Precha 10

Page 1

บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

สารบัญ

1

รายงานจากประธานกรรมการ

2

รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ

3

รายงานจากคณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน

4

ขอมูลทั่วไป

7

ขอมูลทางการเงินโดยสรุป

8

ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษทั บริษัทยอย และบริษทั รวม

11

ปจจัยความเสี่ยง

13

โครงสรางการถือหุนและการจัดการ

27

การควบคุมภายใน

27

บุคคลทีม่ ีประโยชนรวมและรายการระหวางกัน

29

คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

30

รายงานของผูสอบบัญชีรบั อนุญาต

30

งบการเงิน

31

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน

32

ภาคผนวก - รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุมบริษทั - ขอมูลการดํารงตําแหนงของผูบริหาร และผูมีอํานาจควบคุมในบริษัท บริษัทยอย และบริษทั ที่เกีย่ วของ - รายงานผูสอบบัญชีรับอนุญาต - งบการเงิน


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

1


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

2


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

3


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

รายงานประจําป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน) 1.ขอมูลทั่วไป 1.1

ขอมูลเกี่ยวกับบริษัท

ชื่อบริษัท

:

ลักษณะการประกอบธุรกิจ : ที่ตั้งสํานักงานใหญ : เลขทะเบียนบริษัท โทรศัพท โทรสาร

: : :

บริษัท ปรีชากรุป จํากัด (มหาชน) Preecha Group Public Company Limited พัฒนาอสังหาริมทรัพย เลขที่ 1919 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 บมจ.553 02-722-8855 02-722-8844

Homepage : www.preecha.com บริษัทเริ่มกอตั้งเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2532 ประกอบธุรกิจหลักประเภทพัฒนาอสังหาริมทรัพย โดยนําหุน เขาจดทะเบียนเปนหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2539 โดยมีชื่อยอ หลักทรัพยในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยวา “PRECHA”

4


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

1.2

นิติบุคคลที่บริษัทถือหุนตั้งแตรอยละ 10 ขึ้นไปของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลว ชื่อและที่ตั้งบริษัท

ประเภทกิจการ

ทุนชําระแลว

สัดสวน การถือหุน (%)

บริษัทยอยที่ บมจ. ปรีชากรุป ถือหุนโดยตรง บริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัด 1919 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท 0-2722-8855 โทรสาร 0-2722-8844 บริษัท รวยลานลาน จํากัด 1919 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท 0-2722-8855 โทรสาร 0-2722-8844 บริษัท พี.บี.เอ็สเตท จํากัด 1919 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท 0-2722-8855 โทรสาร 0-2722-8844 บริษัท จี.เอช.ไอ.เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด 1919 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท 0-2722-8855 โทรสาร 0-2722-8844 บริษัท แอล.เอสเตท จํากัด 1919 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท 0-2722-8855 โทรสาร 0-2722-8844

พัฒนาอสังหาริมทรัพย

พัฒนาอสังหาริมทรัพย

พัฒนาอสังหาริมทรัพย

พัฒนาอสังหาริมทรัพย

พัฒนาอสังหาริมทรัพย

100,000,000 บาท แบงเปนหุนสามัญ 1,000,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท 20,000,000 บาท แบงเปนหุนสามัญ 200,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท 2,000,000 บาท แบงเปนหุนสามัญ 20,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท 5,000,000 บาท แบงเปนหุนสามัญ 50,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท 5,000,000 บาท แบงเปนหุนสามัญ 50,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท

100

100

100

100

100

5


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

1.3

บุคคลอางอิงอื่น ๆ นายทะเบียนหลักทรัพย

:

บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด อาคารสถาบันวิทยาการตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2/1 หมูที่ 4 (โครงการนอรธปารค) ถนนวิภาวดีรังสิต กม.27 แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท 0-2596-9000 โทรสาร 0-2832-4994-5

:

62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท 0-2229-2800 โทรสาร 0-2359-1259

ผูสอบบัญชี

:

