid down clearly. There is a proper level of control maintained on the utilization of Company’s property/assets for the highest benefit of the Company and there is clear segregation between the operations units, control units and assessment units for the purpose of maintaining appropriate checks and balances. Moreover, an internal control system for the financial and accounting functions of the Company is clearly set up which allows adequate reporting to the relevant management. The Company has the Internal Audit Department in order to ensure that the key operations and financial activities are conducted efficiently under the guidelines and relevant laws. Moreover, to ensure that the Company has

71


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

สำหรับการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับทางการเงินและบัญชี บริษัทฯ ได้จัดให้มีระบบรายงานที่ชัดเจนและเพียงพอ เสนอผูบ้ ริหารสายงานทีร่ บั ผิดชอบ ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ดงั ต่อไปนี ้ 1. เพื่อความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน รวมทั้งการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดเพื่อก่อให้ เกิดประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั ฯ 2. เพือ่ ความถูกต้อง เชือ่ ถือได้และทันเวลาของรายงานทางการเงิน 3. เพือ่ ให้การปฏิบตั งิ านของบริษทั ฯ เป็นไปตามกฎระเบียบ ข้อบังคับ รวมทัง้ กฎหมายต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ตระหนักและให้ความสำคัญต่อการบริหารความเสี่ยงและมีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการ บริหารความเสี่ยงขององค์กร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการของบริษัทฯ ให้ดำเนินไปอย่างรัดกุม มี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและบรรลุวัตถุประสงค์ ทางคณะกรรมการบริษัทฯ ได้กำหนดและเปิดเผยนโยบายบริหารความเสี่ยงและ การควบคุมภายใน บนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ และในหัวข้อ “การควบคุมภายใน” ในรายงานประจำปีน ้ี 5.3 การประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการบริษทั ฯ มีการประชุมโดยปกติเป็นประจำทุกไตรมาส (ยกเว้นในไตรมาสแรกทีอ่ าจจะมีการประชุมคณะ กรรมการ 2 ครัง้ ) และมีการประชุมพิเศษเพิม่ ตามความจำเป็น โดยมีการกำหนดวาระการประชุมอย่างชัดเจน ล่วงหน้าและมีวาระ พิจารณาติดตามผลการดำเนินงานเป็นประจำ โดยเลขานุการบริษทั ฯ ได้จดั ส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระการประชุมและ เอกสารประกอบการพิจารณาในแต่ละวาระก่อนการประชุมล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีเวลาศึกษา ข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมประชุม โดยปกติการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ จะมีขน้ึ ภายหลังจากการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 7 ถึง 10 วัน ทัง้ นี้ เพื่อให้รายงานการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบได้ถูกเสนอเข้าไปในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อให้คณะกรรมการ บริษทั ฯ พิจารณาและรับทราบ ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ทุกครัง้ ได้มกี ารจดบันทึกการประชุมและจัดทำอย่างเป็นลายลักษณ์อกั ษร มีการ ตรวจสอบและรับรองรายงานการประชุมดังกล่าวจากคณะกรรมการบริษทั ฯ โดยเลขานุการบริษทั ฯ เป็นผูจ้ ดั เก็บรายงานการประชุม พร้อมให้คณะกรรมการบริษทั ฯ และผูท้ เ่ี กีย่ วข้องตรวจสอบได้ ปกติการประชุมแต่ละครัง้ จะใช้เวลาประมาณ 2-3 ชัว่ โมง โดยในปี 2550 ทีผ่ า่ นมาคณะกรรมการบริษทั ฯ มีการประชุม ตามวาระปกติจำนวน 5 ครัง้ (ปี 2549: 5 ครัง้ ) และมีการประชุมตามวาระพิเศษจำนวน 4 ครัง้ (ปี 2549: ไม่ม)ี โดยการเข้าร่วม ประชุมของกรรมการบริษทั ฯ แต่ละท่านสรุปได้ดงั นี ้

72


Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

complied with laws and regulations relating to the business of the Company, the Internal Audit Department conducts regular checks. Internal auditors report directly to the Audit Committee on all matters, in order to make the Internal Audit Department completely independent of management. Moreover, an internal control system for the financial and accounting functions of the Company is clearly set up which allows adequate reporting to the relevant managers to achieve the following objectives: 1. Efficient and effective operations, including skillful use of resources for the best benefit of the Company. 2. Accurate, reliable and prompt financial reporting. 3. Full compliance with the Company’s policies, laws and regulations. The Board of Directors recognizes the importance of risk management and is responsible directly on risk management of the organization with the objectives to support the work performance of the management of the Company to be efficient and effective and to achieve the business objectives. The Board of Directors has specified policy on risk management and internal control on the website of the Company and under the topic “Internal Control” of this Annual Report. 5.3 Board of Directors’ Meetings The Board of Directors’ meetings are held quarterly on a regular basis (except in the first quarter when 2 ordinary meetings may be held), but extraordinary or special meetings, if required, may be called at any time during the year. The meeting has a specific agenda, which would include a review of the Company’s operations. The Company Secretary sends the notice of the meeting and relevant documents to all Directors, at least 7 days prior to the meeting date, so as to allow sufficient time for them to review the information before joining the meeting. Board of Directors’ meetings are held about 7 to 10 days after Audit Committee meeting so that the minutes of Audit Committee can be sent to the Board of Directors for their consideration and discussion during the Board meeting. In every meeting, the minutes of the meeting are recorded, reviewed and adopted by the Board of Directors. The minutes of the meeting are kept with the Company Secretary for ready reference and review by other concerned parties. The Board of Directors’ meetings normally take around 2-3 hours. In the year 2007, the Board of Directors held 5 (2006: 5 times) ordinary meetings and held 4 extraordinary meetings (2006: nil). The record of attendance of the Directors is summarized as follows:

73


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ชื่อกรรมการ

74

การเข้าร่วมประชุม / การประชุมทั้งหมด (ครั้ง) ปี 2550 การประชุม วาระปกติ

ปี 2550 การประชุม วาระพิเศษ

ปี 2549 การประชุม วาระปกติ

1. พลเรือเอก ดร.อำนาจ จันทนมัฎฐะ 5/5 4/4 5/5 2. นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม 5/5 4/4 5/5 3. นายมูนรี มอยนูดดิน ฮาชิม 5/5 4/4 5/5 4. นายคูชรู คาลี วาเดีย 5/5 4/4 5/5 5. นายไจปาล มันสุขานี 5/5 4/4 5/5 6. พลตำรวจโท เกียรติศกั ดิ์ ประภาวัต 5/5 4/4 5/5 7. นายชีระ ภาณุพงศ์ 5/5 4/4 5/5 8. นายธีระ วิภชู นิน 5/5 4/4 5/5 9. นายสุพฒ ั น์ ศิวะศรีอำไพ 5/5 3/4 5/5 10. นางสาวนิชติ า้ ชาห์ 4/5 4/4 3/5 11. นายกิรติ ชาห์* 3/3 3/3 12. นายปีเต้อร์ เฟ็ดเดอร์เซ่น* 3/3 3/3 * นายกิรติ ชาห์และนายปีเต้อร์ เฟ็ดเดอร์เซ่น ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการในคณะกรรมการบริษทั ฯ ในระหว่างปีและเข้าร่วมประชุม คณะกรรมการบริษทั ฯ ทุกครัง้ นับตัง้ แต่ได้รบั การแต่งตัง้ 5.4 การประเมินคณะกรรมการบริษทั ฯ การประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ เมือ่ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2550 ได้มกี ารพิจารณาเรือ่ ง “การประเมินการปฏิบตั งิ าน ของคณะกรรมการบริษทั ฯ” (Board Self Assessment) ซึง่ มีหวั ข้อสำหรับการประเมินเป็นไปตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้แก่ ความพร้อมของกรรมการ การกำหนดกลยุทธ์และการวางแผนธุรกิจ การจัดการความเสีย่ งและการควบคุมภายใน การดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การควบคุมดูแลรายงานทางการเงินและการดำเนินงาน การประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ การสรรหา การพิจารณาค่าตอบแทน การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของกรรมการผูจ้ ดั การ ผลการประเมินการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั ฯ โดยรวมอยูใ่ นเกณฑ์ทด่ี เี ลิศและคณะกรรมการบริษทั ฯ จะนำผล การประเมินทีไ่ ด้ไปปรับปรุงการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั ฯ โดยจะมีการประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษทั ฯ ทุก ๆ ปี


Attendance / Total Meetings (Times) Year 2007 Extraordinary Meeting

Year 2006 Ordinary Meeting

1. Admiral Dr. Amnad Chandanamattha 5/5 4/4 5/5 2. Mr. Khalid Moinuddin Hashim 5/5 4/4 5/5 3. Mr. Munir Moinuddin Hashim 5/5 4/4 5/5 4. Mr. Khushroo Kali Wadia 5/5 4/4 5/5 5. Mr. Jaipal Mansukhani 5/5 4/4 5/5 6. Police Lt.Gen Kiattisak Prabhavat 5/5 4/4 5/5 7. Mr. Chira Panupong 5/5 4/4 5/5 8. Mr. Thira Wipuchanin 5/5 4/4 5/5 9. Mr. Suphat Sivasriaumphai 5/5 3/4 5/5 10. Miss Nishita Shah 4/5 4/4 3/5 11. Mr. Kirit Shah* 3/3 3/3 12. Mr. Peter Feddersen* 3/3 3/3 * Mr. Kirit Shah and Mr. Peter Feddersen were appointed to the Board of Directors during the year and attended all meetings since their appointment. 5.4 Board Self Assessment In the Board of Directors Meeting held on 15th November 2007, Board members conducted a selfassessment through a questionnaire following the SET guidelines which covered the subjects as follows: Readiness Strategy Setting and Policy Making Risk Management and Internal Control Conflict of Interest Monitoring of financial reports and the results of operation Board of Directors’ meeting Nomination Remuneration Performance Assessment for CEO The scores of Board’s Self Assessment fall in the level of “Excellent”. Board of Directors intends to use this result to further improve their performance. It is now intended that self assessment will be done each year.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Year 2007 Name of Director Ordinary Meeting

75


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

5.5 ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหารถูกกำหนดขึ้นตามหลักการและนโยบายที่คณะกรรมการบริษัทฯ กำหนดและค่าตอบแทนของ กรรมการบริหารและกรรมการที่บริหารงานเต็มเวลาในบริษัทย่อยจะถูกพิจารณาอนุมัติโดยคณะกรรมการบริษัทฯ โดยพิจารณาจาก ค่าตอบแทนสำหรับตำแหน่งที่เทียบเท่าในอุตสาหกรรม ฐานะทางการเงินและผลประกอบการของบริษัทฯ รวมทั้งผลการปฏิบัติงาน ของแต่ละคนทีผ่ า่ นมา ในปี 2550 คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้พจิ ารณาแต่งตัง้ และมอบหมายให้คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน กำหนด หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาค่าตอบแทนสำหรับกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหารเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากลและสามารถ เทียบเคียงกับค่าเฉลีย่ ของบริษทั จดทะเบียนโดยทัว่ ไปและค่าเฉลีย่ ของกลุม่ บริษทั ในอุตสาหกรรมขนส่งได้ รูปแบบค่าตอบแทนของกรรมการบริหารและผูบ้ ริหารประกอบด้วยเงินเดือน โบนัสและอืน่ ๆ เช่น ค่าภาษีเงินได้ ค่าเช่าบ้าน ค่าเล่าเรียนบุตร ในปี 2549 ซึ่งต่อมาได้ถูกยกเลิกในปี 2550 และค่าตอบแทนกรรมการกำหนดเป็นเบี้ยประชุมรายปี ซึ่งได้รับการ อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ โดยการจ่ายค่าตอบแทนต่างๆ ของกรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ ได้เปิดเผยไว้ในหัวข้อ “การเปิดเผย ข้อมูลและความโปร่งใส” 5.6 การพัฒนากรรมการและผูบ้ ริหาร คณะกรรมการบริษทั ฯ ให้ความสำคัญต่อการเพิม่ คุณค่าของกรรมการ โดยจัดให้มกี ารเข้าร่วมกิจกรรม หลักสูตรและ เข้าร่วมสัมมนาต่าง ๆ เพื่อเป็นการเพิ่มพูนองค์ความรู้และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทางธุรกิจอย่างต่อเนื่อง โดย กรรมการบริษทั ฯ ทุกท่านได้มกี ารเข้าร่วมสัมมนาหลักสูตรทีส่ ำคัญและเป็นประโยชน์ตอ่ องค์กร เช่น หลักสูตร Director Certification Program (DCP), Director Accreditation Program (DAP) ซึง่ จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ ในระหว่างปี 2550 นายกิรติ ชาห์ และนายปีเต้อร์ เฟ็ดเดอร์เซ่น ได้รบั การแต่งตัง้ เข้ามาเป็นกรรมการใน คณะกรรมการ บริษทั ฯ เมือ่ วันที่ 24 เมษายน 2550 โดยการอนุมตั จิ ากผูถ้ อื หุน้ เลขานุการบริษทั ฯ ได้รายงานและจัดเตรียมเอกสารสำหรับกรรมการ ใหม่ เช่น คูม่ อื กรรมการ เอกสารการจดทะเบียนบริษทั ฯ คูม่ อื นโยบายการกำกับดูแลกิจการ คูม่ อื จริยธรรมธุรกิจและแนวทางปฏิบตั ิ กฎหมาย ระเบียบ แนวทางปฏิบตั ทิ เ่ี กีย่ วข้องในการซือ้ ขายหุน้ ของบริษทั ฯ เป็นต้น

76


Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

5.5 Directors and Management Remuneration The management remuneration is fixed in accordance with the principles and policies set by the Board of Directors. The Board of Directors directly and specifically approves the remuneration of the Executive Board and the Director employed in an executive capacity in the Company’s subsidiary based on the remuneration in the Industry for equivalent positions, financial status/performance of the Company and their respective individual performances. In the year 2007, the Board appointed and assigned the Remuneration Committee to set procedures for consideration of the remuneration of the Directors and management in accordance with international standards and comparable with other equivalent listed companies including companies in the transportation industry. The remuneration of the senior management included their salary, bonus, and other remuneration (income tax, house rental, and children’s school fees in year 2006 but discontinued from year 2007) and the Directors’ Remuneration was a fixed annual amount which was approved in Shareholders’ Meeting. The remuneration of Directors and Management has been disclosed hereinabove under the subject of “Disclosure and Transparency” 5.6 Director and Management Training Board of Directors continues to try and enhance their value by participation in activities, courses and events which add to their knowledge base in the continually changing business environment to ensure that they are updated and posses full knowledge. All the Company’s Directors have attended important training courses that are available such as; Director Certification Program (DCP) or at least the Director Accreditation Program (DAP) held by the Thai Institute of Directors Association (IOD). Directors’ Orientation During the year 2007, Mr. Kirit Shah and Mr. Peter Feddersen were appointed on the Board of Directors by the shareholders. The Company secretary informed and provided relevant documents for new Directors such as Director’s handbook, the Company’s corporate documents, CG Policy Manual, Business Ethics and Code of Conduct Manual, laws, regulations and practices which are related to the trading of Company’s shares.

77


การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) มีนโยบายเพือ่ ให้มน่ั ใจว่ามีการเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้องและเพียงพอ ทัง้ รายงาน ทางการเงินและข้อมูลอื่นๆ ที่สำคัญหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจด้วยความโปร่งใสและทันเวลาให้กับผู้ถือหุ้น นักลงทุนและบุคคล ทัว่ ไป ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามกฎหมายข้อบังคับและระเบียบที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลและความ โปร่งใส ซึง่ การดูแลการใช้ขอ้ มูลภายในของบริษทั ฯ ถือว่าเป็นความรับผิดชอบของกรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงานระดับอาวุโส ทีจ่ ะ ต้องดูแลและป้องกันการรั่วไหลของข้อมูลที่เป็นความลับและข้อมูลที่เป็นประโยชน์ของบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด รวมถึงข้อมูลที่ยังไม่

เปิดเผยต่อสาธารณะหรือข้อมูลที่มีผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจหรือราคาหุ้น รวมถึงการใช้ข้อมูลของบริษัทฯ ที่ได้มาจากการเป็น กรรมการ ผู้บริหารหรือพนักงานในการหาประโยชน์ส่วนตนหรือในเรื่องการทำธุรกิจที่แข่งขันกับบริษัทฯ หรือธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง ซึ่ง บริษัทฯ ได้กำหนดเป็นนโยบายและแนวทางปฏิบัติไว้ในคู่มือจริยธรรมธุรกิจและแนวทางปฏิบัติที่ดีของบริษัทฯ ซึ่งได้เผยแพร่บน เว็บไซต์ของบริษทั ฯ ภายใต้หวั ข้อการกำกับดูแลกิจการ ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 กำหนดให้ กรรมการ ผูบ้ ริหาร คูส่ มรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ซึง่ กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ ได้ปฏิบตั ติ ามทัง้ หมด นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ได้กำหนดให้กรรมการบริหารซึง่ เป็น พนักงานประจำของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ไม่สามารถซื้อขาย/โอนหุ้นของบริษัทฯ ในช่วง 3 สัปดาห์ก่อนการเปิดเผยงบการเงิน สำหรับปีที่ตรวจสอบแล้วต่อสาธารณชน และ 2 วันหลังเปิดเผยงบดังกล่าวแล้ว (และ 2 สัปดาห์ ก่อนการเปิดเผยงบการเงินราย ไตรมาสทีส่ อบทานแล้วต่อสาธารณชน) และอย่างน้อย 3 วัน ก่อนการเปิดเผยรายการสำคัญต่อสาธารณะ และฝ่ายบริหารได้ถกู ขอ ให้ความร่วมมือปฏิบตั นิ โยบายนีอ้ ย่างเคร่งครัด โดยระหว่างปีทผ่ี า่ นมา ฝ่ายบริหารได้ปฏิบตั ติ ามนโยบายดังกล่าว

78


Insider Trading Controls

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Precious Shipping Public Company Limited has the policy to ensure correct and adequate disclosure of information such as financial statements and other significant data or information related to the business, on a transparent and timely basis to shareholders, investors and general public. The Board commits to comply with rules and regulations with regard to the disclosure of information and to full transparency. The monitoring of the use of insider information of the Company is considered the responsibility of the Directors, executives and senior staff to strictly monitor and prevent any leaks of the Company’s confidential and privileged information including information not yet revealed to the public or any data that might affect the Company’s operations or share price. This includes the using of Company’s information obtained from directorships or employment for personal benefit or conducting business or other activities in competition with the Company. The Company has determined it as policy and guideline in the Business Ethics and Code of Conduct Manual which is disclosed on the website of the Company under the subject of Corporate Governance. Pursuant to section 59 of the Securities and Exchange Act B.E. 2535, all Directors, management, spouse and minor children are required to report the changes of stock holding to the Office of the Securities and Exchange Commission, which is fully complied by the Company’s Directors and management. Moreover, the Directors in an executive position, who are full-time employees of the Company (or its subsidiary), are not allowed to trade/transfer in the Company’s shares during the period of 3 weeks before and two days after the annual audited (2 weeks before in case of quarterly reviewed) results respectively are announced and also at least 3 days before the Company makes any significant announcement. The rest of the management personnel are also strongly encouraged to follow this policy and during the last year, all members of management have also complied fully with this policy and no non-compliance cases have been observed.

79


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

การควบคุมภายใน

80

บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) ตระหนักถึงความสำคัญของระบบการควบคุมภายในในระดับปฏิบตั กิ าร เพือ่ ให้ ความมัน่ ใจว่ามีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการควบคุมทีด่ แี ละมีการปฏิบตั งิ านอย่างถูกต้อง บริษทั ฯ จึงมีการจัดการ ระบบการควบคุมภายในให้เทียบเคียงกับมาตรฐานสากลหรือ COSO (The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission) ดังรายละเอียดต่อไปนี ้ 1. สภาพแวดล้อมการควบคุม (Control Environment) บริษทั ฯ ให้ความสำคัญเกีย่ วกับสภาพแวดล้อมในการทำงานจึงกำหนดให้จดั ทำคูม่ อื นโยบายการกำกับดูแลกิจการทีด่ แี ละ คู่มือจริยธรรมธุรกิจและแนวทางปฏิบัติของบริษัทฯ ขึ้นอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้พนักงานทุกคนได้ตระหนักและยึดถือเป็น แนวปฏิบัติ เนื่องจากบริษัทฯ ตระหนักเป็นอย่างดีว่าการทำงานภายใต้สภาพแวดล้อมการควบคุมที่ดีนั้นจะส่งผลให้การปฏิบัติงาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลและก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั ฯ รวมทัง้ ผูท้ เ่ี กีย่ วข้องทุกฝ่าย 2. การประเมินความเสีย่ ง (Risk Assessment) บริษัทฯ ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญของการประเมินความเสี่ยงว่าเป็นเครื่องมือที่บ่งบอกล่วงหน้าถึงสัญญาณ อันตรายทีอ่ าจสร้างความเสียหายให้แก่บริษทั ฯ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงกำหนดให้มกี ารประเมินความเสีย่ งออกเป็น 2 ระดับเป็นประจำทุกปี คือ 1) ความเสีย่ งในระดับองค์กรซึง่ กำกับดูแลโดยผูบ้ ริหารระดับสูงและ 2) ความเสีย่ งในระดับกิจกรรมซึง่ เป็นความรับผิดชอบร่วมกัน ระหว่างฝ่ายตรวจสอบภายในและผู้ปฏิบัติงานทุกฝ่าย ความเสี่ยงในระดับองค์กรได้ถูกเปิดเผยไว้แล้วในรายงานประจำปีนี้ ส่วนความเสี่ยงในระดับกิจกรรมนั้นจะเป็นการประเมินร่วมกันระหว่างฝ่ายตรวจสอบภายในซึ่งมีความเป็นอิสระกับผู้ปฏิบัติงานใน แต่ละกิจกรรมซึง่ มีความชำนาญการและเข้าใจเป็นอย่างดีถงึ กระบวนการทำงาน ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้ผลการประเมินความเสีย่ งในกิจกรรมต่างๆ ได้สะท้อนถึงความเสี่ยงที่แท้จริงที่อาจกระทบต่อการดำเนินงานของบริษัทฯ และนำเสนอผลการประเมินนี้ต่อผู้บริหารระดับสูงและ คณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาและเพือ่ ให้บริษทั ฯ สามารถกำหนดกลไกการควบคุมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) การประเมินความเสีย่ งดังกล่าวข้างต้นจะดำเนินการควบคูพ่ ร้อมกับการประเมินกลไกการควบคุมเพือ่ ให้มน่ั ใจว่าบริษทั ฯ มี การจัดวางระบบการควบคุมที่ครบถ้วน เพียงพอและเหมาะสมสอดคล้องกับความเสี่ยงต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น ทั้งนี้เพื่อเป็นการลด และกระจายความเสีย่ งต่างๆ ให้สง่ ผลกระทบต่อการดำเนินงานของบริษทั ฯ น้อยทีส่ ดุ รวมทัง้ เพือ่ ให้การดำเนินงานของบริษทั ฯ เป็น ไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 4. สารสนเทศและการสือ่ สาร (Information & Communication) บริษัทฯ ให้ความสำคัญเกี่ยวกับความถูกต้อง เชื่อถือได้และทันเวลาของข้อมูลสารสนเทศต่างๆ ทั้งนี้ เพื่อให้การตัดสินใจ เรือ่ งต่างๆ เป็นไปอย่างถูกต้อง แม่นยำ และรวดเร็วโดยจัดให้มชี อ่ งทางการสือ่ สารทัง้ ภายในและภายนอกบริษทั ฯ อย่างเป็นระบบและ มีประสิทธิภาพ สำหรับการติดต่อสื่อสารภายในบริษัทฯ จะผ่านระบบ Intranet พนักงานในทุกระดับชั้นรวมทั้งผู้บริหารระดับสูง สามารถเข้าถึงกันได้อย่างสะดวก รวดเร็วเพื่อให้การประสานการทำงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลและบรรลุ

เป้าหมายทีว่ างไว้ สำหรับการติดต่อกับบุคคลภายนอก เช่น นักลงทุน เป็นต้น บริษทั ฯ มีชอ่ งทางการติดต่อสือ่ สารผ่านช่องทางการ เผยแพร่ขอ้ มูลต่างๆ ของตลาดหลักทรัพย์ เว็บไซต์ของบริษทั ฯ รวมทัง้ ผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ เองก็พร้อมทีจ่ ะตอบข้อซักถามในประเด็น ต่างๆ จากนักลงทุนรวมทัง้ ผูม้ สี ว่ นได้เสียอืน่ ๆ 5. การติดตามและประเมินผล (Monitoring & Evaluation) บริษทั ฯ กำหนดมาตรการในการติดตามและประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ดังรายละเอียดต่อไปนี ้ ระดับการประเมิน ผูต้ ดิ ตามและประเมินผล

พนักงาน หัวหน้าแผนก ผูบ้ ริหารระดับสูง

หัวหน้าแผนก ผูบ้ ริหารระดับสูง คณะกรรมการบริษทั ฯ

ความถีข่ องการติดตามและ ประเมินผลการทำงาน (ต่อปี)

อย่างน้อย 1 ครัง้ อย่างน้อย 1 ครัง้ อย่างน้อย 4 ครัง้

ผลจากการติดตามและการประเมินที่ได้จะถูกนำไปกำหนดเป็นแผนเชิงกลยุทธ์เพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลยิง่ ขึน้


Precious Shipping Public Company Limited recognizes the importance of Internal Control Systems on an operational level to ensure that the operations are conducted efficiently with full controls and proper procedures. The Company has implemented the Internal Control Systems in accordance with the recommendations of The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) as follows: 1. Control Environment The Company has forged ahead with control environment and therefore set up the Corporate Governance Policy and Business Ethics Manual in writing. These are recognized by the staff of the Company as the basis of working. The Company recognizes that the Control Environment will lead to efficiency and effectiveness of work and bring out the best benefits to the Company. 2. Risk Assessment The Company recognizes the importance of Risk Assessment as a tool to indicate a dangerous signal that could result in loss and therefore, the Company has annually assessed prominent risks by dividing them into two categories as being on 1) Organization Level that is managed by Management and published in the Company’s Annual report, 2) Activities Level for which both, Internal Audit Department as independent entity and each specific department (being in possession of sound knowledge and skills required for operations), are responsible. Such assessments bring out the risks that affect the Company’s operations which are then required to be managed through a set up of correct and appropriate control systems. The results of Risk Assessment for various activities are reported periodically to Management and the Board of Directors for consideration. 3. Control Activities The Risk Assessment process also involves an assessment of Control Activities. The objective of assessment is to ensure that the Company has a good control systems and conforms to the related risks to decrease/distribute all risks of the Company with a view to ensuring efficiency and effectiveness of operations. 4. Information & Communication The Company recognizes the importance of accurate, reliable and prompt Information & Communication. It leads to accurate and timely data being made available for decision-making. The Company has provided an effective communication system, including internal and external channels. As an internal channel, all staff and Management can easily communicate through the Intranet System enabling the efficiency and effectiveness of communication to achieve the Company’s objectives. As an external channel, the Company provides the information though the channel of SET, the Company’s website and the Company’s top management is very prompt in answering any queries, which may be raised by Investors, or any stakeholder. 5. Monitoring & Evaluation The Company features a performance monitoring and evaluation system as follows: Level Monitored and evaluated by The frequency of monitoring and evaluation (per year)

Staff Head of Department Management

Head of Department Management Board of Directors

At least 1 time At least 1 time At least 4 times

The results of monitoring and evaluation are considered while setting up the Company’s strategic plans.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Internal Control

81


รายงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม

บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) มีความมุ่งมั่นดำเนินธุรกิจภายใต้หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ มี เจตนารมณ์ที่จะดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมควบคู่ไปกับการมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ตระหนักดีว่า การทีบ่ ริษทั ฯ มีเรือเดินทะเล 44 ลำ เดินเรืออยูท่ ว่ั โลกและเรือได้ถอื ธงสัญชาติไทยนัน้ ซึง่ เป็นเสมือนตัวแทนของประเทศ จึงเป็นหน้าที่ ของบริษทั ฯ ทีจ่ ะต้องปฏิบตั ติ ามข้อบังคับต่างๆ อย่างเคร่งครัด โดยกิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษทั ฯ สามารถแบ่ง ออกเป็น 3 ประเภทดังนี ้ ก. ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของลูกเรือทีท่ ำงานบนเรือทัง้ หมด ข. การปกป้องและพิทกั ษ์สงิ่ แวดล้อม โดยเฉพาะเรือ่ งของอากาศ และ/หรือมลพิษทางน้ำและ ค. การมุง่ มัน่ และเอาใจใส่ตอ่ ชุมชนและสังคม กิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคมเหล่านี้ ได้ดำเนินการตามรายละเอียดดังนี ้

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ก. ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

82

บริษทั ฯ ได้มกี ารว่าจ้างพนักงานและลูกเรือมากกว่า 1,000 คน (เป็นคนสัญชาติไทยประมาณ 800 คน) สำหรับพนักงาน ประจำเรือและลูกเรือบนเรือทัง้ 44 ลำ เพือ่ ให้มน่ั ใจว่ามีความปลอดภัยและอาชีวอนามัยทีด่ ี โดยเฉพาะอย่างยิง่ สำหรับลูกเรือทีท่ ำงาน บนเรือ บริษทั ฯ มีหลักการปฏิบตั ดิ งั นี ้ บริษัทฯ ได้จัดทำคู่มือเพื่อความปลอดภัยขึ้น ซึ่งได้จัดเก็บไว้ที่เรือทุกลำ ทั้งนี้เพื่อให้การดำเนินกิจกรรมบนเรือทั้งหมดถูก ควบคุมและปฏิบตั ใิ ห้บรรลุผลสำเร็จ โดยคำนึงถึงการรักษาความปลอดภัยและการป้องกันเกีย่ วกับ 1. สุขอนามัยและความปลอดภัยของลูกเรือและบุคคลอืน่ 2. ทรัพย์สนิ ของบริษทั ฯ และของคนอืน่ ๆ 3. สิง่ แวดล้อม โดยทันทีทล่ี กู เรือขึน้ ประจำการบนเรือ คนประจำเรือทุกนายจะต้องรายงานตัวต่อนายเรือและอยูภ่ ายใต้การสัง่ การของนาย เรือ พร้อมทัง้ ส่งมอบเอกสารต่างๆ เช่น หนังสือเดินทาง หนังสือคนประจำเรือ ใบสำคัญการฉีดวัคซีน สัญญาว่าจ้างทีม่ ผี ลบังคับใช้แก่ นายเรือ และจัดเก็บบัญชีรายการต่างๆ ในที่ที่เหมาะสม รวมทั้งเรียนรู้และทำความคุ้นเคยกับเรือซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของรายการตรวจ สอบความคุ้นเคยกับเรือ ทั้งนี้ห้องพักทั้งหมดของลูกเรือจะมีหมายเลขเรือช่วยชีวิต (Life Boat) ตามบัญชีรวมพล หรือจุดรวมพลใน เหตุการณ์ฉกุ เฉิน ลูกเรือทุกนายต้องศึกษาอย่างละเอียดเกี่ยวกับกรณีเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน รายการ/หมายเลขเรือช่วยชีวิต และแผนการรักษา ความปลอดภัย ซึ่งติดประกาศไว้ในตำแหน่งที่สำคัญบนเรือ ลูกเรือทุกนายจะได้รับการสอนและฝึกอบรมเกี่ยวกับการรักษาความ ปลอดภัย และให้ทราบถึงหน้าที่ของตนที่ได้รับมอบหมายเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน ส่วนกัปตันเรือหรือผู้แทนจะรับผิดชอบในสถานการณ์ ฉุกเฉินและประสานการปฏิบตั กิ ารฉุกเฉินทัง้ หมด นอกจากนัน้ กัปตันเรือยังจะต้องกระทำการใดๆ ก็ตาม ซึง่ เป็นสิง่ จำเป็นเพือ่ ความ ปลอดภัยของคนประจำเรือ เรือและสินค้า สำหรับข้อกำหนดในนโยบายเกีย่ วกับสุขอนามัยและความปลอดภัยนัน้ เป็นนโยบายของบริษทั ฯ ทีจ่ ะสนับสนุนกิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมสุขอนามัยและความปลอดภัยของลูกเรือ บริษทั ฯ ให้ความสำคัญต่องานด้านสุขภาพและความปลอดภัยเท่าเทียมกับงานเชิง พาณิชย์และงานด้านการปฏิบัติงาน และเห็นว่าเป็นความรับผิดชอบของผู้บริหาร กล่าวคือ ความรับผิดชอบเกี่ยวกับสุขภาพและ ความปลอดภัยของลูกเรือ มีความชัดเจนและกำหนดเป็นสัดส่วน โดยมีจุดมุ่งหมายว่าอุบัติเหตุนั้นสามารถป้องกันได้โดยการจัดการ ความเสีย่ ง วัตถุประสงค์ของนโยบายเกีย่ วกับสุขอนามัยและความปลอดภัย ได้แก่ 1. เพือ่ บ่งบอกลักษณะสิง่ ต่างๆ ทีอ่ าจจะเป็นอันตรายได้และจัดให้มแี บบแผนสิง่ อำนวยความสะดวกและการวางแผนเพือ่ มิให้มอี บุ ตั เิ หตุเกิดขึน้


Corporate Social Responsibility Statement

Precious Shipping Public Company Limited is committed to conducting business under Good Corporate Governance principles. The Company does business ethically whilst at the same time, strives for the betterment of the society and the environment. The Company acknowledges that its unique character, of having its 44 ships trade all over the world flying the Royal Thai Flag, obliges it to act as the country’s ambassador to the world and the Company takes this responsibility very seriously. The Company’s Corporate Social Responsibility (CSR) activities can thus be categorized into three areas, A. SAFETY AND OCCUPATIONAL HEALTH of all seafarers serving onboard our ships, B. PROTECTION AND CONSERVATION OF ENVIRONMENT, particularly in terms of air and/or water pollution, and C. engaging the COMMUNITY AND SOCIETY in a meaningful manner. These CSR activities are elaborated in this section as under. The Company employs more than 1,000 people (including about 800 Thai nationals) as Officers and Crew onboard its 44 vessels. In order to ensure safety and occupational good health specifically for the crew on the Company’s ships, the following practices are followed: The Company has provided Pocket Safety Guide which are sent to all the Ships. All activities are always governed by and carried out with utmost care for the safekeeping and protection of: 1. The health and safety of the employees and of other persons; 2. Company’s property and that of others 3. The environment Upon arrival on board, crew members are expected to report to the Master and leave in his custody, their documents and certificates and familiarize themselves with the ship. Familiarization training is undertaken as per familiarization check list and details of life boats according to the boat muster list and their muster point in the event of emergency are posted in their cabins. The crew is expected to carefully study the emergency and boat muster lists and the safety plans which are placed at strategic locations on board. Every one is trained to be responsible for their safety, and is made aware of their designated role in an emergency. The Master, or his substitute, has overall responsibility in all emergency operations and coordinates all emergency operations. He will take whatever actions are necessary to save the crew, vessel and cargo. For the Health and Safety Policy Statement, it is the Company’s policy to conduct its activities in a manner that promotes the health and safety of its employees so that the actions of the Company, and its employees, promote the health and safety of others. The Company considers health and safety to contribute equally with commercial and operational factors and is considered a management responsibility. To this end, the health and safety responsibilities of all personnel have been defined and allocated. The Safety Management System is intended to affirm that the Company achieves its purpose in this area and is based on the philosophy that accidents can be prevented by the identification and management of risk. The objectives of Health and Safety Policy Statement are as follows: 1. To identify all potential hazards and design equipment, facilities and procedures with the aim of eliminating accidents;

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

A. SAFETY AND OCCUPATIONAL HEALTH

83


2. เพื่อสร้างวิธีการปฏิบัติและมาตรฐานเพื่อก่อให้เกิดความปลอดภัยในสุขภาพและสภาพแวดล้อมในการทำงานสำหรับ ลูกเรือทุกคน 3. ฝึกอบรมและให้คำแนะนำแก่คนประจำเรือ เพือ่ สามารถปฏิบตั งิ านตามหน้าทีท่ ร่ี บั ผิดชอบและเกีย่ วกับความปลอดภัย อย่างมีประสิทธิภาพ 4. จัดหาและรักษาให้มชี อ่ งทางการติดต่อสือ่ สารอย่างมีประสิทธิภาพ 5. ให้ความรู้เกี่ยวกับสุขอนามัยและความปลอดภัยในทุกระดับ ตลอดจนสนับสนุนให้ลูกเรือได้มีส่วนร่วมในการส่งเสริม ด้านความปลอดภัย 6. ปฏิบตั ติ ามระบบการตรวจสอบเพือ่ วัดผลประสิทธิภาพของการจัดการเพือ่ สุขภาพและความปลอดภัย 7. ปฏิบตั ติ ามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องและแนวทาง / แบบแผนการปฏิบตั ทิ ด่ี ขี องอุตสาหกรรมการเดินเรือ 8. ให้ขอ้ มูลทีเ่ พียงพอกับคูส่ ญ ั ญา เพือ่ ให้เข้าใจในนโยบายของบริษทั ฯ รวมทัง้ มาตรฐานเพือ่ ความปลอดภัย ลูกเรือทุกคนมีหน้าที่ที่จะต้องรับผิดชอบและระมัดระวังเพื่อป้องกันตนเอง ผู้ร่วมงานและบุคคลอื่นจากการบาดเจ็บหรือ ป้องกันการเจ็บป่วย ซึง่ อาจเกิดขึน้ จากการกระทำของลูกเรือเอง โดยข้อกำหนดนโยบาย วิธปี ฏิบตั ริ ว่ มกันและการฝึกปฏิบตั จิ ะได้รบั การทบทวนอย่างสม่ำเสมอและเมือ่ มีปจั จัยใหม่ๆ ทีเ่ ป็นผลต่อสุขภาพและความปลอดภัย ทัง้ นี้ เพือ่ ให้แน่ใจได้วา่ นโยบายเพือ่ สุขภาพ และความปลอดภัยของบริษทั ฯ ได้มกี ารปรับปรุงอย่างต่อเนือ่ งตลอดเวลา นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้กำหนดนโยบายเกีย่ วกับยาเสพติดและการดืม่ เครือ่ งดืม่ ทีม่ แี อลกอฮอล์ให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะ ของ OCIMF ในเรือ่ ง “คำแนะนำสำหรับการควบคุมยาเสพติดและเครือ่ งดืม่ ทีม่ แี อลกอฮอล์บนเรือ” ซึง่ รายละเอียดจะระบุอยูใ่ นคูม่ อื ระบบการจัดการเพือ่ ความปลอดภัยบนเรือทุกลำ รวมทัง้ ประกาศให้พนักงานทุกคนรับทราบ มีอกี หลายประการเกีย่ วกับนโยบายดังกล่าว เนือ่ งจากยาเสพติดและเครือ่ งดืม่ ทีม่ แี อลกอฮอล์นน้ั ทำให้เกิดความรูส้ กึ เฉือ่ ยชา ในขณะปฏิบตั งิ าน ซึง่ อาจจะทำให้ตนเองและเพือ่ นคนงานประจำเรือตกอยูใ่ นความเสีย่ งโดยไม่จำเป็น ในกรณีทม่ี กี ารตรวจพบสิง่ ผิด ปกติเกิดขึ้นบริษัทฯ จะร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ตำรวจหรือหน่วยงานซึ่งมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวข้องในการดำเนินคดี ฟ้องร้อง ผู้ใช้หรือมี

ยาเสพติดไว้ในครอบครองรวมทัง้ สิง่ ผิดกฎหมายอืน่ ๆ บนเรือ ลูกเรือแต่ละคนต้องได้รบั การพักผ่อนทีเ่ พียงพอซึง่ ถือว่าเป็นสิง่ จำเป็น เพือ่ หลีกเลีย่ งความเหนือ่ ยล้า และความตึงเครียด ซึง่ อาจมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดอุบัติเหตุบนเรือ ดังนั้นบริษัทฯ จึงปฏิบัติตามข้อกำหนดเกี่ยวกับเวลาการพักผ่อนอย่างน้อยที่สุดตาม อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการฝึกอบรม การออกประกาศนียบัตรและการเข้ายามสำหรับคนบนเรือ ค.ศ. 1995 (STCW 95) และอนุสญ ั ญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ 180

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

84

พี เ อสแอล บริ จ าคเงิ น 100,000 บาท แก่ ส ภาสั ง คมสงเคราะห์ แ ห่ ง ประเทศไทยใน พระบรมราชูปถัมภ์ บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) (พีเอสแอล) บริจาคเงิน 100,000 บาท แก่สภา สังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อส่งเสริมพัฒนาความรู้และทักษะ อาชีพแก่คนพิการ ในภาพ: มร. โคคา วี. สุดาการ์ ผูอ้ ำนวยการฝ่ายบริหารกองเรือ พีเอสแอล เข้ารับโล่ห์ พระราชทานประกาศเกียรติคุณจากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทิ

นัดดามาตุ ในงานวันคนพิการครัง้ ที่ 43 วันที่ 10 พฤศจิกายน 2550 ณ หอประชุมใหญ่สวนอัมพร PSL contributes Baht 100,000 to Council on Social Welfare of Thailand under The Patronage of His Majesty The King

Precious Shipping PCL. (PSL) contributed Baht 100,000 to Council on Social Welfare of Thailand under The Patronage of His Majesty The King for fostering knowledge and career skills of disabled people. As seen in photo: Mr. Koka V. Sudhakar, PSL’s Vice President - Fleet Management receiving certificate from HRH Princess Soamsawalee on the 43rd Cripple Day at Suan Amporn Convention Center on November 10 2007.


2. To establish practices, procedures and standards which create a safe and healthy working environment for all crew members; 3. To provide employees with training and information to enable them to fulfill their responsibilities and duties in a safe and efficient manner; 4. To provide and maintain clear lines of communication; 5. To foster health and safety awareness at all levels, thereby encouraging employees to participate in the enhancement of safety; 6. To operate formal monitoring systems to measure the effectiveness of the arrangements for health and safety; 7. To comply with relevant legislation and best industry practices; and 8. To provide contractors with necessary information so that they understand the Company’s policy and meet the Company’s safety standards in all areas. All crew members have a duty to act responsibly and to take precautions to protect themselves, their colleagues, and any other persons from injury or preventable illness, which might arise from their actions and to ensure that the Company’s health and safety performance is continuously improved, the policy statement and associated procedures and practices are reviewed regularly and when any new factors affecting health and safety arise, adequate steps are taken. Moreover, the Company also has a Drug and Alcohol Abuse Policy. It is based on the recommendations contained in OCIMF’s “Guidelines for the Control of Drugs and Alcohol On Board Ship”. They are detailed in the Safety Management System available on all vessels and displayed for all crew members. There are many good reasons for such a policy not least, that drugs and alcohol dull their senses while they are at work, placing them and their fellow seafarers unnecessarily at risk and if any contravention is detected in this regard, the Company will co-operate fully with the police or other public authorities in the prosecution of any person using or possession Drugs or illegal substances on board. Ensuring that each crew member gets enough rest is a necessity. In order to avoid fatigue and stress related accidents on board, minimum rest periods have been recommended by STCW 95 convention and ILO Convention 180. In order to comply with the Company’s safety procedures, a safety organization has been appointed / elected. The organization will ensure that safety and environmental questions are brought to the attention of the crew and/or the ship’s management. Potential hazards are to be noted and attended to as soon as identified, not left until the next safety meeting. The safety organization has the following responsibilities: เยี่ยมชมเรือพัชระ นารี บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) หรือ “พีเอสแอล” ได้จดั ให้คณะผูส้ อบ บัญชีจากบริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด เข้าเยีย่ มชมเรือพัชระ นารี ในวันที่ 17 ตุลาคม 2550 ณ อูต่ อ่ เรืออาชิมา่ กรุงเทพฯ โดยเรือพัชระ นารีเป็นเรือ ลำหนึง่ ในจำนวนทัง้ หมด 44 ลำของพีเอสแอล Visiting M.V. Patchara Naree

Precious Shipping PCL. (PSL) organized a visit to M.V. Patchara Naree for Ernst & Young Office Limited external auditors in Bangkok on 17th October 2007 at ASIMAR Shipyard, Bangkok. M.V. Patchara Naree is one of the 44 ships owned by PSL

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

85


เพื่อให้เป็นไปตามวิธีการเพื่อความปลอดภัยของบริษัทฯ บริษัทฯจึงจัดตั้งหน่วยงานดูแลความปลอดภัย เพื่อให้มั่นใจว่า ลูกเรือและผู้บริหารเรือจะได้เข้าใจและตระหนักถึงการรักษาความปลอดภัยและการรักษาสภาพแวดล้อม สิ่งที่อาจเป็นอันตรายต้อง ประกาศแจ้งให้ทราบทันที โดยไม่ต้องรอการประชุมเพื่อความปลอดภัยในครั้งต่อไป องค์กรเพื่อความปลอดภัยมีหน้าที่รับผิดชอบ ดังต่อไปนี ้ • วางแผน จัดการและร่วมมือเพือ่ สุขภาพและความปลอดภัยเกีย่ วกับงานทีท่ ำ • บันทึกสภาพแวดล้อมการทำงานทีก่ อ่ ให้เกิดปัญหา • จัดทำข้อเสนอแนะ รวมทัง้ การลำดับความเร่งด่วนและตารางเวลาหรือวิธกี ารแก้ปญ ั หาทีเ่ ป็นไปได้ • ควบคุมสภาวะเกีย่ วกับความปลอดภัยและสุขภาพ • เพื่อแน่ใจได้ว่าสาเหตุของอุบัติเหตุ การเจ็บป่วยและการพลั้งเผลอขาดความรอบคอบ มีการสอบสวนและนำไปสู่ มาตรการเพือ่ ป้องกันการเกิดขึน้ อีก • รายงานให้ทราบเกีย่ วกับบทบัญญัตซิ ง่ึ มีผลบังคับใช้ รวมทัง้ การวางหลักการเกีย่ วกับการฝึกหัดและการชีแ้ นะของนาย ประจำเรือและลูกเรือ ดังทีไ่ ด้กล่าวข้างต้น กองเรือของบริษทั ฯ ส่วนใหญ่ถอื ธงสัญชาติไทย บริษทั ฯ จึงพยายามอย่างยิง่ เพือ่ ปกป้องและรักษาไว้ ซึง่ ชือ่ เสียงของประเทศไทย โดยเรือทุกลำของบริษทั ฯ มีมาตรการความปลอดภัยสูงกว่าข้อบังคับระเบียบปฏิบตั โิ ดยทัว่ ไป ดังเช่นหนึง่ ในอนุสญ ั ญาทีต่ อ้ งปฏิบตั ิ คือ ISM Code ซึง่ มีรายละเอียดดังนี ้

ประมวลกฎระเบียบเกี่ยวกับการจัดการเพื่อความปลอดภัยระหว่างประเทศ (International Safety Management Code (ISM Code))

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ประวัติ : การเรียนรูจ้ ากประสบการณ์ เหตุการณ์ทางทะเลตลอดหลายปีทผ่ี า่ นมา ได้นำมาซึง่ ประมวลกฎระเบียบเกีย่ วกับ การจัดการเพือ่ ความปลอดภัยระหว่างประเทศ International Safety Management Code หรือ ISM Code ซึง่ ได้ถกู เผยแพร่โดย องค์กร การเดินเรือระหว่างประเทศ ซึง่ ส่งเสริมการรักษาความปลอดภัยในการดำเนินงานของเรือเดินทะเลและการป้องกันมลพิษต่างๆ ในเดือน กรกฎาคม 2541 ISM Code ได้กลายเป็นข้อบังคับสำหรับเรือขนส่งผูโ้ ดยสาร เรือบรรทุกน้ำมัน และเรือทีม่ คี วามเร็ว สูง ISM Code ถูกจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ด้านการบริหารความปลอดภัย เพื่อให้การบริหารด้านความปลอดภัยได้ถูกจัดตั้งขึ้น ภายในองค์กรต่างๆ เช่น บริษทั เจ้าของเรือ หรือบุคคลต่างๆ ทีร่ บั ผิดชอบด้านการเดินเรือ เช่น ผูจ้ ดั การ หรือ ผูเ้ ช่าเรือแบบเหมาลำ (Bareboat Charterer) ได้มคี วามตระหนักถึงความสำคัญด้านความปลอดภัย

86

พีเอสแอล มอบเหรียญทองแก่นักเรียนของศูนย์ฝึกพาณิชยนาวีที่มีผลการเรียนดี บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (พีเอสแอล) มอบรางวัลเหรียญทองแก่นกั เรียนของ ศูนย์ฝึกพาณิชยนาวี ประเทศไทย ที่มีผลการเรียนดีเด่น โดยการมอบรางวัลดังกล่าวจัดขึ้น เป็นประจำทุกปีตง้ั แต่ปี 2541 เป็นต้นมา ในภาพ : มร. โคคา วี. สุดาการ์ ผูอ้ ำนวยการฝ่ายบริหารกองเรือ พีเอสแอล กำลัง มอบรางวัลเหรียญทองแก่นักเรียนของศูนย์ฝึกพาณิชยนาวี ประเทศไทย ที่มีผลการเรียนดี เด่นและประพฤติด ี PSL awards Gold medals to MMTC’s toppers

Precious Shipping PCL. (PSL) awarded Gold medals to the top graduates of the Merchant Marine Training Center, Thailand. Such awards have been organized on a regular basis by PSL since 1998. Seen in the photo: Mr. Koka V. Sudhakar, PSL’s Vice President - Fleet Management awarding the Gold medals to graduates of the Merchant Marine Training Center, Thailand.


• • • • •

To plan, manage and coordinate occupational health and safety matters. To put environmental working problems on record. To make proposals, including giving priority and timetables or solutions of possible problems. Control safety and health conditions. To ensure that causes of accidents, cases of illness and “near misses” are investigated and to introduce measures to prevent recurrence. • To keep itself informed about the provisions in force and lay down principles for required training and instruction of the officers and ratings.

As stated at the outset, the Company’s ships fly the Royal Thai flag and thus act as brand ambassadors of the “Thai” brand wherever the ships call. The Company makes every effort to preserve the sanctity of the “Thai” brand by ensuring that all the ships are safely operated in accordance with the prevailing regulations and conventions. One such convention is the ISM Code, explained in more detail below. International Safety Management Code (ISM Code)

พีเอสแอล บริจาคคอมพิวเตอร์ 15 เครื่อง แก่โรงเรียนบ้านค้อ จังหวัด สุรินทร์ เพื่อใช้ ในการเรียนการสอน นายธีระ วิภชู นิน กรรมการอิสระของพีเอสแอล ได้มอบเครือ่ งคอมพิวเตอร์จำนวน ทัง้ สิน้ 15 เครือ่ งแก่โรงเรียนบ้านค้อ จังหวัดสุรนิ ทร์เพือ่ ใช้ในการเรียนการสอนเมือ่ วันที่ 12 ตุลาคม 2550 โดยมีคณะนักเรียนและชาวบ้านร่วมเป็นสักขีพยานในการ รับมอบ PSL donates 15 computers for teaching program to Ban Koh School in Surin Province.

Mr. Thira Wipuchanin, Independent Director of PSL handed over 15 computers for teaching program to Ban Koh School in Surin Province on October 12, 2007. The school’s pupils and villagers together witnessed the donation.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Background information: Learning from various marine casualties over the years, “International Safety Management Code” (ISM Code) was introduced by the International Maritime Organization, to enhance the safe operation of ships and pollution prevention. In July 1998 the ISM Code became mandatory for passenger ships, tankers and high-speed crafts. The Code establishes safety-management objectives and requires a safety management system (SMS) to be established by “the Company”, which is defined as the Ship-owner or any person, such as the Manager or Bareboat charterer, who has assumed responsibility for operating the ship. The Company is then required to establish and implement a policy for achieving these objectives. This includes providing the necessary resources and shore-based support. The Company is expected “to designate a person or persons ashore having direct access to the highest level of management”. The procedures required by the Code should be documented and compiled in a Safety Management Manual, a copy of which is to be kept on board. The provisions of the ISM code and ISO 9001 (obtained in 1995 by the Company) Quality standards largely complement each other, with the latter giving more emphasis on “customer satisfaction”.

87


บริษทั ฯ จึงได้ดำเนินการและดำเนินนโยบายเพือ่ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ดงั กล่าวข้างต้นแล้ว ซึง่ รวมถึงการจัดเตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ์พน้ื ฐานต่างๆ ทีจ่ ำเป็นและการแต่งตัง้ บุคคลหรือเจ้าหน้าทีป่ ระจำสำนักงาน ซึง่ รายงานตรงต่อผูบ้ ริหารระดับสูง การปฏิบตั กิ ารตามข้อบังคับของ ISM Code ถูกจัดทำเป็นเอกสารและรวมอยูใ่ นคูม่ อื ด้านการบริหารความปลอดภัย ซึง่ เก็บ รักษาไว้บนเรือ โดยได้ปฏิบตั ติ ามข้อกำหนดของ ISM Code และมาตรฐานด้านคุณภาพ ISO 9001 (บริษทั ฯ ได้รบั การรับรองในปี 2538) ซึง่ ข้อกำหนดแบบหลังนี้ จะมุง่ เน้นในเรือ่ งความพึงพอใจของลูกค้าเป็นสำคัญ ประมวลกฎข้อบังคับนี้ถูกนำไปใช้บนเรือและที่สำนักงาน จุดมุ่งหมายเพื่อให้เป็นมาตรฐานสากลของการบริหารความ ปลอดภัยและการเดินเรือ รวมทัง้ การป้องกันมลพิษ วัตถุประสงค์ทว่ั ไปของ ISM Code มีดงั นี ้ 1. เพือ่ ให้เกิดความปลอดภัยในการเดินเรือ 2. เพือ่ ป้องกันการบาดเจ็บและสูญเสียชีวติ 3. เพือ่ หลีกเลีย่ งการกระทำความเสียหายต่อสิง่ แวดล้อม

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

คู่มือคุณภาพและความปลอดภัยบนเรือ

88

ด้านทรัพยากรบุคคล ตลอดหลายปีที่ผ่านมา บริษัทฯ ไม่เพียงแต่มีความชำนาญด้านการบริหารการเดินเรือเท่านั้น แต่ยังได้มีการพัฒนาด้าน คุณภาพ และความสามารถของพนักงานทัง้ บนเรือและทีส่ ำนักงานอีกด้วย ทั้งนี้บริษัทฯ เห็นว่าบริษัทฯ สามารถประสบความสำเร็จตามเกณฑ์คุณภาพและความปลอดภัยในการเดินเรือได้ด้วยการ อุทศิ ตนและความซือ่ สัตย์ของลูกเรือ ผูจ้ ดั การฝ่ายต่างๆ และฝ่ายตรวจสอบบนเรือ บริษทั ฯ จึงมีนโยบายทีจ่ ะสนับสนุนและส่งเสริมความรูค้ วามสามารถและประสิทธิภาพของคนประจำเรือและให้โอกาสพวก เขาได้มคี วามก้าวหน้าในองค์กรต่อไป การฝึกอบรม พนักงานประจำเรือทุกนาย (ระดับ Officer) ของบริษทั ฯ ถูกกำหนดให้เข้าร่วมฟังการบรรยายสรุป ณ สำนักงานใหญ่ของ บริษัทฯ กรุงเทพฯ ก่อนที่จะถูกมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่บนเรือของบริษัทฯ พนักงานประจำเรือ จะได้รับข้อมูลข่าวสารที่เป็น ประโยชน์ทเ่ี ป็นปัจจุบนั อย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง และบ่อยครัง้ ทีพ่ นักงานประจำเรือจะถูกส่ง ไปอบรมเพือ่ เพิม่ เติมความรูแ้ ละประสบการณ์ โดยบริษทั ฯ จะเป็นผูร้ บั ผิดชอบด้านค่าใช้จา่ ยทัง้ หมดทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ยังมีการฝึกอบรมโดยนำโปรแกรมวีดที ศั น์ เกีย่ วกับความปลอดภัยบนเรือทีด่ มี าใช้อกี ด้วย เพื่อให้เกิดแรงจูงใจต่อพนักงานประจำเรือใหม่ และให้เกิดการเรียนรู้ตลอดเวลาที่ประจำการบนเรือ บริษัทฯ จึงกำหนดให้ นายประจำเรืออาวุโสทำกิจกรรมร่วมกัน และเพือ่ ทดสอบวัดระดับความสามารถ บริษทั ฯ ได้จดั หาคอมพิวเตอร์สำหรับวัดระดับความ สามารถไว้ประจำบนเรือ โดยผลของการทดสอบดังกล่าวทำให้พนักงานประจำเรือสามารถทราบจุดอ่อนของตนเองและกำหนด แนวทางแก้ไขเพือ่ ปรับปรุงจุดอ่อนดังกล่าวต่อไป ศูนย์ฝกึ อบรมการเดินเรือทะเลและหอบังคับการเดินเรือจำลอง บริษัทฯ ได้เริ่มต้นจัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมการเดินเรือทางทะเลและหอบังคับการเดินเรือจำลอง ณ สำนักงานใหญ่ กรุงเทพฯ โดยอุปกรณ์ทง้ั หมดได้จดั ส่งมาถึงบริษทั ฯ แล้ว ซึง่ จะสามารถใช้การได้อย่างสมบูรณ์ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2551 โดยสิง่ เหล่านี้ จะ เป็นการวางรากฐานทีม่ น่ั คงของกระบวนการฝึกอบรมต่างๆ ของบริษทั ฯ และสามารถทำให้ทง้ั พนักงานและลูกเรือได้มกี ารพัฒนาเรือ่ ง ของการดำเนินการเดินเรือทะเลอย่างทันสมัย สำหรับหอบังคับการเดินเรือจำลองจะถูกสร้างให้เหมือนหอบังคับการจริงของเรือ โดย สร้างสถานการณ์ขณะนำเรือเข้าสูท่ า่ เรือหลัก เพือ่ ให้พนักงานและลูกเรือได้เห็นภาพและเข้าใจระบบการนำเรือเข้าเทียบท่า สิง่ เหล่านี้ เป็นก้าวที่สำคัญของบริษัทฯ ที่จะดำเนินการฝึกอบรมให้พนักงานและลูกเรือมีการดูแลตัวเองที่ดีและดูแลเรือที่ต้องประจำการ ทัง้ หมดนีค้ อื ความมุง่ หมายเพือ่ ให้มน่ั ใจในความปลอดภัยของลูกเรือและเป็นการป้องกันอุบตั เิ หตุและเป็นการอนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมด้วย สุขอนามัย บริษัทฯ จัดระบบเวชกรรมที่เหมาะสมในระดับที่สูงกว่ามาตรฐานของ International Labor Organization (ILO) รวมทั้งข้อ

บังคับอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ ทำให้บริษทั ฯ ประสบปัญหากรณีลกู เรือล้มป่วยน้อยมาก


The Code is implemented on board the vessels and offices ashore. The purpose of the Code is to provide an international standard for the safe management and operation of ships and for pollution prevention. The objectives of the ISM Code are to: 1. Ensure safety at sea. 2. Prevent human injury or loss of life. 3. Avoid damage to the environment. Human resources Over the years the Company has not only acquired expertise in the field of ship management, but, in the process, has developed a pool of highly qualified and competent staff, both, on-board and ashore. It is through this dedicated and loyal work force of floating staff, technical superintendents, and internal auditors that the Company has been able to achieve high standards of Safety and Quality in all aspects of ship operations. It is the Company’s policy to encourage and support competent and efficient seafarers and give them the opportunity to grow within the Organization. Training All officers are required to visit the head office for briefing before being assigned to vessels. Here, they are briefed and updated about new developments and practices in the industry. Regular updates are also sent to the vessels. Officers are often sent to attend value addition courses in order to enhance their skills. The costs for these courses are borne by the Company. The Company is also subscribing for the best on board video training programs available in the market. In order to motivate the junior officers and also keep up with the process of learning while on board, senior officers are asked to actively interact with them. In order to measure their levels of competency, computer based competency test facility is provided on board. Based on the results of these tests, officers are able to determine their weaknesses and work to improve upon on weak areas. Maritime Training Center & Bridge Navigation Simulator The Company has commenced the set up of a full-fledged Maritime Training Center at its Head Office in Bangkok which includes a state-of-the-art Bridge Navigation Simulator. All the equipment for the same has been delivered to the Company, and the facility itself will be fully ready by February 2008. This will give a solid foundation to the Company’s training activities and will enable its Officers and Crew to keep abreast of the latest developments in ship operations. The Bridge Navigation Simulator recreates the actual bridge on a ship as it enters a major port and provides ideal conditions in which to train Officers and Crew in ship-handling and navigation. This is a significant step taken by the Company to train and equip its Officers and Crew to take better care of themselves and their ships, all with a view to ensure Safety of the Crew and preventing accidents, thus preserving the environment. Health The Company’s medical fitness requirements are higher than the standards set by International Labour Organization (ILO) and other regulatory bodies. As a result, the Company finds very few cases of fitness or sickness related problems amongst its seafarers.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Overview of Quality and Safety Practices on Board the Company’s ships

89


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

90

การตรวจสอบภายในบนเรือ การตรวจสอบภายในบนเรือประจำปี ไม่ได้เจาะจงเฉพาะการสอบทานการปฏิบตั ติ าม ISM Code เท่านัน้ แต่ยงั รวมถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ของบริษทั ฯ อีกด้วย การตรวจสอบจะถูกดำเนินการโดยทีมงานทีม่ คี ณ ุ สมบัตแิ ละประสบการณ์ทเ่ี หมาะสม และผูต้ รวจสอบภายในบนเรือจะรายงานผลการปฏิบตั งิ านต่อกรรมการผูจ้ ดั การโดยตรง การพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง ในกรณีทเ่ี กิดการไม่ปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง หรืออุบตั เิ หตุตา่ งๆ จะถูกนำไปสืบสวนและวิเคราะห์ เพือ่ หาสาเหตุ ขัน้ ตอนการดำเนินงานต่างๆ จะถูกนำมาทบทวนทันที มาตรการการป้องกันจะถูกกำหนดและนำไปปฏิบตั ใิ ช้ทง้ั กองเรือ ของบริษทั ฯ เพือ่ หลีกเลีย่ งการเกิดขึน้ ซ้ำอีกครัง้ นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ยังได้กำหนดให้มกี ารประเมินจุดแข็ง จุดอ่อนและทิศทางของระบบต่างๆ ทีจ่ ะมีขน้ึ ในอนาคต และการ วิเคราะห์ผลการไม่ปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ประจำปี รวมทัง้ การจัดประเภทของการไม่ปฏิบตั ติ ามดังกล่าวออกเป็น หมวดหมู่อย่างชัดเจน เช่น จำนวนผู้ได้รับบาดเจ็บ เครื่องยนต์เสียหาย สินค้าเสียหาย การเกยตื้น เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะถูกนำมา วิเคราะห์ ซึง่ ผลของการวิเคราะห์ปญ ั หาทีเ่ กิดซ้ำๆ จะถูกหยิบยกขึน้ ขัน้ ตอนการดำเนินงานต่างๆ จะถูกนำมาทบทวน และมาตรการ การป้องจะถูกนำมาใช้ เหล่านีจ้ ะช่วยพัฒนาระบบการบริหารความปลอดภัย (Safety Management System) ให้ดขี น้ึ อย่างต่อเนือ่ ง การแบ่งปันการเรียนรู้ บทเรียนต่างๆ ทีไ่ ด้จากการเรียนรูจ้ ากอุบตั เิ หตุตา่ งๆ และความผิดพลาดเล็กๆ น้อยๆ ทีเ่ กิดขึน้ จะถูกถ่ายทอดโดยบริษทั เดิน เรือต่างๆ ผ่าน Marine Accident Reporting Scheme (MARS) เพือ่ ผลประโยชน์ของอุตสาหกรรมเรือ และทำให้ความปลอดภัยของการ เดินเรือโดยทัว่ ไปสูงขึน้ นอกจากนี้บริษัทฯ กำลังทำการพัฒนาระบบซอฟท์แวร์สำหรับการดำเนินงานให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลกันได้ระหว่าง สำนักงานใหญ่และกองเรือของบริษทั ฯ ซึง่ ระบบดังกล่าวจะถูกพัฒนาให้ดขี น้ึ อย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากบริษทั ฯ เห็นว่าการสือ่ สาร คือองค์ประกอบทีส่ ำคัญสำหรับการดำเนินงานของเรือ และเป็นประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ ในอนาคต การทำงานเป็นทีม บริษัท เกรท เซอร์เคิล ชิปปิ้ง เอเยนซี่ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ และรับผิดชอบด้านการบริหารการเดินเรือ สำหรับกองเรือทั้งหมดของบริษัทฯ โดยเจ้าหน้าที่ทุกคนมีการทำงานเป็นทีมและจัดให้มีการประสานงานที่ดีซึ่งช่วยทำให้บริษัทฯ ประสบความสำเร็จในการบริหารการเดินเรือ บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด ยังได้รบั ประกาศนียบัตรของ ISM Code และการรับรองมาตรฐานคุณภาพ ISO 9001:2000 ด้วย ข้อบังคับว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยของเรือและท่าเรือระหว่างประเทศ ซึง่ มีผลบังคับใช้ตง้ั แต่เดือนกรกฎาคม 2547 สำหรับเรือขนส่งผูโ้ ดยสาร และเรือขนส่งสินค้า และเป็นข้อบังคับสากลทีเ่ รือเดิน ทะเลและท่าเทียบเรือต่างๆ จะต้องปฏิบัติตาม และมีแนวทางสากลในเรื่องการร่วมมือกันตรวจสอบการปฏิบัติที่คุกคามต่อความ ปลอดภัยสำหรับการขนส่งทางทะเล ภายใน 2 เดือนหลังจากเหตุการณ์อันน่าสลดใจ 11 กันยายน 2544 องค์กรเดินเรือสากล (International Maritime Organization) ต่างเห็นพ้องกันว่าควรพัฒนาข้อบังคับนี้ใหม่ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของเรือเดินทะเลและท่าเรือในเดือน พฤศจิกายน 2544 ISPS แตกต่างกับ ISM Code เนือ่ งจาก ISM Code มีมามากกว่า 10 ปีแล้ว ในขณะที่ ISPS เพิง่ จะถูกรับรองและเริม่ ใช้ บังคับ ข้อบังคับของ ISPS มีการโต้แย้งอย่างกว้างขวางในกลุม่ อุตสาหกรรมเรือเดินทะเล บริษทั ฯ ได้ประสบความสำเร็จอย่างดีในการปฏิบตั ติ ามข้อบังคับ ISPS สำหรับเรือทุกลำในกองเรือของบริษทั ฯ ด้วยการจัด ให้มกี ารประเมินความปลอดภัยบนเรือและการจัดทำแผนการพัฒนาด้วยทรัพยากรต่างๆ ทีม่ อี ยูข่ องบริษทั ฯ การฝึกอบรมแก่พนักงาน และลูกเรือภายใต้ขอ้ บังคับนี้ จะทำให้สามารถปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความปลอดภัยในแบบวิธที เ่ี หมาะสม เพือ่ มัน่ ใจได้วา่ มีความปลอดภัย ต่อพนักงานและตัวเรือและบุคคลอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องหรือทรัพย์สนิ ต่างๆ


Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Internal audits (for Ships) Annual internal audits are conducted on board not only as a requirement of the ISM code, but, also as a means of self-regulation. These audits are carried out by a dedicated team of qualified and experienced ship auditors reporting directly to the Managing Director. Continual Improvement All incidents of non-compliances, accidents and near misses are thoroughly investigated and analyzed. Procedures are reviewed immediately. Preventive measures are initiated and implemented across the fleet to eliminate the root cause so as to avoid any recurrence. In order to identify the strengths, weaknesses and trends of the system, an annual analysis of all nonconformities is done, segregating the non-conformities under various categories. For example: total number of personnel injuries, machinery damages, cargo damages, grounding, etc. is collated and analysed. Based on the analysis, recurrent issues are identified, procedures reviewed and preventive measures implemented, thus enabling improvement of the SMS. Sharing lessons learned All lessons learned from various accidents and near miss incidents are shared with organizations like Marine Accident Reporting Scheme (MARS) for the mutual benefit of the industry and to enhance maritime safety in general. The Company is in the process of the implementation of reputed Software covering all operations in the Head Office linking all vessels in the fleet. Communication, which is a key element of ship operation, is being further improved with obvious benefits to come. Teamwork Unlike a conventional ship owning Company, which, outsources the technical management of its ships, the Company’s Management Company, viz. Great Circle Shipping Agency Limited (GCSHIP) is a wholly owned subsidiary of the Company. The staff of the Management Company work as one team under the same roof. Good co-ordination is achieved in all areas of ship operation by this arrangement. Besides ISM code certification, GCSHIP is also a certified ISO 9001: 2000 company. International Ship and Port facility Security Code (ISPS) This code became mandatory for all passenger and cargo ships from July 2004. This code forms the international framework through which ships and port facilities can co-operate to detect and deter acts, which threaten security in the maritime transport sector. Within two months following the tragic events of 11th September 2001, the International Maritime Organization unanimously agreed to the development of this new code relating to the security of ships and of port facilities in November 2001. Unlike the ISM code, which had a lead time of over 10 years, the ISPS code was adopted and implemented with very short notice. For this reason, the provisions of ISPS code are rapidly evolving and are also widely disputed in the maritime industry. The Company has achieved ISPS code compliance on all vessels well within the due date. On board Security assessment, development of plans and on board implementation was done with in-house resources and expertise. The training provided under this Code to the Company’s Officers and Crew enables them to deal with any security issues in an appropriate manner so as to ensure safety of Crew and the Ship and other third parties or their property.

91


ข. การปกป้องและพิทักษ์สิ่งแวดล้อม

บริษัทฯ ตระหนักดีว่าการดำเนินงานของธุรกิจเดินเรือถ้าขาดความรับผิดชอบแล้วอาจมีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม โดย เฉพาะอย่างยิง่ มลพิษทางน้ำและ/หรือมลพิษทางอากาศ สำหรับนโยบายการป้องกันรักษาสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ได้ให้ความสำคัญเพื่อการป้องกันและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และจัด ระดับความสำคัญของการอนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมให้เทียบเท่ากับแผนการดำเนินงานทางด้านการพาณิชย์ และการปฏิบตั งิ าน การดำเนิน งานด้านสิง่ แวดล้อมเพือ่ ให้เป็นไปตามนโยบายดังกล่าว มีดงั นี ้ • สนับสนุนวิธกี ารและการปฏิบตั ติ ามมาตรการป้องกันสิง่ แวดล้อมตามกฎหมายทีใ่ ช้ในปัจจุบนั รวมทัง้ ข้อกำหนดและวิธี ปฏิบตั ขิ องอุตสาหกรรม • เพิม่ เติมมาตรการใดๆ เพือ่ ปรับปรุงคุณภาพของสิง่ แวดล้อม • การอธิบายทิศทางการจัดการของบริษัทฯ ด้านสิ่งแวดล้อมที่ชัดเจน เพื่อจูงใจให้พนักงานได้ปฏิบัติการเกี่ยวกับ

สิง่ แวดล้อมด้วยความรูส้ กึ รับผิดชอบ • ออกแบบและดำเนินการเกี่ยวกับเรือให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อกระทบต่อสิ่งแวดล้อมให้น้อยที่สุดเท่าที่จะเป็น

ไปได้และเพือ่ ให้มน่ั ใจว่าการทิง้ ของเสียใดๆ ได้กระทำภายใต้ขอ้ กำหนดอย่างเคร่งครัด • จัดทำแผนฉุกเฉินให้สอดคล้องกับกฎหมาย และการปฏิบตั ทิ ด่ี ี • ให้ความรูแ้ ละอำนาจหน้าทีท่ เ่ี หมาะสมกับพนักงาน เพือ่ จัดการเกีย่ วกับการดำเนินการต่อสิง่ แวดล้อม • ควบคุมและดูแลการดำเนินการต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อแน่ใจว่าได้มีการนำนโยบายไปใช้ปฏิบัติและเป็นไปตามความ ต้องการของกฎหมาย

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

92

บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามข้อบังคับเพือ่ การอนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมของอนุสญ ั ญาระหว่างประเทศต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องดังต่อไปนี ้ • อนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้วยการป้องกันมลภาวะจากเรือ (MARPOL) ซึง่ อนุสญ ั ญาดังกล่าวได้ถกู แบ่งออกเป็น 6 เรือ่ ง คือ 1. การป้องกันมลพิษจากน้ำมัน 2. การควบคุมมลพิษจากสารเคมีเหลว 3. การป้องกันมลพิษจากสารอันตรายทีบ่ รรจุหบี ห่อหรือตูค้ อนเทนเนอร์หรือถังบรรจุ 4. การป้องกันมลพิษจากน้ำเสียของเรือ 5. การป้องกันมลพิษจากขยะของเรือ 6. การป้องกันมลพิษทางอากาศจากเรือ พีเอสแอล บริจาคเงิน 100,000 บาท และหนังสือแก่ศูนย์ฝึกพาณิชย์นาวี บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (พีเอสแอล) บริจาคเงิน 100,000 บาท และหนังสือแก่ นักเรียนเดินเรือพาณิชย์ของศูนย์ฝึกพาณิชย์นาวี ในวันที่ 30 กันยายน 2550 เพื่อซ่อมแซม ห้องเรียนและสร้างห้องสมุดแก่โรงเรียนบ้านวังสนวน จ. นครราชสีมา ในภาพ : มร. โคคา วี. สุดาการ์ ผูอ้ ำนวยการฝ่ายบริหารกองเรือ (ทีส่ องจากขวา) ของพีเอสแอล พร้อมด้วยนางสาวสุกัญญา วงษ์วิจารณ์ พนักงานฝ่ายปฏิบัติการกองเรือ (ขวาสุด) ร่วมมอบเช็คเงินสดมูลค่า 100,000 บาท แก่ตวั แทนศูนย์ฝกึ พาณิชย์นาวี PSL donates Baht 100,000 and books to cadets of “Merchant Marine Training Centre”.

Precious Shipping PCL. (PSL) donated Baht 100,000 and books to cadets of “Merchant Marine Training Centre” on 30 September, 2007 to repair classrooms and build up the library for Bannwangsanuan School in Nakornratchasrima Province. Seen in the photo: Mr. Koka V. Sudhakar, PSL’s Vice President - Fleet Management (second right) handed over cheque of Baht 100,000 to cadet representatives of “Merchant Marine Training Center” along with Ms. Sukanya Wongvicharn, PSL’s Operation Executive, (far right).


B. PROTECTION AND CONSERVATION OF ENVIRONMENT

The Company is committed to environmental protection through effective implementation of the various international conventions as follows: • The prevention of pollution from ships (MARPOL). This convention is divided into 6 areas as follows: 1. Regulations for the Prevention of Pollution by Oil. 2. Regulations for the Control of Pollution by Noxious liquid substances in bulk. 3. Regulations for the Prevention of Pollution by harmful substances carried by sea in packed forms, or in freight containers, portable tanks or road and rail tank wagons. 4. Regulations for the Prevention of Pollution by Sewage from ships. 5. Regulations for the Prevention of Pollution by Garbage from ships. 6. Regulations for the Prevention of Pollution by Air from ships. • International Convention of Ballast Water Management (BWM Convention). • International Convention on the Control of Harmful Anti-Fouling Systems on Ships (AFS Convention) All aspects of ships’ operations, which involve risk of pollution, are addressed in the regulations and are further discussed in the operational manuals placed on board the vessel. Each Ship’s Captain is well aware of his responsibility to ensure that crew on board follow such regulations to prevent any situations that would have negative affect on the environment. There have been no major events from the Company’s operations, which have affected the environment. C. COMMUNITY AND SOCIETY

The Company recognizes its responsibility to the Community and regularly gets involved in supporting community activities and is attentive to the consequences of the Company’s conduct that affect the people around more than what the laws require, including making efforts to gradually absorb social accountability.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

The Company recognizes that shipping operations, if conducted irresponsibly may affect the environment, particularly in terms of air and/ or water pollution. For the Environmental Protection Policy, the Company is committed to the protection and conservation of the environment and ranks environmental considerations equally with commercial and operational factors in managing its operations and implements this policy. To implement this policy, management: • Promotes procedures and practices that ensure environmental protection taking into account current legislation and industry codes and practice; • Takes voluntary steps where appropriate to improve environmental performance; • Communicates clear management directions to properly motivated employees so that they perform in an environmentally responsible manner; • Designs and operates ships as efficiently as possible, minimizing environmental impact and ensuring that discard of waste is in strict compliance with regulations; • Establishes emergency plans, consistent with current legislation and good practice; • Communicates with employees, appropriate authorities and the public enabling the Company to respond to their environmental performance concerns; and • Monitors environmental performance to ensure compliance with this policy as well as the Company’s legal requirements.

93


• อนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้วยการจัดการน้ำบัลลาสถ่วงเรือ (BWM) • อนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้วยการควบคุมคุณภาพของสีทาตัวเรือ (AFS) ลักษณะของการปฏิบตั งิ านบนเรือทัง้ หมดซึง่ มีผลเสีย่ งต่อมลพิษได้กำหนดไว้ในกฎ ข้อบังคับ และคำแนะนำเพิม่ เติมในคูม่ อื การปฏิบัติการบนเรือทุกลำของบริษัทฯ แล้ว โดยกัปตันเรือจะเป็นผู้รับผิดชอบสำหรับการควบคุมให้คนบนเรือได้ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบข้อบังคับทีร่ ะบุไว้ในคูม่ อื การปฏิบตั กิ ารบนเรือ เพือ่ ป้องกันการกระทำใดๆ ทีอ่ าจจะส่งผลเสียหายต่อสิง่ แวดล้อมและทีผ่ า่ นมา ไม่เคยเกิดเหตุการณ์ใดๆ ทีส่ ง่ ผลเสียหายต่อสิง่ แวดล้อมอย่างร้ายแรงจากการดำเนินงานของบริษทั ฯ

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ค. ชุมชนและสังคม

94

บริษทั ฯ ตระหนักเป็นอย่างดีถงึ ความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม รวมถึงการสนับสนุนกิจกรรมของชุมชนและการเอาใจ ใส่ตอ่ ผลกระทบต่อผูท้ อ่ี ยูร่ อบข้างมากกว่าทีม่ กี ำหนดไว้ในกฎหมาย และพยายามค่อยๆ ทีจ่ ะเข้าไปมีสว่ นร่วมทางสังคม ซึง่ ทีผ่ า่ นมา บริษทั ฯ มีกจิ กรรมด้านสังคมและ/ชุมชน ดังต่อไปนี ้ บริษทั ฯ ให้การสนันสนุนการฝึกอบรมบุคลากรของศูนย์ฝกึ พาณิชยนาวี (Merchant Marine Training Center) โดยการให้ทนุ การศึกษาแก่ผมู้ ผี ลการเรียนดีโดยมอบรางวัลเหรียญทองแก่นกั เรียนของศูนย์ฝกึ พาณิชยนาวี ทีม่ ผี ลการเรียนดีเด่นและประพฤติดเี ป็น ประจำทุกปี ตัง้ แต่ปพี .ศ. 2541 เป็นต้นมา บริษทั ฯ ได้รบั นักเรียนทีจ่ บการศึกษาจากศูนย์ฝกึ พาณิชยนาวี มาเป็นพนักงาน/ลูกเรือของบริษทั ฯ บริษทั ฯ ได้บริจาคอุปกรณ์สำนักงานให้แก่มลู นิธดิ วงประทีปและสหทัยมูลนิธิ เพือ่ ใช้ในงานของมูลนิธใิ นเดือนมีนาคม 2548 บริษทั ฯ ได้ประสานงานกับสภากาชาดไทยให้หน่วยเคลือ่ นทีร่ บั บริจาคโลหิตมารับบริจาคทีส่ ำนักงานบริษทั ฯ ตัง้ แต่ปี 2547 จนถึงปี 2550 หน่วยเคลือ่ นทีร่ บั บริจาคโลหิตมารับบริจาคโลหิตทีบ่ ริษทั ฯ รวมทัง้ สิน้ 4 ครัง้ โดยปกติแล้วบริษทั ฯ มักจะจัดให้มกี ารบริจาคเงินและสิง่ ของสำหรับผูท้ ม่ี คี วามจำเป็นและผูท้ ย่ี ากไร้ เช่น บริษทั ฯ ร่วมกับ พนักงานได้บริจาคเงินกว่า 1 ล้านบาท ผ่านสภากาชาดไทยสำหรับผูป้ ระสบภัยธรณีพบิ ตั จิ ากคลืน่ ยักษ์สนึ ามิในประเทศไทย และเมือ่ ต้นปี 2547 บริษทั ฯ ได้บริจาคคอมพิวเตอร์แก่โรงเรียนระดับประถมและมัธยม จำนวน 4 แห่ง ในจังหวัดระยอง ทีม่ นี กั เรียนจำนวน 877 คน ให้มโี อกาสศึกษา บริษทั ฯ ได้ให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนทีอ่ ยูอ่ าศัยทางภาคใต้ของประเทศไทย ซึง่ ได้รบั ผลกระทบและความเสียหายจาก ภัยสึนามิ เมือ่ เดือนธันวาคม 2547 โดยบริษทั ฯ และพนักงานได้บริจาคเงินช่วยเหลือ จำนวน 590,000 บาท ให้กบั หมูบ่ า้ นทะเลนอก จังหวัดระนอง และปรับปรุง/ซ่อมแซมเรือประมงเพื่อให้สามารถนำกลับมาประกอบอาชีพได้ และบริษัทฯ ได้อาสาดูแลและเข้ามา เยี่ยมเยียนหมู่บ้านนี้อย่างสม่ำเสมอ ทั้งนี้บริษัทฯ ได้เปิดโอกาสให้เด็กที่ขาดแคลนได้รับทุนการศึกษา โดยปัจจุบันบริษัทฯ ยังให้ทุน การศึกษาเด็กผูห้ ญิงคนหนึง่ ทีก่ ำลังศึกษาอยูใ่ นโรงเรียนแห่งหนึง่ ทีก่ รุงเทพฯ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังจัดหาแหล่งประกอบอาชีพให้แก่ เยาวชนและให้การสนับสนุนการพัฒนาทางร่างกายและสติปัญญาของเด็กหนุ่มในหมู่บ้านแห่งนี้ เพื่อที่จะก้าวเข้ามาฝึกอบรมอาชีพ การเดินเรือขัน้ พืน้ ฐาน โดยทางบริษทั ฯ เป็นผูอ้ อกค่าใช้จา่ ยดังกล่าว ซึง่ บุคคลเหล่านีจ้ ะเข้ามาประกอบอาชีพการเดินเรือให้กบั บริษทั ฯ ได้อย่างสมบูรณ์และตรงกับสายงานอาชีพในการเดินเรือทะเลระหว่างประเทศ บริษัทฯ ให้ความช่วยเหลือในการสร้างโรงเรียนสำหรับเด็กที่ประสบภัยจากแผ่นดินไหวในภาคตะวันตกของประเทศอินเดีย เมื่อปี 2544 และในที่สุดโรงเรียนมิตรภาพ อินโด-ไทย ก็เกิดขึ้นและสามารถเปิดดำเนินการได้แล้ว ซึ่งสามารถรับนักเรียนได้จำนวน 700 คนทัง้ ในระดับประถม มัธยมต้น รวมทัง้ มัธยมปลาย ซึง่ ทำให้ผทู้ เ่ี กีย่ วข้องต่างๆ รูส้ กึ ซาบซึง้ และประทับใจอย่างมากในความช่วย เหลือจากประเทศไทย บริษทั ฯ ได้บริจาคเงินและอุปกรณ์การศึกษา เพือ่ จัดทำห้องปฏิบตั กิ ารทางวิทยาศาสตร์และสนับสนุนกิจกรรมการเรียนการ สอนด้านต่างๆ ของโรงเรียนบ้านค้อ จังหวัดสุรนิ ทร์ ในเดือนกันยายน 2549 บริษทั ฯ ได้รว่ มบริจาคเงิน 100,000 บาท และหนังสือให้กบั คณะนักเรียนเดินเรือพาณิชย์ ศูนย์ฝกึ พาณิชย์นาวี เพือ่ นำไปใช้ ในการซ่อมแซมอาคารเรียนและสร้างห้องสมุดให้แก่โรงเรียนบ้านวังสนวน จังหวัดนครราชสีมา ในเดือนกันยายน 2550 บริษัทฯ ได้บริจาคเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวน 15 เครื่อง เพื่อใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนของโรงเรียนบ้านค้อ จังหวัด สุรนิ ทร์ ในเดือนตุลาคม 2550 บริษทั ฯ ได้รว่ มสมทบเงิน 100,000 บาท แก่สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพือ่ ใช้ในการอบรม ความรู้และพัฒนาทักษะวิชาชีพแก่คนพิการ เพื่อให้สามารถหาเลี้ยงตนเองได้ ในงานวันคนพิการครั้งที่ 43 ซึ่งจัดขึ้นในเดือน พฤศจิกายน 2550


Some of the Social and Community activities undertaken by the Company are as follows: The Company takes an active interest in the Merchant Marine Training Center, Thailand and has awarded Gold medals for graduates finishing at the top of the class since 1998. The Company employs most of the cadets passing out from the Merchant Marine Training Center, Thailand and thus contributes to the development of qualified Thai officers. This pool of officers is available to any/all Thai ship-owners and not just restricted to the Company. The Company donated office equipment to Duang Prateep Foundation and Holt Sahathai Foundation in March 2005. The Company organizes blood donation camps on a regular basis in collaboration with the Thai Red Cross. These blood donation camps have been organized since the past several years. From 2004 to 2007 four such camps were held. The Company makes regular donations to the needy and poor and for various causes. For instance, the Company, in collaboration with employees, donated over Baht 1 million to the Thai Red Cross for those affected by the Tsunami in Thailand, and in early 2004, donated computers to four primary/secondary schools in Rayong province for use by the 877 students studying in these schools. The Company readily responded to the needs of the people living in South Thailand affected by the deadly Tsunami of Dec 2004. As an immediate measure, the Company and its employees contributed Baht 590,000 to the villagers of Talay Nok in Ranong Province, to renew /repair their fishing boats and resume earning their livelihood. The Company has adopted the Talay Nok village and undertakes regular visits there to ascertain their requirements. The Company has extended an open invitation to needy children to apply for study scholarships (one such girl child is presently studying in a Bangkok college). Moreover, with a view to provide of source of livelihood to the youth, the Company is also encouraging able-bodied youngsters from this village to come forward for basic seamanship training, to be provided at Company’s cost, following which they can become sailors on the Company’s ocean-going ships for a fruitful and fulfilling career in international shipping.

ผู้บริหารพีเอสแอลและพนักงานร่วมใจกันบริจาคโลหิตเพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ อาคารคาเธ่ย์เฮ้าส์ ผูบ้ ริหารและพนักงานบริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (พีเอสแอล) และกลุม่ บริษทั ในเครือจีพี กรุป๊ ได้รว่ มกันบริจาคโลหิตในวันที่ 18 กรกฎาคม 2550 ณ อาคารคาเธ่ยเ์ ฮ้าส์ โดยมีผรู้ ว่ มบริจาคทัง้ สิน้ 63 คน จำนวนโลหิตทีไ่ ด้รบั บริจาคทัง้ หมด 19,950 ซีซี การบริจาคโลหิตดังกล่าวจัดขึน้ เป็นประจำโดยความ ร่วมมือระหว่างบริษทั ฯ และสภากาชาดไทย PSL executives and staff harmoniously donate blood at Cathay House Building for a noble cause as the ultimate gesture of goodwill for the King.

Precious Shipping PCL. (PSL) with GP Group of Companies executives and staff harmoniously donated blood on July 18, 2007 at Cathay House Building. The total number of donors was 63 persons, amounting to 19,950 cc. of blood. Such blood donation drives are organized on a regular basis by PSL in co-operation with Thai Red Cross.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

95


พรีเชียส ชิพปิง้ จัดงานวิง่ “วันเดินเรือทะเล” ประจำปี ในทุกๆ ปี องค์กรการเดินเรือทะเลสากล (International Maritime Organization-IMO) จะจัดงานเฉลิมฉลองวันเดินเรือ ทะเลสากล ซึง่ เป็นวันทีท่ กุ ฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้องจะให้ความสำคัญกับความปลอดภัยในการเดินเรือทะเลและการรักษาสิง่ แวดล้อมทางทะเล สำหรับบริษทั ฯ ได้มกี ารจัดกิจกรรมวิง่ ประจำปีทส่ี วนลุมพินี เพือ่ ร่วมรำลึกถึงวันเดินเรือทะเลสากล ในปีนจ้ี ะปฏิบตั ติ ามคำขวัญของวัน เดินเรือทะเลสากลคือ “ความรับผิดชอบของ IMO คือการต่อกรกับปัญหาสิ่งแวดล้อมทางทะเลในปัจจุบัน” ซึ่งบริษัทฯ ในฐานะ เจ้าของเรือ ให้การสนับสนุนต่อ IMO อย่างเต็มที่และการจัดกิจกรรมวิ่งประจำปี “วันเดินเรือทะเลประจำปี” ณ กรุงเทพฯ นี้ เป็น ความพยายามทีจ่ ะจุดประกายความสนใจในกิจกรรมของ IMO ทีม่ ปี ระโยชน์ตอ่ สิง่ แวดล้อม ซึง่ การจัดวิง่ ดังกล่าว ยังเป็นการตระหนัก ถึงเรื่องสุขภาพของเหล่าพนักงานบริษัทฯ และพนักงานที่อยู่บนเรือ ทั้งยังเป็นการสนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่มชาวเดินเรือ ทะเลอีกด้วย ระบบการกูภ้ ยั เรือร่วมกัน Automated Mutual assistance Vessel Rescue System (AMVER) โดยได้รับการสนับสนุนจากหน่วยนาวิกโยธินลาดตระเวนชายฝั่งของสหรัฐอเมริกา (USCG) ซึ่งเป็นโครงการที่มี เอกลักษณ์โดดเด่นเฉพาะ ควบคุมโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ มีเรือพาณิชย์ทว่ั โลกอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการเป็นระบบเครือข่ายการ แจ้งข่าวสาร การค้นหา และการกู้ภัยเรือที่ครอบคลุมทั่วโลกเพื่อให้การช่วยเหลือเรือที่ประสบภัยในทะเล ซึ่งบริษัทฯ ได้เข้าร่วม โครงการนีอ้ ย่างต่อเนือ่ งและมีผลการปฏิบตั งิ านทีด่ ี จากการรับรองโดย USCG โดยบริษทั ฯ ได้รบั รางวัล AMVER ทุกปีจากตัวแทนของ สถานฑูตสหรัฐอเมริกา ณ กรุงเทพฯ

พีเอสแอล จัดงานวิ่ง “วันเดินเรือทะเล” ครั้งที่ 4 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) หรือ “พีเอสแอล” ได้รว่ มรำลึกถึงวันเดินเรือทะเลสากล โดยการจัดงาน “วิง่ วันเดินเรือทะเล” ขึน้ ทีส่ วนลุมพินเี มือ่ วันศุกร์ท่ี 19 มกราคม 2550 ในภาพ : คณะผูบ้ ริหารและพนักงานของบริษทั ฯ เตรียมพร้อมเพือ่ ออกวิง่ ร่วมกัน ในทุกๆ ปีองค์กรการเดินเรือทะเลสากล (International Maritime Organization – IMO) จะจัดงานเฉลิมฉลองวันเดินเรือทะเลสากล ซึ่งเป็นวันที่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องจะให้ความสำคัญกับ ความปลอดภัยในการเดินเรือทะเลและการรักษาสิง่ แวดล้อมทางทะเล ในปีน้ี คำขวัญของวันเดิน เรือทะเลสากล 2550 คือ “ความรับผิดชอบของ IMO คือการต่อกรกับปัญหาสิ่งแวดล้อมทาง ทะเลในปัจจุบัน” คำขวัญนี้ สะท้อนถึงความสำคัญของการมุ่งรักษาสิ่งแวดล้อม และบทบาท ของผูป้ ระกอบการขนส่งสินค้าทางทะเล เช่น พีเอสแอล ในฐานะทีเ่ ป็นเจ้าของเรือทีม่ คี วามรับผิด ชอบและให้การสนับสนุน IMO อย่างเต็มที่ การจัดกิจกรรม “วิ่งประจำปีวันเดินเรือทะเล” ณ กรุงเทพฯ นั้นเป็นความพยายามที่จะจุดประกายความสนใจต่อ IMO และกิจกรรมที่เป็น ประโยชน์ตอ่ สิง่ แวดล้อมของ IMO รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

4th Annual PSL Maritime Day Run

96

Precious Shipping PCL. (PSL) commemorated the World Maritime Day by organizing “The 4th PSL Maritime Day Run” at Lumpini Park on Friday, 19th January 2007. The photograph above taken on this occasion shows Management of Precious Shipping PCL along with the PSL staff. Every year International Maritime organization (IMO) celebrates World Maritime day, to focus attention on the importance of shipping safety and the marine environment. This year the theme for the world Maritime Day 2007 was “IMO’s response to current environmental challenges”. This theme reflects the importance given to preserving the world environment and showcase contributions of shipping industry towards the same. PSL, as a responsible ship-owner, fully supports the IMO in its endeavors; and the Annual Maritime Day runs organized in Bangkok is but a small attempt to focus attention on IMO and its laudable activities.


Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

The Company helped build a school for children affected by the earthquake which hit western India in 2001. The “Indo-Thai Friendship School” is now fully operational and can accommodate 700 students in Elementary, Middle and High School levels. This has been greatly appreciated by all concerned and projects a very favorable impression of Thailand. The Company donated money and equipments to make a scientific laboratory and supported in study activities at Ban Koh School in Surin province in September 2006. The Company donated Baht 100,000 and books to cadets of Merchant Marine Training Centre to repair classrooms and build up the library for Bannwangsanuan School in Nakornratchasrima Province in September 2007. The Company donated 15 computers for teaching program to Ban Koh School in Surin Province in October 2007. The Company contributed Baht 100,000 to Council for Social Welfare of Thailand under The Patronage of His Majesty the King to develop, knowledge and foster career skills of disabled people, supporting them to seek their own income, on the 43rd Cripple Day in November 2007. PSL Annual Maritime Day Run Every year, International Maritime Organization (IMO) celebrates World Maritime Day to focus attention on the importance of shipping safety and the marine environment. The Company organizes runs annually at the Lumpini Park to commemorate World Maritime Day. This year’s event complements the IMO’s World Maritime Day’s theme of the response to the current environmental challenges. The Company, as a responsible ship-owner, fully supports the IMO in its endeavours and the Annual Maritime Day runs organized in Bangkok is an attempt to focus attention on IMO’s laudable activities. The run is also organized with an aim to improve awareness of health among the Company’s office and ship staff. It seeks and actively encourages participation from all in the shipping fraternity. “Automated Mutual assistance Vessel Rescue System” (AMVER), Sponsored by the United States Coast Guard (“USCG”), is a unique, computer-based, and voluntary global ship reporting system used worldwide by search and rescue authorities to arrange for assistance to persons in distress at sea. The Company continues to be involved in the AMVER program and its good performance is recognized by the USCG in the form of AMVER awards given to the Company every year through their representative at the United States Embassy in Bangkok.

97


ปัจจัยความเสี่ยงที่สำคัญ

บริษทั ฯ ได้แบ่งประเภทปัจจัยความเสีย่ งสำคัญๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ กับบริษทั ฯ เป็น 3 ประเภท ประกอบด้วยความเสีย่ งจากการ ดำเนินธุรกิจ ความเสี่ยงทางการเงินและความเสี่ยงทางการตลาดและเนื่องจากการได้ตระหนักถึงสภาพการณ์ของตลาดขนส่งใน ปัจจุบัน บริษัทฯ จึงกำหนดปัจจัยความเสี่ยงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งปัจจัยซึ่งเป็นความเสี่ยงเกี่ยวกับการดำรงสถานะและการขยายความ สามารถในการขนส่ง โดยได้อธิบายอยู่ภายใต้หัวข้อ “ความเสี่ยงจากการหาเรือใหม่ทดแทนเรือเก่าและการขยายกำลัง ความสามารถของกองเรือ” ซึง่ ปัจจัยความเสีย่ งในแต่ละประเภทมีรายละเอียดดังต่อไปนี ้

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ความเสี่ยงจากการดำเนินงาน

98

ในฐานะที่บริษัทฯ เป็นเจ้าของและผู้ประกอบการเดินเรือขนส่งสินค้าระหว่างประเทศโดยไม่มีข้อจำกัดทางภูมิศาสตร์ใดๆ อาจต้องเผชิญกับความเสี่ยงที่เกิดจากภัยพิบัติทางน้ำ ความแปรปรวนของสภาพสิ่งแวดล้อม ความสูญหายหรือเสียหายของสินค้า และทรั พ ย์ ส ิ นต่ า งๆ และการสะดุ ด หยุ ด ลงของธุ ร กิ จ อั น เกิ ด มาจากเครื ่ อ งยนต์ ก ลไกขั ด ข้ อ ง ความผิ ด พลาดของเจ้ า หน้ า ที ่ การเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศต่างๆ การหยุดงานประท้วงของคนงาน การก่อการร้าย โจรสลัด ความแปรปรวนของสภาพ ดินฟ้าอากาศ สถานการณ์และเหตุการณ์อน่ื ใดทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ซึง่ สิง่ เหล่านีจ้ ะนำไปสูต่ น้ ทุนการดำเนินงานทีเ่ พิม่ ขึน้ หรือการสูญเสีย รายได้ อย่างไรก็ตามเจ้าของเรือหรือผูป้ ระกอบการเดินเรือในน่านน้ำสากลจะมีการประกันความเสีย่ งต่างๆ โดยมีการทำประกันภัยไว้ กับบริษทั ประกันภัยทีเ่ ป็นสากลและครอบคลุมความเสีย่ งทัง้ หมด ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงได้ทำประกันภัยเพือ่ คุม้ ครองความเสีย่ งภัยต่างๆ ทีก่ ล่าวมาข้างต้นนีเ้ อาไว้แล้ว การดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ขึ้นอยู่กับการเพิ่มขึ้นและการเปลี่ยนแปลงของกฎหมายป้องกันสิ่งแวดล้อมและกฎระเบียบ พาณิชย์นาวีดา้ นอืน่ ๆ การทีต่ อ้ งดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายเหล่านี้ เนือ่ งจากมีความเสีย่ งในเรือ่ งการถูกกักเรือทีท่ ำให้เสียเวลา และเสียรายได้หรือก่อให้เกิดการเรียกร้องค่าเสียหายจากผูเ้ ช่าเรือ รวมถึงค่าใช้จา่ ยในการปรับปรุงเรือหรือเปลีย่ นระเบียบปฏิบตั ใิ นการ เดินเรือ อย่างไรก็ตามบริษทั ฯ ระมัดระวังในประเด็นเหล่านีเ้ สมอมาและได้รกั ษามาตรฐานความปลอดภัยและมาตรฐานทางเทคนิคให้ อยูใ่ นระดับสากลตลอดมา การดำเนินธุรกิจการเดินเรือและการบริหารงานของบริษัทฯ ในฐานะบริษัทมหาชนและจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย นั้นต้องอาศัยบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ ไม่ว่าจะเป็นลูกเรือที่ต้องควบคุมการเดินเรือ หรือ ผู้จัดการระดับต่างๆ ใน บริษัทฯ ที่ต้องการบุคคลที่มีความรู้และประสบการณ์ในธุรกิจการเดินเรือ การที่ต้องจัดหาและรักษาไว้ซึ่งบุคลากรเหล่านั้นเป็นสิ่ง สำคัญในการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ อย่างไรก็ตามบริษัทฯ ได้มีนโยบายที่ยุติธรรมและเหมาะสมต่อพนักงาน ดังนั้นบริษัทฯ จึงได้ ประสบความสำเร็จในการจัดหาและรักษาไว้ซึ่งบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและมีคุณภาพและบริษัทฯ ยังได้ริเริ่มสิ่งใหม่ๆ เพื่อจูงใจ และคงไว้ซง่ึ บุคลากรทีม่ คี ณ ุ ภาพ ดังนัน้ บริษทั ฯ คาดว่าจะไม่มปี ญ ั หาทีร่ นุ แรงด้านบุคลากรในอนาคต แม้วา่ ธุรกิจการเดินเรือระหว่าง ประเทศกำลังประสบกับปัญหาทีร่ นุ แรงของการขาดแคลนลูกเรือทีม่ คี ณ ุ ภาพ โดยเฉพาะในส่วนของนายประจำเรือ ซึง่ จะต้องทำงาน ประจำบนเรือ ในฐานะบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ บริษัทฯ ต้องปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ มากมาย การไม่ ปฏิบัติตามกฎหมายและ/หรือกฎระเบียบใดๆ อันจะนำมาซึ่งความเสียหายในการถูกเรียกค่าเสียหายหรือถูกลงโทษทางกฎหมายทั้ง ต่อบริษัทฯ และผู้บริหารระดับสูง ดังนั้นบริษัทฯ ได้ดำเนินงานอย่างระมัดระวังในประเด็นนี้โดยมีมาตรการในการรับพนักงานที่มี คุณสมบัติเหมาะสมและจัดระบบงานให้มีประสิทธิภาพเพื่อให้แน่ใจว่าบริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ ที่ เกีย่ วข้อง บริษทั ฯ ไม่ได้เผชิญกับความเสีย่ งจากราคาน้ำมันโลกทีเ่ พิม่ สูงขึน้ กล่าวคือในกรณีการเดินเรือแบบรายเทีย่ ว เป็นการเดินเรือ ทีบ่ ริษทั ฯ ต้องเป็นผูจ้ า่ ยค่าน้ำมันเชือ้ เพลิงแต่คา่ น้ำมันเชือ้ เพลิงทีเ่ พิม่ ขึน้ ลูกค้าจะเป็นผูร้ บั ภาระนี้ เนือ่ งจากอัตราค่าระวางเรือทีก่ ำหนด และเรียกเก็บจากลูกค้านัน้ ได้รวมค่าน้ำมันเชือ้ เพลิงทีเ่ พิม่ ขึน้ ไว้ดว้ ยและในกรณีการให้เช่าเรือเป็นแบบระยะเวลา ค่าน้ำมันเชือ้ เพลิงจะ ตกเป็นภาระของลูกค้า


Significant Risk Factors

The Company has classified the various risk factors the Company is exposed to into three categories viz. Operating Risk, Financial Risk and Market Risk. In recognition of the current market environment in Shipping, the Company has now additionally identified and categorized a special risk associated with maintaining and expanding capacity, which has been classified as “Capacity Replacement and Expansion Risk”. The significant risk factors under each of these categories are explained as under: The Company, as an owner and operator of ocean-going vessels operating without any geographical limitations is exposed to risks of marine disaster, environmental mishaps resulting in substantial claims, cargo/property loss or damage and business interruptions due to accidents or other events caused by mechanical failure, human error, political action in various countries, labor strikes, terrorist actions, piracy, adverse weather conditions and other such circumstances and events. This could result in increased costs or loss of revenues. However, to cover against most of these risks, which are standard for an International Ship owner/Operator, insurance covers are available in the international insurance industry. Accordingly, the Company is adequately covered against such aforesaid circumstances and events. The operations of the Company depend on extensive and changing environment protection laws and other maritime regulations, compliance with which may entail the risk of detention of ships leading to loss of time which would lead to loss of revenues or claims from charterers, significant expenses including expenses for ship modifications and changes in operating procedures. However, the Company is vigilant on these issues and maintains internationally prescribed safety and technical standards. The operations of the ships and the management of the Company as a public company listed on the Stock Exchange of Thailand require skilled personnel to be employed as crew to operate its ships and managers at the corporate level with appropriate knowledge and experience. Sourcing and retaining such personnel is crucial for the business operations of the Company. However, due to the adoption of fair and reasonable staffing policies, the Company has hitherto been quite successful in sourcing and retaining such highly skilled and qualified personnel and is taking a number of initiatives to attract and retain talent, and therefore does not expect any future cause for serious concern in this regard, although International Shipping is currently in the midst of tremendous shortage of qualified crew, particularly in the officers’ cadre, required on board the ships. As a publicly listed Company, the Company is required to comply with various laws and regulations and failure to comply with any one or more of such laws and/or regulations could expose the Company to penalties or other legal action against the Company and its senior management. The Company remains vigilant on this issue and has taken adequate steps to employ qualified staff and also adopted adequate and effective systems to ensure full compliance with all laws and regulations. The Company is not exposed to any risk of increased costs due to an increase in international oil prices, since, whenever the fuel costs are on the Company’s account (in case of a Voyage Charter), increase in oil price is passed on to the Customers since the freight rates are quoted and charged after incorporating the increased fuel cost. In case the business is done on a Time Charter, the fuel cost is on the customer’s account.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

OPERATING RISK

99


ความเสี่ยงทางการเงิน

รายได้และค่าใช้จา่ ยส่วนใหญ่ของบริษทั ฯ เป็นเงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐ รวมทัง้ สินทรัพย์ถาวรส่วนใหญ่ของบริษทั ฯ คือเรือเดิน ทะเล ก็มพี น้ื ฐานเป็นเงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐ เนือ่ งจากเรือเดินทะเลมีตลาดการซือ้ ขายสากลทีเ่ ป็นเงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงมีความเสีย่ งต่อการขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศจากหนีส้ นิ ของบริษทั ฯ ทีอ่ ยูใ่ นรูปสกุลเงินตราต่างประเทศอืน่ ที่ มิใช่เงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐ กล่าวคือหนีส้ นิ ทีอ่ ยูใ่ นรูปสกุลเงินตราต่างประเทศอืน่ ทีม่ ใิ ช่เงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐเมือ่ เทียบเท่าเป็นเงินสกุล ดอลล่าร์สหรัฐอาจเพิม่ ขึน้ หรือลดลงตามอัตราแลกเปลีย่ น บริษทั ฯ ตระหนักดีถงึ ความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นนี้ ดังนัน้ ได้พยายาม ลดความเสีย่ งจากสกุลเงินอืน่ ๆ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯ ไม่มหี นีเ้ งินกูห้ รือวงเงินสินเชือ่ เป็นเงินสกุลอืน่ ๆ เหลืออยู่ ยกเว้นสกุลเงินดอลล่าร์สหรัฐ อย่างไรก็ตาม เนือ่ งจากการชำระคืนเงินกูก้ อ่ นกำหนดของเงินกูท้ ม่ี อี ยูท่ ง้ั หมดในช่วงปี 2549 ทำให้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯ ไม่มีเงินกู้ค้างชำระในสกุลเงินอื่นๆ เหลืออยู่ นอกจากนี้บริษัทฯ ยังได้มีการดำรงเงินสดในบัญชี ธนาคารเป็นเงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐเกือบทั้งหมด เพื่อไม่ให้เกิดความเสี่ยงจากการขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนกับบัญชีเหล่านี้เมื่อ เทียบเป็นเงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐ อย่างไรก็ดีก็ควรตระหนักว่าบริษัทฯ มีความเสี่ยงจากการขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเป็นสกุลเงิน บาทที่มาจากการแปลงค่าสินทรัพย์ หนี้สิน รายได้และค่าใช้จ่ายต่างๆ ของบริษัทฯ ที่อยู่ในรูปสกุลเงินดอลล่าร์สหรัฐเป็นเงินบาท เนือ่ งจากเป็นการขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นในการแปลงค่าเงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐเป็นเงินบาทในงบการเงินบาทเท่านัน้ วงเงินสินเชื่อมีหลักประกันของบริษัทฯ มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัวตามอัตรา LIBOR (อัตราดอกเบี้ยระหว่างธนาคารใน กรุงลอนดอน) ดังนั้นบริษัทฯ จึงมีความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย LIBOR บริษทั ฯ ได้ตดิ ตามความเคลือ่ นไหวและเฝ้าระวังอัตราดอกเบีย้ ในตลาดเงินอย่างสม่ำเสมอ อย่างไรก็ดี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯ ไม่มคี วามเสีย่ งทีไ่ ด้กล่าวมาข้างต้น เนือ่ งจากบริษทั ฯ ไม่มเี งินกูค้ า้ งชำระใดๆ เหลืออยูเ่ ลย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เนือ่ งจากบริษทั ฯ ยังมิได้ทำการเบิกถอนเงินกูจ้ ากวงเงินสินเชือ่ เหล่านี ้ เนือ่ งจากสินทรัพย์ของบริษทั ฯ คือเรือเดินทะเลมีอายุการใช้งานทีจ่ ำกัดและเมือ่ เรือมีอายุมากถึงอายุดงั กล่าว เรือเหล่านัน้ จะ ต้องถูกขายเพื่อนำไปใช้ต่อหรือถูกปลดระวาง ทำให้ความสามารถของกองกำลังเรือลดลง และถ้าบริษัทฯ ต้องการคงระดับความ สามารถของกองเรือโดยคำนึงถึงขนาดของกองเรือ บริษทั ฯ จะต้องดำเนินโครงการการทดแทนเรือเก่า หรือเรือทีถ่ กู ปลดระวาง (เรือที่ ถูกขายไป) การซือ้ เรือเข้ามาใหม่จะต้องมีการระดมเงินทุน ซึง่ อาจจะมาจากเงินทุนของบริษทั ฯ หรือจากเงินกู้ หรือทัง้ สองอย่างรวมกัน ซึ่งถ้าบริษัทฯ ไม่สามารถระดมเงินทุนเพื่อนำมาใช้ซื้อเรือเพื่อคงระดับความสามารถของกำลังกองเรือ ความสามารถของกองเรือ บริษทั ฯ ก็จะลดลง ซึง่ เป็นสิง่ ไม่พงึ ประสงค์หากการลดลงของกองกำลังเรือจะคงอยู่ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงมีความเสีย่ งในด้านการระดม เงินทุน อย่างไรก็ดี บริษทั ฯ ตระหนักถึงความเสีย่ งดังกล่าวนี้ บริษทั ฯ จึงได้ลงนามในสัญญาขอวงเงินสินเชือ่ เป็นจำนวนเงิน 500 ล้าน เหรียญสหรัฐอเมริกา ซึง่ จะทำให้บริษทั ฯ สามารถซือ้ เรือใหม่ (ถ้าสามารถส่งมอบเรือได้ทนั ที) หรือเรือมือสองได้จำนวนหนึง่

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ความเสี่ยงทางการตลาด

100

อุตสาหกรรมและตลาดการเดินเรือขนส่งสินค้าทางทะเลจะขึน้ ลงเป็นวัฏจักร มีความผันผวนในเรือ่ งของการทำกำไร มูลค่าเรือ และอัตราค่าระวาง ซึ่งเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงในอุปสงค์และอุปทานของกองเรือ ตามที่ได้อธิบายภายใต้หัวข้อ “ลักษณะการ ประกอบธุรกิจและอุตสาหกรรม” แต่เดิมบริษทั ฯ ได้ทำการตลาดในลักษณะทีอ่ งิ กับราคาตลาดในขณะนัน้ (spot market) สำหรับเรือ ของบริษทั ฯ ทัง้ หมด ดังนัน้ บริษทั ฯ จะมีความเสีย่ งจากความผันผวนของตลาดและวัฏจักรของธุรกิจ อย่างไรก็ตามบริษทั ฯ เชือ่ มัน่ ว่าการที่บริษัทฯ มีกลุ่มตลาดเฉพาะกลุ่ม คืออยู่ในกลุ่มเรือเอนกประสงค์ขนาดเล็กซึ่งมีปัจจัยพื้นฐานที่เป็นบวกคือมีอุปสงค์มากกว่า อุปทาน จะเป็นตัวช่วยพยุงในช่วงภาวะตกต่ำของวัฏจักรของธุรกิจและทำให้บริษทั ฯ ได้รบั ผลกระทบน้อยลง อย่างไรก็ดี สถานการณ์ ดังกล่าวได้เปลี่ยนไปในช่วง 3-4 ปีท่ผี ่านมา เนือ่ งจากบริษทั ฯ ได้ปรับเปลี่ยนแผนการตลาด โดยเรือส่วนใหญ่ของบริษทั ฯ มีการทำ สัญญาระยะยาวให้เช่าเรือ ทำให้บริษัทฯ หลีกเลี่ยงจากการผันผวนของราคาตลาดระยะสั้นและทำให้มั่นใจว่าจะมีกระแสรายได้ที่ มัน่ คง


FINANCIAL RISK

Almost the entire Revenues and Expenses of the Company are denominated in US Dollars. Further, almost all the Fixed Assets of the Company, viz., ships are US Dollar based assets, since they are readily salable in US Dollars in the International market. Therefore, the Company is exposed to the risk of realising a Foreign Exchange loss in respect of its liabilities in any currency other than US Dollars. The US Dollar equivalent figure of such “Non-USD” denominated debt may increase or decrease with a fluctuation in the respective exchange rate. In recognition of this risk, the Company has attempted to maintain least possible exposure in other currencies and accordingly as on 31st December 2007 the Company did not have any funded debt or any Credit Facility denominated in any currency other than US Dollars. In any case, due to the prepayment of entire funded debt during 2006, the company does not have any outstanding funded debt in any currency as on 31st December 2007. The Company also maintains almost all its Bank balances in US Dollars whereby there is no risk of realising any loss on these balances, in US Dollar terms. However, it must be noted that the Company is exposed to an exchange loss in Thai Baht terms on translation of its US Dollar denominated Assets, Liabilities, Income and Expenses, arising out of the Currency translation from US Dollars to Thai Baht in the Thai Baht Financial Statements. The Company has secured debt facilities which carry interest at floating rates based on LIBOR (London Inter-Bank offered rate) and as such, the Company is exposed to fluctuations in its interest rates due to a changes in the LIBOR. The Company monitors market interest rates regularly and remains vigilant on this issue. The company is not exposed to any such risk as on 31st December 2007 as company does not have any outstanding funded debt as on 31st December 2007 since the Company has not drawn down any amount from these debt facilities. The Company’s Assets, i.e. ships, have a finite life and as and when the ships reach a certain age, they need to be sold for onward trading or scrapped. This leads to a decrease in capacity and if the Company wants to maintain capacity in terms of fleet size, the Company has to continuously follow a program of replacement of its older scrapped (or sold) vessels. Purchase of ships requires considerable funding, which may be through equity or debt or both. If the Company is not able to raise the necessary funds required for the purchases of ships to maintain capacity, the Company’s Capacity will continuously deplete, which is not desirable if the depletion is for a sustained period and as such, the Company is exposed to a funding risk. However, in recognition of this risk, the Company has put in place credit facilities of USD 500 million, which is available to the Company to purchase new (if delivered immediately) or second-hand vessels. The shipping industry and market has been cyclical, experiencing volatility in profitability, vessel values and freight rates, resulting from changes in the supply of and demand for shipping capacity, as explained in the section on “Nature of Business and Industry” of this Report. The Company had traditionally marketed all its ships in the spot market and had therefore been exposed to market fluctuations and the cyclical nature of the business. However, the Company believed that by being in the ‘niche’ small handy size sector of the industry, wherein there is a fundamental advantage of demand over supply, some downside protection against the cyclical nature of the business was provided. This situation has of course changed in the last 3/4 years because of the change in strategy of the Company to fix a major portion of the Company’s fleet on longer term charters, which, keeps the Company insulated somewhat from the volatility of the spot markets and ensures stability in its revenue stream.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

MARKET RISK

101


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

102

อุปสงค์ของธุรกิจของบริษัทฯ นั้นเกิดจากปริมาณของสินค้าที่ต้องการขนส่ง การก่อเกิดของอุปสงค์นี้ขึ้นอยู่กับการค้าโลก และการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ ภาวะถดถอยของการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจและการค้าจะทำให้อปุ สงค์เรือลดลง ปัจจุบนั ความ ต้องการขนส่งสินค้าแห้งเทกองทางทะเลเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากมีความต้องการจากประเทศจีน (รวมทั้งความต้องการจากประเทศ อินเดียและประเทศในแถบตะวันออกกลาง) ที่ต้องการนำเข้าสินค้าและวัตถุดิบต่างๆ เป็นจำนวนมากเพื่อก่อสร้างโครงการ สาธารณูปโภคพื้นฐานขนาดใหญ่ ดังนั้นถ้าความต้องการสินค้าที่มาจากประเทศจีนลดลง โดยเฉพาะในสอง-สามปีข้างหน้า เมื่อ อุปทาน คือ เรือต่อใหม่ซึ่งปัจจุบันได้ถูกสั่งต่อไปแล้ว ได้ถูกคาดการณ์ว่าจะเข้าสู่ตลาดขนส่งและจะส่งผลกระทบต่ออุปสงค์และ อุปทานทีม่ อี ยูใ่ นตลาดการขนส่ง ซึง่ จะทำให้อตั ราค่าระวางลดลงอย่างมีนยั สำคัญและรวมถึงการลดลงของมูลค่าเรือเช่นกัน บริษทั ฯ ได้เพิม่ กำลังกองเรือโดยการซือ้ เรือมือสองเข้ามาเพิม่ เติม ณ ราคาตลาดในปี 2547 ซึง่ ตลาดอยูใ่ นช่วงขาขึน้ การทำเช่นนัน้ บริษทั ฯอาจ ประสบกับความเสี่ยงจากการลดลงของรายได้และ/หรือมูลค่าเรือที่อาจลดลง ถ้าตลาดมีการปรับตัวลดลงอย่างมีสาระสำคัญ อย่างไรก็ดี ตลาดมิได้ปรับตัวลดลงอย่างมีสาระดังทีไ่ ด้คาดการณ์ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังสามารถสร้างรายได้อย่างเป็นกอบเป็นกำ และ ได้รบั ผลตอบแทนอย่างดีเยีย่ มจากเรือทีไ่ ด้ซอ้ื เข้ามา ในช่วงระหว่างเดือนธันวาคม 2549 ถึงไตรมาสแรกของปี 2550 บริษทั ฯ ได้ขาย เรือในกองเรือบริษทั ฯ จำนวน 10 ลำ ซึง่ มีอายุมากทีส่ ดุ โดยมีอายุเฉลีย่ ทีม่ ากกว่า 26 ปี ในราคาขายทีด่ ี ซึง่ ช่วยให้ความเสีย่ งดังกล่าว ลดลงเนือ่ งจากเรือมีอายุมากขึน้ เท่าใด ความเสีย่ งดังกล่าวนีก้ จ็ ะขยายมากขึน้ เช่นกัน อย่างไรก็ดบี ริษทั ฯ ได้พยายามลดความเสีย่ งดัง กล่าวโดยนำเรือทีม่ อี ยูเ่ กือบทัง้ หมดของบริษทั ฯ ไปทำสัญญาให้เช่าเป็นสัญญาระยะยาวเพิม่ มากขึน้ ทำให้บริษทั ฯ สามารถคงรายได้ ค่าเช่าในอนาคตที่อัตราค่าเช่าปัจจุบันที่สูงกว่า และดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น เป็นการเปลี่ยนแปลงนโยบายในการดำเนินธุรกิจที่ สำคัญของบริษทั ฯ ในปี 2547 กล่าวคือบริษทั ฯได้เปลีย่ นการดำเนินธุรกิจจากให้บริการเช่าเป็นรายเทีย่ วหรือการเช่าเป็นระยะเวลาแบบ สัญญาระยะสัน้ ณ ราคาตลาดปัจจุบนั (spot market) เป็นการทำสัญญาระยะยาว ในช่วงปี 2550 ตลาดมีการปรับตัวสูงขึน้ อีกอย่าง มีนัยสำคัญจนถึงจุดสูงสุดในเดือนพฤศจิกายน ซึ่งหมายถึงบริษัทฯ ขาดทุนทางโอกาสที่จะทำกำไรเพิ่มขึ้นอีก อย่างไรก็ดีบริษัทฯ มี ความเห็นว่าท่ามกลางตลาดที่มีความผันผวนอย่างมากซึ่งอัตราค่าระวางสามารถเพิ่มสูงขึ้นและตกลงอย่างรวดเร็วนั้นจะเป็นการ รอบคอบที่จะทำสัญญาผูกมัดค่าระวางในอัตราที่สูงและเหมาะสม เพื่อเป็นการรองรับหากเกิดการตกลงอย่างรวดเร็วของอัตราค่า ระวางในตลาดค่าระวางปัจจุบัน (Sport Market) ยุทธศาสตร์การดำเนินธุรกิจดังกล่าวนี้ได้พิสูจน์แล้วในอดีตเมื่อตลาดค่าระวาง ปัจจุบนั ได้ออ่ นตัวลงเมือ่ ต้นปี 2548 แต่บริษทั ฯ ยังคงมีรายได้ทส่ี งู กว่าตลาดในปีนน้ั ในกรณีที่ภาวะตลาดเกิดตกต่ำและเป็นผลให้อัตราค่าระวางลดลง ลูกค้าของบริษัทฯ ที่ทำสัญญาเช่าระยะยาวไว้อาจไม่ ปฏิบัติตามสัญญาเช่า ทำให้บริษัทฯ ไม่สามารถมีอัตราค่าเช่าที่สูงตามที่ทำสัญญาไว้และอาจถูกบังคับให้เช่าเรือในอัตรา ณ ขณะนัน้ ๆ ซึง่ ตลาดตกต่ำและมีอตั ราค่าเช่าค่าระวางต่ำกว่าทีท่ ำสัญญาไว้ อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ ได้ตระหนักถึงความเสีย่ งจากการที่ คูส่ ญ ั ญาไม่ปฏิบตั ติ ามสัญญาในระยะยาว ดังนัน้ บริษทั ฯ ได้ทำการวิเคราะห์ลกู ค้า (ผูเ้ ช่าเรือ) ทีจ่ ะทำสัญญาเช่าในระยะยาวโดยจะ เลือกลูกค้าชัน้ ดีและมีเครดิตสูงทีส่ ดุ เรือของบริษทั ฯ เดินเรือในน่านน้ำสากลทัว่ โลกและการให้บริการก็เป็นไปในสัดส่วนทีก่ ระจายเท่าๆ กันทัว่ โลกโดยไม่ได้เฉพาะ เจาะจงทีส่ ว่ นใดส่วนหนึง่ เท่านัน้ ด้วยเหตุนบ้ี ริษทั ฯ จึงไม่มคี วามเสีย่ งด้านภูมศิ าสตร์ในการตลาดและลูกค้าของบริษทั ฯ ดังนัน้ ความ เปลีย่ นแปลงในพืน้ ทีใ่ ดพืน้ ทีห่ นึง่ ของโลกอันเนือ่ งมาจากสงครามหรือการก่อการทางการเมือง หรือด้วยเหตุผลใดๆ ก็ตาม จะไม่สง่ ผล กระทบสำคัญทีท่ ำให้รายได้ของบริษทั ฯ ลดลงได้ รายได้ของบริษทั ฯ มาจากจำนวนของลูกค้าหลากหลายและไม่ขน้ึ ต่อลูกค้ารายใดรายหนึง่ ในการดำเนินธุรกิจ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงไม่มีความเสี่ยงต่อการที่จะต้องทำธุรกิจกับลูกค้าเพียงรายเดียวหรือได้รับผลกระทบรุนแรงหรือสูญเสียรายได้หากลูกค้ารายนั้นๆ ประสบภาวะขาดทุนอย่างมีนยั ทีส่ ำคัญ


Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

The demand side of the Company’s business is generated by the quantity of cargo its vessels are required to transport. The generation of this demand is mainly dependent on World Trade and Economic Growth. Severe depression in Growth and Trade could reduce the demand for ships. The recent spurt in demand for dry bulk shipping capacity has largely been driven by the demand from China (supplemented by India and countries in the Middle-East) which is importing commodities and raw materials in huge quantities for major infrastructure projects. If there is a significant reduction in the Demand from China, particularly in the next few years when a significant number of new ships presently on order, are expected to enter the market, it could have an impact on the overall demand/supply balance in Shipping Capacity, which could lead to a significant fall in freight rates and could also be coupled with a fall in ship values. The Company had acquired a number of second hand ships at market values in 2004 while the market had been in the midst of this upturn, and therefore, the Company was exposed to the risk of reduced earnings and/or fall in asset values if there had been a significant downturn in the market. This did not happen and the Company was able to generate substantial revenues and extremely good returns on its acquisitions. Further, in December 2006/first Quarter 2007, the company has sold 10 of its oldest vessels in the fleet with an average age greater than 26 years, at attractive sales prices which could be said to have reduced the risk to a large extent as this risk is higher in respect of the older vessels. The Company has continued to follow its strategy to mitigate this risk for the existing vessels by entering into period charters or contracts for a longer period for most of its ships, whereby the Company is able to “lock-in” future earnings at higher freight rates. As mentioned above, this was a significant change made in 2004 in the Company’s strategy of doing business, whereby the Company had deviated from its traditional policy of trading on the spot market with Voyage Charters and/or Time Charters of very short durations. During the year 2007, the market has continued to move significantly higher until it reached a peak in November, and it could be interpreted as a potential opportunity loss for the Company, but in the Company’s opinion, given the extreme volatility in the market where rates can shoot up or collapse very quickly, it is prudent to “lock-in” the future earnings, at the reasonably high freight rates as a cushion against a sudden and more particularly, a sustained collapse of the freight rates in the spot market. This strategy has been vindicated in the past when the spot freight markets witnessed a fall after early 2005 but the Company’s earnings outperformed the market during the year. In case of a fall in the market and consequent fall in freight rates, the Company’s customers (Charterers) with whom the period charters have been signed could default in their obligations, pursuant to which, the Company will not be able to achieve the higher contracted freight rates and would then be forced to contract these ships in the spot market in a depressed market when market freight rates would be lower. However, the Company is conscious of the counter-party risk associated with its period charters and accordingly takes steps in analysing the counter-party risk of its potential charterers, particularly those with whom the Company intends to sign longer period charters, and such contracts (Charters) are signed only with first class charterers with the highest possible credit ratings. The Company’s ships ply in international waters all over the world and the employment of its vessels is quite evenly distributed, without any concentration in any particular area. As such, the Company is not exposed to a risk of geographical concentration of the Company’s market and its customers. Therefore, any major adverse change in the market conditions in any one particular area of the world due to war, political action, or any other reason shall not result in a significant drop in revenues. The Company’s revenues are generated from a number of customers and the Company is not dependent on any single customer for the majority of its business. As such, the Company is not exposed to any risk of concentration of its business with any one customer and any loss of business from one such customer shall not have any significant impact on the Company’s business and will not result in sudden and significant loss of revenues.

103


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ความเสี่ยงจากการหาเรือใหม่ทดแทนเรือเก่าและการขยายกำลังความสามารถของกองเรือ

104

ตามทีไ่ ด้อธิบายไว้ขา้ งต้น สินทรัพย์ของบริษทั ฯ คือ เรือ เป็นสินทรัพย์ทม่ี อี ายุการใช้งานทีจ่ ำกัด เมือ่ เรือมีอายุการใช้งานใน ระดับหนึ่ง เรือเหล่านี้จะต้องถูกปลดระวาง เป็นเหตุให้ความสามารถในการให้บริการขนส่งลดลงและถ้าบริษัทฯ ต้องการคงระดับ ความสามารถในการขนส่ง หรือขนาดของกองเรือ บริษัทฯ จำเป็นต้องทดแทนเรือเก่าที่ถูกปลดระวางไปแล้ว (หรือถูกขาย) การ ทดแทนเรือทีถ่ กู ปลดระวาง/เรือทีไ่ ด้ขายไปแล้ว สามารถทำได้ดว้ ยการซือ้ เรือมือสองจากตลาด “ซือ้ -ขาย” เรือเสรี (the open “Sale & Purchase” market) อย่างไรก็ตาม เนือ่ งจากการขยายตัวอย่างรวดเร็วของตลาดการขนส่งระหว่างประเทศ ทำให้มลู ค่า (ราคา) (value (cost)) ของเรือมือสองสูงขึน้ อย่างทีไ่ ม่เคยเกิดขึน้ มาก่อน และบริษทั ฯ เห็นว่าไม่เป็นการรอบคอบทีจ่ ะซือ้ เรือในราคาสูงขณะนี้ ซึง่ จะก่อ ให้เกิดความเสี่ยงต่อมูลค่าของสินทรัพย์ (เรือ) อันเป็นผลมาจากมูลค่าเรือในตลาดลดลงในช่วงขาลงที่จะมาถึง อย่างไรก็ตาม เนือ่ งจากการไม่สามารถซือ้ เรือในราคาทีเ่ หมาะสม ณ ขณะนีไ้ ด้ ทำให้บริษทั ฯ มีความเสีย่ งในการทดแทนความสามารถการให้บริการ ขนส่งทีห่ ายไปอันเป็นผลจากการขาย/ปลดระวางเรือเก่าของบริษทั ฯ บริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะลดความเสี่ยงในการทดแทนความสามารถการขนส่งดังกล่าวด้วยการทำสัญญาสั่งต่อเรือใหม่ในราคาที่ เหมาะสม มีคณ ุ สมบัตทิ ส่ี อดคล้องกับความต้องการและความจำเป็นของบริษทั ฯ ทัง้ นี้ รายละเอียดของสัญญาสัง่ ต่อเรือเหล่านี้ ได้ กล่าวไว้ในหัวข้อ บทวิเคราะห์และคำอธิบายของผู้บริหาร ในรายงานประจำปีฉบับนี้ เพื่อให้มั่นใจในการทดแทนความสามารถ การขนส่งและขยายความสามารถ เมือ่ เรือสัง่ ต่อใหม่ได้ถกู ส่งมอบตามทีร่ ะบุในสัญญา ขณะเดียวกัน ความเสีย่ งจากการดำเนินงาน และความเสีย่ งทางการตลาดสำหรับเรือสัง่ ต่อใหม่ทจ่ี ะได้รบั มอบ จะเป็นดังทีไ่ ด้อธิบายไว้ขา้ งต้น ส่วนความเสีย่ งทีเ่ กิดจากสัญญาสัง่ ต่อเรือใหม่สามารถสรุปได้ดงั นี ้ • ความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วกับอูต่ อ่ เรือ (Ship Builder): บริษทั ฯ จะมีความเสีย่ งทีเ่ กิดจากอูต่ อ่ เรือในเรือ่ งการส่งมอบเรือ ตามกำหนด และส่งมอบเรือที่มีคุณสมบัติที่ถูกต้อง กล่าวคือการส่งมอบเรืออาจจะล่าช้าและ/หรือส่งมอบเรือที่มี คุณสมบัตไิ ม่ตรงตามทีค่ าดหมายและทีก่ ำหนดไว้ในสัญญา บริษทั ฯ มุง่ มัน่ ทีจ่ ะขจัดความเสีย่ งเหล่านีด้ ว้ ยการใช้ความ ระมัดระวังประเมินความสามารถของอูต่ อ่ เรือ ไม่วา่ จะเป็นตารางเวลาการส่งมอบซึง่ ยอมรับทัง้ สองฝ่าย และการคงไว้ ซึง่ คุณภาพ พร้อมกับการเรียกหลักประกันในรูปของ Bank Guarantees เพือ่ ให้ครอบคลุมการคืนเงินทีไ่ ด้ชำระล่วงหน้า เป็นงวดๆ ไปแล้ว และ/หรือการส่งมอบล่าช้า อีกทัง้ มีคา่ ปรับทีเ่ ข้มงวดทีไ่ ด้ระบุในสัญญาเรือ่ งของการส่งมอบเรือล่าช้า และการส่งมอบเรือทีไ่ ม่ถกู ต้องตามทีร่ ะบุ • ความเสี่ยงที่เกิดจากวัฏจักรของอุตสาหกรรม: บริษัทฯ มีความเสี่ยงเมื่อเรือที่สั่งต่อใหม่ถูกส่งมอบ ซึ่งขณะนี้ ตลาดการขนส่งสินค้ากำลังก้าวสูช่ ว่ งขาลง และเมือ่ เวลานัน้ มาถึง นอกเหนือจากมูลค่าเรือจะลดต่ำลงแล้ว ยังอาจจะ ไม่สามารถปล่อยเรือสัง่ ต่อใหม่ให้เช่าในอัตราค่าระวางทีค่ าดการณ์ไว้ เพือ่ ขจัดความเสีย่ งนี้ บริษทั ฯ พยายามทีจ่ ะทำ สัญญาให้เช่าเรือสั่งต่อใหม่แบบระยะเวลาล่วงหน้าด้วยอัตราค่าระวางที่สูงและเหมาะสม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับตารางการส่ง มอบเรือสัง่ ต่อใหม่ดงั กล่าว • ความเสี่ยงที่เกิดจากการระดมทุน: บริษัทฯ มีความเสี่ยงซึ่งเกิดจากการไม่สามารถหาแหล่งเงินทุนสำหรับเรือสั่ง ต่อใหม่ ซึง่ ในกรณีน้ี บริษทั ฯ จำเป็นต้องใช้กระแสเงินสดภายในจากการดำเนินงานเพือ่ เรือสัง่ ต่อใหม่ ทำให้บริษทั ฯ อาจจะเหลือกระแสเงินสดไม่เพียงพอ หรือเหลือเงินสดส่วนเกินไม่เพียงพอต่อการจ่ายเงินปันผล เพือ่ ขจัดความเสีย่ งนี้ บริษทั ฯ อยูร่ ะหว่างการเจรจากับธนาคารหลายแห่งเพือ่ ขอสินเชือ่ สำหรับเรือสัง่ ต่อใหม่น ้ี


As explained above, the Company’s Assets, i.e. ships, have a finite life and as and when the ships reach a certain age, they need to be scrapped. This leads to a decrease in capacity and if the Company wants to maintain capacity in terms of fleet size, the Company has to continuously follow a program of replacement of its older scrapped (or sold) vessels. Replacement of scrapped/sold ships could be achieved by purchase of second-hand ships from the open “Sale & Purchase” market. However, due to the recent boom in the International Shipping market, the values (cost) of second-hand vessels are at unprecedented highs and the Company does not deem it prudent to be buying ships at these values and expose itself to the risks of an impairment charge on its assets as a result of the fall in the market values of ships in the next cyclical downturn. However, inability to buy reasonably priced ships exposes the Company to the risk that the Company has not, and may not for a sustained period of time, replace its capacity as a result of the sale/ scrapping of the Company’s very old ships. The Company has attempted to mitigate the above Capacity Replacement risk, by entering into contracts for construction of new ships (newbuildings) at reasonable prices and specifications matching the Company’s requirement and needs and the details of these contracts have been discussed in the Management Discussion and Analysis section of this Annual Report. This would ensure capacity replacement/expansion as and when the ships are delivered in accordance with the contracts. While the Operating and Market risks associated with the ships as and when delivered have been discussed above, the specific risks associated with the newbuilding contracts are summarized as under: • Risks associated with the Ship Builder: The Company is exposed to a default risk by the Ship Builder in terms of adhering to delivery schedules and achieving the right quality of the ships whereby the delivery of the ships could be delayed and/or the ships delivered are not of the expected and contracted quality. The Company has attempted to mitigate these risks by carefully evaluating the capacity of the Ship Builder in terms of meeting contracted delivery schedules and maintaining quality and has obtained bank guarantees to cover refund of pre-delivery instalments and/or delay in deliveries apart from including stringent penalties in the contracts, both, for delays as well as departure from specified quality parameters. • Risks associated with the Cyclical Industry: The Company is exposed to the risk that when the newbuildings are delivered, the Shipping Market is going through a cyclical downturn and at such time, apart from a fall in the ship values, it may not be possible to charter these ships at the expected rates. In order to mitigate this risk, the Company is attempting to book forward time charters at reasonably high rates, based on the expected delivery dates of the newbuildings. • Risks associated with funding: The Company is exposed to the risk that the funding required for the newbuildings cannot be tied up through external sources in which case, the Company will be forced to utilize internal operating cashflows for this purpose, which, may not leave sufficient or any excess cash for dividends. In order to mitigate this risk, the Company is in discussions with a number of Banks for obtaining credit facilities to fund the newbuilding contracts.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

CAPACITY REPLACEMENT AND EXPANSION RISK

105


ผู้ถือหุ้นรายใหญ่และนโยบายการจ่ายเงินปันผล

ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ตามสมุดทะเบียนผูถ้ อื หุน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

เลขที่ ชื่อ

บริษทั โกลเบ๊กซ์ คอร์ปอเรชัน่ จำกัด

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

*ณ วันที่ 31 มกราคม 2550

จำนวนหุน้

จำนวนหุน้

ร้อยละ

ร้อยละ

260,777,706

25.09%

130,290,000

25.06%

นางสาว นิชติ า้ ชาห์

98,586,000

9.48%

49,293,000

9.48%

บริษทั เกรนเทรด จำกัด

73,468,000

7.07%

36,734,000

7.06%

บริษทั ยูนสิ เตรทช์ จำกัด

7,600,400

0.73%

3,800,200

0.73%

440,432,106

42.37%

220,117,200

42.33%

1 ** รวม จำนวนหุน้ ทีอ่ ยูภ่ ายใต้การควบคุมของ น.ส นิชติ า้ ชาห์

นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม (รวมหุน้ จำนวน150,000 หุน้ ในบริษทั ไทย เอ็นวีดอี าร์ จำกัด)

99,909,600

9.61%

49,879,800

9.59%

นายมูนรี มอยนูดดิน ฮาชิม (รวมหุน้ จำนวน 80,000 หุน้ ในบริษทั ไทย เอ็นวีดอี าร์ จำกัด)

75,134,100

7.23%

37,527,050

7.22%

นางอิสรัท ฮาชิม (ภริยา นาย มูนรี มอยนูดดิน ฮาชิม)

6,696,000

0.64%

3,348,000

0.64%

2 *** รวม จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ครองโดยตระกูล ฮาชิม

181,739,700

17.48%

90,754,850

17.45%

3 บริษทั ไทย เอ็นวีดอี าร์ จำกัด

97,558,410

9.39%

35,571,385

6.84%

4 ฟอร์ตสิ โกลบอล คาสโตดี้ เซอร์วสิ เอ็น.วี.

29,298,600

2.82%

14,500,000

2.79%

5 บริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด เพือ่ ผูฝ้ าก

15,214,222

1.46%

1,004,835

0.19%

6 สเตท สตรีท แบงค์ แอนด์ ทรัสท์ คอมพานี ฟอร์ ออสเตรเลีย

13,467,800

1.30%

1,905,100

0.37%

7 สเตท สตรีท แบงค์ แอนด์ ทรัสท์ คอมพานี

9,886,481

0.95%

2,531,187

0.49%

8 พิคทิค แอนด์ ซี

9,619,000

0.93%

4,809,500

0.92%

9 นาย ชาห์ ซาลิล ซีแวนทิเทิล

8,243,200

0.79%

4,836,600

0.93%

8,234,294

0.79%

4,216,000

0.81%

225,826,787

21.72%

139,753,343

26.88%

**** 1,039,520,600

100.00%

520,000,000

100.00%

10 เจ็ดดรา เอ็นเตอร์ไพรซ์ ไอเอ็นซี

11 ผูถ้ อื หุน้ รายอืน่ ๆ (นอกจากผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ 10 รายแรก ข้างต้น)

รวมทัง้ หมด ณ 31 ธันวาคม 2550 : ผูถ้ อื หุน้ 4,664 ราย /

ณ 31 มกราคม 2550 : ผูถ้ อื หุน้ 1,498 ราย

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

หมายเหตุ : * แสดงการถือครองหุน้ ทีไ่ ด้เปิดเผยในรายงานประจำปี 2549 ** นางสาว นิชติ า้ ชาห์ ผูซ้ ง่ึ เป็นกรรมการของบริษทั ฯ และเป็นกรรมการ และผูถ้ อื หุน้ ใน บริษทั โกลเบ๊กซ์ คอร์ปอเรชัน่ จำกัด, บริษทั เกรนเทรด จำกัด และ บริษทั ยูนสิ เตรทช์ จำกัด *** นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม เป็นพีช่ ายของ นายมูนรี มอยนูดดิน ฮาชิม **** แสดงการเพิม่ ขึน้ ของหุน้ ทีอ่ อกและชำระเต็มมูลค่าแล้ว จาก 520,000,000 หุน้ เป็น 1,039,520,600 หุน้ เนือ่ งด้วยการจ่ายหุน้ ปันผลในเดือนพฤษภาคม 2550 ตามมติทไ่ี ด้รบั อนุมตั โิ ดยทีป่ ระชุมสามัญประจำปีผถู้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2550 เมือ่ วันที่ 24 เมษายน 2550

106

นโยบายการจ่ายเงินปันผล

บริษัทฯ มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลซึ่งได้รับอนุมัติจากที่ประชุมสามัญประจำปีผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2547 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2547 ให้จ่ายเงินปันผลประจำปีไม่ต่ำกว่าร้อยละ 25 ของผลกำไรสุทธิหลังหักภาษีและสำรองตามกฎหมาย ทั้งนี้ เมื่อ คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มมี ติเห็นชอบให้จา่ ยเงินปันผลประจำปีแล้วจะต้องนำเสนอขออนุมตั ติ อ่ ทีป่ ระชุมสามัญประจำปีผถู้ อื หุน้ โดย ในส่วนของเงินปันผลระหว่างกาล ให้คณะกรรมการบริษัทฯ มีอำนาจอนุมัติให้จ่ายได้ แล้วให้รายงานให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบใน การประชุมสามัญประจำปีผถู้ อื หุน้ คราวต่อไป


MAJOR SHAREHOLDERS and dividend policy statement

Major Shareholders per share register as on 31st December 2007

No. Name

Globex Corporation Limited

As on 31st December 2007 * As on 31st January 2007 No.of shares Percentage No.of shares Percentage 260,777,706

25.09%

130,290,000

25.06%

Miss. Nishita Shah

98,586,000

9.48%

49,293,000

9.48%

Graintrade Limited

73,468,000

7.07%

36,734,000

7.06%

Unistretch Limited

7,600,400

0.73%

3,800,200

0.73%

440,432,106

42.37%

220,117,200

42.33%

1 ** Total shares under control of Ms. Nishita Shah

Mr. Khalid Moinuddin Hashim (includes 150,000 shares held at Thai NVDR Limited)

99,909,600

9.61%

49,879,800

9.59%

Mr. Munir Moinuddin Hashim (includes 80,000 shares held at Thai NVDR Limited)

75,134,100

7.23%

37,527,050

7.22%

Mrs. Ishrat Hashim (wife of Mr. Munir Moinuddin Hashim)

6,696,000

0.64%

3,348,000

0.64%

181,739,700

17.48%

90,754,850

17.45%

2 *** Total shareholding of Hashim family

3 Thai NVDR Limited

97,558,410

9.39%

35,571,385

6.84%

4 Fortis Global Custody Services N.V.

29,298,600

2.82%

14,500,000

2.79%

5 Thailand Securities Depository (Thailand) Co.,Ltd. For Depositor

15,214,222

1.46%

1,004,835

0.19%

6 State Street Bank and Trust Company for Australia

13,467,800

1.30%

1,905,100

0.37%

7 State Street Bank and Trust Company

9,886,481

0.95%

2,531,187

0.49%

8 PICTET & CIE

9,619,000

0.93%

4,809,500

0.92%

9 Mr. Shah Salil Sevantilal

8,243,200

0.79%

4,836,600

0.93%

8,234,294

0.79%

4,216,000

0.81%

225,826,787

21.72%

139,753,343

26.88%

**** 1,039,520,600

100.00%

520,000,000

100.00%

10 Gedra Enterprises Inc

11 Other shareholders (apart from the Top Ten shareholders as mentioned above)

Grand Total As at 31 December 2007 : 4,664 shareholders / st

As at 31 January 2007 : 1,498 shareholders

Note :

* Per disclosure made in Annual Report 2006 ** Miss Nishita Shah who is the Director of the Company is also the Director and shareholder of Globex Corporation Limited, Graintrade Limited and Unistretch Limited *** Mr. Khalid Moinuddin Hashim is the brother of Mr. Munir Moinuddin Hashim **** The issued and fully paid-up shares were increased from 520,000,000 shares to 1,039,520,600 shares to allow for the issue of shares as stock dividend in May 2007, pursuant to the resolution passed by the shareholders in AGM1/2007 held on 24th April 2007.

Dividend Policy Statement

The Company’s dividend policy approved by the Annual General Meeting of Shareholders No. 1/2004 dated 30th April 2004 is to pay out not less than 25% of Net Profits after taxes and appropriation to any reserves required by law. Upon approval by the Board of Directors, the annual dividend payout is to be presented to the shareholders’ annual general meeting for approval. As regards the interim dividend, however, the Board is authorised to pay it and then report the payout at the next shareholders’ annual general meeting.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

st

107


โครงสร้างการจัดการ

บริษัทฯ มีคณะกรรมการรวม 5 ชุด คือ

1. 2. 3. 4. 5.

คณะกรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหา

การแต่งตั้งคณะกรรมการบริษัทฯ

บริษัทฯ กำหนดให้การแต่งตั้งกรรมการกระทำโดยที่ประชุมผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้นหนึ่งหุ้นมีหนึ่งคะแนนเสียง โดยที่ผู้ถือหุ้นแต่

ละคนต้องใช้คะแนนเสียงทีม่ อี ยูท่ ง้ั หมด เลือกบุคคลคนเดียว หรือหลายคนเป็นกรรมการ บุคคลซึง่ ได้รบั คะแนนเสียงสูงสุดตามลำดับ ลงมา เป็นผูไ้ ด้รบั การเลือกตัง้ ให้เป็นกรรมการเท่ากับจำนวนกรรมการทีจ่ ะพึงมี หรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ และในกรณีทบ่ี คุ คลซึง่ ได้ รับการเลือกตั้งในลำดับถัดลงมา มีคะแนนเสียงเท่ากัน ทำให้เกินจำนวนกรรมการที่จะพึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ให้ผู้เป็น ประธานเป็นผูอ้ อกเสียงชีข้ าด คณะกรรมการมีอำนาจในการแต่งตัง้ กรรมการบริหารจากกรรมการของบริษทั ฯ โดยมีจำนวนไม่นอ้ ยกว่าสามคนเพือ่ บริหาร กิจการของบริษทั ฯ

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

1. คณะกรรมการบริษัทฯ

108

อำนาจ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั ฯ สรุปไว้ดงั นี ้ 1. คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้รับผิดชอบจัดการกิจการทั้งหลายของบริษัทฯ โดยมีอำนาจหน้าที่ดำเนินการภายใน ขอบเขตของกฎหมาย วัตถุประสงค์และข้อบังคับของบริษทั ฯ และตามมติของทีป่ ระชุมใหญ่ผถู้ อื หุน้ รวมทัง้ มีอำนาจกระทำการใดๆ ตามทีร่ ะบุไว้ในหนังสือบริคณห์สนธิ หรือทีเ่ กีย่ วข้องกับพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 2. กรรมการ มีหน้าทีก่ ระทำการใดๆ เพือ่ รักษาผลประโยชน์ของบริษทั ฯ 3. คณะกรรมการบริษัทฯ หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีอำนาจกำหนดรายชื่อกรรมการบริษัทฯ ผู้มีอำนาจลงลายมือชื่อผูกพัน บริษทั ฯ ซึง่ ปัจจุบนั กรรมการผูม้ อี ำนาจลงลายมือชือ่ ผูกพันบริษทั ฯ ได้แก่ 1) นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม 2) นายมูนรี มอยนูดดิน ฮาชิม 3) นายคูชรู คาลี วาเดีย โดยกรรมการบริษทั ฯ สองในสามท่านลงลายมือชือ่ ร่วมกันและประทับตราสำคัญของบริษทั ฯ 4. คณะกรรมการบริษทั ฯ มีอำนาจทีจ่ ะขาย หรือจำนองอสังหาริมทรัพย์ใดๆ ของบริษทั ฯ หรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ใดๆ ของบริษทั ฯ กว่าสามปีขน้ึ ไป หรือให้ หรือประนีประนอมยอมความหรือยืน่ ฟ้องต่อศาล หรือมอบข้อพิพาทใดๆ ให้อนุญาโตตุลาการ พิจารณา

2. คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ กรรมการบริหาร มีรายชือ่ ต่อไปนี ้ 1) นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม 2) นายมูนรี มอยนูดดิน ฮาชิม 3) นายคูชรู คาลี วาเดีย


MANAGEMENT STRUCTURE

The Company has 5 Boards / Committees

1. 2. 3. 4. 5.

The Board of Directors The Executive Board of Directors The Audit Committee The Remuneration Committee The Nomination Committee

Election of the Board of Directors

The election of Directors is conducted by the meeting of shareholders. Each shareholder has one vote per share and each shareholder exercises all votes applicable in appointing one or more person to be a Director. The candidates are ranked in descending order from the highest number of votes to the lowest, and are appointed as Directors in that order until the Director positions are filled. Where the votes for candidates are tied, which would otherwise cause the number of directors to be exceeded, the Chairman has the casting vote. Powers, duties and responsibilities of the Board of Directors are as follows: 1. The Board of Directors performs its duties in conformity with applicable laws, and carries on the business of the Company in accordance with the laws, the Company’s objectives and the articles of association as well as the resolutions of the shareholders’ meetings. They are authorized to carry on any activities as prescribed in the memorandum or those related thereto under the Public Limited Companies Act B.E. 2535. 2. The Directors, in their business conduct, are expected to generally act with care to preserve the interest of the Company. 3. The Board of Directors or the Shareholders at their meeting is entitled to designate the authorized Directors to bind the Company and accordingly, any two of the following with the Company’s Seal are the present authorized signatories: 1) Mr. Khalid Moinuddin Hashim 2) Mr. Munir Moinuddin Hashim 3) Mr. Khushroo Kali Wadia 4. The Board of Directors is inter alia authorized to sell or mortgage any of the Company’s immovable properties, to let any of the Company’s immovable properties for the period more than three years, to make a gift, to compromise, to file complaints to the Court and to submit the dispute to the Arbitration. 2. The Executive Board of Directors

The following 3 directors are appointed by the Board of Directors as the Executive Directors on the Executive Board of Directors. 1) Mr. Khalid Moinuddin Hashim 2) Mr. Munir Moinuddin Hashim 3) Mr. Khushroo Kali Wadia

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

1. The Board of Directors

109


อำนาจ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร สรุปไว้ดงั นี ้ 1. คณะกรรมการบริหารมีหน้าทีบ่ ริหารกิจการของบริษทั ฯ ภายใต้มติและระเบียบข้อบังคับของคณะกรรมการบริษทั ฯ 2. คณะกรรมการบริหารมีอำนาจทำความตกลงหรือทำสัญญาผูกพันบริษัทฯ โดยข้อตกลงหรือสัญญานั้นจะต้องอยู่ ในขอบเขตอำนาจหน้าที่ที่คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ให้ไว้และจะต้องให้มีกรรมการบริหารสองคนลงนามและประทับตราสำคัญ ของบริษัทฯ 3. คณะกรรมการบริหารมีอำนาจกระทำการใด ๆ เพือ่ ผลประโยชน์ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย

3. คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบครัง้ แรก เมือ่ วันที่ 24 สิงหาคม 2541 มีวาระการดำรงตำแหน่ง ท่านละ 2 ปี ปัจจุบนั คณะกรรมการตรวจสอบมีรายชือ่ ดังต่อไปนี ้ ระยะเวลาใน ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง สถานะ การดำรงตำแหน่ ง

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

*

110

1. 2. 3.

พลตำรวจโท เกียรติศกั ดิ ์ ประภาวัต* พลเรือเอก ดร. อำนาจ จันทนมัฎฐะ นายสุพฒ ั น์ ศิวะศรีอำไพ**

ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

กรรมการอิสระ

2 ปี

กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ

2 ปี 2 ปี

พลตำรวจโท เกียรติศักดิ์ ประภาวัต ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและนายสุพัฒน์ ศิวะศรีอำไพ กรรมการตรวจสอบ ได้รับการแต่งตั้งให้กลับเข้าดำรงตำแหน่งอีกวาระหนึ่งโดยมติของที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 4/2549 เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2549 ** กรรมการตรวจสอบทีม่ คี วามรูแ้ ละประสบการณ์ดา้ นบัญชีและการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าทีส่ อบทานและรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ ในเรือ่ งดังต่อไปนี ้ 1. สอบทานรายงานทางการเงินของบริษทั ฯ เพือ่ ให้มน่ั ใจว่ารายงานทางการเงินมีการจัดทำอย่างถูกต้องและมีการเปิดเผย ข้อมูลอย่างครบถ้วน 2. สอบทานเพือ่ ให้มน่ั ใจว่าบริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในและระบบการตรวจสอบภายในทีม่ ปี ระสิทธิภาพ 3. สอบทานเพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์ รวมทัง้ กฎหมายอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ 4. พิจารณา คัดเลือกและเสนอแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีรวมทัง้ การแสดงความเห็นต่อค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ และ เสนอต่อผูถ้ อื หุน้ เพือ่ อนุมตั ิ 5. สอบทานการเปิดเผยสารสนเทศของบริษัทฯ ในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกันที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพือ่ ให้มน่ั ใจว่ามีการเปิดเผยอย่างถูกต้องและครบถ้วน 6. จัดทำรายงานการกำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและ เปิดเผยไว้ในรายงานประจำปีของบริษทั ฯ 7. ปฏิบตั งิ านอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมายและด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ


Powers, duties and responsibilities of the Executive Board of Directors are summarized hereunder: 1. To manage the Company’s business under the resolutions / regulations of the Board of Directors. 2. To execute any agreements / contracts binding the Company of which the terms and conditions must be in the scope of authority vested by the Board of Directors. Such agreements / contracts must be affixed with signatures of any two Executive Directors together with the Company’s seal. 3. To generally act on behalf and in the interest of the Company and its subsidiaries as may be required to carry on the business. 3. The Audit Committee

The Board of Directors has appointed the Audit Committee since 24th August 1998 with the term of 2 years for each member. The current Audit Committee Members are as follows: Name Position Status

*

1. 2. 3.

Police Lt. Gen. Kiattisak Prabhavat* Admiral Dr. Amnad Chandanamattha Mr. Suphat Sivasriaumphai**

Chairman of Audit Independent Director Committee Audit Committee Member Independent Director Audit Committee Member Independent Director

Duration on the Committee

2 Years 2 Years 2 Years

Police Lt. Gen. Kiattisak Prabhavat, Chairman of Audit Committee and Mr. Suphat Sivasriaumphai, Audit Committee Member were reappointed by resolution of the Board of Directors in the Board meeting no.4/2006 held on 28th August 2006. ** Audit Committee member with knowledge and experience in accounting and financial field. The Audit Committee is responsible for reviewing and reporting the following matters to the Board of Directors. 1. To review the Company’s financial reporting process to ensure accuracy with adequate and complete disclosure. 2. To ensure that the Company has an appropriate and efficient internal control system subject to internal audit and to also ensure that there is an efficient internal audit system in place. 3. To review the performance of the Company to ensure compliance with the securities and exchange law, regulations of the Exchange and other laws relating to the business of the Company. 4. To select and nominate for shareholders’ approval, the external auditor of the Company, including recommendation of remuneration of the external auditor. 5. To review the disclosure of information of the Company in case of connected party transactions that may lead to conflict of interest so as to ensure accurate and complete disclosure. 6. To prepare a report on activities of the Audit Committee and disclose it in the annual report, such report to be signed by the Chairman of the Audit Committee. 7. To perform any other act as delegated by the Board of Directors and accepted by the Audit Committee.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

111


4. คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน

ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน เมือ่ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2550 ซึง่ ประกอบ ด้วยกรรมการทัง้ หมด 3 ท่าน ดังต่อไปนี ้ ระยะเวลาใน ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง สถานะ การดำรงตำแหน่ง 1. นายธีระ วิภชู นิน ประธานคณะกรรมการ กรรมการอิสระ 2 ปี พิจารณาค่าตอบแทน 2. นายชีระ ภาณุพงศ์ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ 2 ปี 3. นายกิรติ ชาห์ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการ 2 ปี บทบาท หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนมีหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ซึง่ ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ ดังต่อไปนี ้ 1. กำหนดแนวทางการจ่ายค่าตอบแทนของกรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูงและนำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ 2. เสนอค่าตอบแทนของกรรมการต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ รับคำแนะนำและแสดงความเห็นและเพือ่ นำเข้าสูก่ ารขอ อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ 3. ให้ข้อมูลที่ทันสมัยเกี่ยวกับค่าตอบแทนของบริษัทต่าง ๆ ในประเทศไทยและต่างประเทศ เสนอต่อคณะกรรมการ บริษทั ฯ 4. ปฏิบตั งิ านอืน่ ๆ ทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ

5. คณะกรรมการสรรหา

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ได้อนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหา เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2550 ซึ่งประกอบด้วย กรรมการทัง้ หมด 3 ท่าน ดังต่อไปนี ้ ระยะเวลาใน ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง สถานะ การดำรงตำแหน่ง

112

1. นายธีระ วิภชู นิน ประธาน กรรมการอิสระ 2 ปี คณะกรรมการสรรหา 2. นายสุพฒ ั น์ ศิวะศรีอำไพ กรรมการสรรหา กรรมการอิสระ 2 ปี 3. นายปีเต้อร์ เฟ็ดเดอร์เซ่น กรรมการสรรหา กรรมการอิสระ 2 ปี บทบาท หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการสรรหามีหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ซึง่ ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ ดังต่อไปนี ้ 1. กำหนดแนวทางในการคัดเลือก แต่งตัง้ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมและนำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ 2. ทบทวนโครงสร้างของคณะกรรมการบริษทั ฯ และนำเสนอแผนการสืบทอดงานของกรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูง 3. นำเสนอรายชือ่ ผูส้ มัครทีเ่ ข้าเกณฑ์ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการ ต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ 4. ดำเนินการสอบทานการปฏิบตั งิ านของกรรมการ ตามความต้องการของคณะกรรมการบริษทั ฯ 5. จัดทำรายงานเกี่ยวกับแนวโน้มและข้อปฏิบัติที่เป็นปัจจุบันในการแต่งตั้งกรรมการและผู้บริหารระดับสูง เพื่อ

นำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณา 6. ปฏิบตั งิ านอืน่ ๆ ทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ


4. The Remuneration Committee

The Board of Directors appointed the Remuneration Committee in their meeting held on 15th November 2007, which consists of 3 Directors as follows:

Name Position Status

Duration on the Committee

1. Mr. Thira Wipuchanin Chairman Independent Director 2 Years 2. Mr. Chira Panupong Member Independent Director 2 Years 3. Mr. Kirit Shah Member Director 2 Years Duties and Responsibilities of the Remuneration Committee. The Remuneration Committee is responsible for duties assigned by the Board of Directors as follows: 1. Set out compensation guidelines for Directors and Senior Management and propose the same to the Board of Directors. 2. Propose the Directors’ Remuneration for the Board of Directors to make its recommendations and express its opinion for approval in shareholders’ meeting. 3. Update the Board of Directors about compensation norms being followed by companies in Thailand and abroad. 4. Other specific jobs assigned by the Board of Directors. 5. The Nomination Committee

The Board of Directors appointed the Nomination Committee in their meeting held on 15th November 2007, which consists of 3 Directors as follows: Name Position Status

Duration on the Committee

1. Mr. Thira Wipuchanin Chairman Independent Director 2 Years 2. Mr. Suphat Sivasriaumphai Member Independent Director 2 Years 3. Mr. Peter Feddersen Member Independent Director 2 Years Duties and Responsibilities of the Nomination Committee The Nomination Committee is responsible for duties assigned by the Board of Directors as follows: 1. Set out selection and nomination guidelines of appropriate persons and propose the same to the Board of Directors. 2. Review the Board structure and propose a succession plan for Directors and Senior Management. 3. Propose to the Board, names of potential candidates for appointment as Directors. 4. If requested by the Board of Directors, assist in the process of review of performance of Directors. 5. Prepare specific reports on latest trends and practices in the appointment of the Directors and Senior Management for consideration by the Board of Directors. 6. Other jobs assigned by the Board of Directors.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

113


ประวัติคณะกรรมการบริษัท

พลเรือเอก ดร. อำนาจ จันทนมัฎฐะ

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ตำแหน่ง ประธานคณะกรรมการบริษทั ฯ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ อายุ 77 ปี ประวัตกิ ารศึกษา B.Sc. First-Class Hons. Ph.D. วิศวกรรมเครือ่ งกล มหาวิทยาลัย Leeds ประเทศอังกฤษ พ.ศ. 2533 ปริญญาวิศวกรรมศาสตร์ดษุ ฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิศวกรรมเครือ่ งกล มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุร ี วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ว.ป.อ. รุน่ 28 ประวัตกิ ารอบรม 11 ม.ค. 2549 เข้าร่วมประชุมเพือ่ รับทราบ “ทิศทางและนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลในปี 2549” บรรยายโดย อดีตนายกรัฐมนตรี พันตำรวจโท ดร. ทักษิณ ชินวัตร 21 ก.ย. 2547 เข้าร่วมอบรมในหัวข้อ “Director Accreditation Program” (DAP) จัดโดย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 3 ธ.ค. 2544 เข้าร่วมอบรมในหัวข้อ “Chairman 2000” จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 16 พ.ย. 2544 เข้าร่วมการอบรมเรือ่ ง “Effective Audit Committees & Best Practices” จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 31 ต.ค. 2543 เข้าร่วมการอบรมในหัวข้อ “The State of Corporate Governance in Europe” จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ประสบการณ์อนื่ ๆ 2534 - ปัจจุบนั ประธานคณะกรรมการ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2542 - 2549 กรรมาธิการ รัฐสภา 2534 พลเรือเอกแห่งราชนาวีไทย เสนาธิการกองบัญชาการทัว่ ไป 2532 - 2534 เจ้ากรมอูท่ หารเรือ กรมอูท่ หารเรือ 2531 - 2532 รองเจ้ากรมอูท่ หารเรือ กรมอูท่ หารเรือ อาชีพหลัก ข้าราชการบำนาญ-พลเรือเอกแห่งราชนาวีไทย นักธุรกิจ การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษทั และกิจการ/องค์กรอืน่ - บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่ม ี - บริษทั ทีไ่ ม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2 บริษทั : 1. ประธานคณะกรรมการ บริษทั ฮอสพิทอล เน็ทเวิรค์ จำกัด 2. ประธานคณะกรรมการ บริษทั โรงพยาบาลบางกอก 9 อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด - บริษทั ทีเ่ กีย่ วโยงกับธุรกิจของบริษทั ฯ ไม่ม ี - บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ (บริษทั ย่อยและ/หรือบริษทั ร่วม) ไม่ม ี - กิจการ/องค์กรอืน่ ไม่ม ี จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ สิน้ ปี พ.ศ. 2550 2,398,800 หุน้ (ร้อยละ 0.23 ของหุน้ ทัง้ หมดทีเ่ รียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2550 (43,800) หุน้ (ปรับจำนวนหุน้ ตามหุน้ ปันผล)

114


BOARD OF DIRECTORS - PROFILE

POSITION Chairman of the Board of Directors Audit Committee Member Independent Director AGE 77 years EDUCATION B.Sc. First-Class Hons. Ph.D in Mechanical Engineering, University of Leeds, England. Year 1990, Honorary Ph.D in Mechanical Engineering, King Mongkut’s University of Technology, Thonburi. National Defence College Group No. 28. TRAINING 11-Jan-2006 Attended the seminar on the topic “Trend and Economics’ policy of Government for the year 2006” speech by Former Prime Minister Thaksin Shinawatra. 21-Sep-2004 Attended the training course on the topic “Director Accreditation Program” (DAP) held by Thai Institute of Directors Association. 3-Dec-2001 Attended the training course on the topic “Chairman 2000” held by Thai Institute of Directors Association. 16-Nov-2001 Attended the training course on the topic “Effective Audit Committees & Best Practices” held by Thai Institute of Directors Association. 31-Oct-2000 Attended the training course on the topic “The State of Corporate Governance in Europe” held by Thai Institute of Directors Association. EXPERIENCE 1991 - Present Chairman, Precious Shipping Public Company Limited. 1999 - 2006 Commissioner of Parliament. 1991 Admiral, General Headquarters, Royal Thai Navy. 1989 - 1991 Director General, Naval Dockyard. 1988 - 1989 Deputy Director General, Naval Dockyard. OCCUPATION Retired Government officer - Admiral of General Headquarters, Royal Thai Navy. Businessman. DIRECTORSHIP AND POSITIONS HELD IN OTHER COMPANIES AND OTHER ORGANISATIONS - LISTED COMPANIES Nil - NON-LISTED COMPANIES 2 Companies : 1. Chairman, Hospital Network Company Limited. 2. Chairman, Bangkok 9 International Hospital Company Limited. - CONNECTED COMPANIES Nil - OTHER RELATED COMPANIES (SUBSIDIARIES / ASSOCIATED COMPANIES) Nil - OTHER ORGANISATIONS Nil NO. OF SHARES HELD AS OF YEAR END 2007 2,398,800 shares (0.23% of total paid-up shares) INCREASE (DECREASE) IN SHAREHOLDING IN THE YEAR 2007 (43,800) shares (ADJUSTED FOR STOCK DIVIDEND)

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

ADMIRAL DR. AMNAD CHANDANAMATTHA

115


นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม ตำแหน่ง กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการบริหาร อายุ 55 ปี ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญาโทด้านการบริหารสาขาการเงิน จากมหาวิทยาลัยบอมเบย์ ประวัตกิ ารอบรม 2548 สมาชิกผูท้ รงคุณวุฒิ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) ซึง่ ได้รบั ประกาศนียบัตร สถาบันกรรมการบริษทั ไทย [Directors Certification Program (DCP)] Class 57/2005 ประสบการณ์อนื่ ๆ 2534 - ปัจจุบนั กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2527 - 2534 หัวหน้าแผนกชิพปิง้ บริษทั จีพี คอร์ปอเรชัน่ จำกัด 2522 - 2526 ผูบ้ ริหารอาวุโส บริษทั แพนโอเชีย่ น นาวิเกชัน่ แอน เทรดดิง้ พีทอี ี จำกัด อาชีพหลัก กรรมการผูจ้ ดั การ และกรรมการบริหาร บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษทั และกิจการ/องค์กรอืน่ - บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่ม ี - บริษทั ทีไ่ ม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯและบริษทั ทีเ่ กีย่ วโยงกับธุรกิจของบริษทั ฯ ไม่ม ี - บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ (บริษทั ย่อยและ/หรือบริษทั ร่วม) 51 บริษทั : กรรมการในบริษทั ย่อย 50 บริษทั และบริษทั ร่วม 1 บริษทั ของบริษทั ฯ (บริษทั ย่อยที่ 1 - 49, 51 และบริษทั ร่วมที่ 50 ในหน้า 8-10 ของรายงานประจำปีฉบับนี)้ - กิจการ/องค์กรอืน่ 1. กรรมการ The Swedish Club, ประเทศสวีเดน 2. Regional Committee Member, American Bureau of Shipping 3. Austral-Asia Regional Committee Member, Bureau Veritas จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ สิน้ ปี พ.ศ. 2550 99,909,600 หุน้ (ร้อยละ 9.61 ของหุน้ ทัง้ หมดทีเ่ รียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2550 150,000 หุน้ (ปรับจำนวนหุน้ ตามหุน้ ปันผล)

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

นายมูนีร มอยนูดดิน ฮาชิม

116

ตำแหน่ง กรรมการ กรรมการบริหาร อายุ 53 ปี ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญาโทด้านการบริหารสาขาการตลาด จากมหาวิทยาลัยบอมเบย์ ประวัตกิ ารอบรม 2548 สมาชิกผูท้ รงคุณวุฒิ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) ซึง่ ได้รบั ประกาศนียบัตร สถาบันกรรมการบริษทั ไทย [Directors Certification Program (DCP)] Class 57/2005 ประสบการณ์อนื่ ๆ 2534 - ปัจจุบนั กรรมการ (การพาณิชย์) บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2529 - 2534 หัวหน้าฝ่ายปฏิบตั กิ าร บริษทั จีพี คอร์ปอเรชัน่ จำกัด 2524 - 2528 หัวหน้าฝ่ายปฏิบตั กิ ารพาณิชย์ บริษทั มัลดีฟส์ ชิพปิง้ จำกัด อาชีพหลัก กรรมการ (การพาณิชย์) และ กรรมการบริหาร บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษทั และกิจการ/องค์กรอืน่ - บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่ม ี - บริษทั ทีไ่ ม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯและบริษทั ทีเ่ กีย่ วโยงกับธุรกิจของบริษทั ฯ ไม่ม ี - บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ (บริษทั ย่อยและ/หรือบริษทั ร่วม) 49 บริษทั : กรรมการในบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ (บริษทั ย่อยที่ 1- 48 และ 51 ในหน้า 8-10 ของรายงานประจำปีฉบับนี)้ - กิจการ/องค์กรอืน่ 1. กรรมการ UK Defence Club, ประเทศอังกฤษ จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ สิน้ ปี พ.ศ. 2550 75,134,100 หุน้ (ร้อยละ 7.23 ของหุน้ ทัง้ หมดทีเ่ รียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2550 80,000 หุน้ (ปรับจำนวนหุน้ ตามหุน้ ปันผล)


MR. KHALID MOINUDDIN HASHIM POSITION Managing Director Executive Director AGE 55 years EDUCATION Master’s Degree in Management Studies specializing in Finance from the University of Bombay. TRAINING 2005 Graduate member of Thai Institute of Directors (IOD) Completed “Directors Certificate Program” (DCP), Class 57/2005 EXPERIENCE 1991 - Present Managing Director, Precious Shipping Public Company Limited 1984 - 1991 Head of Shipping Department, Geepee Corporation Limited 1979 - 1983 Senior Executive, Pan Ocean Navigation & Trading Pte. Ltd. OCCUPATION Managing Director and Executive Director, Precious Shipping Public Company Limited DIRECTORSHIP AND POSITIONS HELD IN OTHER COMPANIES AND OTHER ORGANISATIONS - LISTED COMPANIES Nil - NON-LISTED AND CONNECTED COMPANIES Nil - OTHER RELATED COMPANIES (SUBSIDIARIES / ASSOCIATED COMPANIES) 51 Companies : Director in the Company’s 50 subsidiaries and 1 associated company (Subsidiary Companies Nos. 1 - 49 and No.51 and Associated Company No.50 on page 8-10 of this Annual Report) - OTHER ORGANISATIONS 1. Director, The Swedish Club, Sweden 2. Regional Committee Member, American Bureau of Shipping 3. Austral-Asia Regional Committee Member, Bureau Verittas NO. OF SHARES HELD AS OF YEAR END 2007 99,909,600 shares (9.61% of total paid-up shares) INCREASE (DECREASE) IN SHAREHOLDING IN THE YEAR 2007 150,000 shares (ADJUSTED FOR STOCK DIVIDEND) POSITION Director Executive Director AGE 53 years EDUCATION Master’s Degree in Management Studies Specializing in Marketing from the University of Bombay. TRAINING 2005 Graduate member of Thai Institute of Directors (IOD) - Completed “Directors Certificate Program” (DCP), Class 57/2005. EXPERIENCE 1991 - Present Director (Commercial), Precious Shipping Public Company Limited. 1986 - 1991 Head of Operations, Geepee Corporation Limited. 1981 - 1985 Head of Commercial Operations, Maldives Shipping Limited. OCCUPATION Director (Commercial) and Executive Director, Precious Shipping Public Company Limited. DIRECTORSHIP AND POSITIONS HELD IN OTHER COMPANIES AND OTHER ORGANISATIONS - LISTED COMPANIES Nil - NON-LISTED AND CONNECTED COMPANIES Nil - OTHER RELATED COMPANIES (SUBSIDIARIES / ASSOCIATED COMPANIES) 49 Companies: Director in the Company’s subsidiaries (Subsidiary Companies Nos. 1-48 and No.51 on page 8-10 of this Annual Report) - OTHER ORGANISATIONS 1. Director, UK Defence Club, U.K. NO. OF SHARES HELD AS OF YEAR END 2007 75,134,100 shares (7.23% of total paid-up shares) INCREASE (DECREASE) IN SHAREHOLDING IN THE YEAR 2007 80,000 shares (ADJUSTED FOR STOCK DIVIDEND)

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

MR. MUNIR MOINUDDIN HASHIM

117


นายคูชรู คาลี วาเดีย

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ตำแหน่ง กรรมการ กรรมการบริหาร อายุ 45 ปี ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญาตรี - สถิต,ิ คณิตศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยบอมเบย์ ผูต้ รวจสอบบัญชีรบั อนุญาตจากสถาบันผูต้ รวจสอบบัญชีรบั อนุญาตแห่งประเทศอินเดีย ประวัตกิ ารอบรม 2548 สมาชิกผูท้ รงคุณวุฒขิ องสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) ซึง่ ได้รบั ประกาศนียบัตรสถาบันกรรมการบริษทั ไทย [Directors Certification Program (DCP)] Class 64/2005 ประสบการณ์อนื่ ๆ 2542 - ปัจจุบนั กรรมการ (การเงิน) บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2537 - 2542 กรรมการ (การเงินและบัญชี) กลุม่ บริษทั แม็กซ์วนิ จำกัด 2540 - 2541 ผูอ้ ำนวยการ (การเงินและการจัดการ) บริษทั ชัวร์เท็กซ์ จำกัด 2533 - 2537 ผูจ้ ดั การแผนกบัญชีและการเงิน กลุม่ บริษทั แม็กซ์วนิ จำกัด 2531 - 2533 ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การ บริษทั เอ.เอฟ.เฟอร์กสู นั แอนด์ โค อาชีพหลัก กรรมการ (การเงิน) และ กรรมการบริหาร บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษทั และกิจการ/องค์กรอืน่ - บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่ม ี - บริษทั ทีไ่ ม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯและบริษทั ทีเ่ กีย่ วโยงกับธุรกิจของบริษทั ฯ * 3 บริษทั : 1. กรรมการ บริษทั แมกซ์วนิ บิลเดอร์ส จำกัด * (ให้บริการด้านบริหารจัดการให้เช่าสำนักงานและห้องพักพนักงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย) 2. กรรมการ บริษทั แม็กซ์วนิ อพาร์ทเม้นท์ส จำกัด 3. กรรมการ บริษทั ดิ เอเทรียม โฮเต็ล จำกัด * หมายเหตุ : อ้างอิง “รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน” ในหน้า 294 ของรายงานประจำปีฉบับนี ้ - บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ (บริษทั ย่อยและ/หรือบริษทั ร่วม) 50 บริษทั : กรรมการในบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ (บริษทั ย่อยที่ 1 - 49 และ 51 ในหน้า 8-10 ของรายงานประจำปีฉบับนี)้ - กิจการ/องค์กรอืน่ ไม่ม ี จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ สิน้ ปี พ.ศ. 2550 1,809,400 หุน้ (ร้อยละ 0.17 ของหุน้ ทัง้ หมดทีเ่ รียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2550 771,000 หุน้ (ปรับจำนวนหุน้ ตามหุน้ ปันผล)

118


MR. KHUSHROO KALI WADIA

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

POSITION Director Executive Director AGE 45 years EDUCATION Bachelor’s Degree in Science from University of Bombay. Chartered Accountant from Institute of Chartered Accountants of India. TRAINING 2005 Graduate member of Thai Institute of Directors (IOD) Completed “Directors Certificate Program” (DCP), Class 64/2005. EXPERIENCE 1999 - Present Director (Finance), Precious Shipping Public Company Limited. 1994 - 1999 Director (Finance & Accounts), Maxwin Group of Companies 1997 - 1998 Vice President (Finance & Administration), Suretex Limited. 1990 - 1994 Financial Controller, Maxwin Group of Companies. 1988 - 1990 Assistant Manager, A.F. Ferguson & Co OCCUPATION Director (Finance) and Executive Director, Precious Shipping Public Company Limited. DIRECTORSHIP AND POSITIONS HELD IN OTHER COMPANIES AND OTHER ORGANISATIONS - LISTED COMPANIES Nil - NON-LISTED AND CONNECTED* COMPANIES 3 Companies : 1. Director, Maxwin Builders Ltd.* (Service provider of management of the offices leased and apartments owned by the Company and its subsidiary respectively) 2. Director, Maxwin Apartments Ltd. 3. Director, The Atrium Hotel Ltd. *Note : Please refer to “CONNECTED TRANSACTIONS” on page 295 of this Annual Report - OTHER RELATED COMPANIES (SUBSIDIARIES / ASSOCIATED COMPANIES) 50 Companies : Director in the Company’s subsidiaries (Subsidiary Companies Nos.1 - 49 and No. 51 on page 8-10 of this Annual Report) - OTHER ORGANISATIONS Nil NO. OF SHARES HELD AS OF YEAR END 2007 1,809,400 shares (0.17% of total paid-up shares) INCREASE (DECREASE) IN SHAREHOLDING IN THE YEAR 2007 771,000 shares (ADJUSTED FOR STOCK DIVIDEND)

119


นางสาว นิชิต้า ชาห์ ตำแหน่ง กรรมการ อายุ 28 ปี ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญาตรี สาขาการจัดการธุรกิจ (การเงิน และ กฎหมายธุรกิจ), มหาวิทยาลัยบอสตัน, โรงเรียนการจัดการ ประวัตกิ ารอบรม 2550 สมาชิกผูท้ รงคุณวุฒขิ องสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) ซึง่ ได้รบั ประกาศนียบัตรสถาบันกรรมการบริษทั ไทย [Directors Certification Program (DCP)] Class 83/2007 2549 เข้าร่วมอบรมในหัวข้อ “Director Accreditation Program” (DAP), Class 57/2006 จัดโดย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) 2547 สำเร็จการฝึกอบรม “Anatomy of Shipping” course, Seatrade Academy/Cambridge Academy of Transport ประสบการณ์อนื่ ๆ 2545 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) อาชีพหลัก ผูบ้ ริหาร กลุม่ บริษทั จีพี กรุป๊ การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษทั และกิจการ/องค์กรอืน่ - บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่ม ี - บริษทั ทีไ่ ม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯและบริษทั ทีเ่ กีย่ วโยงกับธุรกิจของบริษทั ฯ * 6 บริษทั : 1. กรรมการ บริษทั โกลเบ๊กซ์ คอร์ปอเรชัน่ จำกัด 2. กรรมการ บริษทั เกรนเทรด จำกัด 3. กรรมการ บริษทั ยูนสิ เตรทช์ จำกัด * (ให้เช่าสำนักงานหลักของบริษทั ฯ) 4. กรรมการ บริษทั แอมบิกา้ ทัวร์ เอเยนซี่ จำกัด * (ขายตัว๋ เครือ่ งบินให้กบั บริษทั ฯ) 5. กรรมการ บริษทั จีพี แอร์ เซอร์วสิ จำกัด * (ขายตัว๋ เครือ่ งบินให้กบั บริษทั ฯ) 6. กรรมการ บริษทั แม็กซ์วนิ เอ็นจิเนียริง่ จำกัด * (ให้บริการบำรุงรักษาระบบเครือ่ งปรับอากาศสำหรับสำนักงาน หลักและห้องพักพนักงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย) * หมายเหตุ : อ้างอิง “รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน” ในหน้า 292 และ 294 ของรายงานประจำปีฉบับนี ้ - บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ (บริษทั ย่อยและ/หรือบริษทั ร่วม) 37 บริษทั : กรรมการในบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ (บริษทั ย่อยที่ 1-37 ในหน้า 8 และ 9 ของรายงานประจำปีฉบับนี)้ - กิจการ/องค์กรอืน่ ไม่ม ี จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ สิน้ ปี พ.ศ. 2550 98,586,000 หุน้ (ร้อยละ 9.48 ของหุน้ ทัง้ หมดทีเ่ รียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2550 ไม่ม ี (ปรับจำนวนหุน้ ตามหุน้ ปันผล)