นายบรรจง พิชญประสาธน ผูสอบบัญชีอนุญาต เลขทะเบียน 7147 บริษัท เอเอ็นเอส ออดิท จํากัด 100/72 ชั้น 22 หอง 100/2 อาคารวองวานิชบี ถนนพระราม 9 แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท 0-2645-0109 โทรสาร 0-2645-0110

ที่ปรึกษากฎหมาย

:

สํานักงาน บัญชา ทนายความ และ การบัญชี 34/17 ซอยจรัญสนิทวงศ 34 แขวงอรุณอมรินทร เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร 10700 โทรศัพท 0-2434-4897 , 0-2424-9512 ,0-2434-1919

:

นายสมชาย เลิศวิริยจิตต 294-296 ถนนพระราม 4 ซอย จุฬา 38 แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

6


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

2. ขอมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 2.1 ขอมูลจากงบการเงิน หนวย : บาท

2551

2552

2553

สินทรัพยรวม

1,492,821,008

1,085,867,211

918,822,016

หนี้สินรวม

1,086,480,383

493,632,911

321,422,368

สวนของผูถือหุน

406,340,627

592,234,300

597,399,648

รายไดจากการขาย

479,689,004

1,116,566,036

487,921,324

ตนทุนขาย

364,016,280

741,371,509

329,808,885

กําไรขั้นตน

115,672,724

375,194,527

158,112,439

กําไร(ขาดทุน)สุทธิ

(17,738,126)

241,950,004

64,271,671

(0.08)

0.55

0.13

กําไร(ขาดทุน)ตอหุนขั้นพื้นฐาน

2.2 ตารางแสดงอัตราสวนทางการเงิน

อัตราสวนทางการเงิน

2551

2552

2553

2.33

2.74

5.67

อัตรากําไรสุทธิ

-3.70%

16.64%

8.85%

อัตราผลตอบแทนผูถือหุน

-4.37%

31.37%

7.57%

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย

-1.19%

17.11%

4.92%

อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน

2.67

0.83

0.54

อัตราสวนความสามารถชําระดอกเบี้ย

0.64

6.23

3.46

มูลคาทางบัญชีตอหุน

1.85

1.76

1.78

กําไรสุทธิตอหุน

-0.08

0.55

0.13

เงินปนผลตอหุน

0.00

0.12

0.05

อัตราสวนสภาพคลอง

7


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

3. ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัท บริษัทยอย และบริษัทรวม 3.1 ประวัติความเปนมา บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) เดิมชื่อ บริษัท พัฒนาการโภชนาการ จํากัด กอตั้งเมื่อ 26 พฤษภาคม 2532 ดวยทุนจดทะเบียน 1 ลานบาท ผูถือหุนรายใหญคือ กลุมตระกูลถิรกิจพงศ , กลุมตระกูลโชติวิทยะ กุล, กลุมตระกูลเกียรติศรีธารา และ กลุมตระกูลรัตนคงทน ตามลําดับ ในป 2538 มีการเพิ่มทุนจดทะเบียนเปน 600 ลานบาท ในชวงป 2541-2543 บริษัทประสบปญหาทางการเงินอันเปนผลเนื่องมาจากวิกฤตเศรษฐกิจและการลด คาเงินบาท ในป 2544 บริษัทเพิ่มทุนจดทะเบียนเปน 1,344 ลานบาท ตอมาในป 2551 บริษัทฯ ลดทุนโดยลดมูลคา หุนที่ตราไวจากหุนละ 10.- บาท คงเหลือเปนมูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 2.50 บาท และไดเปลี่ยนปลงมูลคาหุนที่ตราไวหุน ละ 2.50 บาท เปนหุนละ 1.- บาท ดังนั้นทุนจดทะเบียนและทุนชําระแลวของบริษัทเปน 336,000,000 บาท ปจจุบัน บริษัทฯ มีผูถือหุนหลักคือ 1. บริษัท เนแอ็ค จํากัด 2. กลุมตระกูลถิรกิจพงศ 3. กลุมตระกูลเกียรติศรีธารา 4. กลุม ตระกูลโชติวิทยะกุล 5.กลุมตระกูลเลิศธนพันธุ ตามลําดับ 3.2 การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ ป 2539