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

นายสุพัฒน์ ศิวะศรีอำไพ

120

ตำแหน่ง กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา อายุ 61 ปี ประวัตกิ ารศึกษา อัสสัมชัญพาณิชย์ ประวัตกิ ารอบรม ทำงานและเรียนจากประสบการณ์ในการร่วมลงทุนกับบริษทั ใหญ่ทม่ี ชี อ่ื เสียงซึง่ มีทง้ั ชาวญีป่ นุ่ , อเมริกนั และอินเดียน 2549 เข้าร่วมอบรมในหัวข้อ “Director Accreditation Program” (DAP), Class 57/2006 จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) ประสบการณ์อนื่ ๆ 2532 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) อาชีพหลัก บริหารบริษทั ต่างๆ ของครอบครัว การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษทั และกิจการ/องค์การอืน่ - บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่ม ี - บริษทั ทีไ่ ม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 3 บริษทั : 1. กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ไทยฟีลาเมนต์เท็กซ์ไทล์ จำกัด 2. กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ไทย-อัมบิกา้ เคมีคลั ส์ จำกัด 3. กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั แรมแบรนดท์โฮเต็ล คอร์ปอเรชัน่ จำกัด


MISS NISHITA SHAH POSITION Director AGE 28 years EDUCATION Bachelor of Science in Business Administration; concentration in Finance and Business Law, Boston University, School of Management. TRAINING 2007 Graduate member of Thai Institute of Directors (IOD) Completed “Directors Certificate Program” (DCP) Class 83/2007 2006 Completed “Director Accreditation Program” (DAP), Class 57/2006 of Thai Institute of Directors (IOD) 2004 Completed “Anatomy of Shipping” course, Seatrade Academy/Cambridge Academy of Transport EXPERIENCE 2002 - Present Director, Precious Shipping Public Company Limited. OCCUPATION Management, GP Group of Companies. DIRECTORSHIP AND POSITIONS HELD IN OTHER COMPANIES AND OTHER ORGANISATIONS - LISTED COMPANIES Nil - NON-LISTED AND CONNECTED* COMPANIES 6 Companies 1. Director, Globex Corporation Limited. 2. Director, Graintrade Limited. 3. Director, Unistretch Limited. * (Lessor of the main operations office space leased by the Company) 4. Director, Ambika Tour Agency Limited.* (Seller of air-tickets to the Company) 5. Director, Geepee Air Service Limited. * (Seller of air-tickets to the Company) 6. Director, Maxwin Engineering Limited. * (Provider of maintenance and management services for the air-conditioning systems of Company’s main operations offices and apartments owned by a subsidiary) * Note : Please refer to “CONNECTED TRANSACTIONS” on page 293 and 295 of this Annual Report - OTHER RELATED COMPANIES (SUBSIDIARIES / ASSOCIATED COMPANIES) 37 Companies : Director in the Company’s subsidiaries (Subsidiary Companies Nos. 1-37 on page 8 and 9 of this Annual Report) - OTHER ORGANISATIONS Nil NO. OF SHARES HELD AS OF YEAR END 2007 98,586,000 shares (9.48% of total paid-up shares) INCREASE (DECREASE) IN SHAREHOLDING IN THE YEAR 2007 Nil (ADJUSTED FOR STOCK DIVIDEND) POSITION Independent Director Audit Committee Member Nomination Committee Member AGE 61 years EDUCATION Assumption Commercial College TRAINING Working/training & Experience with many joint venture companies including large Japanese, American and Indian companies. 2006 Completed “Director Accreditation Program” (DAP), Class 57/2006 of Thai Institute of Directors (IOD) EXPERIENCE 1989 - Present Director, Precious Shipping Public Company Limited. OCCUPATION Managing family owned companies DIRECTORSHIP AND POSITIONS HELD IN OTHER COMPANIES AND OTHER ORGANISATIONS - LISTED COMPANIES Nil - NON-LISTED COMPANIES 3 Companies : 1. Managing Director, Thai Filament Textiles Company Limited. 2. Managing Director, Thai Ambica Chemicals Company Limited. 3. Managing Director, Rembrandt Hotel Corporation Limited.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

MR. SUPHAT SIVASRIAUMPHAI

121


- บริษทั ทีเ่ กีย่ วโยงกับธุรกิจของบริษทั ฯ ไม่ม ี - บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ (บริษทั ย่อยและ/หรือบริษทั ร่วม) ไม่ม ี - กิจการ/องค์กรอืน่ 1. ประธานหอการค้าอินเดีย-ไทย จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ สิน้ ปี พ.ศ. 2550 3,000,000 หุน้ (ร้อยละ 0.29 ของหุน้ ทัง้ หมดทีเ่ รียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2550 (2,600,000) หุน้ (ปรับจำนวนหุน้ ตามหุน้ ปันผล)

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

พลตำรวจโท เกียรติศักดิ์ ประภาวัต

122

ตำแหน่ง ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ อายุ 72 ปี ประวัตกิ ารศึกษา 2498 - 2502 โรงเรียนนายร้อยทหารบก ประเทศอังกฤษ โรงเรียนตำรวจ ประเทศอังกฤษ โรงเรียนสืบสวนสอบสวน เฮนดอน ประเทศอังกฤษ 2509 - 2510 โรงเรียนสืบสวนสอบสวนแห่งชาติ เอฟบีไอ ประเทศสหรัฐอเมริกา 2536 - 2537 โรงเรียนนักบริหารชัน้ สูงของสำนักงานเลขาธิการ ข้าราชการพลเรือน ประวัตกิ ารอบรม 26 ก.ย. 2548 เข้าร่วมสัมนาเรือ่ ง “Corporate Governance Roundtable” โดย คณะกรรมการบรรษัทภิบาลแห่งชาติ 21 ก.ย. 2547 เข้าร่วมอบรมในหัวข้อ “Director Accreditation Program” (DAP) จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 30 ก.ค. 2545 เข้าร่วมการอบรมเรือ่ ง “Chairman 2000” จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 16 พ.ย. 2544 เข้าร่วมการอบรมเรือ่ ง “Effective Audit Committees & Best Practices” จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 30 ต.ค. 2543 เข้าร่วมการอบรมเรือ่ ง “กรรมการบริษทั กับความรับผิดชอบทีเ่ พิม่ ตาม พ.ร.บ. การบัญชี พ.ศ. 2543” จัดโดย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ประสบการณ์อนื่ ๆ 2539 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2547 - 2549 ทีป่ รึกษา ประธาน Company Affairs บริษทั แอนเซอร์ จำกัด 2546 - 2549 ทีป่ รึกษา บริษทั ออล ซีซน่ั ส์ พร็อพเพอร์ต้ี จำกัด ประธานคณะกรรมการ บริษทั Perfect Place คอนโดมิเนียม จำกัด ทีป่ รึกษา Company Affairs บริษทั V. Group Building 2545 ทีป่ รึกษา รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคม 2539 - 2541 ทีป่ รึกษาพิเศษ บริษทั สหวิรยิ า ซิต้ี จำกัด (มหาชน) ทีป่ รึกษาพิเศษ บริษทั กวงดอง เอ็นเตอร์ไพรซ์ จำกัด (มหาชน) 2538 - 2539 กรรมการ การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย 2537 - 2539 ผูบ้ ญ ั ชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง 2537 จเรตำรวจ 2535 - 2537 รองจเรตำรวจ 2534 - 2535 รองผูบ้ ญ ั ชาการศึกษา 2533 - 2534 ผูช้ ว่ ยผูบ้ ญ ั ชาการตำรวจนครบาล 2532 - 2533 ผูบ้ งั คับการอำนวยการกองบัญชาการตำรวจนครบาล 2531 - 2532 ผูบ้ งั คับการตำรวจจราจร 2526 - 2531 รองผูบ้ งั คับการตำรวจนครบาลพระนครใต้ อาชีพหลัก ข้าราชการบำนาญในตำแหน่งพลตำรวจโท ผูบ้ ญ ั ชาการ สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง นักธุรกิจ การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษทั และกิจการ/องค์กรอืน่ - บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่ม ี - บริษทั ทีไ่ ม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 1 บริษทั : กรรมการ บริษทั อูชา่ สยาม สตีล อินดัสตรียส์ จำกัด (มหาชน) - บริษทั ทีเ่ กีย่ วโยงกับธุรกิจของบริษทั ฯ ไม่ม ี - บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ (บริษทั ย่อยและ/หรือบริษทั ร่วม) ไม่ม ี - กิจการ/องค์กรอืน่ ไม่ม ี จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ สิน้ ปี พ.ศ. 2550 ไม่ม ี จำนวนหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2550 ไม่ม ี (ปรับจำนวนหุน้ ตามหุน้ ปันผล)


- CONNECTED COMPANIES Nil - OTHER RELATED COMPANIES (SUBSIDIARIES / ASSOCIATED COMPANIES) - OTHER ORGANISATIONS NO. OF SHARES HELD AS OF YEAR END 2007 INCREASE (DECREASE) IN SHAREHOLDING IN THE YEAR 2007 (ADJUSTED FOR STOCK DIVIDEND)

Nil 1. President, India-Thai Chamber of Commerce 3,000,000 shares (0.29% of total paid-up shares) (2,600,000) shares

POSITION Chairman of Audit Committee Independent Director AGE 72 years EDUCATION 1955 - 1959 Graduated from Royal Military Academy, England. Police Academy, England. Hendon Detective Training School, England. 1966 - 1967 Federal Bureau of Investigation, USA. 1993 - 1994 High Executive Training School of Civil Service Commission. TRAINING 26-Sep-2005 Attended Seminar on the topic “Corporate Governance Roundtable” held by Sub-Committee of the National Corporate Governance Committee. 21-Sep-2004 Attended training course on the topic “Director Accreditation Program” (DAP) held by Thai Institute of Directors Association. 30-Jul-2002 Attended training course on the topic “Chairman 2000” held by Thai Institute of Directors Association. 16-Nov-2001 Attended training course on the topic “Effective Audit Committees & Best Practices” held by Thai Institute of Directors Association. 30-Oct-2000 Attended training course on the topic “The Increased Liabilities of Company Directors according to Accounting Act 2000” held by Thai Institute of Directors Association. EXPERIENCE 1996 - Present Director, Precious Shipping Public Company Limited. 2004 - 2006 Advisor to Chairman on Company Affairs of Anxir Company Limited. 2003 - 2006 Advisor, All Seasons Property Company Limited. Chairman, Perfect Place Condominium Company Limited. Advisor, Company Affairs of V. Group Building. 2002 Advisor to the Minister of Communications. 1996 - 1998 Advisor, Sahaviriya City Public Company Limited. Advisor, Guang Dong Enterprise Co.,Ltd. 1995 - 1996 Director, Aviation Authority of Thailand. 1994 - 1996 Commissioner of the Immigration Bureau. 1994 Inspector General of Police. 1992 - 1994 Deputy Inspector General of Police. 1991 - 1992 Deputy Commissioner of the Police Education Bureau. 1990 - 1991 Assistant Commissioner of the Metropolitan Police. 1989 - 1990 Commander Chief of General Staff. 1988 - 1989 Commander Traffic Police Division. 1983 - 1988 Deputy Commander, Southern Bangkok Police Division. OCCUPATION Retired Government officer - Police Lieutenant General, Commissioner of the Immigration Bureau. Businessman. DIRECTORSHIP AND POSITIONS HELD IN OTHER COMPANIES AND OTHER ORGANISATIONS - LISTED COMPANIES Nil - NON-LISTED COMPANIES 1 Company : Director, Usha Siam Steel Industries Public Company Limited. - CONNECTED COMPANIES Nil - OTHER RELATED COMPANIES (SUBSIDIARIES / ASSOCIATED COMPANIES) Nil - OTHER ORGANISATIONS Nil NO. OF SHARES HELD AS OF YEAR END 2007 Nil INCREASE (DECREASE) IN SHAREHOLDING IN THE YEAR 2007 Nil (ADJUSTED FOR STOCK DIVIDEND)

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

POLICE LT. GEN. KIATTISAK PRABHAVAT

123


นายไจปาล มันสุขานี ตำแหน่ง กรรมการ อายุ 58 ปี ประวัตกิ ารศึกษา Cadet, Directorate of Marine Engineering Training. ประวัตกิ ารอบรม 2548 สมาชิกผูท้ รงคุณวุฒิ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) ซึง่ ได้รบั ประกาศนียบัตร สถาบันกรรมการบริษทั ไทย “Directors Certification Program” (DCP) Class 64/2005 ประสบการณ์อนื่ ๆ 2536 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2531 - 2544 ผูจ้ ดั การฝ่ายเทคนิค บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด 2528 - 2530 รองผูค้ วบคุมวิศวกร บริษทั สกินเดีย สตีม นาวิเกชัน่ จำกัด 2524 - 2527 ผูช้ ว่ ยผูค้ วบคุมวิศวกร บริษทั สกินเดีย สตีม นาวิเกชัน่ จำกัด 2520 - 2524 หัวหน้าวิศวกรประจำเรือ บริษทั สกินเดีย สตีม นาวิเกชัน่ จำกัด 2514 - 2519 วิศวกรประจำเรือ บริษทั สกินเดีย สตีม นาวิเกชัน่ จำกัด อาชีพหลัก กรรมการ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) กรรมการ (เทคนิค) บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด (บริษทั ย่อย) การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษทั และกิจการ/องค์กรอืน่ - บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่ม ี - บริษทั ทีไ่ ม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯและบริษทั ทีเ่ กีย่ วโยงกับธุรกิจของบริษทั ฯ ไม่ม ี - บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ (บริษทั ย่อยและ/หรือบริษทั ร่วม) 2 บริษทั : 1. กรรมการ (เทคนิค) บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด 2. กรรมการ บริษทั พรีเชียส โปรเจคส์ พีทอี ี ลิมเิ ตด, ประเทศสิงคโปร์ (บริษทั ย่อยที่ 37 และ 51 ในหน้า 9 และ 10 ของรายงานประจำปีฉบับนี)้ - กิจการ/องค์กรอืน่ 1. Member, Regional Technical Committee, Nippon Kaiji Kyokai. 2. Member, Regional Technical Committee, American Bureau of Shipping. 3. Member, Regional Technical Committee, Bureau Veritas. จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ สิน้ ปี พ.ศ. 2550 160,000 หุน้ (ร้อยละ 0.02 ของหุน้ ทัง้ หมดทีเ่ รียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2550 24,000 หุน้ (ปรับจำนวนหุน้ ตามหุน้ ปันผล)

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

นายชีระ ภาณุพงศ์

124

ตำแหน่ง อายุ ประวัตกิ ารศึกษา ประวัตกิ ารอบรม 2546 2545 ประสบการณ์อนื่ ๆ 2543 - ปัจจุบนั 2547 - ปลายปี 2550 2537 - 2550 2544 - 2548 2539 - 2546 2529 - 2534

กรรมการอิสระ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน 75 ปี ธรรมศาสตร์บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ B. Com. (Accountancy) Hons., University of Leeds, England. M.Sc. (Econ.), School of Economics and Political Science, University of London หลักสูตร Industrial Project Evaluation Course, Economic Development Institute, IBRD วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ว.ป.อ. รุน่ 20 เข้าร่วมอบรมในหัวข้อ “Director Accreditation Program No. 2/2546” (DAP 2/2546) จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย เข้าร่วมอบรมในหัวข้อ “Chairman 2000” จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย กรรมการ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) ประธานคณะกรรมการและประธานคณะกรรมการบริหาร บริษทั สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) รองประธานคณะกรรมการและกรรมการอิสระ บริษทั อมตะ คอร์ปอเรชัน จำกัด (มหาชน) ประธานคณะกรรมการ บริษทั บ้านปู จำกัด (มหาชน) ประธานคณะกรรมการ บริษทั ไตร เอนเนอจี้ จำกัด เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน


MR. JAIPAL MANSUKHANI POSITION Director AGE 58 years EDUCATION Cadet, Directorate of Marine Engineering Training. TRAINING 2005 Graduate member of Thai Institute of Directors (IOD) Completed “Directors Certificate Program” (DCP), Class 64/2005. EXPERIENCE 1993 - Present Director, Precious Shipping Public Company Limited. 1988 - 2001 Technical Manager, Great Circle Shipping Agency Limited. 1985 - 1987 Deputy Engineer Superintendent, Scindia Steam Navigation Limited. 1981 - 1984 Assistant Engineer Superintendent, Scindia Steam Navigation Limited. 1977 - 1981 Chief Engineer, Scindia Steam Navigation Limited. 1971 - 1976 Marine Engineer, Scindia Steam Navigation Limited. OCCUPATION Director, Precious Shipping Public Company Limited. Director (Technical), Great Circle Shipping Agency Limited.(Company’s subsidiary) DIRECTORSHIP AND POSITIONS HELD IN OTHER COMPANIES AND OTHER ORGANISATIONS - LISTED COMPANIES Nil - NON-LISTED COMPANIES AND CONNECTED COMPANIES Nil - OTHER RELATED COMPANIES (SUBSIDIARIES / ASSOCIATED COMPANIES) 2 Companies : 1. Director (Technical), Great Circle Shipping Agency Limited 2. Director, Precious Projects Pte. Limited, Singapore. (Subsidiary Companies Nos. 37 and 51 on page 9 and 10 of this Annual Report) - OTHER ORGANISATIONS 1. Member, Regional Technical Committee, Nippon Kaiji Kyokai. 2. Member, Regional Technical Committee, American Bureau of Shipping. 3. Member, Regional Technical Committee, Bureau Veritas. NO. OF SHARES HELD AS OF YEAR END 2007 160,000 shares (0.02% of total paid-up shares) INCREASE (DECREASE) IN SHAREHOLDING IN THE YEAR 2007 24,000 shares (ADJUSTED FOR STOCK DIVIDEND) POSITION AGE EDUCATION TRAINING 2003 2002 EXPERIENCE 2000 - Present 2004 - End 2007 1994 - 2007 2001 - 2005 1996 - 2003 1986 - 1991

Independent Director Remuneration Committee Member 75 years LL.B., Thammasat University. B. Com. (Accountancy) Hons., University of Leeds, England. M.Sc. (Econ.), School of Economics and Political Science, University of London. Industrial Project Evaluation Course, Economic Development Institute from IBRD. National Defense College Group No. 20. Attended training course on the topic “Director Accreditation Program No.2/2003” (DAP 2/2003) held by Thai Institute of Directors Association. Attended training course on the topic “Chairman 2000” held by Thai Institute of Directors Association. Director, Precious Shipping Public Company Limited. Chairman of the Board of Directors and the Executive Board of Directors, Somboon Advance Technology Public Company Limited. Vice Chairman of the Board of Directors and Independent Director, Amata Corporation Public Company Limited. Chairman of the Board of Directors, Banpu Public Company Limited. Chairman of the Board of Directors, Tri Energy Company Limited. Secretary General, Board of Investment.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

MR. CHIRA PANUPONG

125


ก่อนปี 2535 สำนักงานเลขานุการกรม กระทรวงการต่างประเทศ กรมทะเบียนการค้า กระทรวงพาณิชย์ สำนักวิชาการและวางแผน กระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ อาชีพหลัก ข้าราชการบำนาญ การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษทั และกิจการ/องค์กรอืน่ - บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 1 บริษทั : 1. รองประธานคณะกรรมการและกรรมการอิสระ บริษทั ทุนเท็กซ์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) - บริษทั ทีไ่ ม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2 บริษทั : 1. รองประธานคณะกรรมการ บริษทั ทีพที ี ปิโตรเคมิคอลส์ จำกัด (มหาชน) 2. กรรมการ บริษทั อูชา่ สยาม สตีล อินดัสตรียส์ จำกัด (มหาชน) - บริษทั ทีเ่ กีย่ วโยงกับธุรกิจของบริษทั ฯ ไม่ม ี - บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ (บริษทั ย่อยและ/หรือบริษทั ร่วม) ไม่ม ี - กิจการ/องค์กรอืน่ ไม่ม ี จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ สิน้ ปี พ.ศ. 2550 ไม่ม ี จำนวนหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2550 ไม่ม ี (ปรับจำนวนหุน้ ตามหุน้ ปันผล)

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

นายธีระ วิภูชนิน

126

ตำแหน่ง กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ประธานคณะกรรมการสรรหา อายุ 58 ปี ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญาตรีทางบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน สหรัฐอเมริกา ประวัตกิ ารอบรม 2548 เข้าร่วมอบรมในหัวข้อ “Audit Committee Program” (ACP) จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 2544 สมาชิกของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) ซึง่ ได้รบั ประกาศนียบัตรสถาบันกรรมการบริษทั ไทย “Directors Certification Program” (DCP) Class 6/2001 ประสบการณ์อนื่ ๆ 2543 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2543 - 2546 รองกรรมการผูจ้ ดั การ ธนาคารเพือ่ การส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย กรรมการ บริษทั ซันโย ยูนเิ วอร์แซล อีเล็คทริค จำกัด (มหาชน) กรรมการและเหรัญญิก มูลนิธเิ อกชนพัฒนาภูมภิ าค ประเทศไทย กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ คณะกรรมการเตรียมการจัดตัง้ บริษทั ของ ท.ศ.ท. และ ก.ส.ท. กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ คณะกรรมการเตรียมการจัดตัง้ บริษทั ของ ป.ต.ท. อนุกรรมการ คณะอนุกรรมการบริหารศูนย์ระดมทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2537 - 2540 รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่อาวุโส กลุม่ บริษทั พรีเมียร์ 2533 - 2537 ผูแ้ ทนประจำประเทศไทย บริษทั พรูเด็นเชียล แอสเซ็ต แมนเนจเม้นท์ เอเชีย จำกัด 2518 - 2533 รองประธาน (การลงทุน) บริษทั อเมริกนั อินเตอร์แนชชัน่ แนล แอสชัวรันส์ จำกัด 2517 - 2518 จัดการสินเชือ่ ธุรกิจ บริษทั เครดิตการพาณิชย์ (ประเทศไทย) จำกัด 2516 - 2517 ประจำกองพลทหารม้า อาชีพหลัก กรรมการบริษทั การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษทั และกิจการ/องค์กรอืน่ - บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 4 บริษทั : 1. ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ บริษทั สหอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) 2. กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษทั สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) 3. กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษทั เงินทุน กรุงเทพธนาทร จำกัด (มหาชน) 4. ประธานคณะกรรมการและกรรมการอิสระ บริษทั อินเตอร์ไฮด์ จำกัด (มหาชน) - บริษทั ทีไ่ ม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 1. ประธานคณะกรรมการ บริษทั จัดการรักษาสิง่ แวดล้อม จำกัด - บริษทั ทีเ่ กีย่ วโยงกับธุรกิจของบริษทั ฯ ไม่ม ี - บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ (บริษทั ย่อยและ/หรือบริษทั ร่วม) ไม่ม ี - กิจการ/องค์กรอืน่ ไม่ม ี จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ สิน้ ปี พ.ศ. 2550 ไม่ม ี จำนวนหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2550 ไม่ม ี (ปรับจำนวนหุน้ ตามหุน้ ปันผล)


Before year 1992 Office of the Under Secretary of State, Ministry of Foreign Affairs. Department of Commercial Registration, Ministry of Commerce. Technical Planning Office, Ministry of Social Development and Human Security. OCCUPATION Retired Government officer. DIRECTORSHIP AND POSITIONS HELD IN OTHER COMPANIES AND OTHER ORGANISATIONS - LISTED COMPANIES 1 Companies : 1. Vice Chairman and Independent Director, Tuntex (Thailand) Public Company Limited. - NON-LISTED COMPANIES 2 Companies : 1. Vice Chairman, TPT Petrochemicals Public Company Limited. 2. Director, Usha Siam Steel Industries Public Company Limited. - CONNECTED COMPANIES Nil - OTHER RELATED COMPANIES (SUBSIDIARIES / ASSOCIATED COMPANIES) Nil - OTHER ORGANISATIONS Nil NO. OF SHARES HELD AS OF YEAR END 2007 Nil INCREASE (DECREASE) IN SHAREHOLDING IN THE YEAR 2007 Nil (ADJUSTED FOR STOCK DIVIDEND) POSITION Independent Director Chairman of the Remuneration Committee Chairman of the Nomination Committee AGE 58 years EDUCATION B.Sc. in Economics and Business Administration, University of Wisconsin – Stevents Point, U.S.A. TRAINING 2005 Attended training course on the topic “Audit Committee Program” (ACP) held by Thai Institute of Directors Association. 2001 Graduate member of Thai Institute of Directors (IOD) - Completed “Directors Certificate Program” (DCP), Class 6/2001. EXPERIENCE 2000 - Present Director, Precious Shipping Public Company Limited. 2000 - 2003 Senior Executive Vice President, Export - Import Bank of Thailand. Director, Sanyo Universal Electric Public Company Limited. Treasurer, The Community Support Foundation, Thailand. Member, Company Establishment Preparatory Committee / T.O.T. and C.A.T. Member, Company Establishment Preparatory Committee / P.T.T. Board member, Capital Market Opportunity Center / SET 1994 - 1997 Senior Vice President, Premier Group of Companies. 1990 - 1994 Thailand Representative, Prudential Asset Management Asia Limited. 1975 - 1990 Vice President (Investment), American International Assurance Company Limited. 1974 - 1975 Business Loan Manager, Commercial Credit Corporation (Thailand) Limited. 1973 - 1974 Served the Royal Thai Army. OCCUPATION Company Director. DIRECTORSHIP AND POSITIONS HELD IN OTHER COMPANIES AND OTHER ORGANISATIONS - LISTED COMPANIES 4 Companies : 1. Chairman of the Audit Committee and Independent Director, United Palm Oil Industry Public Company Limited. 2. Independent Director and Audit Committee member, Siam Makro Public Company Limited. 3. Independent Director and Audit Committee member, Bangkok First Investment & Trust Public Company Limited. 4. Chairman of the Board of Directors and Independent Director, Interhides Public Company Limited. - NON-LISTED COMPANIES 1. Chairman of the Board of Director, Environ Mental Care Management Company Limited. - CONNECTED COMPANIES Nil - OTHER RELATED COMPANIES (SUBSIDIARIES / ASSOCIATED COMPANIES) Nil - OTHER ORGANISATIONS Nil NO. OF SHARES HELD AS OF YEAR END 2007 Nil INCREASE (DECREASE) IN SHAREHOLDING IN THE YEAR 2007 Nil (ADJUSTED FOR STOCK DIVIDEND)

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

MR. THIRA WIPUCHANIN

127


นายกิริต ชาห์

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ตำแหน่ง กรรมการ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน อายุ 55 ปี ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญาตรีสาขาพาณิชยศาสตร์ จาก H.R. College of Commerce, กรุงบอมเบย์, ประเทศอินเดีย ประวัตกิ ารอบรม 2548 สมาชิกผูท้ รงคุณวุฒิ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) ซึง่ ได้รบั ประกาศนียบัตร “Directors Certification Program” (DCP) Class 57/2005 ประสบการณ์อนื่ ๆ 24 เม.ย 2550 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2542 - 2546 รองประธานคณะกรรมการ และกรรมการบริหาร บริษทั ฟินคิ ซ พัลพ แอนด์ เพเพอร์ จำกัด (มหาชน),กรุงเทพฯ 2532 - 2545 กรรมการ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน), กรุงเทพฯ 2523 - 2546 กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั จี.เปรมจี จำกัด, กรุงเทพฯ อาชีพหลัก ผูบ้ ริหารบริษทั การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษทั และกิจการ/องค์การอืน่ - บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่ม ี - บริษทั ทีไ่ ม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯและบริษทั ทีเ่ กีย่ วโยงกับธุรกิจของบริษทั ฯ * 5 บริษทั : 1. กรรมการ บริษทั โกลเบ๊กซ์ คอร์ปอเรชัน่ จำกัด 2. กรรมการบริหาร บริษทั เกรนเทรด จำกัด 3. กรรมการ บริษทั เปรมไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด 4. กรรมการ บริษทั ยูนสิ เตรทช์ จำกัด * (ให้เช่าสำนักงานหลักของบริษทั ฯ) 5. กรรมการ บริษทั แมกซ์วนิ บิลเดอร์ส จำกัด * (ให้บริการด้านบริหารจัดการให้เช่าสำนักงานและ ห้องพักพนักงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย) * หมายเหตุ : อ้างอิง “รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน” ในหน้า 292 และ 294 ของรายงานประจำปีฉบับนี ้ - บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ (บริษทั ย่อยและ/หรือบริษทั ร่วม) 1 บริษทั : กรรมการ บริษทั เซาท์เทอร์น แอลพีจี ลิมเิ ตด, ประเทศอินเดีย (บริษทั ย่อยที่ 49 ในหน้า 10 ของรายงานประจำปีฉบับนี)้ - กิจการ/องค์กรอืน่ ไม่ม ี จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ สิน้ ปี พ.ศ. 2550 ไม่ม ี จำนวนหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2550 ไม่ม ี (ปรับจำนวนหุน้ ตามหุน้ ปันผล)

128


MR. KIRIT SHAH

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

POSITION Director Remuneration Committee Member AGE 55 years EDUCATION Bachelor’s Degree in Commerce from H.R. College of Commerce, Bombay, India. TRAINING 2005 Graduate member of Thai Institute of Directors (IOD) – Completed “Directors Certificate Program” (DCP), Class 57/2005. EXPERIENCE 24 Apr 2007 - Present Director, Precious Shipping Public Company Limited. 1999 - 2003 Vice Chairman and Executive Director, Phoenix Pulp and Paper PCL, Bangkok. 1989 - 2002 Director, Precious Shipping PCL, Bangkok. 1980 - 2003 Managing Director, G. Premjee Ltd., Bangkok. OCCUPATION Company Executive. DIRECTORSHIP AND POSITIONS HELD IN OTHER COMPANIES AND OTHER ORGANISATIONS - LISTED COMPANIES Nil - NON-LISTED AND CONNECTED* COMPANIES 5 Companies : 1. Director, Globex Corporation Limited 2. Executive Director, Graintrade Limited 3. Director, Premthai International Limited 4. Director, Unistretch Limited * (Lessor of the main operations office space leased by the Company) 5. Director, Maxwin Builders Ltd.* (Service provider of management of the offices leased and apartments owned by the Company and its subsidiary respectively) *Note : Please refer to “CONNECTED TRANSACTIONS” on page. 293 and 295 of this Annual Report - OTHER RELATED COMPANIES (SUBSIDIARIES / ASSOCIATED COMPANIES) 1 Company : Director , Southern LPG Limited, India (Subsidiary Company No. 49 on page 10 of this Annual Report) - OTHER ORGANISATIONS Nil NO. OF SHARES HELD AS OF YEAR END 2007 Nil INCREASE (DECREASE) IN SHAREHOLDING IN THE YEAR 2007 Nil (ADJUSTED FOR STOCK DIVIDEND)

129


นายปีเตอร์ เฟ็ดเดอร์เซ่น

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ตำแหน่ง กรรมการอิสระ กรรมการสรรหา อายุ 67 ปี ประวัตกิ ารศึกษา จบการศึกษาสาขาธุรกิจนานาชาติ จากโรงเรียนบริหารนานาชาติ Thunderbird, Glendale, Arizona, USA ประวัตกิ ารอบรม สิงหาคม 2549 เข้าร่วมการอบรมในหัวข้อ “Director Accreditation Program” ใน เดือน สิงหาคม 2549 ซึง่ จัดอบรม 1 วัน โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ประสบการณ์อนื่ ๆ 24 เม.ย. 2550 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2530 - 2537 ผูจ้ ดั การทัว่ ไป และ ทีป่ รึกษา บริษทั จี. เปรมจี จำกัด , กรุงเทพฯ 2528 - 2530 ผูจ้ ดั การทัว่ ไป คอนทิเน็นทัล โอเวอร์ซสี ์ คอร์ปอเรชัน่ , กรุงเทพฯ 2525 - 2528 กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั คอนทิเน็นทัล เกรน (ออสเตรเลีย), ซิสนี,่ ออสเตรเลีย 2516 - 2525 ผูจ้ ดั การทัว่ ไป, รองผูอ้ ำนวยการ บริษทั คอนทิเน็นทัล โอเวอร์ซสี ์ คอร์ปอเรชัน่ , กรุงเทพฯ อาชีพหลัก Grain Trader, นักลงทุน การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษทั และกิจการ/องค์กรอืน่ - บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่ม ี - บริษทั ทีไ่ ม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2 บริษทั : 1. กรรมการ บริษทั พัทยาฟูด้ อินดัสตรี จำกัด 2. กรรมการ บริษทั ฟาสท์แทร็ค เซอร์วสิ จำกัด - บริษทั ทีเ่ กีย่ วโยงกับธุรกิจของบริษทั ฯ ไม่ม ี - บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ (บริษทั ย่อยและ/หรือบริษทั ร่วม) ไม่ม ี - กิจการ/องค์กรอืน่ 1. สมาชิกคณะกรรมการทัว่ ไป ราชกรีฑาสโมสร (The Royal Bangkok Sports Club (RBSC)) จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ สิน้ ปี พ.ศ. 2550 379,000 (ร้อยละ 0.04 ของหุน้ ทัง้ หมดทีเ่ รียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2550 ไม่ม ี (ปรับจำนวนหุน้ ตามหุน้ ปันผล)

130


MR. PETER FEDDERSEN

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

POSITION Independent Director Nomination Committee Member AGE 67 years EDUCATION Graduated in International Business from Thunderbird Graduate School of International Management, Glendale, Arizona, USA. TRAINING Aug-06 Completed the Thai IOD’s one day Director Accreditation Program in August 2006. EXPERIENCE 24 Apr 2007 - Present Independent Director, Precious Shipping Public Company Limited. 1987 - 1994 General Manager and Advisor, G.Premjee Ltd., Bangkok. 1985 - 1987 General Manager, Continental Overseas Corp., Bangkok. 1982 - 1985 Managing Director, Continental Grain Co.(Australia), Sydney, Australia. 1973 - 1982 General Manager, Vice President, Continental Overseas Corp., Bangkok. OCCUPATION Grain Trader, Investor. DIRECTORSHIP AND POSITIONS HELD IN OTHER COMPANIES AND OTHER ORGANISATIONS - LISTED COMPANIES Nil - NON-LISTED COMPANIES 2 Companies : 1. Director, Pataya Food Industries Limited 2. Director, Fastrak Services Limited - CONNECTED COMPANIES Nil - OTHER RELATED COMPANIES (SUBSIDIARIES / ASSOCIATED COMPANIES) Nil - OTHER ORGANISATIONS 1. General Committee Member, The Royal Bangkok Sports Club (RBSC) NO. OF SHARES HELD AS OF YEAR END 2007 379,000 shares (0.04% of total paid-up shares) INCREASE (DECREASE) IN SHAREHOLDING IN THE YEAR 2007 Nil (ADJUSTED FOR STOCK DIVIDEND)

131


คณะผู้บริหาร

นายคาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม* กรรมการผูจ้ ดั การ นายมูนรี มอยนูดดิน ฮาชิม* กรรมการ (การพาณิชย์) นายคูชรู คาลี วาเดีย* กรรมการ (การเงิน) นายไจปาล มันสุขานี* กรรมการ (เทคนิค) บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด (บริษทั ย่อยของบริษทั ฯ) * สำหรับประวัติ – กรุณาดูหวั ข้อ ประวัตคิ ณะกรรมการบริษทั

นายชีลาล โกปินาธาน ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการ (การพาณิชย์) ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญาตรีบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยบอมเบย์ ประกาศนียบัตรการเดินเรือ จาก Norottam Morarjee Institute of Shipping, บอมเบย์ ประสบการณ์ 2542 - ปัจจุบนั ผูอ้ ำนวยการ (การพาณิชย์) บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2532 - 2541 ผูจ้ ดั การฝ่ายบริการเช่าเรือ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) การดำรงตำแหน่งในบริษทั อืน่ ไม่ม ี จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ สิน้ ปี พ.ศ. 2550 1,100,000 หุน้ (ร้อยละ 0.11 ของหุน้ ทัง้ หมดทีเ่ รียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2550 (46,000) หุน้ (ปรับจำนวนหุน้ ตามหุน้ ปันผล)

นายโคคา เวนคาตารามานา สุดาการ์

ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการ (บริหารกองเรือ) ประวัตกิ ารศึกษา Cadet, Directorate of Marine Engineering Training ประสบการณ์ 2542 - ปัจจุบนั ผูอ้ ำนวยการ (บริหารกองเรือ) บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2532 - 2541 ผูจ้ ดั การกองเรือ บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด การดำรงตำแหน่งในบริษทั อืน่ ไม่ม ี จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ สิน้ ปี พ.ศ. 2550 10,000 หุน้ (ร้อยละ 0.00 ของหุน้ ทัง้ หมดทีเ่ รียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2550 ไม่ม ี (ปรับจำนวนหุน้ ตามหุน้ ปันผล)

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

นายนีลากันตัน วาสุเดวัน

132

ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการ (การจัดการด้านความเสีย่ งภัย) ประวัตกิ ารศึกษา Post Graduate Diploma in International Trade from Indian Institute of Foreign Trade Master’s degree in Management Studies (M.M.S) ประสบการณ์ 2548 - ปัจจุบนั ผูอ้ ำนวยการ (การจัดการด้านความเสีย่ งภัย) บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2542 - 2547 ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำนวยการ (การจัดการด้านความเสีย่ งภัย) บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2538 - 2541 ผูจ้ ดั การฝ่ายประกันภัย บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2528 - 2538 รองผูจ้ ดั การ บริษทั Shipping Corporation of India Ltd. การดำรงตำแหน่งในบริษทั อืน่ ไม่ม ี จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ สิน้ ปี พ.ศ. 2550 5,400 หุน้ (ร้อยละ 0.00 ของหุน้ ทัง้ หมดทีเ่ รียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2550 (45,000) หุน้ (ปรับจำนวนหุน้ ตามหุน้ ปันผล)


MANAGEMENT TEAM

Mr. Khalid Moinuddin Hashim* Managing Director Mr. Munir Moinuddin Hashim* Director (Commercial) Mr. Khushroo Kali Wadia* Director (Finance) Mr. Jaipal Mansukhani* Director (Technical) of Great Circle Shipping Agency Ltd. (Company’s Subsidiary) * For profile, please refer to BOARD OF DIRECTORS - PROFILE.

MR. SHRILAL GOPINATHAN POSITION Vice President (Commercial) EDUCATION Bachelor of Commerce from the University of Bombay Diploma in Shipping from the Norattam Morarjee Institute of Shipping, Bombay EXPERIENCE 1999 - Present Vice President (Commercial), Precious Shipping Public Company Limited. 1989 - 1998 Chartering Manager, Precious Shipping Public Company Limited. POSITIONS HELD IN OTHER COMPANIES Nil NO. OF SHARES HELD AS OF YEAR END 2007 1,100,000 shares (0.11% of total paid-up shares) INCREASE (DECREASE) IN SHAREHOLDING IN THE YEAR 2007 (46,000) shares (ADJUSTED FOR STOCK DIVIDEND)

MR. KOKA VENKATARAMANA SUDHAKAR

POSITION Vice President (Fleet Management) EDUCATION Cadet, Directorate of Marine Engineering Training EXPERIENCE 1999 - Present Vice President (Fleet Management), Precious Shipping Public Company Limited. 1989 - 1998 Fleet Manager, Great Circle Shipping Agency Limited. POSITIONS HELD IN OTHER COMPANIES Nil NO. OF SHARES HELD AS OF YEAR END 2007 10,000 shares (0.00% of total paid-up shares) INCREASE (DECREASE) IN SHAREHOLDING IN THE YEAR 2007 Nil (ADJUSTED FOR STOCK DIVIDEND)

MR. NEELAKANTAN VASUDEVAN

POSITION Vice President (Risk Management) EDUCATION Post Graduate Diploma in International Trade from Indian Institute of Foreign Trade. Master’s Degree in Management Studies (M.M.S) EXPERIENCE 2005 - Present Vice President (Risk Management), Precious Shipping Public Company Limited 1999 - 2004 Assistant Vice President (Risk Management), Precious Shipping Public Company Limited. 1995 - 1998 Insurance & Claims Manager, Precious Shipping Public Company Limited. 1985 - 1995 Deputy Manager, Shipping Corporation of India Limited. POSITIONS HELD IN OTHER COMPANIES Nil NO. OF SHARES HELD AS OF YEAR END 2007 5,400 shares (0.00% of total paid-up shares) INCREASE (DECREASE) IN SHAREHOLDING IN THE YEAR 2007 (45,000) shares (ADJUSTED FOR STOCK DIVIDEND)

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

133


นายสตีเฟน โกลา ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการ (บริหารความปลอดภัยระหว่างประเทศ) (ISM) ประวัตกิ ารศึกษา First Class Marine Engineer Graduate Directorate of Marine Engineering Training, Kolkatta, อินเดีย ประสบการณ์ 2548 - ปัจจุบนั ผูอ้ ำนวยการ (บริหารความปลอดภัยระหว่างประเทศ) (ISM) บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2547 - 2548 ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำนวยการ (บริหารความปลอดภัยระหว่างประเทศ) (ISM) บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2539 - 2547 Quality Systems Manager (ISM Team) บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2537 - 2539 Technical Superintendent บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด 2531 - 2537 Technical Superintendent, ESSAR SISCO Ship Management Co., Chennai, อินเดีย 2529 - 2531 ต้นกลประจำเรือ (Chief Engineer) 2521 - 2529 นายช่างประจำเรือ (Marine Engineer) การดำรงตำแหน่งในบริษทั อืน่ ไม่ม ี จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ สิน้ ปี พ.ศ. 2550 44,000 หุน้ (ร้อยละ 0.00 ของหุน้ ทัง้ หมดทีเ่ รียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2550 24,000 หุน้ (ปรับจำนวนหุน้ ตามหุน้ ปันผล)

นายโกดาการาจีททิล มูราลี่ เมนนอน

ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการ (เทคนิค) ประวัตกิ ารศึกษา Marine Engineer (Class One), Marine Engineering College, อินเดีย Qualified for membership of the Institute of Chartered Shipbrokers ประสบการณ์ 2548 - ปัจจุบนั ผูอ้ ำนวยการ (เทคนิค) บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2541 - 2547 ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำนวยการ (เทคนิค) บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2535 - 2541 Superintendent (เทคนิค) บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2531 - 2535 Chief Engineer บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2527 - 2531 Chief Engineer, Seaarland Ship management, Austria การดำรงตำแหน่งในบริษทั อืน่ ไม่ม ี จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ สิน้ ปี พ.ศ. 2550 248,000 หุน้ (ร้อยละ 0.02 ของหุน้ ทัง้ หมดทีเ่ รียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2550 ไม่ม ี (ปรับจำนวนหุน้ ตามหุน้ ปันผล)

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

นายกามาล กุมาร ดู

134

ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการ (เทคโนโลยีสารสนเทศ) ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญาโท สาขา Computer Science มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ กรุงเทพฯ ประสบการณ์ 2548 - ปัจจุบนั ผูอ้ ำนวยการ (เทคโนโลยีสารสนเทศ) บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2543 - 2547 ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำนวยการ (เทคโนโลยีสารสนเทศ) บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2539 - 2543 ผูจ้ ดั การอาวุโส (ISM) 2539 กัปตันเรือ บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด 2531 - 2539 นายประจำเรือ (Deck Officer) บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด การดำรงตำแหน่งในบริษทั อืน่ ไม่ม ี จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ สิน้ ปี พ.ศ. 2550 280,200 หุน้ (ร้อยละ 0.03 ของหุน้ ทัง้ หมดทีเ่ รียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2550 (327,000) หุน้ (ปรับจำนวนหุน้ ตามหุน้ ปันผล)


MR. STEPHEN KORAH POSITION Vice President (International Safety Management) (ISM) EDUCATION First Class Marine Engineer Graduate Directorate of Marine Engineering Training, Kolkatta, India EXPERIENCE 2005 - Present Vice President (International Safety Management)(ISM), Precious Shipping Public Company Limited 2004 - 2005 Assistant Vice President (International Safety Management) (ISM), Precious Shipping Public Company Limited. 1996 - 2004 Quality Systems Manager (ISM Team), Precious Shipping Public Company Limited 1994 - 1996 Technical Superintendent, Great Circle Shipping Agency Limited 1988 - 1994 Technical Superintendent, ESSAR SISCO Ship Management Co, Chennai, India. 1986 - 1988 Chief Engineer on Ships. 1978 - 1986 Marine Engineer on Ships POSITIONS HELD IN OTHER COMPANIES Nil NO. OF SHARES HELD AS OF YEAR END 2007 44,000 shares (0.00% of total paid-up shares) INCREASE (DECREASE) IN SHAREHOLDING IN THE YEAR 2007 24,000 shares (ADJUSTED FOR STOCK DIVIDEND)

MR. KODAKARAVEETTIL MURALI MENON

POSITION Vice President (Technical) EDUCATION Marine Engineer (Class One), Marine Engineering College, India Qualified for membership of the Institute of Chartered Shipbrokers EXPERIENCE 2005 - Present Vice President (Technical), Precious Shipping Public Company Limited 1998 - 2004 Assistant Vice President (Technical), Precious Shipping Public Company Limited 1992 - 1998 Superintendent (Technical), Precious Shipping Public Company Limited 1988 - 1992 Chief Engineer, Precious Shipping Public Company Limited 1984 - 1988 Chief Engineer, Seaarland Ship management, Austria POSITIONS HELD IN OTHER COMPANIES Nil NO. OF SHARES HELD AS OF YEAR END 2007 248,000 shares (0.02% of total paid-up shares) INCREASE (DECREASE) IN SHAREHOLDING IN THE YEAR 2007 Nil (ADJUSTED FOR STOCK DIVIDEND) POSITION Vice President (Information Technology) EDUCATION Master’s Degree in Computer Science, Assumption University, Bangkok EXPERIENCE 2005 - Present Vice President (Information Technology), Precious Shipping Public Company Limited 2000 - 2004 Assistant Vice President (Information Technology), Precious Shipping Public Company Limited 1996 - 2000 Senior Manager (ISM) 1996 Master, Great Circle Shipping Agency Limited 1988 - 1996 Deck Officer, Great Circle Shipping Agency Limited POSITIONS HELD IN OTHER COMPANIES Nil NO. OF SHARES HELD AS OF YEAR END 2007 280,200 shares (0.03% of total paid-up shares) INCREASE (DECREASE) IN SHAREHOLDING IN THE YEAR 2007 (327,000) shares (ADJUSTED FOR STOCK DIVIDEND)

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

MR. KAMAL KUMAR DUA

135


นายกิรัน กิสซารินาท ไวดี ตำแหน่ง ผูจ้ ดั การอาวุโส (บัญชี และ การจัดการระบบสารสนเทศ) (MIS) ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญาตรี การพาณิชย์ มหาวิทยาลัยบอมเบย์, อินเดีย ผูต้ รวจสอบบัญชีรบั อนุญาต จากสถาบันผูต้ รวจสอบบัญชีรบั อนุญาตแห่งประเทศอินเดีย ประสบการณ์ 2536 - ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การอาวุโส (บัญชี และ การจัดการระบบสารสนเทศ) (MIS) บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) การดำรงตำแหน่งในบริษทั อืน่ ไม่ม ี จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ สิน้ ปี พ.ศ. 2550 ไม่ม ี จำนวนหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2550 ไม่ม ี (ปรับจำนวนหุน้ ตามหุน้ ปันผล)

นางสาวสมปรารถนา เทพนภาเพลิน

ตำแหน่ง ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำนวยการ (การเงินและบัญชี) เลขานุการบริษทั ฯ ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญาโทการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต จากสภาวิชาชีพบัญชี การฝึกอบรม ตุลาคม 2547 เข้าร่วมอบรมในหัวข้อ “Company Secretary Program” จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ประสบการณ์ 2542 - ปัจจุบนั ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำนวยการ (การเงินและบัญชี) บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2539 - 2542 ผูจ้ ดั การการเงิน บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2535 - 2539 ผูช้ ว่ ยผูส้ อบบัญชี บริษทั เอสจีวี ณ ถลาง จำกัด การดำรงตำแหน่งในบริษทั อืน่ ไม่ม ี จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ สิน้ ปี พ.ศ. 2550 81,400 หุน้ (ร้อยละ 0.01 ของหุน้ ทัง้ หมดทีเ่ รียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว) จำนวนหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2550 81,400 หุน้ (ปรับจำนวนหุน้ ตามหุน้ ปันผล)

นายยิ่งยง กังแฮ

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ตำแหน่ง ผูจ้ ดั การอาวุโส (บัญชีของกลุม่ บริษทั ฯ) ประวัตกิ ารศึกษา บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บัญชี) มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประสบการณ์ 2539 - ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การอาวุโส (บัญชีของกลุม่ บริษทั ฯ) บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) 2536 - 2539 ผูส้ อบบัญชี บริษทั ดีลอยท์ ทูช้ โธมัทสุ ไชยยศ จำกัด การดำรงตำแหน่งในบริษทั อืน่ ไม่ม ี จำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ สิน้ ปี พ.ศ. 2550 ไม่ม ี จำนวนหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ (ลดลง) ในปี พ.ศ. 2550 ไม่ม ี (ปรับจำนวนหุน้ ตามหุน้ ปันผล)

136


MR. KIRAN KESARINATH VAIDYA POSITION Senior Manager (Accounts & MIS) EDUCATION Bachelor of Commerce, University of Bombay, India Chartered Accountant from the Institute of Chartered Accountants of India. EXPERIENCE 1993 – Present Senior Manager (Accounts & MIS), Precious Shipping Public Company Limited POSITIONS HELD IN OTHER COMPANIES Nil NO. OF SHARES HELD AS OF YEAR END 2007 Nil INCREASE (DECREASE) IN SHAREHOLDING IN THE YEAR 2007 Nil (ADJUSTED FOR STOCK DIVIDEND)

MS. SOMPRATHANA THEPNAPAPLERN

POSITION Assistant Vice President (Finance & Accounts) Company Secretary EDUCATION Master of Science in Accounting, Thammasat University Certified Public Accountant of Federation of Accounting professions TRAINING October 2004 Attended the training course on the topic “Company Secretary Program” held by the Thai Institute of Directors EXPERIENCE 1999 - Present Assistant Vice President (Finance & Accounts), Precious Shipping Public Company Limited. 1996 - 1999 Finance Executive, Precious Shipping Public Company Limited. 1992 - 1996 Senior Auditors, SGV-Na Thalang & Co., Ltd. POSITIONS HELD IN OTHER COMPANIES Nil NO. OF SHARES HELD AS OF YEAR END 2007 81,400 shares (0.01% of total paid-up shares) INCREASE (DECREASE) IN SHAREHOLDING IN THE YEAR 2007 81,400 shares (ADJUSTED FOR STOCK DIVIDEND) POSITION Senior Manager - Group Accounts EDUCATION Master of Business Administration (Accounts), Ramkhamhaeng University EXPERIENCE 1996 - Present Senior Manager - Group Accounts, Precious Shipping Public Company Limited 1993 - 1996 Auditor, Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Co., Ltd. POSITIONS HELD IN OTHER COMPANIES Nil NO. OF SHARES HELD AS OF YEAR END 2007 Nil INCREASE (DECREASE) IN SHAREHOLDING IN THE YEAR 2007 Nil (ADJUSTED FOR STOCK DIVIDEND)

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

MR. YINGYONG KANGHAE

137


คำอธิบายและการวิเคราะห์ของผู้บริหาร

1. ลักษณะของตลาด

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (“พีเอสแอลหรือบริษทั ฯ”) ดำเนินธุรกิจหลักเป็นเจ้าของเรือเอนกประสงค์ขนาดเล็ก สำหรับขนส่งสินค้าแห้งเทกองระหว่างประเทศ โดยให้บริการแบบไม่ประจำเส้นทาง บริษัทฯ ดำเนินกลยุทธ์ในการทำธุรกิจอย่างต่อ เนื่องจากปี 2547 โดยการทำสัญญาให้เช่าเรือระยะยาวผูกมัดค่าเช่าไว้ในอัตราค่าระวางที่สูง ซึ่งระยะเวลาในการเช่าเรือมีตั้งแต่ 3 เดือน ถึง 5 ปีตามโอกาสในช่วงเวลาทีอ่ ตั ราค่าระวางอยูใ่ นระดับสูงติดต่อกันมานานจนถึงช่วงครึง่ หลังของปี 2550 จากอดีตที่ผ่านมาอุตสาหกรรมขนส่งทางทะเลเป็นอุตสาหกรรมที่มีวัฏจักร โดยความผันแปรของวัฏจักรแต่ละรอบจะมีการ ปรับตัวลดลงของอัตราค่าระวางเรือเพือ่ ให้เกิดความสมดุลย์ของอุปสงค์และอุปทานอยูป่ ระมาณ 2 – 3 ปีกอ่ นทีอ่ ตั ราค่าเช่าและค่า ระวางเรือจะเริ่มปรับตัวสูงขึ้น ความต้องการของการขนส่งสินค้าในตลาดเรืออเนกประสงค์ขนาดเล็กนั้นค่อนข้างกระจัดกระจาย เพราะว่าประเภทของสินค้ามีความหลากหลายและมีท่าเรือให้บริการจำนวนมาก อย่างไรก็ตาม เพราะว่าในตลาดเรืออเนกประสงค์ ขนาดเล็กให้บริการขนส่งสินค้าหลากหลายชนิดกว่าและสามารถขนถ่ายสินค้าที่ท่าเรือเล็กกว่าได้ ทำให้ความต้องการขนส่งสินค้ามี ความผันผวนน้อยกว่าเมื่อเทียบกับความต้องการของเรือขนาดใหญ่ ในด้านของอุปทานก็เช่นกันเรืออเนกประสงค์ขนาดเล็กจะมี เจ้าของเรือหลากหลาย จำนวนเรือทัง้ หมดทัว่ โลกของกองเรืออเนกประสงค์ขนาดเล็กนีม้ ปี ระมาณ 3,100 ลำ และเจ้าของกองเรือราย ใหญ่ที่สุดในโลกในกลุ่มเรือขนาดเล็กมีกองเรือประมาณ 100 ลำ หรือคิดเป็นประมาณร้อยละ 4 ของส่วนแบ่งตลาด นับจากสิ้นปี 2546 เป็นต้นมา อัตราค่าระวางตลาดขนส่งสินค้าแห้งเทกองได้ปรับตัวสูงขึ้นอย่างมากเนื่องมาจากปัจจัยหลายประการ แต่ปัจจัย พืน้ ฐานทีส่ ำคัญนัน้ มาจากปริมาณความต้องการขนส่งสินค้าเทกองจากประเทศจีนและจำนวนเรือทีใ่ ห้บริการทีจ่ ำกัด ซึง่ นำมาสูก่ ารเพิม่ สูงขึน้ อย่างมากของอัตราค่าระวางเรือ ตลาดขนส่งสินค้าแห้งเทกองได้ปรับตัวสูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ งและไม่เคยมีมาก่อนจนถึงปี 2550 ซึง่ ดัชนีค่าระวางเรือ (BDI) ได้ปรับตัวขึ้นสูงสุดในเดือนพฤศจิกายน หลังจากนั้นดัชนีปรับตัวลดลงซึ่งผู้เชี่ยวชาญในอุตสาหกรรมเห็นว่า เป็นการลดลงเพียงชัว่ คราวเท่านัน้ สำหรับบริษทั ฯ มีรายได้เฉลีย่ ต่อวันสูงขึน้ เมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2549 กล่าวคือนับจากไตรมาสทีส่ ่ี ของปี 2549 บริษทั ฯ ประสบผลสำเร็จในกลยุทธ์การทำสัญญาให้เช่าเรือระยะยาวทีอ่ ตั ราค่าระวางทีด่ ี และบริษทั ฯ ได้ดำเนินกลยุทธ์น้ี มาจนถึงปัจจุบนั (กุมภาพันธ์ 2551) บริษทั ฯ ได้ทำสัญญาให้เช่าเรือระยะยาวจำนวน 2 ลำจากจำนวนเรือทีส่ ง่ั ต่อใหม่ในปี 2550 ทัง้ สิน้ 12 ลำ ขนาดระวางบรรทุก 32,000 เดตเวทตันกับลูกค้าปัจจุบนั ของบริษทั ฯ โดยทำสัญญาเช่าเรือเป็นระยะเวลา 60 – 62 เดือน ซึง่ สัญญานีจ้ ะเริม่ ต้นขึน้ ในปี 2553 บริษทั ฯ เน้นกลยุทธ์ในการทำสัญญาให้เช่าเรือระยะยาวประมาณ 50% ใน 4 ปีขา้ งหน้า บริษทั ฯ หวังว่าบริษัทฯ จะเป็นผู้เล่นในอุตสาหกรรมมากกว่าที่จะเป็นบริษัทที่ต้องได้รับผลกระทบจากวัฏจักรการขึ้นลงของตลาดการเดินเรือ ดังนัน้ สถานะสัญญาเช่าเรือระยะยาวของบริษทั ฯ (ไม่รวมการรับมอบเรือสัง่ ต่อใหม่) ได้แสดงตามรูปด้านล่างนี ้

138


MANAGEMENT DISCUSSION AND ANALYSIS

1. Market conditions

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Precious Shipping PCL (hereinafter referred to as PSL or the Company) continues to own and operate its ships on a tramp-shipping basis in the small handy size sector of the Dry Bulk International Shipping market. PSL has continued its business strategy started from year 2004 to enter into long term time charters (Period Charters) at reasonably high freight rates, whenever possible, for periods ranging from 3 months to 5 years at opportune times right through the recent prolonged boom which commenced from the latter half of 2007. Historically, the shipping industry has been a cyclical industry characterized by volatility with approximately 2-3 years of declining charter rates needed to stabilize supply and demand before utilization rates and consequently freight rates begin to increase. The demand in the small handy size market is fragmented because of the broad cargo base and multitude of ports serviced by this market segment. However, because this segment caters to a wide variety of cargoes and calls on smaller ports, the demand is less volatile compared to the larger ships. On the supply side also, the industry is highly fragmented. The world fleet of about 3,100 ships in this segment has the largest operator having slightly over 100 ships or 4% market share. Since the end of year 2003, the dry bulk sector of the industry has witnessed a remarkable upturn due to a number of factors but primarily due to a combination of increased demand from China for bulk commodities and limited supply of dry bulk capacity leading to very high freight rates. The dry bulk markets continued their unprecedented bull run since the end of 2006, all through the year 2007 with the BDI peaking in November, after which, there has been a drop, which is seen as temporary by most Industry experts. Accordingly, the Company has been able to achieve substantially higher average daily earnings compared to the year 2006. Moreover, beginning from the 4th Quarter of 2006, the Company once again successfully employed its strategy to book longer term Charters at improved rates, which the Company continues to do till date (Feb. 2008). The Company has also fixed two ships out of the 12 New Buildings 32,000 DWT ships ordered in year 2007, to one of its existing customers for a period of 60-62 months, with these charters starting in year 2010. With a strategy to book longer term charters to fix about 50% of next 4 years capacity in terms of ship operating days, we hope that the Company will be seen more as an industrial player rather than a cyclical shipping Company. As a result, the Company’s forward book in respect of its existing fleet (without considering the deliveries of the new ships ordered) looks quite healthy as under:

139


2. ภาพรวมอุตสาหกรรม

(ก) ทิศทางอุปสงค์ อุปทานของโลก (สำหรับเรืออเนกประสงค์ขนาดเล็ก)

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

จากกราฟข้างต้นแสดงถึงการลดลงอย่างต่อเนือ่ งจนกระทัง่ ปี 2546 ของกองเรือทัง้ หมดในกลุม่ เรืออเนกประสงค์ขนาด เล็ก อย่างไรก็ดใี นระหว่างปี 2547 กองเรือโลกเพิม่ สุทธิจำนวน 1 ลำ เมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2546 โดยในระหว่างปี 2548, 2549 และ 2550 กองเรือโลกเพิม่ ขึน้ จำนวน 46 ลำ, 9 ลำ และ 80 ลำตามลำดับ ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากอัตราการปลดระวางเรือค่อย ๆ ลดลงเป็นผลให้ รายได้อตั ราค่าระวางเรือในระหว่างปี 2547 - 2550 ได้เพิม่ สูงขึน้ เมือ่ เทียบกับปีทผ่ี า่ นมา และคาดว่าจะยังคงอยูใ่ นระดับทีด่ ตี อ่ ไปอีกใน อนาคต

140

จากกราฟข้างต้นแสดงให้เห็นว่า แม้วา่ ปี 2551 อุปทานของเรือใหม่มมี ากขึน้ เล็กน้อยจากในอดีตทีผ่ า่ นมา และในอีก 3 ปีขา้ งหน้ามีคำสัง่ ต่อใหม่เพียงร้อยละ 10.5 เมือ่ เทียบกับกองเรือทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั ซึง่ จะมีเรือถึงร้อยละ 43.87 ทีม่ อี ายุมากกว่า 25 ปี ดังนัน้ ดูเหมือนว่าอุปทานเรือจะมีภาพเป็นทีน่ า่ พอใจอย่างยิง่ ซึง่ ได้อธิบายไว้ดา้ นล่างนี ้


2. Industry Overview

(a) World Demand-Supply Outlook (Small handy size Ships sector only)

It is evident from the above chart that, although for the year 2008, the supply of new ships is marginally stronger than the immediate past, in the next three years including 2008, just 10.5% new ships have been contracted to be built as against the existing fleet, which has 43.87% of the fleet over 25 years of age. Therefore, the supply side appears to be most favorable as explained hereunder.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

It will be observed from the above chart that there has been a continuous reduction in world fleet size until 2003. However, during the year 2004, a net increase of one ship to the world fleet took place as compared to that at the end of year 2003. During the years 2005, 2006 and 2007, 46 ships, 9 Ships and 80 ships respectively were added to the world fleet. This is on account of a slowdown in the scrapping rate, the reason for which, was the higher rates witnessed in the freight markets during the years 2004-2007, as compared to the immediately preceding years and continued healthy expectations in the foreseeable future.

141


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

142

จากกราฟข้างต้นและคำอธิบายที่ได้กล่าวไว้เกี่ยวกับอายุของกองเรือ (โปรดดูข้อ 1.2 ในเรื่องลักษณะการประกอบธุรกิจ) แสดงให้เห็นว่า มากกว่าร้อยละ 62.3 ของเรือในกลุม่ เดียวกับพีเอสแอลจะมีอายุเกิน 20 ปี จึงมีการคาดการณ์วา่ อัตราการปลดระวาง เรือควรจะเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าตลาดปรับตัวลดลง ซึ่งแสดงถึงการปรับตัวของอุปสงค์และอุปทานให้สมดุล สิ่งนี้เป็นอีก เหตุผลหนึง่ ทีแ่ สดงให้เห็นว่ากลุม่ เรือเอนกประสงค์ขนาดเล็กยังคงมีทศิ ทางทีด่ ใี นอีก 2-3 ปีขา้ งหน้า


Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

As observed from the above charts and the chart for fleet age (please refer to No. 1.2 of Nature of Business section of this Annual Report), with over 62.3% of the world fleet in PSL’s sector being greater than 20 years of age, it is expected that the scrapping rate should pick up, particularly if the freight markets fall, thereby, providing a natural self-correcting factor to balance supply and demand, consequently ensuring a resistance level to falling freight rates. This is one of the reasons for our continued optimism over the next few years in the small handy-size sector.

143


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

144

(ข) ตลาดขนส่งสินค้าแห้งเทกอง: อุปสงค์ของโลก(ปริมาณและสินค้า) โดยประมาณ:

ตารางทั้งสองข้างต้นแสดงถึงอุปสงค์ของเรือสินค้าแห้งเทกองซึ่งคาดว่ายังมีการเพิ่มขึ้นอยู่ซึ่งจะช่วยให้อัตราระวางเรือ อยูใ่ นระดับสูงอย่างสมเหตุสมผลด้วย


(b) Dry Bulk Market : World Demand (Volume and commodity mix) Estimates:

As observed from the above two charts, the demand for dry bulk ships is expected to grow at a fairly healthy pace which should keep Freight rates at reasonably high levels.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

145


3. สัญญาสั่งต่อเรือใหม่ ในปี 2550 จำนวน 15 ลำ

3.1 สรุปรายละเอียดรายการ

เมือ่ วันที่ 20 กรกฎาคม 2550 บริษทั ฯได้ลงนามในสัญญาสัง่ ต่อเรือใหม่จำนวน 12 ฉบับ กับ ABG Shipyard Limited (ABG หรืออูต่ อ่ เรือ) ประเทศอินเดีย สำหรับสัง่ ต่อเรือใหม่จำนวน 12 ลำ ซึง่ มีขนาดระวางบรรทุก 32,000 เดตเวทตัน (ในความเป็นจริง สามารถบรรทุกได้ถงึ 34,000 เดตเวทตัน ดังนัน้ เรือกลุม่ นีจ้ ะขอกล่าวต่อไปในรายงานฉบับนีใ้ นขนาดระวางบรรทุก 34,000 เดตเวทตัน ต่อลำ) เรือแต่ละลำเป็นเรือสมัยใหม่ รูปทรงกล่อง ฝาระวางเปิดกว้าง และมีผนังด้านข้างเรือสองชัน้ กองเรือทีส่ ง่ั ต่อใหม่ดงั กล่าวซึง่ รวมถึงเครือ่ งจักรและอุปกรณ์จะถูกสร้างขึน้ ภายใต้ขอ้ บังคับและกฎเกณฑ์ของ Nippon Kaiji Kyokai (“NKK” หรือ “สมาคมจัดชัน้ เรือ (Classification Society)”) ต่อมาเมือ่ วันที่ 14 กันยายน 2550 บริษทั ฯ ได้ลงนามในสัญญาสัง่ ต่อเรือใหม่อกี จำนวน 3 ฉบับ กับ ABG Shipyard Limited ประเทศอินเดียสำหรับสัง่ ต่อเรือประเภทสินค้าแห้งเทกอง (ขนาด ซุปราแมกซ์) จำนวน 3 ลำ มีขนาดระวาง 54,000 เดตเวทตัน ซึ่งเรือแต่ละลำเป็นเรือสมัยใหม่มีผนังด้านข้างเรือสองชั้น กองเรือที่สั่งต่อใหม่ดังกล่าวซึ่งรวมถึงเครื่องจักรและอุปกรณ์จะ ถูกสร้างขึ้นภายใต้ข้อบังคับและกฎเกณฑ์ของ The American Bureau of Shipping (“ABS”หรือ “สมาคมจัดชั้นเรือ(Classification Society)”) โดยสมาคมจัดชัน้ เรือทีก่ ล่าวมาข้างต้นจะแต่งตัง้ ตัวแทนไปทำการตรวจสอบการต่อเรือ ณ อูต่ อ่ เรือ การตัดสินใจในเรือ่ ง เกีย่ วกับมาตรฐานและคุณสมบัตขิ องเรือจะถูกกำหนดและรับรองโดยสมาคมจัดชัน้ เรือ อีกทัง้ บริษทั ฯ จะมีพนักงานของบริษทั ฯ ไป ติดตามดูแลความคืบหน้าของการต่อเรือตลอดเวลา อย่างไรก็ดี บริษัทฯ ยังคงมองหาเรือต่อไป และอาจสั่งต่อเรือใหม่เพิ่มขึ้นในปี 2551 รายละเอียดต้นทุนเรือ ตารางการจ่ายเงินงวด และประมาณวันทีเ่ รือเสร็จ มีดงั นี ้

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ลำดับ วันที่ ในสัญญา วันรับมอบเรือ ขนาดระวาง จำนวนเงินตาม โดยประมาณ บรรทุก สัญญาฯ (เหรียญสหรัฐฯ)

146

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 รวม

20 กรกฎาคม 2550 20 กรกฎาคม 2550 20 กรกฎาคม 2550 20 กรกฎาคม 2550 20 กรกฎาคม 2550 20 กรกฎาคม 2550 20 กรกฎาคม 2550 20 กรกฎาคม 2550 20 กรกฎาคม 2550 20 กรกฎาคม 2550 20 กรกฎาคม 2550 20 กรกฎาคม 2550 14 กันยายน 2550 14 กันยายน 2550 14 กันยายน 2550

15 มีนาคม 2553 31 กรกฎาคม 2553 15 ธันวาคม 2553 30 เมษายน 2554 31 สิงหาคม 2554 31 ธันวาคม 2554 30 เมษายน 2555 31 สิงหาคม 2555 31 ธันวาคม 2555 30 เมษายน 2556 31 สิงหาคม 2556 31 ธันวาคม 2556 31 ธันวาคม 2553 30 มิถนุ ายน 2554 31 ธันวาคม 2554

32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 54,000 54,000 54,000 546,000

29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 37,999,998 37,999,998 37,999,998 473,999,958

จำนวนเงินที่ ได้จ่ายใน ปี 2550 (ร้อยละ 20 ของสัญญาฯ) (เหรียญสหรัฐฯ)

5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 7,599,999 7,599,999 7,599,999 94,799,985


3. New Ship Building Contracts for 15 Ships ordered in Year 2007:

3.1 Summary of the Transaction

The Company has entered into 12 contracts for construction of 12 handysize bulk carriers of design deadweight size 32,000 DWT (these ships are actually allowed to carry 34,000 DWT and therefore, these ships are classified as 34,000 DWT size in other sections of this Annual Report) with ABG Shipyard Limited, India (ABG or Builder) on 20th July 2007. Each ship is a modern semi box-shape open hatch and double hull type bulk/log carrier. The Ships, including machinery and equipment, will be constructed in accordance with the rules and regulations of Nippon Kaiji Kyokai (“NKK” or “Classification Society”). The Company also entered into 3 contracts for construction of 3 Supramax bulk carriers of size 54,000 DWT with ABG Shipyard Limited, India on 14th September 2007. Each ship is a modern double hull type bulk carrier. The Ships, including machinery and equipment, will be constructed in accordance with the rules and regulations of the American Bureau of Shipping (“ABS” or “Classification Society”). The Classification Society will assign a representative to the shipyard for supervising the construction of the Ships. Final decision on seaworthiness of ships and adherence to specifications will be determined and certified by the Classification Society. The Company will also have its full time designated employees at the shipyard to monitor progress of the construction. The Company continues to be on the lookout for more ships and would probably order more new ships in year 2008. The details of cost, schedule of installments, expected date of deliveries are as follows: Details of year wise schedule of payments for New Buildings contracts for 15 Ships

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 Total

20th July 2007 20th July 2007 20th July 2007 20th July 2007 20th July 2007 20th July 2007 20th July 2007 20th July 2007 20th July 2007 20th July 2007 20th July 2007 20th July 2007 14th September 2007 14th September 2007 14th September 2007

15th March 2010 31st July 2010 15th December 2010 30th April 2011 31st August 2011 31st December 2011 30th April 2012 31st August 2012 31st December 2012 30th April 2013 31st August 2013 31st December 2013 31st December 2010 30th June 2011 31st December 2011

32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 32,000 54,000 54,000 54,000 546,000

29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 29,999,997 37,999,998 37,999,998 37,999,998 473,999,958

5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 5,999,999 7,599,999 7,599,999 7,599,999 94,799,985

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Sr. No. Contract date Expected Date DWT Contract Amount Paid in 2007 of Delivery US$ US$ (20% of Cost)

147


รายละเอียดแสดงเงินงวดที่จะต้องจ่ายตามขั้นความสำเร็จของงานสำหรับเรือขนาดระวางบรรทุก 32,000

เดตเวทตัน และ 54,000 เดตเวทตัน มีดงั นี ้ เหตุการณ์

งวดที่ชำระ

งวดที่ 1 งวดที่ 2 งวดที่ 3 งวดที่ 4 งวดที่ 5 รวม

ลงนามในสัญญา ตัดแผ่นเหล็กชิน้ แรก เสร็จสิน้ การวางกระดูกงูเรือ (โครงเรือ) ปล่อยเรือลงน้ำ ส่งมอบเรือ

เรือขนาดระวางบรรทุก 32,000 เดตเวทตัน

เรือขนาดระวางบรรทุก 54,000 เดตเวทตัน

5,999,999 5,999,999 5,999,999 6,000,000 6,000,000 29,999,997

7,599,999 7,599,999 7,600,000 7,600,000 7,600,000 37,999,998

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

การจ่ายเงินในแต่ละงวดดังกล่าวข้างต้น (ยกเว้นการจ่ายเงินงวดสุดท้าย) จะจ่ายเมือ่ บริษทั ฯได้รบั หนังสือค้ำประกันเงินงวดที่ จะจ่าย จากธนาคารทีม่ ชี อ่ื เสียง เพือ่ ประกันว่าจะได้รบั เงินคืนถ้ามีความผิดพลาดทีเ่ กิดจากอูต่ อ่ เรือ เงื่อนไขต่างๆในสัญญาต่อเรือจะเป็นไปตามการปฏิบัติกันโดยทั่วไปในตลาดสำหรับการสั่งต่อเรือ และยังมีเงื่อนไขในราคา ตามสัญญาต่อเรืออาจจะถูกปรับให้ลดลงหรือเพิ่มขึ้น การปรับราคาของสัญญาต่อเรือดังกล่าวเกี่ยวข้องกับรายละเอียดต่างๆ ที่อาจ จะเกิดขึน้ ได้แก่ กำหนดการส่งมอบเรือ ความเร็วเรือ การบริโภคน้ำมันเชือ้ เพลิงและระวางบรรทุกของเรือ (เดตเวทตัน) บริษทั ฯ และอู่ ต่อเรือ ABG ได้กำหนดค่าเสียหายบนพื้นฐานของการประมาณการสูญเสียรายได้ของบริษัทฯ หากอู่ต่อเรือส่งมอบเรือของบริษัทฯ ล่าช้าเกินกำหนด การขาดในเรือ่ งใดๆ ทีเ่ กีย่ วกับรายละเอียดของเรือ ทีก่ ล่าวข้างต้น ในทำนองเดียวกันในสัญญาต่อเรือก็ได้กำหนดให้ มีการชำระราคาส่วนเพิม่ หากอูต่ อ่ เรือสามารถส่งมอบเรือให้บริษทั ฯ เร็วกว่ากำหนดการส่งมอบเรือ หรือมีรายละเอียดของเรือในทางที่ ดี กล่าวคือมีกำหนดในเรือ่ งค่าเสียหายสูงสุดทีบ่ ริษทั ฯ สามารถหักได้ไม่เกินอัตราร้อยละ 6.3 ของจำนวนเงินตามสัญญาต่อเรือหรือ ไม่เกินจำนวน 1.89 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา สำหรับเรือทีม่ ขี นาดระวาง 32,000 เดตเวทตัน และ 2.39 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา สำหรับเรือทีม่ ขี นาดระวาง 54,000 เดตเวทตัน และจำนวนเงินส่วนเพิม่ สูงสุดทีบ่ ริษทั ฯ ต้องจ่ายจากรายละเอียดต่าง ๆ ทีร่ ะบุขา้ งต้นที่ ส่งผลในทิศทางที่ดีขึ้น มีอัตราไม่เกินร้อยละ 3.15 ของจำนวนเงินตามสัญญาต่อเรือหรือไม่เกินจำนวนเงิน 0.95 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกา สำหรับเรือทีม่ ขี นาดระวาง 32,000 เดตเวทตัน และ จำนวนเงิน 1.20 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา สำหรับเรือทีม่ ขี นาด ระวาง 54,000 เดตเวทตัน ดังนัน้ จำนวนเงินส่วนเพิม่ หากอูต่ อ่ เรือส่งมอบเรือให้บริษทั ฯ ก่อนกำหนด หรือจากเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ทีร่ ะบุ ข้างต้นทีส่ ง่ ผลในทางทีด่ ขี น้ึ สำหรับกองเรือจำนวน 15 ลำ จำนวนเงินส่วนเพิม่ ดังกล่าวเป็นจำนวนรวมกันไม่เกิน 14.93 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกา ทีก่ ล่าวมาข้างต้นอาจส่งผลกระทบต่อกระแสเงินสดของบริษทั ฯ ได้ หากอูต่ อ่ เรือสามารถส่งมอบเรือให้บริษทั ฯ เร็วกว่า กำหนดการส่งมอบเรือตามที่ระบุในสัญญาต่อเรือ หรือจากเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ระบุข้างต้นที่ส่งผลในทางที่ดีขึ้น การปรับราคาของ สัญญาต่อเรือที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นดังกล่าวข้างต้นมีความสมเหตุสมผลเนื่องจากเป็นการปฏิบัติโดยทั่วไป ของสัญญาต่อเรือ

148

3.2 วัตถุประสงค์ ในการเข้าทำรายการ

เรือมีอายุการใช้งานคงที่และเมื่อครบกำหนดอายุการใช้งานของเรือ เรือจะถูกปลดระวางกลายเป็นเศษซาก ซึ่งเป็น สาเหตุทำให้กำลังความสามารถของกองเรือลดลง และถ้าบริษทั ฯ ต้องการทีจ่ ะคงขนาดของกองเรือและอายุเรือ บริษทั ฯ ต้องปฏิบตั ิ ตามโปรแกรมการลดอายุกองเรืออย่างต่อเนือ่ ง (ตัดจำหน่ายเป็นเศษซากหรือขายเรือ) ซึง่ การแทนทีเ่ ศษซาก/ขายเรือทำได้โดยการซือ้ เรือมือสองจากการเปิดตลาดซือ้ ขายเรือ อย่างไรก็ตามเนือ่ งจากการเพิม่ ขึน้ ของราคาเรือในตลาดเรือสากล มูลค่า(ต้นทุน)สำหรับเรือมือ สองสูงอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน ดังนั้นบริษัทฯ เห็นว่าเป็นการไม่สมควรในการซื้อเรือมือสองในราคาที่สูงและมีความเสี่ยงในการซ่อม บำรุงทีอ่ าจเกิด เมือ่ ตลาดปรับตัวลงจนมีผลให้ราคาเรือตกลงในตลาดเรือตามวงจรขาลงในอนาคตทีจ่ ะมาถึง


Details of installments due according to the stage of completion of 32K DWT and 54K DWT Ships Installment Number

1st 2nd 3rd 4th 5th Total

Occasion

On signing the contract Steel cutting of the first steel plate After completion of Keel Laying of the Ship Launching of the Ship Delivery of the Ship

32K DWT Ship

54K DWT Ship

5,999,999 5,999,999 5,999,999 6,000,000 6,000,000 29,999,997

7,599,999 7,599,999 7,600,000 7,600,000 7,600,000 37,999,998

Each of the above installments (except the last installment) shall be paid only on the receipt of a Bank Guarantee from a reputed bank, for an equivalent amount, to guarantee the refund of the installments in case of a default by the Builder. As per the Contract and in line with market practice, there are certain adjustments that can be made to the Contract Price of the ship. These adjustments relate to specifications regarding Delivery Date, Speed, Excessive Fuel Consumption and Deadweight. The Company and ABG have determined damages based on estimated loss of revenue to the Company for delayed deliveries or a shortfall in performance of each one of the above specified criteria. Similarly, there is an incentive for early deliveries or improved performance of these criteria. It is also agreed that the maximum damages that can be deducted by the Company shall not exceed 6.3% of the Contract Price or US Dollar 1.89 million per 32K DWT Ship and US Dollar 2.39 million per 54K DWT Ship. Likewise the maximum incentive to be paid by the Company shall not exceed 3.15% of the Contract Price or US Dollar 0.95 million per 32K DWT Ship and US Dollar 1.20 million per 54K DWT Ship. The total acquisition Price for the 15 ships can therefore increase by an aggregate sum of US Dollar 14.93 million, though this will result in enhanced cash flows for the Company from improved efficiencies in operations of the ships and or early deliveries. The adjustments are reasonable for contracts of this nature. 3.2 Objective of the Transaction

Ships have a finite life and as and when the ships reach a certain age, they need to be scrapped. This leads to a decrease in capacity and if the Company wants to maintain capacity in terms of fleet size and age, the Company has to continuously follow a program of replacement of its older (scrapped or sold) ships. Replacement of scrapped/sold ships could be achieved by purchase of second-hand ships from the open “Sale & Purchase� market. However due to the recent boom in the International Shipping market, the values (cost) of second-hand ships are at unprecedented highs and the company does not deem it prudent to be buying second-hand ships at these values and expose itself to the risks of an impairment charge on its assets as a result of the fall in the market values of ships in the next cyclical downturn.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

149


บริษทั ฯ ได้จำหน่ายเรือทีม่ อี ายุมากออกไปจำนวน 10 ลำ เมือ่ ต้นปี 2550 ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของแผนการปรับปรุงกองเรือ โดย วัตถุประสงค์ของแผนการปรับปรุงกองเรือ คือ การลดอายุเฉลีย่ ของกองเรือโดยการสัง่ ต่อเรือใหม่ และ/หรือซือ้ เรือมือสองด้วยราคาที่ สมเหตุสมผล หรือเลือกใช้ทง้ั สองแนวทางดังกล่าว เพือ่ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการปรับปรุงกองเรือดังกล่าว บริษทั ฯ ได้ทำการ ศึกษาข้อมูลราคาเรือสำหรับราคาเรือใหม่ และราคาเรือมือสองในตลาดเรือมือสองและพบว่ามีเรือใหม่หรือเรือมือสองค่อนข้างน้อย หรือถึงมีแต่ราคานัน้ จะสูงมาก บริษทั เชือ่ ว่าราคาเรือดังกล่าวนัน้ จะเป็นไปได้ไม่นาน แม้วา่ ดัชนี Baltic Dry Index (BDI) ได้แตะระดับ สูงสุดอย่างทีไ่ ม่เคยเกิดมาก่อนในระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2550 ซึง่ สะท้อนให้เห็นได้จากราคาค่าเช่าเรือในปัจจุบนั อยูใ่ นระดับสูง เรือ มือสองในราคาทีซ่ อ้ื ขายกันในตลาดในปัจจุบนั พบว่ามีความเสีย่ งและยากทีจ่ ะทำให้ได้รบั ผลตอบแทนทีเ่ หมาะสม ดังนัน้ บริษทั ฯ จึง พิจารณาทางเลือกการสั่งต่อเรือใหม่ อย่างไรก็ตาม การสั่งต่อเรือในปัจจุบันไม่เป็นเรื่องที่ง่าย เนื่องจากอู่ต่อเรือแต่ละแห่งต่างก็มี ปริมาณงานการต่อเรือขนาดใหญ่จำนวนมาก ซึง่ อูต่ อ่ เรือแต่ละแห่งมองว่าการต่อเรือขนาดใหญ่จะสามารถสร้างผลกำไรให้แก่อตู่ อ่ เรือ ได้มากกว่า อูต่ อ่ เรือแต่ละแห่งจึงไม่คอ่ ยจะรับคำสัง่ ต่อเรือขนาดเล็ก นอกจากนี้ ปัจจุบนั เครือ่ งยนต์หลักทีใ่ ช้ตดิ ตัง้ สำหรับเรือต่อใหม่ อยูใ่ นภาวะขาดแคลน ส่งผลให้มอี ตู่ อ่ เรือจำนวนน้อยรายทีจ่ ะสามารถส่งมอบเรือใหม่ได้ตามกำหนดเวลา ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงได้เจรจา กับอูต่ อ่ เรือเพือ่ สัง่ ต่อเรือใหม่จำนวน 15 ลำ โดยพิจารณาเลือกอูต่ อ่ เรือทีส่ ามารถต่อเรือและส่งมอบเรือให้แก่บริษทั ฯ ตามกำหนดได้ ภายใต้เงื่อนไขที่บริษัทฯ พิจารณาแล้วเห็นว่าเหมาะสมกับสภาวการณ์ปัจจุบัน และไม่ส่งผลกระทบต่อโอกาสในการขยายกำลังกอง เรือของบริษทั ฯ ตารางต่อไปนีแ้ สดงราคาของเรือมือสองและเรือสัง่ ต่อใหม่ i) แสดงราคาเรือมือสองทีม่ อี ายุการใช้งาน 5 ปี(ล้านเหรียญสหรัฐฯ) ราคาเรือมือสองที่มีอายุการใช้งาน 5 ปี(ล้านเหรียญสหรัฐฯ) แฮนดี้ ไซส์ แฮนดี้แมกซ์ ซุปราแมกซ์ พานาแมกซ์

45 – 47 62 – 64 70 – 72 80 – 82 ทีม่ า : Maersk Broker: ตลาดขนส่งสินค้าแห้งเทกอง (รายงานวันที่ 25 ม.ค. – 2 ก.พ.51) ii) แสดงราคาเรือสัง่ ต่อใหม่ (ล้านเหรียญสหรัฐฯ)

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

150

แฮนดี้ ไซส์**

ราคาเรือสั่งต่อใหม่ (ล้านเหรียญสหรัฐฯ) ซุปราแมกซ์* พานาแมกซ์*

เคปไซส์

130 – 140

เคปไซส์*

37 – 38 46 – 47 54 – 56 95 – 100 ทีม่ า : Maersk Broker: ตลาดขนส่งสินค้าแห้งเทกอง (รายงานวันที่ 25 ม.ค. – 2 ก.พ.51) * จากอูต่ อ่ เรือประเทศจีนทีส่ ง่ มอบเรือในปี 2553 ** จากอูต่ อ่ เรือประเทศเกาหลีทส่ี ง่ มอบเรือในปี 2553 จากตารางสองตารางข้างต้น บริษทั ฯ เห็นว่าความแตกต่างทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างต้นทุนเรือมือสองและเรือสัง่ ต่อใหม่ ณ ปัจจุบนั มีความแตกต่างกันมาก แม้ว่าจะพิจารณาความต่างของอัตราค่าระวางเรือสำหรับเรือทั้งสองประเภทแล้วก็ตาม เป็นผลให้บริษัทฯ เปลีย่ นกลยุทธ์โดยการสัง่ ต่อเรือมือใหม่แทนทีก่ ารซือ้ เรือมือสองเพือ่ บรรลุวตั ถุประสงค์ในการลดอายุเฉลีย่ ของกองเรือของบริษทั ฯ ภาย ใต้สภาวะตลาดในปัจจุบนั


The Company sold 10 old ships in early 2007 as part of its fleet rejuvenation plan. An objective of the fleet rejuvenation plan is to reduce the average age of the Company’s fleet by building new ships and/or buying reasonably priced new second-hand ships or through a combination of both. As part of this objective, the Company extensively surveyed available ships in the new and second-hand markets and found limited availability of both new and second-hand ships and even those available were quoted at extremely high prices. The Company believes that the prevailing ship prices are not sustainable despite the fact that the Baltic Dry Index (BDI) had reached an all time high during November 2007 which reflected in the firm spot charter freight rates. The risk adjusted return on investment for second-hand ships at current prices is difficult to justify and the Company therefore chose to go with the new build option. The new build option is also not easy in the current circumstances as shipyards have been very busy executing orders for larger ships which are more profitable from the builder’s perspective, and they therefore have not been entertaining requests for handy size ships. Further, engines for new ships are now in scarce availability and very few shipyards are able to deliver new builds in a reasonable time frame. The Company therefore negotiated with the Builder for the new building order of 15 ships, engines slots for which were available, on what it considers are attractive terms in the current environment, and in light of the limited opportunities to expand its fleet. The following two tables show recent representative prices of second-hand ship and new buildings. i) Representative Second Hand Prices- 5 years old (USD Million) Representative Second Hand Prices- 5 yrs old (USD Million)

Handysize Handymax

Supramax

45-47 62-64 70-72 Source: Maersk Broker, Dry Bulk Market (Jan 25th-Feb 2nd, 2008 Report) ii) Representative New building Prices (USD Million) Handysize**

Panamax

Capesize

80-82

130-140

Representative Newbuilding Prices (USD Million) Supramax*

Panamax*

Capesize*

37-38 46-47 54-56 95-100 Source: Maersk Broker, Dry Bulk Market (Jan 25th-Feb 2nd, 2008 Report) * based on Chinese built vessel for 2010 delivery ** based on Korean built vessel for 2010 delivery As observed from the above two tables, the Company is of the opinion that the gap between cost of second-hand and new build ships at present level is higher even after considering the gap between the respective freight rates at present level. Therefore the Company has changed its strategy to order new ships instead of acquiring second hand ships to achieve its fleet rejuvenation objective under the existing market conditions.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

151


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

152

3.3 ประโยชน์ที่ ได้รับจากการทำรายการ

บริษทั ฯ ได้รบั ประโยชน์จากการทำรายการดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ดงั นี ้ (ก) การลดอายุเฉลีย่ ของกองเรือ ปัจจุบนั บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยให้บริการกองเรือจำนวน 44 ลำ คิดเป็นระวางบรรทุกรวม 1,130,280 เดตเวทตัน และมีอายุกองเรือเฉลีย่ 20 ปี และระวางบรรทุกต่อเรือหนึง่ ลำเฉลีย่ 25,688 เดตเวทตัน การได้รบั มอบเรือสัง่ ต่อใหม่จำนวน 15 ลำ เริม่ ต้นในปี 2553 และสิน้ สุดในปี 2556 และหากกำหนดให้เรือทีม่ อี ยู่ ในปัจจุบนั มีอายุเฉลีย่ 27 ปี หลังจากนัน้ จะขายเป็นมูลค่าซาก สามารถประมาณการกองเรือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ซึ่งจะประกอบด้วยเรือจำนวน 33 ลำ มีอายุเฉลี่ย 10.04 ปี มีระวางบรรทุกรวม 990,434 เดตเวทตัน และระวางบรรทุก ต่อเรือหนึง่ ลำเฉลีย่ 30,013 เดตเวทตัน (ข) เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน การได้มาซึ่งเรือสั่งต่อใหม่จะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยเป็นการลดอายุเฉลี่ยของกองเรือ ทั้งยัง ช่วยเพิม่ ระวางบรรทุกของกองเรือ ซึง่ จะช่วยเพิม่ อัตราค่าเช่าเรือ นอกจากนี้ หากกองเรือมีอายุมากจะส่งผลให้ประสิทธิภาพ ในการดำเนินงานต่ำและมีตน้ ทุนการบำรุงรักษาสูง ซึง่ จะทำให้เกิดการเสียเปรียบทางด้านราคาเมือ่ เปรียบเทียบกับกองเรือที่ มีอายุน้อยและมีความทันสมัยกว่าโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงวัฏจักรขาลง การเพิ่มขึ้นของรายได้และการลดต้นทุนในการ ดำเนินงานอันเนื่องมาจากเรือสั่งต่อใหม่และเป็นเรือที่มีความทันสมัยกว่าจะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ บริษทั (ค) รักษาส่วนแบ่งตลาด พีเอสแอลเป็นหนึ่งในบริษัทเดินเรือที่ใหญ่ที่สุดที่ดำเนินธุรกิจขนส่งสินค้าแห้งเทกองในหมวดเรืออเนกประสงค์ ขนาดเล็ก (โดยในปัจจุบนั กองเรือโลกสำหรับเรือประเภทเดียวกับเรือของบริษทั มีจำนวน 3,164 ลำ ณวันที่ 1 มกราคม 2551) เมือ่ เร็วๆ นี้ บริษทั ให้บริการกองเรือจำนวน 54 ลำ และเพิง่ จะขายเรือจำนวน 10 ลำ เมือ่ ต้นปี 2550 และคาดว่าบริษทั ฯ จะขายเรือเก่าตามมูลค่าซากจำนวน 26 ลำ ในระยะเวลา 5 ถึง 6 ปี ข้างหน้า ดังนัน้ เพือ่ ดำรงไว้ซง่ึ ส่วนแบ่งตลาด บริษทั ฯ จึงต้องซือ้ เรือมือสองทีม่ อี ายุนอ้ ย หรือสัง่ ต่อเรือใหม่ หรือดำเนินการในทัง้ 2 วิธดี งั กล่าว การดำเนินการตามสัญญาสัง่ ต่อเรือ ในครั้งนี้ เป็นขั้นตอนแรกของบริษัทฯ ที่จะรักษาส่วนแบ่งทางการตลาด สัญญาสั่งต่อเรือใหม่ได้ดำเนินการมาเพื่อ วัตถุประสงค์ทจ่ี ะทำให้บริษทั สามารถรักษาความเป็นผูน้ ำทางการตลาดในระยะยาว (ง) เรือสัง่ ต่อใหม่สามารถเพิม่ ระวางบรรทุก สัญญาสัง่ ต่อเรือใหม่ในครัง้ นี้ เป็นการสัง่ ต่อเรือขนส่งสินค้าแห้งเทกองทีม่ รี ะวางบรรทุก 32,000 เดทเวทตัน เรือกิน น้ำลึกที่ 9.85 เมตร ซึง่ เหมาะสมกับความต้องการของบริษทั ฯ และเหมาะสมสำหรับการค้าและท่าเรือทีม่ กี ารจำกัดความลึก อย่างไรก็ตาม เนื่องจากขนาดและรูปร่างของเรือที่สั่งต่อใหม่นั้น หากบริษัทฯ ต้องการที่จะบรรทุกสินค้าที่ระวางบรรทุก ประมาณ 34,000 ตัน ก็สามารถเป็นไปได้ ซึง่ จะส่งผลให้เรือกินน้ำลึก 10.2 เมตร อันไม่เป็นการผิดกฎระเบียบใดๆ (จ) เป็นการดำเนินการตามกลยุทธ์การจัดการของบริษทั ฯทีไ่ ด้นำเสนอไปแล้ว บริษทั ฯอยูร่ ะหว่างการดำเนินการปรับอายุกองเรือโดยทดแทนเรือทีม่ อี ายุมากด้วยการสัง่ ต่อเรือใหม่หรือการซือ้ เรือ มือสอง บริษทั ฯเห็นว่าราคาเรือมือสองทีซ่ อ้ื ขายในตลาดเรือมือสองปัจจุบนั มีราคาไม่เหมาะสมแม้วา่ อัตราค่าเช่าเรือจะอยูใ่ น ระดับสูงก็ตาม ดังนั้น บริษัทฯ จึงเลือกที่จะสั่งต่อเรือใหม่กับอู่ต่อเรือที่มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับ สัญญาสั่งต่อเรือใหม่เป็น กลยุทธ์การจัดการของบริษทั ฯ ตามทีไ่ ด้นำเสนอต่อผูถ้ อื หุน้ ผูล้ งทุน นักวิเคราะห์ ผ่านการประชุมต่างๆ ทีผ่ า่ นมา การสัง่ ต่อเรือใหม่จำนวน 15 ลำ จะช่วยให้บริษทั ฯ มีกองเรือใหม่ทท่ี นั สมัยและเป็นการขยายกองเรือของบริษทั ฯ และเพิม่ ส่วนแบ่งทางการตลาด รวมทัง้ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของบริษทั ฯ


3.3 Benefits of the Transaction

The Company will benefit from these transactions for a number of reasons including: (a) Rejuvenation of fleet Currently the Company and subsidiaries operate a fleet of 44 ships with an aggregate dead weight tonnage of 1,130,280 DWT and an average age of about 20 years and average dead weight tonnage of 25,688 DWT per ship. With the proposed acquisition of 15 ships beginning in 2010 and ending in 2013 and after assuming that all existing ships that are over 27 years in age are scrapped, the fleet on 31st December 2013 would be comprised of 33 ships of an average age of 10.04 years with and aggregate dead weight tonnage of 990,434 DWT or an average dead weight tonnage of 30,013 DWT per ship. But for these acquisitions, the Company’s fleet would have been small and old, resulting in loss of market share. (b) Increases competitiveness The acquisition of the new Ships will help increase competitiveness by reducing the average age of the fleet as well as increasing the average DWT of the ships in the fleet both of which help command higher freight rates. Also, an ageing fleet generally results in low operating efficiency and high maintenance costs, putting it at a price disadvantage to younger and more modern fleets especially in a cyclical downturn. The increased revenues and reduced cost of operations as a result of the newer and more modern fleet will enable the Company to increase competitiveness. (c) Maintains market position PSL is one of the largest, if not the largest, operator of dry-bulk carriers in the small handysize sector where the current world fleet comprises of 3,164 ships as of 1st January 2008. Until recently, the Company operated a fleet of 54 ships. The Company recently sold 10 old ships in early 2007 and expects to replace or scrap a further 26 ships over the next 5-6 years. To maintain its market position, the Company needs to either acquire relatively younger second-hand ships or order new builds or exercise a combination of both. The Contracts are the first step by the Company towards this objective and is a key towards the Company maintaining its leading market position in the long term. (d) Ship design facilitates increased load factor The Contract for the 32,000 DWT bulker is at a draft of 9.85m to suit the Company’s requirements for trading in ports with limited draft. However, due to it’s size and shape, if the ship is loaded to its maximum draft, which is 10.20m, the Company will be able to load up to about 34,000 DWT without violating any regulations. Accordingly, these ships are also classified as 34,000 DWT size in other sections of this Annual Report. (e) Consistent with stated strategy The Company has consistently advised that it would be looking to replace ageing existing ships with either new builds or acquisition of second-hand ships. The Company currently believes that the prevailing prices of second-hand ships are not justifiable despite the strong freight rate environment and has therefore chosen to order new ships from a recognized shipyard. The Contracts for new ships are therefore consistent with the management strategy as presented to shareholders, investors, analysts through various forums. The order of the 15 new ships would enable the Company to modernize and expand the Company’s fleet capacity and thereby enhance market share and competitiveness.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

153


3.4 เรือซุปราแมกซ์

3.5 วงเงินที่ ใช้สำหรับการสั่งต่อเรือใหม่

3.6 แผนการปรับปรุงกองเรือสำหรับอนาคต:

บริษทั ฯ ทำสัญญาสัง่ ต่อเรือประเภทซุปราแมกซ์เป็นครัง้ แรกจำนวน 3 ลำในปี 2550 ซึง่ ได้อธิบายรายละเอียดดังกล่าว ไว้แล้วข้างต้น ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการสั่งต่อเรือใหม่ประเภทซุปราแมกซ์ (ซึ่งอาจมีความแตกต่างจากการสั่งต่อเรือขนาดแฮนดี้ไซส์) ดังนี ้ บริษทั ฯ ได้สง่ั ต่อเรือขนาดซุปราแมกซ์ แทนเรือประเภทแฮนดีไ้ ซส์ ซึง่ เป็นเรือประเภททีบ่ ริษทั ฯ มีความชำนาญในการ บริหาร เนื่องจากเรือประเภทซุปราแมกซ์ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญจากกองเรือที่บริษัทฯ บริหารงานอยู่ หากดูในด้านการ ตลาด ลูกค้าของบริษทั ฯซึง่ ปัจจุบนั ใช้เรือของบริษทั ฯอยูก่ ม็ คี วามต้องการใช้เรือซุปราแมกซ์เช่นกัน โดยข้อเท็จจริง โอกาสทีเ่ รือขนาด ใหญ่กว่าสำหรับการให้เช่าเรือระหว่าง 3 –10 ปี ด้วยอัตราค่าระวางทีเ่ หมาะสม เป็นสิง่ ทีด่ กี ว่ามากเมือ่ เทียบกับเรือขนาดแฮนดีไ้ ซส์ แม้วา่ มีกำหนดการส่งมอบเรือในอนาคตก็ตาม ส่วนในด้านเทคนิค ความชำนาญในการบริหารเรือเหล่านี้ บริษทั ฯ ก็มผี ชู้ ำนาญอย่าง เพียงพอ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงไม่มคี วามจำเป็นทีต่ อ้ งเปลีย่ นแปลงโครงสร้างของบริษทั ฯ เพือ่ รองรับการบริหารเรือดังกล่าว ตลาดเช่าเรือซุปราแมกซ์: บริษทั ฯ ได้สอบถามลูกค้าจำนวนหนึง่ ของบริษทั ฯ รวมทัง้ ได้สอบถามกับนายหน้าจากทัว่ โลก เพื่อให้เข้าใจการบริหารเรือที่ใหญ่ขึ้น ซึ่งพบว่าบริษัทฯ มีความพร้อมสำหรับการบริหารเรือขนาดใหญ่กว่านี้ ปัจจุบันลูกค้าของ บริษัทฯ ที่ใช้เรือของบริษัทฯ มีความต้องการที่จะใช้เรือใหญ่กว่าเช่นกัน อีกทั้งโอกาสของเรือขนาดใหญ่กว่าในการให้เช่าเรือระหว่าง 3 – 10 ปี ดัวยอัตราค่าระวางเรือทีเ่ หมาะสม เป็นสิง่ ทีด่ กี ว่ามากเมือ่ เทียบกับเรือขนาดแฮนดีไ้ ซส์ แม้วา่ มีกำหนดการส่งมอบเรือกันใน อนาคตก็ตาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯ จ่ายเงินล่วงหน้าค่าต่อเรือเป็นจำนวนเงิน 94.80 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา สำหรับ สัญญาสัง่ ต่อเรือใหม่จำนวน 15 ลำทีไ่ ด้กล่าวไว้แล้วข้างต้น จากกระแสเงินสดสุทธิในกิจกรรมดำเนินงาน บริษทั ฯ ยังคงต้องจ่ายเงิน ตามสัญญาฯ อีกจำนวน 379.20 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ดังทีไ่ ด้อธิบายไว้แล้วข้างต้นในข้อ 3.1 สำหรับสินเชื่อในระยะยาว บริษัทฯ ได้พยายามออกหุ้นกู้ในตลาดตราสารหนี้สากลในระหว่างปี 2550 อย่างไรก็ตาม หลังจากเกิดปัญหาซับไพร์มและราคาหุน้ กูไ้ ด้เพิม่ ขึน้ ทำให้บริษทั ฯ ไม่สามารถออกหุน้ กูร้ ะยะยาวในราคาทีน่ า่ พอใจได้และด้วยเหตุผล ดังกล่าวบริษัทฯ ได้ปรึกษากับสถาบันการเงินในประเทศที่มีชื่อเสียงและสถาบันการเงินต่างประเทศ เพื่อขอวงเงินสินเชื่อที่มีหลัก ประกันสำหรับจำนวนเงินทีเ่ หลือสำหรับการสัง่ ต่อเรือใหม่ บริษัทฯ วางแผนระยะสั้น/ระยะกลางสำหรับการสั่งต่อเรือใหม่หรือซื้อเรือมือสอง บริษัทฯ ยังแสวงหาราคาเรือสั่งต่อ ใหม่ทน่ี า่ สนใจอย่างต่อเนือ่ ง เช่นเดียวกับทีบ่ ริษทั ฯ มีความพอใจในการพิจารณาซือ้ เรือมือสองในราคาทีเ่ หมาะสม บริษทั ฯ ยังมีวงเงิน สินเชือ่ จำนวน 500 ล้านเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา ทีย่ งั ไม่ได้เบิกใช้สำหรับการปรับปรุงกองเรือหรือการจัดซือ้ เรือมือสอง

4. การวิเคราะห์รายได้และค่าใช้จ่ายจากการเดินเรือ รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

154

4.1 คำนิยาม

รายงานคำอธิบายและการวิเคราะห์ของผูบ้ ริหารนี้ ได้ใช้ขอ้ มูลจากงบการเงินรวมของบริษทั ฯ ซึง่ จัดทำขึน้ ตามหลักการ บัญชีไทยทีร่ บั รองทัว่ ไปในประเทศไทย และงบการเงินแปลงค่าเป็นเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา ก่อนอืน่ บริษทั ฯ ขออธิบายคำนิยามต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับคำทางการเงินและการดำเนินงาน ดังนี ้


3.4 New Supramax Ships

The Company has also entered into the Supramax sector for the first time by ordering 3 ships in year 2007 as explained above. The issues concerning these orders specifically (as they may differ from the new handy size ship orders) are discussed below: The Company is buying supramax ships inspite of its core competency in managing handy size ships because these ships are not significantly different from its existing ships in terms of marketability. The clients that currently use our existing ships also have requirements for these ships. In fact, the chances of fixing these larger ships for long term contracts of between 3 and 10 years at reasonably attractive rates are much better than that of the handy size ships even for forward delivery in the future. In terms of technical expertise required to operate these ships, once again, the Company’s existing expertise is quite sufficient and even the Company’s organization structure does not require any changes to manage these ships. Charter market for supramaxes: The Company has been in discussion with certain clients as well as brokers from all over the world in an effort to understand if these larger ships pose a significant knowledge challenge to its existing team, and the Company is pleased to say that the Company does not have any such lacuna in its existing knowledge base with reference to these larger ships. The clients that currently use the Company’s ships also have requirements for these bigger ships. In fact, the chances of fixing these larger ships for long term contracts of between 3 and 10 years are much better than that of the existing smaller ships or the new handy size ships even for forward delivery in the future.

3.5 Proposed Credit facilities for New Buildings (New Ships)

As on 31st December 2007, the Company has made advance payment of US$ 94.80 Million against the 15 Shipbuilding contracts mentioned above through Company’s operating cash flows and the Company has balance capital commitment of US$ 379.20 Million as explained in 3.1 above. With a view to availing long term credit, the Company tried to issue long tenure bonds/debentures in the international debt capital markets during 2007. However after the sub-prime fall out and a consequent increase in pricing, the Company could not issue any such long tenure bonds/debentures on account of less favorable pricing rates. The Company is in discussions with some local as well as international banks to arrange secured loans for these orders and to finance the balance amount through secured debt. 3.6 Future Fleet Rejuvenation plan:

The Company’s short/medium term plans for ordering new ships or buying second-hand ships after this are opportunistic. The Company would continue to pursue attractively priced New Ships as and when opportunities present themselves. Similarly, we would be more than happy to consider the purchase of second-hand ships provided we find them at an attractive enough price. The Company still has USD 500 million credit lines available and un-drawn, for the moment, for purchase of second hand ships. 4. Ship Operating Expenses and Earnings analysis

4.1 Glossary of Terms

The management discussion and analysis (MD&A) is based on the Company’s consolidated financial statements, which have been prepared in accordance with Thai Generally Accepted Accounting Principles (“GAAP”) and the restated US Dollar Financial Statements. We have used a variety of financial and operational terms in the MD & A which are explained below:

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

155


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

156

ค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือเฉลีย่ แสดงเป็นเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา (Opex) – ค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือเฉลีย่ ต่อวัน ต่อลำ คำนวณโดยถือว่ามี 365 วันทำการในรอบปี ซึ่งไม่รวมค่าเสื่อมราคาแต่รวมค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมและสำรวจเรือตัดบัญชี ตามนโยบายทางการบัญชี (กรุณาดูรายละเอียดเพิม่ เติมในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5.7) ซึง่ รวมอยูใ่ นส่วนของค่าเสือ่ มราคา ในงบการเงินของบริษทั ฯ ค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือเป็นต้นทุนทีต่ อ้ งเกิดขึน้ ได้แก่ ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับลูกเรือ ค่าซ่อมแซม ค่าประกันภัย ค่าน้ำมัน ต้นทุนการจัดการ และ ค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซมและสำรวจเรือตัดบัญชี ค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือ – ค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือในงบการเงิน หมายถึง ต้นทุนในการเดินเรือซึง่ ไม่รวมค่าใช้จา่ ยใน การซ่อมแซมและสำรวจเรือตัดบัญชี ค่าใช้จา่ ยรายเทีย่ วการเดินเรือ – ค่าใช้จ่ายรายเที่ยวการเดินเรือหมายถึงค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกี่ยวกับการเดินเรือใน เทีย่ วนัน้ ๆ ได้แก่ ค่าน้ำมัน และค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดขึน้ ทีท่ า่ เรือซึง่ รวมถึงค่าธรรมเนียมท่าเรือ ค่าขนถ่ายสินค้าขึน้ ลงเรือ ค่าธรรมเนียมการ ผ่านคลอง ค่าธรรมเนียมตัวแทนเรือ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกิดขึ้นที่ท่าเรือ ค่าใช้จ่ายรายเที่ยวการเดินเรือแบบเป็นระยะเวลา (Time Charter) ลูกค้า (ผู้เช่าเรือ) เป็นผู้รับภาระค่าใช้จ่ายรายเที่ยวการเดินเรือที่เกิดขึ้น และค่าใช้จ่ายรายเที่ยวการเดินเรือเป็นรายเที่ยว (Voyage Charter) บริษทั ฯ เป็นผูร้ บั ภาระค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ หมด อย่างไรก็ดี เมือ่ บริษทั ฯ จะรวมค่าใช้จา่ ยรายเทีย่ วทีอ่ าจเกิดขึน้ นัน้ ในค่าระวางเรือทีบ่ ริษทั ฯจะคิดกับลูกค้า ทำให้อตั ราค่าระวางเรือทีบ่ ริษทั ฯ กำหนดขึน้ ในการเช่าแบบเป็นรายเทีย่ วใกล้เคียงกับการเช่า แบบเป็นระยะเวลา ต้นทุนจากการเดินเรือรวม – ต้นทุนจากการเดินเรือรวมในงบการเงินหมายถึง ผลรวมของค่าใช้จ่ายในการเดินเรือ และค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือเป็นรายเทีย่ ว รายได้จากการเดินเรือเฉลีย่ แสดงเป็นเงินเหรียญสหรัฐอเมริกาต่อวันต่อลำ (TC Rate) – ค่าเช่าค่าระวางเรือ เฉลีย่ ต่อวันต่อลำโดยถือว่ามี 350 วันในรอบปี อัตราค่าเช่าค่าระวางเฉลีย่ ต่อลำคำนวณจากการนำรายได้สทุ ธิจากการเดินเรือหารด้วย จำนวนวันทีใ่ ช้ในการเดินเรือเท่ากับ 350 วันและจำนวนเรือ รายได้จากการเดินเรือ – รายได้จากการเดินเรือ หมายถึง รายได้ค่าเช่าเรือและรายได้ค่าระวางเรือที่ได้รับ ในอีก ความหมายหนึง่ คือรายได้ทง้ั หมดทีเ่ กิดจากการให้เช่าเรือแบบเป็นระยะเวลาและการให้เช่าเรือแบบเป็นรายเทีย่ ว รายได้จากการเดินเรือสุทธิ – รายได้จากการเดินเรือสุทธิ หมายถึง รายได้จากการเดินเรือหักด้วยค่าใช้จา่ ยรายเทีย่ ว การเดินเรือ ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมและสำรวจเรือ บริษัทฯ ต้องนำเรือเข้าอู่เรือแห้งเพื่อตรวจเช็ค ซ่อมแซมและบำรุงรักษา และการปรับปรุงอืน่ ๆ ตามกำหนดเวลาเพือ่ ให้เป็นไปตามข้อกำหนด และกฎเกณฑ์ตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในอุตสาหกรรม โดยปกติบริษทั ฯ จะนำเรือเข้าอู่แห้งเพื่อตรวจเช็คทุกๆ สองปีครึ่งและห้าปีสำหรับการสำรวจเรือขั้นต้นและสำรวจเรือพิเศษตามลำดับ บริษัทฯ บันทึก ต้นทุนทีเ่ กิดขึน้ เป็นค่าใช้จา่ ยรอตัดบัญชี และตัดจำหน่ายเป็นค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซมเรือตัดบัญชี (Dry-Docking Cost) ภายในระยะ เวลาสองปีจากการสำรวจเรือขัน้ ต้น และเป็นค่าใช้จา่ ยในการสำรวจเรือตัดบัญชีภายในระยะเวลาสีป่ สี ำหรับค่าใช้จา่ ยในการสำรวจเรือ พิเศษ จำนวนเงินทีต่ ดั บัญชีของค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซม และสำรวจเรือรวมอยูใ่ นค่าเสือ่ มราคา แต่ไม่ได้รวมอยูใ่ นต้นทุนการเดินเรือ ทีแ่ สดงในงบการเงิน อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ ได้รวมค่าซ่อมแซมและสำรวจเรือตัดบัญชี ในการคำนวณค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือเฉลีย่ (Opex) เพือ่ เป็นการครบถ้วนสำหรับค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือ ค่าเสื่อมราคา – ส่วนประกอบหลักในรายการค่าเสื่อมราคา ได้แก่ ค่าเสื่อมราคาที่เกิดจากเรือ ซึ่งรวมถึงต้นทุนค่า ซ่อมแซมและสำรวจเรือตัดบัญชีดงั ทีอ่ ธิบายไว้แล้วข้างต้น วันหยุดการเดินเรือ – วันหยุดการเดินเรือหมายถึงวันที่ไม่มีการเดินเรือ เนื่องจากเหตุผลทางด้านเทคนิค และอาจ หมายถึงเรืออยูใ่ นระหว่างการซ่อมแซมเรือทีอ่ แู่ ห้ง หรือทีก่ ลางทะเล หรือทีท่ า่ เรือ หรือในกรณีเรือเสีย กำไรขัน้ ต้น – หมายถึงรายได้จากการเดินเรือหักด้วยต้นทุนจากการเดินเรือ อัตรากำไรขัน้ ต้น – เกิดจากกำไรขัน้ ต้นหารด้วยรายได้จากการเดินเรือ แสดงค่าเป็นร้อยละ


Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Average Ship Operating expenses in USD, (Opex) – Average Ship Operating Expenses per day per ship computed over a 365 days operating cycle. These exclude depreciation but include amounts amortised per accounting policy (note 5.7 of audited financial statements) for Dry-docking and Special Survey (DD/SS) expenses and which are included in “depreciation” in the financial statements. Ship operating expenses generally represent fixed costs which include crewing, repairs and maintenance, insurance, stores, lube oils, management cost and amortised portion of Drydocking and Special survey expenses. Ship Running Expenses – Ship running expenses in the Financials Statements refer to Ship operating expenses excluding amortised Dry-docking and Special Survey expenses. Voyage Expenses – Voyage expenses mean all expenses related to a particular voyage including bunker fuels and voyage disbursements at the port. Voyage disbursements include port fees, cargo loading and unloading expenses, canal tolls, agency fees and other expenses at the port. Voyage costs are typically paid by the client (charterer) under Time Charter and by the Company under Voyage Charter. However, when the Company pays the voyage expenses, Company typically adds them while calculating freight rate so that the desired TC rate is achieved had the company negotiated the voyage as a Time charter. Total ship operating Cost – Total Ship Operating cost in the Financial Statements means the aggregate of Ship running expenses and voyage expenses. Average Ship Earnings in USD, (TC Rate) – Average time-charter equivalent earnings per day per ship computed over a 350 days cycle. The TC rate is calculated by dividing net Ship operating Income by 350 days per Ship. Ship operating Income – Ship operating income means total of Hire and freight received. In other words, this is total income earned through Time charter and Voyage Charter. Net Ship Operating Income – Net Ship operating Income means Ship operating Income less Voyage expenses. Dry-docking and Special survey – The Company must periodically dry-dock each of its ships for inspection, repairs and maintenance and any modifications to comply with industry certification and or various regulations applicable to Company’s ships. Generally we dry-dock each ship every two and a half years and 5 years to carry out intermediate and special survey, respectively. We capitalize these costs and amortise over a period of 2 years for drydocking cost related to Intermediate survey and 4 years for special survey cost related to special survey. The amortised amount of dry-docking and special survey costs is included in Depreciation and do not form part of ship operating cost in the Financial Statements. However, while calculating average Ship Operating expenses per day per ship (Opex), we include amortised portion of dry dock and special survey for ascertaining complete ship operating expenses. Depreciation – The main component of depreciation cost is depreciation on Ships. It also includes amortisation of Dry-docking and Special survey cost as explained above. Ship Idle /Down Time – Ship idle time refers to downtime (in days) due to technical reasons only and it means the ship was at dry dock or sea or at port for repairs of a routine nature or in case of breakdown. Gross Profit – Gross Profit means Ship operating income less Ship operating costs. Gross Profit Margin – Gross Profit margin means gross profit divided by Ship operating income denominated in percentage.

157


ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร – ค่าใช้จา่ ยในการบริหารหมายถึงเงินเดือนสำหรับพนักงานทีอ่ ยูส่ ำนักงาน ค่าเช่าสำนักงาน ค่าธรรมเนียมวิชาชีพ และค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริหารงาน ค่าใช้จา่ ยในการบริหารยังรวมถึงค่าใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วกับพนักงาน ทางด้านเทคนิคทีท่ ำหน้าทีจ่ ดั การเดินเรือด้วย อย่างไรก็ตามสำหรับการคำนวณค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือ (Opex) บริษทั ฯ ได้พจิ ารณา ค่าใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วข้องดังกล่าวรวมคำนวณในค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือด้วย

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

158

4.2 รายได้และค่าใช้จ่ายในการเดินเรือ

ในระหว่างปี 2550 รายได้จากการเดินเรือเฉลีย่ ต่อวันต่อลำอยูท่ ่ี 13,147 เหรียญสหรัฐอเมริกา ขณะทีค่ า่ ใช้จา่ ยในการ เดินเรือเฉลีย่ อยูท่ ่ี 4,005 เหรียญสหรัฐอเมริกาต่อวันต่อลำ ในระหว่างปี 2550 บริษทั ฯ ได้สง่ มอบเรือจำนวน 10 ลำให้ผซู้ อ้ื ตามสัญญา การขายเรือทีล่ งนามในระหว่างไตรมาสทีส่ ่ี ปี 2549 ถึงไตรมาสหนึง่ ปี 2550 ซึง่ ทำให้อายุเฉลีย่ ของกองเรือของบริษทั ลดน้อยลง ดัง นัน้ หลังจากการส่งมอบเรือจำนวน 10 ลำให้กบั ผูซ้ อ้ื กำลังกองเรือของบริษทั ฯ จะมีจำนวน 44 ลำ มีระวางบรรทุกรวม 1,130,280 เดต เวทตันและอายุเฉลีย่ 20 ปี การปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของตลาดค่าระวางเรือในระหว่างปี 2550 ทำให้บริษัทฯ ได้ค่าระวางเรือต่อวันต่อลำ เฉลีย่ ที่ 13,147 เหรียญสหรัฐอเมริกา ซึง่ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 15 เมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2549 ตลาดขนส่งสินค้าแห้งเทกองน่าจะยังคงอยูใ่ น ระดับทีด่ เี มือ่ เปรียบเทียบกับก่อนปี 2546 และคาดว่าอัตราค่าระวางเรือในอีก 1 หรือ 2 ปี ข้างหน้าจะยังคงอยูใ่ นระดับทีส่ งู กว่าเมือ่ เปรียบเทียบกับก่อนหน้าทีต่ ลาดนีเ้ ฟือ่ งฟู ค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือเฉลีย่ ต่อวันต่อลำของบริษทั ฯ เพิม่ ขึน้ จาก 3,622 เหรียญสหรัฐอเมริกา ในปี 2549 เป็น 4,005 เหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2550 ซึ่งยังคงต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม (คำนวณโดยไม่รวมค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมและสำรวจเรือ) รายละเอียดตามตารางข้างล่างนี ้


Administrative Expenses – Administrative expenses include onshore personnel payroll cost, office rent, legal and professional expenses and other expenses of an administrative nature. Administrative expenses also include cost of personnel employed for technical management of ships. However for calculating average Ship operating expenses (Opex) such relevant portion of administrative cost is considered and included in the opex. 4.2 Ship Operating Expenses and Ship Earnings

The average earnings per day per ship (TC Rate) during 2007 reached US$ 13,147 while average daily operating expenses per ship for 2007 was US$ 4,005 per day per ship. During 2007, the Company has delivered 10 ships to the buyers per Agreements for sale signed during 4th Quarter of 2006/1st Quarter of 2007, which has enabled the Company to decrease the average age of the Company’s fleet. Therefore, after the delivery of these 10 ships to the Buyers, the fleet size is 44 Ships with aggregate capacity of 1,130,280 DWT and average age of about 20 years. The continuous improvement in the freight market during whole of 2007 has enabled the Company to achieve average daily earnings per ship (TC Rate) of US$ 13,147, which is about 15% higher as compared to that of Year 2006. The market is still expected to be at reasonably healthy levels compared to historical averages before 2003 and therefore, the prognosis going forward for the next year or two is that they would still be higher than historical highs prior to the commencement of the present boom. PSL’s daily ship operating Expenses per ship (Opex) have increased from US$ 3,622 per day in year 2006 to US$ 4,005 per day in year 2007. However it is still far below the industry’s average (calculated after excluding Dry dock and Special survey costs) as explained in the following Table:

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

159


ตารางการเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายในการเดินเรือต่อวันต่อลำของบริษัทฯ กับค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม (จัดทำโดย Moore Stephens & Co.) สำหรับปี รายการ

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ค่าจ้างลูกเรือ ค่าเสบียงคลัง ค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วกับลูกเรือ รวมค่าใช้จา่ ยลูกเรือ ค่าน้ำมันหล่อลืน่ ค่าพัสดุภณ ั ฑ์อน่ื ๆ รวมค่าน้ำมันหล่อลืน่ และค่าพัสดุภณ ั ฑ์ ค่าอะไหล่ ค่าซ่อมแซมและบำรุงรักษา รวมค่าอะไหล่ ค่าซ่อมแซมและบำรุงรักษา ค่าเบีย้ ประกันภัยความรับผิดชอบทีม่ ตี อ่ สินค้า และบุคคลทีส่ าม ค่าเบีย้ ประกันภัยอืน่ ๆ รวมค่าเบีย้ ประกันภัย ค่าใช้จา่ ยในการจดทะเบียนเรือ ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร ค่าใช้จา่ ยเบ็ดเตล็ด รวมค่าใช้จา่ ยในการดำเนินงาน รวมค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือ

160

ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม บริษัทฯ บริษัทฯ 2549 2549 2550 เหรียญสหรัฐ (ต่อวัน) เหรียญสหรัฐ (ต่อวัน) เหรียญสหรัฐ (ต่อวัน)

1,331 149 222 1,702 259 307 566 330 293 623

1,264 152 161 1,577 238 242 480 214 117 331

1,318 167 218 1,703 301 232 533 210 111 321

215 244 459 28 380 181 589 3,939

155 163 318 0 143 58 201 2,907

153 286 439 0 187 43 230 3,226

เหตุผลหลักทีท่ ำให้ตน้ ทุนการเดินเรือเฉลีย่ ต่อวันต่อลำของบริษทั ฯ ในปี 2550 เพิม่ ขึน้ เมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ นมีดงั นี้ : • เงินเดือนลูกเรือเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากความต้องการลูกเรือทัว่ โลกเพิม่ สูงขึน้ จากการขาดแคลนลูกเรือและวิศวกรทีม่ คี ณ ุ ภาพ ส่งผลให้อัตราค่าจ้างลูกเรือเพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย ส่วนสาเหตุที่ทำให้ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับลูกเรือเพิ่มขึ้นนั้นเนื่องมาจากเรือส่วนใหญ่ของ บริษัทฯ จะเข้าเทียบท่าเพือ่ สับเปลีย่ นลูกเรือในแถบอเมริกากลางและอเมริกาใต้ ซึง่ ค่าตัว๋ เครือ่ งบินในแถบนัน้ ค่อนข้างสูงเมือ่ เทียบกับ แถบอืน่ ๆ จากเหตุผลทีก่ ล่าวมา ต้นทุนทีเ่ กีย่ วข้องกับการเดินเรือก็จะเพิม่ ขึน้ ด้วย • ราคาน้ำมันหล่อลืน่ ได้เพิม่ ขึน้ ในช่วงสองถึงสามปีทผ่ี า่ นมา เป็นผลจากราคาน้ำมันดิบทีเ่ พิม่ ขึน้ • ต้นทุนในการซ่อมแซมและสำรวจเรือเพิ่มขึ้นเนื่องจากเหล็กมีราคาสูงขึ้น และความต้องการปริมาณเหล็กที่เพิ่มขึ้นเพื่อ ใช้สำหรับซ่อมแซมเรือทีม่ อี ายุมาก


PSL Opex comparison with Industry (compiled by Moore Stephens & Co.) For years Particulars

Crew Wages Provisions Crew Other Crew Cost Total Lubricants Stores Other Stores Total Spares Repairs & Maintenance Repairs & Maintenance Total P & I Insurance Insurance Insurance Total Registration Costs Management Fees Sundries Administration Total Total Operating Costs

Industry 2006 US$ (Per Day)

1,331 149 222 1,702 259 307 566 330 293 623 215 244 459 28 380 181 589 $3,939

PSL 2006 US$ (Per Day)

1,264 152 161 1,577 238 242 480 214 117 331 155 163 318 0 143 58 201 $2,907

PSL 2007 US$ (Per Day)

1,318 167 218 1,703 301 232 533 210 111 321 153 286 439 0 187 43 230 $3,226

Further, specifically for the Company, the major reasons for the increase in the daily operating expenses as compared to previous years are summarised as under: • Crew salaries increased as worldwide demand for crew has increased due to shortage of qualified officers and engineers, resulting in demand for higher wage scales. Crew manning costs also increased substantially as a large number of ships were trading in ports around Central/South America, which resulted in higher air travel costs for crew. For the same reason, victualling costs also remained on the higher side. • Lubricating oil prices have increased in the last 2-3 years due to higher oil prices, resulting in an increased cost of Lubricants. • Dry-dock and Special Survey costs increased substantially due to higher steel prices and requirement for extensive steel renewals during dry-docking of older ships.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

161


• ต้นทุนเบีย้ ประกันภัยเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากเงือ่ นไขในตลาดประกันภัย และมูลค่าเรือทีเ่ พิม่ ขึน้ บริษทั ฯ ได้ตง้ั สำรองครัง้ เดียว จำนวนเงิน 1.85 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา(หรือเท่ากับ 110 เหรียญสหรัฐอเมริกาต่อวันต่อลำเรือ) ซึง่ เป็นกรณีทผ่ี เู้ ช่าเรือ (Charterers) เป็นผูเ้ รียกร้องค่าความเสียหายของสินค้าโดยเรียกร้องกับบริษทั ฯ (ในฐานะเป็นบริษทั เจ้าของเรือ) ทีเ่ กิดขึน้ ในช่วงหลายปีทผ่ี า่ นมา ซึง่ ก่อนหน้านีบ้ ริษทั ฯ ได้บนั ทึกค่าความเสียหายนีเ้ มือ่ มีการจ่ายเงิน • ต้นทุนการจัดการเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากการเพิม่ ขึน้ ของเงินเดือนพนักงานบริษทั ฯ

5. ผลการดำเนินงานทางการเงินจากงบการเงินแปลงค่าเป็นเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา

งบการเงินสกุลเงินบาทได้ตรวจสอบโดย บริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด และถูกแปลงค่าเป็นสกุลเงินเหรียญ ดอลล่าร์สหรัฐอเมริกาโดยบริษทั ฯ และมีการสอบทานโดยนักบัญชีอสิ ระ - บริษทั เบเคอร์ ทิลลี่ คอร์ปอเรท แอ็ดไวเซอรี่ เซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย) จำกัด จากเหตุผลทีไ่ ด้อธิบายในหน้ารายงานก่อนงบการเงินแปลงค่าเป็นสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา (จัดเรียง ใหม่เพื่อแสดงในรายงานประจำปีนี้) บริษัทฯ เห็นว่างบการเงินแปลงค่าเป็นสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกาจะแสดงถึงผลการ ดำเนินงานสำหรับปีทแ่ี ท้จริงและเห็นภาพของบริษทั ฯ มากกว่า และรวมถึงสินทรัพย์ หนีส้ นิ ณ วันทีใ่ นงบดุล ตามตารางทีจ่ ะแสดงต่อไปนีไ้ ด้สรุปผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ สำหรับ 2 ปีทผ่ี า่ นมา ซึง่ ตัวเลขทีแ่ สดงนัน้ ได้นำมาจากงบ การเงินแปลงค่าเป็นสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกาซึง่ สอบทานและรับรองโดย บริษทั เบเคอร์ ทิลลี่ คอร์ปอเรท แอ็ดไวเซอรี่ เซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย) จำกัด สำหรับปีสิ้นสุด ณ วันที่

31 ธันวาคม 2549 ล้านเหรียญสหรัฐฯ

31 ธันวาคม 2550 ล้านเหรียญสหรัฐฯ

238.71 215.11

257.98 206.82

138.11 42.15 95.96 3.71 92.25 0.00 0.38 92.63 0.00 92.63

132.47 37.75 94.72 3.68 91.04 7.07 47.49 131.46 6.33 125.13

2.86 552.94 37.55

3.27 480.08 39.13

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

งบกำไรขาดทุน

162

รายได้รวม รายได้จากการเดินเรือสุทธิ กำไรก่อนหักดอกเบีย้ จ่าย ภาษีเงินได้ ค่าเสือ่ มราคาและรายจ่าย ตัดบัญชี (EBITDA)* ค่าเสือ่ มราคา* กำไรก่อนหักดอกเบีย้ จ่ายและภาษีเงินได้ ดอกเบีย้ จ่ายและค่าใช้จา่ ยทางการเงิน กำไรจากการดำเนินงาน ขาดทุนจากสัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงิน กำไรอืน่ ทีไ่ ม่ใช่จากการดำเนินงาน กำไรสุทธิกอ่ นภาษี ภาษีเงินได้ กำไรสุทธิ งบดุล

เงินลงทุนในบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง เรือเดินทะเล (ราคาทุน) ค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซมและสำรวจเรือ


• Insurance costs increased due to insurance market conditions and increased valuations. The Company has made one-time provision in 2007, out of abundant caution, of US$ 1.85 million (US$ 110 per day per Ship) in respect of cargo related claims made over a number of previous years, by Charterers (hitherto, the Company accounted for aforesaid claims on a cash basis, as and when such claims were paid), against the Company (respective ship-owning subsidiaries). • Management cost increased notably due to increased remuneration for shore based staff. 5. Financial Performance based on restated US Dollar Financial Statements

The Thai Baht Financial Statements are audited by Ernst & Young and restated by the Company in US Dollars, which, are then certified by Baker Tilly Corporate Advisory Services (Thailand) Limited, Independent Accountants. Due to the reasons explained in the cover note to the restated US Dollar Financial Statements (reproduced separately in this Annual Report), the Company is of the opinion that these restated US Dollar statements provide a more realistic, true and fair view of the financial performance of the Company during the year and also of its Assets and Liabilities on the Balance Sheet date. The following table summarises the performance of the Company for the last 2 years. All figures quoted are from the restated US Dollar Financial Statements certified by Baker Tilly Corporate Advisory Services (Thailand) Limited. For the year ended/as at

31st Dec-06

31st Dec-07

Million US$

Million US$

Income Statement

257.98 206.82 132.47 37.75 94.72 3.68 91.04 7.07 47.49 131.46 6.33 125.13

Balance Sheet

Investments in Associated Companies Ships at Cost Dry dock and Special Survey

2.86 552.94 37.55

3.27 480.08 39.13

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Total Revenues 238.71 Net Ship Operating Income 215.11 Earnings before Interest, Tax, Depreciation and Amortisation (EBITDA)* 138.11 Depreciation* 42.15 EBIT 95.96 Interest and finance costs 3.71 Operating profit 92.25 Loss on derivative contracts 0.00 Other non-operating profit 0.38 Net Profit before Tax 92.63 Income Tax 0.00 Net Profit 92.63

163


สำหรับปีสิ้นสุด ณ วันที่

31 ธันวาคม 2549 ล้านเหรียญสหรัฐฯ

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 35.00 สินทรัพย์หมุนเวียน 44.58 สินทรัพย์รวม 356.92 เงินกูม้ หี ลักประกัน 0.00 หนีส้ นิ หมุนเวียน 19.85 หนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน 0.00 รวมหนีส้ นิ 19.85 ทุนเรือนหุน้ 20.39 ส่วนของผูถ้ อื หุน้ หรือสินทรัพย์ทม่ี ตี วั ตนสุทธิ 337.07 มูลค่าตามบัญชีตอ่ หุน้ (ดอลล่าร์สหรัฐ) 0.32 อัตราส่วน (เท่า) เงินกู/้ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ 0.00 หนีส้ นิ รวม/ส่วนของผูถ้ อื หุน้ 0.06 เงินกู/้ EBITDA 0.00 อัตราส่วนความสามารถในการชำระหนี ้ 41.13 EBITDA/ดอกเบีย้ จ่าย 41.13

31 ธันวาคม 2550 ล้านเหรียญสหรัฐฯ

43.69 52.39 428.94 0.00 23.26 4.87 28.13 35.31 400.81 0.39 0.00 0.07 0.00 38.63 38.63

* EBITDA และค่าเสื่อมราคาคิดหลังจากการหักค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมและสำรวจเรือ ซึ่งค่าใช้จ่ายเหล่านี้ถูกรวมอยู่ใน ต้นทุนในการเดินเรืออยู่แล้วเพื่อใช้สำหรับคำนวณ EBITDA ตามนโยบายบริษัทฯ ที่กำหนดให้มีการเปิดเผยค่าใช้จ่ายในการเดินเรือ เฉลีย่ ต่อวันต่อลำ (Opex) ทีร่ วมค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซมและสำรวจเรือ

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

164

5.1 รายได้และผลกำไร

รายได้รวมเพิม่ ขึน้ จาก 238.71 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2549 เป็น 257.98 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2550 อย่างไรก็ตามรายได้จากการเดินเรือสุทธิลดลงจาก 215.11 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2549 เป็น 206.82 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ในปี 2550 ซึง่ สาเหตุหลักเกิดจากการลดลงของจำนวนเรือของบริษทั ฯ ในระหว่างปีจากการขายเรือเก่าไปจำนวน 10 ลำจากกองเรือ ดังนัน้ รายได้ของบริษทั ฯ จึงมาจากจำนวนเรือเฉลีย่ 45 ลำในระหว่างปี 2550เมือ่ เปรียบเทียบกับจำนวนเรือเฉลีย่ 54 ลำในปี 2549 เนือ่ งจากกระแสเงินสดจากการดำเนินงานหรือกำไรก่อนหักดอกเบีย้ จ่าย ภาษีเงินได้ ค่าเสือ่ มราคาและรายจ่ายตัดบัญชี (EBITDA) ได้ ลดลงจาก 138.11 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2549 เป็น 132.47 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2550 สำหรับรายได้เฉลีย่ ต่อวันต่อ ลำเพิม่ ขึน้ จาก 11,387 เหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2549 เป็น 13,147 เหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2550 ในขณะเดียวกันต้นทุนการเดินเรือ โดยเฉลีย่ ต่อวันต่อลำเพิม่ ขึน้ จาก 3,622 เหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2549 เป็น 4,005 เหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2550 ทัง้ หมดนีจ้ งึ เป็น ตัวชีว้ ดั ว่ากำไรขัน้ ต้นในปี 2550 ได้ปรับตัวลดลงจากปี 2549 (ถึงแม้วา่ อัตรากำไรขัน้ ต้นจะเพิม่ ขึน้ ) ทัง้ นีเ้ ป็นเพราะการลดลงของจำนวน เรือในระหว่างปี 2550 ถึงแม้วา่ ต้นทุนการเดินเรือเฉลีย่ ต่อวันต่อลำจะเพิม่ ขึน้ แต่กย็ งั คงต่ำกว่าค่าเฉลีย่ อุตสาหกรรม ดังรายละเอียดทีก่ ล่าวไว้ ในหัวข้อ 4 เรือ่ ง “รายได้และค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือ”


For the year ended/as at

31st Dec-06 Million US$

31st Dec-07 Million US$

Cash & Cash Equivalents 35.00 43.69 Current Assets 44.58 52.39 Total Assets 356.92 428.94 Secured Debt 0.00 0.00 Current Liabilities 19.85 23.26 Non-Current Liabilities 0.00 4.87 Total Liabilities 19.85 28.13 Equity Share Capital 20.39 35.31 Total Shareholders Equity or Tangible Net Worth 337.07 400.81 Net Book Value per share (US$) 0.32 0.39 Ratios (times) Funded Debt/Equity 0.00 0.00 Total Liabilities/Equity 0.06 0.07 Funded Debt/EBITDA 0.00 0.00 Debt Service Cover 41.13 38.63 EBITDA/Interest 41.13 38.63 *EBITDA and Depreciation are considered after depreciation on dry docking and special survey expenses. These expenses are included in ship operating cost for the purpose of computing EBITDA, which is in line with Company’s policy of disclosing average daily ship operating expenses (opex) including dry docking and special survey expenses. 5.1 Revenues and Profitability

Total revenues have increased from US$ 238.71 million in year 2006 to US$ 257.98 million in year 2007. However net ship operating income has decreased from US$ 215.11 million in year 2006 to US$ 206.82 million in year 2007. This is mainly due to the reduction in the average number of ships operated during the year because of the sale of the 10 oldest ships of the fleet. The income has accrued from an average of 45 ships during 2007 as against an average of 54 ships in 2006. Consequently, operating cash flows or Earnings before Interest, Tax, Depreciation and Amortisation (EBITDA) have decreased from US$ 138.11 million in year 2006 to US$ 132.47 million in year 2007. The earnings per day per ship have increased from US$ 11,387 in year 2006 to US$ 13,147 in year 2007 while daily ship operating expenses have increased from US$ 3,622 in year 2006 to US$ 4,005 in year 2007. This indicates that total gross profit decreased from year 2006 to year 2007 (even though gross profit margins have increased) because of a reduction in average number of ships operated during the year 2007. Even though daily ship operating expenses have increased, it remained far below the industry’s average as explained above in No. 4.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

165


ค่าเสือ่ มราคาลดลงจาก 42.15 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2549 เป็น 37.75 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2550 เนือ่ งจากการลดลงของจำนวนเรือของบริษทั ฯ ในระหว่างปีเมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ นซึง่ เกิดจากการขายเรือจำนวน 10 ลำในปี 2550 ดอกเบีย้ จ่ายและค่าใช้จา่ ยทางการเงินลดลงจาก 3.71 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2549 เป็น 3.68 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2550 เป็นผลจากการไม่มเี งินกูค้ งค้างในระหว่างปี 2550 ทำให้รายการดอกเบีย้ จ่ายและค่าใช้จา่ ยทางการเงินไม่มจี ำนวนดอกเบีย้ จ่าย แต่ประกอบด้วยค่าธรรมเนียมการรักษาวงเงินกูม้ ปี ระกันทัง้ สองของบริษทั ฯ ค่าใช้จา่ ยทางการเงินทีเ่ กีย่ วข้องกับการออกและจำหน่าย หุน้ กู้ ในระหว่าง ปี 2550 และต้องยกเลิกไปเนือ่ งจากปัญหาซับไพร์มทีต่ ลาดสหรัฐอเมริกา และเนือ่ งจากการแข็งค่าของเงินบาทเมือ่ เทียบกับเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา อัตราแลกเปลี่ยน ณ สิ้นปี 2550 ต่ำกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน เป็นผลให้การแปลงสินทรัพย์ หมุนเวียนจากเงินบาทเป็นเงินเหรียญสหรัฐอเมริกาที่อัตราแลกเปลี่ยนที่ต่ำกว่า ทำให้มีกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนจำนวน 0.46 ล้าน เหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2550 และเนื่องจากผลของอัตรากำไรขั้นต้นต่อเรือที่เพิ่มขึ้นและจำนวนวันในการเดินเรือที่ลดลงในช่วงปี 2550 ทำให้กำไรจากการดำเนินงานเท่ากับ 91.04 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาคงอยู่ในระดับเดียวกันกับปีก่อนที่เท่ากับ 92.25 ล้าน เหรียญสหรัฐอเมริกา บริษัทฯ บันทึกผลขาดทุนจากสัญญาอนุพันธ์ทางการเงินเป็นจำนวนเงิน 7.07 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2550 สำหรับการออกและเสนอขายหุ้นกู้ด้วยความตั้งใจที่จะกำหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาลที่แน่นอน เพื่อจะใช้เป็นฐานในการ กำหนดราคาสำหรับการออกหุ้นกู้นั้น บริษัทฯ ได้ทำสัญญา Treasury Lock Contracts จำนวนเงินต้นรวม 200 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกากับธนาคารต่างประเทศแห่งหนึง่ ซึง่ Treasury Lock ใช้เป็นเครือ่ งมือทางการเงินสำหรับกำหนดอัตราดอกเบีย้ หุน้ กูถ้ า้ มี การออกและเสนอขายหุน้ กู้ สัญญาดังกล่าวได้ถกู ยกเลิกเนือ่ งการยกเลิกการออกหุน้ กูเ้ ป็นผลให้เกิดรายการขาดทุนขึน้ บริษทั ฯ ตัง้ สำรองสำหรับภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลทีเ่ กิดจากกำไรจากการขายเรือ 10 ลำ เป็นจำนวนเงิน 6.22 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกา ซึง่ บริษทั ฯ ไม่ได้รบั ยกเว้นภาษีทเ่ี กิดขึน้ จากกำไรจากการขายเรือ เนือ่ งจากบริษทั ฯ ไม่สามารถซือ้ เรือใหม่ทม่ี ขี นาดใหญ่ กว่าและมีอายุนอ้ ยกว่าเรือทีข่ ายไปภายใน 1 ปีนบั จากวันทีม่ กี ารขายเรือตามทีก่ ำหนดในประมวลรัษฎากร ทัง้ นีเ้ ป็นเพราะราคาเรือมือ สองในตลาดเรือมีราคาสูงมาก กำไรสุทธิของบริษัทฯ เพิ่มขึ้นจาก 92.63 ล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2549 เป็น 125.13 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2550 มีสาเหตุหลักมาจากกำไรจากการขายสินทรัพย์ถาวรจำนวน 42.06 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในระหว่างปี 2550 และการเพิม่ ขึน้ ของรายได้จากการเดินเรือเฉลีย่ ต่อวันต่อลำ (TC rate)

5.2 สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

เงินลงทุน ตารางข้างล่างนีเ้ ป็นการสรุปสถานภาพการลงทุนทัง้ หมดในโครงการร่วมทุนในต่างประเทศ ในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 (ตัวเลขเป็น เหรียญสหรัฐอเมริกา)

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

เงิ น ลงทุ น ***ค่ า เผื อ ่ สำหรั บ

166

โครงการ ราคาทุน *ส่วน รวม ร่วมทุน ปรับปรุง วิธสี ว่ น ได้เสีย

ยอดคงเหลือ (สุทธิ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

**เงิน รวม เงิน **เงิน รวม เงิน เงิน ลงทุน ลงทุน ลงทุน ลงทุน ลงทุน จ่าย จ่าย จ่าย ล่วงหน้า ล่วงหน้า ล่วงหน้า

เงินลงทุนระยะสัน้ SLPG 872,727 (323,596) 549,131 566,819 1,115,950 549,131 566,819 1,115,950 - เงินลงทุนระยะยาว ISPL - ฮาลเดีย 2,037,650 1,237,072 3,274,722 - 3,274,722 - - - 3,274,722 รวมทัง้ หมด 2,910,377 913,476 3,823,853 566,819 4,390,672 549,131 566,819 1,115,950 3,274,722

รวม

-

-

- -

3,274,722 3,274,722


Depreciation has decreased from US$ 42.15 million in year 2006 to US$ 37.75 million in year 2007 due to a reduction in average number of ships operated during the year as compared to the previous year as a result of the sale of 10 ships in year 2007. Interest and finance costs have decreased from US$ 3.71 million in year 2006 to US$ 3.68 million in year 2007 due to absence of any outstanding loan during year 2007. However it is to be noted that the interest and financial costs for this period do not comprise any interest but, is only on account of the commitment fees paid for maintaining the two secured debt facilities and expenses in relation to the debentures issue planned by the Company during 2007 which was subsequently cancelled due to the sub-prime fallout in the U.S. market. Due to the appreciation of the Thai Baht against the US Dollar, the exchange rate (THB/US$) at the end of year 2007 was lower as compared to the previous year. As a result of the translation of the Thai Baht denominated net current assets into U.S. Dollars, at the lower rate, there was an exchange gain of US$ 0.46 million in year 2007. With increase in gross margins per ship and inspite of decrease in ship operating days, operating profits have remained at US$ 91.04 million which is about the same level as compared to US$ 92.25 million in year 2006. The Company recorded loss on derivative contracts of US$ 7.07 million in year 2007. For the proposed issue of Debentures, with the intention of locking in the Treasury rate, which would have been the basis of pricing of the Debentures, the Company entered into Treasury Lock Contracts with a Foreign Bank for an aggregate principal amount of USD 200 million, which would have served as a hedging tool to fix the interest rate on the Debentures, had the Debentures been issued. These contracts were terminated due to the cancellation of debenture issue resulting in a loss. The Company has made provision of US$ 6.22 million for tax on capital gains on sale of 10 ships. The Company could not claim exemption from the said capital gains tax because the Company did not buy bigger and younger ships due to high prices in the second-hand ships market, within 1 year from the date of sale of 10 ships as required per Regulations of the Revenue code to claim the exemption. The Company’s Net Profit increased from US$ 92.63 million in year 2006 to US$ 125.13 million in year 2007. This is mainly due to the gain of US$ 42.06 million on disposal of fixed assets during year 2007 and the higher average earnings per day per ship (TC rate).

5.2 Assets, Liabilities and Shareholders Equity

Balance as on 31st Investment ***Provision made for December 2007 Jt. Venture ** Projects Advance Total Cost *Equity Total Invest- ** Total Invest- Advance Total Adjt ment Advance ment

Current Investments SLPG 872,727 (323,596) 549,131 566,819 1,115,950 549,131 566,819 1,115,950 0 0 Long Term Investments ISPL - Haldia 2,037,650 1,237,072 3,274,722 0 3,274,722 0 0 0 3,274,722 0 TOTAL 2,910,377 913,476 3,823,853 566,819 4,390,672 549,131 566,819 1,115,950 3,274,722 0

0 3,274,722 3,274,722

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Investments The following table summarises the position of all Investments in Foreign Joint Ventures in the Financial Statements as of 31st December 2007 (figures in US Dollars):

167


* ส่วนปรับปรุงตามวิธสี ว่ นได้เสีย หมายถึงการปรับปรุง (+ / -) ตามวิธสี ว่ นได้เสีย ** เงินลงทุนจ่ายล่วงหน้า หมายถึง เงินลงทุนทีจ่ า่ ยไปในฐานะผูถ้ อื หุน้ และแสดงไว้ภายใต้ “สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ ๆ” *** ค่าเผือ่ สำหรับ “เงินลงทุนในหุน้ สามัญ” แสดงรายการในรูปของค่าเผือ่ ผลขาดทุนในเงินลงทุน (Allowance for possible loss on other investments) ส่วนค่าเผื่อในเรื่องอื่น ๆ แสดงรายการในรูปของหนี้สญ ู และค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (Bad debts and allowance for doubtful accounts) ซึ่งบริษัทฯ บันทึกไว้ในปี 2545

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ในระหว่างปี 2549 บริษัทฯ ได้ลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัท บทด จำกัด ซึ่งจดทะเบียนในประเทศไทยจำนวน 2,026,086 หุน้ มูลค่าตราไว้หนุ้ ละ 10 บาท บริษทั ฯ ชำระค่าหุน้ แล้วหุน้ ละ 5 บาท เป็นจำนวนเงิน 0.26 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ใน ปี 2550 บริษทั ฯ ไม่มกี ารลงทุนเพิม่ เติมในบริษทั บทด จำกัด สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์หมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เพิม่ ขึน้ จำนวน 7.81 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาเมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2549 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดจากการไม่มีเงินกู้คงค้างที่ต้องจ่ายชำระในระหว่างปี 2550 ทำให้ บริษัทฯ มีเงินสดส่วนเกินจากการดำเนินงานและจากการขายเรือเก่าไปจำนวน 10 ลำ เงินสดคงเหลือนี้สุทธิหลังจากการจ่าย เงินปันผลจำนวน 77.08 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาไม่รวมหุน้ ปันผลในอัตรา 1:1 และเงินจ่ายล่วงหน้าสำหรับค่าจ้างต่อเรือใหม่จำนวน 94.80 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ในระหว่างปี 2550 ลูกหนี้สุทธิจากค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญทั้งหมดลดลงจำนวน 1.78 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกาเมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ น โดยธรรมเนียมปฏิบตั ทิ ว่ั ไปในธุรกิจการขนส่งสินค้าทางทะเล บริษทั ฯ จะเรียกเก็บค่าระวางเรือ จากลูกค้าล่วงหน้า (จำนวนร้อยละ 95 ของค่าระวางในกรณีทเ่ี ป็นการให้บริการเช่าเป็นรายเทีย่ ว (Voyage Charter) และจะเรียกเก็บค่า เช่าจากลูกค้าล่วงหน้าทุก 15 วัน ในกรณีทเ่ี ป็นการให้เช่าเป็นระยะเวลา (Time Charter)) จึงไม่มปี ญ ั หาใดๆ จากการติดตามหนี้ ดังนัน้ ยอดลูกหนีจ้ งึ เป็นเงินทีจ่ ะได้รบั จากตัวแทน ผูเ้ ช่าเรือและรายได้คา้ งรับตามจำนวนเปอร์เซ็นต์ของการให้บริการทีจ่ บสิน้ แล้ว สินทรัพย์ถาวร มูลค่าของสินทรัพย์ถาวรของบริษทั ฯ ลดลงจากปีกอ่ น เนือ่ งจากการขายเรือจำนวน 10 ลำและค่าเสือ่ มราคาทีเ่ กิดขึน้ ใน ระหว่างปี 2550 มูลค่าของสินทรัพย์รวมเพิม่ ขึน้ ทัง้ ทีบ่ ริษทั ฯ ขายเรือไปจำนวน 10 ลำในระหว่างปีมสี าเหตุหลักจากการขายหุน้ สามัญซือ้ คืน และกำไรสุทธิทไ่ี ด้รบั และอืน่ ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯ มีกำลังกองเรือทัง้ สิน้ จำนวน 44 ลำ ซึง่ ราย ละเอียดได้แสดงไว้ภายใต้หวั ข้อกำลังกองเรือในรายงานประจำปีน้ี บริษทั ฯ ได้สง่ มอบเรือจำนวน 10 ลำแก่ผซู้ อ้ื ในช่วงครึง่ แรกของปี 2550 ซึง่ เกิดจากการลงนามในสัญญาในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2549 และช่วงเริม่ ต้นของปี 2550 ซึง่ มีรายละเอียดดังนี ้ รายละเอียดของกำไรจากการขายสินทรัพย์ถาวร แสดงได้ดงั นี ้

168

ลำดับ วันที่ ในสัญญา วันที ่ ชือ่ เรือ ปีท ี่ ขนาด ราคา กำไร ราคา กำไร ที ่ ส่งมอบเรือ สร้าง ระวาง ขาย จากการ ขาย จาก พ.ศ. บรรทุก (ล้าน ขาย (ล้าน การขาย บาท) (ล้าน เหรียญ (ล้าน บาท) สหรัฐฯ) เหรียญ สหรัฐฯ)

1. 2. 3. 4. 5. 6.

17 พ.ย. 2549 17 พ.ย. 2549 17 พ.ย. 2549 17 พ.ย. 2549 17 พ.ย. 2549 04 ธ.ค. 2549

08 ม.ค. 2550 11 ม.ค. 2550 09 ม.ค. 2550 22 ม.ค. 2550 11 ม.ค. 2550 14 ก.พ. 2550

ชฎา นารี มรกต นารี นลินี นารี มุกดา นารี สลิลทิพย์ นารี อโนดาด นารี

2524 2525 2524 2524 2525 2523

18,668 17,692 24,912 24,001 21,259 25,502

161.01 171.74 214.68 214.68 214.68 190.41

114.51 104.71 175.75 141.95 162.44 146.21

4.50 4.80 6.00 6.00 6.00 5.30

3.04 2.80 4.71 3.84 4.35 3.92


* Equity adjustment means adjustments (+/-) made to value at equity method. ** Advance means contributions made as shareholders and are presented under “other current assets” *** Provisions made for “Investments” towards “Equity” component were presented as “Allowance for loss on current investments” and Provisions made for “Others” towards “Advance” were presented as “Bad debts and allowance for doubtful accounts” both of which were made in the Year 2002.

No.

Agreement

Delivery Date

Ship Name

Date (MOA)

Year

DWT

Sale

Gain

Sale

Gain

Built

Price

on sale

Price

on sale

(THB

(THB

(USD

(USD

1 2 3 4 5 6

17 Nov 06 17 Nov 06 17 Nov 06 17 Nov 06 17 Nov 06 4 Dec 06

08 Jan 07 11 Jan 07 09 Jan 07 22 Jan 07 11 Jan 07 14 Feb 07

Chada Naree Morakot Naree Nalinee Naree Mukda Naree Salintip Naree Anodad Naree

1981 1982 1981 1981 1982 1980

18,668 17,692 24,912 24,001 21,259 25,502

million) million) million) million)

161.01 171.74 214.68 214.68 214.68 190.41

114.51 104.71 175.75 141.95 162.44 146.21

4.50 4.80 6.00 6.00 6.00 5.30

3.04 2.80 4.71 3.84 4.35 3.92

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

During the year 2006, the Company invested in 2,026,086 ordinary shares of par value of Baht 10 each, in TMN Company Limited, registered in Thailand (TMN) of which Baht 5 per share is paid-up, which works out to US$ 0.26 million. The Company has not made any further investment in TMN in year 2007. Current Assets As compared to the end of the previous year (2006), there is an increase of US$ 7.81 million in the current assets as at 31st December, 2007, mainly due to excess Cash and cash equivalents. With no repayments of any loan during 2007, the Company has accumulated excess cash generated from operations and funds from sale of 10 old ships. This cash balance was after paying dividends of US$ 77.08 million excluding stock dividend in the ratio of 1:1 and advance of US$ 94.80 million for the new building ships ordered during the year 2007. Receivables, net of all provisions, which are part of current assets decreased by US$ 1.78 million as compared to the previous year. The decrease is mainly on account of lesser unfinished voyage charters as at the end of 2007 as compared to that at the end of 2006. In any case, as is customary in the shipping business, the Company actually collects almost all its income in advance (95% of Freight in case of a Voyage Charter and 15 days’ Hire in case of Time Charter) and as such, there is no concern on collection of receivables and consequently, the amount presented as receivables is only on account of miscellaneous dues from Agents, Charterers and accrual of income on the basis of percentage of voyage completed. Fixed Assets The value of fixed assets of the Company has decreased from previous year’s levels mainly on account of sale of 10 ships and depreciation provided during year 2007. The value of Total Assets have increased in spite of the sale of 10 Ships during the year mainly due to the sale of the Treasury Stock and net profit earned and a substantial part thereof being retained during the year. As at 31st December 2007, the Company owned 44 ships, details of which have been provided in the Fleet List separately in this Report. The Company has delivered 10 ships to the buyers during first half of 2007 per Agreements signed during last quarter of 2006 and beginning of year 2007. The details of gain on sale of fixed assets are as under:

169


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ลำดับ วันที่ ในสัญญา วันที ่ ชือ่ เรือ ปีท ี่ ขนาด ราคา กำไร ราคา กำไร ที ่ ส่งมอบเรือ สร้าง ระวาง ขาย จากการ ขาย จาก พ.ศ. บรรทุก (ล้าน ขาย (ล้าน การขาย บาท) (ล้าน เหรียญ (ล้าน บาท) สหรัฐฯ) เหรียญ สหรัฐฯ)

170

7. 05 ธ.ค. 2549 26 ม.ค. 2550 มณฑิรา นารี 2523 29,489 214.68 181.94 6.00 4.88 8. 19 ธ.ค. 2549 25 ก.พ. 2550 รจเรข นารี 2523 23,991 188.61 142.39 5.25 3.82 9. 30 ม.ค. 2550 13 มี.ค. 2550 วนะ นารี 2523 26,977 228.42 183.43 6.40 4.95 10. 16 ก.พ. 2550 05 เม.ย. 2550 จามจุรี นารี 2525 25,073 252.11 203.35 7.20 5.70 รวมกำไรจากการขายเรือจำนวน 10 ลำ 237,564 2,051.02 1,556.68 57.45 42.02 มี.ค. – พ.ค. 2550 ขายรถยนต์ 1.54 1.54 0.04 0.04 รวมกำไรจากการขายสินทรัพย์ 2,052.56 1,558.22 57.49 42.06 หลังจากส่งมอบเรือทัง้ 10 ลำให้กบั ผูซ้ อ้ื แล้ว กองเรือของบริษทั ฯ จะมีจำนวน 44 ลำ ทีล่ ว้ นแล้วแต่มคี ณ ุ ภาพดีและ รักษามาตรฐานทีส่ งู ทีส่ ดุ อย่างต่อเนือ่ ง เงินจ่ายล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือใหม่ บริษัทฯ ได้ลงนามในสัญญาสั่งต่อเรือใหม่จำนวน 12 ฉบับ สำหรับสั่งต่อเรือใหม่จำนวน 12 ลำ ซึ่งมีขนาดระวาง บรรทุก 32,000 เดตเวทตัน เมือ่ วันที่ 20 กรกฎาคม 2550 กับอูต่ อ่ เรือ ABG ประเทศอินเดีย และบริษทั ฯ ได้ลงนามในสัญญาสัง่ ต่อเรือ ใหม่จำนวน 3 ฉบับสำหรับสัง่ ต่อเรือใหม่ขนาดซุปราแมกซ์ จำนวน 3 ลำ ซึง่ มีขนาดระวางบรรทุก 54,000 เดตเวทตัน เมือ่ วันที่ 14 กันยายน 2550 กับอูต่ อ่ เรือ ABG ประเทศอินเดีย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯ จ่ายเงินล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือใหม่เป็นจำนวน เงิน 94.80 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาสำหรับสัญญาสัง่ ต่อเรือใหม่จำนวน 15 ฉบับดังทีไ่ ด้อธิบายไว้แล้วในข้อ 3 ข้างต้น หนีส้ นิ รวม บริษทั ฯ ไม่มเี งินกูค้ งค้าง ณ สิน้ ปี 2550 เช่นเดียวกันกับสิน้ ปี 2549 และบริษทั ฯ ไม่มกี ารเบิกจ่ายเงินกูใ้ หม่ในระหว่างปี 2550 หนีส้ นิ รวมเพิม่ ขึน้ จาก 19.85 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ในปี 2549 เป็น 28.13 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในปี 2550 มีสาเหตุ หลักมาจากการตั้งสำรองค่าความเสียหายทางทะเลจำนวนเงิน 2.03 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา โบนัสค้างจ่ายพนักงานจำนวนเงิน 4.56 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา และภาษีเงินได้ค้างจ่ายจากรายการกำไรจากการขายเรือ 10 ลำ จำนวนเงิน 6.22 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกา ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในระหว่างปี 2550 บริษทั ฯ ได้จำหน่ายหุน้ ทุนซือ้ คืนจำนวน 12.32 ล้านหุน้ (ก่อนออกหุน้ ปันผล) ซึง่ มีราคาทุน 10.32 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในราคาขายรวม 14.56 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา การจำหน่ายหุ้นทุนซื้อคืนดังกล่าวได้ดำเนินการใน ตลาดหลักทรัพย์โดยราคาจำหน่ายหุน้ ทุนซือ้ คืนจากราคาตลาดของหุน้ ณ วันทีข่ าย ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ ได้บนั ทึกผลต่างของราคาขายทีส่ งู กว่าราคาซือ้ ของหุน้ ทุนซือ้ คืนจำนวน 4.24 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ใน “ส่วนเกินทุนหุน้ ทุนซือ้ คืน” ในส่วนของผูถ้ อื หุน้ ทำให้สำรอง หุน้ ทุนซือ้ คืน ณ วันสิน้ ปี 2549 จำนวน 10.32 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ลดลงทัง้ จำนวน ณ วันสิน้ ปี 2550 เนือ่ งจากบริษทั ไม่มี รายการหุน้ ทุนซือ้ คืนเหลืออยู่ จึงไม่มคี วามจำเป็นในการตัง้ สำรองหุน้ ทุนซือ้ คืน ทำให้มกี ารโอนสำรองหุน้ ทุนซือ้ คืนสำหรับหุน้ ทุนซือ้ คืน ทีจ่ ำหน่ายไปยังกำไรสะสม ตามหนังสือสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ท่ี กลต.ชส. (ว) 2/2548 และ หนังสือสภาวิชาชีพบัญชีท่ี ส.สวบช. 016/2548


Agreement

Delivery Date

Ship Name

Date (MOA)

Year

DWT

Sale

Gain

Sale

Gain

Built

Price

on sale

Price

on sale

(THB

(THB

(USD

(USD

million) million) million) million)

7 5 Dec 06 26 Jan 07 Monthira Naree 1980 29,489 214.68 181.94 8 19 Dec 06 25 Feb 07 Rojarek Naree 1980 23,991 188.61 142.39 9 30 Jan 07 13 Mar 07 Wana Naree 1980 26,977 228.42 183.43 10 16 Feb 07 05 Apr 07 Jamjuree Naree 1982 25,073 252.11 203.35 Gain on sale of 10 Ships 237,564 2,051.02 1,556.68 Mar- May 2007 Car vehicles 1.54 1.54 Gain on sale of Fixed Assets 2,052.56 1,558.22

6.00 4.88 5.25 3.82 6.40 4.95 7.20 5.70 57.45 42.02 0.04 0.04 57.49 42.06

After the delivery of the above 10 ships to the buyers, the fleet size is 44 ships, which is of good quality and continues to be maintained to the highest possible standards. Advance for construction of New Ships: The Company has entered into 12 Shipbuilding contracts for 12 handysize bulk carriers of size 32,000 DWT with ABG Shipyard Limited, India on 20th July 2007. The Company has also entered into 3 Shipbuilding contracts for 3 supramax bulk carriers of size 54,000 DWT with ABG Shipyard Limited, India on 14th September 2007. As on 31st December 2007, the Company has made advance payment of US$ 94.80 million as explained in 3 above. Total Liabilities The Company’s secured debt is NIL as at the end of year 2007 which is unchanged from the balance as at the end of year 2006 as the Company has not drawdown any loan during year 2007. The total liabilities have increased from US$ 19.85 million in year 2006 to US$ 28.13 million in year 2007. This is mainly due to the provision of US$ 2.03 million made for marine claims, US$ 4.56 million for accrued employee bonus and US$ 6.22 million provision made for tax on capital gains on sale of 10 ships. Shareholders Equity During the year 2007, the Company disposed 12.32 million treasury shares (before stock dividend) with a cost of US$ 10.32 million at an aggregate sale price of US$ 14.56 million. The resale of the treasury shares was done on the Stock Market at prevailing market prices at the time of sale. The Company realized US$ 4.24 million as gain on the sale of the aforesaid shares which has been presented as “Premium on treasury stock” in the shareholders’ equity. This has also resulted in a decrease of Treasury Stock Reserve from US$ 10.32 million at the end of year 2006 to Nil at the end of year 2007, since the Treasury Stock Reserve is no longer required on the shares sold, and the same is transferred to Retained Earnings per notification of Office of Securities and Exchange Commission No. Gor. Lor. Tor. Chor. Sor. (Wor.) 2/2548 and the notification of the Federation of Accounting Professions No. Sor. Sor. Wor. Bor. Chor. 016/2548.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

No.

171


เนื่องจากบริษัทฯ มีกำไรสุทธิจำนวน 125.13 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาในระหว่างปี ทุนหุ้นสามัญเพิ่มขึ้น 14.92 ล้าน เหรียญสหรัฐอเมริกาจากการจ่ายหุน้ ปันผล เงินปันผลจ่ายระหว่างปี 2550 จำนวน 91.99 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (3.06บาทต่อหุน้ ) จำหน่ายหุน้ ทุนซือ้ คืนจำนวน 14.56 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาซึง่ อธิบายไว้แล้วข้างต้น และผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินและส่วน ของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเพิ่มขึ้นจำนวน 1.12 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ทำให้มีส่วนของผู้ถือหุ้น ณ ขณะนี้เป็นจำนวน 400.81 ล้าน เหรียญสหรัฐอเมริกา ซึง่ เพิม่ ขึน้ จำนวน 63.74 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา เมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ น การเพิม่ ขึน้ ในส่วนของผูถ้ อื หุน้ ได้ อธิบายไว้แล้วข้างต้น มูลค่าสุทธิตามบัญชีต่อหุ้นเพิ่มขึ้นจาก 0.32 เหรียญสหรัฐอเมริกาต่อหุ้น ณ สิ้นปี 2549 เป็น 0.39 เหรียญ สหรัฐอเมริกาต่อหุน้ ณ สิน้ ปี 2550

5.3 ความสามารถในการก่อหนี้ (Leverage) สภาพคล่อง (Liquidity) และความสามารถในการชำระหนี้ (Coverage)

ความเสี่ยงด้านสินเชื่อของบริษัทฯ เป็นไปในทางที่ดีขึ้นตั้งแต่มีการปรับโครงสร้างหนี้ในปี 2543 กำไรก่อนหักดอกเบี้ย จ่าย ภาษีเงินได้ ค่าเสือ่ มราคาและรายจ่ายตัดบัญชี (EBITDA) ยังคงอยูใ่ นระดับทีด่ ใี นระหว่างปี 2550 และบริษทั ฯ ไม่มเี งินกูค้ งค้าง ณ สิน้ ปี 2550 ทำให้ อัตราส่วนการก่อหนี้ Leverage Ratio ดีขน้ึ อย่างมาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ระดับหนีส้ นิ ของบริษทั ฯ อยูท่ ่ี 0.00 เท่าของกำไรก่อนหักดอกเบี้ยจ่าย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคาและรายจ่ายตัดบัญชี (EBITDA) ภาพรวมหนี้สินของบริษัทฯ นั้น (อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิ) เพิ่มขึ้นเป็น 0.07 เท่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 จาก 0.06 เท่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 เนือ่ งจากการตัง้ สำรองค่าประกันความเสียหายทางทะเล โบนัสพนักงานค้างจ่ายและรายการภาษี ดังทีไ่ ด้อธิบายไว้ แล้วในข้อ 5.2 ความสามารถในการชำระหนี้ของบริษัทฯ สำหรับปี 2550 อยู่ที่ 38.63 เนื่องจากไม่มีเงินกู้คงค้างในระหว่างปี 2550 อัตราส่วนของกำไรก่อนหักดอกเบีย้ จ่าย ภาษีเงินได้ ค่าเสือ่ มราคาและรายจ่ายตัดบัญชี (EBITDA) ต่อดอกเบีย้ จ่าย ปรับตัวดีขน้ึ ตัง้ แต่ ปี 2543 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 อยูท่ ่ี 38.63 เท่า อัตราส่วนทัง้ สองนีแ้ สดงให้เห็นถึงความสามารถอันแข็งแกร่งต่อการชำระหนีส้ นิ ที่ มีอยู่ปัจจุบันหรือความสามารถในการจัดหาเงินกู้ที่ดีขึ้น หากต้องการเงินทุนเพื่อนำมาปรับเปลี่ยนกำลังกองเรือ อัตราส่วนทั้งหมด คำนวณตามข้อบังคับทางการเงินทีก่ ำหนดในสัญญาเงินกูท้ ท่ี ำกับเจ้าหนีเ้ งินกูข้ องบริษทั ฯ

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

6. วงเงินสินเชื่อจาก Den Norske Bank (DNB) ในฐานะเป็นผู้ ให้กู้และผู้จัดหาเงินกู้ร่วมกับธนาคาร ต่างประเทศอื่นๆ อีก 4 ธนาคาร (ณ ปัจจุบันลดลงเหลือ 3 ธนาคาร) (DNB และเจ้าหนี้เงินกู้)

172

เมือ่ วันที่ 28 ธันวาคม 2549 บริษทั ฯ (และบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ) ได้ลงนามในสัญญาแก้ไข / เพิม่ เติมเพือ่ แก้ไขเงือ่ นไขรวม ทัง้ ขยายระยะเวลาเบิกเงินกูจ้ ากวันที่ 31 ธันวาคม 2549 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ของสินเชือ่ หมุนเวียนมีหลักประกัน จำนวน 250,000,000 เหรียญสหรัฐอเมริกาจากธนาคาร ดีเอ็นบี นอร์ แบงค์ เอเอสเอ สาขาประเทศสิงคโปร์ (DnB NOR Bank ASA, Singapore Branch) และ ธนาคารต่างชาติอกี 4 ธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯ อยู่ในระหว่างการเจรจากับผู้ให้กู้ในการขอขยายระยะเวลาการใช้วงเงินจนถึง 31 ธันวาคม 2551 ซึ่งได้รับการอนุมัติจากผู้ให้กู้ แต่สำหรับวงเงินกู้ที่ลดลงเป็น 200 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา และ 1 ธนาคารใน 4 ธนาคารได้ขอถอนตัว ซึ่งสัญญาแก้ไข/เพิ่มเติมสำหรับการขอขยายระยะเวลา และการลดวงเงินกู้ดังกล่าวกำลังอยูร่ ะหว่างการจัดทำ ณ วันทีใ่ นรายงานฉบับนี ้ เงือ่ นไขหลักของสัญญาแก้ไขสัญญาให้สนิ เชือ่ นี้ มีดงั ต่อไปนี้ : 1. ผูก้ ู้ : บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (“พีเอสแอล”) / ร่วมกันกับแต่ละบริษทั ย่อยซึง่ เป็นเจ้าของเรือ (รวมกันเรียกว่า “ผูก้ ”ู้ ) 2. จำนวนเงินกู้ (ทัง้ วงเงินสินเชือ่ : วงเงิน 200 ล้านเหรียญสหรัฐ หมุนเวียนสำหรับการซือ้ เรือและ วงเงินสินเชือ่ หมุนเวียนลดลง)


Due to the net profits of US$ 125.13 million earned during the year, increase of US$ 14.92 million in equity share capital due to stock dividend, dividends of US$ 91.99 (baht 3.06 per share) million paid during 2007, disposal of treasury stock of US$ 14.56 million as explained above and net increase of US$ 1.12 million on account of translation adjustment and minority interest, the Shareholders’ Equity is now at US$ 400.81 million, which is an increase of US$ 63.74 million over the Shareholders’ Equity as compared to the end of the previous year. As a result of the above increase in Shareholder’s Equity as explained above, the net book value per share has increased from US$ 0.32 per share as at the end of Year 2006 to US$ 0.39 per share as at the end of Year 2007.

5.3 Leverage, Liquidity and Coverage

The Company’s credit risk profile has consistently improved since the debt restructure of year 2000. As the Company’s EBITDA remained at good levels during 2007 and the Company had nil outstanding secured debt at the end of the year, the leverage ratios have improved significantly. As at 31st December 2007, the Company’s funded debt level is 0.00 times its EBITDA. The Company’s overall gearing (Total Liabilities/Tangible Networth) is at 0.07 times as at 31st December 2007, which has increased marginally from 0.06 times as at 31st December 2006, due to provisions as explained in 5.2 above. The Company’s debt service cover for year 2007 was 38.63 due to nil outstanding secured loans during 2007. The ratio of EBITDA/Interest has improved considerably since year 2000 and it is now 38.63 times as of 31st December 2007. Both these ratios show the Company’s strong ability to service the existing debt or conversely its capacity to raise more debt if required for fleet rejuvenation. All the ratios are calculated in compliance with the financial covenants stated in the credit facility agreements. The Company had executed on 28th December 2006, the Supplemental Agreement to amend certain terms, mainly to extend the availability period from upto 31st December 2006 to upto 31st December 2007, of the Credit Facilities Agreement signed in 2005, for the US$ 250 million Secured Revolving Loan Facility from DnB NOR Bank ASA, Singapore Branch and 4 other International Banks. As at 31st December 2007, the Company is in the process of negotiating with the lenders to extend the availability period up to 31st December 2008, which, has been accepted by the Lenders, but for a reduced loan amount of US$ 200 million with 1 of the 4 banks from the original consortium dropping out. The agreement for the extension of the availability period for the reduced amount is being documented as on the date of this report. The main terms of the amended credit facilities are expected to be as follows: 1 Borrowers : Precious Shipping Public Company Limited (“PSL”) / jointly and severally with the respective ship-owning subsidiaries (collectively defined as “the Borrowers”) 2 Facility Amount : Up to US$ 200 million (both for the RARF and RRCF – see No.3 & 10)

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

6. Credit facilities from Den Norske Bank (DNB) as Mandated Lead Arranger and a consortium of 4 (now reduced to 3) International Banks (DNB & Lenders)

173


3. ประเภทสินเชือ่

4.

5.

: 1) วงเงินสินเชื่อหมุนเวียนสำหรับการซื้อเรือ และการชำระเงินกู้ก่อนกำหนด (the “RARF”) จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 จากนัน้ จะถูกแปลงสภาพเป็น วงเงินสินเชือ่ ปกติ 2) วงเงินสินเชือ่ หมุนเวียนลดลง (the “RRCF”) วัตถุประสงค์ : เพื่อให้กู้ยืมร้อยละ 100 สำหรับการซื้อเรือขนส่งสินค้าแห้งเทกอง ขนาดเล็ก มือสองเพิม่ โดยเรือต้องมีขนาดน้ำหนักบรรทุกมากกว่า 18,000 เดทเวทตัน นายทะเบียน (Bookrunner) : ธนาคาร ดีเอ็นบี นอร์ แบงค์ เอเอสเอ สาขาประเทศสิงคโปร์ ผูจ้ ดั การผูม้ อี ำนาจ (Mandated (DnB NOR Bank ASA, Singapore Branch) Lead Arranger (“MLA”)) ตัวแทน และตัวแทนหลักประกัน (Agent & Security Agent)

6. 7. 8.

ผูใ้ ห้ก ู้ : ธนาคาร ดีเอ็นบี นอร์ แบงค์ เอเอสเอ สาขาประเทศสิงคโปร์ (DnB NOR Bank ASA, Singapore Branch) และธนาคารต่างชาติอน่ื วันครบกำหนด : ก่อนเดือนธันวาคม 2559 หรือ 8 ปีหลังจากวันสิน้ สุดของ RARF ส่วนเพิม่ ทีจ่ ะนำมาใช้สำหรับ : ใช้งบการเงินรวมสำหรับงวด 12 เดือนของพีเอสแอล นำมาคำนวณ อัตราส่วน อัตราดอกเบีย้ (Applicable Margin) เงินกู้ ต่อรายได้กอ่ นหักดอกเบีย้ จ่าย ภาษีเงินได้ ค่าเสือ่ ม และรายจ่ายตัดบัญชี (Funded Debt / EBITDA) (ซึ่งจะมีการคำนวณทุกไตรมาสโดยใช้งบการเงินการ แปลงค่าเป็นเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา) โดยมีลำดับขัน้ ดังนี ้

อัตราส่วนเงินกูต้ อ่ รายได้กอ่ นหัก ดอกเบีย้ จ่าย ภาษีเงินได้ ค่าเสือ่ มและรายจ่ายตัดบัญชี (Funded Debt/EBITDA) มีคา่

ส่วนเพิม่ ทีจ่ ะนำมาใช้เท่ากับ (Applicable Margin)

< 2.00 x > 2.00x and < 4.00x > 4.00x

ร้อยละ 1.00 ต่อปี ร้อยละ 1.20 ต่อปี ร้อยละ 1.40 ต่อปี

หมายเหตุ : EBITDA คำนวณตามสัดส่วนของจำนวนเรือ

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

174

9. อัตราดอกเบีย้ 10. การเบิกใช้วงเงินสินเชือ่

: LIBOR + ส่วนเพิม่ (Applicable Margin) ข้างต้น และคำนวณจากระยะเวลาจริง โดยในหนึง่ ปีมี 360 วัน : 1) ในช่วงระยะเวลาจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 (ช่วงระยะ เวลาเบิกวงเงินสิน เชือ่ หมุนเวียน (the RARF “Availability Period”)) สำหรับการซือ้ เรือ ในช่วงระยะเวลาเบิกเงินกู้สินเชื่อหมุนเวียน เงินกู้ที่ได้เบิกไป สามารถนำมา คืนและเบิกถอนเงินกู้ได้อีก แต่จำนวนเงินกู้ที่จะเบิกถอนซ้ำจะต้องไม่เกิน จำนวนเงินซึง่ ได้เคยจ่ายคืน และการเบิกเงินกูน้ ร้ี วมแล้วจะต้องไม่เกินวงเงินกู ้ 2) วงเงินสินเชือ่ หมุนเวียน (the “RARF”) คงหลือ จะถูกแปลงสภาพเป็นวงเงิน สินเชือ่ หมุนเวียนลดลง (the “RRCF”) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 หรือก่อน หน้านี้ ถ้าได้มีการตกลงยินยอมร่วมกันระหว่างผู้ก้แู ละผู้ให้กู้ (วันสิ้นสุดของ RARFวงเงินสินเชือ่ หมุนเวียนลดลง (the “RRCF”)


3. Facility :

1) Revolving Acquisition and Refinancing Facility (the “RARF”) until 31.12.08 which then converts into a normal 2) Revolving Reducing Credit Facility (the “RRCF”) 4. Purpose : To provide up to 100% finance for the acquisition of secondhand “handysize” dry bulk ships (>18,000DWT) 5. Bookrunner / Mandated Lead : DnB NOR Bank ASA, Singapore Branch Arranger (“MLA”) /Agent & Security Agent 6. Lenders : DnB NOR Bank ASA, Singapore Branch and other International Banks 7. Final Maturity : Earlier of December 2016 or 8 years after Closing Date, 8. Applicable Margin : Grid pricing system based on PSL’s consolidated 12-months rolling Funded Debt/EBITDA ratio (to be measured quarterly based on US Dollar restated Financial Statements) as follows:

9. Interest Rate

Funded Debt/EBITDA

< 2.00x > 2.00x and < 4.00x > 4.00x

Applicable Margin

1.00% p.a. 1.20% p.a. 1.40% p.a.

: LIBOR + Applicable Margin, calculated on the basis of the actual number of days elapsed in a year of 360 days. 10. Availability / Drawdown : 1) During the period up to 31.12 08 (the RARF “Availability Period”) for the acquisition of a ship. During the RARF Availability Period amounts drawn may be repaid and redrawn but amounts redrawn must not exceed the amounts earlier repaid. The aggregate of all Initial Drawings made shall at no time exceed the total Facility Amount. 2) The RARF shall convert into the RRCF in an amount up to the Facility Amount based on the total amount of the Initial Drawings on 31.12.08 or earlier if mutually agreed between Borrowers and Lenders (the “Closing Date”).