:

ป 2544

:

ป 2547

:

ป 2549

:

ป 2550

:

ป 2551

:

18 เมษายน 2539 ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย รับหุนสามัญ 60 ลานหุน มูลคาตราไวหุนละ 10 บาท รวม 600 ลานบาท ของบริษัท ปรีชากรุป จํากัด (มหาชน) เปนหลักทรัพยจดทะเบียน ในเดือน มีนาคม 2544 บริษัทเขาเกณฑตองจัดทําแผนฟนฟูกิจการตามขอบังคับ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในเดือน กรกฎาคม และตุลาคม 2544 บริษัทเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 60 ลานหุน เปน 134.4 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท รวม 1,344 ลานบาท แตทุนชําระแลว เปน 1,112 ลานบาท บริษัทเพิ่มทุน จํานวน 36.8 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10.- บาท รวม 368.3 ลาน บาท รวมเปนทุนชําระแลวรวม 1,344 ลานบาท วันที่ 7 มีนาคม 2549 บริษัทพนเหตุเพิกถอน โดยยายการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัท จากหมวด REHABCO ไปยังกลุมอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพยและกอสราง หมวด พัฒนาอสังหาริมทรัพย บริษัทไดลงทุนในหุนสามัญของ บริษัท รวยลานลาน จํากัด จํานวน 199,994 หุน มูลคาหุนละ 242.05 บาท รวมเปนจํานวนเงิน 48.40 ลานบาท คิดเปนสัดสวน รอยละ 100 บริษัทลดทุนโดยลดมูลคาหุนที่ตราไวจากหุนละ 10.- บาท คงเหลือเปนมูลคาหุนที่ ตรา ไวหุนละ 2.50 บาท และไดเปลี่ยนปลงมูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 2.50 บาท เปนหุนละ 1.บาท ดังนั้นทุนจดทะเบียนและทุนชําระแลวของบริษัทเปน 336,000,000 บาท

8


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

3.3 ภาพรวมการประกอบธุรกิจของกลุมบริษัท บริษัทประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย ปจจุบันมีการลงทุน 100% ในบริษัทยอยที่มีวัตถุประสงคเพื่อทํา ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยเชนเดียวกับบริษัทรวม 5 บริษัท คือ บริษัท พี.บี.เอ็สเตท จํากัด, บริษัท เฮาสซิ่ง คอม เพล็กซ จํากัด, บริษัท จี.เอช.ไอ.เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด, บริษัท แอล.เอสเตท จํากัด และ บริษัท รวยลานลาน จํากัด

บริษัท ปรีชากรุป จํากัด (มหาชน) ธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย บริษัท พี.บี. เอ็สเตท จํากัด สัดสวนการลงทุน 100%

บริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัด สัดสวนการลงทุน 100%

บริษัท จี.เอช.ไอ. เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด สัดสวนการลงทุน 100% บริษัท แอล. เอสเตท จํากัด สัดสวนการลงทุน 100%

บริษัท รวยลานลาน จํากัด สัดสวนการลงทุน 100%

9


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

3.4 โครงสรางรายได รายไดหลักของบริษัทและบริษัทยอย มาจากโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย ซึ่งมีทั้งบานเดี่ยว บานแฝด ทาวนเฮาส ที่ดินสําเร็จรูป และบานพักตากอากาศ ซึ่งโครงสรางรายไดประกอบดวย ดังนี้ (หนวย : พันบาท)

2551

2552

2553

34,544 211,535 233,610 -

18,867 122,170 58,369 83,275 831,385

38,220 41,214 135,378 105,392 167,717

รวมรายไดจากการขาย

479,689 1,116,566 1,660 4,433 533 143 4,874 10,519

487,921 15,760 166 7,282

รวมรายได

486,756 1,131,661

511,129

รายไดจากการขาย โครงการสุวินทวงศ โครงการรมเกลา โครงการศรีนครินทร โครงการราม 1 โครงการราม 2 โครงการ พีจี พระราม 9 คอนโดมิเนียม