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

n.b. EBITDA to be pro-rated for ships acquired during the year

175


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

176

RRCFสามารถเบิกถอนและจ่ายคืน โดยต้องมีจำนวนขั้นต่ำ 5 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกา นับจากวันสิน้ สุดของ RARF จนถึงหนึง่ เดือนก่อนวันสุดท้ายที่ ครบกำหนดตามสัญญา ทัง้ นีข้ น้ึ อยูก่ บั ตารางการจ่ายชำระคืนเงินกูด้ ว้ ย) ผูก้ สู้ ญ ั ญาจะรวมเงินวงเงินเชือ่ RARF/RRCF เข้าเป็นวงเงินเดียวกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 11. กำหนดการจ่ายชำระคืนเงินกู ้ : วงเงินสินเชือ่ หมุนเวียน (RRCF) จะจ่ายชำระคืนเท่าๆ กันภายใน 32 ไตรมาส ซึง่ เท่ากับร้อยละ 3.125 ของ RRCF ณ เวลาทีไ่ ด้แปลงสภาพจาก RARF โดยเริม่ จ่าย งวดแรก ในเดือนมีนาคม 2552 หรือ สามเดือน หลังจากการแปลงสภาพของ RARF เป็น RRCF ถ้าได้เกิดขึน้ ก่อน 12. หลักประกัน : หลักประกันของวงเงินสินเชือ่ มีดงั นี:้ i) จดจำนองเรือในลำดับแรกของเรือขนส่งสินค้าแห้งเทกองขนาดเล็กมือสองที่ ได้ซอ้ื เพิม่ ii) จดจำนองเรือในลำดับแรกของเรือที่มีอายุน้อยที่สุด (ที่ยังไม่ได้จดจำนอง) จำนวนหนึ่งจากกองเรือพีเอสแอลที่มีอยู่แล้วเพิ่ม เพื่อให้ยอดเงินกู้คงเหลือ (และในกรณี วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ยอดเงินกูค้ งเหลือของ RRCF) สูงสุดไม่ เกินร้อยละ 65 ของมูลค่ารวมของทรัพย์สนิ ทีเ่ ป็นหลักประกัน iii) การโอนผลประโยชน์ในกรมธรรม์ประกันภัยและเงินได้ของเรือทีจ่ ดจำนองเป็น ประกัน 13. การรับรองทีเ่ กีย่ วกับกองเรือ : ผู้กู้สัญญาว่าจะไม่ขายเรือใดๆ ตามที่ตกลงจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 หรือ จนถึงวันสิ้นสุดของ RARF ซึ่งแล้วแต่อย่างใดจะถึงก่อน เว้นแต่จะได้รับความ ยินยอมเป็นลายลักษณ์อกั ษรจากเจ้าหนีส้ ว่ นใหญ่ ทัง้ นีจ้ ะต้องไม่เป็นการไม่อนุมตั ิ อย่างไม่มเี หตุผล 14. ข้อตกลงทางการเงิน : ผู้กู้จะปฏิบัติตามข้อตกลงทางการเงิน โดยจะมีการประเมินผลเป็นรายไตรมาส โดยคำนวณจากงบการเงิ น รวมแปลงค่ า เป็ น เงิ น เหรี ย ญสหรั ฐ อเมริ ก าของ พีเอสแอล ดังนี:้ i) อัตราส่วนเงินกูต้ อ่ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวม (Funded Debt / Total Shareholders’ Equity) สูงสุดไม่เกิน 2 เท่า ; ii) อัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อ EBITDA สูงสุดไม่เกิน 5 เท่า ซึง่ จะคำนวณรายได้จาก เรือทีไ่ ด้ซอ้ื เพิม่ ตามสัดส่วน ; iii) ดำรงเงินทุนหมุนเวียนอย่างน้อย 100,000 เหรียญสหรัฐอเมริกาต่อลำ สำหรับเรือทีพ่ เี อสแอลเป็นเจ้าของ EBITDA คำนวณโดยใช้ฐาน 12 เดือนก่อนหน้า เงินกูด้ งั กล่าวข้างต้นไม่รวมเงินกูท้ ม่ี กี อ่ นหน้านีส้ ำหรับการสัง่ ต่อเรือใหม่ 15. ข้อตกลงทีไ่ ม่เกีย่ วกับการเงิน : บริษทั ฯ ไม่มขี อ้ จำกัดใดๆ ทีไ่ ม่เกีย่ วกับด้านการเงินทีม่ สี าระสำคัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯ ยังไม่มกี ารเบิกใช้วงเงินสินเชือ่ นี ้


Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

The RRCF will be available for drawing on a fully revolving basis, in advances each in the minimum amount of US$ 5 million from the Closing Date until the date falling one month prior to Final Maturity (both dates inclusive) subject to the Reduction Schedule. The Borrowers to undertake to consolidate advances of the RARF / RRCF into one tranche on 31.12.08. 11. Reduction Schedule : The RRCF limit shall be reduced in 32 equal quarterly instalments equivalent to 3.125% of the RRCF at the time of conversion from the RARF with the first limit reduction commencing March 2009 or three months after conversion of RARF to RRCF if earlier. 12. Security : The Facility shall be secured by: i) First priority mortgage over the secondhand “handy-size” dry bulk ships to be acquired ii) First priority mortgages over ships from PSL’s existing fleet, youngest ships(not already mortgaged) first, such that the then outstanding facility amounts (and in the case of 31.12.08, the RRCF amount) is maximum 65% of the total value of the Secured Assets iii) Assignments of insurance and earnings over the Secured Assets. 13. Fleet Undertaking : Borrowers to undertake not to sell or otherwise dispose of certain ships until 31.12.08 or until the Closing Date, whichever is earlier, without the prior written consent of the Majority Lenders, not to be unreasonably withheld. 14. Financial Covenants : The Borrowers shall comply with the following to be measured quarterly based on PSL’s consolidated Restated Financial Statements in US Dollars: i) Maximum Funded Debt / Total Shareholder’s Equity of 2.0 times; ii) Maximum Funded Debt / EBITDA of 5.0 times to be calculated on a pro-rata basis in respect of ship acquisitions; iii) Maintain a minimum Free Cash Balance of US$100,000 per ship that PSL owns. EBITDA to be calculated on a 12 month rolling basis. Funded debt to exclude pre-delivery debt, if any, for new ships ordered. 15. Non-Financial Covenants The Borrowers are not subject to any significant restrictive non-financial covenants. The Company has not drawn down any amount from this facility as of 31st December 2007.

177


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

7. วงเงินสินเชื่อใหม่จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) (KTB และเจ้าหนี้เงินกู้)

178

เมือ่ วันที่ 18 มกราคม 2550 บริษทั ฯ (และบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ) ได้ลงนามในสัญญาให้สนิ เชือ่ กับ ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) วงเงินสินเชือ่ จำนวน 300 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ให้แก่บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ บริษทั ฯ ลงนามในสัญญาให้สนิ เชือ่ หลักเมือ่ วันที่ 18 มกราคม 2550 ต่อมาได้มกี ารลงนามในสัญญาให้สนิ เชือ่ แก้ไขเพิม่ เติม ครัง้ ที่ 1 เมือ่ วันที่ 21 พฤษภาคม 2550 และครัง้ ที่ 2 เมือ่ วันที่ 29 ตุลาคม 2550 เงือ่ นไขหลักของสัญญาให้สนิ เชือ่ ดังกล่าวมีดงั ต่อไปนี ้ 1. ผูก้ ู้ : บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (“พีเอสแอล”) /ร่วมกันกับ แต่ละบริษทั ย่อยซึง่ เป็นเจ้าของเรือ (รวมกันเรียกว่า “ผูก้ ”ู้ ) 2. ผูใ้ ห้ก ู้ : ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) และ ธนาคารนครหลวงไทย จำกัด (มหาชน) หรือ ร่วมกับธนาคารพาณิชย์อน่ื 3. ประเภทของสินเชือ่ : วงเงินกูม้ กี ำหนดระยะเวลา 4. จำนวนเงินกู ้ : วงเงินจำนวน 300 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา 5. วัตถุประสงค์ : เพื่อซื้อเรือขนส่งสินค้าแห้งเทกองขนาดเล็กต่อใหม่หรือมือสอง ซึ่งมีอายุน้อยกว่า 10 ปี และ/ หรือมากกว่า 10 ปีแต่นอ้ ยกว่า 15 ปี ซึง่ จะให้กยู้ มื ถึงร้อยละ 20 ของ วงเงินสินเชือ่ 6. ระยะเวลาเบิกเงินกู ้ : 24 เดือนนับจากวันที่ได้ลงนามในสัญญาให้สินเชื่อเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2550 ดังนัน้ สัญญานีไ้ ด้ขยายระยะเวลาจนถึงวันที่ 18 มกราคม 2552 7. ระยะเวลาของสินเชือ่ : 13 ปีนบั จากวันซึง่ ได้มกี ารเบิกถอนเงินครัง้ แรก 8. ระยะเวลายกเว้นเพือ่ ชำระคืนเงินต้น : 12 เดือนนับจากการเบิกถอนเงินครัง้ แรก 9. อัตราดอกเบีย้ : USD LIBOR : 3 เดือน + ส่วนเพิม่ 10. ระยะเวลาการคิดดอกเบีย้ : รายไตรมาสสิ้นสุด ณ วันสุดท้ายของเดือนมีนาคม มิถุนายน กันยายนและ ธันวาคมของแต่ละปี 11. การชำระคืนเงินต้น : ชำระเป็นรายไตรมาส จำนวน 48 งวดเท่าๆ กัน (ระยะเวลา 12 ปี) ของจำนวน เงินกูค้ งเหลือทัง้ หมด ณ วันสิน้ สุดระยะเวลาปลอดดอกเบีย้ ทัง้ นีว้ นั ชำระคืนเงินกู ้ ครัง้ แรกจะตรงกับวันสุดท้ายของเดือนมีนาคม, มิถนุ ายน, กันยายนหรือธันวาคม ที่จะมาถึงก่อน ณ วันสิ้นสุดระยะเวลายกเว้น เพื่อให้วันชำระคืนเงินกู้ของแต่ละ ครัง้ ตรงกับวันทีจ่ า่ ยดอกเบีย้ 12. ค่าธรรมเนียมการชำระคืนเงินกู ้ : ไม่มคี า่ ธรรมเนียม ถ้าได้จา่ ยจากกระแสเงินสดจากการดำเนินงานหรือเงินจากการ ก่อนกำหนด ขายเรือซึง่ เป็นหลักประกันหรือทุนใหม่ 13. ค่าธรรมเนียมการยกเลิก : ไม่ม ี 14. ค่าธรรมเนียมการใช้วงเงิน : ร้อยละ 0.375 ต่อปีของจำนวนวงเงินทีไ่ ม่ได้เบิกถอนโดยจ่ายเป็นรายไตรมาส 15. หลักประกัน : หลักประกันของสินเชือ่ โดยหลักมีดงั ต่อไปนี้ : i) จดจำนองเป็นลำดับแรกของเรือซึง่ ผูก้ เู้ ป็นเจ้าของ โดยมีมลู ค่ารวมอย่างน้อย 50 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ก่อนการเบิกถอนครัง้ แรก ii) จดจำนองเป็นลำดับแรกของเรือขนส่งสินค้าแห้งเทกองขนาดเล็กทีไ่ ด้ซอ้ื เข้ามา iii) การโอนผลประโยชน์ ใ นกรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย และเงิ น ได้ ข องเรื อ ที ่ เป็ น หลักประกัน iv) การจำนำหุน้ ของบริษทั ย่อยทีเ่ ป็นผูก้ ู้


The Company executed on 18th January 2007, the Credit Facilities Agreement with Krung Thai Bank Public Company Limited to provide a US Dollar Loan Facility of an amount up to US Dollars 300 million to the Company and certain subsidiaries. This credit facilities agreement dated 18th January 2007 was amended and restated by the Amendment Agreement No. 1 to credit facilities agreement dated 18th January 2007 on 21st May 2007. This Agreement was further amended and restated by the Amendment agreement No. 2 on 29th October 2007. The main terms of the Credit Facilities are summarized as follows: 1. Borrowers : Precious Shipping Public Company Limited (“PSL”) / jointly and severally with the respective ship-owning subsidiaries (collectively defined as “the Borrowers”) 2. Lender(s) : Krung Thai Bank PCL, Bank of Ayudhya PCL and Siam City Bank PCL or with a syndicate of other Commercial Banks 3. Type of Facility : Term Loan Facility 4. Facility Amount : Up to US$ 300 million 5. Purpose : To finance the acquisition of new or secondhand “handy-size” dry bulk ships of age up to 10 years and/or over 10 years but less than 15 years for up to 20% of the Facility amount 6. Availability Period : 24 months from the date of signing the Facility Agreement dated 18th January 2007. Thus now the availability period extends up to 18th January 2009. 7. Facility Period : 13 years from the date of first drawdown 8. Grace Period - : 12 months from first drawdown for Principal Repayments 9. Interest Rate : Three months’ US$ LIBOR + margin 10. Interest Period : Calendar quarter ending on the last day of March, June, September and December of each year 11. Principal Repayment : 48 equal quarterly installments (i.e. over twelve years) of the aggregate loan outstanding at the end of the grace period, provided that the first Repayment date will fall at the end of March, June, September or December, whichever comes earliest at the end of the Grace Period, in order to ensure that each Repayment date coincides with an Interest payment date. 12. Prepayment Fee : Nil if prepayment is made out of operating cashflows or from the proceeds of sale of secured ships or new Equity. 13. Cancellation Fee : Nil 14. Commitment Fee : 0.375% per annum of undrawn facility payable quarterly 15. Security : The Facility shall be secured mainly by: i) Before first drawdown, first priority mortgage over certain ships owned by the Borrowers valued at least US$ 50 million in aggregate ii) First priority mortgage over the secondhand “handy-size” dry bulk ships to be acquired iii) Assignments of insurances and earnings of the secured ships iv) Pledge of shares of each of the subsidiary borrowers

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

7. New credit facilities availed from Krung Thai Bank PCL (KTB) and Others

179


16. ข้อตกลงของหลักประกัน

17. ข้อตกลงทางการเงิน

: ในช่วงระยะเวลาเบิกถอนเงินกู้ : จำนวนมูลค่ารวมของเรือซึ่งเป็นหลักประกันจะ ต้องมีอย่างน้อยร้อยละ 167 ของจำนวนเงินกูค้ งเหลือ หลังจากพ้นระยะเวลาเบิกถอนเงินกู:้ จำนวนมูลค่ารวมของเรือซึง่ เป็นหลักประกัน จะต้องมีอย่างน้อยร้อยละ 154 ของจำนวนเงินกูค้ งเหลือ : ผู้กู้จะปฏิบัติตามข้อตกลงทางการเงิน โดยจะมีการประเมินผลเป็นรายไตรมาส โดยคำนวณจากงบการเงิ น รวมแปลงค่ า เป็ น เงิ น เหรี ย ญสหรั ฐ อเมริ ก าของ พีเอสแอล ดังนี้ : i) อัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวม (Funded Debt / Total Shareholders’ Equity) สูงสุดไม่เกิน 2 เท่า ; ii) อัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อ EBITDA สูงสุดไม่เกิน 5 เท่า iii) ดำรงเงินทุนหมุนเวียนอย่างน้อย 100,000 เหรียญสหรัฐอเมริกา ต่อลำ สำหรับเรือทีพ่ เี อสแอลเป็นเจ้าของ iv) ดำรงอัตราส่วนความสามารถในการชำระหนีไ้ ม่นอ้ ยกว่า 1.1 เท่า เงือ่ นไขทางการเงินที่ i), iii) and iv) มีผลบังคับตัง้ แต่วนั ที่ 18 มกราคม 2550 ใน ขณะทีข่ อ้ ตกลงที่ ii) มีผลบังคับในวันทีม่ กี ารเบิกเงินกูค้ รัง้ แรก EBITDA คำนวณโดยใช้ฐาน 12 เดือน : บริษทั ฯ ไม่มขี อ้ จำกัดใดๆ ทีไ่ ม่เกีย่ วกับการเงินทีม่ สี าระสำคัญ

18. ข้อตกลงทีไ่ ม่เกีย่ วกับการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯ ไม่มกี ารเบิกใช้วงเงินสินเชือ่ ในส่วนนี ้

8. การวิเคราะห์งบการเงินรวมเงินบาทที่ตรวจสอบแล้ว

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

180

8.1 การวิเคราะห์งบกำไรขาดทุน

• รายได้จากการเดินเรือสุทธิ (สุทธิจากรายจ่ายท่าเรือและน้ำมันเชื้อเพลิง) สำหรับปี 2550 ลดลงประมาณร้อยละ 13 จากรายได้จากการเดินเรือสุทธิสำหรับปี 2549 โดยมีสาเหตุหลักจากจำนวนเรือทีล่ ดลงในระหว่างปีจากการขายกองเรือเก่าจำนวน 10 ลำ ดังนัน้ รายได้ทเ่ี กิดขึน้ ในปี 2550 จึงมาจากจำนวนเรือ 45 ลำ เมือ่ เปรียบเทียบกับรายได้ทเ่ี กิดขึน้ ในปี 2549 ซึง่ มาจากจำนวน เรือ 54 ลำ นอกจากนีก้ ารลดต่ำลงสำหรับอัตราแลกเปลีย่ นระหว่างเงินดอลล่าร์สหรัฐ/เงินบาทในระหว่างปี 2550 เมือ่ เปรียบเทียบกับ ปี 2549 ส่งผลให้รายได้จากการเดินเรือสุทธิในปี 2550 ต่ำลง อย่างไรก็ตามอัตราค่าระวางเรือในตลาดสากลยังคงสูงอย่างต่อเนื่อง ทำให้รายได้จากการเดินเรือเฉลี่ยต่อวันต่อลำเป็น 13,147 เหรียญสหรัฐอเมริกาสำหรับปี 2550 เมือ่ เปรียบเทียบกับ 11,387 เหรียญ สหรัฐอเมริกาสำหรับปี 2549 ซึง่ เพิม่ ขึน้ ประมาณร้อยละ 15 เมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ น • ในระหว่างปี 2550 ค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือลดลงประมาณร้อยละ 17 เมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ น ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากการ ลดลงของจำนวนเรือในระหว่างปี 2550 ตามทีอ่ ธิบายไว้แล้วข้างต้น อย่างไรก็ตามค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือเฉลีย่ ต่อวันต่อลำเรือสำหรับ ปี 2550 เพิม่ ขึน้ (ตามทีไ่ ด้อธิบายไว้แล้วในข้อ 4.2) เมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2549 • ในระหว่างปี 2550 ต้นทุนในการเดินเรือรวมลดลงประมาณร้อยละ 37 เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน ในระหว่างปี 2550 รายจ่ายท่าเรือและค่าน้ำมันเชื้อเพลิงลดลง เนื่องจากการให้บริการให้เช่าเป็นรายเที่ยว (voyage charter) ลดลงเมื่อเทียบกับปี ก่อน ต้นทุนในการเดินเรือรวมทีล่ ดลงนีม้ เี หตุผลหลักมาจากการลดลงของค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือในระหว่างปี 2550 ตามทีไ่ ด้อธิบาย ไว้แล้วข้างต้น • กำไรขัน้ ต้นในปี 2550 ลดลงประมาณร้อยละ 11 เมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ น แต่เป็นทีส่ งั เกตได้วา่ อัตรากำไรขัน้ ต้น สำหรับปีได้เพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 67 มาเป็นร้อยละ 74 เมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ น ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากการเพิม่ ขึน้ ของรายได้เฉลีย่ ต่อวันต่อลำ


16. Security Covenant

: During Availability Period: The aggregate valuations of the ships secured shall be at least 167% of the total outstanding amount of the facility. After Availability Period: The aggregate valuations of the ships secured shall be at least 154% of the total outstanding amount of the facility. 17. Financial Covenants : The Borrowers shall comply with the following, to be measured quarterly based on PSL’s consolidated Restated Financial Statements in US Dollars: i) Maximum Debt / Total Shareholder’s Equity of 2.0 times; ii) Maximum Debt / EBITDA of 5.0 times iii) Maintain a minimum Free Cash Balance of US$100,000 per ship that PSL owns. iv) Minimum Debt Service Cover of 1.1 times The covenants i), iii) and iv) are applicable from 18th January 2007 whereas ii) is applicable from the date of first utilization date. EBITDA to be calculated on a 12 month rolling basis. 18. Non-Financial Covenants The Borrowers are not subject to any significant restrictive non-financial covenants. The Company has not drawn down any amount from this facility as of 31st December 2007 8 Review and Analysis of Audited Consolidated Thai Baht Financial Statements 8.1 Analysis of Profit and Loss Account (Statement of Earnings)

• The Net Ship Operating Income (net of voyage disbursements and bunker consumption) for year 2007 has decreased by about 13% over the Net Ship Operating Income for year 2006 mainly due to the reduction in the average number of ships operated during the period because of the sale of the 10 oldest ships of the fleet. The income has accrued from an average of 45 ships during 2007 as against an average of 54 ships in 2006. Moreover, the lower average US Dollar/Thai Baht exchange rate during year 2007 as compared to year 2006 has also contributed to the lower ship operating income of the year 2007. However, as explained above, due to the continued upsurge in the International Freight markets, the average earnings per day per Ship were US$ 13,147 for 2007 as compared to US$ 11,387 for the year 2006. This represents an increase of about 15% over the previous year. • During the year 2007, the ship running expenses decreased by 17% in absolute terms as compared to 2006 mainly due to the reduction in the average number of ships operated during the 2007 as explained above. However, the average ship operating expenses per day per Ship (Opex) for 2007 has increased as explained in No. 4.2 hereinabove as compared to year 2006. • During the year 2007, the total ship operating costs decreased by about 37% in absolute terms, over the total ship operating costs of the previous year. During year 2007, ship disbursements and bunker consumption decreased due to decrease in voyage charters during the year as compared to the previous year. The decrease in total ship operating costs is also due to decrease in ship running expenses during year 2007 as explained hereinabove. • Gross Profit has decreased by about 11% as compared to the previous year. It may be noted that the Gross Profit Margin has increased from 67% to 74% as compared to the previous year due to the higher average earnings per day per ship (TC Rate)

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

181


• จากผลของการลดลงของรายได้จากการเดินเรือ ทำให้รายได้รวมระหว่างปี 2550 ลดลงเมือ่ เทียบกับปีกอ่ น • ค่าใช้จา่ ยในการบริหารสำหรับปี 2550 เพิม่ ขึน้ เป็นจำนวนเงิน 103.45 ล้านบาท เมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2549 จาก การเพิม่ ขึน้ ของค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับบุคคล และการเปลีย่ นนโยบายบัญชีสำหรับโบนัสพนักงานจากเกณฑ์เงินสดเป็นเกณฑ์คงค้าง • ดอกเบี้ยจ่ายและต้นทุนทางการเงินสำหรับปี 2550 ลดลงเป็นจำนวนเงิน 17.30 ล้านบาทเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2549 เนื่องจากการลดลงของเงินกู้ทั้งจำนวนตั้งแต่สิ้นปี 2549 บริษัทฯ ไม่มีเงินกู้ ดังนั้นดอกเบี้ยจ่ายและต้นทุนทางการเงินจึงไม่มี จำนวนดอกเบีย้ จ่าย แต่เป็นค่าธรรมเนียมการรักษาวงเงินกู้ ค่าใช้จา่ ยทางการเงินทีเ่ กีย่ วข้องกับการออกและจำหน่ายหุน้ กูซ้ ง่ึ บริษทั ได้ ยกเลิกรายการดังกล่าวแล้ว เนือ่ งจากปัญหาซับไพร์มทีเ่ กิดขึน้ ทีต่ ลาดสหรัฐอเมริกา • ค่าใช้จ่ายรวม (ไม่รวมค่าเสื่อมราคา) ในปี 2550 ลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน มีสาเหตุมาจากจำนวนเรือที่ ลดลงในระหว่างปี 2550 เมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2549 ตามทีไ่ ด้อธิบายไว้แล้วข้างต้น • ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี 2550 อยู่ในระดับต่ำและเป็นไปตามสัดส่วนของกองเรือเฉลี่ยเมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน โดยกองเรือเฉลีย่ สำหรับปี 2550 เท่ากับ 45 ลำ เปรียบเทียบกับปี 2549 ซึง่ มีกองเรือ 54 ลำ • บริษทั ฯ บันทึกผลขาดทุนจากสัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงินเป็นจำนวนเงิน 241.97 ล้านบาทในปี 2550 สำหรับการ ออกและเสนอขายหุ้นกู้ด้วยความตั้งใจที่จะกำหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาลที่แน่นอน เพื่อจะใช้เป็นฐานในการกำหนดราคา สำหรับการออกหุน้ กูน้ น้ั บริษทั ฯ ได้ทำสัญญา Treasury Lock Contracts จำนวนเงินต้นรวม 200 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกากับธนาคาร ต่างประเทศแห่งหนึง่ ซึง่ Treasury Lock ใช้เป็นเครือ่ งมือทางการเงินสำหรับกำหนดอัตราดอกเบีย้ หุน้ กูถ้ า้ มีการออกและเสนอขายหุน้ กู้ สัญญาดังกล่าวได้ถกู ยกเลิกเนือ่ งการยกเลิกการออกหุน้ กูเ้ ป็นผลให้เกิดรายการขาดทุนขึน้ • บริษทั ฯ บันทึกกำไรจากการขายเรือเป็นจำนวนเงิน 1,558.22 ล้านบาทในปี 2550 เปรียบเทียบกับปี 2549 ซึง่ ไม่มี รายการดังกล่าว การขายเรือจำนวน 10 ลำนี้ บริษทั ฯ ได้สง่ มอบเรือในช่วงครึง่ แรกของปี 2550 • บริษัทฯ บันทึกขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเป็นจำนวนเงิน 175.17 ล้านบาทสำหรับปี 2550 เช่นเดียวกับการ บันทึกกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเป็นจำนวนเงิน 122.84 ล้านบาทสำหรับปี 2549 รายการขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเกิดจากการ แข็งค่าของเงินบาทเมือ่ เทียบกับเงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐ ซึง่ ส่วนใหญ่เกิดจากแปลงค่าเงินสดคงเหลือสกุลดอลล่าร์สหรัฐมาเป็นเงินบาท บริษทั ฯ มีกำไรสุทธิจำนวน 4,156.16 ล้านบาทสำหรับปี 2550 เมือ่ เปรียบเทียบกับจำนวน 3,715.12ล้านบาทในปี 2549 ซึง่ เหตุผลหลักทีท่ ำให้ผลกำไรสุทธิระหว่างปี 2550 สูงขึน้ มาจากกำไรจากการขายสินทรัพย์ถาวรเป็นจำนวนเงิน 1,558.22 ล้านบาทซึง่ ได้อธิบายไว้แล้วในข้อ 5.2 และเปรียบเทียบกับปี 2549 ทีไ่ ม่มรี ายการดังกล่าวและการเพิม่ ขึน้ ของอัตรารายได้ตอ่ วัน

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

182

8.2 การวิเคราะห์งบดุล

• สินทรัพย์หมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เพิ่มขึ้นจำนวน 159.93 ล้านบาทเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2549 เนือ่ งจากการเพิม่ ขึน้ ของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด จากการไม่มเี งินกูค้ งค้างในระหว่างปี 2550 ทำให้บริษทั ฯ มีกระแสเงินสด ส่วนเกินจากการดำเนินงานและเงินรับจากการขายเรือ 10 ลำ เงินสดนีส้ ทุ ธิหลังจากการจ่ายเงินปันผลจำนวน 2,655.05 ล้านบาทและ การจ่ายเงินล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือใหม่จำนวน 3,239.19 ล้านบาท ในระหว่างปี 2550 ลูกหนีส้ ทุ ธิจากค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญทัง้ หมดลด ลงจำนวน 66.47 ล้านบาท เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน ทั้งนี้เนื่องจากลูกหนี้ตามสัญญาเช่าเป็นรายเที่ยว (Voyage Charter) ที่ยังให้ บริการไม่เสร็จ ณ สิน้ ปี 2550 ลดลงเมือ่ เปรียบเทียบกับ ณ สิน้ ปี 2549 บริษทั ฯ มีสภาพคล่องทีด่ อี ย่างต่อเนือ่ งตลอดมาด้วยการมีเงิน สดทีม่ ากเพียงพอทีจ่ า่ ยได้ทกุ เวลา


8.2 Analysis of Balance Sheet

• As compared to the end of the previous year (2006), there is an increase of Baht 159.93 million in current assets as at 31st December, 2007, mainly due to excess Cash and cash equivalents. With no repayments of any loan during 2007, the Company has accumulated excess cash generated from operations and funds from sale of 10 old ships. This Cash balance was after paying dividends of Baht 2,655.05 million and advance for new building ships of Baht 3,239.19 million during the year 2007. Receivables, net of all provisions which are part of current assets decreased by Baht 66.47 million as compared to the previous year. The decrease is mainly on account of lesser unfinished voyage charters as at the end of 2007 as compared to that as at the end of 2006. The Company continues to be in an extremely comfortable position in terms of liquidity with more than adequate cash balances at all times.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

• As a result of the lower ship operating revenues, the total revenues during the year, in absolute terms, are also lower than that of the previous year. • Administrative expenses for year 2007 have increased by Baht 103.45 million as compared to year 2006 due to an increase in personnel expenses and a change in accounting policy of accounting for staff bonus from cash basis to accrual basis. • The interest and financial costs for year 2007 have decreased by Baht 17.30 million as compared to year 2006 due to the decrease in amount of loans. Since the end of the year 2006, the Company does not have any loans. The interest and financial costs for year 2007 do not comprise any interest but, is only on account of the commitment fees paid for maintaining the two secured credit facilities and expenses in relation to debenture issue planned by the Company during 2007 which was subsequently cancelled due to the sub-prime fallout in the U.S. market.. • The total expenses (excluding depreciation) in 2007, as compared to the previous year, are lower on account of decrease in average ships operated during year 2007 as compared to year 2006 as explained hereinabove. • The Depreciation for year 2007 was at lower level and proportionate to the level of the average fleet size operated as compared to year 2006. The average fleet size for year 2007 was 45 as compared to 54 for the year 2006. • The Company recorded loss on derivative contracts of Baht 241.97 million in year 2007. For the proposed issue of Debentures, with the intention of locking in the Treasury rate, which would have been the basis of pricing of the Debentures, the Company entered into Treasury Lock Contracts with a Foreign Bank for an aggregate principal amount of USD 200 million, which would have served as a hedging tool to fix the interest rate on the Debentures, had the Debentures been issued. These contracts were terminated due to the cancellation of the debenture issue resulting in a loss. • The Company recorded gain on disposal of fixed assets of Baht 1,558.22 million in year 2007 as compared to Baht 0.85 million in year 2006. This mainly represents the gain on sale of 10 ships, which were delivered in the first half of 2007. • The Company recorded exchange loss of Baht 175.17 million for 2007 as against exchange gain of Baht 122.84 million for year 2006. The exchange loss is due to the appreciation of the Thai Baht against the US Dollar, which resulted mainly from the translation of the US Dollar cash balances into Thai Baht.. The Company has reported Net Profit of Baht 4,156.16 million for the year 2007 as compared to Baht 3,715.12 million in the previous year. The main reason for the higher Net Profit during year 2007 as compared to year 2006 is gain of Baht 1,558.22 million on sale of fixed assets as explained in 5.2 hereinabove and the higher average earnings per day per ship (TC rate)

183


• มูลค่าของสินทรัพย์ถาวรของบริษทั ฯ ลดลงจากปีกอ่ นเนือ่ งจากการขายเรือจำนวน 10 ลำและค่าเสือ่ มราคาทีเ่ กิด ขึน้ ในระหว่างปี บริษทั ฯ จ่ายเงินล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือใหม่จำนวน 3,239.19 ล้านบาทดังทีไ่ ด้อธิบายไว้ในข้อ 3 มูลค่าสินทรัพย์รวม ของบริษทั เพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากกำไรจากขายเรือไปในระหว่างปีจำนวน 10 ลำ การขายหุน้ ทุนซือ้ คืนและกำไรสุทธิทไ่ี ด้รบั และอืน่ ๆ ทีเ่ กิด ขีน้ ในระหว่างปี • หนี้สินหมุนเวียนเพิ่มขึ้นจำนวน 67.87 ล้านบาทเมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน มีสาเหตุหลักจากภาษีเงินได้ค้างจ่าย เป็นจำนวน 216.23 ล้านบาททีเ่ กิดจากกำไรจากการขายเรือ 10 ลำดังทีไ่ ด้อธิบายไว้แล้วในข้อ 5.1 หนีส้ นิ รวมเพิม่ ขึน้ จำนวน 136.82 ล้านบาทเมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของหนี้สินหมุนเวียนในระหว่างปี 2550 ดังที่ได้อธิบายไว้แล้วข้างต้น และ สำรองค่าความเสียหายทางทะเลจำนวน 68.95 ล้านบาทและโบนัสพนักงานค้างจ่าย (รวมหนีส้ นิ หมุนเวียนและไม่หมุนเวียน) จำนวน 154.39 ล้านบาทจากการเปลีย่ นนโยบายการบัญชีจากเกณฑ์เงินสดเป็นเกณฑ์คงค้าง • ณ สิน้ ปี 2550 บริษทั ฯ ไม่มเี งินกูค้ งค้างเช่นเดียวกันกับ ณ สิน้ ปี 2549 เนือ่ งจากบริษทั ฯ ไม่มกี ารเบิกใช้เงินกูใ้ หม่ ในระหว่างปี 2550 • ในระหว่างปี 2550 บริษทั ฯ ได้จำหน่ายหุน้ ทุนซือ้ คืนจำนวน 12.32 ล้านหุน้ ซึง่ มีราคาทุน 414.92 ล้านบาท ใน ราคาขายรวม 566.25 ล้านบาท การจำหน่ายหุน้ ทุนซือ้ คืนดังกล่าวได้ดำเนินการในตลาดหลักทรัพย์ โดยราคาจำหน่ายหุน้ ทุนซือ้ คืนป็ นราคาตลาดของหุน้ ณ วันทีข่ าย ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ ได้บนั ทึกผลต่างของราคาขายทีส่ งู กว่าราคาซือ้ ของหุน้ ทุนซือ้ คืนจำนวน 151.33 ล้าน บาทใน “ส่วนเกินทุนหุน้ ทุนซือ้ คืน” ในส่วนของผูถ้ อื หุน้ ทำให้สำรองหุน้ ทุนซือ้ คืน ณ วันสิน้ ปี 2549 จำนวน 414.92 ล้านบาท ลดลง ทั้งจำนวน ณ วันสิ้นปี 2550 เนื่องจากบริษัทฯ ไม่มีรายการหุ้นทุนซื้อคืนเหลืออยู่ จึงไม่ความจำเป็นในการตั้งสำรองหุ้นทุนซื้อคืน ทำให้มีการโอนสำรองหุ้นทุนซื้อคืนไปยังกำไรสะสม ตามหนังสือสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ กลต.ชส. (ว) 2/2548 และหนังสือสภาวิชาชีพบัญชีท่ี ส.สวบช. 016/2548 • เนือ่ งจากบริษทั ฯ มีกำไรสุทธิจำนวน 4,156.16 ล้านบาท ทุนหุน้ สามัญเพิม่ ขึน้ จำนวน 519.52 ล้านบาท เนือ่ งจาก หุน้ ปันผลตามสัดส่วน 1:1 ในระหว่างปี 2550 เงินปันผลจ่ายจำนวน 3,174.57 ล้านบาท จำหน่ายหุน้ ทุนซือ้ คืนจำนวน 566.25 ล้านบาท และผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินและส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยลดลงจำนวน 40.14 ล้านบาทในระหว่างปี ทำให้มีส่วนของ ผูถ้ อื หุน้ ณ ขณะนีเ้ ป็นจำนวน 14,064.93 ล้านบาท ซึง่ เพิม่ ขึน้ จำนวน 2,027.22 ล้านบาทเมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ น

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

184

8.3 การวิเคราะห์กระแสเงินสด

• ในระหว่างปี บริษทั ฯ มีกระแสเงินสดจากการดำเนินงาน จำนวน 4,466.84 ล้านบาท ซึง่ น้อยกว่าประมาณร้อยละ 23 เมือ่ เปรียบเทียบกับกระแสเงินสดจากการดำเนินงานของปีกอ่ น เนือ่ งจากกำไรขัน้ ต้นทีล่ ดลงตามทีไ่ ด้อธิบายข้างต้น • หลังจากรายการปรับปรุงการเปลีย่ นแปลงของเงินทุนหมุนเวียน บริษทั ฯ มีกระแสเงินสดจำนวน 4,760.18 ล้านบาท ไว้สำหรับใช้ไปในกิจกรรมลงทุนและกิจกรรมจัดหาเงิน • ในระหว่างปี บริษทั ฯ มีกระแสเงินสดจ่ายสำหรับค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซมและสำรวจเรือจำนวน 791.42 ล้านบาท และเงินจ่ายล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือจำนวน 3,239.19 ล้านบาท หลังจากการปรับปรุงรายการอืน่ ๆ บริษทั ฯ มีกระแสเงินสดสุทธิใช้ไปใน กิจกรรมลงทุนจำนวน 2,123.63ล้านบาท • ในระหว่างปี มีการจ่ายเงินปันผลเป็นเงินสดจำนวน 2,655.05 ล้านบาท ซึง่ ไม่รวมการจ่ายหุน้ ปันผลในอัตรา 1:1 ในระหว่างปี 2550 นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ได้จำหน่ายหุน้ ทุนซือ้ คืนจำนวน 12.32 ล้านหุน้ เป็นจำนวนเงิน 566.25 บาท กระแสเงินสดจาก การดำเนินงานที่ดี และการบริหารเงินทุนหมุนเวียนที่มีประสิทธิภาพทำให้บริษัทฯ มีเงินสดคงเหลือที่เพียงพอโดยไม่มีปัญหาสภาพ คล่องแต่อย่างใด


• The value of fixed assets of the Company has decreased from previous year’s levels mainly on account of sale of 10 ships and depreciation provided during year 2007. The Company has paid Baht 3,239.19 million towards advance for new building ships as explained in 3 above. The value of Total Assets have increased due to the gain on sale of 10 Ships during the year, sale of the Treasury Stock, net profit earned and a substantial part thereof being retained during the year. • Total current liabilities have increased by Baht 67.87 million as compared to the previous year. This is mainly due to the provision of Baht 211.45 million made for taxation on capital gains on sale of 10 ships as explained in 5.1 above. Total liabilities have increased by Baht 136.82 million as compared to the previous year because of an increase in current liabilities in year 2007 as explained above and provisions of Baht 68.95 million made for marine claims and Baht 154.39 million for employee bonus(included in current and non-current liabilities) due to a change in accounting policy of accounting for staff bonus from cash basis to accrual basis. . • Total borrowings is NIL at the end of year 2007 which is unchanged from the balance as at the end of year 2006 as Company has not drawdown any loan during year 2007. • During the year 2007, the Company disposed 12.32 million treasury shares with cost of Baht 414.92 million at an aggregate price of Baht 566.25 million. The resale of the treasury shares was done on the Stock Market at prevailing market prices at the time of sale. The Company realised Baht 151.33 million as gain on the aforesaid shares, which has been presented as “Premium on treasury stock” in the shareholders’ equity. This has also resulted in decrease of Treasury Stock Reserve from Baht 414.92 Million at the end of year 2006 to Nil at the end of year 2007 since the Treasury Stock Reserve is no longer required on the shares sold and the same is transferred to Retained earnings per notification of Office of Securities and Exchange Commission No. Gor. Lor. Tor. Chor. Sor. (Wor.) 2/2548 and the notification of the Federation of Accounting Professions No. Sor. Sor. Wor. Bor. Chor. 016/2548. • Due to the profits of Baht 4,156.16 million earned, increase of Baht 519.52 million in equity share capital due to stock dividend in the ratio of 1:1 during the year 2007, payment of dividends of Baht 3,174.57 million, disposal of treasury stock of Baht 566.25 million and net decrease of Baht 40.14 million on account of translation adjustment and minority interests during the year, the Shareholders’ Equity is now at Baht 14,064.93 million, which is an increase of Baht 2,027.22 million over the Shareholders’ Equity as compared to the end of the previous year. 8.3 Analysis of Statements of Cash flows

• During the year under review, Baht 4,466.84 million was generated from operations. This is about 23% less than the cash generated from operations in the previous year. The decrease is due to the lower Gross Profit earned for the reasons explained hereinabove. • After adjusting for the Working Capital Changes, the Company was left with Baht 4,760.18 million available for use in investing and financing activities. • During the year, Baht 791.42 million was paid on capital account towards dry docking & special survey expenses. The Company has also paid Baht 3,239.19 million towards advance against contracts for new ships. After adjustments, the net cash outflow used in investing activities was Baht 2,123.63 million. • During the year, Baht 2,655.05 million was paid out as cash Dividends excluding stock dividend in the ratio of 1:1. The Company also disposed 12.32 million treasury shares at an aggregate price of Baht 566.25 million. Through healthy operating cash flows and efficient working capital management the Company maintained sufficient cash balances at all times without any kind of liquidity problems.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

185


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ ต่อรายงานทางการเงิน

คณะกรรมการบริษทั ฯ เป็นผูร้ บั ผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยและสารสนเทศทางการเงินทีป่ รากฏใน รายงานประจำปี งบการเงินดังกล่าวจัดทำขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีทร่ี บั รองทัว่ ไปในประเทศไทย โดยใช้นโยบายการบัญชีทเ่ี หมาะสม และถือปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอและใช้ดุลยพินิจอย่างรอบคอบและการประมาณการที่ดีที่สุดในการจัดทำ รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูล สำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้จดั ให้มแี ละการดำรงรักษาไว้ซง่ึ ระบบควบคุมภายในทีม่ ปี ระสิทธิผล เพือ่ ให้มน่ั ใจได้อย่างมีเหตุผล ว่าการบันทึกข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้อง ครบถ้วนและเพียงพอที่จะรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สินของบริษัทฯ และเพื่อให้ทราบถึงจุดอ่อน เพือ่ ป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตหรือการดำเนินการทีผ่ ดิ ปกติอย่างมีสาระสำคัญ ในการนี้ คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบด้วยกรรมการอิสระทุกท่าน เป็นผูด้ แู ลรับผิดชอบ เกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบควบคุมภายในและความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ได้แสดง ไว้ในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ในรายงานประจำปีนแ้ี ล้ว คณะกรรมการบริษทั ฯ มีความเห็นว่าระบบควบคุมภายในของบริษทั ฯ โดยรวมอยูใ่ นระดับทีน่ า่ พอใจทีส่ ามารถสร้างความ เชือ่ มัน่ และความเชือ่ ถือได้ของงบการเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ในนามของคณะกรรมการ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

186

(คาลิด มอยนูดดิน ฮาชิม) กรรมการผูจ้ ดั การ

(คูชรู คาลีวาเดีย) กรรมการบริหาร


report on the board of directors’ responsibilities for financial statements

Khalid Moinuddin Hashim

Khushroo Kali Wadia

Managing Director

Executive Director

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

The Board of Directors is responsible for the Company and its subsidiaries’ financial statements and financial information presented in this annual report. The aforementioned financial statements have been prepared in accordance with Thai Generally Accepted Accounting Principles, using appropriate accounting policies consistently employed by the Company after applying prudent judgment and best estimation. Important information is adequately disclosed in the notes to the financial statements. The Board of Directors has provided for and maintained an efficient internal control system to ensure that accounting records are accurate, complete and adequate to protect the Company’s assets and uncover weaknesses in order to prevent fraud or materially irregular operations. To accomplish this task, the Board of Directors has appointed an audit committee, which consists fully of Independent Directors and the committee is, inter alia responsible for the quality of financial statements and internal control systems, whose comments on these issues are readily included in the Audit Committee Report in this annual report. The Board of Directors is of the opinion that the Company’s overall internal control system has functioned up to a satisfactory level to render credibility and reliability to the Company’s and its subsidiaries’ financial statements for the year ended December 31, 2007. For and on behalf of the Board of Directors of Precious Shipping Public Company Limited

187


รายงานของผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

188

ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 งบกำไรขาดทุนรวม งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วน ของผู้ถือหุ้นรวม และงบกระแสเงินสดรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) และ บริษทั ย่อย และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ซึง่ ผูบ้ ริหารของกิจการ เป็นผูร้ บั ผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบ การเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าไม่ได้ตรวจสอบงบการเงินของบริษัทย่อยในต่างประเทศจำนวน 5 บริษัท (2549: 4 บริษทั ) ทีร่ วมอยูใ่ นงบการเงินรวมนี้ ซึง่ มียอดสินทรัพย์คดิ เป็นร้อยละ 3.7 และร้อยละ 5.7 ของยอดสินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 ตามลำดับ และยอดรายได้คิดเป็นร้อยละ 2.0 และร้อยละ 1.7 ของยอดรายได้รวมสำหรับปีสิ้นสุดวัน เดียวกันของแต่ละปี ตามลำดับ งบการเงินของบริษทั ย่อยดังกล่าวตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชีอน่ื โดยข้าพเจ้าได้รบั รายงานของผูส้ อบ บัญชีนั้นและความเห็นของข้าพเจ้าในส่วนที่เกี่ยวข้องกับจำนวนเงินของรายการต่างๆ ของบริษัทย่อยดังกล่าวซึ่งรวมอยู่ในงบการเงิน รวมได้ถอื ตามรายงานของผูส้ อบบัญชีอน่ื นัน้ ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีทร่ี บั รองทัว่ ไป ซึง่ กำหนดให้ขา้ พเจ้าต้องวางแผนและปฏิบตั งิ าน เพือ่ ให้ได้ความเชือ่ มัน่ อย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้ วิธกี ารทดสอบหลักฐานประกอบรายการทัง้ ทีเ่ ป็นจำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลัก การบัญชีทก่ี จิ การใช้และประมาณการเกีย่ วกับรายการทางการเงินทีเ่ ป็นสาระสำคัญ ซึง่ ผูบ้ ริหารเป็นผูจ้ ดั ทำขึน้ ตลอดจนการประเมิน ถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการทีน่ ำเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชือ่ ว่าการตรวจสอบดังกล่าวประกอบกับรายงานของ ผูส้ อบบัญชีอน่ื ทีก่ ล่าวถึงในวรรคแรกให้ขอ้ สรุปทีเ่ ป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า จากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้าและรายงานของผูส้ อบบัญชีอน่ื ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนีแ้ สดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 ผลการดำเนินงานและกระแสเงินสดสำหรับปีสน้ิ สุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย และเฉพาะของบริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามทีค่ วรในสาระสำคัญ ตามหลักการบัญชีทร่ี บั รองทัว่ ไป โดยมิได้เป็นการแสดงความเห็นอย่างมีเงือ่ นไขต่องบการเงินข้างต้น ข้าพเจ้าขอให้สงั เกตตามทีก่ ล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 4 เมือ่ วันที่ 1 มกราคม 2550 บริษทั ฯได้เปลีย่ นนโยบายการบัญชีเกีย่ วกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษทั ย่อยในงบการเงิน เฉพาะกิจการจากวิธสี ว่ นได้เสียเป็นวิธรี าคาทุน โดยบริษทั ฯได้ปรับย้อนหลังงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และ สำหรับปีสน้ิ สุดวันเดียวกัน เพือ่ สะท้อนถึงการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีดงั กล่าว

บริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด กรุงเทพฯ: 12 กุมภาพันธ์ 2551

สุมาลี รีวราบัณฑิต

ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต เลขทะเบียน 3970


Report of Independent Auditor

I have audited the accompanying consolidated balance sheets of Precious Shipping Public Company Limited and subsidiaries as at 31 December 2007 and 2006, the related consolidated statements of income, changes in shareholders’ equity and cash flows for the years then ended, and the separate financial statements of Precious Shipping Public Company Limited for the same periods. These financial statements are the responsibility of the management of the Company and subsidiaries as to their correctness and the completeness of the presentation. My responsibility is to express an opinion on these financial statements based on my audits. I did not audit the financial statements of 5 subsidiaries (2006: 4 subsidiaries) incorporated overseas which are included in these consolidated financial statements. The assets and revenues of these subsidiaries as included in the consolidated financial statements constitute 3.7% and 5.7% of the consolidated total assets as at 31 December 2007 and 2006, respectively, and 2.0% and 1.7% of the consolidated total revenues for the years then ended, respectively. The financial statements of these subsidiaries were audited by other auditors, whose reports have been furnished to me, and my opinion, in so far as it relates to the amounts included for those subsidiaries in the consolidated financial statements, is based solely on the reports of these other auditors. I conducted my audits in accordance with generally accepted auditing standards. Those standards require that I plan and perform the audit to obtain reasonable assurance about whether the financial statements are free of material misstatement. An audit includes examining, on a test basis, evidence supporting the amounts and disclosures in the financial statements. An audit also includes assessing the accounting principles used and significant estimates made by management, as well as evaluating the overall financial statement presentation. I believe that my audits and the reports of other auditors, as referred to in the first paragraph, provide a reasonable basis for my opinion. In my opinion, based on my audits and the reports of other auditors, the financial statements referred to above present fairly, in all material respects, the financial position of Precious Shipping Public Company Limited and subsidiaries and of Precious Shipping Public Company Limited as at 31 December 2007 and 2006, and the results of their operations and cash flows for the years then ended, in accordance with generally accepted accounting principles. Without qualifying my opinion on the above financial statements, I draw attention to the matter as discussed in Note 4 to the financial statements whereby, effective 1 January 2007, the Company changed its accounting policy for recording investments in subsidiaries in the separate financial statements from the equity method to the cost method. The Company has thus restated the separate financial statements as at 31 December 2006 and for the year then ended to reflect this accounting change.

Ernst & Young Office Limited Bangkok: 12 February 2008

Sumalee Reewarabandith

Certified Public Accountant (Thailand) No. 3970

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

To the Shareholders of Precious Shipping Public Company Limited

189


งบดุล บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

(หน่วย: บาท)

หมายเหตุ

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550

2549

2550

2549

(ปรับปรุงใหม่)

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

15

1,470,244,256

เงินลงทุนชัว่ คราว - สุทธิ

6

-

ลูกหนีก้ ารค้า - สุทธิ

7

ลูกหนีแ้ ละเงินทดรองจ่ายแก่บริษทั ย่อย

8

น้ำมันเชือ้ เพลิง

34,638,681 -

1,258,574,577 - 101,106,910 -

194,974,853

41,282,018

-

-

-

-

998,556,335 -

1,757,932,260

5,636,525

43,614,009

-

สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่

9

252,377,989

199,670,299

29,166,219

17,285,793

รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

1,762,897,451

1,602,965,795

1,222,697,407

1,816,500,071

5,618,012,341

5,618,012,306

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษทั ย่อย - สุทธิ

10

เงินลงทุนในบริษทั ร่วมทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อย 11

-

-

134,282,332

119,767,616

-

-

เงินลงทุนระยะยาวอืน่

12

10,130,430

10,130,430

10,130,430

10,130,430

ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ

13

9,569,510,738

11,023,851,695

68,619,808

60,338,726

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่

14

3,541,317,114

1,429,706

3,540,688,820

662,711

รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

13,255,240,614

11,155,179,447

9,237,451,399

5,689,144,173

รวมสินทรัพย์

15,018,138,065

12,758,145,242

10,460,148,806

7,505,644,244

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

190

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้


BALANCE SHEETS PRECIOUS SHIPPING PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES

AS AT 31 DECEMBER 2007 AND 2006

(Unit: Baht)

Consolidated financial statements

Separate financial statements

2007

2006

2007

2006

(Restated)

Note

ASSETS Current assets Cash and cash equivalents

15

Current investment - net

6

Trade accounts receivable - net

7

Receivable from and advances to subsidiaries 8 Bunker oil

1,470,244,256 - 34,638,681 -

1,258,574,577 - 101,106,910 -

194,974,853

41,282,018

-

-

-

-

998,556,335 -

1,757,932,260

5,636,525

43,614,009

-

Other current assets

9

252,377,989

199,670,299

29,166,219

17,285,793

Total current assets

1,762,897,451

1,602,965,795

1,222,697,407

1,816,500,071

5,618,012,341

5,618,012,306

Non-current assets Investments in subsidiaries - net

10

Investment in associate held by a subsidiary 11

-

-

134,282,332

119,767,616

-

-

Other long-term investment

12

10,130,430

10,130,430

10,130,430

10,130,430

Property, plant and equipment - net

13

9,569,510,738

11,023,851,695

68,619,808

60,338,726

Other non-current assets

14

3,541,317,114

1,429,706

3,540,688,820

662,711

Total non-current assets

13,255,240,614

11,155,179,447

9,237,451,399

5,689,144,173

Total assets

15,018,138,065

12,758,145,242

10,460,148,806

7,505,644,244

The accompanying notes are an integral part of the financial statements.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

191


งบดุล (ต่อ) บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

(หน่วย: บาท)

หมายเหตุ

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550

2549

2550

2549

(ปรับปรุงใหม่)

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนีส้ นิ หมุนเวียน เจ้าหนีก้ ารค้า เจ้าหนีแ้ ละเงินทดรองจ่ายจากบริษทั ย่อย เงินรับล่วงหน้าค่าขายเรือเดินทะเล รายได้รบั ล่วงหน้า

66,544,366

8

-

15

-

82,603,363 -

1,546,830

695,472

1,360,441,634

579,141,590

160,060,832

-

-

-

-

171,470,255

176,407,290

หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่

16

550,293,401

301,367,123

102,281,733

89,870,586

รวมหนีส้ นิ หมุนเวียน

788,308,022

720,438,608

1,464,270,197

669,707,648

16.1

95,947,000

-

ประมาณการค่าความเสียหายจากการเดินเรือทะเล

68,951,739

-

รวมหนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน

164,898,739

-

รวมหนีส้ นิ

953,206,761

หนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน โบนัสพนักงานค้างจ่าย

720,438,608

88,598,533 - 88,598,533 1,552,868,730

- 669,707,648

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

192

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้


BALANCE SHEETS (Continued) PRECIOUS SHIPPING PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES

AS AT 31 DECEMBER 2007 AND 2006

(Unit: Baht)

Consolidated financial statements

Separate financial statements

2007

2006

2007

2006

(Restated)

Note

LIABILITIES AND SHAREHOLDERS’ EQUITY

Current liabilities Trade accounts payable Payable to and advances from subsidiaries Advances received from vessel sales Advances received from charterers

66,544,366

8

-

15

-

82,603,363 -

1,546,830

695,472

1,360,441,634

579,141,590

160,060,832

-

-

-

-

171,470,255

176,407,290

16

550,293,401

301,367,123

102,281,733

89,870,586

788,308,022

720,438,608

1,464,270,197

669,707,648

16.1

95,947,000

-

Provisions for maritime claims

68,951,739

-

Total non-current liabilities

164,898,739

-

Total liabilities

953,206,761

Other current liabilities Total current liabilities Non-current liabilities Accrued employee bonus

720,438,608

88,598,533 - 88,598,533 1,552,868,730

- 669,707,648

The accompanying notes are an integral part of the financial statements.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

193


งบดุล (ต่อ) บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

(หน่วย: บาท)

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

194

หมายเหตุ

ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ทุนเรือนหุน้ ทุนจดทะเบียน หุน้ สามัญ 1,039,520,600 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท (2549: หุน้ สามัญ 520,000,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท) ทุนทีอ่ อกและชำระแล้ว หุน้ สามัญ 1,039,520,600 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท (2549: หุน้ สามัญ 520,000,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท) ส่วนเกินทุน ส่วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ ส่วนเกินทุนหุน้ ทุนซือ้ คืน ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ของบริษทั ย่อย ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน กำไรสะสม จัดสรรแล้ว สำรองตามกฎหมาย - บริษทั ฯ - บริษทั ย่อย สำรองหุน้ ทุนซือ้ คืน ยังไม่ได้จดั สรร รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ หัก: หุน้ ทุนซือ้ คืน รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ - สุทธิ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยของบริษทั ย่อย รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมหนีส้ นิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550

2549

2550

2549

(ปรับปรุงใหม่)

19

1,039,520,600

520,000,000

1,039,520,600

520,000,000

19

1,039,520,600

520,000,000

1,039,520,600

520,000,000

23

411,429,745 172,445,812

411,429,745 21,114,984

411,429,745 172,445,812

411,429,745 21,114,984

20

123,965,882 86,324,046

144,278,576 126,689,683

21 21 22 23

103,952,060 467,720,000 - 11,646,881,980 14,052,240,125 - 14,052,240,125 12,691,179 14,064,931,304 15,018,138,065

52,000,000 424,620,000 414,918,176 10,325,110,201 12,440,161,365 (414,918,176) 12,025,243,189 12,463,445 12,037,706,634 12,758,145,242

- -

103,952,060 - - 7,179,931,859 8,907,280,076 - 8,907,280,076 - 8,907,280,076 10,460,148,806

- -

52,000,000 - 414,918,176 5,831,391,867 7,250,854,772 (414,918,176) 6,835,936,596 6,835,936,596 7,505,644,244

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้


BALANCE SHEETS (Continued) PRECIOUS SHIPPING PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES

AS AT 31 DECEMBER 2007 AND 2006

Consolidated financial statements

Separate financial statements

2007

2006

2007

2006

(Restated)

Note

Shareholders’ equity Share capital Registered share capital 1,039,520,600 ordinary shares of Baht 1 each (2006: 520,000,000 ordinary shares of Baht 1 each) 19 1,039,520,600 Issued and paid-up share capital 1,039,520,600 ordinary shares of Baht 1 each (2006: 520,000,000 ordinary shares of Baht 1 each) 19 1,039,520,600 Paid-in capital Premium on ordinary shares 411,429,745 Premium on treasury stock 23 172,445,812 Revaluation surplus on assets of subsidiary 20 123,965,882 Translation adjustment 86,324,046 Retained earnings Appropriated Statutory reserve - the Company 21 103,952,060 - subsidiaries 21 467,720,000 Treasury stock reserve 22 - Unappropriated 11,646,881,980 Total equity attributable to Company’s shareholders 14,052,240,125 Less: Treasury stock 23 - Equity attributable to the Company’s shareholders - net 14,052,240,125 Minority interest - equity attributable to minority shareholders of subsidiaries 12,691,179 Total shareholders’ equity 14,064,931,304 Total liabilities and shareholders’ equity 15,018,138,065 The accompanying notes are an integral part of the financial statements.

520,000,000

1,039,520,600

520,000,000

520,000,000

1,039,520,600

520,000,000

411,429,745 21,114,984 144,278,576 126,689,683

411,429,745 172,445,812 - -

411,429,745 21,114,984 - -

52,000,000 424,620,000 414,918,176 10,325,110,201

103,952,060 - - 7,179,931,859

52,000,000 - 414,918,176 5,831,391,867

12,440,161,365 (414,918,176)

8,907,280,076 -

7,250,854,772 (414,918,176)

12,025,243,189

8,907,280,076

6,835,936,596

12,463,445 12,037,706,634 12,758,145,242

- 8,907,280,076 10,460,148,806

6,835,936,596 7,505,644,244

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

(Unit: Baht)

195


งบกำไรขาดทุน บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

สำหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

(หน่วย: บาท)

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

รายได้

196

หมายเหตุ

รายได้จากการเดินเรือ รายได้คา่ เช่าเรือ รายได้คา่ ระวางเรือ รวมรายได้จากการเดินเรือ รายได้จากการให้บริการ 8 กำไรจากการจำหน่ายเรือเดินทะเลและอุปกรณ์ รายได้อน่ื 24 เงินปันผลรับ 8 ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม ทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อย 11 รวมรายได้ ค่าใช้จา่ ย ต้นทุนการเดินเรือ ค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือ รายจ่ายท่าเรือ น้ำมันเชือ้ เพลิง รวมต้นทุนการเดินเรือ ค่าเสือ่ มราคา 13 ต้นทุนการให้บริการ ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร 8 ค่าใช้จา่ ยอืน่ 25 รวมค่าใช้จา่ ย กำไรก่อนดอกเบีย้ จ่ายและค่าใช้จา่ ยทางการเงิน และภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ดอกเบีย้ จ่ายและค่าใช้จา่ ยทางการเงิน กำไรก่อนภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล 27 กำไรหลังภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล กำไรสุทธิสว่ นทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยของบริษทั ย่อย กำไรสุทธิสำหรับปี กำไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐาน 29 กำไรสุทธิ จำนวนหุน้ สามัญถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนัก (หุน้ )

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550

2549

2550

2549

(ปรับปรุงใหม่)

6,969,502,482 318,867,103 7,288,369,585 8,974,530 1,558,219,821 143,347,024 -

6,893,812,838 2,162,490,197 9,056,303,035 20,207,808 845,730 153,525,225 -

- - - 154,750,779 1,537,369 40,090,635 4,453,244,722

- - - 92,656,259 685,730 6,427,262 2,465,215,567

34,126,828 9,033,037,788

19,875,074 9,250,756,872

- 4,649,623,505

2,564,984,818

1,758,125,442 54,026,838 60,213,076 1,872,365,356 1,824,575,209 29,494,469 381,576,200 421,884,427 4,529,895,661

2,120,077,863 340,215,729 489,688,978 2,949,982,570 2,093,430,137 31,658,084 278,123,001 31,814,057 5,385,007,849

- - - - 7,720,797 - 357,566,894 45,406,114 410,693,805

- - - - 6,052,827 - 256,071,167 35,453,320 297,577,314

4,503,142,127 (126,755,592) 4,376,386,535 (215,570,735) 4,160,815,800 (4,655,578) 4,156,160,222

3,865,749,023 (144,053,394) 3,721,695,629 - 3,721,695,629 (6,572,873) 3,715,122,756

4,238,929,700 (78,787,758) 4,160,141,942 - 4,160,141,942 - 4,160,141,942

2,267,407,504 (30,280,099) 2,237,127,405 2,237,127,405 2,237,127,405

4.01 1,037,259,517

3.62 1,026,209,683

4.01 1,037,259,517

2.18 1,026,209,683

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้


INCOME STATEMENTS PRECIOUS SHIPPING PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES

FOR THE YEARS ENDED 31 DECEMBER 2007 AND 2006

Consolidated financial statements

Separate financial statements

2007

2006

2007

2006

(Restated)

Revenues

Note

Vessel operating income Hire income 6,969,502,482 Freight income 318,867,103 Total vessel operating income 7,288,369,585 Service income 8 8,974,530 Gains on sales of vessels and equipment 1,558,219,821 Other income 24 143,347,024 Dividend received 8 - Share of income from investment in associate held by a subsidiary 11 34,126,828 Total revenues 9,033,037,788 Expenses Vessel operating costs Vessel running expenses 1,758,125,442 Voyage disbursements 54,026,838 Bunker consumption 60,213,076 Total vessel operating costs 1,872,365,356 Depreciation 13 1,824,575,209 Cost of services 29,494,469 Administrative expenses 8 381,576,200 Other expenses 25 421,884,427 Total expenses 4,529,895,661 Income before interest and financial costs and corporate income tax 4,503,142,127 Interest and financial costs (126,755,592) Income before corporate income tax 4,376,386,535 Corporate income tax 27 (215,570,735) Income after corporate income tax 4,160,815,800 Net income attributable to minority interest (4,655,578) Net income for the year 4,156,160,222 Basic earnings per share 29 Net income 4.01 Weighted average number of ordinary shares (shares) 1,037,259,517 The accompanying notes are an integral part of the financial statements.

6,893,812,838 2,162,490,197 9,056,303,035 20,207,808 845,730 153,525,225 -

- - - 154,750,779 1,537,369 40,090,635 4,453,244,722

- - - 92,656,259 685,730 6,427,262 2,465,215,567

19,875,074 9,250,756,872

- 4,649,623,505

2,564,984,818

2,120,077,863 340,215,729 489,688,978 2,949,982,570 2,093,430,137 31,658,084 278,123,001 31,814,057 5,385,007,849

- - - - 7,720,797 - 357,566,894 45,406,114 410,693,805

- - - - 6,052,827 - 256,071,167 35,453,320 297,577,314

3,865,749,023 (144,053,394) 3,721,695,629 - 3,721,695,629 (6,572,873) 3,715,122,756

4,238,929,700 (78,787,758) 4,160,141,942 - 4,160,141,942 - 4,160,141,942

2,267,407,504 (30,280,099) 2,237,127,405 2,237,127,405 2,237,127,405

3.62 1,026,209,683

4.01 1,037,259,517

2.18 1,026,209,683

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

(Unit: Baht)

197


198

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ของบริษทั ย่อย จัดสรรสำรองตามกฎหมาย ปรับปรุงสำรองหุน้ ทุนซือ้ คืน จำหน่ายหุน้ ทุนซือ้ คืน กำไรสุทธิสำหรับปี เงินสดปันผลจ่ายแก่ผถู้ อื หุน้ บริษทั ฯ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยของบริษทั ย่อย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ตัดจำหน่ายส่วนเกินทุนจากการตีราคา สินทรัพย์ของบริษทั ย่อยสำหรับปี จัดสรรสำรองตามกฎหมาย ปรับปรุงสำรองหุน้ ทุนซือ้ คืน จำหน่ายหุน้ ทุนซือ้ คืน กำไรสุทธิสำหรับปี หุน้ ปันผลจ่าย เงินสดปันผลจ่ายแก่ผถู้ อื หุน้ บริษทั ฯ เงินสดปันผลจ่ายแก่ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อย ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยของบริษทั ย่อย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

- - - (20,312,694) - - - - 20,313,507 - - - - - - 51,952,060 43,100,000 - (95,052,060) - - - - - - - - (414,918,176) - 414,918,176 - - 151,330,828 - - - - - 414,918,176 - - - - - - - - - 4,156,160,222 - 519,520,600 - - - - - - - (519,520,600) - - - - - - - - - (2,655,047,466) - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 1,039,520,600 411,429,745 172,445,812 123,965,882 86,324,046 103,952,060 467,720,000 - 11,646,881,980 -

20 21 22, 23 23 19 32

(813) - - - 566,249,004 - 4,156,160,222 - - (2,655,047,466) (4,427,031) (4,427,031) 4,655,578 4,655,578 12,691,179 14,064,931,304

5,771 144,284,347 - - - 57,077,524 - 3,715,122,756 - (1,796,046,847) 6,572,873 6,572,873 12,463,445 12,037,706,634 - (40,365,637)

5,884,801 9,945,704,769 - (35,008,788)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้

- 144,278,576 - - - - - - - - - - 25,610,000 - (25,610,000) - - - - - - (35,962,540) - 35,962,540 21,114,984 - - - - - 35,962,540 - - - - - - - 3,715,122,756 - - - - - - - (1,796,046,847) - - - - - - - - - 21,114,984 144,278,576 126,689,683 52,000,000 424,620,000 414,918,176 10,325,110,201 (414,918,176) - - (40,365,637) - - - - -

161,698,471 52,000,000 399,010,000 450,880,716 8,395,681,752 (450,880,716) (35,008,788) - - - - -

- - - - - - - - - - - - - - 520,000,000 411,429,745 - -

- -

20 21 22, 23 23 32

- -

520,000,000 411,429,745 - -

รวม

(หน่วย: บาท)

สำหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

ส่วนเกินทุน กำไรสะสม ส่วนของ ทุนเรือนหุ้น จากการตีราคา ผลต่างจาก จัดสรรแล้ว ผู้ถือหุ้น ที่ออก ส่วนเกินมูลค่า ส่วนเกินทุน สินทรัพย์ของ การแปลงค่า สำรองตามกฎหมาย สำรอง ยังไม่ ได้ ส่วนน้อยของ หมายเหตุ และชำระแล้ว หุ้นสามัญ หุ้นทุนซื้อคืน บริษัทย่อย งบการเงิน บริษัทฯ บริษัทย่อย หุ้นทุนซื้อคืน จัดสรร หุ้นทุนซื้อคืน บริษัทย่อย

งบการเงินรวม

บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)


199

Consolidated financial statements

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

- - - - - - - -

5,884,801 9,945,704,769 - (35,008,788) 5,771 144,284,347 - - - 57,077,524 - 3,715,122,756 - (1,796,046,847)

Total

- (20,312,694) - - - - 151,330,828 - - - - - - - - -

- 51,952,060 - - - - - -

- -

- 11,646,881,980

- -

- - 20,313,507 - 43,100,000 - (95,052,060) - - (414,918,176) - 414,918,176 - - 414,918,176 - - - 4,156,160,222 - - - (519,520,600) - - - (2,655,047,466) - - - - - - - - 86,324,046 103,952,060 467,720,000

- - - - - - - -

4,655,578 4,655,578 12,691,179 14,064,931,304

(813) - - - 566,249,004 - 4,156,160,222 - - (2,655,047,466) (4,427,031) (4,427,031)

- - - - - - - - 6,572,873 6,572,873 21,114,984 144,278,576 126,689,683 52,000,000 424,620,000 414,918,176 10,325,110,201 (414,918,176) 12,463,445 12,037,706,634 - - (40,365,637) - - - - - - (40,365,637)

- - 161,698,471 52,000,000 399,010,000 450,880,716 8,395,681,752 (450,880,716) - - (35,008,788) - - - - - - 144,278,576 - - - - - - - - - - 25,610,000 - (25,610,000) - - - - - - (35,962,540) - 35,962,540 21,114,984 - - - - - 35,962,540 - - - - - - - 3,715,122,756 - - - - - - - (1,796,046,847) -

- - - - 1,039,520,600 411,429,745 172,445,812 123,965,882

- - - - - 519,520,600 - -

- - 520,000,000 411,429,745 - -

20 21 22, 23 23 19 32

520,000,000 411,429,745 - - - - - - - - - - - - - -

20 21 22, 23 23 32

The accompanying notes are an integral part of the financial statements.

Balance as at 31 December 2005 Translation adjustment Revaluation surplus on assets of subsidiary Appropriated to statutory reserve Adjustment of treasury stock reserve Disposals of treasury stock Net income for the year Cash dividend paid to the Company’s shareholders Minority interest - equity attributable to minority shareholders of subsidiaries Balance as at 31 December 2006 Translation adjustment Amortisation of revaluation surplus on assets of subsidiary for the year Appropriated to statutory reserve Adjustment of treasury stock reserve Disposals of treasury stock Net income for the year Stock dividend paid Cash dividend paid to the Company’s shareholders Cash dividend paid to minority interest Minority interest - equity attributable to minority shareholders of subsidiaries Balance as at 31 December 2007

Minority interestequity attributable to minority shareholders of subsidiaries

(Unit: Baht)

FOR THE YEARS ENDED 31 DECEMBER 2007 AND 2006

Retained earnings Revaluation Appropriated Issued and surplus on paid-up Premium on Premium on assets Translation Statutory reserve Treasury Treasury Note share capital ordinary shares treasury stock of subsidiary adjustment The Company Subsidiaries stock reserve Unappropriated stock

PRECIOUS SHIPPING PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES

STATEMENTS OF CHANGES IN SHAREHOLDERS’ EQUITY


200 งบการเงินเฉพาะกิจการ

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 - ตามทีร่ ายงานไว้เดิม 520,000,000 ผลสะสมจากการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชี เกีย่ วกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษทั ย่อย 4 - ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 - หลังการปรับปรุง 520,000,000 ปรับปรุงสำรองหุน้ ทุนซือ้ คืน 22, 23 - จำหน่ายหุน้ ทุนซือ้ คืน 23 - กำไรสุทธิสำหรับปี (ปรับปรุงใหม่) - เงินสดปันผลจ่ายแก่ผถู้ อื หุน้ บริษทั ฯ 32 - ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 - หลังการปรับปรุง 520,000,000 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 - ตามทีร่ ายงานไว้เดิม 520,000,000 ผลสะสมจากการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชี เกีย่ วกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษทั ย่อย 4 - ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 - หลังการปรับปรุง 520,000,000 จัดสรรสำรองตามกฎหมาย 21 ปรับปรุงสำรองหุน้ ทุนซือ้ คืน 22, 23 - จำหน่ายหุน้ ทุนซือ้ คืน 23 - กำไรสุทธิสำหรับปี - หุน้ ปันผลจ่าย 19 519,520,600 เงินสดปันผลจ่ายแก่ผถู้ อื หุน้ บริษทั ฯ 32 - 1,039,520,600 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 21,114,984 144,278,576 126,689,683

411,429,745

411,429,745 21,114,984 - - - 151,330,828 - - - - - - 411,429,745 172,445,812

-

21,114,984

411,429,745

-

- - 21,114,984 - - -

- - - - -

- - - - - - -

- - - - - - -

(144,278,576) (126,689,683)

-

- - - - -

(161,698,471)

411,429,745 - - - -

-

-

-

161,698,471

-

411,429,745

-

ยังไม่ ได้จัดสรร หุ้นทุนซื้อคืน

รวม

(หน่วย: บาท)

สำหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

-

(3,440,342,983)

-

(3,602,041,454)

-

(4,918,338,334)

-

(5,189,306,593)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้

52,000,000 414,918,176 5,831,391,867 (414,918,176) 6,835,936,596 51,952,060 - (51,952,060) - - (414,918,176) - 414,918,176 - - 414,918,176 - 566,249,004 - - 4,160,141,942 - 4,160,141,942 - - (519,520,600) - - - (2,655,047,466) - (2,655,047,466) 103,952,060 - 7,179,931,859 - 8,907,280,076

-

52,000,000 414,918,176 10,749,730,201 (414,918,176) 12,025,243,189

52,000,000 414,918,176 5,831,391,867 (414,918,176) 6,835,936,596

52,000,000 450,880,716 5,354,348,769 (450,880,716) 6,337,778,514 - (35,962,540) - 35,962,540 - - 35,962,540 - 57,077,524 - - 2,237,127,405 - 2,237,127,405 - - (1,796,046,847) - (1,796,046,847)

-

52,000,000 450,880,716 8,794,691,752 (450,880,716) 9,939,819,968

ส่วนเกินทุน กำไรสะสม ทุนเรือนหุ้น จากการตีราคา ผลต่างจาก จัดสรรแล้ว ที่ออก ส่วนเกินมูลค่า ส่วนเกินทุน สินทรัพย์ของ การแปลงค่า สำรองตาม สำรองหุ้น หมายเหตุ และชำระแล้ว หุ้นสามัญ หุ้นทุนซื้อคืน บริษัทย่อย งบการเงิน กฎหมาย ทุนซื้อคืน

บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ (ต่อ)

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)


201

Separate financial statements

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

- (3,440,342,983) - (3,602,041,454) 450,880,716 5,354,348,769 (450,880,716) 6,337,778,514 (35,962,540) - 35,962,540 - 35,962,540 - 57,077,524 - 2,237,127,405 - 2,237,127,405 - (1,796,046,847) - (1,796,046,847) 414,918,176 5,831,391,867 (414,918,176) 6,835,936,596 414,918,176 10,749,730,201 (414,918,176) 12,025,243,189

- (144,278,576) (126,689,683) - - (4,918,338,334) - (5,189,306,593) 21,114,984 - - 52,000,000 414,918,176 5,831,391,867 (414,918,176) 6,835,936,596 - - - 51,952,060 - (51,952,060) - - - - - (414,918,176) - 414,918,176 151,330,828 - - - - 414,918,176 - 566,249,004 - - - - - 4,160,141,942 - 4,160,141,942 - - - - - (519,520,600) - - - - - - (2,655,047,466) - (2,655,047,466) 172,445,812 - - 103,952,060 - 7,179,931,859 - 8,907,280,076

- 52,000,000 - - - - 52,000,000 52,000,000

450,880,716 8,794,691,752 (450,880,716) 9,939,819,968

- 411,429,745 - - - - - - 411,429,745

- (161,698,471) - - - - - - - - - - - - 144,278,576 126,689,683

52,000,000

- - - 21,114,984 - - 21,114,984 21,114,984

161,698,471

- 411,429,745 - - - - 411,429,745 411,429,745

-

- 520,000,000 - - - - 520,000,000 520,000,000 - 520,000,000 - - - - 519,520,600 - 1,039,520,600

-

411,429,745

Total

520,000,000

The accompanying notes are an integral part of the financial statements.

Balance as at 31 December 2005-as previously reported Cumulative effect of the change in accounting policy for investments in subsidiaries 4 Balance as at 31 December 2005-as restated Adjustment of treasury stock reserve 22, 23 Disposals of treasury stock 23 Net income for the year (restated) Cash dividend paid to the Company’s shareholders 32 Balance as at 31 December 2006-as restated Balance as at 31 December 2006-as previously reported Cumulative effect of the change in accounting policy for investments in subsidiaries 4 Balance as at 31 December 2006-as restated Appropriated to statutory reserve 21 Adjustment of treasury stock reserve 22, 23 Disposals of treasury stock 23 Net income for the year Stock dividend paid 19 Cash dividend paid to the Company’s shareholders 32 Balance as at 31 December 2007

Treasury stock

(Unit: Baht)

FOR THE YEARS ENDED 31 DECEMBER 2007 AND 2006

Revaluation Retained earnings Issued and Premium surplus on Appropriated paid-up on ordinary Premium on assets Translation Un- Statutory Treasury Note share capital shares treasury stock of subsidiary adjustment reserve stock reserve appropriated

PRECIOUS SHIPPING PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES

STATEMENTS OF CHANGES IN SHAREHOLDERS’ EQUITY (Continued)


งบกระแสเงินสด บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

สำหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550

2549

2550

2549

(ปรับปรุงใหม่)

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน

202

กำไรสุทธิสำหรับปี ปรับกระทบกำไรสุทธิเป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำเนินงาน ค่าเสือ่ มราคา หนีส้ ญ ู และค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ ขาดทุน (กำไร) จากอัตราแลกเปลีย่ นทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริง ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม ทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อย ค่าตัดจำหน่ายส่วนต่ำกว่ามูลค่าเงินลงทุนในตราสารหนี ้ กำไรจากการจำหน่ายเรือเดินทะเลและอุปกรณ์ ประมาณการค่าความเสียหายจากการเดินเรือทะเล กำไรสุทธิสว่ นทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยของบริษทั ย่อย กำไรจากการดำเนินงานก่อนการเปลีย่ นแปลง ในสินทรัพย์และหนีส้ นิ ดำเนินงาน สินทรัพย์ดำเนินงาน (เพิม่ ขึน้ ) ลดลง ลูกหนีก้ ารค้า ลูกหนีแ้ ละเงินทดรองจ่ายแก่บริษทั ย่อย น้ำมันเชือ้ เพลิง สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ หนีส้ นิ ดำเนินงานเพิม่ ขึน้ (ลดลง) เจ้าหนีก้ ารค้า เจ้าหนีแ้ ละเงินทดรองจ่ายจากบริษทั ย่อย รายได้รบั ล่วงหน้า หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ หนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงาน

4,156,160,222

3,715,122,756

4,160,141,942

2,237,127,405

1,824,575,209 4,747,387 3,764,015

2,093,430,137 31,814,057 7,240,836

7,720,797 1,550 (5,637)

6,052,827 - 25,161

(34,126,828) (3,665,798) (1,558,219,821) 68,951,739 4,655,578

(19,875,074) - (845,730) - 6,572,873

- (3,665,798) (1,537,369) - -

(685,730) - -

4,466,841,703

5,833,459,855

4,162,655,485

2,242,519,663

57,295,687 - (23,831,394) (62,086,298) (2,594,747)

35,328,762 - 19,819,364 (11,225,833) 30,124

- 759,375,925 - (11,881,975) (2,733,448)

- (8,578,338) 2,783,960 (5,999)

(16,072,956) - (4,242,322) 248,926,278 95,947,000 4,760,182,951

(34,699,069) - 53,616,603 227,956 - 5,896,557,762

856,994 781,300,044 - 12,411,147 88,598,533 5,790,582,705

(4,704,439) (509,808,276) 69,036,605 1,791,243,176

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้


CASH FLOW STATEMENTS PRECIOUS SHIPPING PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES

FOR THE YEARS ENDED 31 DECEMBER 2007 AND 2006

(Unit: Baht)

Consolidated financial statements

Separate financial statements

2007

2006

2007

2006

(Restated)

Net income for the year 4,156,160,222 Adjustments to reconcile net income to net cash provided by (paid from) operating activities Depreciation 1,824,575,209 Bad debt and allowance for doubtful accounts 4,747,387 Unrealised exchange losses (gains) 3,764,015 Share of income from investment in associate held by a subsidiary (34,126,828) Amortisation of discount on investments in debt securities (3,665,798) Gain on sales of vessels and equipment (1,558,219,821) Provisions for maritime claims 68,951,739 Net income attributable to minority interest 4,655,578 Income from operating activities before changes in operating assets and liabilities 4,466,841,703 Operating assets (increase) decrease Trade accounts receivable 57,295,687 Receivable from and advances to subsidiaries - Bunker oil (23,831,394) Other current assets (62,086,298) Other non-current assets (2,594,747) Operating liabilities increase (decrease) Trade accounts payable (16,072,956) Payable to and advances from subsidiaries - Advances received from charterers (4,242,322) Other current liabilities 248,926,278 Non-current liabilities 95,947,000 Net cash flows from operating activities 4,760,182,951 The accompanying notes are an integral part of the financial statements.

3,715,122,756

4,160,141,942

2,237,127,405

2,093,430,137 31,814,057 7,240,836

7,720,797 1,550 (5,637)

6,052,827 - 25,161

(19,875,074) - (845,730) - 6,572,873

- (3,665,798) (1,537,369) - -

(685,730) - -

5,833,459,855

4,162,655,485

2,242,519,663

35,328,762 - 19,819,364 (11,225,833) 30,124

- 759,375,925 - (11,881,975) (2,733,448)

- (8,578,338) 2,783,960 (5,999)

(34,699,069) - 53,616,603 227,956 - 5,896,557,762

856,994 781,300,044 - 12,411,147 88,598,533 5,790,582,705

(4,704,439) (509,808,276) - 69,036,605 1,791,243,176

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Cash flows from operating activities

203


งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

สำหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550

2549

2550

2549

(ปรับปรุงใหม่)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน ซือ้ เงินลงทุนชัว่ คราว

(1,988,563,709)

-

(1,988,563,709)

-

เงินสดรับจากการจำหน่ายเงินลงทุนชัว่ คราว

1,992,229,507

-

1,992,229,507

-

เงินปันผลรับจากบริษทั ร่วมทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อย

12,806,153

16,813,948 (476,271,007)

-

-

ซือ้ อุปกรณ์และจ่ายค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซม และสำรวจเรือ

(791,422,964)

จ่ายเงินล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือ

(3,239,190,687)

-

เงินสดรับจากการจำหน่ายเรือเดินทะเลและอุปกรณ์

1,890,515,572

866,920

(16,001,893) (3,239,190,687) 1,537,383

-

(35)

(12,433,837) 706,920

ลงทุนในบริษทั ย่อย

-

ซือ้ เงินลงทุนระยะยาวอืน่

-

(10,130,430)

-

เงินรับล่วงหน้าค่าขายเรือเดินทะเล

-

160,060,832

-

เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน

(2,123,626,128)

(308,659,737)

ค่าธรรมเนียมทางการเงินรอตัดจ่าย

(298,101,974)

เงินสดจ่ายคืนเงินกูย้ มื ระยะยาว

เงินสดรับจากการจำหน่ายหุน้ ทุนซือ้ คืน

566,249,004

57,077,524

566,249,004

57,077,524

เงินสดปันผลจ่ายแก่ผถู้ อื หุน้ บริษทั ฯ

(2,655,047,466)

(1,796,046,847)

(2,655,047,466)

(1,796,046,847)

เงินสดปันผลจ่ายแก่ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อย

(4,427,031)

เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน

(2,391,327,467)

(5,032,937,322)

ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินลดลง

(33,559,677)

(35,008,788)

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิม่ ขึน้ สุทธิ

211,669,679

519,951,915

153,692,835

30,416,506

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี

1,258,574,577

738,622,662

41,282,018

10,865,512

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี

1,470,244,256

1,258,574,577

194,974,853

41,282,018

(3,249,989,434)

(10,130,430) (21,857,347)

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน

204

-

- (3,293,967,999)

-

(298,101,974) -

- (2,386,900,436) -

-

(1,738,969,323) -

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้


CASH FLOW STATEMENTS (Continued) PRECIOUS SHIPPING PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES

FOR THE YEARS ENDED 31 DECEMBER 2007 AND 2006

(Unit: Baht)

Consolidated financial statements

Separate financial statements

2007

2006

2007

2006

(Restated)

Cash flows from investing activities

Acquisitions of current investments

(1,988,563,709)

-

(1,988,563,709)

-

Proceeds from sales of current investments

1,992,229,507

-

1,992,229,507

-

12,806,153

16,813,948

dry-dock and special survey expenses

(791,422,964)

(476,271,007)

Advances for vessel construction

(3,239,190,687)

-

Proceeds from sales of vessels and equipment

1,890,515,572

866,920

Dividend received from associate held by a subsidiary

-

-

Acquisitions of equipment and payment of (16,001,893) (3,239,190,687) 1,537,383

Investment in subsidiary

-

Purchase of other long-term investment

-

(10,130,430)

-

Advances received from vessel sales

-

160,060,832

-

Net cash flows used in investing activities

(2,123,626,128)

-

(308,659,737)

(35)

(3,249,989,434)

(12,433,837) 706,920 (10,130,430) (21,857,347)

Cash flows from financing activities

Cash paid for long-term loans

(298,101,974) -

- (3,293,967,999)

(298,101,974) -

- -

Cash received from disposals of treasury stock

566,249,004

57,077,524

566,249,004

57,077,524

Cash dividend paid to the Company’s shareholders

(2,655,047,466)

(1,796,046,847)

(2,655,047,466)

(1,796,046,847)

Cash dividend paid to minority interest

(4,427,031)

-

Net cash flows used in financing activities

(2,391,327,467)

(5,032,937,322)

-

-

(2,386,900,436) (1,738,969,323)

Decrease in translation adjustment

(33,559,677)

(35,008,788)

Net increase in cash and cash equivalents

211,669,679

519,951,915

153,692,835

30,416,506

Cash and cash equivalents at beginning of year

1,258,574,577

738,622,662

41,282,018

10,865,512

Cash and cash equivalents at end of year

1,470,244,256

1,258,574,577

194,974,853

41,282,018

The accompanying notes are an integral part of the financial statements.

-

-

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Deferred financial fees

205


งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

สำหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550

2549

2550

2549

(ปรับปรุงใหม่)

ดอกเบีย้ จ่าย

-

-

-

ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล

ข้อมูลเพิม่ เติมประกอบงบกระแสเงินสด เงินสดจ่ายระหว่างปีสำหรับ 112,447,053

7,085,741

3,381,315

4,978,483

2,820,745

4,453,244,722

2,465,215,567

รายการทีม่ ใิ ช่เงินสด เงินปันผลรับจากบริษทั ย่อยโดยหักกลบลบหนีก้ บั ลูกหนี/้ เจ้าหนีบ้ ริษทั ย่อย

-

-

หักกลบลบหนีก้ บั ลูกหนี/้ เจ้าหนีบ้ ริษทั ย่อย

-

-

จ่ายคืนเงินกูย้ มื ด้อยสิทธิจากบริษทั ย่อยโดย -

662,818,000

ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ของบริษทั ย่อย ตามสัดส่วนทีบ่ ริษทั ฯถือหุน้

-

144,278,576

-

-

-

5,771

-

-

ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ของบริษทั ย่อย ตามสัดส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย

หุน้ ปันผลจ่าย

519,520,600

-

519,520,600

-

20,312,694

-

-

-

813

-

-

-

ตัดจำหน่ายส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ของบริษทั ย่อยตามสัดส่วนทีบ่ ริษทั ฯถือหุน้ ตัดจำหน่ายส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ของบริษทั ย่อยตามสัดส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

206

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้


CASH FLOW STATEMENTS (Continued) PRECIOUS SHIPPING PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES

FOR THE YEARS ENDED 31 DECEMBER 2007 AND 2006

(Unit: Baht)

Consolidated financial statements

Separate financial statements

2007

2006

2007

2006

(Restated)

Interest expense

-

-

-

Corporate income tax

Supplemental cash flows information Cash paid during the year for 112,447,053

7,085,741

3,381,315

4,978,483

2,820,745

4,453,244,722

2,465,215,567

Non-cash transactions Dividend income from subsidiaries offset against receivable from/payable to subsidiaries

-

-

-

-

Repayment of subordinated loans from subsidiaries offset against receivable from/payable to subsidiaries

-

662,818,000

Revaluation surplus on assets of subsidiary - the Company’s interest

-

144,278,576

-

-

-

5,771

-

-

Revaluation surplus on assets of subsidiary - minority interest

Stock dividend paid

519,520,600

-

519,520,600

-

20,312,694

-

-

-

813

-

-

-

Amortisation of revaluation surplus on assets of subsidiary - the Company’s interest

subsidiary - minority interest

The accompanying notes are an integral part of the financial statements.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Amortisation of revaluation surplus on assets of

207


หมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

สำหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

1. ข้อมูลทั่วไป

บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) จัดตั้งขึ้นเป็นบริษัทมหาชนและมีภูมิลำเนาในประเทศไทย บริษัทฯ ดำเนินธุรกิจหลักเป็นบริษทั โฮลดิง้ คัมพานี เพือ่ ลงทุนในธุรกิจด้านการขนส่งสินค้าทางทะเล โดยมีทอ่ี ยูต่ ามทีจ่ ดทะเบียนตัง้ อยูเ่ ลขที่ 8 อาคารคาเธ่ยเ์ ฮ้าส์ ชัน้ 7 ถนนสาทรเหนือ สีลม บางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

2. เกณฑ์ ในการจัดทำงบการเงิน

2.1 งบการเงินนี้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กำหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และการแสดง รายการในงบการเงินได้ทำขึ้นเพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 14 กันยายน 2544 ออกตาม ความในพระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินนีไ้ ด้จดั ทำขึน้ โดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอืน่ ในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนี้ได้จัดทำขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ดังต่อไปนี ้

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

อัตราร้อยละ ของการถือหุ้น จัดตั้ง โดยบริษทั ฯ ขึ้นใน ทั้งทางตรง ชื่อบริษัท ลักษณะธุรกิจ ประเทศ และทางอ้อม 2550 2549 ร้อยละ ร้อยละ

208

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13.

บริษทั ย่อยทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ฯ บริษทั พรีเชียส เม็ททัลซ์ จำกัด บริษทั พรีเชียส วิชเชส จำกัด บริษทั พรีเชียส สโตนส์ ชิปปิง้ จำกัด บริษทั พรีเชียส มิเนอรัลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส แลนด์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ริเวอร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส เลคส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ซีส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส สตาร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส โอเชียนส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส แพลนเนตส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ไดมอนด์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส แซฟไฟร์ส จำกัด

เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือ

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99

ร้อยละของ สินทรัพย์ที่รวม อยู่ ในสินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 2549 ร้อยละ ร้อยละ

1.54 1.50 4.25 3.74 0.65 3.67 0.92 1.43 1.34 0.94 1.89 3.36 2.41

2.18 2.84 5.27 4.74 0.97 5.39 1.35 1.95 1.79 1.33 1.92 4.73 3.05

ร้อยละของรายได้ ที่รวมอยู่ ในรายได้ รวมสำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2550 2549 ร้อยละ ร้อยละ

3.51 4.23 2.04 3.57 2.29 3.60 1.47 1.58 1.84 1.84 4.62 3.31 1.86

3.75 3.92 2.44 3.47 1.96 4.10 1.61 1.73 1.87 2.08 3.89 4.03 1.98


NOTES TO FINANCIAL STATEMENTS PRECIOUS SHIPPING PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES

FOR THE YEARS ENDED 31 DECEMBER 2007 AND 2006

1. GENERAL INFORMATION

Precious Shipping Public Company Limited (“The Company”) is a public limited company incorporated and domiciled in Thailand. The Company is principally engaged as a holding company for investment in the marine transportation business and its registered address is Cathay House, 7th Floor, 8 North Sathorn Road, Silom, Bangrak, Bangkok 10500. 2. BASIS OF PREPARATION

2.1 The financial statements have been prepared in accordance with accounting standards enunciated under the Accounting Profession Act B.E. 2547. The presentation of the financial statements has been made in compliance with the stipulations of the Notification of the Department of Business Development dated 14 September 2001, issued under the Accounting Act B.E. 2543. The financial statements have been prepared on a historical cost basis except where otherwise disclosed in the accounting policies. 2.2 Basis of consolidation a) The consolidated financial statements include the financial statements of Precious Shipping Public Company Limited and the following subsidiaries: Revenues as a Assets as a percentage to Country Percentage percentage to the consolidated of directly and the consolidated total revenues Nature of incor- indirectly owned total assets as at for the years Company’s name business poration by the Company 31 December ended 31 December

Subsidiaries held by the Company 1. Precious Metals Limited 2. Precious Wishes Limited 3. Precious Stones Shipping Limited 4. Precious Minerals Limited 5. Precious Lands Limited 6. Precious Rivers Limited 7. Precious Lakes Limited 8. Precious Seas Limited 9. Precious Stars Limited 10. Precious Oceans Limited 11. Precious Planets Limited 12. Precious Diamonds Limited 13. Precious Sapphires Limited

Shipowner Shipowner Shipowner Shipowner Shipowner Shipowner Shipowner Shipowner Shipowner Shipowner Shipowner Shipowner Shipowner

Thailand Thailand Thailand Thailand Thailand Thailand Thailand Thailand Thailand Thailand Thailand Thailand Thailand

2007 2006 2007 2006 2007 2006 Percent Percent Percent Percent Percent Percent

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99

1.54 1.50 4.25 3.74 0.65 3.67 0.92 1.43 1.34 0.94 1.89 3.36 2.41

2.18 2.84 5.27 4.74 0.97 5.39 1.35 1.95 1.79 1.33 1.92 4.73 3.05

3.51 4.23 2.04 3.57 2.29 3.60 1.47 1.58 1.84 1.84 4.62 3.31 1.86

3.75 3.92 2.44 3.47 1.96 4.10 1.61 1.73 1.87 2.08 3.89 4.03 1.98

Revenues as a

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

209


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

อัตราร้อยละ ของการถือหุ้น จัดตั้ง โดยบริษทั ฯ ขึ้นใน ทั้งทางตรง ชื่อบริษัท ลักษณะธุรกิจ ประเทศ และทางอ้อม 2550 2549 ร้อยละ ร้อยละ

210

14. บริษทั พรีเชียส เอ็มเมอรัลส์ จำกัด 15. บริษทั พรีเชียส รูบสี ์ จำกัด 16. บริษทั พรีเชียส โอปอลส์ จำกัด 17. บริษทั พรีเชียส การ์เน็ตส์ จำกัด 18. บริษทั พรีเชียส เพิรล์ ส์ จำกัด 19. บริษทั พรีเชียส ฟลาวเวอร์ส จำกัด 20. บริษทั พรีเชียส ฟอเรสท์ จำกัด 21. บริษทั พรีเชียส ทรีส์ จำกัด 22. บริษทั พรีเชียส พอนด์ส จำกัด 23. บริษทั พรีเชียส เว็นเจอร์ส จำกัด 24. บริษทั พรีเชียส แคปปิตอลส์ จำกัด 25. บริษทั พรีเชียส จัสมินส์ จำกัด 26. บริษทั พรีเชียส ออคิดส์ จำกัด 27. บริษทั พรีเชียส ลากูนส์ จำกัด 28. บริษทั พรีเชียส คลิฟส์ จำกัด 29. บริษทั พรีเชียส ฮิลส์ จำกัด 30. บริษทั พรีเชียส เมาน์เท่นส์ จำกัด 31. บริษทั พรีเชียส รีสอร์ทส์ จำกัด 32. บริษทั พรีเชียส ซิตส้ี ์ จำกัด 33. บริษทั พรีเชียส คอมเม็ทส์ จำกัด 34. บริษทั พรีเชียส ออนาเม้นท์ส จำกัด 35. บริษทั เนดเท็กซ์ จำกัด 36. บริษทั พรีเชียส สตอเรจ เทอมินลั ส์ จำกัด 37. บริษทั เทบส์ พีทอี ี ลิมเิ ตด 38. บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (ปานามา) เอส เอ 39. บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (เมอริเชียส) ลิมเิ ตด 40. บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (สิงคโปร์) พีทอี ี ลิมเิ ตด 41. บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (ยูเค) ลิมเิ ตด

เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย เจ้าของเรือ ไทย คลังเก็บสินค้า ไทย ลอยน้ำ* คลังเก็บสินค้า ไทย ลอยน้ำ* ผูบ้ ริหาร สิงคโปร์ การลงทุน* เจ้าของเรือ/ ปานามา ให้บริการเช่าเรือ โฮลดิง้ คัมพานี* เมอริเชียส โฮลดิง้ คัมพานี/ สิงคโปร์ ให้บริการเช่าเรือ ให้บริการเช่าเรือ อังกฤษ

ร้อยละของ สินทรัพย์ที่รวม อยู่ ในสินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 2549 ร้อยละ ร้อยละ

ร้อยละของรายได้ ที่รวมอยู่ ในรายได้ รวมสำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2550 2549 ร้อยละ ร้อยละ

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 69.99

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 69.99

7.15 0.64 0.50 6.15 0.53 0.83 0.91 0.81 1.13 0.70 1.40 0.87 5.06 1.57 1.64 1.85 1.95 2.26 2.67 0.66 0.64 -

8.88 0.95 0.54 8.41 1.54 1.90 1.76 1.76 2.19 1.01 2.28 1.07 5.18 1.97 1.93 2.25 2.30 2.72 3.32 0.97 0.83 -

4.18 2.51 2.25 4.62 3.79 5.21 3.75 4.85 2.95 3.85 3.92 4.10 3.68 1.32 1.36 1.25 1.42 1.36 1.81 1.29 2.04 -

5.47 1.92 2.10 5.45 4.17 3.57 3.87 3.53 3.04 3.27 3.33 3.56 4.30 1.52 1.62 1.74 1.65 1.45 2.37 1.89 1.85 -

69.99

69.99

-

-

-

-

100.00 100.00

-

-

-

-

99.99

1.89

0.18

0.20

(0.07)

100.00 100.00 100.00 100.00

- 2.29

0.11 3.52

- 0.19

- 0.06

99.99

0.01

0.83

0.04

0.05

99.99

99.99


Revenues as a Assets as a percentage to Country Percentage percentage to the consolidated of directly and the consolidated total revenues Nature of incor- indirectly owned total assets as at for the years Company’s name business poration by the Company 31 December ended 31 December

14. Precious Emeralds Limited 15. Precious Rubies Limited 16. Precious Opals Limited 17. Precious Garnets Limited 18. Precious Pearls Limited 19. Precious Flowers Limited 20. Precious Forests Limited 21. Precious Trees Limited 22. Precious Ponds Limited 23. Precious Ventures Limited 24. Precious Capitals Limited 25. Precious Jasmines Limited 26. Precious Orchids Limited 27. Precious Lagoons Limited 28. Precious Cliffs Limited 29. Precious Hills Limited 30. Precious Mountains Limited 31. Precious Resorts Limited 32. Precious Cities Limited 33. Precious Comets Limited 34. Precious Ornaments Limited 35. Nedtex Limited 36. Precious Storage Terminals Limited 37. Thebes Pte. Limited 38. Precious Shipping (Panama) S.A. 39. Precious Shipping (Mauritius) Limited

40. Precious Shipping (Singapore) Pte. Limited 41. Precious Shipping (UK) Limited

2007 2006 2007 2006 2007 2006 Percent Percent Percent Percent Percent Percent

Shipowner Thailand 99.99 Shipowner Thailand 99.99 Shipowner Thailand 99.99 Shipowner Thailand 99.99 Shipowner Thailand 99.99 Shipowner Thailand 99.99 Shipowner Thailand 99.99 Shipowner Thailand 99.99 Shipowner Thailand 99.99 Shipowner Thailand 99.99 Shipowner Thailand 99.99 Shipowner Thailand 99.99 Shipowner Thailand 99.99 Shipowner Thailand 99.99 Shipowner Thailand 99.99 Shipowner Thailand 99.99 Shipowner Thailand 99.99 Shipowner Thailand 99.99 Shipowner Thailand 99.99 Shipowner Thailand 99.99 Shipowner Thailand 99.99 Bulk storage Thailand 69.99 barges* Bulk storage Thailand 69.99 barges* Investment Singapore 100.00 holding company* Shipowner/ Panama 99.99 Chartering Holding Mauritius 100.00 company* Holding Singapore 100.00 company/ Chartering Chartering England 99.99

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 69.99

7.15 0.64 0.50 6.15 0.53 0.83 0.91 0.81 1.13 0.70 1.40 0.87 5.06 1.57 1.64 1.85 1.95 2.26 2.67 0.66 0.64 -

8.88 0.95 0.54 8.41 1.54 1.90 1.76 1.76 2.19 1.01 2.28 1.07 5.18 1.97 1.93 2.25 2.30 2.72 3.32 0.97 0.83 -

4.18 2.51 2.25 4.62 3.79 5.21 3.75 4.85 2.95 3.85 3.92 4.10 3.68 1.32 1.36 1.25 1.42 1.36 1.81 1.29 2.04 -

5.47 1.92 2.10 5.45 4.17 3.57 3.87 3.53 3.04 3.27 3.33 3.56 4.30 1.52 1.62 1.74 1.65 1.45 2.37 1.89 1.85 -

69.99

-

-

-

-

100.00

-

-

-

-

99.99

1.89

0.18

0.20

(0.07)

100.00

-

0.11

-

-

100.00

2.29

3.52

0.19

0.06

99.99

0.01

0.83

0.04

0.05

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

211


อัตราร้อยละ ของการถือหุ้น จัดตั้ง โดยบริษทั ฯ ขึ้นใน ทั้งทางตรง ชื่อบริษัท ลักษณะธุรกิจ ประเทศ และทางอ้อม 2550 2549 ร้อยละ ร้อยละ

ร้อยละของ สินทรัพย์ที่รวม อยู่ ในสินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 2549 ร้อยละ ร้อยละ

42. บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด ผูบ้ ริหารเรือ ไทย 99.99 99.99 1.33 1.81 ทางด้านเทคนิค 43. บริษทั พรีเชียส โปรเจคส์ พีทอี ี ลิมเิ ตด ผูบ้ ริหาร สิงคโปร์ 100.00 - - - การลงทุน บริษทั ย่อยทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อย สิงคโปร์ 100.00 100.00 - - 44. บริษทั แรพพิด พอร์ท ลิสซิง่ พีทอี ี ลิมเิ ตด โฮลดิง้ คัมพานี* เมอริเชียส 100.00 100.00 - - 45. บริษทั พีเอสแอล บัลค์ เทอร์มเิ นอร์ ลิมเิ ตด โฮลดิง้ คัมพานี* เมอริเชียส 100.00 100.00 - - 46. บริษทั พีเอสแอล อินเวสท์เมนท์ ลิมเิ ตด โฮลดิง้ คัมพานี* 47. บริษทั อินเตอร์เนชัน่ แนล ไลเทอร์เรจ ลิมเิ ตด โฮลดิง้ เมอริเชียส 100.00 100.00 0.92 0.89 คัมพานี 48. บริษทั พีเอสแอล ทุน ชิพปิง้ พีทอี ี ลิมเิ ตด ให้บริการเช่าเรือ สิงคโปร์ 64.06 64.06 0.43 0.36 49. บริษทั เรจิดอร์ พีทอี ี ลิมเิ ตด โฮลดิง้ สิงคโปร์ 100.00 100.00 - - คัมพานี*

ร้อยละของรายได้ ที่รวมอยู่ ในรายได้ รวมสำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2550 2549 ร้อยละ ร้อยละ

0.10

0.22

-

-

-

-

-

-

-

-

0.38

0.21

1.38 -

1.34 -

*ปัจจุบนั ได้หยุดดำเนินธุรกิจแล้ว

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

212

ข) งบการเงินของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมซึง่ จัดตัง้ ในต่างประเทศได้แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันที่ในงบดุลสำหรับรายการสินทรัพย์และหนี้สิน และใช้อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยรายเดือนสำหรับรายการที่เป็น รายได้และค่าใช้จา่ ย ผลต่างซึง่ เกิดขึน้ จากการแปลงค่าดังกล่าวได้แสดงไว้เป็นรายการ “ผลต่างจากการแปลงค่า งบการเงิน” ในส่วนของผูถ้ อื หุน้ ค) ยอดคงค้างระหว่างบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย รายการค้าระหว่างกันทีม่ สี าระสำคัญและเงินลงทุนในบริษทั ย่อยของ บริษทั ฯ และส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ย่อยได้ตดั ออกจากงบการเงินรวมนีแ้ ล้ว 2.3 บริษทั ฯ ได้จดั ทำงบการเงินเฉพาะกิจการเพือ่ ประโยชน์ตอ่ สาธารณะ ซึง่ แสดงเงินลงทุนในบริษทั ย่อยตามวิธรี าคาทุน

3. การประกาศใช้มาตรฐานการบัญชี ใหม่

สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 9/2550 ฉบับที่ 38/2550 และฉบับที่ 62/2550 เกีย่ วกับมาตรฐาน การบัญชี โดยให้ใช้มาตรฐานการบัญชีใหม่ดงั ต่อไปนี ้


Revenues as a Assets as a percentage to Country Percentage percentage to the consolidated of directly and the consolidated total revenues Nature of incor- indirectly owned total assets as at for the years Company’s name business poration by the Company 31 December ended 31 December

2007 2006 2007 2006 2007 2006 Percent Percent Percent Percent Percent Percent

42. Great Circle Shipping Agency Limited Technical Thailand 99.99 99.99 1.33 1.81 0.10 manager of ships 43. Precious Projects Pte. Limited Investment Singapore 100.00 - - - - holding company Subsidiaries held by subsidiaries 44. Rapid Port Leasing Company Pte. Limited Holding Singapore 100.00 100.00 - - - company* 45. PSL Bulk Terminal Company Limited Holding Mauritius 100.00 100.00 - - - company* 46. PSL Investments Limited Holding Mauritius 100.00 100.00 - - - company* 47. International Lighterage Limited Holding Mauritius 100.00 100.00 0.92 0.89 0.38 company 48. PSL Thun Shipping Pte. Limited Chartering Singapore 64.06 64.06 0.43 0.36 1.38 49. Regidor Pte. Limited Holding Singapore 100.00 100.00 - - - company*

0.22 - - - - 0.21 1.34 -

*Currently suspended their businesses

b) The financial statements of overseas subsidiary and associated companies are translated into Thai Baht at the closing exchange rate in respect of assets and liabilities, and at monthly average exchange rates in respect of revenues and expenses. The resultant differences have been shown under the caption of “Translation adjustment” in shareholders’ equity. c) Material balances and transactions between the Company and subsidiaries, and investments in subsidiaries by the Company and shareholders’ equity of the subsidiaries have been eliminated from the consolidated financial statements. 2.3 The separate financial statements, which present investments in subsidiaries presented under the cost method, have been prepared solely for the benefit of the public. 3. ADOPTION OF NEW ACCOUNTING STANDARDS

The Federation of Accounting Professions (FAP) has issued Notifications No. 9/2550, 38/2550 and 62/2550 regarding Accounting Standards. The notifications mandate the use of the following new Accounting Standards.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

213


ก)

มาตรฐานการบัญชีทม่ี ผ ี ลบังคับใช้ ในปีปจั จุบนั

ข)

มาตรฐานการบัญชีทย่ี งั ไม่มผ ี ลบังคับใช้ ในปีปจั จุบนั

ฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ฉบับที่ 45 (ปรับปรุง 2550) เงินลงทุนในบริษทั ร่วม ฉบับที่ 46 (ปรับปรุง 2550) ส่วนได้เสียในการร่วมค้า มาตรฐานการบัญชีข้างต้นให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2550 เป็นต้นไป ในระหว่างไตรมาสที่ 1 ของปีปจั จุบนั บริษทั ฯ ได้เปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีเกีย่ วกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษทั ย่อย ในงบการเงินเฉพาะกิจการ เพือ่ ให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 44 ฉบับปรับปรุงใหม่ ตามทีก่ ล่าวไว้ในหมายเหตุ 4 อย่างไร ก็ตาม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 45 และ 46 ฉบับปรับปรุงใหม่ไม่มผี ลกระทบต่องบการเงินเนือ่ งจากบริษทั ฯ ไม่มเี งินลงทุนในกิจการ ทีค่ วบคุมร่วมกันและบริษทั ร่วม ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550) งบกระแสเงินสด ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550) สัญญาเช่า ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2550) สินค้าคงเหลือ ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2550) ต้นทุนการกูย้ มื ฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550) การนำเสนองบการเงิน ฉบับที่ 39 (ปรับปรุง 2550) นโยบายการบัญชี การเปลีย่ นแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด ฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2550) งบการเงินระหว่างกาล ฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) การรวมธุรกิจ ฉบับที่ 49 (ปรับปรุง 2550) สัญญาก่อสร้าง ฉบับที่ 51 สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน มาตรฐานการบัญชีขา้ งต้นให้ถอื ปฏิบตั กิ บั งบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีทเ่ี ริม่ ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 เป็นต้นไป ฝ่ายบริหารของบริษัทฯ ได้ประเมินแล้วเห็นว่ามาตรฐานการบัญชีฉบับดังกล่าวจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่อ งบการเงินสำหรับปีทเ่ี ริม่ ใช้มาตรฐานการบัญชีฉบับดังกล่าว

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

4. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยในงบการเงินเฉพาะกิจการ

214

ในระหว่างไตรมาสที่ 1 ของปีปจั จุบนั บริษทั ฯ ได้เปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีเกีย่ วกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษทั ย่อย ในงบการเงินเฉพาะกิจการ จากวิธสี ว่ นได้เสียเป็นวิธรี าคาทุนตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) เรือ่ ง งบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการซึง่ กำหนดให้เงินลงทุนในบริษทั ย่อยในงบการเงินเฉพาะกิจการต้องแสดงตามวิธรี าคาทุน ในการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว บริษัทฯ ได้ปรับย้อนหลังงบการเงินเฉพาะกิจการงวดก่อนที่นำมาแสดง เปรี ย บเที ย บเสมื อ นว่ า บริ ษ ั ท ฯได้ ถ ื อ ปฏิ บ ั ต ิ เ กี ่ ย วกั บ การบั นทึ ก บั ญ ชี เงิ น ลงทุ น ในบริ ษ ั ท ย่ อ ยตามวิ ธ ี ร าคาทุ น มาโดยตลอด การเปลีย่ นแปลงนีท้ ำให้บริษทั ฯมีกำไรสุทธิในงบกำไรขาดทุนเฉพาะกิจการสำหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 เพิม่ ขึน้ เป็นจำนวน 4.0 ล้านบาท (0.004 บาทต่อหุน้ ) (2549: ลดลงเป็นจำนวน 1,478.0 ล้านบาท (1.440 บาทต่อหุน้ )) ผลสะสมของการเปลีย่ นแปลง นโยบายการบัญชีดงั กล่าวได้แสดงไว้ในหัวข้อ “ผลสะสมจากการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีเกีย่ วกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษทั ย่อย” ในงบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ เฉพาะกิจการแล้ว ทัง้ นีก้ ารเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีดงั กล่าว มีผลกระทบเฉพาะต่อรายการบัญชีทเ่ี กีย่ วข้องกับเงินลงทุนในบริษทั ย่อยใน งบการเงินเฉพาะกิจการเท่านัน้ ไม่ได้มผี ลกระทบต่องบการเงินรวมแต่อย่างใด


a)

Accounting Standards which are effective for the current year

TAS 44 (revised 2007) Consolidated Financial Statements and Separate Financial Statements TAS 45 (revised 2007) Investments in Associates TAS 46 (revised 2007) Interests in Joint Ventures These accounting standards become effective for the financial statements for fiscal years beginning on or after 1 January 2007. During the first quarter of the current year, the Company changed its accounting policy for recording investments in subsidiaries in the separate financial statements in order to comply with the revised Thai Accounting Standard No. 44, as discussed in Note 4. However, Thai Accounting Standards No. 45 and 46 have no impact on the financial statements since the Company does not have investments in jointly controlled entities and associates.

b)

Accounting Standards which are not effective for the current year

TAS 25 (revised 2007) Cash Flow Statements TAS 29 (revised 2007) Leases TAS 31 (revised 2007) Inventories TAS 33 (revised 2007) Borrowing Costs TAS 35 (revised 2007) Presentation of Financial Statements TAS 39 (revised 2007) Accounting Policies, Changes in Accounting Estimates and Errors TAS 41 (revised 2007) Interim Financial Reporting TAS 43 (revised 2007) Business Combinations TAS 49 (revised 2007) Construction Contracts TAS 51 Intangible Assets These accounting standards will become effective for the financial statements for fiscal years beginning on or after 1 January 2008. The management has assessed the effect of these revised accounting standards and believes that they will not have any significant impact on the financial statements for the year in which they are initially applied. During the first quarter of the current year, the Company changed its accounting policy for recording investments in subsidiaries in the separate financial statements from the equity method to the cost method, in compliance with Accounting Standard No. 44 (Revised 2007) regarding “Consolidated Financial Statements and Separate Financial Statements”, under which investments in subsidiaries are to be presented in the separate financial statements under the cost method. In this regard, the Company has restated the previous period’s separate financial statements as though the investments in the subsidiaries had originally been recorded using the cost method. The change has the effect of increasing net income in the separate income statement for the year ended 31 December 2007 by Baht 4.0 million (Baht 0.004 per share) (2006: decreasing by Baht 1,478.0 million (Baht 1.440 per share)). The cumulative effect of the change in accounting policy has been presented under the heading of “Cumulative effect of the change in accounting policy for investments in subsidiaries” in the separate statements of changes in shareholders’ equity. Such change in accounting policy affects only the accounts related to investments in subsidiaries in the Company’s separate financial statements, with no effect to the consolidated financial statements.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

4. CHANGE IN ACCOUNTING POLICY FOR RECORDING INVESTMENTS IN SUBSIDIARIES IN THE SEPARATE FINANCIAL STATEMENTS

215


5. นโยบายการบัญชีที่สำคัญ

5.1 การรับรูร้ ายได้และค่าใช้จา่ ย

รายได้จากการเดินเรือ รายได้จากการเดินเรือ (ประกอบด้วย รายได้คา่ เช่าเรือ (Hire income) ซึง่ เกิดจากการเช่าเป็นระยะเวลา (Time charter) และรายได้คา่ ระวางเรือ (Freight income) ซึง่ เกิดจากการเช่าเป็นรายเทีย่ ว (Voyage charter)) และค่าใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วข้องบันทึกบัญชีตาม เกณฑ์คงค้าง รายได้จากการให้บริการ รายได้จากการให้บริการรับรูเ้ มือ่ ได้ให้บริการแล้วโดยพิจารณาถึงขัน้ ความสำเร็จของงาน ดอกเบีย้ รับ ดอกเบีย้ ถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยคำนึงถึงอัตราผลตอบแทนทีแ่ ท้จริง เงินปันผลรับ เงินปันผลรับถือเป็นรายได้เมือ่ มีสทิ ธิในการรับเงินปันผล

5.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

5.3 ลูกหนีก้ ารค้า

5.4 น้ำมันเชือ้ เพลิง

5.5 เงินลงทุน

5.6 ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสัน้ ทีม่ สี ภาพคล่องสูง ซึง่ ถึงกำหนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันทีไ่ ด้มาและไม่มขี อ้ จำกัดในการเบิกใช้ ลูกหนี้การค้าแสดงตามมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ บริษัทฯ และบริษัทย่อยบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับผลขาดทุน โดยประมาณทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการเก็บเงินลูกหนีไ้ ม่ได้ ซึง่ โดยทัว่ ไปพิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุลกู หนี ้ น้ำมันเชือ้ เพลิงแสดงมูลค่าตามราคาทุน (วิธเี ข้าก่อน-ออกก่อน) หรือมูลค่าสุทธิทจ่ี ะได้รบั แล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า และ จะถือเป็นส่วนหนึง่ ของต้นทุนการเดินเรือเมือ่ มีการเบิกใช้

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ก) เงินลงทุนในตราสารหนีท้ จ่ี ะครบกำหนดชำระใน 1 ปี และทีจ่ ะถือจนครบกำหนด แสดงมูลค่าตามวิธรี าคาทุนตัด จำหน่าย บริษัทฯตัดบัญชีส่วนเกิน/ส่วนต่ำกว่ามูลค่าตราสารหนี้ตามอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ซึ่งจำนวนที่ตัดจำหน่ายนี้จะแสดงเป็น รายการปรับกับดอกเบีย้ รับ ข) เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดถือเป็นเงินลงทุนทั่วไป ซึ่งแสดงในราคาทุนสุทธิจากค่า เผือ่ จากการด้อยค่า (ถ้ามี) ค) เงินลงทุนในบริษทั ร่วมทีแ่ สดงอยูใ่ นงบการเงินรวมแสดงมูลค่าตามวิธสี ว่ นได้เสีย ง) เงินลงทุนในบริษทั ย่อยทีแ่ สดงอยูใ่ นงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธรี าคาทุน

216

ที่ดินแสดงมูลค่าตามราคาทุน/ราคาที่ตีใหม่ เรือเดินทะเล อาคารชุดและอุปกรณ์ แสดงมูลค่าตามราคาทุน/ราคาที่ตี ใหม่หกั ค่าเสือ่ มราคาสะสม และค่าเผือ่ การด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) บริษทั ย่อยแห่งหนึง่ บันทึกมูลค่าเริม่ แรกของทีด่ นิ และอาคารชุดในราคาทุน ณ วันทีไ่ ด้สนิ ทรัพย์มา หลังจากนัน้ บริษทั ย่อยดังกล่าวจัดให้มีการประเมินราคาที่ดินและอาคารชุดโดยผู้ประเมินราคาอิสระและบันทึกสินทรัพย์ดังกล่าวในราคาที่ตีใหม่ ทั้งนี้ บริษัทย่อยจัดให้มีการประเมินราคาสินทรัพย์ดังกล่าวเป็นครั้งคราวเพื่อมิให้ราคาตามบัญชี ณ วันที่ในงบดุลแตกต่างจากมูลค่า ยุตธิ รรมอย่างมีสาระสำคัญ


5. SIGNIFICANT ACCOUNTING POLICIES

5.1

Revenue and expense recognition

Vessel operating income Vessel operating income (consisting of Hire income from Time charter and Freight income from Voyage charter) and related expenses are recognised on an accrual basis. Rendering of services Service revenue is recognised when services have been rendered taking into account the stage of completion. Interest income Interest income is recognised as interest accrues based on the effective rate method. Dividend received Dividend received are recognised when the right to receive the dividends is established.

5.2

Cash and cash equivalents

Cash and cash equivalents consist of cash in hand, cash at banks, and all highly liquid investments with an original maturity of three months or less and not subject to withdrawal restrictions.

5.3

Trade accounts receivable

Trade accounts receivable are stated at the net realisable value. Allowance for doubtful accounts is provided for the estimated losses that may be incurred in collection of receivables. The allowance is based on collection experiences and analysis of debtor aging.

5.4

Bunker oil

Bunker oil is valued at the lower of cost (first-in, first-out method) and net realisable value and is charged to vessel operating costs whenever consumed.

5.5

Investments

5.6

Property, plant and equipment

Land is stated at cost/revalued amount. Vessels, condominium and equipment are stated at cost/revalued amount less accumulated depreciation and allowance for loss on impairment of assets (if any). Land and condominium are initially recorded at cost on the acquisition date, and subsequently revalued by an independent professional appraiser to their fair values. Revaluations are made with sufficient regularity to ensure that the carrying amount does not differ materially from fair value at the balance sheet date.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

a) Investments in debt securities, both due within one year and expected to be held to maturity, are recorded at amortised cost. Premiums/discounts on debt securities are amortised by the effective rate method, with the amortised amount presented as an adjustment to the interest income. b) Investments in non-marketable equity securities, which the Company classifies as other investments, are stated at cost net of allowance for loss on diminution in value (if any). c) Investment in associate is accounted for in the consolidated financial statements using the equity method. d) Investments in subsidiaries are accounted for in the separate financial statements using the cost method.

217


บริษทั ย่อยบันทึกส่วนต่างซึง่ เกิดจากการตีราคาสินทรัพย์ดงั ต่อไปนี ้ - บริษัทย่อยบันทึกราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นจากการตีราคาใหม่ในบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคา สินทรัพย์ของบริษทั ย่อย” ในส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในงบดุล อย่างไรก็ตาม หากสินทรัพย์นน้ั เคยมีการตีราคาลดลงและ บริษัทย่อยได้รับรู้ราคาที่ลดลงเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนแล้ว ส่วนที่เพิ่มจากการตีราคาใหม่นี้จะถูกรับรู้เป็น รายได้ไม่เกินจำนวนทีเ่ คยลดลง ซึง่ รับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยในงบกำไรขาดทุนปีกอ่ นแล้ว - บริษัทย่อยรับรู้ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ที่ลดลงจากการตีราคาใหม่เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน อย่างไร ก็ตาม หากสินทรัพย์นั้นเคยมีการตีราคาเพิ่มขึ้นและยังมียอดคงค้างของบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคา สินทรัพย์ของบริษัทย่อย” อยู่ในส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนที่ลดลงจากการตีราคาใหม่จะถูกนำไปหักออกจาก “ส่วน เกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ของบริษัทย่อย” ไม่เกินจำนวนซึ่งเคยตีราคาเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ชนิดเดียวกัน และส่วนทีเ่ กินจะรับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยในงบกำไรขาดทุน

5.7 ค่าเสือ่ มราคา

5.8 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน

5.9 เงินตราต่างประเทศ

5.10 การด้อยค่าของสินทรัพย์

5.11 ผลประโยชน์พนักงาน

ค่าเสื่อมราคาของเรือเดินทะเล อาคารชุดและอุปกรณ์คำนวณจากราคาทุนหรือราคาที่ตีใหม่ของสินทรัพย์หลังจากหัก มูลค่าซาก โดยวิธเี ส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณดังนี ้ เรือเดินทะเลและอุปกรณ์ 3 - 25 ปี ค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซมและสำรวจเรือ 2 ปี และ 4 ปี ตามลำดับ อาคารชุด 20 ปี สิง่ ปรับปรุงสินทรัพย์เช่า 5 ปี อืน่ ๆ 5 ปี ค่าเสือ่ มราคารวมอยูใ่ นการคำนวณผลการดำเนินงาน ไม่มกี ารคิดค่าเสือ่ มราคาสำหรับทีด่ นิ และงานระหว่างทำ บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันกับบริษทั ฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการทีม่ อี ำนาจควบคุมบริษทั ฯ หรือถูกควบคุมโดย บริษทั ฯ ไม่วา่ จะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยูภ่ ายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษทั ฯ นอกจากนี้ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริษัทร่วมและบุคคลซึ่งมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญกับ บริษทั ฯ ผูบ้ ริหารสำคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษทั ฯ ทีม่ อี ำนาจในการวางแผนและควบคุมการดำเนินงานของบริษทั ฯ

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่เกิดขึ้นระหว่างเดือนแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยของเดือน ก่อนเดือนทีเ่ กิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศคงเหลืออยู่ ณ วันที่ในงบดุลแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อตั รา แลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุล กำไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนได้รวมอยู่ในการคำนวณผลการ ดำเนินงาน

218

ทุกวันที่ในงบดุล บริษัทฯและบริษัทย่อยจะทำการประเมินว่ามีข้อบ่งชี้ซึ่งแสดงว่าสินทรัพย์ของบริษัทฯและบริษัทย่อย ด้อยค่าลงหรือไม่ หากมีขอ้ บ่งชีข้ องการด้อยค่า บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะทำการประมาณมูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนของสินทรัพย์และ หากพบว่าราคาตามบัญชีของสินทรัพย์นน้ั มีมลู ค่าสูงกว่ามูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะลดมูลค่าของสินทรัพย์ ลงให้เท่ากับมูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืน และรับรูผ้ ลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ในงบกำไรขาดทุน (มูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืน ของสินทรัพย์ หมายถึง ราคาขายสุทธิหรือมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์นน้ั แล้วแต่จำนวนใดจะสูงกว่า) บริษทั ฯและบริษทั ย่อยรับรู้ เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสำรองเลีย้ งชีพเป็น ค่าใช้จา่ ยเมือ่ เกิดรายการ


Differences arising from the revaluation are dealt with in the financial statements as follows: - When an asset’s carrying amount is increased as a result of a revaluation of the subsidiary’s assets, the increase is credited directly to equity under the heading of “Revaluation surplus on assets of subsidiary”. However, a revaluation increase will be recognised as income to the extent that it reverses a revaluation decrease of the same asset previously recognised as an expense. - When an asset’s carrying amount is decreased as a result of a revaluation of the subsidiary’s assets, the decrease is recognised as an expense in the income statement. However, a revaluation decrease is to be charged directly against the related “Revaluation surplus on assets of subsidiary” to the extent that the decrease does not exceed the amount held in the “Revaluation surplus on assets of subsidiary” in respect of those same assets. Any excess amount is to be recognised as an expense in the income statement. 5.7

Depreciation

Depreciation of vessels, condominium and equipment is calculated by reference to their costs or the revalued amounts, after deducting residual value, on the straight-line basis over the following estimated useful lives: Vessels and equipment 3 - 25 years Dry-dock and special survey expenses 2 years and 4 years respectively Condominium 20 years Leasehold improvement 5 years Others 5 years Depreciation is included in determining income. No depreciation is provided on land and work in progress.

5.8

Related party transactions

Related parties comprise enterprises and individuals that control, or are controlled by, the Company, whether directly or indirectly, or which are under common control with the Company. They also include associated companies and individuals which directly or indirectly own a voting interest in the Company that gives them significant influence over the Company, key management personnel, directors and officers with authority in the planning and direction of the Company’s operations. 5.9

Foreign currencies

Foreign currency transactions during a particular month are translated into Baht at the average exchange rates ruling during the previous transaction month. Assets and liabilities denominated in foreign currencies outstanding at the balance sheet date are translated into Baht at the exchange rates ruling on the balance sheet date. Gains and losses on exchange are included in determining income.

5.10 Impairment of assets

The Company and subsidiaries assess at each reporting date whether there is an indication that an asset may be impaired. If any such indication exists, the Company and subsidiaries make an estimate of the asset’s recoverable amount. Where the carrying amount of the asset exceeds its recoverable amount, the asset is considered impaired and is written down to its recoverable amount. Impairment losses are recognised in the income statement. An asset’s recoverable amount is the higher of fair value less costs to sell and value in use.

5.11 Employees’ benefits

Salaries, wages, bonuses and contributions to the social security fund and provident fund are recognised as expenses when incurred.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

219


5.12 ประมาณการหนีส้ นิ

5.13 ภาษีเงินได้

5.14 ตราสารอนุพนั ธ์

บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะบันทึกประมาณการหนีส้ นิ ไว้ในบัญชีเมือ่ ภาระผูกพันซึง่ เป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีตได้เกิด ขึน้ แล้ว และมีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่นอนว่าบริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพือ่ ปลดเปลือ้ งภาระผูกพันนัน้ และบริษทั ฯและบริษทั ย่อยสามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพันนัน้ ได้อย่างน่าเชือ่ ถือ ประมาณการค่าความเสียหายจากการเดินเรือทะเล บริษทั ย่อยบันทึกประมาณการค่าความเสียหายจากการเดินเรือทะเลเมือ่ ได้รบั การแจ้งคำเรียกร้องค่าเสียหายจากผูเ้ ช่า เรือโดยบันทึกตามมูลค่าประมาณการความเสียหายสูงสุดที่บริษัทย่อยต้องรับผิดชอบตามที่ระบุไว้ในสัญญากรมธรรม์ประกันภัยที่ เกีย่ วข้อง

บริษทั ฯและบริษทั ย่อยในประเทศไทยบันทึกภาษีเงินได้โดยคำนวณจากกำไรสุทธิทางภาษีตามกฎหมายภาษีอากร บริษทั ย่อยในต่างประเทศคำนวณภาษีเงินได้ตามอัตราภาษีทร่ี ะบุในกฎหมายภาษีอากรของประเทศนัน้

Treasury Rate Lock Agreements บริษัทย่อยรับรู้จำนวนสุทธิของดอกเบี้ยที่ได้รับจาก/จ่ายให้แก่คู่สัญญาตาม Treasury Rate Lock Agreements เป็น รายได้/ค่าใช้จา่ ยในงบกำไรขาดทุนโดยอ้างอิงจากการเปลีย่ นแปลงของมูลค่ายุตธิ รรมของตราสาร

5.15 หุน้ ทุนซือ้ คืน

5.16 การใช้ประมาณการทางบัญชี

หุน้ ทุนซือ้ คืนแสดงมูลค่าในงบดุลด้วยราคาทุนเป็นรายการหักจากส่วนของผูถ้ อื หุน้ ทัง้ หมด หากราคาขายของหุน้ ทุนซือ้ คืนสูงกว่าราคาซือ้ ของหุน้ ทุนซือ้ คืน บริษทั ฯจะรับรูผ้ ลต่างเข้าบัญชีสว่ นเกินทุนหุน้ ทุนซือ้ คืนและหากราคาขายของหุน้ ทุนซือ้ คืนต่ำกว่า ราคาซื้อของหุ้นทุนซื้อคืน บริษัทฯจะนำผลต่างหักจากส่วนเกินทุนหุ้นทุนซื้อคืนให้หมดไปก่อน แล้วจึงนำผลต่างที่เหลืออยู่ไปหักจาก บัญชีกำไรสะสม ในการจัดทำงบการเงินตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ในบางสถานการณ์ ฝ่ายบริหารอาจต้องใช้การประมาณและ การตัง้ สมมติฐาน ซึ่งมีผลกระทบต่อจำนวนเงินที่แสดงในงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน ด้วยเหตุน้ี ผลทีเ่ กิดขึ้นจริงจึง อาจแตกต่างไปจากจำนวนทีป่ ระมาณไว้

6. เงินลงทุนชั่วคราว

(หน่วย: พันบาท)

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

งบการเงินรวม มูลค่าตามบัญชีตาม ทุนเรียกชำระแล้ว สัดส่วนเงินลงทุน ราคาทุน วิธีส่วนได้เสีย 2550 2549 2550 2549 2550 2549 2550 2549

220

พันอินเดีย พันอินเดีย ร้อยละ ร้อยละ รูปี รูปี

เงินลงทุนในบริษทั ร่วมทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อย บริษทั เซาท์เทอร์น แอลพีจี ลิมเิ ตด หัก: ค่าเผือ่ ผลขาดทุนจากเงินลงทุน เงินลงทุนชัว่ คราว - สุทธิ

64,592 64,592

50.00

50.00 31,716 31,716 19,365 19,365 (19,365) (19,365) - -


5.12 Provisions

Provisions are recognised when the Company and subsidiaries have a present obligation as a result of a past event, it is probable that an outflow of resources embodying economic benefits will be required to settle the obligation, and a reliable estimate can be made of the amount of the obligation. Provisions for maritime claims Provisions for maritime claims are recorded by the subsidiaries upon receipt of the claim advices from the charterers, based on the maximum liabilities of the subsidiaries stipulated in the relevant policies.

5.13 Income tax

Income tax of the Company and its subsidiaries in Thailand is provided for in the accounts based on the taxable income determined in accordance with tax legislation. Overseas subsidiaries calculate corporate income tax in accordance with the tax rates stipulated by tax laws in those countries.

5.14 Derivatives

Treasury Rate Lock Agreements The net amount of interest to be received from or paid to the counterparty under the Treasury Rate Lock Agreements is recognised as income or expenses, based on the change in the fair value of the derivatives.

5.15 Treasury stock

Treasury stock is stated at cost and presented as a deduction from shareholders’ equity. Gains on disposal of treasury stock are determined by reference to the carrying amount and are presented as premium on treasury stock. Losses on disposal of treasury stock are determined by reference to the carrying amount and are presented in premium on treasury stock and retained earnings, consecutively.

5.16 Use of accounting estimates

Preparation of financial statements in conformity with generally accepted accounting principles requires management to make estimates and assumptions in certain circumstances, affecting amounts reported in these financial statements and related notes. Actual results could differ from these estimates. 6. CURRENT INVESTMENT

(Unit: Thousand Baht) Consolidated financial statements

Paid-up Shareholding Cost capital percentage 2007 2006 2007 2006 2007 2006

Carrying amounts based on equity method 2007 2006

Thousand Thousand Percent Percent INR INR

Investment in associate held by a subsidiary Southern LPG Limited 64,592 64,592 50.00 Less: Allowance for loss on investment Current investment - net

50.00 31,716 31,716 19,365 19,365 (19,365) (19,365) - -

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

221


บริษทั ย่อย (บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (เมอริเชียส) จำกัด) บันทึกเงินลงทุนในบริษทั ร่วมทีจ่ ดทะเบียนจัดตัง้ ขึน้ ในประเทศอินเดีย ตามวิธสี ว่ นได้เสียจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2543 เท่านัน้ เนือ่ งจากฝ่ายบริหารของบริษทั ฯมีความตัง้ ใจทีจ่ ะเสนอขายเงินลงทุนดังกล่าว ดังนั้น จึงได้จัดประเภทเงินลงทุนดังกล่าวเป็นเงินลงทุนชั่วคราวในสินทรัพย์หมุนเวียนและบันทึกค่าเผื่อผลขาดทุนจากเงินลงทุนเต็ม จำนวน

7. ลูกหนี้การค้า

ยอดคงเหลือของลูกหนีก้ ารค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 แยกตามอายุหนีท้ ค่ี งค้างนับจากวันทีใ่ นใบแจ้งหนีไ้ ด้ ดังนี ้ (หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม

อายุหนีค้ า้ งชำระ

ไม่เกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน รวม หัก: ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ ลูกหนีก้ ารค้า - สุทธิ

2550

33,268 531 723 34,037 68,559 (33,920) 34,639

2549 79,742 4,655 16,585 36,910 137,892 (36,785) 101,107

8. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ในระหว่างปี บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีรายการธุรกิจทีส่ ำคัญกับบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไป ตามเงือ่ นไขทางการค้าและเกณฑ์ตามทีต่ กลงกันระหว่างบริษทั ฯและบริษทั เหล่านัน้ ซึง่ เป็นไปตามปกติธรุ กิจ โดยสามารถสรุปได้ดงั นี ้ (หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2549

2550

2549

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

รายการธุรกิจกับบริษทั ย่อย

222

(ได้ตดั ออกจากงบการเงินรวมแล้ว) รายได้จากการให้บริการ - ค่าบริหาร รายได้จากการให้บริการ - ค่านายหน้า ขายเรือ เงินปันผลรับ ค่าเช่าอาคารชุดจ่าย

- - - -

- - - -

นโยบายการ กำหนดราคา

96,300 92,656 อัตราคงทีต่ อ่ ลำต่อวัน โดยอ้างอิงกับค่าใช้จา่ ย ในการบริหารของบริษทั ฯ ร้อยละ 3 ของราคาขายเรือ 58,451 - 4,453,245 2,465,216 ตามทีป่ ระกาศจ่าย 9,549 10,016 ราคาตลาด


A subsidiary (Precious Shipping (Mauritius) Limited) recorded investment in an associated company incorporated in India under equity method only until 31 December 2000, since the Company’s management is making efforts to sell this investment. The investment has therefore been classified as current investment, under current assets, and provision for loss on investment in full has been set up. 7. TRADE ACCOUNTS RECEIVABLE

The outstanding balances of trade accounts receivable as at 31 December 2007 and 2006 are aged, based on invoice date, as follows:

(Unit: Thousand Baht)

Consolidated financial statements

2007

Age of receivables

Not over 3 months 3 - 6 months 6 - 12 months Over 12 months Total Less: Allowance for doubtful accounts Trade accounts receivable - net

2006

33,268 531 723 34,037 68,559 (33,920) 34,639

79,742 4,655 16,585 36,910 137,892 (36,785) 101,107

8. RELATED PARTY TRANSACTIONS

During the years, the Company and its subsidiaries had significant business transactions with related parties, which have been concluded on commercial terms and basis agreed upon in the ordinary course of business between the Company and those companies. Below is a summary of those transactions.

(Unit: Thousand Baht)

Consolidated Separate financial statements financial statements

2007

2006

2007

Transfer pricing policy

2006

Transactions with subsidiaries (Eliminated from consolidated financial statements) Service income - management fees - - 96,300 92,656 Service income - commission from vessel sales - - 58,451 - Dividend received - - 4,453,245 2,465,216 Condominium rental expenses - - 9,549 10,016

Fixed rate per vessel per day set with reference to the administrative cost of the Company 3 percent of vessels’ selling price As declared Market price

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

223


(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2549

2550

นโยบายการ กำหนดราคา

2549

รายการธุรกิจกับบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน

เงินปันผลรับ ค่าตัว๋ เครือ่ งบินจ่าย ค่าเช่าและบริการจ่าย

12,806 16,061 7,323

16,814 26,568 2,333

- 3,350 3,813

- ตามทีป่ ระกาศจ่าย 4,360 ราคาตลาด 1,876 ราคาตลาด

ยอดคงค้างระหว่างบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 มีรายละเอียด ดังนี ้ (หน่วย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

เพิ่มขึ้น

ลดลง

2550

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ลูกหนีแ้ ละเงินทดรองจ่ายแก่บริษทั ย่อย

224

บริษทั พรีเชียส สโตนส์ ชิปปิง้ จำกัด บริษทั พรีเชียส มิเนอรัลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส แลนด์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ริเวอร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส เลคส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ซีส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส สตาร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส แพลนเนตส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ไดมอนด์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส แซฟไฟร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส เอ็มเมอรัลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส รูบสี ์ จำกัด บริษทั พรีเชียส การ์เน็ตส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส เพิรล์ ส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ฟลาวเวอร์ส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ฟอเรสท์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ทรีส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส พอนด์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส ออคิดส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ลากูนส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส คลิฟส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ฮิลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส เมาน์เท่นส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส รีสอร์ทส์ จำกัด

184,648 96,574 1,206 98,251 2,081 1,942 1,368 2,418 125,440 55,487 350,626 2,777 317,703 2,958 1,667 1,867 1,772 1,868 2,630 12,313 1,143 1,904 585 32,468

34,454

- - 527,356 146,847 - - 316,822 - - 238,407 - 305,110 - - - - 488,116 284,505 - - 104,101 - -

177,956 96,574 1,206 553,487 146,980 1,942 1,368 318,426 125,440 55,487 407,607 2,777 618,724 2,958 1,667 1,867 1,772 485,781 246,833 12,313 1,143 100,124 585 32,468

41,146 - - 72,120 1,948 - - 814 - - 181,426 - 4,089 - - - - 4,203 40,302 - - 5,881 - -


(Unit: Thousand Baht)

Consolidated Separate financial statements financial statements

2007

2006

2007

Transfer pricing policy

2006

Transactions with related companies Dividend received 12,806 16,814 - - As declared Air ticket expenses 16,061 26,568 3,350 4,360 Market price Rental and service expenses 7,323 2,333 3,813 1,876 Market price The balances of the accounts as at 31 December 2007 and 2006 between the Company and those subsidiary companies are as follows:

(Unit: Thousand Baht)

Separate financial statements

2006

Increase

Receivable from and advances to subsidiaries

Precious Stones Shipping Limited Precious Minerals Limited Precious Lands Limited Precious Rivers Limited Precious Lakes Limited Precious Seas Limited Precious Stars Limited Precious Planets Limited Precious Diamonds Limited Precious Sapphires Limited Precious Emeralds Limited Precious Rubies Limited Precious Garnets Limited Precious Pearls Limited Precious Flowers Limited Precious Forests Limited Precious Trees Limited Precious Ponds Limited Precious Orchids Limited Precious Lagoons Limited Precious Cliffs Limited Precious Hills Limited Precious Mountains Limited Precious Resorts Limited

184,648 96,574 1,206 98,251 2,081 1,942 1,368 2,418 125,440 55,487 350,626 2,777 317,703 2,958 1,667 1,867 1,772 1,868 2,630 12,313 1,143 1,904 585 32,468

34,454

- - 527,356 146,847 - - 316,822 - - 238,407 - 305,110 - - - - 488,116 284,505 - - 104,101 - -

Decrease

177,956 96,574 1,206 553,487 146,980 1,942 1,368 318,426 125,440 55,487 407,607 2,777 618,724 2,958 1,667 1,867 1,772 485,781 246,833 12,313 1,143 100,124 585 32,468

2007

41,146 - - 72,120 1,948 - - 814 - - 181,426 - 4,089 - - - - 4,203 40,302 - - 5,881 - -

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

225


(หน่วย: พันบาท)

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

บริษทั พรีเชียส ซิตส้ี ์ จำกัด บริษทั พรีเชียส คอมเม็ทส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ออนาเม้นท์ส จำกัด บริษทั เนดเท็กซ์ จำกัด บริษทั พรีเชียส สตอเรจ เทอมินลั ส์ จำกัด บริษทั เทบส์ พีทอี ี ลิมเิ ตด บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (ปานามา) เอส เอ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (เมอริเชียส) ลิมเิ ตด บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (ยูเค) ลิมเิ ตด บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด บริษทั พรีเชียส โปรเจคส์ พีทอี ี ลิมเิ ตด รวม

226

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549 17,676 1,013 188 86 42 845

เพิ่มขึ้น

ลดลง

144,176 158,228 - 1,013 - 188 22 - 22 - 59 - - 348,147 43,465 135,612 1,482 16,260 101,338 - 101,338 199,436 20,889 3,915 - 1 - 1,757,932 2,960,516 3,719,892 เจ้าหนีแ้ ละเงินทดรองจ่ายจากบริษทั ย่อย บริษทั พรีเชียส เม็ททัลซ์ จำกัด 38,393 501,937 426,935 บริษทั พรีเชียส วิชเชส จำกัด 21,292 527,241 445,352 บริษทั พรีเชียส มิเนอรัลส์ จำกัด - 291,674 274,992 บริษทั พรีเชียส แลนด์ จำกัด - 273,683 246,981 บริษทั พรีเชียส ซีส์ จำกัด - 143,490 114,656 บริษทั พรีเชียส สตาร์ส จำกัด - 168,767 136,480 บริษทั พรีเชียส โอเชียนส์ จำกัด 67,793 330,915 311,448 บริษทั พรีเชียส์ ไดมอนด์ส จำกัด - 947,937 923,529 บริษทั พรีเชียส แซฟไฟร์ส จำกัด - 156,104 123,587 บริษทั พรีเชียส รูบสี ์ จำกัด - 222,375 179,108 บริษทั พรีเชียส โอปอลส์ จำกัด 39,472 210,506 195,543 บริษทั พรีเชียส เพิรล์ ส์ จำกัด - 640,725 595,367 บริษทั พรีเชียส ฟลาวเวอร์ส จำกัด - 633,318 603,745 บริษทั พรีเชียส ฟอเรสท์ จำกัด - 588,141 553,549 บริษทั พรีเชียส ทรีส์ จำกัด - 473,506 451,930 บริษทั พรีเชียส เว็นเจอร์ส จำกัด 57,718 536,571 550,787 บริษทั พรีเชียส แคปปิตอลส์ จำกัด 13,037 422,928 399,640 บริษทั พรีเชียส จัสมินส์ จำกัด 36,272 424,838 374,869 บริษทั พรีเชียส ลากูนส์ จำกัด - 87,957 82,391 บริษทั พรีเชียส คลิฟส์ จำกัด - 99,384 96,462 บริษทั พรีเชียส เมาน์เท่นส์ จำกัด - 116,823 111,194 บริษทั พรีเชียส รีสอร์ท จำกัด - 97,989 97,633 บริษทั พรีเชียส คอมเม็ทส์ จำกัด - 189,975 180,695

2550 - -

3,624

108 64 904 304,682 120,834 - 216,410 1 998,556 113,395 103,181 16,682 26,702 28,834 32,287 87,260 24,408 32,517 43,267 54,435 45,358 29,573 34,592 21,576 43,502 36,325 86,241 5,566 2,922 5,629 356 9,280


(Unit: Thousand Baht) Separate financial statements

Precious Cities Limited Precious Comets Limited Precious Ornaments Limited Nedtex Limited Precious Storage Terminals Limited Thebes Pte. Limited Precious Shipping (Panama) S.A. Precious Shipping (Mauritius) Limited Precious Shipping (UK) Limited Great Circle Shipping Agency Limited Precious Projects Pte. Ltd. Total

2006

17,676 1,013 188 86 42 845

- 135,612 101,338 199,436 - 1,757,932 Payable to and advances from subsidiaries Precious Metals Limited 38,393 Precious Wishes Limited 21,292 Precious Minerals Limited - Precious Lands Limited - Precious Seas Limited - Precious Stars Limited - Precious Oceans Limited 67,793 Precious Diamonds Limited - Precious Sapphires Limited - Precious Rubies Limited - Precious Opals Limited 39,472 Precious Pearls Limited - Precious Flowers Limited - Precious Forests Limited - Precious Trees Limited - Precious Ventures Limited 57,718 Precious Capitals Limited 13,037 Precious Jasmines Limited 36,272 Precious Lagoons Limited - Precious Cliffs Limited - Precious Mountains Limited - Precious Resorts Limited - Precious Comets Limited -

Increase

144,176 - - 22 22 59 348,147 1,482 - 20,889 1 2,960,516 501,937 527,241 291,674 273,683 143,490 168,767 330,915 947,937 156,104 222,375 210,506 640,725 633,318 588,141 473,506 536,571 422,928 424,838 87,957 99,384 116,823 97,989 189,975

Decrease

2007

158,228 1,013 188 - - - 43,465 16,260 101,338 3,915 - 3,719,892

108 64 904 304,682 120,834 - 216,410 1 998,556

426,935 445,352 274,992 246,981 114,656 136,480 311,448 923,529 123,587 179,108 195,543 595,367 603,745 553,549 451,930 550,787 399,640 374,869 82,391 96,462 111,194 97,633 180,695

113,395 103,181 16,682 26,702 28,834 32,287 87,260 24,408 32,517 43,267 54,435 45,358 29,573 34,592 21,576 43,502 36,325 86,241 5,566 2,922 5,629 356 9,280

- -

3,624

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

227


(หน่วย: พันบาท)

บริษทั พรีเชียส ออนาเม้นท์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (ปานามา) เอส เอ บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (สิงคโปร์) พีทอี ี ลิมเิ ตด บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (ยูเค) ลิมเิ ตด รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549 -

14,103 291,062 - 579,142

เพิ่มขึ้น 219,722 - 305,445 102,435 8,714,386

ลดลง 210,325 14,103 129,425 102,360 7,933,086

2550 9,397

- 467,082 75 1,360,442

ยอดคงเหลือของลูกหนี้/เจ้าหนี้บริษัทย่อยเป็นรายการที่เกิดจากบัญชีเดินสะพัดระหว่างบริษัทฯและบริษัทย่อยเหล่านั้น ซึ่ง ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯเชือ่ ว่าไม่มคี วามจำเป็นทีจ่ ะต้องบันทึกค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญสำหรับหนีด้ งั กล่าว เงินทดรองจ่ายแก่/จากบริษทั ย่อยไม่มกี ารคิดดอกเบีย้

ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร

ในปี 2550 บริษัทฯและบริษัทย่อยได้จ่ายเงินเดือน โบนัส ภาษีเงินได้ ค่าเช่าบ้าน เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ สวัสดิการอื่น และค่าเบี้ยประชุมให้แก่กรรมการและผู้บริหาร โดยสามารถสรุปค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารซึ่งรวมอยู่ในค่าใช้ จ่ายในการบริหารได้ดงั นี ้ (หน่วย: พันบาท)

ตำแหน่งกรรมการ ตำแหน่งผูบ้ ริหาร รวม

งบการเงินรวม 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2549

7,112 138,581 145,693

5,805 100,701 106,506

2550 7,112 122,961 130,073

2549 5,805 88,869 94,674

เงินกูย้ มื ด้อยสิทธิจากบริษทั ย่อย

ในระหว่างปี 2549 บริษทั ฯได้ชำระคืนเงินกูย้ มื ด้อยสิทธิจากบริษทั ย่อยไม่มดี อกเบีย้ จำนวน 662.8 ล้านบาท โดยบริษทั ฯได้ นำเงินกูย้ มื ดังกล่าวไปหักกลบลบหนีก้ บั ยอดคงค้างบัญชีลกู หนี/้ เจ้าหนีบ้ ริษทั ย่อยในงบดุล รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

9. สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น

228

(หน่วย: บาท)

เงินทดรองจ่ายแก่กปั ตันเรือ ค่าสินไหมทดแทนค้างรับ อืน่ ๆ รวม

งบการเงินรวม 2550

2549

100,196,046 100,254,008 51,927,935 252,377,989

111,251,224 26,347,145 62,071,930 199,670,299

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 - 184,290 28,981,929 29,166,219

2549 - 221,803 17,063,990 17,285,793


(Unit: Thousand Baht)

Separate financial statements

2006

Precious Ornaments Limited Precious Shipping (Panama) S.A. Precious Shipping (Singapore) Pte. Limited Precious Shipping (UK) Limited Total

-

14,103 291,062 - 579,142

Increase

219,722 - 305,445 102,435 8,714,386

Decrease

210,325 14,103 129,425 102,360 7,933,086

2007

9,397

- 467,082 75 1,360,442

The outstanding balances of the amounts due from/to subsidiaries represent current accounts between the Company and those subsidiary companies. The Company’s management believes that no allowance for doubtful accounts is necessary. No interest was charged on advances to/from subsidiaries.

Directors and management’s remuneration

In 2007 the Company and subsidiaries paid salaries, bonuses, personal income tax, house rental, contributions to provident fund, other allowances, and meeting allowances to their directors and management. Details of directors and management’s remuneration included in administrative expenses can be summarised as follows:

(Unit: Thousand Baht)

Consolidated financial statements

Separate financial statements

2007

2007

Directors Management Total

7,112 138,581 145,693

2006

5,805 100,701 106,506

7,112 122,961 130,073

2006

5,805 88,869 94,674

Subordinated loans from subsidiaries

9. OTHER CURRENT ASSETS

(Unit: Baht)

Consolidated financial statements

Separate financial statements

2007

2006

2007

100,196,046 100,254,008 51,927,935 252,377,989

111,251,224 26,347,145 62,071,930 199,670,299

Advances to vessel masters Claim recoverable Others Total

- 184,290 28,981,929 29,166,219

2006

- 221,803 17,063,990 17,285,793

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

During the year 2006, the Company repaid subordinated interest-free-loans from subsidiaries amounting to Baht 662.8 million by offsetting such loans against the amounts receivable from/payable to subsidiaries in the balance sheet.

229


10. เงินลงทุนในบริษัทย่อย

เงินลงทุนในบริษทั ย่อย ประกอบด้วยเงินลงทุนในหุน้ สามัญของบริษทั ดังต่อไปนี ้ (หน่วย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท ทุนเรียกชำระแล้ว สัดส่วนเงินลงทุน ราคาทุน 2550 2549 2550 2549 2550 2549 ร้อยละ ร้อยละ

230

บริษทั พรีเชียส เม็ททัลซ์ จำกัด บริษทั พรีเชียส วิชเชส จำกัด บริษทั พรีเชียส สโตนส์ ชิปปิง้ จำกัด บริษทั พรีเชียส มิเนอรัลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส แลนด์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ริเวอร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส เลคส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ซีส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส สตาร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส โอเชียนส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส แพลนเนตส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ไดมอนด์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส แซฟไฟร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส เอ็มเมอรัลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส รูบสี ์ จำกัด บริษทั พรีเชียส โอปอลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส การ์เน็ตส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส เพิรล์ ส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ฟลาวเวอร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส ฟอเรสท์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ทรีส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส พอนด์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส เว็นเจอร์ส จำกัด บริษทั พรีเชียส แคปปิตอลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส จัสมินส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ออคิดส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ลากูนส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส คลิฟส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ฮิลส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส เมาน์เท่นส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส รีสอร์ทส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ซิตส้ี ์ จำกัด บริษทั พรีเชียส คอมเม็ทส์ จำกัด บริษทั พรีเชียส ออนาเม้นท์ส จำกัด บริษทั เนดเท็กซ์ จำกัด บริษทั พรีเชียส สตอเรจ เทอมินลั ส์ จำกัด บริษทั เทบส์ พีทอี ี ลิมเิ ตด บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (ปานามา) เอส เอ

250,000 230,000 260,000 230,000 84,000 234,000 99,000 100,000 105,000 175,000 100,000 205,000 144,000 366,000 84,000 74,000 379,000 73,000 76,000 96,000 80,000 84,000 80,000 200,000 98,000 217,000 140,000 140,000 140,000 140,000 140,000 170,000 71,100 68,100 2,500 6,000 0.0365 250

250,000 99.99 230,000 99.99 260,000 99.99 230,000 99.99 84,000 99.99 234,000 99.99 99,000 99.99 100,000 99.99 105,000 99.99 175,000 99.99 100,000 99.99 205,000 99.99 144,000 99.99 366,000 99.99 84,000 99.99 74,000 99.99 379,000 99.99 73,000 99.99 76,000 99.99 96,000 99.99 80,000 99.99 84,000 99.99 80,000 99.99 200,000 99.99 98,000 99.99 217,000 99.99 140,000 99.99 140,000 99.99 140,000 99.99 140,000 99.99 140,000 99.99 170,000 99.99 71,100 99.99 68,100 99.99 2,500 69.99 6,000 69.99 0.0365 100.00 250 99.99

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 69.99 69.99 100.00 99.99

250,000 229,999 260,000 230,000 84,000 234,000 99,000 100,000 105,000 175,000 100,000 205,000 143,999 366,000 84,000 74,000 378,999 72,999 75,999 95,999 79,999 83,999 79,999 199,999 97,999 216,999 139,999 139,999 139,999 139,999 139,999 169,999 71,099 68,099 648 4,199 0.0365 250

250,000 229,999 260,000 230,000 84,000 234,000 99,000 100,000 105,000 175,000 100,000 205,000 143,999 366,000 84,000 74,000 378,999 72,999 75,999 95,999 79,999 83,999 79,999 199,999 97,999 216,999 139,999 139,999 139,999 139,999 139,999 169,999 71,099 68,099 648 4,199 0.0365 250

เงินปันผลรับสำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550

2549

126,250 160,999 - 94,300 86,939 156,780 93,059 89,999 94,499 92,750 230,999 32,800 38,880 - 102,479 112,849 56,850 270,828 281,198 225,598 375,197 230,998 286,398 301,999 229,809 167,089 46,200 63,000 65,800 67,200 35,000 105,400 40,527 90,572 - - - -

162,500 115,000 - - 55,440 - 33,165 147,499 81,900 146,999 118,999 71,750 - - 37,380 62,899 - 49,275 106,779 83,519 53,200 67,199 125,999 292,999 195,019 37,975 57,400 104,299 68,600 37,800 - 27,200 67,900 56,522 - - - -


10. INVESTMENTS IN SUBSIDIARIES

These represent investments in ordinary shares in the following subsidiaries:

(Unit: Thousand Baht)

Separate financial statements

Shareholding Company’s name Paid-up capital Cost percentage 2007 2006

Precious Metals Limited Precious Wishes Limited Precious Stones Shipping Limited Precious Minerals Limited Precious Lands Limited Precious Rivers Limited Precious Lakes Limited Precious Seas Limited Precious Stars Limited Precious Oceans Limited Precious Planets Limited Precious Diamonds Limited Precious Sapphires Limited Precious Emeralds Limited Precious Rubies Limited Precious Opals Limited Precious Garnets Limited Precious Pearls Limited Precious Flowers Limited Precious Forests Limited Precious Trees Limited Precious Ponds Limited Precious Ventures Limited Precious Capitals Limited Precious Jasmines Limited Precious Orchids Limited Precious Lagoons Limited Precious Cliffs Limited Precious Hills Limited Precious Mountains Limited Precious Resorts Limited Precious Cities Limited Precious Comets Limited Precious Ornaments Limited Nedtex Limited Precious Storage Terminals Limited Thebes Pte. Limited Precious Shipping (Panama) S.A.

250,000 230,000 260,000 230,000 84,000 234,000 99,000 100,000 105,000 175,000 100,000 205,000 144,000 366,000 84,000 74,000 379,000 73,000 76,000 96,000 80,000 84,000 80,000 200,000 98,000 217,000 140,000 140,000 140,000 140,000 140,000 170,000 71,100 68,100 2,500 6,000 0.0365 250

2007 Percent

250,000 99.99 230,000 99.99 260,000 99.99 230,000 99.99 84,000 99.99 234,000 99.99 99,000 99.99 100,000 99.99 105,000 99.99 175,000 99.99 100,000 99.99 205,000 99.99 144,000 99.99 366,000 99.99 84,000 99.99 74,000 99.99 379,000 99.99 73,000 99.99 76,000 99.99 96,000 99.99 80,000 99.99 84,000 99.99 80,000 99.99 200,000 99.99 98,000 99.99 217,000 99.99 140,000 99.99 140,000 99.99 140,000 99.99 140,000 99.99 140,000 99.99 170,000 99.99 71,100 99.99 68,100 99.99 2,500 69.99 6,000 69.99 0.0365 100.00 250 99.99

Dividend received for the years ended 31 December

2006 Percent

2007

2006

2007

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 69.99 69.99 100.00 99.99

250,000 229,999 260,000 230,000 84,000 234,000 99,000 100,000 105,000 175,000 100,000 205,000 143,999 366,000 84,000 74,000 378,999 72,999 75,999 95,999 79,999 83,999 79,999 199,999 97,999 216,999 139,999 139,999 139,999 139,999 139,999 169,999 71,099 68,099 648 4,199 0.0365 250

250,000 229,999 260,000 230,000 84,000 234,000 99,000 100,000 105,000 175,000 100,000 205,000 143,999 366,000 84,000 74,000 378,999 72,999 75,999 95,999 79,999 83,999 79,999 199,999 97,999 216,999 139,999 139,999 139,999 139,999 139,999 169,999 71,099 68,099 648 4,199 0.0365 250

126,250 160,999 - 94,300 86,939 156,780 93,059 89,999 94,499 92,750 230,999 32,800 38,880 - 102,479 112,849 56,850 270,828 281,198 225,598 375,197 230,998 286,398 301,999 229,809 167,089 46,200 63,000 65,800 67,200 35,000 105,400 40,527 90,572 - - - -

2006

162,500 115,000 - - 55,440 - 33,165 147,499 81,900 146,999 118,999 71,750 - - 37,380 62,899 - 49,275 106,779 83,519 53,200 67,199 125,999 292,999 195,019 37,975 57,400 104,299 68,600 37,800 - 27,200 67,900 56,522 - - - -

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

231


(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ชื่อบริษัท ทุนเรียกชำระแล้ว สัดส่วนเงินลงทุน ราคาทุน 2550 2549 2550 2549 2550 2549 ร้อยละ ร้อยละ

บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (เมอริเชียส) ลิมเิ ตด 250 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (สิงคโปร์) พีทอี ี ลิมเิ ตด 363,338 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (ยูเค) ลิมเิ ตด 250 บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี ่ จำกัด 15,000 บริษทั พรีเชียส โปรเจคส์ พีทอี ี ลิมเิ ตด 0.0345 รวมเงินลงทุนในบริษทั ย่อย หัก: ค่าเผือ่ ผลขาดทุนจากเงินลงทุน ในบริษทั ย่อย รวมเงินลงทุนในบริษทั ย่อย - สุทธิ

เงินปันผลรับสำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550

2549

250 100.00

100.00

250

250

-

-

363,338 100.00 250 99.99

100.00 99.99

363,338 250

363,338 250

- -

- -

15,000 99.99 - 100.00

99.99 -

121,995 121,995 - - 0.0345 - - 5,623,110 5,623,110 4,453,245 2,465,216 (5,097) (5,097) 5,618,013 5,618,013

บริษทั ฯได้นำเงินปันผลรับไปหักกลบลบหนีก้ บั ยอดคงค้างบัญชีลกู หนี/้ เจ้าหนีบ้ ริษทั ย่อยในงบดุล ในระหว่างปี 2550 เงินลงทุนในบริษทั ย่อยของบริษทั ฯมีการเปลีย่ นแปลงดังนี ้ ก) ในเดือนกุมภาพันธ์ 2550 บริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ในต่างประเทศ (บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ (สิงคโปร์) พีทอี ี ลิมเิ ตด) ได้รบั เงินปันผลจากบริษทั ย่อย (บริษทั พีเอสแอล ทุน ชิพปิง้ พีทอี ี ลิมเิ ตด) เป็นจำนวนเงิน 0.3 ล้านเหรียญสิงคโปร์ ข) ในเดือนกรกฎาคม 2550 บริษทั ฯได้ลงทุนในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนชำระแล้วของบริษทั พรีเชียส โปรเจคส์ พีทอี ี ลิมิเตด ซึ่งเป็นบริษัทที่จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นใหม่ในประเทศสิงคโปร์เป็นจำนวนเงิน 1 เหรียญสหรัฐฯ บริษัทดังกล่าว ดำเนินธุรกิจหลักเป็นบริษทั ผูบ้ ริหารการลงทุน

11 เงินลงทุนในบริษัทร่วมที่ถือหุ้นโดยบริษัทย่อย

11.1 รายละเอียดของบริษทั ร่วมทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อย

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

(หน่วย: พันบาท)

232

งบการเงินรวม

มูลค่าตามบัญชีตาม ชื่อบริษัท สัดส่วนเงินลงทุน ราคาทุน จั ด ตั ้ ง ขึ ้ น ใน วิธีส่วนได้เสีย ลักษณะธุรกิจ ประเทศ 2550 2549 ร้อยละ ร้อยละ 2550 2549 2550 2549

บริษทั อินเตอร์เนชัน่ แนล ซีพอร์ทส์ ออกแบบ ก่อสร้าง (ฮาลเดีย) ไพรเวท ลิมเิ ตด

พัฒนา และบริหารท่า

เทียบเรือ

อินเดีย

22.40

22.40

87,701 87,701 134,282 119,768


(Unit: Thousand Baht) Separate financial statements

Shareholding Company’s name Paid-up capital Cost percentage 2007 2006

2007 Percent

Precious Shipping (Mauritius) Limited 250 250 100.00 Precious Shipping (Singapore) Pte. Limited 363,338 363,338 100.00 Precious Shipping (UK) Limited 250 250 99.99 Great Circle Shipping Agency Limited 15,000 15,000 99.99 Precious Projects Pte. Limited 0.0345 - 100.00 Total investments in subsidiaries Less: Allowance for loss on investments in subsidiaries Total investments in subsidiaries - net

2006 Percent

2007

Dividend received for the years ended 31 December 2006

2007

2006

100.00 250 250 - - 100.00 363,338 363,338 - - 99.99 250 250 - - 99.99 121,995 121,995 - - - 0.0345 - - 5,623,110 5,623,110 4,453,245 2,465,216

(5,097) (5,097) 5,618,013 5,618,013

The Company offset the dividend income against amounts receivable from/payable to subsidiaries in the balance sheets. During the year 2007, there had been the following changes in the investments in subsidiaries: a) In February 2007, an overseas subsidiary (Precious Shipping (Singapore) Pte. Limited) received dividend amounting to SGD 0.3 million from its subsidiary (PSL Thun Shipping Pte. Limited). b) In July 2007, the Company acquired a 100 percent equity interest in Precious Projects Pte. Limited, a company registered in Singapore, at a cost of USD 1. The Company is principally engaged as investment holding company. 11. INVESTMENT IN ASSOCIATE HELD BY A SUBSIDIARY

11.1 Details of associate held by a subsidiary:

(Unit: Thousand Baht) Consolidated financial statements

Shareholding Cost Company’s name percentage Country of Nature of business incorporation 2007 2006 2007 2006 Percent Percent

International Seaports (Haldia)

Design, construction,

Private Limited

development and

operation of a berth

India

22.40

Carrying amounts based on equity method 2007

2006

22.40 87,701 87,701 134,282 119,768

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

233


(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม

เงินปันผลรับ จากบริษัทร่วมที่ถือหุ้น โดยบริษัทย่อยสำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

ชื่อบริษัท

บริษทั อินเตอร์เนชัน่ แนล ซีพอร์ทส์ (ฮาลเดีย) ไพรเวท ลิมเิ ตด

2550

12,806

2549

16,814

ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุน ในบริษัทร่วมที่ถือหุ้น โดยบริษัทย่อยสำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550

2549

34,127

19,875

ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วมทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อยสำหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ซึง่ รวมอยูใ่ นงบกำไร ขาดทุนรวม คำนวณจากงบการเงิน ณ วันที่ 30 กันยายน 2550 ซึง่ ผ่านการตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชีของบริษทั ร่วมแล้ว 11.2 ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษทั ร่วมทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อย (หน่วย: พันบาท) รายได้รวม ทุนเรียกชำระ สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม สำหรับปีสิ้นสุด ณ วันที่ 30 กันยายน ณ วันที่ 30 กันยายน ณ วันที่ 30 กันยายน วันที่ 30 กันยายน ชื่อบริษัท 2550 2549 2550 2549 2550 2549 2550 2549

พันอินเดียรูปี พันอินเดียรูปี

กำไรสุทธิ สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 30 กันยายน 2550

2549

บริษทั อินเตอร์เนชัน่ แนล ซีพอร์ทส์ (ฮาลเดีย) ไพรเวท ลิมเิ ตด 440,580 440,580 1,008,471 1,054,270 486,893 546,733 564,440 561,527 152,352 88,728

12. เงินลงทุนระยะยาวอื่น

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

บริษทั ฯได้ลงทุนในหุน้ สามัญของบริษทั บทด จำกัด จำนวน 2,026,086 หุน้ มูลค่าตราไว้หนุ้ ละ 10 บาท คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 3 ของทุนจดทะเบียน บริษทั ฯชำระค่าหุน้ แล้วหุน้ ละ 5 บาท คิดเป็นจำนวนเงิน 10.1 ล้านบาท

234


(Unit: Thousand Baht)

Consolidated financial statements

Company’s name

Share of income from

International Seaports (Haldia) Private Limited

investment in associate

Dividend received

held by a subsidiary

for the years ended 31 December

for the years ended 31 December

2007

2006

12,806

2007

16,814

2006

34,127

19,875

Shares of income from investment in associate held by a subsidiary for the year ended 31 December 2007, included in the consolidated income statement, was recorded based on the audited financial statements of that associate as at 30 September 2007. 11.2 Summarised financial information of associate held by a subsidiary

(Unit: Thousand Baht)

Total revenues Net income Paid-up capital as at Total assets as at Total liabilities as at for the years ended for the years ended Company’s name 30 September 30 September 30 September 30 September 30 September

International Seaports (Haldia) Private Limited

2007

2006

Thousand INR Thousand INR

2007

2006

2007

2006

2007

2006

2007

2006

440,580 440,580 1,008,471 1,054,270 486,893 546,733 564,440 561,527 152,352 88,728

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

12. OTHER LONG-TERM INVESTMENT The Company acquired 2,026,086 ordinary shares in TMN Company Limited with a par value of Baht 10 each, representing a 3 percent equity interest. The Company has paid up Baht 5 per share, or a total of Baht 10.1 million.

235


236

2549 2550

ค่าเสือ่ มราคาสำหรับปี

31 ธันวาคม 2549 31 ธันวาคม 2550

มูลค่าสุทธิตามบัญชี

31 ธันวาคม 2549 ค่าเสือ่ มราคาสำหรับปี ค่าเสือ่ มราคาสำหรับส่วนทีต่ รี าคาเพิม่ โอนออกสำหรับส่วนทีจ่ ำหน่าย 31 ธันวาคม 2550

ค่าเสือ่ มราคาสะสม

31 ธันวาคม 2549 ซือ้ เพิม่ จำหน่าย 31 ธันวาคม 2550

ราคาทุน/ราคาทีต่ ใี หม่

218,292 188,251

107,686 9,728 20,313 - 137,727

325,978 - - 325,978

10,000,112 8,470,082

8,091,921 1,331,750 - (1,632,560) 7,791,111

18,092,033 4,495 (1,835,335) 16,261,193

739,095 835,543

748,991 453,255 - (613,426) 588,820

1,488,086 768,117 (831,840) 1,424,363

10,739,207 9,305,625

8,840,912 1,785,005 - (2,245,986) 8,379,931

19,580,119 772,612 (2,667,175) 17,685,556

สินทรัพย์ซึ่งแสดง ตามราคาที่ตี ใหม่ เรือเดินทะเลและอุปกรณ์ ค่าใช้จ่ายใน ที่ดินและ เรือและ การซ่อมแซม อาคารชุด อุปกรณ์ และสำรวจเรือ รวม

13. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

12,181 12,733

31,304 3,827 - - 35,131

43,485 4,379 - 47,864

7,761 11,627

10,147 3,556 - (4,762) 8,941

17,908 7,422 (4,762) 20,568

8,811 6,665

4,188 2,146 - - 6,334

12,999 - - 12,999

37,600 44,610

- - - - -

37,600 7,010 - 44,610

สิ่งตกแต่ง ติดตั้งและ อุปกรณ์ สิ่งปรับปรุง งาน สำนักงาน ยานพาหนะ สินทรัพย์เช่า ระหว่างทำ

สินทรัพย์ซึ่งแสดงตามราคาทุน

งบการเงินรวม

2,093,430 1,824,575

11,023,852 9,569,511

8,994,237 1,804,262 20,313 (2,250,748) 8,568,064

20,018,089 791,423 (2,671,937) 18,137,575

รวม

(หน่วย: พันบาท)


237

vehicles

Motor improvement

Leasehold

progress

Work in

2006 2007

Depreciation for the year

325,978 18,092,033 1,488,086 19,580,119 43,485 17,908 12,999 37,600 - 4,495 768,117 772,612 4,379 7,422 - 7,010 - (1,835,335) (831,840) (2,667,175) - (4,762) - - 325,978 16,261,193 1,424,363 17,685,556 47,864 20,568 12,999 44,610 Accumulated depreciation 31 December 2006 107,686 8,091,921 748,991 8,840,912 31,304 10,147 4,188 - Depreciation for the year 9,728 1,331,750 453,255 1,785,005 3,827 3,556 2,146 - Depreciation for revaluation surplus 20,313 - - - - - - - Reversal for disposals - (1,632,560) (613,426) (2,245,986) - (4,762) - - 31 December 2007 137,727 7,791,111 588,820 8,379,931 35,131 8,941 6,334 - Net book value: 31 December 2006 218,292 10,000,112 739,095 10,739,207 12,181 7,761 8,811 37,600 31 December 2007 188,251 8,470,082 835,543 9,305,625 12,733 11,627 6,665 44,610

31 December 2006 Acquisitions Disposals 31 December 2007

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

equipment

and office

fixtures

Furniture,

Cost basis

Cost/Revaluation amount

equipment

Total

condominium

expenses

Dry-dock and special survey

Land and

Vessels and

Vessels and equipment

basis

Consolidated financial statements

Revaluation

13. PROPERTY, PLANT AND EQUIPMENT

2,093,430 1,824,575

8,994,237 1,804,262 20,313 (2,250,748) 8,568,064 11,023,852 9,569,511

20,018,089 791,423 (2,671,937) 18,137,575

Total

(Unit: Thousand Baht)


(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ สิ่งตกแต่ง ติดตั้ง และอุปกรณ์ สิ่งปรับปรุง งาน สำนักงาน ยานพาหนะ สินทรัพย์เช่า ระหว่างทำ

รวม

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2549 ซือ้ เพิม่ จำหน่าย 31 ธันวาคม 2550

18,019 16,732 7,634 37,600 1,570 7,422 - 7,010 - (4,762) - - 19,589 19,392 7,634 44,610 ค่าเสือ่ มราคาสะสม 31 ธันวาคม 2549 8,319 9,206 2,121 - ค่าเสือ่ มราคาสำหรับปี 3,023 3,321 1,377 - โอนออกสำหรับส่วนทีจ่ ำหน่าย - (4,762) - - 31 ธันวาคม 2550 11,342 7,765 3,498 - มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2549 9,700 7,526 5,513 37,600 31 ธันวาคม 2550 8,247 11,627 4,136 44,610

79,985 16,002 (4,762) 91,225 19,646 7,721 (4,762) 22,605 60,339 68,620

ค่าเสือ่ มราคาสำหรับปี 2549 2550

6,053 7,721

ในปี 2549 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้จัดให้มีการประเมินราคาที่ดินและอาคารชุดโดยผู้ประเมินราคาอิสระโดยใช้เกณฑ์ราคา ตลาด (Fair Market Approach) หากบริษทั ย่อยแสดงมูลค่าของทีด่ นิ และอาคารชุดดังกล่าวด้วยวิธรี าคาทุน มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 จะเป็นดังนี ้ (หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ทีด่ นิ และอาคารชุด

238

2550

39,481

2549 44,520

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 บริษทั ย่อยอยูร่ ะหว่างดำเนินการปลอดจำนองเรือเดินทะเลจำนวน 24 ลำ ซึง่ มีมลู ค่าสุทธิตาม บัญชีจำนวน 4,713.7 ล้านบาท ทัง้ นี้ ในระหว่างปี 2550 บริษทั ย่อยได้ดำเนินการปลอดจำนองเรือเดินทะเลดังกล่าวเสร็จสิน้ แล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีอปุ กรณ์จำนวนหนึง่ ซึง่ ตัดค่าเสือ่ มราคาหมดแล้วแต่ยงั ใช้งานอยู่ ราคา ทุนของสินทรัพย์ดงั กล่าวมีจำนวนเงินประมาณ 28.0 ล้านบาท (2549: 31.1 ล้านบาท) ในงบการเงินรวม และประมาณ 6.0 ล้านบาท (2549: 9.3 ล้านบาท) ในงบการเงินเฉพาะกิจการ


(Unit: Thousand Baht)

Separate financial statements Furniture, fixtures and office equipment

Motor vehicles

Leasehold improvement

Work in progress

Total

Cost

31 December 2006 Acquisitions Disposals 31 December 2007

18,019 16,732 7,634 37,600 1,570 7,422 - 7,010 - (4,762) - - 19,589 19,392 7,634 44,610 Accumulated depreciation 31 December 2006 8,319 9,206 2,121 - Depreciation for the year 3,023 3,321 1,377 - Reversal for disposals - (4,762) - - 31 December 2007 11,342 7,765 3,498 -

79,985 16,002 (4,762) 91,225 19,646 7,721 (4,762) 22,605

31 December 2006 31 December 2007

37,600 44,610

60,339 68,620

6,053 7,721

Net book value

9,700 7,526 8,247 11,627 Depreciation for the year 2006 2007

5,513 4,136

In 2006 a subsidiary arranged for an independent professional valuer to appraise the value of its land and condominium, using the Fair Market Approach. Had the land and condominium been carried in the financial statements based on historical cost, their net book value as of 31 December 2007 and 2006 would have been as follows:

(Unit: Thousand Baht)

Consolidated financial statements

2007

39,481

44,520

As at 31 December 2006, the subsidiaries were in the process of releasing the mortgages on 24 vessels with net book values totaling Baht 4,713.7 million. During the year 2007, the process of releasing the mortgages of the vessels has been completed. As at 31 December 2007, certain equipment items have been fully depreciated but are still in use. The original cost of those assets amounted to approximately Baht 28.0 million (2006: Baht 31.1 million) in the consolidated financial statements and approximately Baht 6.0 million (2006: Baht 9.3 million) in the separate financial statements.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Land and condominium

2006

239


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ย่อย 10 แห่ง (2549: 18 แห่ง) มีเรือเดินทะเลซึง่ มีราคาทุนประมาณ 2,272.6 ล้านบาท (83.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ) (2549: 4,073.3 ล้านบาท (155.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ)) โดยมีมลู ค่าซาก 805.0 ล้านบาท (27.2 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ) (2549: 1,380.4 ล้านบาท (49.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ)) ซึง่ เรือเดินทะเลของบริษทั ย่อยเหล่านัน้ ได้ถกู ตัดค่าเสือ่ มราคาจนครบ กำหนดแล้ว อย่างไรก็ตาม บริษทั ย่อยได้ทำการสำรวจอายุการใช้งานของเรือเดินทะเลประกอบกับการพิจารณามูลค่าซากใหม่ และ คาดว่าเรือจะใช้งานได้อกี 5 ปี โดยมีมลู ค่าซากใหม่ลำละ 0.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ บริษทั ย่อยจึงตัดค่าเสือ่ มราคาจากมูลค่าสุทธิตาม บัญชีหลังจากหักมูลค่าซากใหม่ตามวิธีเส้นตรงเป็นเวลา 5 ปี นับแต่วันที่ครบกำหนดการตัดค่าเสื่อมราคาครั้งแรก ค่าเสื่อมราคา สำหรับส่วนทีต่ ดั เพิม่ ในปี 2550 เป็นจำนวนเงิน 116.2 ล้านบาท (2549: 130.2 ล้านบาท)

14. สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น

(หน่วย: บาท)

หมายเหตุ

เงินล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือ ค่าธรรมเนียมทางการเงินรอตัดจ่าย สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ รวม

14.1 14.2

14.1 เงินล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือ

14.2 ค่าธรรมเนียมทางการเงินรอตัดจ่าย

งบการเงินรวม 2550 3,239,190,687 298,101,974 4,024,453 3,541,317,114

2549 - - 1,429,706 1,429,706

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 3,239,190,687 298,101,974 3,396,159 3,540,688,820

2549 - - 662,711 662,711

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

เมือ่ วันที่ 20 กรกฎาคม และ 14 กันยายน 2550 บริษทั ฯได้ลงนามในสัญญาสัง่ ต่อเรือจำนวน 15 ฉบับกับผูร้ บั ต่อเรือ รายหนึ่ง เพื่อสั่งต่อเรือประเภทขนส่งสินค้าเทกองจำนวน 15 ลำ (เรือขนาด handysize จำนวน 12 ลำ และเรือขนาด supramax จำนวน 3 ลำ) เป็นจำนวนเงินรวมประมาณ 474 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (หรือประมาณ 30 ล้านเหรียญสหรัฐฯต่อลำสำหรับเรือขนาด handysize และ 38 ล้านเหรียญสหรัฐฯต่อลำสำหรับเรือขนาด supramax) ทัง้ นี้ ราคาของสัญญาสัง่ ต่อเรือแต่ละลำจะถูกแบ่งชำระออก เป็น 5 งวดๆละร้อยละ 20 ของสัญญาต่อเรือ การจ่ายเงินงวดดังกล่าว (ยกเว้นงวดที่ 5) บริษทั ฯจะจ่ายชำระเมือ่ บริษทั ฯได้รบั หนังสือ ค้ำประกันจากธนาคารเพือ่ ค้ำประกันการคืนเงินงวด (พร้อมดอกเบีย้ ร้อยละ 7.5 ต่อปี) ทีบ่ ริษทั ฯได้จา่ ยออกไปในกรณีทผ่ี รู้ บั ต่อเรือไม่ สามารถปฏิบตั ติ ามสัญญาสัง่ ต่อเรือได้ โดยเรือทีส่ ง่ั ต่อใหม่มกี ำหนดการรับมอบเรือในปี 2553 ถึง 2556 อย่างไรก็ตาม ถ้าผูร้ บั ต่อเรือ สามารถส่งมอบเรือให้บริษัทฯก่อนกำหนด บริษัทฯจะต้องจ่ายเงินส่วนเพิ่มให้แก่ผู้รับต่อเรือเป็นจำนวนเงินไม่เกิน 14.9 ล้านเหรียญ สหรัฐฯสำหรับเรือทัง้ หมดจำนวน 15 ลำ ในระหว่างปี 2550 บริษทั ฯได้จา่ ยเงินงวดบางส่วนให้แก่ผรู้ บั ต่อเรือเป็นจำนวนเงิน 94.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ประมาณ 3,239.2 ล้านบาท) ซึง่ บริษทั ฯได้บนั ทึกเงินจำนวนนีใ้ นบัญชี “เงินล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือ” ในสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนของงบดุล

240

ในระหว่างปี 2550 บริษัทฯได้จ่ายชำระค่าธรรมเนียมการกู้เงินให้แก่ผู้ให้กู้และค่าที่ปรึกษาทางการเงินให้แก่ที่ปรึกษา การกูเ้ งินเป็นจำนวนเงินรวม 298.1 ล้านบาท ซึง่ บันทึกอยูใ่ นบัญชี “ค่าธรรมเนียมทางการเงินรอตัดจ่าย” ในสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนใน งบดุล ทัง้ นี้ บริษทั ฯจะเรียกเก็บค่าธรรมเนียมดังกล่าวจากบริษทั ย่อยตามสัดส่วนเงินกูย้ มื เมือ่ บริษทั ย่อยมีการเบิกใช้วงเงินสินเชือ่


As at 31 December 2007, 10 subsidiaries (2006: 18 subsidiaries) have vessels at cost of approximately Baht 2,272.6 million (USD 83.6 million) (2006: Baht 4,073.3 million (USD 155.4 million)), with residual value of approximately Baht 805.0 million (USD 27.2 million) (2006: Baht 1,380.4 million (USD 49.8 million)). The vessels of the subsidiaries have been fully depreciated; however, the subsidiaries made a survey of the estimated useful life and residual value of their vessels and expected that the useful life should be extended for another five years with the residual value of USD 0.7 million per vessel. Those subsidiaries, therefore, depreciate their vessels by the straight-line method for another period of five years on their net book value (after deducting new residual value) since the date first fully depreciated. Additional depreciation expenses for the year 2007 are Baht 116.2 million (2006: Baht 130.2 million). 14. OTHER NON-CURRENT ASSETS

(Unit: Baht)

Consolidated financial statements

Separate financial statements

2007

2007

14.1 14.2

3,239,190,687 298,101,974 4,024,453 3,541,317,114

2006

- - 1,429,706 1,429,706

3,239,190,687 298,101,974 3,396,159 3,540,688,820

2006

- - 662,711 662,711

14.1 Advances for vessel construction

On 20 July and 14 September 2007, the Company entered into 15 contracts with a builder to construct 15 vessels (12 handysize vessels and 3 supramax vessels) classified as bulk carriers at an aggregate price of approximately USD 474 million (or approximately USD 30 million per handysize vessel and USD 38 million per supramax vessel). The contract price will be paid in 5 installments of 20 percent each, with each installment (except the fifth) paid only on the submission of a bank guarantee in favour of the Company, guaranteeing the refund of each installment (with interest at 7.5 percent per annum) in case of a failure by the builder to perform per the contract. The vessels are expected to be delivered in the years 2010 to 2013. However, if the builder can deliver the vessels earlier, the Company has to pay an aggregate sum of incentive amount not exceeding USD 14.9 million to the builder for all the 15 vessels. During the year 2007, the Company made partial payment of installments to the builder, amounting to USD 94.8 million (approximately Baht 3,239.2 million), recording such amounts under “Advances for vessel construction” in noncurrent assets in the balance sheet.