รายไดคาเชา ดอกเบี้ยรับ รายไดอื่น

10


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

4. ปจจัยความเสี่ยง 4.1 ความเสี่ยงจากภาวะการแขงขันทางธุรกิจ การเสนอขายคอนโดมิเนียมกอนเริ่มการกอสราง (Pre-sales) เปนการชวยลดความเสี่ยงดาน การตลาดเพิ่มความยืดหยุนในการปรับเปลี่ยนและพัฒนาผลิตภัณฑใหเหมาะสมกับสภาพการณที่เปลี่ยนไป ยังสามารถนําเงินรับคางวดจากลูกคามาใชเปนเงินทุนหมุนเวียนไดอีกดวย อยางไรก็ตามการเสนอขาย คอนโดมิเนียมกอนเริ่มการกอสราง ยังคงมีความเสี่ยงดานการควบคุมตนทุนกอสราง เนื่องจากเปนการตั้ง ราคาขายกอนเริ่มการกอสราง จึงมีความเปนไปไดที่อัตรากําไรขั้นตนจะลดลงหากตนทุนการกอสรางเพิ่ม สูงขึ้น ทั้งนี้ปรีชากรุปไดลดความเสี่ยงดังกลาวโดยทําสัญญากอสรางแบบเบ็ดเสร็จ (Turnkey construction contract) กับผูรับเหมาทําใหปรีชากรุปสามารถควบคุมตนทุนไดอยางมีประสิทธิภาพและอัตรากําไรขั้นตน ไมไดรับผลกระทบจากความผันผวนของราคาวัสดุกอสราง ทั้งนี้โครงการคอนโดมิเนียมจะมีระยะเวลากอสราง ประมาณ 12 ถึง 24 เดือน ปรีชากรุปมีหนาที่ในการควบคุมการกอสรางและการสงมอบโครงการใหลูกคา ตามที่กําหนด มีการประสานงานกับผูรับเหมาอยางใกลชิด ทําใหสามารถแกไขปญหาตางๆ และควบคุมดูแล การกอสรางใหแลวเสร็จเปนไปตามแผนงานที่วางไว 4.2 ความเสี่ยงจากการจัดหาที่ดิน ปรีชากรุปจะเลือกซื้อที่ดินเพื่อการพัฒนาโดยเลือกที่ดินในราคาที่เหมาะสม สําหรับการพัฒนาโครงการ ประเภทคอนโดมิเนียม ปรีชากรุปจะเลือกทําเลที่อยูใจกลางเมือง โดยยึดตามเสนทางของรถไฟฟาบีทีเอส และ รถไฟฟาใตดินเปนหลัก นอกจากนี้การพัฒนาโครงการบานเดี่ยวโดยเลือกทําเลที่มีศักยภาพบริเวณเสนทางของ ถนนวงแหวนรอบนอกรวมถึงปริมณฑลในการพัฒนาโครงการบานเดี่ยว 4.3 ความเสี่ยงจากการเพิ่มขึน้ ของราคาวัสดุกอสราง ภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว โดยมีการลดลงของดัชนีหมวดเหล็กและผลิตภัณฑเหล็กเปนปจจัยหลัก อยางไรก็ดีราคาวัสดุกอสรางในบางหมวดมีการปรับตัวสูงขึ้น เชน หมวดสุขภัณฑ หมวดไมและผลิตภัณฑจากไม และ หมวดวัสดุฉาบผิวเปนตน วัสดุกอสรางเหลานี้ลวนแลวแตเปนวัตถุดิบในการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย ทั้งสิ้น ความผันผวนของราคาวัสดุกอสรางจึงสงผลโดยตรงตอตนทุนการพัฒนาโครงการของปรีชากรุป 4.4 ความเสี่ยงของการเพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมและการเขาถึงแหลงเงินทุน อัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมในป 2553 ยังคงอยูในระดับต่ําและมีการปรับเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับป 2552 เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจภายในประเทศยังคงอยูในภาวะฟนตัวตอเนื่อง ธนาคารพาณิชยยังคง เขมงวดในการอนุมัติสินเชื่อ ซึ่งทําใหผูประกอบการบางรายเขาถึงแหลงเงินทุนเพื่อนํามาพัฒนาโครงการไดยากขึ้น ปรีชากรุปเพิ่มศักยภาพในการเขาถึงแหลงเงินทุน ดวยการสรางพันธมิตรทางธุรกิจกับธนาคารพาณิชยหลายแหง เพื่อเปรียบเทียบขอเสนอที่มีตนทุนเหมาะสมที่สุด ทั้งนี้ ทุกโครงการของปรีชากรุป ที่ดําเนินการในปจจุบันลวนไดรับ การสนับสนุนจากสถาบันการเงินในประเทศครบถวนแลว