14.2 Deferred financial fees

During the year 2007, the Company paid front end fees to the lenders and advisory fees to advisors totaling Baht 298.1 million which has been recorded in the “Deferred financial fees” account in non-current assets in the balance sheet. The Company will be reimbursed such fees from its subsidiaries based on the portion of loan to be drawn down by subsidiaries.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Advances for vessel construction Deferred financial fees Others Total

Note

241


15. เงินรับล่วงหน้าค่าขายเรือเดินทะเล

ในระหว่างปี 2549 บริษทั ย่อยในประเทศ 8 แห่ง ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงขายเรือเดินทะเลมือสองจำนวน 8 ลำกับบริษทั ต่างประเทศหลายแห่ง เป็นจำนวนเงินรวม 43.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยผูซ้ อ้ื จะต้องจ่ายเงินมัดจำเป็นจำนวนเงินรวม 4.4 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ (ร้อยละ 10 ของราคาขายของเรือแต่ละลำ) และส่วนทีเ่ หลือจะชำระในวันส่งมอบเรือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดได้รวมเงินรับล่วงหน้าข้างต้นจำนวน 3.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งอยู่ในบัญชีเงินฝากธนาคารที่เปิดร่วมกันระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย โดยเงินจำนวนดังกล่าวรวมถึงเงินส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 90 ของ ราคาขายเรือแต่ละลำได้ถกู โอนเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของบริษทั ย่อยในต้นปี 2550 หลังจากเรือทัง้ หมดได้สง่ มอบให้ผซู้ อ้ื ตามบันทึก ข้อตกลงขายเรือเดินทะเลดังกล่าวแล้ว

16. หนี้สินหมุนเวียนอื่น

(หน่วย: บาท)

ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับลูกเรือค้างจ่าย โบนัสพนักงานค้างจ่าย ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ประมาณการภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ า่ ยค้างจ่าย อืน่ ๆ รวม

หมายเหตุ 16.1

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550

2549

2550

2549

96,522,767 58,447,242 112,930,522 216,229,956 38,021,854 28,141,060 550,293,401

100,470,812 46,058,392 72,783,209 - 47,038,249 35,016,461 301,367,123

- 53,808,471 426,733 - 36,461,519 11,585,010 102,281,733

- 38,113,343 - - 45,317,384 6,439,859 89,870,586

16.1 โบนัสพนักงานค้างจ่าย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 โบนัสพนักงานค้างจ่ายสามารถแยกตามปีทจ่ี ะถึงกำหนดจ่ายชำระให้แก่พนัก งานได้ดงั นี ้ (หน่วย: บาท)

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

242

จ่ายชำระภายในปี 2551 2552 - 2553 รวม

งบการเงินรวม 2550 58,447,242 95,947,000 154,394,242

2549 46,058,392 - 46,058,392

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550

2549

53,808,471 88,598,533 142,407,004

38,113,343 38,113,343


15. ADVANCES RECEIVED FROM VESSEL SALES

During the year 2006, the 8 local subsidiaries entered into Sale Agreements termed as Memorandum of Agreement with overseas companies to sell the subsidiaries’ 8 second-hand vessels for a total of USD 43.9 million. The buyers paid deposits totaling USD 4.4 million (10 percent of the selling price of each of the vessels) and the remaining balances were to be paid on delivery of the vessels. As at 31 December 2006, cash and cash equivalents included advances received amounting to USD 3.9 million which were deposited in nominated joint bank accounts of the buyers and sellers. Such advances received alongwith the balance of the sale price (90 percent of the selling price of each of the vessels) were subsequently transferred to the bank accounts of the subsidiaries at the beginning of 2007 as and when respective vessels were delivered to the buyers, in accordance with the respective Memorandum of Agreement. 16. OTHER CURRENT LIABILITIES

(Unit: Baht)

Consolidated financial statements

Separate financial statements

2007

2006

2007

2006

96,522,767 58,447,242 112,930,522 216,229,956 38,021,854 28,141,060 550,293,401

100,470,812 46,058,392 72,783,209 - 47,038,249 35,016,461 301,367,123

- 53,808,471 426,733 - 36,461,519 11,585,010 102,281,733

- 38,113,343 - - 45,317,384 6,439,859 89,870,586

Note

Accrued crew accounts Accrued employee bonus Accrued expenses Provision for income tax Withholding tax payable Others Total

16.1

16.1 Accrued employee bonus

As at 31 December 2007 and 2006, accrued employee bonus can be separated based on the year payment is to be made to employees, as follows:

Consolidated financial statements

Separate financial statements

2007

2007

2006

53,808,471 88,598,533 142,407,004

38,113,343 38,113,343

Payable within year

2008 2009 - 2010 Total

58,447,242 95,947,000 154,394,242

2006

46,058,392 - 46,058,392

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

(Unit: Baht)

243


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

17. วงเงินกู้ยืมระยะยาว

244

17.1 เมือ่ วันที่ 22 สิงหาคม 2548 และ 28 ธันวาคม 2549 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยในประเทศได้ลงนามในสัญญาวงเงินสิน เชื่อหมุนเวียนหลักแบบมีหลักประกันและสัญญาให้สินเชื่อแก้ไขเพิ่มเติม ตามลำดับ กับธนาคารต่างประเทศหลายแห่งจำนวน 250 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดดอกเบีย้ ในอัตราร้อยละ LIBOR บวก 1.00 ถึง 1.40 ต่อปี โดยอ้างอิงกับงบการเงินทีไ่ ด้ปรับปรุงเป็นสกุลเงิน เหรียญสหรัฐฯของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยในแต่ละไตรมาส โดยมีรายละเอียดดังนี ้ - วงเงินสินเชื่อหมุนเวียนมีวัตถุประสงค์ในการกู้ยืมเพื่อนำไปจัดซื้อเรือเดินทะเลโดยมีระยะเวลาเบิกถอนเงินกู้จนถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และจะถูกแปลงสภาพโดยอัตโนมัติเป็นวงเงินสินเชื่อหมุนเวียนลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 หรือก่อนหน้านีถ้ า้ หากผูก้ แู้ ละผูใ้ ห้กมู้ กี ารตกลงยินยอมร่วมกัน - วงเงินสินเชือ่ หมุนเวียนลดลง มีกำหนดชำระคืนตามสัดส่วนทีร่ ะบุในสัญญาเป็นระยะเวลา 32 ไตรมาสเริม่ ตัง้ แต่ มีนาคม 2551 หรือสามเดือนหลังจากการแปลงสภาพจากวงเงินสินเชือ่ หมุนเวียนเป็นวงเงินสินเชือ่ หมุนเวียนลดลง ถ้าได้เกิดขึน้ ก่อน วงเงินสินเชือ่ ดังกล่าวค้ำประกันโดยการจดจำนองเรือเดินทะเลของบริษทั ย่อย การโอนผลประโยชน์ในกรมธรรม์ประกัน ภัยของเรือเดินทะเลที่เป็นหลักประกันของบริษัทย่อยให้แก่เจ้าหนี้ และการโอนผลประโยชน์ในเงินรายได้ของเรือเดินทะเลที่เป็นหลัก ประกันของบริษทั ย่อยให้แก่เจ้าหนี ้ สัญญาเงินกู้ยืมได้ระบุข้อปฏิบัติและข้อจำกัดบางประการ เช่น การจ่ายเงินปันผลจะไม่สามารถกระทำได้ในกรณีที่ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยผิดนัดชำระหนี้ การจำนอง/จำนำ การค้ำประกันหนีส้ ิน เงือ่ นไขในการจำหน่ายกองเรือบางลำ และการดำรง อัตราส่วนทางการเงิน อาทิเช่น ก) ดำรงรักษาอัตราส่วน funded debt to total shareholders’ equity ไม่เกินกว่า 2 ต่อ 1 ข) ดำรงรักษาอัตราส่วน funded debt to EBITDA ไม่เกินกว่า 5 ต่อ 1 ค) ดำรงเงินทุนหมุนเวียนอย่างน้อยเท่ากับ 100,000 เหรียญสหรัฐฯ ต่อเรือเดินทะเล 1 ลำ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยยังไม่มกี ารใช้วงเงินสินเชือ่ ในส่วนนี้ นอกจากนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยอยูใ่ นระหว่างการเจรจากับทางผูใ้ ห้กเู้ พือ่ ขอขยายระยะเวลาสัญญาวงเงินสินเชือ่ จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ซึ่งได้รับการอนุมัติจากผู้ให้กู้แล้ว อย่างไรก็ตาม วงเงินสินเชื่อดังกล่าวถูกปรับลดลงคงเหลือเท่ากับ 200 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ ซึง่ ณ วันทีใ่ นงบการเงิน สัญญาการขยายระยะเวลาวงเงินสินเชือ่ สำหรับการลดวงเงินกูน้ น้ั อยูร่ ะหว่างการจัดทำ 17.2 เมือ่ วันที่ 18 มกราคม 21 พฤษภาคม และ 29 ตุลาคม 2550 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยในประเทศได้ลงนามในสัญญาให้ สินเชือ่ หลักและสัญญาให้สนิ เชือ่ แก้ไขเพิม่ เติม ตามลำดับ กับธนาคารพาณิชย์ในประเทศหลายแห่ง โดยมีรายละเอียดดังนี ้ ก) วงเงินกูจ้ ำนวน 300 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดดอกเบีย้ ในอัตราร้อยละ LIBOR บวก 2.2 ต่อปี เงินกูย้ มื ดังกล่าวมีวตั ถุ ประสงค์เพือ่ นำไปจัดซือ้ เรือเดินทะเล โดยมีระยะเวลาเบิกถอนเงินกูภ้ ายในวันที่ 18 มกราคม 2552 และมีกำหนด ชำระคืนตามสัดส่วนทีร่ ะบุในสัญญาเป็นรายไตรมาสภายในระยะเวลา 12 ปี โดยเริม่ ต้นชำระเงินต้นหลังจากระยะ เวลาปลอดการชำระหนี้ 1 ปีสน้ิ สุดลงนับแต่วนั ทีม่ กี ารเบิกถอนเงินกูค้ รัง้ แรก ข) วงเงินสินเชือ่ แลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศจำนวน 5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ วงเงินให้สินเชื่อดังกล่าวจะต้องค้ำประกันโดยการจดจำนองเรือเดินทะเลของบริษัทย่อย การจำนำหุ้นของบริษัทย่อย การโอนผลประโยชน์ในกรมธรรม์ประกันภัยของเรือเดินทะเลทีเ่ ป็นหลักประกันของบริษทั ย่อยให้แก่เจ้าหนี้ และการโอนผลประโยชน์ใน เงินรายได้ของเรือเดินทะเลทีเ่ ป็นหลักประกันของบริษทั ย่อยให้แก่เจ้าหนีเ้ มือ่ มีการเบิกใช้วงเงินสินเชือ่


17.1 On 22 August 2005 and 28 December 2006, the Company and local subsidiaries entered into a main secured revolving loan facility agreement and an amended and restated agreement, respectively with overseas banks to obtain credit facilities of USD 250 million carrying interest at the rate of LIBOR plus 1.00 to 1.40 percent per annum, the margin of which is based on the USD Restated Financial Statements of the Company and subsidiaries of each quarter. Details are as follows: - A Revolving Acquisition Facility (RAF) is to be used for purchasing of vessels. Such facility was to be drawn down by 31 December 2007 and was automatically to be converted to a Revolving Reducing Credit Facility (RRCF) as at 31 December 2007, or earlier if mutually agreed between the borrowers and the lenders. - The Revolving Reducing Credit Facility (RRCF) is to be repaid in 32 quarterly installments, per the proportions stipulated in the agreement, from March 2008 or three months after conversion of the RAF to RRCF if earlier. The loan is secured by the mortgage of the subsidiaries’ vessels, the assignment of the beneficiary rights under the insurance policies for the mortgaged vessels of the subsidiaries, and the assignment of the revenues earned from the mortgaged vessels of the subsidiaries to the lenders. The loan agreement includes certain covenants and restrictions pertaining to, among other things, nonpayment of dividend in an event of default, the pledge/mortgage of assets, the provision of guarantees for liabilities, conditions on the disposal of certain vessels, and the maintenance of financial ratios such as: a) Maintenance of a funded debt to total shareholders’ equity ratio not exceeding 2:1. b) Maintenance of a funded debt to EBITDA not exceeding 5:1. c) Maintenance of minimum free liquidity of USD 100,000 per vessel. As at 31 December 2007 and 2006, no draw down had been made from this facility. In addition, as at 31 December 2007, the Company and subsidiaries were in the process of negotiating with the lenders to extend the availability period up to 31 December 2008, which, has been accepted by the Lenders, but for a reduced loan amount of USD 200 million. The agreement for the extension of the availability period for the reduced amount is being documented as on the date of this report. 17.2 On 18 January, 21 May and 29 October 2007, the Company and local subsidiaries entered into a main agreement and amended and restated agreements, respectively with local commercial banks to obtain credit facilities, as detailed below. a) A term loan of USD 300 million carrying interest at LIBOR plus 2.2 percent per annum. The loan is to be used to pay for purchases of vessels and is to be drawn down within 18 January 2009, and is to be repaid in quarterly installments over a period of 12 years (commencing after the completion of a grace period of one year from the date of first drawdown), in accordance with the proportionate amounts stipulated in the agreement. b) A foreign currency exchange facility of USD 5 million. The credit facilities have to be secured by the mortgage of the subsidiaries’ vessels, the pledge of the subsidiaries’ shares, the assignment of the beneficiary rights under the insurance policies for the mortgaged vessels of the subsidiaries, and the assignment of the revenues earned from the mortgaged vessels of the subsidiaries to the lenders when the facility is drawn down.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

17. LONG-TERM LOAN FACILITIES

245


ภายใต้สญ ั ญาให้สนิ เชือ่ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยต้องปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขทางการเงินบางประการ อาทิเช่น ก) ดำรงรักษาอัตราส่วน a total debt to total shareholders’ equity ไม่เกินกว่า 2 ต่อ 1 ข) ดำรงรักษาอัตราส่วน a total debt to EBITDA ไม่เกินกว่า 5 ต่อ 1 ค) ดำรงเงินทุนหมุนเวียนอย่างน้อยเท่ากับ 100,000 เหรียญสหรัฐฯ ต่อเรือเดินทะเล 1 ลำ ง) ดำรงรักษาอัตราส่วน debt service coverage ไม่นอ้ ยกว่า 1 ต่อ 1 เงือ่ นไขทางการเงินข้อ ก) ค) และ ง) มีผลบังคับตัง้ แต่วนั ที่ 18 มกราคม 2550 ในขณะทีเ่ งือ่ นไขทางการเงินข้อ ข) มีผล บังคับในวันทีม่ กี ารเบิกใช้วงเงินกูค้ รัง้ แรก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยยังไม่มกี ารใช้วงเงินสินเชือ่ ในส่วนนี ้

18. แผนการเสนอขายหุ้นกู้

เมือ่ วันที่ 6 กรกฎาคม 2550 ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯได้มมี ติอนุมตั ใิ ห้บริษทั ฯหรือบริษทั ย่อยของบริษทั ฯซึง่ จะ จัดตั้งขึ้นใหม่ ออกและเสนอขายหุ้นกู้ภายในวงเงินไม่เกิน 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯหรือเทียบเท่าในเงินสกุลอื่นให้แก่ผู้ลงทุนในต่าง ประเทศ และมอบอำนาจให้คณะกรรมการบริษทั ฯมีอำนาจพิจารณา กำหนดรายละเอียดอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการออกและเสนอขาย หุน้ กูใ้ นภายหลัง เช่น ประเภท มูลค่าสกุลเงิน อัตราดอกเบีย้ ระยะเวลาครบกำหนด ระยะเวลาไถ่ถอน วิธกี ารเสนอขาย ระยะเวลา จองซือ้ วิธกี ารจัดสรรหุน้ กู้ และอืน่ ๆ เป็นต้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯหรือบริษทั ย่อยข้างต้นยังไม่ได้ออกและเสนอขาย หุน้ กูด้ งั กล่าว

19. ทุนเรือนหุ้นและหุ้นปันผล

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

246

19.1 เมือ่ วันที่ 24 เมษายน 2550 ทีป่ ระชุมสามัญประจำปีผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯได้มมี ติดงั นี ้ ก) อนุมตั เิ พิม่ ทุนจดทะเบียนจากเดิม 520 ล้านบาท เป็น 1,040 ล้านบาท โดยการออกหุน้ สามัญเพิม่ ทุนจำนวน 520 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เพื่อรองรับการจ่ายหุ้นปันผล ซึ่งบริษัทฯ ได้นำหุ้นเพิ่มทุนดังกล่าวไป จดทะเบียนเพิม่ ทุนกับกระทรวงพาณิชย์เมือ่ วันที่ 27 เมษายน 2550 ข) อนุมตั ใิ ห้บริษทั ฯจ่ายหุน้ ปันผลจากกำไรของปี 2549 โดยให้โอนกำไรสะสมจำนวน 520 ล้านบาทออก เพือ่ จัดสรร เป็นหุน้ ปันผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ หุน้ ละ 1 บาท ในอัตราส่วน 1 หุน้ เดิมต่อ 1 หุน้ ใหม่ รวมเป็นจำนวน 520 ล้านหุน้ ณ วันที่ปิดสมุดทะเบียนหุ้น จำนวนหุ้นของบริษัทฯที่ถือโดยบุคคลภายนอกและมีสิทธิได้รับหุ้นปันผลมีจำนวน 519,520,600 หุ้น (หลังจากหักหุ้นที่ไม่มีสิทธิได้รับเงินปันผลซึ่งเป็นหุ้นที่บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศ ไทย) จำกัด รับเป็นนายทะเบียนให้จำนวน 479,400 หุ้น จากจำนวนหุ้นที่มีอยู่ 520,000,000 หุ้น) รวมเป็นหุ้น ปันผลจ่ายทัง้ สิน้ 519.5 ล้านบาท ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯได้ยน่ื ขอให้ตลาดหลักทรัพย์รบั หุน้ เพิม่ ทุนจำนวน 519,520,600 หุน้ เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนเพิม่ เติมและได้รบั อนุมตั เิ มือ่ วันที่ 3 พฤษภาคม 2550 19.2 เมือ่ วันที่ 6 กรกฎาคม 2550 ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯได้มมี ติอนุมตั ลิ ดทุนจดทะเบียนของบริษทั ฯจากเดิม 1,040,000,000 บาทเป็น 1,039,520,600 บาท โดยการยกเลิกหุ้นทุนจดทะเบียนซึ่งยังมิได้ออกจำหน่ายจำนวน 479,400 หุ้น มูลค่า

ที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ซึ่งเป็นหุ้นที่บริษัทฯประสงค์จะจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯในรูปของหุ้นปันผลแต่ไม่สามารถจัดสรรหุ้น

ดังกล่าวได้ เนือ่ งจากบริษทั ฯไม่สามารถระบุชอ่ื ผูถ้ อื หุน้ ทีม่ สี ทิ ธิได้รบั การจัดสรรหุน้ นัน้ ได้ บริษทั ฯได้จดทะเบียนการลดทุนดังกล่าวกับ กระทรวงพาณิชย์แล้วเมือ่ วันที่ 13 กรกฎาคม 2550


The credit facility agreements contain covenants that, among other things, require the Company and subsidiaries to maintain certain financial ratios such as: a) Maintenance of a total debt to total shareholders’ equity ratio not exceeding 2:1. b) Maintenance of a total debt to EBITDA ratio not exceeding 5:1. c) Maintenance of minimum free liquidity of USD 100,000 per vessel. d) Maintenance of a debt service coverage ratio of at least 1:1. The covenants a), c) and d) above are applicable from 18 January 2007 whereas covenant b) is applicable from the first draw down date. As at 31 December 2007, no draw down had been made from the facilities. 18. DEBENTURES OFFERING PLAN

On 6 July 2007, the Extraordinary General Meeting of shareholders passed a resolution to approve the Company or a newly established subsidiary of the Company to issue debentures in an amount not exceeding USD 1,000 million or the equivalent in another currency to foreign investors, and to empower the Board of Directors to subsequently determine details of the debenture issue and offering such as the nature of the debentures, the value, the currency, the interest rate, the maturity, the redemption period, the selling method, the subscription period, the allocation method and others. As at 31 December 2007, the debentures have yet to be issued by either the Company or the subsidiary. 19. SHARE CAPITAL AND STOCK DIVIDEND

19.1 On 24 April 2007, the Annual General Meeting of shareholders passed the following resolutions. a) Approval to increase the registered share capital from Baht 520 million to Baht 1,040 million, through the issue of 520 million shares with a par value of Baht 1 each, to support the payment of a stock dividend. The Company registered the increase in its share capital with the Ministry of Commerce on 27 April 2007. b) Approval of the distribution of a stock dividend in respect of the 2006 income, with Baht 520 million to be transferred from retained earnings for allocation as a stock dividend with a par value of Baht 1 each to be distributed for every existing share held, totaling 520 million shares. As at the closing date of the share register, 519,520,600 of the Company’s ordinary shares were qualified to receive stock dividend, after deduction of 479,400 shares disqualified to receive this stock dividend by the registrar (Thailand Securities Depository Co., Ltd.) from the total number of shares outstanding (520,000,000 shares). The total stock dividend paid was thus Baht 519.5 million. In addition, the Company applied to the Stock Exchange of Thailand to register the additional 519,520,600 shares as listed securities and the approval was granted to the Company on 3 May 2007. 19.2 On 6 July 2007, the Extraordinary General Meeting of shareholders passed a resolution to approve the decrease of registered share capital from Baht 1,040,000,000 to Baht 1,039,520,600 by means of cancelling 479,400 authorised but unissued shares with a par value of Baht 1 each which the Company had not been able to allocate because it could not identify the eligible shareholders. The Company already registered the decrease in its capital with the Ministry of Commerce on 13 July 2007.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

247


20. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ของบริษัทย่อย

ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ของบริษทั ย่อย คือส่วนเกินทุนจากการตีราคาทีด่ นิ และอาคารชุด ส่วนเกินทุนดังกล่าว จะทยอยตัดจำหน่ายโดยใช้วธิ เี ส้นตรงตามอายุการใช้งานทีเ่ หลืออยูข่ องสินทรัพย์นน้ั และบันทึกโอนไปยังกำไรสะสมโดยตรง (หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ

ยอดคงเหลือต้นปี หัก: การตัดจำหน่าย ยอดคงเหลือปลายปี

2550

144,279 (20,313) 123,966

2549 144,279 144,279

ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ดงั กล่าวไม่สามารถนำไปหักกับขาดทุนสะสมและไม่สามารถนำไปจ่ายเงินปันผลได้

21. สำรองตามกฎหมาย

เพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯต้องจัดสรรกำไรสุทธิประจำปี ส่วนหนึง่ ไว้เป็นทุนสำรองไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปีหกั ด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำรองนีจ้ ะมี จำนวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำรองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนำไปจ่ายเงินปันผลได้ ตามมาตรา 1202 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บริษทั ย่อยทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ตามกฎหมายไทยต้องจัดสรรทุนสำรองตาม กฎหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของจำนวนผลกำไรซึ่งบริษัททำมาหาได้ทุกคราวที่จ่ายเงินปันผลจนกว่าทุนสำรองนั้นจะมีจำนวนไม่ น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียนของบริษทั สำรองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนำไปหักกับขาดทุนสะสมและไม่สามารถ นำไปจ่ายเงินปันผลได้

22. สำรองหุ้นทุนซื้อคืน

ตามหนังสือสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ท่ี กลต.ชส. (ว) 2/2548 และหนังสือสภาวิชาชีพ บัญชีท่ี ส.สวบช. 016/2548 บริษทั มหาชนจำกัดทีม่ กี ารซือ้ หุน้ คืนต้องมีกำไรสะสมไม่นอ้ ยกว่ามูลค่าหุน้ ซือ้ คืนทีย่ งั คงเหลืออยูใ่ นบัญชี และในกรณีที่จะนำกำไรสะสมไปจ่ายเงินปันผล กำไรสะสมคงเหลือหลังจากจ่ายเงินปันผลต้องมีจำนวนไม่น้อยกว่าหุ้นซื้อคืนที่ยังคง เหลืออยูใ่ นบัญชีดว้ ยเช่นกัน ดังนัน้ บริษทั ฯได้ถอื ปฏิบตั ติ ามแนวทางดังกล่าว โดยการจัดสรรกำไรสะสมเป็นสำรองหุน้ ทุนซือ้ คืนเท่ากับ จำนวนเงินทีไ่ ด้จา่ ยซือ้ หุน้ คืน

23. หุ้นทุนซื้อคืน

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

248

หุน้ ทุนซือ้ คืนประกอบด้วยรายละเอียดดังนี ้

งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ

มูลค่าหุน้ ทุนซือ้ คืน (บาท) จำนวนหุน้ ทุนซือ้ คืน (หุน้ ) ราคาทุนเฉลีย่ หุน้ ละ (บาท) อัตราร้อยละของจำนวนหุน้ ทุนซือ้ คืนต่อจำนวนหุน้ ทีบ่ ริษทั ฯออก

2550

- - - -

2549 414,918,176 12,318,600 33.6823 2.37


20. REVALUATION SURPLUS ON ASSETS OF SUBSIDIARY

This represents surplus arising from revaluation of land and condominium. The surplus is amortised to retained earnings on a straight-line basis over the remaining life of the related assets.

(Unit: Thousand Baht)

Consolidated financial statements/ Separate financial statements

Balance - beginning of year Less: Amortisation Balance - end of year

2007

144,279 (20,313) 123,966

2006

144,279 144,279

The revaluation surplus can neither be offset against deficit nor used for dividend payment.

21. STATUTORY RESERVE

Pursuant to Section 116 of the Public Limited Companies Act B.E. 2535, the Company is required to set aside to a statutory reserve at least 5 percent of its net income after deducting accumulated deficit brought forward (if any), until the reserve reaches 10 percent of the registered capital. The statutory reserve is not available for dividend distribution. According to Section 1202 of the Thai Civil and Commercial Code, a subsidiary (incorporated under Thai Laws) is required to set aside a statutory reserve equal to at least 5 percent of its income each time the company pays out a dividend, until such reserve reaches 10 percent of its registered share capital. The statutory reserve can neither be offset against deficit nor used for dividend payment. 22. TREASURY STOCK RESERVE

23. TREASURY STOCK

Details of treasury stock are as follows: Consolidated financial statements/ Separate financial statements

Value of treasury stock (Baht) Number of treasury shares (Shares) Average cost per share (Baht) The percentage of number of treasury shares to the share capital issued by the Company

2007

2006

- - -

414,918,176 12,318,600 33.6823

-

2.37

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Under the notification of the Office of the Securities and Exchange Commission No. Gor. Lor. Tor. Chor. Sor. (Wor.) 2/2548 and the notification of the Federation of Accounting Professions No. Sor. Sor. Wor. Bor. Chor. 016/2548 public companies buying back their own shares (treasury shares) must have retained earnings in an amount not less than the outstanding balance of the treasury shares, and if retained earnings are appropriated for dividend payment, the balance of retained earnings remaining after such payment must likewise be no less than the balance of the treasury shares. The Company proceeded in accordance with these guidelines and appropriated an amount of retained earnings to the treasury stock reserve equal to the amount paid to acquire the shares.

249


ระยะเวลาจำหน่ายหุน้ ทุนทีซ่ อ้ื คืนเริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 10 เมษายน 2548 ถึงวันที่ 8 ตุลาคม 2550 (ภายหลัง 6 เดือนนับแต่การซือ้ หุ้นคืนเสร็จสิ้นแต่ต้องไม่เกิน 3 ปี) หากบริษัทฯไม่สามารถจำหน่ายหุ้นที่ซื้อคืนทั้งหมดภายในระยะเวลาที่กำหนด บริษัทฯจะลดทุน ชำระแล้วโดยวิธตี ดั หุน้ จดทะเบียนทีซ่ อ้ื คืนและยังมิได้จำหน่ายทัง้ หมด ในระหว่างปี 2550 บริษทั ฯได้จำหน่ายหุน้ ทุนซือ้ คืนจำนวน 12.3 ล้านหุน้ (2549: 1.1 ล้านหุน้ ) ซึง่ มีราคาทุน 414.9 ล้านบาท (2549: 36.0 ล้านบาท) ในราคาขายรวม 566.2 ล้านบาท (2549: 57.1 ล้านบาท) การจำหน่ายหุน้ ทุนซือ้ คืนดังกล่าวได้ดำเนินการใน ตลาดหลักทรัพย์โดยกำหนดราคาจำหน่ายหุน้ ทุนซือ้ คืนจากราคาตลาดของหุน้ ณ วันทีข่ าย ทัง้ นี้ บริษทั ฯได้บนั ทึกผลต่างของราคา ขายทีส่ งู กว่าราคาซือ้ ของหุน้ ทุนซือ้ คืนจำนวนประมาณ 151.3 ล้านบาท (2549: 21.1 ล้านบาท) ใน “ส่วนเกินทุนหุน้ ทุนซือ้ คืน” ในส่วน ของผูถ้ อื หุน้ และโอนกลับสำรองหุน้ ทุนซือ้ คืนไปยังกำไรสะสมทีย่ งั ไม่ได้จดั สรร

24. รายได้อื่น

(หน่วย: บาท)

ดอกเบีย้ รับ กำไรจากอัตราแลกเปลีย่ น อืน่ ๆ รวม

งบการเงินรวม 2550

2549

142,124,906 - 1,222,118 143,347,024

27,983,874 122,837,200 2,704,151 153,525,225

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 36,942,982 - 3,147,653 40,090,635

2549 4,106,310 - 2,320,952 6,427,262

25. ค่าใช้จ่ายอื่น (หน่วย: บาท)

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

250

หนีส้ ญ ู และค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ ขาดทุนจากสัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงิน ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ น รวม

หมายเหตุ 25.1

งบการเงินรวม 2550 4,747,387 241,969,452 175,167,588 421,884,427

2549 31,814,057 - - 31,814,057

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 1,550

- 45,404,564 45,406,114

2549 - - 35,453,320 35,453,320

25.1 ขาดทุนจากสัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงิน

Treasury Rate Lock Agreements Treasury Lock คือ เครื่องมือทางการเงินประเภทหนึ่งที่ทำกับธนาคารเพื่อทำสัญญาขายล่วงหน้าสำหรับพันธบัตร รัฐบาลหรือหุน้ กูข้ องประเทศสหรัฐอเมริกา โดยการจ่ายชำระเงินในวันทีค่ รบกำหนด จะอ้างอิงกับความแตกต่างของอัตราดอกเบีย้ ของ พันธบัตรรัฐบาลที่ตกลงกัน (ในที่นี้ หมายถึง อัตราที่ตกลงกัน) กับอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาลในท้องตลาดทั่วไปของประเทศ สหรัฐฯ ถ้าหากว่าอัตราทั่วไปสูงกว่าอัตราที่ตกลงกันไว้ธนาคารจะต้องจ่ายเงินส่วนต่างนี้ ในทางตรงกันข้าม หากอัตราดอกเบี้ย พันธบัตรรัฐบาลในท้องตลาดต่ำกว่าอัตราทีต่ กลงกันไว้ธนาคารจะได้รบั ส่วนต่าง โดยทัว่ ไปแล้ว Treasury Lock เป็นเครือ่ งมือป้องกัน ความเสี่ยงอย่างหนึ่งสำหรับบริษัท เพื่อ “กำหนด” อัตราดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาลทีค่ าดว่าจะใช้เป็นฐานในการกำหนดราคาสำหรับ การออกหุน้ กูใ้ ห้ทง้ั แก่ประชาชนทัว่ ไปหรือแบบเฉพาะเจาะจง


The period for disposal of the repurchased shares is 10 April 2005 to 8 October 2007 (at least 6 months but not more than 3 years after the date the share repurchase scheme is completed). In the event, the Company does not or is unable to dispose of the repurchased shares within such period, the Company will reduce its capital by cancelling the remaining unsold shares. During the year 2007, the Company disposed 12.3 million treasury shares (2006: 1.1 million treasury shares) with cost of Baht 414.9 million (2006: Baht 36.0 million) at total price of Baht 566.2 million (2006: Baht 57.1 million). The resale of the treasury shares was done on the Stock Market at prevailing market prices at the time of sale. The Company realised Baht 151.3 million (2006: Baht 21.1 million) as a gain on the aforesaid shares which has been presented as “Premium on treasury stock” in the shareholders’ equity, and reversed treasury stock reserve to unappropriated retained earnings. 24. OTHER INCOME

(Unit: Baht)

Consolidated financial statements

Separate financial statements

2007

2006

2007

142,124,906 - 1,222,118 143,347,024

27,983,874 122,837,200 2,704,151 153,525,225

Interest income Exchange gains Others Total

36,942,982 - 3,147,653 40,090,635

2006

4,106,310 - 2,320,952 6,427,262

25. OTHER EXPENSES

(Unit: Baht)

Consolidated financial statements

Separate financial statements

2007

2007

Bad debt and allowance for doubtful accounts Losses on derivative contracts 25.1 Exchange losses Total

4,747,387 241,969,452 175,167,588 421,884,427

2006

31,814,057 - - 31,814,057

1,550

- 45,404,564 45,406,114

2006

- - 35,453,320 35,453,320

25.1 Losses on derivative contracts

Treasury Rate Lock Agreements A Treasury Lock is a type of financial instrument executed with a bank, for a forward sale of a U.S. Treasury note or bond which is settled for an amount based on the difference between an agreed Treasury rate (referred to as the lock rate) and the prevailing Treasury rates at the time of settlement. If, at the contract’s settlement date, the prevailing rate is higher than the agreed upon rate, the bank will pay an amount based upon the difference in the two rates. However, if the prevailing Treasury rate is lower than the lock rate, the bank will receive the difference. The Treasury Lock is generally used as a hedging tool by companies to “lock in” the Treasury rate which is expected to serve as the basis for the pricing of a public or private debt issue.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Note

251


สำหรับการออกและเสนอขายหุน้ กูท้ ไ่ี ด้รบั การอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯเมือ่ ไม่นานมานี้ ด้วยวัตถุประสงค์ ในการกำหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาลที่แน่นอน เพื่อจะใช้เป็นฐานในการกำหนดราคาสำหรับการออกหุ้นกู้นั้น ดังนั้น บริษัท ย่อยในประเทศ 2 แห่ง ได้ทำสัญญา Treasury Lock Contracts จำนวนเงินต้นรวม 200 ล้านเหรียญสหรัฐฯกับสาขาของธนาคาร ต่างประเทศแห่งหนึง่ สัญญาดังกล่าวมีระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนและครบกำหนดในวันที่ 25 ตุลาคม 2550 (วันครบกำหนด) และถูก ค้ำประกันโดยบริษัทฯ ในวันครบกำหนดบริษัทย่อยดังกล่าวจะจ่ายส่วนต่างให้กับธนาคารโดยใช้ฐานของอัตราที่กำหนดไว้ในสัญญา คือ 5.03 เปอร์เซ็นต์ ในเดือนตุลาคม 2550 ก่อนวันที่ครบกำหนดตามสัญญา บริษัทย่อยดังกล่าวได้ทยอยยกเลิกสัญญา Treasury Lock Contracts ในหลายวัน เป็นจำนวนเงินต้นรวม 200 ล้านเหรียญสหรัฐฯกับธนาคารดังกล่าว โดยเกิดขาดทุนจากสัญญาอนุพนั ธ์ทางการ เงินดังกล่าวเป็นจำนวนเงิน 7.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ประมาณ 242.0 ล้านบาท) ซึง่ บันทึกอยูใ่ นบัญชี “ขาดทุนจากสัญญาอนุพนั ธ์ ทางการเงิน” ในงบกำไรขาดทุน

26. จำนวนและค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน

จำนวนพนักงาน ณ วันสิน้ ปี (คน) ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับพนักงานสำหรับปี (พันบาท)

9 เดือน

งบการเงินรวม 2550 1,281 1,369,468

2549 1,523 1,447,047

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 95 361,422

2549 79 217,952

จำนวนพนักงานข้างต้นได้รวมลูกเรือทัง้ หมดของบริษทั ฯซึง่ อยูภ่ ายใต้สญ ั ญาจ้างงานทีม่ รี ะยะเวลาการจ้างตัง้ แต่ 6 ถึง

27. ภาษีเงินได้นิติบุคคล

บริษทั ฯไม่มภี าระภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลสำหรับปี 2550 และ 2549 เนือ่ งจากบริษทั ฯมีผลขาดทุนทางภาษียกมาจากปีกอ่ น บริษัทย่อยได้รับยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับเงินได้จากการขนส่งสินค้าทางทะเลระหว่างประเทศตามประกาศอธิบดี กรมสรรพากรเกีย่ วกับภาษีเงินได้ฉบับที่ 72 ลงวันที่ 1 มกราคม 2541 นอกจากนี้ บริษทั ย่อยยังได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลตาม พระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 สำหรับกิจการขนส่งทางทะเลสำหรับเรือเดินทะเล ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลของบริษทั ย่อยในประเทศคำนวณขึน้ ในอัตราร้อยละ 30 สำหรับกำไรจากกิจกรรมทีไ่ ม่ได้รบั การยกเว้น ภาษีเงินได้หลังจากบวกกลับด้วยรายการสำรองและค่าใช้จา่ ยต่างๆ ทีไ่ ม่อนุญาตให้ถอื เป็นรายจ่ายในการคำนวณภาษี ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลของบริษทั ย่อยในต่างประเทศคำนวณขึน้ โดยใช้อตั ราตามกฎหมายของประเทศเหล่านัน้ รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

28. การส่งเสริมการลงทุน

252

บริษทั ฯได้รบั สิทธิและประโยชน์ภายใต้พระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมการลงทุนโดยการอนุมตั ขิ องคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ตามบัตรส่งเสริมเลขที่ 1405/2550 ลงวันที่ 23 มีนาคม 2550 ภายใต้เงือ่ นไขทีก่ ำหนดบางประการ บริษทั ฯได้รบั สิทธิและประโยชน์ท่ี สำคัญเกี่ยวกับการนำคนต่างด้าวซึ่งเป็นช่างฝีมือหรือผู้ชำนาญการเข้ามาในประเทศไทยโดยได้รับอนุญาตให้ทำงานเฉพาะตำแหน่ง หน้าทีก่ ารทำงานทีค่ ณะกรรมการให้ความเห็นชอบตลอดระยะเวลาเท่าทีไ่ ด้รบั อนุญาต และได้รบั อนุญาตให้ถอื กรรมสิทธิใ์ นทีด่ นิ ตาม จำนวนทีค่ ณะกรรมการพิจารณาเห็นสมควร ตลอดจนได้รบั อนุญาตให้นำหรือส่งเงินออกนอกประเทศไทยเป็นเงินตราต่างประเทศได้


For the proposed issue of Debentures which was recently approved by the shareholders of the Company, with the intention of locking in the Treasury rate, which would have been the basis of pricing of the Debentures, 2 local subsidiaries entered into Treasury Lock Contracts with a branch of a foreign bank for an aggregate principal amount of USD 200 million. The contracts were for a period of not over 3 months, maturing on 25 October 2007 (maturity date) and guaranteed by the Company. As at the settlement date, the subsidiaries were required to pay an amount to the bank based on the lock rate stipulated in the contracts of 5.03 percent. On different dates in October 2007 the subsidiaries gradually unwound the Treasury Lock Contracts, aggregating USD 200 million, prior to their maturity. Resulting loss on these derivative contracts, amounting to USD 7.1 million (approximately Baht 242.0 million), has been recorded under the caption of “Losses on derivative contracts” in the income statement. 26. EMPLOYEES AND RELATED COSTS

Consolidated financial statements

Separate financial statements

2007

2007

Number of employees at end of year (persons) Employee costs for the year (Thousand Baht)

1,281 1,369,468

2006

1,523 1,447,047

95 361,422

2006

79 217,952

The above employees include crew on board the Company’s ships who are employed on fixed period contracts on periods ranging from six to nine months. No corporate income tax was payable for the years 2007 and 2006, since the Company had tax losses brought forward from previous years. In accordance with the Director - General’s Notification on Income Tax No. 72 dated 1 January 1998, the subsidiaries are exempted from the payment of income tax on their marine transportation income. In addition, the subsidiaries are exempted from the payment of income tax on their marine transportation business under the provisions of the Investment Promotion Act B.E. 2520. Corporate income tax of the local subsidiaries has been calculated at the rate of 30 percent on the income from the non-exempt activities, after adding back certain provisions and expenses which are disallowable for tax computation purposes. Corporate income tax of the overseas subsidiaries has been calculated by applying the applicable statutory rates of the relevant countries. 28. PROMOTIONAL PRIVILEGES

The Company has been granted promotional privileges under the Investment Promotion Act, as approved by the Board of Investment under BOI certificate No. 1405/2550 dated 23 March 2007. Subject to certain imposed conditions, the significant privileges are the rights to employ skilled foreigners to work within the scope of duties approved by the Board of Investment and for the period for which they are permitted to stay in Thailand, permission to own land in an amount considered appropriate by the Board of Investment, and permission to transfer funds in or out of Thailand in foreign currencies.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

27. CORPORATE INCOME TAX

253


บริษทั ย่อยได้รบั สิทธิพเิ ศษทางภาษีบางประการตามพระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 สำหรับกิจการขนส่งทาง ทะเลสำหรับเรือเดินทะเล อาทิเช่น ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลเป็นเวลา 8 ปี นับแต่วนั ทีเ่ ริม่ มีรายได้จากการประกอบกิจการทีไ่ ด้ รับการส่งเสริม เป็นต้น โดยมีเงือ่ นไขว่าบริษทั ย่อยจะต้องจดทะเบียนเรือเดินทะเลของบริษทั ย่อยเป็นเรือไทยซึง่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ย่อย 34 บริษทั ได้จดทะเบียนเรือจำนวน 43 ลำเป็นเรือไทยแล้ว (2549: บริษทั ย่อย 34 บริษทั ได้จดทะเบียนเรือจำนวน 53 ลำเป็นเรือไทย) รายได้รวมและค่าใช้จา่ ยรวมสำหรับปี 2550 และ 2549 (ก่อนการตัดรายการระหว่างกัน) จำแนกตามกิจการทีไ่ ด้รบั การส่ง เสริมและกิจการทีไ่ ม่ได้รบั การส่งเสริมสามารถแสดงสรุปได้ดงั นี ้ (หน่วย: พันบาท)

กิจการที่ ไม่ ได้รับการส่งเสริม

กิจการที่ ได้รับการส่งเสริม

2550

รายได้ ต้นทุนและค่าใช้จา่ ย กำไรสุทธิ

2549

กิจการที่ ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ฉบับที่ 72

2550

2549

กิจการที่ ไม่ ได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้

2550

2549

รวม

2550

2549

4,318,407 4,699,178 2,912,534 4,411,913 6,542,008 3,471,072 13,772,949 12,582,163 (2,557,028) (2,994,579) (1,256,902) (2,211,447) (1,282,392) (1,169,284) (5,096,322) (6,375,310) 1,761,379 1,704,599 1,655,632 2,200,466 5,259,616 2,301,788 8,676,627 6,206,853

29. กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน

กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำนวณโดยการหารกำไรสุทธิสำหรับปีด้วยจำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญที่ถือโดยบุคคล ภายนอกที่ออกอยู่ในระหว่างปี โดยสุทธิจากหุ้นสามัญซื้อคืนที่ถือโดยบริษัทฯ และได้ปรับจำนวนหุ้นสามัญที่ถือโดยบุคคลภายนอก ตามสัดส่วนที่เปลี่ยนไปของจำนวนหุ้นสามัญที่เกิดจากการออกหุ้นปันผลตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุ 19 ทั้งนี้ บริษัทฯได้ปรับปรุง จำนวนหุน้ สามัญของงวดก่อนโดยถือเสมือนว่าการออกหุน้ ปันผลได้เกิดขึน้ ตัง้ แต่วนั เริม่ ต้นของงวดแรกทีเ่ สนอรายงาน

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

30. ข้อมูลทางการเงินจำแนกส่วนงาน

254

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยประกอบธุรกิจส่วนใหญ่ภายใต้สว่ นงานทางธุรกิจเดียว คือ เป็นเจ้าของเรือเอนกประสงค์ขนาดเล็ก สำหรับขนสินค้าแห้งเทกอง (small handy sized dry bulk ships) ระหว่างประเทศ โดยให้บริการแบบไม่ประจำเส้นทาง (tramp shipping basis) รายได้เกือบทัง้ หมดมาจากส่วนงานนี้ ดังนัน้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจึงไม่มสี ว่ นงานทางธุรกิจด้านอืน่ นอกจากส่วนงานหลักดัง ทีไ่ ด้กล่าวไว้ขา้ งต้น กิจกรรมทางธุรกิจในส่วนงานนี้ ได้แก่ การให้บริการเช่าเรือขนส่งสินค้า โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การเช่าเป็นระยะ เวลา (Time charter) และการเช่าเป็นรายเทีย่ ว (Voyage charter) สำหรับการเช่าเป็นระยะเวลาผูเ้ ช่าเรือ (ลูกค้า) จะจ่ายค่าเช่าแก่ผใู้ ห้ เช่าเรือ (ในอัตราต่อวันตามทีต่ กลงกัน โดยส่วนใหญ่จะตกลงชำระค่าเช่าเป็นเงินดอลล่าร์สหรัฐฯ) ตามระยะเวลาทีก่ ำหนด ในกรณีดงั กล่าว ผูเ้ ช่าเรือจะรับผิดชอบค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือทัง้ หมด รวมทัง้ รายจ่ายท่าเรือและน้ำมันเชือ้ เพลิง สำหรับการเช่าเป็นรายเทีย่ ว ผู้ เช่าเรือจะจ่ายค่าระวางเรือในอัตราต่อตัน (ส่วนใหญ่จะตกลงกันเป็นเงินดอลล่าร์สหรัฐฯ) เพือ่ ขนส่งสินค้าทีร่ ะบุเฉพาะระหว่างท่าเรือที่ กำหนดตั้งแต่สองท่าขึ้นไป ในกรณีนี้บริษัทฯ (หรือบริษัทย่อย) จะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการเดินเรือทั้งหมด ซึ่งค่าใช้จ่ายดังกล่าว แสดงไว้ในงบการเงินภายใต้ชอ่ื “รายจ่ายท่าเรือ” (Voyage disbursements) และ “น้ำมันเชือ้ เพลิง” (Bunker consumption) การเช่าเป็น ระยะเวลานัน้ เส้นทางเดินเรือจะถูกกำหนดหรือควบคุมโดยผูเ้ ช่าเรือและภายใต้สญ ั ญาเช่าเรือ โดยเส้นทางการเดินเรือจะแตกต่างกัน ไปในแต่ละเที่ยวการเดินเรือ ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆซึ่งอยู่นอกเหนือการควบคุมของบริษัทฯและบริษัทย่อย ดังนั้น บริษัทฯและบริษัท ย่อยจึงไม่นำเสนอข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงานทางภูมิศาสตร์ เพราะอาจไม่สื่อความหมายและอาจทำให้เกิดความเข้าใจที่ ไม่ถกู ต้อง


Under the provisions of the Investment Promotion Act B.E. 2520, the subsidiaries were granted certain promotional privileges for their marine transportation. The promotional privileges include, among other things, exemption from the payment of income tax for a period of 8 years commencing as from the date of first earning operating income on the condition that the vessels owned by the subsidiaries are registered in Thailand. As at 31 December 2007, the 34 subsidiaries have registered their 43 vessels under the Thai flag (2006: 34 subsidiaries have registered their 53 vessels under the Thai flag). Revenues and expenses for 2007 and 2006 (before eliminating related transactions), classified between promoted and non-promoted operations can be summarised below.

(Unit: Thousand Baht)

Non-promoted operations

Promoted operations

2007

2006

Operations exempted from corporate income tax in accordance with the Operations not eligible Director-General’s Notification for corporate on Income Tax No. 72 income tax exemption

2007

2006

2007

2006

Total

2007

2006

Revenues 4,318,407 4,699,178 2,912,534 4,411,913 6,542,008 3,471,072 13,772,949 12,582,163 Costs and expenses (2,557,028) (2,994,579) (1,256,902) (2,211,447) (1,282,392) (1,169,284) (5,096,322) (6,375,310) Net income 1,761,379 1,704,599 1,655,632 2,200,466 5,259,616 2,301,788 8,676,627 6,206,853

29. BASIC EARNINGS PER SHARE

Basic earnings per share is calculated by dividing the net income for the year by the weighted average number of ordinary shares held by outside shareholders in issue during the year net of treasury stock held by the Company and adjusting the number of ordinary shares in proportion to the change in the number of shares as a result of the distribution of stock dividend, as discussed in Note 19. The number of ordinary shares of the prior period has been adjusted as if the stock dividend had been distributed at the beginning of the earliest period reported. The Company and its subsidiaries’ operations involve the business of owning and internationally operating (chartering) small handy sized dry bulk ships, on a tramp shipping basis without any set routes. This is the only industry segment in which the Company and its subsidiaries mainly operate and almost entire revenues are generated from this segment. As such, no segmental bifurcation is applicable since the operations are mainly limited to only one aforesaid segment. The business activity in the segment, i.e. the chartering of the ships, is undertaken in two ways, viz., Time charter and Voyage charter. Under Time charter, the charterer (customer) pays charter hire (at an agreed daily rate, almost always in US Dollars) to operate the vessel for an agreed time period. In this case, the charterer bears all voyage expenses including port disbursements and costs of bunker fuel. Under Voyage charter, the charterer pays freight on a per ton basis (almost always in US Dollars) to transport a particular cargo between two or more designated ports. In this case, the Company (or subsidiary) bears all the voyage expenses. The voyage expenses are presented in the financial statements as voyage disbursements and bunker consumption. Under Time charter, the ship routes are determined or controlled exclusively by the charterers and under Voyage charters, the route varies from time to time for each voyage, which is determined by a number of factors which are totally beyond the Company’s and subsidiaries’ control. As such, reporting by geographical segments would not be practical or meaningful, and could in fact be misleading.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

30. SEGMENT INFORMATION

255


จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงานของรายได้จากการเดินเรือ (และค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือที่ เกีย่ วกับการเช่าเป็นรายเทีย่ ว) จึงจำแนกได้เป็นสองประเภท คือ รายได้จากการเช่าเป็นระยะเวลา และการเช่าเป็นรายเทีย่ ว ซึง่ แสดง ภายใต้ชอ่ื “รายได้คา่ เช่าเรือ” (Hire income) และ “รายได้คา่ ระวางเรือ” (Freight income) ตามลำดับดังนี ้ (หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม

การเช่าเป็นระยะเวลา การเช่าเป็นรายเที่ยว รวม 2550 2549 2550 2549 2550 2549

รายได้คา่ เช่าเรือ 6,969,502 6,893,813 รายได้คา่ ระวางเรือ - - รวมรายได้จากการเดินเรือ 6,969,502 6,893,813 รายจ่ายท่าเรือ - - น้ำมันเชือ้ เพลิง - - รวมค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับการเช่า เป็นรายเทีย่ ว - - รายได้จากการเดินเรือสุทธิ/ รายได้เทียบเท่าจากการเช่า เรือเป็นระยะเวลา 6,969,502 6,893,813

ตัดบัญชี 2550 2549

รวม 2550 2549

- - 6,969,502 6,893,813 372,933 2,906,226 372,933 2,906,226 372,933 2,906,226 7,342,435 9,800,039 (108,093) (1,083,952) (108,093) (1,083,952) (60,213) (489,689) (60,213) (489,689)

- (54,066) (54,066) 54,066 -

- 6,969,502 6,893,813 (743,736) 318,867 2,162,490 (743,736) 7,288,369 9,056,303 743,736 (54,027) (340,216) - (60,213) (489,689)

(168,306) (1,573,641)

54,066

743,736

(168,306) (1,573,641)

204,627 1,332,585 7,174,129 8,226,398

-

-

(114,240)

(829,905)

7,174,129 8,226,398

31. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

บริษัทฯ บริษัทย่อย และพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 บริษทั ฯ บริษทั ย่อย และพนักงานจะจ่ายสมทบเข้ากองทุนเป็นรายเดือนในอัตราร้อยละ 5 ของเงินเดือน กองทุนสำรอง เลี้ยงชีพนี้บริหารโดย ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และจะจ่ายให้แก่พนักงานเมื่อพนักงานออกจากงานตามระเบียบว่าด้วย กองทุนของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ในระหว่างปี 2550 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้จา่ ยเงินสมทบกองทุนเป็นจำนวนเงิน 2.1 ล้านบาท (2549: 1.4 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 1.8 ล้านบาท 2549: 0.9 ล้านบาท)

32. เงินสดปันผล

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

เงินปันผลทีป่ ระกาศจ่ายในปี 2550 มีดงั นี ้ อนุมัติโดย

256

ก) เงินปันผลระหว่างกาลจากผลการ ดำเนินงานสำหรับงวดเก้าเดือน สิน้ สุดวันที่ 30 กันยายน 2550

ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2550

รวมเงินปันผล เงินปันผลต่อหุ้น (ล้านบาท) (บาท) 519.7

0.50

ณ วั นที ่ ป ิ ด สมุ ด ทะเบี ย นหุ ้ น จำนวนหุ ้ นของบริ ษ ั ท ฯที ่ ถ ื อ โดยบุ ค คลภายนอกและมี ส ิ ท ธิ ได้ ร ั บ เงิ น ปั น ผลมี จ ำนวน 1,039,307,700 หุน้ (หลังจากหักหุน้ ทีไ่ ม่มสี ทิ ธิได้รบั เงินปันผลซึง่ เป็นหุน้ ทีบ่ ริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด รับเป็น นายทะเบียนให้จำนวน 212,900 หุน้ จากจำนวนหุน้ ทีม่ อี ยู่ 1,039,520,600 หุน้ ) รวมเป็นเงินปันผลจ่ายทัง้ สิน้ 519.7 ล้านบาท


In view of the above, segment information is limited to the bifurcation of the total vessel operating income (and voyage expenses in respect of Voyage charter) derived from Time charter and Voyage charter presented as “Hire income” and “Freight income” respectively, as under:

(Unit: Thousand Baht)

Consolidated financial statements Time charter

2007

2006

Voyage charter 2007

2006

Total 2007

2006

Elimination 2007

2006

Total 2007

2006

Hire income 6,969,502 6,893,813 - - 6,969,502 6,893,813 - - 6,969,502 6,893,813 Freight income - - 372,933 2,906,226 372,933 2,906,226 (54,066) (743,736) 318,867 2,162,490 Total vessel operating income 6,969,502 6,893,813 372,933 2,906,226 7,342,435 9,800,039 (54,066) (743,736) 7,288,369 9,056,303 Voyage disbursements - - (108,093) (1,083,952) (108,093) (1,083,952) 54,066 743,736 (54,027) (340,216) Bunker consumption - - (60,213) (489,689) (60,213) (489,689) - - (60,213) (489,689) Total voyage expenses - - (168,306) (1,573,641) (168,306) (1,573,641) 54,066 743,736 (114,240) (829,905) Net vessel operating income/time charter equivalent income 6,969,502 6,893,813 204,627 1,332,585 7,174,129 8,226,398 - - 7,174,129 8,226,398

31. PROVIDENT FUND

The Company and subsidiaries and their employees have jointly established a provident fund in accordance with the Provident Fund Act B.E. 2530. Both employees and the Company/the subsidiaries contributed to the fund monthly at the rate of 5 percent of basic salary. The fund, which is managed by Bangkok Bank Public Company Limited, will be paid to employees upon termination in accordance with the fund rules. During the year 2007, the Company and subsidiaries contributed Baht 2.1 million (2006: Baht 1.4 million) to the provident fund (Separate financial statements: Baht 1.8 million, 2006: Baht 0.9 million). 32. CASH DIVIDENDS

Dividends declared in the year 2007 consist of the following:

Approved by

a) Interim dividends on operating results for the nine-month period ended 30 September 2007

Board of Directors’ meeting on 15 November 2007

Total dividends Dividend per share (Million Baht)

519.7

(Baht)

0.50

As at the closing date of the share register, 1,039,307,700 of the Company’s ordinary shares were qualified to receive dividend, after deduction of 212,900 shares disqualified to receive this dividend by the registrar (Thailand Securities Depository Co., Ltd.) from the total number of shares outstanding (1,039,520,600 shares). The total dividend paid was thus Baht 519.7million.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

257


อนุมัติโดย

รวมเงินปันผล เงินปันผลต่อหุ้น (ล้านบาท) (บาท)

ข) เงินปันผลระหว่างกาลจากผลการ ดำเนินงานสำหรับงวดหกเดือน สิน้ สุดวันที่ 30 มิถนุ ายน 2550

ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ วันที่ 8 สิงหาคม 2550

519.7

0.50

ค) เงินปันผลระหว่างกาลจากผลการ ดำเนินงานสำหรับงวดสามเดือน สิน้ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2550

ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ วันที่ 7 พฤษภาคม 2550

519.5

0.50

ง) เงินปันผลจากกำไรปี 2549

ทีป่ ระชุมสามัญประจำปีผถู้ อื หุน้ วันที่ 24 เมษายน 2550

1,096.2

2.11

จ) เงินปันผลระหว่างกาลจากกำไรสะสม จนถึงวันที่ 30 กันยายน 2549

ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ วันที่ 21 พฤศจิกายน 2549

505.4

1.00

ณ วั นที ่ ป ิ ด สมุ ด ทะเบี ย นหุ ้ น จำนวนหุ ้ นของบริ ษ ั ท ฯที ่ ถ ื อ โดยบุ ค คลภายนอกและมี ส ิ ท ธิ ได้ ร ั บ เงิ น ปั น ผลมี จ ำนวน 1,039,369,600 หุน้ (หลังจากหักหุน้ ทีไ่ ม่มสี ทิ ธิได้รบั เงินปันผลซึง่ เป็นหุน้ ทีบ่ ริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด รับเป็น นายทะเบียนให้จำนวน 151,000 หุน้ จากจำนวนหุน้ ทีม่ อี ยู่ 1,039,520,600 หุน้ ) รวมเป็นเงินปันผลจ่ายทัง้ สิน้ 519.7 ล้านบาท อนุมัติโดย รวมเงินปันผล เงินปันผลต่อหุ้น (ล้านบาท) (บาท)

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ณ วั นที ่ ป ิ ด สมุ ด ทะเบี ย นหุ ้ น จำนวนหุ ้ นของบริ ษ ั ท ฯที ่ ถ ื อ โดยบุ ค คลภายนอกและมี ส ิ ท ธิ ได้ ร ั บ เงิ น ปั น ผลมี จ ำนวน 1,039,040,700 หุน้ (หลังจากหักหุน้ ทีไ่ ม่มสี ทิ ธิได้รบั เงินปันผลซึง่ เป็นหุน้ ทีบ่ ริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด รับเป็น นายทะเบียนให้จำนวน 479,900 หุน้ จากจำนวนหุน้ ทีม่ อี ยู่ 1,039,520,600 หุน้ ) รวมเป็นเงินปันผลจ่ายทัง้ สิน้ 519.5 ล้านบาท อนุมัติโดย รวมเงินปันผล เงินปันผลต่อหุ้น (ล้านบาท) (บาท)

258

ณ วันทีป่ ดิ สมุดทะเบียนหุน้ จำนวนหุน้ ของบริษทั ฯทีถ่ อื โดยบุคคลภายนอกและมีสทิ ธิได้รบั เงินปันผลมีจำนวน 519,520,600 หุน้ (หลังจากหักหุน้ ทีไ่ ม่มสี ทิ ธิได้รบั เงินปันผลซึง่ เป็นหุน้ ทีบ่ ริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด รับเป็นนายทะเบียนให้ จำนวน 479,400 หุน้ จากจำนวนหุน้ ทีม่ อี ยู่ 520,000,000 หุน้ ) รวมเป็นเงินปันผลจ่ายทัง้ สิน้ 1,096.2 ล้านบาท เงินปันผลทีป่ ระกาศจ่ายในปี 2549 มีดงั นี ้ อนุมัติโดย รวมเงินปันผล เงินปันผลต่อหุ้น (ล้านบาท) (บาท)


Approved by

b) Interim dividends on operating results for the six-month period ended 30 June 2007

Board of Directors’ meeting on 8 August 2007

Total dividends Dividend per share (Million Baht)

(Baht)

519.7

0.50

As at the closing date of the share register, 1,039,369,600 of the Company’s ordinary shares were qualified to receive dividend, after deduction of 151,000 shares disqualified to receive this dividend by the registrar (Thailand Securities Depository Co., Ltd.) from the total number of shares outstanding (1,039,520,600 shares). The total dividend paid was thus Baht 519.7 million.

Approved by

c) Interim dividends on operating results for the three-month period ended 31 March 2007

Board of Directors’ meeting on 7 May 2007

Total dividends Dividend per share (Million Baht)

(Baht)

519.5

0.50

As at the closing date of the share register, 1,039,040,700 of the Company’s ordinary shares were qualified to receive dividend, after deduction of 479,900 shares disqualified to receive this dividend by the registrar (Thailand Securities Depository Co., Ltd.) from the total number of shares outstanding (1,039,520,600 shares). The total dividend paid was thus Baht 519.5 million.

Approved by

d) Final dividends of 2006 income

Annual General Meeting of the shareholders on 24 April 2007

Total dividends Dividend per share (Million Baht)

(Baht)

1,096.2

2.11

As at the closing date of the share register, 519,520,600 of the Company’s ordinary shares were qualified to receive dividend, after deduction of 479,400 shares disqualified to receive this dividend by the registrar (Thailand Securities Depository Co., Ltd.) from the total number of shares outstanding (520,000,000 shares). The total dividend paid was thus Baht 1,096.2 million. Dividends declared in the year 2006 consist of the following:

Approved by

e) Interim dividends on retained earnings as of 30 September 2006

Board of Directors’ meeting on 21 November 2006

Total dividends Dividend per share (Million Baht)

505.4

(Baht)

1.00

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

259


ณ วันทีป่ ดิ สมุดทะเบียนหุน้ จำนวนหุน้ ของบริษทั ฯทีถ่ อื โดยบุคคลภายนอกและมีสทิ ธิได้รบั เงินปันผลมีจำนวน 505,410,012 หุน้ (หลังจากหักหุน้ ทุนซือ้ คืนทีถ่ อื โดยบริษทั ฯจำนวน 13,386,300 หุน้ และหุน้ ทีไ่ ม่มสี ทิ ธิได้รบั เงินปันผลซึง่ เป็นหุน้ ทีบ่ ริษทั ศูนย์รบั ฝาก หลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด รับเป็นนายทะเบียนให้จำนวน 1,203,688 หุ้น จากจำนวนหุ้นที่มีอยู่ 520,000,000 หุ้น) รวมเป็น เงินปันผลจ่ายทัง้ สิน้ 505.4 ล้านบาท อนุมัติโดย รวมเงินปันผล เงินปันผลต่อหุ้น (ล้านบาท) (บาท) ฉ) เงินปันผลระหว่างกาลจากผลการ ดำเนินงานสำหรับงวดหกเดือน สิน้ สุดวันที่ 30 มิถนุ ายน 2549

ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ วันที่ 28 สิงหาคม 2549

506.1

1.00

ช) เงินปันผลจากกำไรปี 2548

ทีป่ ระชุมสามัญประจำปีผถู้ อื หุน้ วันที่ 20 เมษายน 2549

784.5

1.55

ณ วันทีป่ ดิ สมุดทะเบียนหุน้ จำนวนหุน้ ของบริษทั ฯทีถ่ อื โดยบุคคลภายนอกและมีสทิ ธิได้รบั เงินปันผลมีจำนวน 506,132,700 หุน้ (หลังจากหักหุน้ ทุนซือ้ คืนทีถ่ อื โดยบริษทั ฯจำนวน 13,386,300 หุน้ และหุน้ ทีไ่ ม่มสี ทิ ธิได้รบั เงินปันผลซึง่ เป็นหุน้ ทีบ่ ริษทั ศูนย์รบั ฝาก หลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด รับเป็นนายทะเบียนให้จำนวน 481,000 หุ้น จากจำนวนหุ้นที่มีอยู่ 520,000,000 หุ้น) รวมเป็น เงินปันผลจ่ายทัง้ สิน้ 506.1 ล้านบาท อนุมัติโดย รวมเงินปันผล เงินปันผลต่อหุ้น (ล้านบาท) (บาท)

ณ วันทีป่ ดิ สมุดทะเบียนหุน้ จำนวนหุน้ ของบริษทั ฯทีถ่ อื โดยบุคคลภายนอกและมีสทิ ธิได้รบั เงินปันผลมีจำนวน 506,131,700 หุน้ (หลังจากหักหุน้ ทุนซือ้ คืนทีถ่ อื โดยบริษทั ฯจำนวน 13,386,300 หุน้ และหุน้ ทีไ่ ม่มสี ทิ ธิได้รบั เงินปันผลซึง่ เป็นหุน้ ทีบ่ ริษทั ศูนย์รบั ฝาก หลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด รับเป็นนายทะเบียนให้จำนวน 482,000 หุ้น จากจำนวนหุ้นที่มีอยู่ 520,000,000 หุ้น) รวมเป็น เงินปันผลจ่ายทัง้ สิน้ 784.5 ล้านบาท

33. ภาระผูกพัน

33.1 ภาระผูกพันเกีย่ วกับสัญญาสัง่ ต่อเรือ

33.2 ภาระผูกพันเกีย่ วกับค่าธรรมเนียมในการรักษาวงเงินกูท้ ย่ี งั ไม่ ได้เบิกใช้

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯมีภาระผูกพันเกีย่ วกับสัญญาสัง่ ต่อเรือทีจ่ ะต้องจ่ายในอนาคตเป็นจำนวน 379.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ประมาณ 12,849.2 ล้านบาท)

260

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีภาระผูกพันเกีย่ วกับค่าธรรมเนียมในการรักษาวงเงินกูท้ ย่ี งั ไม่ได้ เบิกใช้ ซึง่ สามารถสรุปได้ดงั นี ้


As at the closing date of the share register 505,410,012 of the Company’s ordinary shares were qualified to receive dividend, after deduction of 13,386,300 shares held by the Company as treasury stock and 1,203,688 shares disqualified to receive this dividend by the registrar (Thailand Securities Depository Co., Ltd.) from the total number of shares outstanding (520,000,000 shares). The total dividend paid was thus Baht 505.4 million.

Approved by

f) Interim dividends on operating results for the six-month period ended 30 June 2006

Board of Directors’ meeting on 28 August 2006

Total dividends Dividend per share (Million Baht)

(Baht)

506.1

1.00

As at the closing date of the share register, 506,132,700 of the Company’s ordinary shares were qualified to receive dividend, after deduction of 13,386,300 shares held by the Company as treasury stock and 481,000 shares disqualified to receive this dividend by the registrar (Thailand Securities Depository Co., Ltd.) from the total number of shares outstanding (520,000,000 shares). The total dividend paid was thus Baht 506.1 million.

Approved by

g) Final dividends of 2005 income

Annual General Meeting of the shareholders on 20 April 2006

Total dividends Dividend per share (Million Baht)

784.5

(Baht)

1.55

As at the closing date of the share register, 506,131,700 of the Company’s ordinary shares were qualified to receive dividend, after deduction of 13,386,300 shares held by the Company as treasury stock and 482,000 shares disqualified to receive this dividend by the registrar (Thailand Securities Depository Co., Ltd.) from the total number of shares outstanding (520,000,000 shares). The total dividend paid was thus Baht 784.5 million. 33. COMMITMENTS

33.1 Vessel building contracts commitments

As at 31 December 2007, the Company’s future minimum payment commitments under vessel building contracts amount to USD 379.2 million (approximately Baht 12,849.2 million).

33.2 Obligations in respect of charges for management of the undrawn portion of loan facilities

As at 31 December 2007, the Company and its subsidiaries had obligations in respect of the charges for management of the undrawn portion of loan facilities, which can be summarised as follows:

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

261


วงเงินกู้ที่ยังไม่ ได้ อัตรา วงเงินสินเชื่อ เบิกใช้ ณ วันที่ วงเงิน ภาระผูกพัน สูงสุดตามสัญญา 31 ธันวาคม 2550 กำหนดจ่ายชำระ (ล้านเหรียญสหรัฐฯ) (ล้านเหรียญสหรัฐฯ)

วงเงินที่ 1 วงเงินที่ 2

ร้อยละ 30 ของส่วนเพิม่ ทีจ่ ะนำ มาใช้สำหรับอัตราดอกเบีย้ ต่อปี ของผลต่างระหว่างวงเงินสินเชือ่ คงเหลือและวงเงินสินเชือ่ สูงสุด ตามสัญญา ร้อยละ 0.375 ต่อปี ของวงเงินกู ้ ยืมทีย่ งั ไม่ได้เบิกใช้

วันสิ้นสุดระยะเวลา เบิกใช้เงินกู้

200

200

ทุกสามเดือน นับจาก 31 ธันวาคม 2551 วันที่ 22 สิงหาคม 2548 จนกระทัง่ สิน้ สุดระยะ เวลาเบิกใช้

300

300

ทุกสิน้ ไตรมาส นับจาก 18 มกราคม 2552 วันที่ 18 มกราคม 2550 จนกระทัง่ สิน้ สุดระยะ เวลาเบิกใช้

33.3 ภาระผูกพันเกีย่ วกับเงินลงทุนระยะยาวอืน่

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯมีภาระผูกพันเกีย่ วกับส่วนของเงินลงทุนระยะยาวอืน่ ทีย่ งั ไม่เรียกชำระเป็นจำนวน เงิน 10.1 ล้านบาท (2549: 10.1 ล้านบาท)

34. เครื่องมือทางการเงิน

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

262

34.1 นโยบายการบริหารความเสีย่ ง

เครื่องมือทางการเงินที่สำคัญของบริษัทฯและบริษัทย่อยตามที่นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 48 “การแสดง รายการและการเปิดเผยข้อมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า เงิน ลงทุน และเจ้าหนี้การค้า บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงินดังกล่าว และมีนโยบายการบริหาร ความเสีย่ งดังนี ้ ความเสีย่ งด้านการให้สนิ เชือ่ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งด้านการให้สนิ เชือ่ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับลูกหนีก้ ารค้า ฝ่ายบริหารควบคุมความเสีย่ งนีโ้ ดย การกำหนดให้มีนโยบายการให้สินเชื่อแก่ผู้เช่าเรือและบุคคลภายนอกโดยจำกัดการให้สินเชื่อเฉพาะกับลูกค้าชั้นดี และให้ความเข้ม งวดในการจัดทำเอกสารประกอบรายการต่างๆ ให้ครบถ้วน ดังนั้น บริษัทฯและบริษัทย่อยจึงไม่คาดว่าจะได้รับความเสียหายที่เป็น สาระสำคัญจากการให้สนิ เชือ่ นอกจากนี ้ การให้สนิ เชือ่ ของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยไม่มกี ารกระจุกตัวเนือ่ งจากบริษทั ฯและบริษทั ย่อย มีฐานของลูกค้าทีห่ ลากหลายและมีอยูจ่ ำนวนมากราย จำนวนเงินสูงสุดทีบ่ ริษทั ฯและบริษทั ย่อยอาจต้องสูญเสียจากการให้สนิ เชือ่ คือ มูลค่าตามบัญชีของลูกหนีท้ แ่ี สดงอยูใ่ นงบดุล ความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงิน อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่มีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกล้เคียง กับอัตราตลาดในปัจจุบนั ความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ ของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยจึงอยูใ่ นระดับต่ำ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินทีส่ ำคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบีย้ และสำหรับ สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินทีม่ อี ตั ราดอกเบีย้ คงทีส่ ามารถแยกตามวันทีค่ รบกำหนดหรือวันทีม่ กี ารกำหนดอัตราดอกเบีย้ ใหม่ (หาก วันทีม่ กี ารกำหนดอัตราดอกเบีย้ ใหม่ถงึ ก่อน) ได้ดงั นี ้


Maximum facility

Percentage of

amount per

obligation

contract

31 December 2007

(million USD)

(million USD)

Facility

Undrawn loan balance as at

Facility 1 30 percent of the applicable 200 200 margin per annum on the difference between the facility outstanding and the applicable maximum facility amount Facility 2 0.375 percent per annum of 300 300 undrawn loan balance

Term of payment

Drawdown period ending

Every three month 31 December 2008 starting from 22 August 2005 until the end of the drawdown period Quarterly starting from 18 January 2009 18 January 2007 until the end of the drawdown period

33.3 Uncalled portion of other long-term investment

As at 31 December 2007, the Company has a commitment of Baht 10.1 million in respect of the uncalled portion of other long-term investment (2006: Baht 10.1 million). 34. FINANCIAL INSTRUMENTS

34.1 Financial risk management

The Company and subsidiaries’ financial instruments, as defined under Thai Accounting Standard No. 48 “Financial Instruments: Disclosure and Presentations”, principally comprise cash and cash equivalents, trade accounts receivable, investments and trade accounts payable. The financial risks associated with these financial instruments and how they are managed is described below. Credit risk The Company and subsidiaries are exposed to credit risk primarily with respect to trade accounts receivable. The Company and subsidiaries manage the risk by adopting a credit policy whereby they evaluate the creditworthiness of charterers and other parties and restrict dealings to financially sound parties, and strictly attend to the preparation and completeness of documentation and therefore do not expect to incur material financial losses. In addition, the Company and subsidiaries do not have high concentration of credit risk since they have a large customer base. The maximum exposure to credit risk is limited to the carrying amounts of receivables as stated in the balance sheet. Interest rate risk The Company and subsidiaries’ exposure to interest rate risk relates primarily to its cash at banks. However, since most of the Company and subsidiaries’ financial assets and liabilities bear floating interest rates or fixed interest rates which are close to the market rate, the interest rate risk is expected to be minimal. Significant financial assets and liabilities as at 31 December 2007 classified by type of interest rates are summarised in the table below, with those financial assets and liabilities that carry fixed interest rates further classified based on the maturity date, or the repricing date if this occurs before the maturity date.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

263


(หน่วย: พันบาท) อัตรา อัตราดอกเบี้ย ดอกเบี้ยคงที่ ปรับขึ้นลง ไม่มี อัตราดอกเบี้ย ภายใน1 ปี ตามราคาตลาด อัตราดอกเบี้ย รวม (ร้อยละต่อปี) ปรับขึ้นลงตาม คงที่ อัตราตลาด สกุลเหรียญ สกุลเหรียญ สหรัฐฯ สหรัฐฯ

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการ เทียบเท่าเงินสด 949,672 489,633 30,939 1,470,244 4.59 ลูกหนีก้ ารค้า - - 34,639 34,639 - รวม 949,672 489,633 65,578 1,504,883 หนีส้ นิ ทางการเงิน เจ้าหนีก้ ารค้า - - 66,544 66,544 - รวม - - 66,544 66,544

3.22 -

-

ความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ น รายได้และค่าใช้จ่ายเกือบทั้งหมดของบริษัทฯและบริษัทย่อยอยู่ในรูปสกุลเงินเหรียญสหรัฐฯจึงเป็นการป้องกันความ เสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากรายการที่เป็นเงินเหรียญสหรัฐฯได้ในตัวเอง อย่างไรก็ตาม บริษัทฯและบริษัทย่อยยังคงมีความ เสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นสำหรับเครือ่ งมือทางการเงินทีเ่ ป็นเงินตราสกุลอืน่ ซึง่ ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้พจิ ารณาแล้ว และได้ตระหนักถึงความเสี่ยงดังกล่าวที่ยังคงมีอยู่ ดังนั้น จึงพยายามที่จะจำกัดความเสี่ยงดังกล่าวให้เหลือน้อยที่สุด โดยการไม่ถือ เครือ่ งมือทางการเงินทีส่ ำคัญทีเ่ ป็นเงินตราสกุลอืน่

34.2 มูลค่ายุตธิ รรมของเครือ่ งมือทางการเงิน

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

เนือ่ งจากสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยจัดอยูใ่ นประเภทระยะสัน้ เงินกูย้ มื มีอตั รา ดอกเบีย้ ใกล้เคียงกับอัตราดอกเบีย้ ในตลาด บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจึงประมาณมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินใกล้ เคียงกับมูลค่าตามบัญชีทแ่ี สดงในงบดุล มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จำนวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กันในขณะที่ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้ และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน วิธีการกำหนดมูลค่า ยุตธิ รรมขึน้ อยูก่ บั ลักษณะของเครือ่ งมือทางการเงิน มูลค่ายุตธิ รรมจะกำหนดจากราคาตลาดล่าสุด หรือกำหนดขึน้ โดยใช้เกณฑ์การ วัดมูลค่าทีเ่ หมาะสม

264

35. เหตุการณ์ภายหลังวันที่ ในงบการเงิน

ก) เมือ่ วันที่ 22 มกราคม 2551 บริษทั ย่อยในประเทศ (บริษทั เกรท เซอร์เคิล ชิปปิง้ เอเยนซี่ จำกัด) ได้ทำการออกหุน้ สามัญเพิ่มทุน โดยบริษัทฯได้ซื้อเงินลงทุนเพิ่มตามสัดส่วนการถือหุ้น ณ วันนั้นด้วยมูลค่าตราไว้ของหุ้นสามัญของ บริษทั ย่อยดังกล่าวเป็นจำนวนเงินรวม 45 ล้านบาท ข) เมือ่ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2551 บริษทั ฯได้ลงนามในสัญญาสัง่ ต่อเรือกับผูร้ บั ต่อเรือรายหนึง่ เพือ่ สัง่ ต่อเรือประเภทขนส่ง สินค้าเทกองขนาด supramax จำนวน 3 ลำ เป็นจำนวนเงินรวมประมาณ 114 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (หรือประมาณ 38 ล้านเหรียญสหรัฐฯต่อลำ) ทัง้ นี้ ราคาของสัญญาสัง่ ต่อเรือแต่ละลำจะถูกแบ่งชำระออกเป็น 5 งวดๆ ละร้อยละ 20 ของ สัญญาต่อเรือ โดยเรือทีส่ ง่ั ต่อใหม่มกี ำหนดการรับมอบเรือในปี 2555


(Unit: Thousand Baht)

Fixed

interest rate

Floating

within 1 year

interest rate

Non-interest bearing

Interest rate

Total

(% p.a.)

Fixed

Floating

USD currency

USD currency

Financial assets

Cash and cash equivalents 949,672 489,633 30,939 1,470,244 4.59 Trade accounts receivable - - 34,639 34,639 - Total 949,672 489,633 65,578 1,504,883 Financial liability Trade accounts payable - - 66,544 66,544 - Total - - 66,544 66,544

3.22 -

Foreign currency risk Almost all revenues and expenditures of the Company and subsidiaries are denominated in U.S. dollars, which provide a natural hedge against the currency risk associated with transactions in U.S. dollars. Consequently, the Company and subsidiaries are exposed to a currency risk in respect of financial instruments denominated in other currencies. However, the Company and subsidiaries’ management has decided to maintain an open position with regard to this exposure, but endeavors to limit this exposure to least possible amounts by not holding significant financial instruments denominated in other currencies. 34.2 Fair values of financial instruments

Since the majority of the Company and subsidiaries’ financial assets and liabilities are short-term in nature or bear floating interest rates, their fair value is not expected to be materially different from the amounts presented in the balance sheets. A fair value is the amount for which an asset can be exchanged or a liability settled between knowledgeable, willing parties in an arm’s length transaction. The fair value is determined by reference to the market price of the financial instruments or by using an appropriate valuation technique, depending on the nature of the instruments. 35. SUBSEQUENT EVENT

a) As at 22 January 2008, a local subsidiary (Great Circle Shipping Agency Limited) issued new ordinary shares, which the Company purchased in proportion to its shareholding at that date, at par value, or a total of Baht 45 million. b) On 11 February 2008, the Company entered into a contract with a shipbuilder to construct 3 supramax bulk carriers, at an aggregate price of approximately USD 114 million (or approximately USD 38 million per vessel). The contract price is to be paid in 5 installments of 20 percent each and the vessels are expected to be delivered in the year 2012.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

265


ค) เมือ่ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2551 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯได้มมี ติเห็นชอบให้เสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ซึง่ จะจัดขึน้ ในเดือนมีนาคม 2551 ในเรือ่ งการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ จากกำไรของปี 2550 ในอัตราหุน้ ละ 0.75 บาท รวมเป็น เงิน 779.6 ล้านบาท เงินปันผลนีจ้ ะจ่ายและบันทึกบัญชีภายหลังจากได้รบั การอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมสามัญประจำปีผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ

36. การจัดประเภทรายการในงบการเงิน

นอกจากการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีตามทีก่ ล่าวในหมายเหตุ 4 ซึง่ มีผลกระทบต่อกำไรสุทธิและส่วนของผูถ้ อื หุน้ ตาม ทีไ่ ด้รายงานไปแล้ว บริษทั ฯได้มกี ารจัดประเภทรายการบัญชีบางรายการในงบการเงินสำหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2549 ใหม่เพือ่ ให้สอดคล้องกับการจัดประเภทรายการบัญชีในปีปัจจุบัน ซึ่งไม่มีผลกระทบต่อกำไรสุทธิหรือส่วนของผู้ถือหุ้นนอกเหนือไปจากการ เปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีดงั กล่าว

37. การอนุมัติงบการเงิน

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

266

งบการเงินนีไ้ ด้รบั อนุมตั ใิ ห้ออกโดยคณะกรรมการบริษทั ฯ เมือ่ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2551


c) On 12 February 2008, a meeting of the Company’s Board of Directors passed a resolution to propose to the Annual General Meeting of shareholders to be held in March 2008 to adopt a resolution to pay a dividend of Baht 0.75 per share, or a total of Baht 779.6 million, to the shareholders in respect of the 2007 income. Such dividend will be paid and recorded after it is approved by the Annual General Meeting of the Company’s shareholders.

36. RECLASSIFICATION

In addition to the change in accounting policy as mentioned in Note 4, which affects the previously reported net income and shareholder’s equity, certain other amounts in the financial statements for the year ended 31 December 2006 have been reclassified to conform to the current year’s classification but with no effect to previously reported net income or shareholders’ equity other than from the change in accounting policy. 37. APPROVAL OF FINANCIAL STATEMENTS

These financial statements were authorised for issue by the Company’s Board of Directors on 12 February 2008.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

267


งบการเงินแปลงค่าเป็นเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา

เหตุผลของการแปลงค่างบการเงินสกุลไทยบาทเป็นสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

การแปลงค่างบการเงินได้จัดทำขึ้นจากข้อมูลงบการเงินสกุลเงินไทยบาทซึ่งได้ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และ งบการเงินแปลงค่าในรูปสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกานี้ได้สอบทานและรับรองแล้วโดย นักบัญชีอิสระ-เบเคอร์ ทิลลี

่ คอร์ปอเรท แอ็ดไวเซอรี่ เซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย) จำกัด บริษทั ฯ เห็นว่ามีความจำเป็นทีจ่ ะต้องจัดทำงบการเงินแปลงค่าในรูปสกุล เงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกาให้แก่นักลงทุน เนื่องจากงบการเงินดังกล่าวจะแสดงให้เห็นฐานะทางการเงินที่ถูกต้องของบริษัทฯ เนื่องจากโดยพื้นฐานแล้ว บริษัทฯ จะซื้อและขายสินทรัพย์ในการเดินเรือของบริษัทฯ ทั้งหมดด้วยเงินสกุลเหรียญดอลล่าร์ สหรัฐอเมริกา และรายได้จากการเดินเรือทัง้ หมดของบริษทั ฯ จะได้รบั เป็นสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกาด้วย ซึง่ ถือว่ามากกว่า ร้อยละ 98 ของสินทรัพย์รวมและรายได้รวม ในทางเดียวกันหนีเ้ งินกูท้ ง้ั หมดและค่าใช้จา่ ยส่วนใหญ่ของบริษทั ฯ จะเกิดขึน้ ในรูปสกุล เงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา ดังนัน้ จึงไม่เกิดความสมดุลในงบดุลของบริษทั ฯ ซึง่ สินทรัพย์บางส่วน (เรือเดินทะเล ซึง่ ได้ซอ้ื ก่อน วันที่ 1 กรกฎาคม 2540) ของบริษัทฯ ถูกบันทึกเป็นเงินไทยบาทตามอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ซื้อมาในอดีต (ที่อัตราแลกเปลี่ยน ประมาณ 25-26 บาท ต่อ 1 เหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา) ในขณะทีห่ นีส้ นิ ถูกบันทึกเป็นเงินไทยบาทตามอัตราแลกเปลีย่ น ณ วันสิน้ ปีนี้ (ที่อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 33.89 บาท ต่อ 1 เหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา) การบันทึกด้วยวิธีดังกล่าวทำให้มูลค่าของ สินทรัพย์ต่ำกว่ามูลค่าจริงเมื่ออยู่ในรูปสกุลเงินไทยบาทเนื่องจากอัตราแลกเปลี่ยนสำหรับการแปลงค่าสินทรัพย์ (เรือ) จากสกุลเงิน เหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา เป็นสกุลเงินไทยบาทยังคงใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ เวลาทีไ่ ด้มกี ารซือ้ เรือเข้ามา เนื่องจากสินทรัพย์ถาวรเกือบทั้งหมดของบริษัทฯ ซึ่งมีมูลค่าเป็นเงินสกุลเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา การปรับปรุง สินทรัพย์ถาวรให้อยู่ในรูปสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นราคา ณ วันที่ซื้อมาในอดีตจึงเป็นการกำจัดความไม่สมดุล ระหว่างมูลค่าสินทรัพย์และหนีส้ นิ ดังกล่าวข้างต้น ยิง่ ไปกว่านัน้ จากทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วข้างต้น เนือ่ งจากส่วนหนึง่ ในสัญญาให้สนิ เชือ่ ต่างๆ บริษทั ฯ มีหน้าทีต่ อ้ งจัดทำงบการ เงินในรูปสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกาให้เจ้าหนีท้ ง้ั หลาย และคำนวณอัตราส่วนทางการเงินต่างๆ ตามข้อตกลงในสัญญาโดย ใช้ขอ้ มูลจากงบการเงินทีป่ รับปรุงในรูปสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกานี้ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงได้เปิดเผยงบการเงินดังกล่าวให้แก่ผู้ ลงทุนทีส่ นใจด้วย

268


Restated US Dollar Financial StatementS

BACKGROUND OF THE RESTATED FINANCIAL STATEMENTS FROM THB TO USD CURRENCY

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

The restatement has been done on the basis of the Baht Financial Statements as audited by our Auditors and the subsequent restatement into US dollars has been reviewed by the Independent accountants - BAKER TILLY CORPORATE ADVISORY SERVICES (THAILAND) LIMITED. We feel it is necessary to provide the Consolidated restated US dollar Financial Statements to the investors, since these would give a more accurate financial position of the Company since our shipping assets are bought and sold in US dollars and so also all our shipping revenues are derived in USD. These constitute almost 98% of our total assets and revenues. Similarly, all of our liabilities and most of our expenses are incurred in US dollars. This leads to a mismatch in our Baht Denominated Balance Sheet where some of the fixed assets (vessels acquired before 1st July 1997) are expressed in Thai Baht at the original exchange rates (at the conversion of about Baht 25-26 per USD 1), but the liabilities are expressed in Thai Baht at the closing exchange rates at the end of this year (at the conversion of about Baht 33.89 per USD 1) resulting in an understatement of the value of the fixed assets in Baht terms, since the exchange rate for the conversion of the Fixed Assets (Vessels) from US dollars to Thai Baht remains at the rate applied at the time of purchase of the Vessels. Since almost all the fixed assets are in US dollars, fixed assets are now restated in US dollars at the original US dollars value and the restatement thus removes the mismatch between asset and liability values. Moreover, in recognition of the above, as a part of our credit facility agreements, it is the Company’s obligation to additionally provide the Consolidated Restated US dollar Financial Statements to the Lenders and also to compute the Financial Covenants based on these Consolidated Restated Financial Statements. Accordingly, these are being provided to all interested investors also.

269


เบเคอร์ ทิลลี่ คอร์ปอเรท แอ็ดไวเซอรี่ เซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย) จำกัด (เดิมชือ่ บริษทั เบเคอร์ ทิลลี่ เอฟ เอ เอส (ประเทศไทย) จำกัด)

บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

รายงานการแปลงค่าเป็นเงินเหรียญดอลลาร์สหรัฐอเมริกา สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

270

เบเคอร์ ทิลลี่ คอร์ปอเรท แอ็ดไวเซอรี่ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด ชัน้ 21/1 อาคารสาธรซิตท้ี าวเวอร์ 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุง่ มหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 02 679 5400 โทรสาร 02 679 5401


BAKER TILLY CORPORATE ADVISORY SERVICES (THAILAND) LIMITED, (formerly Baker Tilly FAS (Thailand) Limited)

Precious Shipping Public Company Limited USD Restatement Report

BAKER TILLY CORPORATE ADVISORY SERVICES (THAILAND) LIMITED

LEVEL 21/1 SATHORN CITY TOWER 175 SOUTH SATHORN ROAD THUNGMAHAMEK SATHORN BANGKOK 10120 THAILAND TELEPHONE 02 679 5400 FACSIMILE 02 679 5401

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

for the Year Ended 31st December 2007

271


ขอบเขตหน้าที่การทำงาน

เบเคอร์ ทิลลี่ คอร์ปอเรท แอ็ดไวเซอรี่ เซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย) จำกัด (“บีทซี เี อเอส”) ไม่ได้ทำการตรวจสอบบัญชีหรือ ข้อมูลเพื่อการบริหารของบริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) (“พรีเชียส” หรือ “บริษัทฯ”) รวมทั้งไม่ได้ทำการพิสูจน์รายการ ค้าขายทีบ่ นั ทึกไว้แต่อย่างใด ดังนัน้ บีทซี เี อเอส จึงไม่สามารถแสดงความคิดเห็นในตัวงบการเงินต่างๆ ได้ ความรับผิดชอบในเอกสาร นีจ้ งึ เป็นเพียงการแปลงค่าจากงบการเงินสกุลไทยบาททีไ่ ด้รบั การตรวจสอบแล้วให้อยูใ่ นรูปเงินเหรียญดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ไม่วา่ ในกรณีใดๆ ก็ตาม บีทซี เี อเอส จะไม่ขอรับผิดในภาระขาดทุน ต้นทุน ค่าความเสียหาย หรือค่าใช้จา่ ยใดๆ ก็ตามทีเ่ กิด ขึน้ จากการกระทำฉ้อฉล การเสนอข้อมูลทีไ่ ม่ถกู ต้อง หรือการตัง้ ใจผิดนัดชำระโดยบริษทั ฯ กรรมการบริษทั ฯ พนักงานบริษทั ฯ หรือตัว แทนบริษทั ฯ รายงานฉบับนี้ได้รับการจัดทำขึ้นเพื่อเป็นข้อมูลของบริษัทฯ เจ้าหนี้ของบริษัทฯ รวมถึงที่ปรึกษาทางกฎหมายและทางการ เงินของบริษทั ฯ บีทซี เี อเอส ไม่ขอรับผิดชอบในพันธกรรมใดๆ ทีอ่ าจมีตอ่ บุคคลอืน่ ทีไ่ ม่ใช่บคุ คลทีร่ ะบุไว้ขา้ งต้น บีทีซีเอเอส ขอจำกัดความรับผิดชอบใดๆ ที่เกิดจากความผิดพลาด หรือความไม่ถูกต้องในการแปลนี้ ในกรณีที่มีความ ขัดแย้งเกิดขึน้ ระหว่างรายงานภาคภาษาอังกฤษและภาษาไทย ขอให้ทา่ นยึดเอาตามรายงานภาคภาษาอังกฤษเป็นหลัก

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

บทสรุปจากผู้บริหาร

272

เมือ่ วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2547 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (“พรีเชียส” หรือ “บริษทั ฯ”) ได้วา่ จ้างให้ บริษทั เบเคอร์ ทิลลี่ คอร์ปอเรท แอ็ดไวเซอรี่ เซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย) จำกัด* (“บีทซี เี อเอส”) จัดทำรายงานประจำไตรมาสเกีย่ วกับการ ปรับปรุงงบการเงินใหม่เป็นสกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา (“เหรียญสรอ.”) ของบริษทั ฯ โดยอิงจากงบการเงินรวมสกุลไทยบาททีไ่ ด้รบั การตรวจสอบ/สอบทานขึ้น การว่าจ้างดังกล่าวจะเป็นการตรวจทานการคำนวณตัวเลขและหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการปรับปรุงค่างบดุล และงบกำไรขาดทุนใหม่เป็นเงินเหรียญสรอ. ดังนั้น ข้อสรุปที่เกี่ยวกับการปรับปรุงค่างบการเงินสกุลไทยบาทใหม่ให้เป็นเงินเหรียญสรอ. ได้ถกู แนบไว้ในนโยบายที่ใช้ใน การปรับปรุงงบการเงินสกุลไทยบาทเป็นสกุลเงินเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา “เหรียญสรอ.” บีทีซีเอเอสได้ทำการรายงานผลจากการตรวจทานการปรับปรุงค่างบการเงินรวมใหม่ในรูปสกุลเงินเหรียญสรอ. สำหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ในการตรวจทานดังกล่าว บีทซี เี อเอสได้รบั การช่วยเหลือและความร่วมมือจากพนักงานบริษทั ฯ และ ผูบ้ ริหารเป็นอย่างดี งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ทีไ่ ด้มกี ารแปลงค่าเป็นเงินเหรียญสรอ. แล้วนัน้ แสดงให้เห็นว่ามูลค่ารวมของสินทรัพย์ และหนีส้ นิ ของบริษทั ฯ เป็นจำนวนทัง้ สิน้ 429 ล้านเหรียญสรอ. และ 28 ล้านเหรียญสรอ. ตามลำดับ ดังนัน้ ทุนเรือนหุน้ ของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 จึงมีมลู ค่า 401 ล้านเหรียญสรอ. ในส่วนของงบกำไรขาดทุน มูลค่ารวมของรายได้และค่าใช้จา่ ย (ไม่รวมดอกเบีย้ จ่ายและค่าใช้จา่ ยทางการเงิน) ของบริษทั ฯ สำหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 เป็นจำนวนทัง้ สิน้ 258 ล้านเหรียญสรอ. และ 123 ล้านเหรียญสรอ. ตามลำดับ กำไรสุทธิ หลังจากหักรายการอืน่ ๆ อาทิ ดอกเบีย้ จ่ายและค่าใช้จา่ ยทางการเงิน และภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล จำนวน 10 ล้านเหรียญสรอ. แล้วนัน้ เป็นจำนวนทัง้ สิน้ 125 ล้านเหรียญสรอ. ส่วนยอดกำไรสะสมสิน้ ปีมมี ลู ค่าเป็น 319 ล้านเหรียญสรอ. *หมายเหตุ : บริษทั เบเคอร์ ทิลลี่ เอฟ เอ เอส (ประเทศไทย) จำกัด ได้เปลีย่ นชือ่ เป็น บริษทั เบเคอร์ ทิลลี่ คอร์ปอเรท แอ็ดไวเซอรี่ เซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย) จำกัด โดยมีผลตัง้ แต่วนั ที ่ 25 เมษายน 2549


SCOPE OF WORK

Baker Tilly Corporate Advisory Services (Thailand) Limited (“BTCAS”) has not performed an audit examination of Precious Shipping Public Company Limited’s (“PSL” or “the Company”) accounts or of the management information, nor has BTCAS verified the underlying transactions. Therefore, BTCAS give no opinion on the financial statements. This is only a restatement of the Thai Baht audited financial statements into US dollars. In no event shall BTCAS be liable for any loss liability, cost, damage or expense arising in any way from fraudulent acts, misrepresentation or willful default on the part of the Company, its directors, employees, or agents. The Report has been prepared for the use of the Company, its creditors, legal and financial advisors. BTCAS does not accept any responsibility or liability to other parties. Precious Shipping Public Company Limited (“PSL” or “the Company”) on 3 February 2004 engaged Baker Tilly Corporate Advisory Services (Thailand) Limited1 (formerly Baker Tilly FAS (Thailand) Limited) (“BTCAS”) to prepare a quarterly report on the restatement of the Thai Baht audited/reviewed consolidated financial statements into US dollars, prepared by the Company. The engagement includes a review of the Company’s mathematical calculation and the basis of US dollar restatement of both the balance sheet and income statement. Accordingly, a summary of the basis of the restatement of the Thai Baht financial statements into US dollars is attached- see Policy of restatement from Thai Baht to US dollar currency. BTCAS has undertaken to report on its review of the restated US dollar consolidated financial statements for the year ended 31st December 2007. In undertaking the above, BTCAS was accorded the full assistance and co-operation of the PSL staff and management. The restated US dollar Balance Sheet as at 31st December 2007 indicates that the total assets and liabilities of PSL were US$ 429 million and US$28 million, respectively. The equity of PSL as at 31st December 2007 was therefore US$ 401 million. With regards to the income statement, PSL’s total revenue and expenses, excluding interest and finance cost, for the year ended 31st December 2007 were US$ 258 million and US$ 123 million, respectively. Net income, after deducting interest and finance cost and corporate income tax of US$ 10 million, equates to US$ 125 million. The retained earnings at the end of the year stood at US$ 319 million. 1

Baker Tilly FAS (Thailand) Limited changed its name to Baker Tilly Corporate Advisory Services (Thailand) Limited effective from 25 April 2006.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

EXECUTIVE SUMMARY

273


งบการเงิน งบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 – สินทรัพย์

สินทรัพย์

สินทรัพย์หมุนเวียน

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนีก้ ารค้า - สุทธิ น้ำมันเชือ้ เพลิง สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ เงินทดรองจ่ายแก่กปั ตันเรือ ค่าสินไหมทดแทนค้างรับ อืน่ ๆ รวมสินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

บาท

เหรียญสรอ.

31/12/2549 บาท

เหรียญสรอ.

1,470,244,256 34,638,681 5,636,525

43,692,771 1,029,394 167,506

1,258,574,577 101,106,910 43,614,009

35,003,673 2,812,001 1,213,000

100,196,046 100,254,008 51,927,935 252,377,989 1,762,897,451

2,977,630 2,979,352 1,543,196 7,500,178 52,389,849

111,251,224 26,347,145 62,071,930 199,670,299 1,602,965,795

3,094,136 732,771 1,726,354 5,553,261 44,581,935

เงินลงทุนในบริษทั ร่วมทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อย 134,282,332 เงินลงทุนระยะยาวอืน่ 10,130,430 สินทรัพย์ถาวรทีร่ าคาทุน เรือเดินทะเล และอุปกรณ์เรือเดินทะเล 16,261,193,994 ค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซมและสำรวจเรือ 1,424,362,597 อุปกรณ์สำนักงาน 20,414,413 ส่วนปรับปรุงสัญญาเช่า 12,998,873 ยานพาหนะ 20,568,282 อาคารชุดและส่วนปรับปรุง 325,977,794 ส่วนตกแต่งและอุปกรณ์สำนักงาน 27,451,199 งานระหว่างก่อสร้าง 44,609,707 รวม 18,137,576,859 หัก: ค่าเสือ่ มราคาสะสม (8,568,066,121) รวมสินทรัพย์ถาวร - สุทธิ 9,569,510,738 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ เงินล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือ 3,239,190,687 ค่าธรรมเนียมการกูเ้ งินรอตัดจ่าย 298,101,974 อืน่ ๆ 4,024,453 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ 3,541,317,114 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 13,255,240,614 รวมสินทรัพย์ 15,018,138,065

3,274,722 260,212

119,767,616 10,130,430

2,855,228 260,212

480,077,929 18,092,031,980 39,133,820 1,488,085,459 606,676 18,837,972 386,301 12,998,873 611,249 17,907,807 11,078,023 325,977,795 815,796 24,648,932 1,325,713 37,599,722 534,035,507 20,018,088,540 (264,796,186) (8,994,236,845) 269,239,321 11,023,851,695

552,939,745 37,545,546 523,925 361,527 498,055 11,078,023 685,540 1,045,729 604,678,090 (295,496,902) 309,181,188

94,799,985 - 8,859,005 - 119,599 1,429,706 103,778,589 1,429,706 376,552,844 11,155,179,447 428,942,693 12,758,145,242

- - 39,763 39,763 312,336,391 356,918,326

สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน

274

31/12/2550


FINANCIAL STATEMENTS Consolidated Balance Sheet

as at 31st December 2007 – Assets

Assets

31/12/2007 BAHT

31/12/2006

US$

BAHT

US$

Current assets

Cash and cash equivalents Trade accounts receivable - net Bunker oil Other current assets Advances to vessel masters Claim recoverable Others Total other current assets Total current assets

1,470,244,256 34,638,681 5,636,525

43,692,771 1,029,394 167,506

1,258,574,577 101,106,910 43,614,009

35,003,673 2,812,001 1,213,000

100,196,046 100,254,008 51,927,935 252,377,989 1,762,897,451

2,977,630 2,979,352 1,543,196 7,500,178 52,389,849

111,251,224 26,347,145 62,071,930 199,670,299 1,602,965,795

3,094,136 732,771 1,726,354 5,553,261 44,581,935

Investment in associate held by a subsidairy 134,282,332 Other long-term investment 10,130,430 Fixed assets at cost Vessels and vessels equipment 16,261,193,994 Drydock and special survey 1,424,362,597 Office equipment 20,414,413 Leasehold improvement 12,998,873 Vehicles 20,568,282 Buildings and improvement 325,977,794 Furniture and fixtures 27,451,199 Work in progress 44,609,707 Total 18,137,576,859 Less: Accumulated depreciation (8,568,066,121) Total Fixed assets - net 9,569,510,738 Other non-current assets Advances for vessel construction 3,239,190,687 Deferred financial fees 298,101,974 Others 4,024,453 Total other non-current assets 3,541,317,114 Total non-current assets 13,255,240,614 Total Assets 15,018,138,065

3,274,722 260,212

119,767,616 10,130,430

2,855,228 260,212

480,077,929 18,092,031,980 39,133,820 1,488,085,459 606,676 18,837,972 386,301 12,998,873 611,249 17,907,807 11,078,023 325,977,795 815,796 24,648,932 1,325,713 37,599,722 534,035,507 20,018,088,540 (264,796,186) (8,994,236,845) 269,239,321 11,023,851,695

552,939,745 37,545,546 523,925 361,527 498,055 11,078,023 685,540 1,045,729 604,678,090 (295,496,902) 309,181,188

94,799,985 - 8,859,005 - 119,599 1,429,706 103,778,589 1,429,706 376,552,844 11,155,179,447 428,942,693 12,758,145,242

- - 39,763 39,763 312,336,391 356,918,326

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Non-current assets

275


งบการเงิน (ต่อ) งบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 – หนีส้ นิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้

หนี้สิน และส่วนของผู้ถือหุ้น

31/12/2550 บาท

เหรียญสรอ.

31/12/2549 บาท

เหรียญสรอ.

หนี้สิน

หนีส้ นิ หมุนเวียน เจ้าหนีก้ ารค้า เงินรับล่วงหน้าค่าขายเรือเดินทะเล รายได้รบั ล่วงหน้า หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับลูกเรือค้างจ่าย โบนัสพนักงานค้างจ่าย ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ประมาณการภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ า่ ยค้างจ่าย อืน่ ๆ รวมหนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ รวมหนีส้ นิ หมุนเวียน หนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน โบนัสพนักงานค้างจ่าย ประมาณการค่าความเสียหายจากการเดินเรือทะเล รวมหนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน รวมหนีส้ นิ

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ส่วนของผู้ถือหุ้น

276

ทุนเรือนหุน้ ทีอ่ อกและชำระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ ส่วนเกินมูลค่าหุน้ ซือ้ คืน ส่วนเกินจากการตีราคาสินทรัพย์ของบริษทั ย่อย ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน สำรองตามกฎหมาย - บริษทั ฯ สำรองตามกฎหมาย - บริษทั ย่อย สำรองหุน้ ทุนซือ้ คืน กำไรสะสม รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ หัก : หุน้ ทุนซือ้ คืน รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ - สุทธิ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยของบริษทั ย่อย รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมหนีส้ นิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้

66,544,366 - 171,470,255

1,963,830 - 5,060,358

82,603,363 160,060,832 176,407,290

2,279,921 4,385,000 4,868,987

96,522,767 58,447,242 112,930,522 216,229,956 38,021,854 28,141,060 550,293,401 788,308,022

2,848,540 1,724,871 3,332,759 6,381,288 1,122,085 830,487 16,240,030 23,264,218

100,470,812 46,058,392 72,783,209 - 47,038,249 35,016,461 301,367,123 720,438,608

2,773,077 1,271,250 2,008,877 - 1,298,294 966,483 8,317,981 19,851,889

95,947,000 68,951,739 164,898,739 953,206,761

2,831,548 2,034,875 4,866,423 28,130,641

- - - 720,438,608

- - - 19,851,889

1,039,520,600 411,429,745 172,445,812 123,965,882 86,324,046 103,952,060 467,720,000 - 11,646,881,980 14,052,240,125 - 14,052,240,125 12,691,179 14,064,931,304 15,018,138,065

35,308,137 16,134,500 4,818,466 3,396,149 5,958,100 2,796,327 12,833,524 - 319,192,312 400,437,515 - 400,437,515 374,537 400,812,052 428,942,693

520,000,000 411,429,745 21,114,984 144,278,576 126,689,683 52,000,000 424,620,000 414,918,176 10,325,110,201 12,440,161,365 (414,918,176) 12,025,243,189 12,463,445 12,037,706,634 12,758,145,242

20,392,157 16,134,500 578,463 3,952,632 4,864,116 1,304,730 11,572,749 10,323,444 277,923,089 347,045,880 (10,323,444) 336,722,436 344,001 337,066,437 356,918,326


FINANCIAL STATEMENTS (Continued) Consolidated Balance Sheet

as at 31st December 2007 – Liabilities and Shareholders’ Equity

Liabilities and Shareholders’ Equity

31/12/2007 BAHT

31/12/2006

US$

BAHT

US$

Current liabilities Trade accounts payable Advance received from vessel sales Advance received from charterers Other current liabilities Accrued crew accounts Accrued employee bonus Accrued expenses Provision for income tax Withholding tax payable Others Total other current liabilities Total current liabilities Non-current liabilities Accrued employee bonus Provisions for maritime claims Total non-current liabilities Total Liabilities Shareholders’ Equity

Share capital - Issued and paid - up Premium on ordinary shares Premium on treasury stock Revaluation surplus on assets of subsidiary Translation adjustment Statutory reserve - the Company Statutory reserve - subsidiaries Treasury stock reserve Retained Earnings Total equity attributable to the Company’s shareholders Less: Treasury stock Equity attributable to the Company’s shareholders - net Minority interest - equity attributable to minority shareholders of subsidiaries Total Shareholders’ Equity Total Liabilities and Shareholders’ Equity

66,544,366 - 171,470,255

1,963,830 - 5,060,358

82,603,363 160,060,832 176,407,290

2,279,921 4,385,000 4,868,987

96,522,767 58,447,242 112,930,522 216,229,956 38,021,854 28,141,060 550,293,401 788,308,022

2,848,540 1,724,871 3,332,759 6,381,288 1,122,085 830,487 16,240,030 23,264,218

100,470,812 46,058,392 72,783,209 - 47,038,249 35,016,461 301,367,123 720,438,608

2,773,077 1,271,250 2,008,877 - 1,298,294 966,483 8,317,981 19,851,889

95,947,000 68,951,739 164,898,739 953,206,761

2,831,548 2,034,875 4,866,423 28,130,641

- - - 720,438,608

- - - 19,851,889

1,039,520,600 411,429,745 172,445,812 123,965,882 86,324,046 103,952,060 467,720,000 - 11,646,881,980 14,052,240,125 - 14,052,240,125

35,308,137 520,000,000 16,134,500 411,429,745 4,818,466 21,114,984 3,396,149 144,278,576 5,958,100 126,689,683 2,796,327 52,000,000 12,833,524 424,620,000 - 414,918,176 319,192,312 10,325,110,201 400,437,515 12,440,161,365 - (414,918,176) 400,437,515 12,025,243,189

20,392,157 16,134,500 578,463 3,952,632 4,864,116 1,304,730 11,572,749 10,323,444 277,923,089 347,045,880 (10,323,444) 336,722,436

12,691,179 14,064,931,304 15,018,138,065

374,537 12,463,445 400,812,052 12,037,706,634 428,942,693 12,758,145,242

344,001 337,066,437 356,918,326

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Liabilities

277


งบการเงิน (ต่อ) งบกำไรขาดทุนรวม สำหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

งบกำไรขาดทุนรวม

31/12/2550 บาท

เหรียญสรอ.

31/12/2549 บาท

เหรียญสรอ.

รายได้

รายได้จากการเดินเรือ รายได้คา่ เช่าเรือ รายได้คา่ ระวางเรือ รวมรายได้จากการเดินเรือ รายได้จากการให้บริการ กำไรจากการจำหน่ายเรือเดินทะเลและอุปกรณ์ รายได้อน่ื ดอกเบีย้ รับ กำไรจากอัตราแลกเปลีย่ น อืน่ ๆ รวมรายได้อนื่ ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วมทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อย รวมรายได้

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ค่าใช้จ่าย

278

ต้นทุนการเดินเรือ ค่าใช้จา่ ยในการเดินเรือ รายจ่ายท่าเรือ น้ำมันเชือ้ เพลิง รวมต้นทุนการเดินเรือ ค่าเสือ่ มราคา ต้นทุนการให้บริการ ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร ค่าใช้จา่ ยอืน่ หนีส้ ญ ู และค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ ขาดทุนจากสัญญาอนุพนั ธ์ทางการเงิน ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ น รวมค่าใช้จา่ ยอืน่ รวมค่าใช้จา่ ย กำไรก่อนดอกเบีย้ จ่ายและค่าใช้จา่ ยทางการเงิน และภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล

6,969,502,482 318,867,103 7,288,369,585 8,974,530 1,558,219,821

201,001,001 9,076,645 210,077,646 255,009 42,060,309

6,893,812,838 2,162,490,197 9,056,303,035 20,207,808 845,730

180,160,840 56,554,622 236,715,462 530,054 22,825

142,124,906 - 1,222,118 143,347,024

4,110,695 458,305 34,749 4,603,749

27,983,874 122,837,200 2,704,151 153,525,225

734,438 119,414 67,215 921,067

34,126,828 9,033,037,788

980,524 257,977,237

19,875,074 9,250,756,872

518,185 238,707,593

1,758,125,442 54,026,838 60,213,076 1,872,365,356 1,824,575,209 29,494,469 381,576,200

50,637,340 1,548,707 1,708,429 53,894,476 49,717,409 850,181 11,024,066

2,120,077,863 340,215,729 489,688,978 2,949,982,570 2,093,430,137 31,658,084 278,123,001

55,362,329 8,852,137 12,751,839 76,966,305 56,250,647 831,100 7,307,742

4,747,387 241,969,452 175,167,588 421,884,427 4,529,895,661

135,789 7,073,000 - 7,208,789 122,694,921

31,814,057 - - 31,814,057 5,385,007,849

844,791 - - 844,791 142,200,585

4,503,142,127

135,282,316

3,865,749,023

96,507,008


FINANCIAL STATEMENTS (Continued) Consolidated Income Statement

for the Years Ended 31st December 2007 and 2006

Consolidated Income Statement

31/12/2007 BAHT

US$

31/12/2006 BAHT

US$

Revenues

Vessel operating income Hire income Freight income Total vessel operating income Service income Gain on sales of vessels and equipment Other income Interest income Exchange gains Others Total other income Share of profit from investment in associate held by a subsidiary Total revenues

6,969,502,482 318,867,103 7,288,369,585 8,974,530 1,558,219,821

201,001,001 9,076,645 210,077,646 255,009 42,060,309

6,893,812,838 2,162,490,197 9,056,303,035 20,207,808 845,730

180,160,840 56,554,622 236,715,462 530,054 22,825

142,124,906 - 1,222,118 143,347,024

4,110,695 458,305 34,749 4,603,749

27,983,874 122,837,200 2,704,151 153,525,225

734,438 119,414 67,215 921,067

34,126,828 9,033,037,788

980,524 257,977,237

19,875,074 9,250,756,872

518,185 238,707,593

1,758,125,442 54,026,838 60,213,076 1,872,365,356 1,824,575,209 29,494,469 381,576,200

50,637,340 1,548,707 1,708,429 53,894,476 49,717,409 850,181 11,024,066

2,120,077,863 340,215,729 489,688,978 2,949,982,570 2,093,430,137 31,658,084 278,123,001

55,362,329 8,852,137 12,751,839 76,966,305 56,250,647 831,100 7,307,742

4,747,387 241,969,452 175,167,588 421,884,427 4,529,895,661

135,789 7,073,000 - 7,208,789 122,694,921

31,814,057 - - 31,814,057 5,385,007,849

844,791 - - 844,791 142,200,585

4,503,142,127

135,282,316

3,865,749,023

96,507,008

Vessel operating costs Vessel running expenses Voyage disbursements Bunker consumption Total vessel operating costs Depreciation Cost of services Administrative expenses Other expense Bad debt and allowance for doubtful accounts Losses on derivative contracts Exchange losses Total other expense Total expenses Income before interest and financial costs and corporate income tax

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Expenses

279


งบการเงิน (ต่อ) งบกำไรขาดทุนรวม (ต่อ) สำหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

งบกำไรขาดทุนรวม

31/12/2550 บาท

31/12/2549

เหรียญสรอ.

บาท

เหรียญสรอ.

กำไรก่อนดอกเบีย้ จ่ายและค่าใช้จา่ ยทางการเงิน และภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล หัก : ดอกเบีย้ จ่ายและค่าใช้จา่ ยทางการเงิน กำไรก่อนภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล หัก : ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล กำไรหลังภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล

4,503,142,127 (126,755,592) 4,376,386,535 (215,570,735) 4,160,815,800

135,282,316 (3,684,984) 131,597,332 (6,329,523) 125,267,809

3,865,749,023 (144,053,394) 3,721,695,629 -

96,507,008 (3,706,911) 92,800,097 -

3,721,695,629

92,800,097

หัก : กำไรสุทธิสว่ นทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย ของบริษทั ย่อย กำไรสุทธิ

(6,572,873)

(169,545)

125,134,107

3,715,122,756

92,630,552

สำรองหุน้ ทุนซือ้ คืน - โอนกลับ

414,918,176

10,323,444

35,962,540

894,772

สำรองตามกฎหมาย - บริษทั ฯ

(51,952,060)

(1,491,598)

สำรองตามกฎหมาย - บริษทั ย่อย

(43,100,000)

(1,260,776)

ค่าเสือ่ มราคาของส่วนเกินจากการตีราคาสินทรัพย์

20,313,507

556,506

เงินปันผลจ่าย

(3,174,568,066)

(91,992,460)

(1,796,046,847)

(47,996,876)

กำไรสะสม, ต้นงวด

10,325,110,201

277,923,089

8,395,681,752

233,073,873

319,192,312 10,325,110,201

277,923,089

กำไรต่อหุน้

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

(133,702)

4,156,160,222

กำไรสะสม, ปลายงวด

280

(4,655,578)

11,646,881,980 4.01

0.12

-

-

(25,610,000) -

(679,232) -

3.62

0.09


FINANCIAL STATEMENTS (Continued) Consolidated Income Statement (Continued)

Consolidated Income Statement

for the Years Ended 31st December 2007 and 2006

31/12/2007 BAHT

31/12/2006

US$

BAHT

US$

Income before interest and financial costs and corporate income tax

4,503,142,127

135,282,316

3,865,749,023

96,507,008

Less: Interest and financial costs

(126,755,592)

(3,684,984)

(144,053,394)

(3,706,911)

4,376,386,535

131,597,332

3,721,695,629

92,800,097

(215,570,735)

(6,329,523)

4,160,815,800

125,267,809

3,721,695,629

92,800,097

(4,655,578)

(133,702)

(6,572,873)

(169,545)

4,156,160,222

125,134,107

3,715,122,756

92,630,552

Treasury stock reserve - reverse

414,918,176

10,323,444

35,962,540

894,772

Statutory reserve - the Company

(51,952,060)

(1,491,598)

Statutory reserve - subsidiaries

(43,100,000)

(1,260,776)

Depreciation of revaluation surplus of fixed assets

20,313,507

556,506

Dividend paid

(3,174,568,066)

(91,992,460)

(1,796,046,847)

(47,996,876)

Retained earnings, Beginning of the period

10,325,110,201

277,923,089

8,395,681,752

233,073,873

319,192,312 10,325,110,201

277,923,089

Less: Corporate income tax Income after corporate income tax Less: Net income attributable to minority interest Net income

Retained earnings, Ending of the period Earnings per share

11,646,881,980 4.01

0.12

-

-

-

-

(25,610,000) -

(679,232) -

3.62

0.09

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Income before corporate income tax

281


นโยบายที่ ใช้ ในการปรับปรุงงบการเงินสกุลไทยบาทเป็นสกุลเงิน เหรียญดอลลาร์สหรัฐอเมริกา (“เหรียญสรอ.”) ในการปรับปรุงงบการเงินนั้น ได้มีการพิจารณาถึงข้อกำหนดต่างๆ ที่ระบุไว้ในมาตรฐานการบัญชีของไทย อย่างไรก็ตาม เนือ่ งมาจากความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวในการปรับปรุงงบการเงินนี้ การจัดทำงบการเงินเหรียญสรอ. นีอ้ าจไม่จำเป็นทีจ่ ะต้องเป็น ไปตามมาตรฐานการบัญชีไทยแต่อย่างใด ลักษณะเฉพาะตัวที่สำคัญอย่างหนึ่งในที่นี้เกิดขึ้นเนื่องจากสินทรัพย์ หนี้สิน และการค้า หลักๆ ของบริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) ได้เกิดขึน้ โดยใช้เงินเหรียญสรอ. ในการซือ้ ขาย แล้วจึงทำการแปลงค่า เป็นเงินสกุลไทยบาท ตามความต้องการของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จากที่ได้กล่าวมานี้สินทรัพย์ หนี้สิน และรายการค้า เหล่านี้จึงมีการปรับปรุงใหม่เป็นเงินเหรียญสรอ. โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนจากธนาคารแห่งประเทศไทย หรืออัตราแลกเปลี่ยนโดย ประมาณที่ใช้ ณ วันที่ทำการแปลงค่าเป็นเงินไทยบาท อย่างไรก็ตาม นโยบายนี้อาจใช้ไม่ได้กับการค้าขายที่บันทึกไว้ในงบกำไร ขาดทุน เนือ่ งจากจำเป็นจะต้องทำการหาอัตราแลกเปลีย่ น ณ วันทีม่ กี ารค้าขายแต่ละครัง้ ซึง่ ในกรณีนอ้ี ตั ราแลกเปลีย่ นถัวเฉลีย่ ถ่วง น้ำหนัก (ตามทีอ่ ธิบายไว้ในส่วนของงบกำไรขาดทุน) จึงถูกนำมาใช้ในการแปลงค่าแทน จากความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวตามทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วข้างต้น เบเคอร์ ทิลลี่ คอร์ปอเรท แอ็ดไวเซอรี่ เซอร์วสิ เซส (ประเทศ ไทย) จำกัด (“บีทซี เี อเอส”) ได้หานโยบายทีจ่ ะทำให้มน่ั ใจได้วา่ จะเป็นวิธกี ารปรับปรุงค่าทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ ในการแสดงมูลค่าและผลการ ดำเนินการของบริษทั ฯ พึงตระหนักว่าความรับผิดชอบของบีทซี เี อเอส จำกัด ในรายงานฉบับนีอ้ ยูเ่ พียงการตรวจสอบและรับรองการปรับปรุงงบการ เงินใหม่เป็นสกุลเงินเหรียญสรอ. ซึ่งจัดทำขึ้นโดยบริษัทอิงจากงบการเงินประจำไตรมาส / สำหรับงวดครึ่งปี / สำหรับงวดประจำปี สกุลไทยบาททีไ่ ด้รบั การสอบทาน / ตรวจสอบจากผูต้ รวจสอบบัญชีทไ่ี ด้รบั การแต่งตัง้ ตามกฎหมายเท่านัน้ ดังนัน้ ขอบเขตหน้าทีจ่ งึ จำกัดอยูเ่ พียงการตรวจทานความถูกต้องของการปรับปรุงงบการเงินใหม่เป็นสกุลเงินเหรียญสรอ. เท่านัน้ โดยอิงจากข้อมูลทางบัญชีท่ี มีอยูแ่ ล้วในรูปสกุลเงินไทยบาท จากทีไ่ ด้กล่าวมานี้ นโยบายการปรับปรุงงบดุลและงบกำไรขาดทุนของบริษทั ฯ มีรายละเอียดดังต่อไปนี:้

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

งบดุล

282

การแปลงค่าจากเงินไทยบาทเป็นเงินเหรียญสรอ. ในรายการส่วนใหญ่ในงบดุลที่ได้รับการตรวจสอบ / สอบทานแล้วของ บริษทั ฯ นัน้ จะใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีใ่ นงบดุล ในส่วนของสินทรัพย์จะใช้อตั ราซือ้ ไทยบาท / เหรียญสรอ. ในการแปลงค่า ส่วน หนี้สินจะใช้อัตราขายไทยบาท / เหรียญสรอ. ในการแปลงค่า อย่างไรก็ตาม นโยบายนี้ไม่ได้ใช้ในการแปลงค่ารายการบางรายการ เนื่องจากบริษัทฯ เห็นว่าการใช้นโยบายในรูปแบบอื่นจะแสดงการปรับปรุงค่าในรูปสกุลเงินเหรียญสรอ. ได้ถกู ต้องมากกว่า รายการ ต่างๆ ทีใ่ ช้นโยบายในรูปแบบอืน่ มีดงั ต่อไปนี ้ • เงินลงทุนทีเ่ ป็นเงินเหรียญสรอ. นัน้ บริษทั ฯ จะใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีท่ ำการลงทุนนัน้ ในการแปลงค่าเป็นเงินไทย บาท ดังนัน้ ในการปรับปรุงค่าใหม่จงึ ใช้อตั ราแลกเปลีย่ นดังกล่าวในการแปลงค่ากลับเป็นเงินเหรียญสรอ. • เรือเดินทะเล และค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซมและสำรวจเรือ (Drydock and Special Survey expenses) ตามกำหนดเวลา นัน้ ได้มกี ารซือ้ ขายกันเป็นเงินเหรียญสรอ. แล้วจึงแปลงค่าเป็นเงินไทยบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันซือ้ ดังนัน้ ใน การปรับปรุงค่าใหม่จงึ ใช้อตั ราแลกเปลีย่ นดังกล่าวในการแปลงค่ากลับเป็นเงินเหรียญสรอ. สินทรัพย์ทม่ี กี ารซือ้ ด้วยเงินไทยบาทนัน้ จะถูกทำการแปลงค่าโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีซ่ อ้ื ในการแปลงค่าสินทรัพย์ท่ี เป็นเงินไทยบาทหลักๆ เช่น อาคารชุดและส่วนปรับปรุงอาคารชุด เป็นต้น อย่างไรก็ตาม สินทรัพย์ที่มีการซื้อด้วยเงินไทยบาทอื่น ได้แก่ อุปกรณ์สำนักงาน ส่วนปรับปรุงสัญญาเช่า ยานพาหนะ ส่วนตกแต่งและอุปกรณ์สำนักงาน และงานระหว่างก่อสร้าง ใช้อตั รา แลกเปลีย่ น ณ วันทีง่ บดุล โปรดตระหนักว่ารายการใดๆ ทีม่ อี ยูใ่ นบัญชีกอ่ นเดือนกรกฎาคม 2540 นัน้ เช่น อาคารชุดและส่วนปรับปรุงอาคารชุดจะถูก แปลงค่าด้วยอัตราแลกเปลีย่ นไทยบาท / เหรียญสรอ. ที่ 25.5 เนือ่ งจากการลดค่าเงินบาทได้เริม่ เกิดขึน้ ในเดือนกรกฎาคม 2540 ใน ช่วงก่อนทีจ่ ะมีการลดค่าเงินบาทนัน้ อัตราแลกเปลีย่ นไทยบาท / เหรียญสรอ. จะค่อนข้างคงทีอ่ ยูท่ ม่ี ลู ค่า 25.5 บาท / 1 เหรียญสรอ.


POLICY OF RESTATEMENT FROM THAI BAHT TO US DOLLAR CURRENCY

In restating the Company’s Thai Baht denominated financial statements into US dollars, consideration has been given to Thai GAAP. However, due to the unique nature of this restatement the provisions of Thai GAAP may not necessarily have been complied with. A significantly unique feature is that many of the assets, liabilities and transactions of the Company were originally denominated in US dollars (“US dollar”) and translated into Thai Baht (“Baht”) as required by the Stock Exchange of Thailand (“SET”). In these instances these assets, liabilities and transactions have been restated into US dollars at the exchange rate obtained from the Bank of Thailand (“BoT”), or estimated exchange rate, at which they were converted into Baht. This, however, was not always possible in relation to transactions recorded in the income statement, as this would require matching each transaction with the exchange rate at that date, in which case the weighted average exchange rate (as further explained below) was applied. Based on the uniqueness of the restatement discussed above, BTCAS has sought to ensure the application of the most appropriate methods of restatement to reflect the underlying valuation and performance of the Company. BTCAS’s responsibility in this assignment is to check and certify that the US dollar Restated Financial Statements (quarterly, semi-annual and annual Thai Baht denominated financial statements prepared by the Company), are correctly based in terms of exchange rates used and formulae adopted. This includes verification of the Bank of Thailand rates on every given date. As such, the scope is limited only to a review on the accuracy of the restatement of the US dollar Restated Financial Statements based upon the existing set of Thai Baht accounts which have previously been reviewed and audited by the statutory auditors. Accordingly, the policy regarding Company’s balance sheet and income statement items can be described as follows:

Most items in the Company’s audited or reviewed balance sheet are converted from Baht into US dollar using the exchange rate as at the balance sheet date announced by the BoT. The Baht to US dollar buying rate is applied on the asset side while the Baht to US dollar selling rate is used on the liability side. This policy, however, is not applied to some items as BTCAS and the Company considers an alternative policy, as described below, would provide a more accurate restatement into US dollars. • Investments originally made in US dollars and translated by the Company into Baht at the historical exchange rate as at the date of the investment are reversed and restated back into US dollars at such historical exchange rate. • Vessels, dry-dock and the special survey expenses that were originally purchased or incurred in US dollars and translated into Baht at the historical exchange rate as at the acquisition date are reversed and restated back into US dollars at such historical exchange rate. Fixed assets originally purchased in Baht are converted into US dollars at the historical exchange rates as at the acquisition date for major Baht fixed assets such as building and building improvement. However, others items such as office equipment, leasehold improvement, vehicles, furniture and fixtures, and work in process, are converted in US dollars as at the balance sheet date. Please note that any items existing in the accounts before July 1997 such as building and building improvements are converted at an exchange rate of Baht 25.5 = US$1.00 since the floatation of Baht commenced in July 1997 as before such date the Baht to US dollar exchange rate was relatively stable at Baht 25.5 = US$1.00.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Balance Sheet

283


รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ค่าเสือ่ มราคาของสินทรัพย์ทซ่ี อ้ื ด้วยเงินเหรียญสรอ. จะมีการปรับปรุงค่าโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีไ่ ด้มาของสินทรัพย์ ดังกล่าว อย่างไรก็ตาม ค่าเสือ่ มราคาของสินทรัพย์ทม่ี กี ารซือ้ ด้วยเงินไทยบาทนัน้ บริษทั ฯ จะทำการแปลงค่าโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีง่ บดุล ตามทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วข้างต้น อัตราแลกเปลีย่ น ณ วันทีซ่ อ้ื ถูกใช้ในการแปลงค่าเสือ่ มราคาสินทรัพย์ทเ่ี ป็นเงินไทยบาท หลักๆ • เงินล่วงหน้าค่าจ้างต่อเรือ ส่วนใหญ่อยู่ในรูปเงินเหรียญสรอ. แล้วจึงแปลงค่าเป็นเงินไทยบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันทีจ่ า่ ยเงิน ดังนัน้ ในการปรับปรุงค่าใหม่ จึงใช้อตั ราแลกเปลีย่ นดังกล่าวในการแปลงค่ากลับเป็นเงินเหรียญสรอ. • ลูกหนี้และเจ้าหนี้การค้า และรายได้รับล่วงหน้า ได้มีการซื้อขายกันเป็นเงินเหรียญสรอ. แล้วจึงแปลงค่าเป็นเงินไทย บาทโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีง่ บดุล ดังนัน้ ในการปรับปรุงค่าใหม่จงึ ใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีง่ บดุลในการ แปลงค่ากลับเป็นเงินเหรียญสรอ. • ลักษณะของสินทรัพย์และหนี้สินหมุนเวียนอื่น โดยมากจะมีการหมุนเวียนอย่างมาก ดังนั้นการแปลงค่ารายการบัญชี ดังกล่าวจึงใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีง่ บดุล • สินทรัพย์อื่นๆ มีการซื้อขายกันเป็นเงินเหรียญสรอ. แล้วจึงแปลงค่าเป็นเงินไทยบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ งบดุล ดังนัน้ ในการปรับปรุงค่าใหม่จงึ ใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีง่ บดุลในการแปลงค่ากลับเป็นเงินเหรียญสรอ. • เงินกูย้ มื จากธนาคาร และดอกเบีย้ ค้างจ่าย ส่วนใหญ่อยูใ่ นรูปเงินเหรียญสรอ. แล้วจึงแปลงค่าเป็นเงินไทยบาทโดยใช้ อัตราแลกเปลีย่ น ณ วันทีง่ บดุล ดังนัน้ ในการปรับปรุงค่าใหม่จงึ ใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีง่ บดุลในการแปลงค่ากลับ เป็นเงินเหรียญสรอ. • ส่วนได้เสียของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในกำไรสะสมของบริษัทย่อยของบริษัทฯ จะทำการแปลงค่าเป็นเงินไทยบาทโดยใช้ อัตราแลกเปลีย่ น ณ วันทีง่ บดุล ดังนัน้ ในการปรับปรุงค่าใหม่จงึ ใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีง่ บดุล • ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศโดยหลักๆ แล้วจะเกี่ยวข้องกับสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็น สกุลเงินไทยบาทที่ถูกปรับปรุงค่าใหม่ให้เป็นสกุลเงินเหรียญ สรอ. โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนที่แตกต่างกัน ก่อให้เกิด ความไม่สมดุลขึ้นในงบดุล กรณีเช่นนี้จะไม่เกิดขึ้นจากสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นสกุลเงินเหรียญสรอ. เนื่องจากเรา ทำการปรับปรุงค่าจากสกุลเงินไทยบาทกลับไปสูม่ ลู ค่าดัง้ เดิมในรูปเงินเหรียญสรอ. จึงเป็นทีเ่ ข้าใจได้วา่ ผลสะสมในรูป เงินเหรียญสรอ. ของการปรับปรุงที่เกิดจากการแปลงค่างบการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศนั้น ไม่ได้หมายถึงการ ปรับปรุงทีเ่ กิดจากการแปลงค่าเป็นเงินไทยบาท • ทุนเรือนหุน้ และสำรอง จะทำการปรับปรุงค่าโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีเ่ กิดการเปลีย่ นแปลงในรายการ สำหรับ รายการเพิม่ หรือลดทุนนัน้ จะทำการปรับปรุงค่าโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ นถัว่ เฉลีย่ ของเดือนทีร่ ายการดังกล่าวเกิดขึน้

284


Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Depreciation of assets which were originally acquired in US dollars is restated using the historical exchange rate as at the date of acquisition. However, where the assets were originally purchased in Baht, the depreciation is converted into US dollars at the balance sheet date. As mentioned, the historical exchange rates as at the acquisition date is applied for the major Baht fixed assets. • Advance for vessel construction is mostly denominated in US dollars and are translated into Baht at the historical exchange rate as at the payment date and restated back into US dollars at such historical exchange rate. • Accounts receivable and payable, and advance received from charterers originally denominated in US dollars and translated into Baht at the exchange rate as at the balance sheet date are reversed and restated back into US dollars at such exchange rate as at the balance sheet date. • The nature of other current assets and liabilities is mostly very current and therefore the exchange rate as at the balance sheet date is applied. • Other assets denominated in US dollars and translated into Baht at the exchange rate as at the balance sheet date are reversed and restated back into US dollars at such exchange rate. • Loans from banks and interest payable are mostly denominated in US dollars and are translated into Baht at the exchange rate as at the balance sheet date. The restatement into US dollars therefore has been done at such exchange rate to reverse the translation. • Minority interest is derived from minority shareholders’ portion in the retained earnings of subsidiaries of the Company calculated at the balance sheet date and therefore the exchange rate as at the balance sheet date is applied. • Translation adjustment primarily relates to Baht denominated assets and liabilities restated at different exchange rates to US dollars resulting in an imbalance in the balance sheet. This should not occur for assets and liabilities originally denominated in US dollars as we have sought to restate the Baht amounts to the original US dollar amounts. It should therefore be understood that the US dollar cumulative translation adjustment is not the translation of the Baht translation adjustment. • Share capital and reserves are restated at the historical exchange rates. Any increase or decrease is restated at the corresponding average exchange rate of the month in which the transaction has occurred.

285


งบกำไรขาดทุน

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

รายการส่วนใหญ่ในงบกำไรขาดทุนทีไ่ ด้รบั การตรวจสอบ / สอบทานแล้วของบริษทั ฯ นัน้ เป็นเงินเหรียญ สรอ. แล้วถูกแปลง ค่าเป็นเงินไทยบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ ขณะนั้น1 เพื่อให้การปรับปรุงค่าใหม่ในการค้าขายแต่ละรายการนี้ถูกต้องสมบูรณ์ จำเป็นจะต้องทำการหาอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่มีการค้าขายแต่ละครั้ง นโยบายดังกล่าวอยู่นอกเหนือจากขอบเขตการตรวจทาน ของบีทซี เี อเอส รายการเหล่านีไ้ ด้มกี ารแปลงค่าโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ นถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนักรายเดือน2 ภายในช่วงระยะเวลา 3 เดือน สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ซึ่ง (หากรายได้ ค่าใช้จ่าย และอัตราแลกเปลี่ยนค่อนข้างคงที่) อัตราแลกเปลี่ยนดังกล่าวน่าจะ ประมาณอัตราแลกเปลี่ยนในอดีตสำหรับการค้าแต่ละรายการได้ อนึ่ง นโยบายนี้ไม่ได้ใช้ในการแปลงค่ารายการบางรายการ เนือ่ งจากบริษทั ฯ เห็นว่าการใช้นโยบายในรูปแบบอืน่ จะแสดงการปรับปรุงค่าในรูปสกุลเงินเหรียญสรอ. ได้ถกู ต้องยิง่ ขึน้ รายการต่างๆ ทีใ่ ช้นโยบายในรูปแบบอืน่ มีดงั ต่อไปนี ้ • ในทำนองเดียวกับรายการค่าเสื่อมราคาสะสมในงบดุล การแปลงค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ที่ซื้อด้วยเงินเหรียญสรอ. จะใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีไ่ ด้มาของสินทรัพย์ดงั กล่าว มิใช่อตั ราแลกเปลีย่ นถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนักรายเดือน อย่างไร ก็ตาม ตามทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วข้างต้นในส่วนของงบดุล นโยบายการแปลงค่าเสือ่ มราคาของสินทรัพย์ทเ่ี ป็นเงินไทยบาท นั้น อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ได้มาของสินทรัพย์จึงถูกนำมาใช้ในส่วนของสินทรัพย์หลักที่เป็นเงินไทยบาท อย่างไร ก็ตาม สินทรัพย์ทเ่ี ป็นเงินบาทอืน่ เช่น ยานพาหนะ ส่วนตกแต่ง และอุปกรณ์สำนักงาน เป็นต้น จะถูกแปลงค่าด้วย อัตราแลกเปลีย่ นถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนักรายเดือน • กำไร / ขาดทุนจากการขายสินทรัพย์ถาวรจะถูกแปลงค่าด้วยอัตราแลกเปลีย่ นไทยบาท / เหรียญสรอ. ทีแ่ ท้จริง ณ วัน ทีข่ ายสินทรัพย์ทง้ั ทีเ่ ป็นเงินไทยบาทและเงินเหรียญสรอ. • กำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนในงบกำไรขาดทุนในรูปสกุลเงินเหรียญสรอ. เกิดขึ้นจากรายการเกี่ยวกับเงิน สินทรัพย์ถาวรย่อยๆ รวมถึงสินทรัพย์และหนีส้ นิ หมุนเวียน ทีอ่ ยูใ่ นรูปสกุลเงินไทยบาท โดยมูลค่าของรายการเหล่านีใ้ น รูปเงินเหรียญสรอ. ได้เปลีย่ นแปลงไปจากมูลค่าในไตรมาสทีผ่ า่ นมา เนือ่ งจากความซับซ้อนในการได้มาซึง่ ตัวเลขโดย ละเอียดในแต่ละรายการ จึงถือว่ารายการเหล่านี้ไม่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดช่วงระยะเวลางบการเงิน นั่นคือตั้งแต่ ไตรมาสทีผ่ า่ นมา • เงินปันผลทีจ่ า่ ยให้แก่ผถู้ อื หุน้ จะทำการปรับปรุงค่าโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีจ่ า่ ยเงินปันผล • กำไรสะสมต้นปีได้ถกู ปรับปรุงค่าด้วยอัตราแลกเปลีย่ นไทยบาท / เหรียญสรอ. ทีแ่ ท้จริง ณ ช่วงเวลาทีม่ กี ารบันทึกกำไร สะสม

286

อัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศทีใ่ ช้เป็นอัตราแลกเปลีย่ นถัวเฉลีย่ ประจำเดือนทีไ่ ด้จากธนาคารแห่งประเทศไทยหนึง่ เดือนก่อนหน้านี้ เช่น อัตราแลก เปลีย่ นไทยบาท/เหรียญสรอ. โดยเฉลีย่ ของเดือนเมษายนจะถูกนำไปใช้เป็นเกณฑ์การคำนวณตัวเลขในเดือนพฤษภาคม 2 อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก คำนวณจากอัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยต่อเดือนของธนาคารแห่งประเทศไทย ถูกถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักด้วยจำนวนวัน ทำการของเรือเดินทะเลของบริษทั ฯ ในแต่ละเดือน 1


Income Statement

The foreign exchange rate used is the monthly average rate of the previous month, obtained from the Bank of Thailand, e.g. average Baht to US dollar rae of April is applied as the basis for the month of May. 2 The weighted average rate is the monthly average rate, obtained from BoT, weighted by the number of operating days of the Company’s vessels for each month. 1

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Most items in the Company’s audited or reviewed Baht denominated income statement were originally denominated in US dollars and translated into Baht at the prevailing exchange rate1 at that time. In order to perfectly restate these transactions it would be necessary to match each transaction with its historical exchange rate. This is outside the scope of our review. These items have been translated using the weighted average exchange rates2 for the three months ended December 31st, 2007, which should approximate (where income, expenses and exchange rates are relatively stable) the historical exchange rates of each transaction. This policy, again, is not applied to some items as Baker Tilly and the Company considers an alternative policy, as described below, would provide more accurate restatement in US dollars. • Depreciation of assets originally acquired in US dollars is similar to the depreciation item in the balance sheet. This item is not directly translated using the weighted monthly average exchange rate but the historical acquisition exchange rates. As mentioned in the balance sheet section, the historical exchange rates are also applied to major Baht fixed assets. However, the other items such as vehicles, furniture and fixtures and office equipment are restated at the weighted monthly average exchange rate. • Gains / losses on disposal of fixed assets are converted at the actual Baht to US dollar exchange rate as at the date of asset disposal for both US dollar and Baht sales. • The exchange gain (loss) in the US dollar income statement arises from Baht denominated monetary assets and liabilities, minor fixed assets and current assets and liabilities which in US dollar terms have changed in value from the previous period. Due to the complexity in obtaining detailed figures for each item, it is then assumed that the total amount of these Baht denominated monetary assets and liabilities remain unchanged from the previous period and thus the gain (loss) in US dollar restated income statement is derived by comparing the US dollar amount of those items in the current period with that of the previous period. • Dividend paid denominated in Baht is restated at the historical exchange rates in which the dividend payment occurred. • Retained earnings at the beginning of the year are restated into US dollars at the actual historical exchange rate for the periods in which retained earnings were recorded.

287


สรุปความแตกต่างทีส่ ำคัญระหว่างมาตรฐานการบัญชีทร่ี บั รองทัว่ ไปใน ประเทศไทย (Thai GAAP) และมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (IFRS) มาตรฐานการบัญชีไทยมีขอ้ แตกต่างอย่างมากในบางเรือ่ งเมือ่ เทียบกับมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ ซึง่ จะได้กล่าวถึง ข้อแตกต่างที่เห็นชัดเจนโดยย่อต่อไป องค์กรที่มีอำนาจประกาศใช้มาตรฐานการบัญชีทั้งของไทยและมาตรฐานการบัญชีระหว่าง ประเทศยังคงมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องอันอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานการบัญชี ซึ่งจะมีผลกระทบอย่างเป็นสาระ สำคัญในการเปรียบเทียบในอนาคตดังเช่นข้อสรุปทีจ่ ะกล่าวถึงต่อไป ซึง่ ข้อสรุปนีไ้ ม่ได้ครอบคลุมถึงข้อแตกต่างทัง้ หมดทีม่ อี ยูแ่ ละทีจ่ ะ เกิดขึ้นในอนาคตของมาตรฐานการบัญชีไทยและมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ ทั้งในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจของ บริษทั ฯ หรือธุรกิจในอุตสาหกรรมเดียวกันและไม่มกี ารแสดงผลกระทบเป็นตัวเลขจากความแตกต่างนี ้ บริษัทฯ ไม่สามารถให้ความเชื่อมั่นได้ว่า บทสรุปนี้จะแสดงข้อแตกต่างอันเป็นสาระสำคัญโดยครบถ้วนสมบูรณ์ระหว่าง มาตรฐานการบัญชีไทยและมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศที่อาจกระทบต่องบการเงินของบริษัทฯ โดยทั่วไปมาตรฐานการบัญชี ระหว่างประเทศจะเข้มงวดและมีขอบเขตกว้างกว่ามาตรฐานการบัญชีไทยในเรื่องการรับรู้และการวัดมูลค่าของรายการ การจัด ประเภทรายการทางบัญชีและการเปิดเผยข้อมูล ในข้อสรุปนี้ บริษัทฯ ไม่ได้นำเสนอข้อแตกต่างในการเปิดเผยข้อมูล การแสดง รายการในงบการเงิน หรือการจัดประเภทรายการในงบการเงินที่อาจจะกระทบต่อแนวทางปฏิบัติของรายการและเหตุการณ์ต่างๆ ที่ สะท้อนอยูใ่ นงบการเงิน หรือหมายเหตุประกอบงบการเงินของบริษทั ฯ ทีจ่ ะกล่าวถึงต่อไปนีค้ อื ข้อสรุปทัว่ ไปของความแตกต่างทีส่ ำคัญระหว่างมาตรฐานการบัญชีทร่ี บั รองทัว่ ไปในประเทศไทยและ มาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (IFRS) ในเฉพาะส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั ฯ

ต้นทุนในการออกตราสารหนี้

ยังไม่มมี าตรฐานการบัญชีไทยรองรับเรือ่ งนี ้ มาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ กำหนดให้มีการตั้งพักต้นทุนของการออกตราสารหนี้และตัดจำหน่ายเป็นค่าใช้จ่าย ตลอดอายุของตราสารหนีน้ น้ั ตามวิธอี ตั ราดอกเบีย้ ทีแ่ ท้จริง

การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได้

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ปัจจุบันยังไม่มีมาตรฐานการบัญชีไทยรองรับการบัญชีสำหรับภาษีเงินได้และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี โดยทั่วไปกิจการ จะบันทึกสำรองภาษีเงินได้ทต่ี อ้ งจ่ายในงวดนัน้ ซึง่ คำนวณตามประมวลรัษฎากรของประเทศไทย ภายใต้ IAS ฉบับที่ 12 เรือ่ ง ภาษีเงินได้ กำหนดให้กจิ การรับรูส้ นิ ทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีหรือหนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอ การตัดบัญชีสำหรับผลแตกต่างระหว่างราคาตามบัญชีกบั ฐานภาษีของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะถูกคำนวณ ตามอัตราภาษีที่กำหนดโดยกฎหมายภาษีอากร สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะถูกบันทึก ถ้ามีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่ กิจการจะมีกำไรทางภาษีเพียงพอต่อการนำจำนวนผลแตกต่างชัว่ คราวทีใ่ ช้หกั ภาษีนน้ั มาใช้ประโยชน์ได้ในงวดอนาคต

288

การบัญชีสำหรับผลประโยชน์ของพนักงาน

มาตรฐานการบัญชีไทยไม่ได้กำหนดเงื่อนไขไว้ชัดเจนเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีสำหรับผลประโยชน์ของพนักงาน รวมถึงการ เกษียณและผลประโยชน์ที่ได้หลังเกษียณในงบการเงินรวมของบริษัทฯ เงินสบทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพในส่วนของบริษัทฯ ได้ถูก บันทึกเมือ่ เกิดขึน้ จริง ตามมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ ผลประโยชน์ของพนักงานได้ถกู บันทึกตาม IAS ฉบับที่ 19 เรือ่ ง การบัญชีสำหรับ

ผลประโยชน์ของพนักงาน นอกเหนือจากข้อแตกต่างเรื่องการรับรู้ต้นทุน การเปิดเผยข้อมูลในส่วนของเงินบำนาญพนักงานตาม มาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศจะละเอียดกว่ามาตรฐานการบัญชีไทยในปัจจุบนั


Summary of significant differences between Thai GAAP and International Financial Reporting Standards (IFRS)

Thai GAAP differs in certain significant respects from IFRS. A brief description of certain differences between Thai GAAP and IFRS is set out below. The organizations that promulgate Thai GAAP and IFRS have projects ongoing that could have a significant impact on future comparisons such as this exercise. This summary is not intended to provide a comprehensive listing of all existing or future differences between Thai GAAP and IFRS including those specifically related to us or the industry in which we operate. No attempt has been made to quantify the differences. The Company can provide no assurance that this summary of certain significant differences between Thai GAAP and IFRS provides a complete description of all differences that may have an impact on our financial statements. IFRS is generally more restrictive and comprehensive than Thai GAAP regarding the recognition and measurement of transactions, account classifications and disclosure requirements. No attempt has been made in this summary to identify disclosure, presentation or classification differences that would affect the manner in which transactions and events are reflected in our financial statements or the notes thereto. The following is a general summary of certain significant differences between Thai GAAP and International Financial Reporting Standards (IFRS) as applicable to the Company. Debt issuance costs

Thai GAAP does not address the accounting treatment for debt issuance cost. IFRS requires the deferral of debt acquisition costs and then they are subsequently amortized as expenses over the life of the related debt using the effective interest method. There is no Thai GAAP currently effective on accounting for income and deferred taxes. In general, provisions for income taxes are typically based on corporate income taxes currently payable in respect of the period under the Revenue Code of Thailand. Under IAS 12, Income Taxes, deferred tax assets or liabilities are recognized for differences between the financial and tax basis of assets and liabilities. Deferred taxes are computed based on the enacted or “substantially enacted” tax rate of income taxes. Deferred tax assets must be recognized if it is probable that sufficient taxable profit will be available against which the temporary difference can be utilized. Accounting for employee benefits

Thai GAAP is not prescriptive with respect to accounting for employee benefits, including retirement and postretirement benefits. In the Company’s consolidated financial statements, Company’s contributions to the provident fund are recorded as incurred. IFRS requires that retirement benefits are determined in accordance with IAS 19, Employee Benefits. In addition to the differences in cost recognition, the disclosures required with respect to employee pensions are more detailed in accordance with IAS than in accordance with Thai GAAP.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

Accounting for income taxes

289


IAS ฉบับที่ 19 กำหนดให้ใช้เกณฑ์คณิตศาสตร์สถิติ (actuarial method) ในการคำนวณหาต้นทุนของเงินบำนาญพนักงาน เพื่อที่จะรับรู้กำไรหรือขาดทุนค้างรับค้างจ่ายในอนาคต (ในส่วนที่เกินกว่าระดับที่กำหนดไว้) ที่มีผลมาจากการเปลี่ยนแปลงใน สมมติฐานหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงที่ต่างไปจากสมมติฐาน IAS ฉบับที่ 19 ยังได้กล่าวถึงการตัดจำหน่ายในอนาคตของต้นทุนที่ เกีย่ วข้องกับการเปลีย่ นแปลงของผลประโยชน์ตามแผน เช่นเดียวกับภาระผูกพันในช่วงทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงและยังกำหนดให้ตอ้ งเปิด เผยส่วนประกอบของต้นทุนเงินบำนาญทีเ่ กิดขึน้ ในงวดและสถานะของกองทุนเงินบำนาญ IAS ฉบับที่ 19 ครอบคลุมถึงผลประโยชน์หลังเกษียณของพนักงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการประกันชีวติ นอกเหนือไปจากทีร่ ะบุใน กองทุนบำนาญหรือผลประโยชน์หลังเกษียณอายุอื่น ซึ่งรวมถึงค่ารักษาพยาบาลและผลประโยชน์ด้านสวัสดิการที่นายจ้างพึงมีต่อ พนักงานปัจจุบนั และผูเ้ คยเป็นพนักงาน ในด้านของต้นทุนของประโยชน์ทพ่ี นักงานจะได้รบั หลังจากเกษียณอายุไปแล้ว ควรทีจ่ ะต้อง ถูกบันทึกตลอดอายุการทำงานของพนักงานคนนั้น โดยใช้สมมติฐานที่อิงจากข้อเท็จจริงในการประมาณต้นทุนของผลประโยชน์ด้าน ค่ารักษาพยาบาลและมูลค่าปัจจุบนั ภายใต้ IAS ฉบับที่ 19 กิจการต้องแสดงรายละเอียดเกีย่ วกับแผนงาน พนักงานทีอ่ ยูใ่ นกลุม่ ทีจ่ ะ ได้รับผลประโยชน์ ชนิดของประโยชน์ที่จัดไว้ให้ นโยบายการบริหารกองทุน ต้นทุนที่เกิดขึ้นในงวด ชนิดของสินทรัพย์ที่ถือและ ผลกระทบทีเ่ กีย่ วข้องทีส่ ามารถเปรียบเทียบกันได้ เป็นต้น

สำรองตามกฎหมาย

บริษัทมหาชนจำกัดในประเทศไทย ต้องจัดสรรเงินส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนสำรองตามกฎหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำไร สุทธิประจำปี หักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมาจากปีก่อนๆ จนกว่าทุนสำรองนี้มีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำรองตามกฎหมายนีไ้ ม่สามารถนำไปแจกจ่ายได้จนกว่าจะมีการเลิกกิจการ นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ยังสามารถจัดสรรกำไรสุทธิไว้เป็นเงิน สำรองทัว่ ไป ซึง่ สำรองทัว่ ไปนีส้ ามารถนำมาจ่ายเป็นเงินปันผลได้ มาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ ไม่ได้ระบุถงึ การจัดสรรสำรองดังกล่าวหรือกำไรสะสม

สกุลเงินที่ ใช้ ในการดำเนินงาน

มาตรฐานการบัญชีไทย ฉบับที่ 30 เรือ่ งผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ ไม่มกี าร พูดถึงเรือ่ งสกุลเงินทีใ่ ช้ในการดำเนินงาน อย่างไรก็ตาม โดยทัว่ ไปบริษทั ไทยจะบันทึกรายการและรายงานงบการเงินด้วยสกุลเงินบาท ภายใต้ IAS ฉบับที่ 21 เรือ่ ง การแปลงค่าสกุลเงินตราต่างประเทศ สินทรัพย์ หนีส้ นิ และผลการดำเนินงานของกิจการจะรับรู้ โดยใช้สกุลเงินที่ใช้ในการดำเนินงาน สกุลที่ใช้ในการดำเนินงานของกิจการเป็นสกุลเงินที่ใช้ในสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจหลักที่ กิจการดำเนินงานอยู่ ซึง่ โดยปกติเป็นสกุลเงินหลักทีก่ อ่ ให้เกิดกระแสเงินสดรับและจ่ายทีส่ ำคัญ

ไม่มีการแสดงผลกระทบที่เป็นตัวเงินระหว่างข้อแตกต่างของทั้งสองมาตรฐานการบัญชี

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

บริษัทฯ ไม่ได้แสดงผลกระทบของข้อแตกต่างระหว่างมาตรฐานการบัญชีทั้งสองในรูปของจำนวนตัวเลข ทั้งนี้บริษัทฯ ไม่อาจให้ความเชือ่ มัน่ ได้วา่ ผลการดำเนินงานและส่วนของเจ้าของทีบ่ นั ทึกตามมาตรฐานการบัญชีไทยจะไม่มขี อ้ แตกต่างหากบริษทั ฯ ได้นำมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศมาใช้

290


IAS 19 requires the use of an actuarial method for determining defined benefit pension costs and provides for the deferral of actuarial gains and losses (in excess of a specific corridor) that result from changes in assumptions or actual experience differing from that assumed. IAS 19 also provides for the prospective amortization of costs related to changes in the benefit plan, as well as the obligation resulting from transition and requires disclosure of the components of periodic pension costs and the funded status of pension plans. IAS 19, applies to all post-retirement benefits related to life insurance provided outside a pension plan or to other post-retirement benefits, including health care and welfare benefits, expected to be provided by an employer to current and former employees. The cost of a post-retirement benefits plan should be recognized over the employees’ service periods and that actuarial assumptions are used to project the cost of health care benefits and the present value thereof. Under IAS 19, the company is required to describe the plan, employee groups covered, type of benefits provided, funding policy, periodic plan costs, types of assets held, and any matter affecting comparability, among other disclosures. Legal reserve

Public limited companies in Thailand are required to set aside as a legal reserve, an amount of not less than five percent of the net profits for the corresponding fiscal year until such reserve is not less than ten percent of the registered share capital. The legal reserve is not available for distribution unless the Company winds up. In addition, companies are permitted to appropriate amounts from net profit as a general reserve. This general reserve may be reversed and distributed as dividends. IFRS does not require such appropriations to reserves or retained earnings. Functional currency

Thai Accounting Standard No. 30, The Effects of Changes in Foreign Exchange Rates is silent on the functional currency. Thai companies generally record their transactions and report their financial statements in Thai Baht. Under IAS 21, Foreign Currency Translation, the assets, liabilities, and operations of an entity are required to be measured using the functional currency of that entity. An entity’s functional currency is the currency of the primary economic environment in which the entity operates; normally, that is the currency of the environment in which an entity primarily generates and expends cash. We have not quantified the effects of the aforementioned differences between Thai GAAP and IFRS. Accordingly, there can be no assurances that the results of operations and shareholders’ equity reported in conformity with Thai GAAP would not be different if determined in conformity with IFRS.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

No quantification of effects of differences

291


รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีการทำรายการทีม่ สี าระสำคัญกับบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันดังต่อไปนี ้

1. สัญญาเช่าสำนักงานระหว่างบริษัทฯ กับบริษัท ยูนิสเตรทช์ จำกัด

ความเกีย่ วโยงกัน

ความสำคัญของการทำรายการ

ความเป็นธรรมของการกำหนดราคาและเงือ่ นไข

แนวโน้มการทำรายการในอนาคต

บริษทั ฯ ทำสัญญาเช่าสำนักงานและบริการอืน่ ๆ กับบริษทั ยูนสิ เตรทช์ จำกัด ซึง่ มีนางสาวนิชติ า้ ชาห์ ในฐานะกรรมการของบริษทั ฯ เป็นผูม้ สี ว่ นได้เสียโดยตรง เนือ่ งจากนางสาวนิชติ า้ ชาห์ เป็นกรรมการและผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ยูนสิ เตรทช์ จำกัด และนายกิรติ ชาห์ ในฐานะกรรมการของบริษทั ฯ เป็นผูม้ สี ว่ นได้เสียเนือ่ งจากเป็นกรรมการของบริษทั ยูนสิ เตรทช์ จำกัด

สัญญาเช่าสำนักงานมีความจำเป็นต่อการดำเนินงานของบริษทั ฯ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯ ได้จา่ ยค่าเช่าและค่าบริการอืน่ ๆ เป็นจำนวนเงินรวม 2.69 ล้านบาท (ปี 2549: 1.63 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 0.02 (ปี 2549: ร้อยละ 0.01) ของสินทรัพย์ทม่ี ตี วั ตนสุทธิ โดยบริษทั ฯ ได้ทำสัญญาเช่าสำนักงานและบริการ ในอัตรา 210 บาทต่อตารางเมตรต่อเดือน ซึ่งเป็นอัตราเช่าที่เท่ากันกับที่บริษัทฯ ได้ทำสัญญาเช่าสำนักงานและบริการกับบุคคล ภายนอกในชัน้ อืน่ ทีใ่ กล้เคียงกันในอาคารสำนักงานเดียวกันทีอ่ ตั รา 210 บาทต่อตารางเมตรต่อเดือน สำนักงานมีความจำเป็นต่อการดำเนินงานของบริษทั ฯ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงต่อสัญญาเช่าสำนักงานและบริการในปี 2551 ใน อัตราค่าเช่าอัตราเดียวกัน (หรือทีใ่ ห้ผลประโยชน์ทม่ี ากกว่า) กับปี 2550

2. ซื้อตั๋วเครื่องบินจาก บริษัท แอมบิก้า ทัวร์ เอเยนซี่ จำกัด และบริษัท จีพี แอร์เซอร์วิส จำกัด

ความเกีย่ วโยงกัน

ความสำคัญของการทำรายการ

ความเป็นธรรมของการกำหนดราคาและเงือ่ นไข

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้ซอ้ื ตัว๋ เครือ่ งบินจาก บริษทั แอมบิกา้ ทัวร์ เอเยนซี่ จำกัด และบริษทั จีพี แอร์เซอร์วสิ จำกัด ซึง่ มี นางสาวนิชติ า้ ชาห์ ในฐานะกรรมการของบริษทั ฯ เป็นผูม้ สี ว่ นได้เสียโดยตรง เนือ่ งจากนางสาวนิชติ า้ ชาห์ เป็นกรรมการและผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ดังกล่าว

292

โดยปกติการดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ตัว๋ เครือ่ งบินมีความจำเป็นตามสัญญาว่าจ้างลูกเรือ เนือ่ งจากบริษทั ฯ ต้องจัดหาตัว๋ เครือ่ งบินเพือ่ รับส่งลูกเรือไปทำงานบนเรือ และเดินทางกลับจากเรือทีท่ า่ เทียบเรือต่างๆ ทัว่ โลก เมือ่ สัญญาว่าจ้างสิน้ สุดลง บริษทั แอมบิกา้ ทัวร์ เอเยนซี่ จำกัด และบริษทั จีพี แอร์เซอร์วสิ จำกัด ได้ถกู เลือกให้มาบริการในเรือ่ งนี้ โดยพิจารณาจากความ สามารถในการแข่งขันทางด้านราคาและบริการ การให้บริการทีร่ วดเร็วกว่าและมีประสิทธิภาพมากกว่า รวมทัง้ มีสำนักงานอยูใ่ กล้กบั บริษทั ฯ ซึง่ ทำให้ไม่มปี ญ ั หาในการรับส่งตัว๋ เครือ่ งบินในกรณีเร่งด่วน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยซือ้ ตัว๋ เครือ่ งบินจาก 2 บริษทั ดังกล่าวจำนวน 16.06 ล้านบาท (ปี 2549: 26.57 ล้านบาท) หรือเท่ากับร้อยละ 0.11 (ปี 2549: ร้อยละ 0.22) ของสินทรัพย์ทม่ี ตี วั ตนสุทธิ


CONNECTED TRANSACTIONS

The following significant transactions entered into by the Company and Subsidiaries constitute transactions with related parties 1. Office lease agreement between the Company and Unistretch Limited

The Relation

The Office lease agreement is between the Company and Unistretch Limited. Miss Nishita Shah, director of the Company, is directly interested as Director and Shareholder and Mr. Kirit Shah, Director of the Company, is also interested as director of Unistretch Limited.

The Significance of the related transaction

The Office lease agreement is necessary for operating the Company. The Fairness of Terms and Conditions of the Transaction

As of 31st December 2007, the Company has rental and related expenses for other services from such transaction amounting to Baht 2.69 million (2006: Baht 1.63 million) which is 0.02% (2006: 0.01%) of Net Tangible Assets. The Company has signed a lease for the office premises with Unistretch Limited at the rate of Baht 210 per square metre per month. The Company has also signed a lease for other office premises from a third party on other floors of the same building at the same rate of Baht 210 per square metre per month.

Policy in respect of future transactions with connected parties

The Office is essential for operating the business of the Company so the Company has to continue to enter into lease agreement for the year 2008 on similar (or more beneficial) terms as that of year 2007. 2. Purchase of air tickets from Ambika Tour Agency Limited and Geepee Air Service Limited

The Relation

The Significance of the related transaction

Given the nature of business, air tickets are required for the crew on a regular basis to allow them to sign on/off in different ports around the world on commencement and completion of their contracts, respectively. Ambika Tour Agency Limited and Geepee Air Service Limited have been selected for this purpose in view of their competitive rates and service and also for their proximity to the Company’s office since this allows much quicker and efficient service.

The Fairness of Terms and Conditions of the Transaction

As of 31st December 2007, the Company and subsidiaries purchased air tickets amounting to Baht 16.06 million (2006: Baht 26.57 million) which is 0.11% (2006: 0.22%) of Net Tangible Assets.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

The Company and subsidiaries purchased air tickets from Ambika Tour Agency Limited and Geepee Air Service Limited in which Miss Nishita Shah is directly interested as Director and Shareholder.

293


แนวโน้มการทำรายการในอนาคต

สำหรับปี 2551 มีความเป็นไปได้วา่ มูลค่าการซือ้ ตัว๋ เครือ่ งบินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย จะมีจำนวนมากกว่าปี 2550 ซึง่ เป็นผลมาจากราคาตัว๋ เครือ่ งบินทีเ่ พิม่ ขึน้ อันเนือ่ งมาจากการปรับตัวเพิม่ ขึน้ ของราคาตัว๋ เครือ่ งบินในท้องตลาด อย่างไรก็ตามบริษทั ฯ ได้ทำการเปรียบเทียบด้านราคาและมาตรฐานของการให้บริการของผูจ้ ำหน่ายตัว๋ เครือ่ งบินรายอืน่ ๆ อย่างสม่ำเสมอ ซึง่ รวมทัง้ บริษทั แอมบิกา้ ทัวร์ เอเยนซี่ จำกัด และบริษทั จีพี แอร์เซอร์วสิ จำกัด ในกรณีทร่ี าคาตัว๋ เครือ่ งบินและมาตรฐานการให้บริการทีเ่ สนอโดยผู้ จำหน่ายตัว๋ เครือ่ งบินไม่ได้เป็นไปตามราคาตลาดโดยทัว่ ไป หรือเงือ่ นไขต่างๆ ไม่ได้เป็นไปเพือ่ ผลประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ บริษทั ฯ จะพิจารณาเลือกซือ้ จากบริษทั จัดหาตัว๋ เครือ่ งบินอืน่ แทน

3. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการจากกลุ่มบริษัท แม็กซ์วิน จำกัด

ความเกีย่ วโยงกัน

ความสำคัญของการทำรายการ

ความเป็นธรรมของการกำหนดราคาและเงือ่ นไข

แนวโน้มการทำรายการในอนาคต

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้จา่ ยค่าบำรุงรักษาระบบเครือ่ งปรับอากาศและค่าบริการอืน่ ๆ ในส่วนสำนักงานและห้องพักอาศัย สำหรับพนักงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยให้แก่บริษทั แม็กซ์วนิ เอ็นจิเนียริง่ จำกัด และบริษทั ฯ ได้จา่ ยค่าบริหารจัดการห้องพัก และค่าบริการอืน่ ๆ สำหรับพนักงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ให้แก่บริษทั แมกซ์วนิ บิลเดอร์ส จำกัด ซึง่ เป็นรายการเกีย่ วโยงกัน โดยมีนางสาวนิชติ า้ ชาห์ ในฐานะกรรมการของบริษทั ฯ เป็นผูม้ สี ว่ นได้เสียโดยตรง เนือ่ งจากนางสาวนิชติ า้ ชาห์ เป็นกรรมการและ ผู้ถือหุ้นของ บริษัท แม็กซ์วิน เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด นายคูชรู คาลี วาเดีย และนายกิริต ชาห์ ในฐานะกรรมการของบริษัทฯ เป็น กรรมการของบริษทั แมกซ์วนิ บิลเดอร์ส จำกัด และนางสาวนิชติ า้ ชาห์ เป็นผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั แมกซ์วนิ บิลเดอร์ส จำกัด การบำรุงรักษาระบบเครือ่ งปรับอากาศสำหรับสำนักงานของบริษทั ฯ และห้องพักอาศัย รวมถึงการบริหารจัดการห้องพักนัน้ มีความจำเป็นสำหรับการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เนื่องจากเป็นห้องพักอาศัยสำหรับพนักงานชาวต่างชาติของบริษัทฯ และถือเป็น ทรัพย์สนิ ของบริษทั ย่อย โดยบริษทั แม็กซ์วนิ เอ็นจิเนียริง่ จำกัด และบริษทั แมกซ์วนิ บิลเดอร์ส จำกัด ถูกเลือกให้มาดำเนินการใน เรือ่ งนี้ โดยราคาและการให้บริการต่างๆ เป็นไปตามการแข่งขันโดยทัว่ ไป

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

สำหรับปี 2550 บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้จ่ายค่าบำรุงรักษาระบบเครื่องปรับอากาศ และค่าบริหารจัดการห้องพักรวม จำนวน 4.63 ล้านบาท (ปี 2549: 0.69 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 0.03 (ปี 2549: ร้อยละ 0.01) ของสินทรัพย์ทม่ี ตี วั ตนสุทธิ

294

สำหรับปี 2551 บริษทั ฯ ยังคงมีคา่ ใช้จา่ ยในการบำรุงรักษาระบบเครือ่ งปรับอากาศกับ บริษทั แม็กซ์วนิ เอ็นจิเนียริง่ จำกัด และค่าบริหารจัดการห้องพักกับบริษัท แมกซ์วิน บิลเดอร์ส จำกัด อย่างไรก็ตามบริษัทฯ ได้ทำการเปรียบเทียบด้านราคาและ มาตรฐานของการให้บริการ ในกรณีทร่ี าคาและมาตรฐานการให้บริการไม่ได้เป็นไปตามการแข่งขันโดยทัว่ ไป หรือไม่ได้เป็นไปเพือ่ ผล ประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ บริษทั ฯ จะพิจารณาเปลีย่ นผูใ้ ห้บริการ อนึ่งผู้ตรวจสอบภายในได้ตรวจสอบรายการที่เกี่ยวโยงกันข้างต้นและได้รายงานผลต่อคณะกรรมการตรวจสอบโดยมีการ พิจารณาและสอบทานรายการดังกล่าวในที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 และได้ รายงานรายการดังกล่าวต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2551 ซึ่งได้มีการสอบทานรายการ ดังกล่าว จากความเห็นและรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเห็นว่าบริษัทฯ มีกฎข้อบังคับและ นโยบายป้องกันการทำรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างเพียงพอ โดยรายการระหว่างกันที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ของบริษัทฯ ข้างต้น เป็นไปตามมาตรฐานทางการค้าทั่วไป โดยยึดถือราคาตลาดเป็นสำคัญและเพื่อประโยชน์สูงสุด

ของบริษทั ฯ และมีการเปิดเผยอย่างเพียงพอแล้วในงบการเงินและรายงานประจำปีของบริษทั ฯ


Policy in respect of future transactions with connected parties

For the year 2008, the Company and subsidiaries would have similar air ticket expenses possibly more in value than 2007 due to the increase in price as a consequence of the market price increases. The Company regularly reviews the pricing and service standards of the various Vendors of tickets including Ambika Tour Agency Limited and Geepee Air Service Limited. If the pricing and service standards of the present Vendors are found uncompetitive with market levels and/or if the terms and conditions are not for the benefit of the Company, the Company could change the Vendors. 3. Maintenance and Management services from Maxwin Group

The Relation

The Company and subsidiary paid maintenance expenses and related expenses for other services from such transaction to Maxwin Engineering Ltd. for the air conditioning system at the main operational offices and the condominium apartments of the Company and its subsidiary and also paid apartment management expenses and related expenses for other services from such transaction to Maxwin Builders Limited for the management of the offices and apartments of the Company and its subsidiary. This is a connected transaction since Miss Nishita Shah, Director of the Company is directly interested as Director and Shareholder of Maxwin Engineering Ltd., Mr. Khushroo Kali Wadia and Mr. Kirit Shah, Directors of the Company, are Directors and Miss Nishita Shah is Shareholder of Maxwin Builders Ltd.

The Significance of the related transaction

The maintenance of air conditioning system at the main operational offices and the condominium apartments including the management thereof is essential for operating the business of the Company and the assets of the Company’s subsidiary, i.e. the residences of the Company’s expatriate staff. Maxwin Engineering Ltd. and Maxwin Builders Ltd. have been selected for this purpose in view of their competitive rates and service.

The Fairness of Terms and Condition of the Transaction

Policy in respect of future transactions with connected parties

For the year 2008, the Company would have similar expenses for the maintenance of air conditioning system from Maxwin Engineering Ltd. and expenses for management of the offices and condominium apartments of the Company and its subsidiary, from Maxwin Builders Ltd. The Company regularly reviews such maintenance and management contracts for pricing and service standards and if the same are not competitive and/or for the benefit of the Company, the Company could change the existing service provider. The Internal Auditors have reviewed the above connected transactions and reported the results of their review to the Audit Committee who in turn have discussed and reviewed the transactions in their Audit Committee Meeting No. 1/ 2008 held on 6th February 2008 and then reported these transactions to the Board of Directors. The Board of Directors Meeting No. 1/2008 reviewed the transactions and based on the findings and report of the Audit Committee, the Board is of the opinion that the Company has adequate rules, regulations and policies for prevention of conflict of interest transactions and that the above interested party transactions are entered solely based on the market prices and for the full benefit of the Company. Adequate disclosures have also been made in the financial statements and the Annual Report.

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

For the year 2007, the Company and its subsidiary have paid for maintenance and management expenses for the air conditioning system and the offices and condominium apartments of the Company and its subsidiary amounting to Baht 4.63 million (2006: Baht 0.69 million) which is 0.03% (2006: 0.01%) of Net Tangible Assets.

295


ดัชนีแสดงรายการทีก่ ำหนดตามแบบ 56-2 (ตามมาตรา 56 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535)

ลำดับที่

1.1 ชือ่ สถานทีต่ ง้ั สำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจของบริษทั ฯ 1.2 ชือ่ สถานทีต่ ง้ั สำนักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจ ของนิตบิ คุ คลทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ ตัง้ แต่รอ้ ยละ 10 ขึน้ ไป 1.3 ชือ่ สถานทีต่ ง้ั ของบุคคลอ้างอิง

2.

ข้อมูลทางการเงิน

3.

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

4.

ปัจจัยความเสีย่ ง

5.

โครงสร้างผูถ้ อื หุน้ และการจัดการ

6.

รายการระหว่างกัน

7.

คำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน

8.

งบการเงิน

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ข้อมูลทัว่ ไป

296

1.

หัวข้อ

2.1 ข้อมูลจากงบการเงินโดยสรุป 2.2 อัตราส่วนทางการเงินทีส่ ำคัญ 3.1 ลักษณะการประกอบธุรกิจโดยสังเขป 3.2 โครงสร้างรายได้จากการดำเนินงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย 3.3 สรุปการเปลีย่ นแปลงทีส่ ำคัญของลักษณะการประกอบธุรกิจ

5.1 ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ 5.2 การจัดการ - โครงสร้างการจัดการ - การสรรหากรรมการและผูบ้ ริหาร - กรรมการอิสระ - นิยามของกรรมการอิสระ - ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร - การกำกับดูแลกิจการ - การดูแลเรือ่ งการใช้ขอ้ มูลภายใน - การควบคุมภายใน - ความเห็นของคณะกรรมการบริษทั ทีม่ ตี อ่ การควบคุมภายใน - รายงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม 5.3 นโยบายการจ่ายเงินปันผล 6.1 การเปิดเผยรายการระหว่างกัน 6.2 ความจำเป็นและความสมเหตุสมผลของการทำรายการ 6.3 มาตรการหรือขัน้ ตอนการอนุมตั กิ ารทำรายการระหว่างกัน 6.4 นโยบายหรือแนวโน้มการทำรายการระหว่างกัน

หน้า

6 8-11 298 2-3 2-3 12-24 27 30-42 98-104 106 108-112 48, 108 66 50, 58-62 44, 46, 48-76 78 80 44, 46, 70, 72 82-96 106 292, 294 292, 294 292, 294 292, 294 138-184 188-280


INDEX OF REPORT IN ACCORDANCE WITH FORM 56-2 (PURSUANT TO SECTION 56 OF SECURITIES AND EXCHANGE ACT B.E. 2535)

No.

Details

Page No.

1.

2.

3.

4.

Risk factors

5.

Shareholders structure and the Management

6.

7.

Explanation and Analysis of financial position and operating result

8.

Financial Statements

General information

1.1 Name, address and category of business of the Company 1.2 Name, address and category of juristic person in which the Company holds shares exceeding 10% 1.3 Name, address of other references

7 8-11 298

Financial information

2.1 Summary of financial information 2.2 Significant financial ratios

2-3 2-3

Nature of Business

5.1 Major Shareholders 5.2 Management - Management structure - Election of Directors and Management - Independent Director - Definition of Independent Director - Remuneration of Directors and Management - Corporate Governance - Insider trading Controls - Internal Control - Opinion of the Board of Directors about Internal Control - Corporate Social Responsibility (CSR) Statement 5.3 Dividend Policy Statement

13-24 27 31-43 99-105 107 109-113 49, 109 67 51, 59-63 45, 47, 49-77 79 81 45, 47, 71, 73 83-97 107

Related parties and connected transactions

6.1 Transactions between related parties 6.2 The necessity and reasonableness of transactions 6.3 Procedure to approve connected party transactions 6.4 Policy in respect of future transactions with connected parties

293, 295 293, 295 293, 295 293, 295 139-185 189-281

Annual Report 2007 Precious Shipping Public Company Limited

3.1 Nature of business 3.2 Revenue Structure 3.3 Summary of significant changes during the year

297


บุคคลอ้างอิง REFERENCES

นายทะเบียนหลักทรัพย์ / Share Registrar บริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด ชัน้ 4, 6 - 7 เลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ : 66-2 229-2800 โทรสาร : 66-2 359-1259 ศูนย์บริการข้อมูล : 66-2 229-2888 Website : http://www.tsd.co.th E-mail : contact.tsd@set.or.th ฝ่ายนายทะเบียนหลักทรัพย์ - ส่วนบริการผูอ้ อกหลักทรัพย์ 1 อาคารสถาบันวิทยาการตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2/7 หมูท่ ่ี 4 (โครงการนอร์ธปาร์ค) ถนนวิภาวดีรงั สิต กม. 27 แขวงทุง่ สองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ : 66-2 596-9000

Thailand Securities Depository Co., Ltd. 4th, 6th - 7th Floor, No. 62 The Stock Exchange of Thailand Building, Ratchadapisek Road, Klongtoey, Bangkok 10110 Telephone : 66-2 229-2800 Facsimile : 66-2 359-1259 Enquiries : 66-2 229-2888 Website : http://www.tsd.co.th E-mail : contact.tsd@set.or.th Registration Service Department - Issuer Service Unit 1 Capital Market Academy Building, The Stock Exchange of Thailand 2/7 Moo 4, (North Park Project) Vibhavadi-Rangsit Road, Km. 27, Tung Song Hong, Laksi, Bangkok 10210 Telephone : 66-2 596-9000 ธนาคารหลัก / Main Bank

รายงานประจำปี 2550 บริษทั พรีเชียส ชิพปิง้ จำกัด (มหาชน)

ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) อาคาร 2 (สุขมุ วิท) ชัน้ 8 เลขที่ 10 ถนนสุขมุ วิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10100 โทรศัพท์ : 66-2 208-8020-21, 66-2 256-8146 โทรสาร : 66-2 256-8147 Website : http://www.ktb.co.th

298

Krung Thai Bank PCL Building 2, (Sukhumvit) 8th Floor, 10 Sukhumvit Road, Klongtoey, Klongtoey, Bangkok 10110 Telephone : 66-2 208-8020-21, 66-2 256-8146 Facsimile : 66-2 256-8147 Website : http://www.ktb.co.th ผู้สอบบัญชี / Auditor บริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด ชัน้ 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก (เยือ้ งศูนย์ประชุมแห่งชาติสริ กิ ติ )์ิ เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 ตู้ ป.ณ. 1047, กรุงเทพฯ 10501 โทรศัพท์ : 66-2 264-0777, 66-2 661-9190 โทรสาร : 66-2 264-0789-90 Website : http://www.ey.com/th

Ernst & Young Office Limited 33rd Floor, Lake Rajada Office Complex 193/136-137 Rajadapisek Road, (Near Queen Sirikit National Convention Centre) Klongtoey, Bangkok 10110 G.P.O. Box 1047, Bangkok 10501, Thailand Telephone : 66-2 264-0777, 66-2 661-9190 Facsimile : 66-2 264-0789-90 Website : http://www.ey.com/th


EXIT EMERGENCY WAY CO., LTD. TEL : 02-986-2525-28 FAX : 02-971-7764


รายงานประจําปี 2550

ANNUAL REPORT 2007 PRECIOUS SHIPPING PUBLIC COMPANY LIMITED ANNUAL REPORT 2007

MARINE MONEY 2006 RANKINGS FIRST PLACE IN ASIA

ชัน้ 7 อาคารคาเธ่ยเ์ ฮ้าส์ 8 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ : 66-2 696-8800, 66-2 696-8820 โทรสาร : 66-2 236-7654, 633-8460

7th Floor, Cathay House, 8 North Sathorn Road, Silom, Bangrak, Bangkok 10500 Telephone : 66-2 696-8800, 66-2 696-8820 Fax : 66-2 236-7654, 633-8460

PRECIOUS SHIPPING PUBLIC COMPANY LIMITED

E-mail : psl@preciousshipping.com, ir@preciousshipping.com Home page : http://www.preciousshipping.com

รายงานประจำปี 2550 บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน)

BEST PERFORMANCE-SERVICE SET AWARDS 2006

THE ASSET MAGAZINE 2007 RANKINGS THE BEST CORPORATE GOVERNANCE IN THAILAND

BEST CORPORATE GOVERNANCE REPORT SET AWARDS 2006

บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) PRECIOUS SHIPPING PUBLIC COMPANY LIMITED

MARINE MONEY 2006 RANKINGS FIRST PLACE IN THE WORLD


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.