11


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

อัตราดอกเบี้ยที่สูงขึ้นในระดับต่ําในป 2553 นั้นสงผลเชิงบวกตอตนทุนทางการเงิน 4.5 ความเสี่ยงจากการมีสินคาคงเหลือ โดยทั่วไป ปรีชากรุปกําหนดจํานวนยูนิตที่ตองพัฒนาในแตละโครงการใหสอดคลองกับประมาณการ ยอดขายโดยประมาณการยอดขายจะไดมาจากสวนงานขายและการตลาดซึ่งไดติดตามภาวะตลาดอยางใกลชิด อยางไรก็ดีภาวะเศรษฐกิจที่ไมเอื้ออํานวย อาจสงผลกระทบใหยอดขายไมเปนไปตามประมาณการ ทําใหอาจมี จํานวนยูนิตที่สรางเสร็จเหลือขายในบางขณะ โดยปรีชากรุปไดลดความเสี่ยงจากการมีสินคาคงเหลือดวยการ บริหารสินคาคงเหลือใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น กลาวคือ สําหรับโครงการบานเดี่ยวจะเนนการพัฒนาโครงการ เปนรายเฟส เพื่อชวยใหการบริหารงานกอสรางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ในกรณีที่ยอดขายไมเปนไปตามประมาณ การ ปรีชากรุปสามารถปรับแผนงานการกอสรางไดอยางทันทวงที หรือในกรณีที่พฤติกรรมของกลุมลูกคามีการ เปลี่ยนแปลงอยางมีนัยสําคัญปรีชากรุปจะสามารถปรับรูปแบบบานใหเหมาะกับวิถีการดําเนินชีวิตที่เปลี่ยนไปได หรือในกรณีที่ความสามารถในการซื้อของกลุมลูกคาลดลง ปรีชากรุปจะสามารถปรับลดขนาดบานใหมีราคาขาย ตอหนวยเหมาะสมกับกําลังซื้อของกลุมลูกคาเปาหมายไดเปนอยางดี สําหรับโครงการคอนโดมิเนียม ปรีชากรุป มีแนวทางการลดความเสี่ยงจากการมียูนิตเหลือขาย เพิ่ม รูปแบบการขายใหตรงกับความตองการของกลุมลูกคาเปาหมายนอกจากนี้ ยังเนนการจัดกิจกรรมสงเสริมการขาย ที่สอดคลองกับความตองการของลูกคาในขณะนั้นเพื่อกระตุนการตัดสินใจซื้อของกลุมลูกคา 4.6 ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ปรับปรุง ใหมและออกใหม ในระหวางป 2553 สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีใหใชแมบทการบัญชี มาตรฐานการ บัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกใหมและปรับปรุง ใหม ดังตอไปนี้ - แมบทการบัญชี (ปรับปรุง 2552) มีผลบังคับใชทันทีในปปจจุบัน - มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความมาตรฐานการรายงานทาง การเงินที่มีผลบังคับใชสําหรับงบการเงินที่มีรอบบัญชีเริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 รวม จํานวน 28 ฉบับ - มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใชสําหรับงบการเงินที่มีรอบบัญชีเริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 รวมจํานวน 3 ฉบับ

12


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

5. โครงสรางการถือหุน และการจัดการ 5.1 ผูถือหุน รายชื่อผูถือหุนรายใหญ 10 รายแรก ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2553 รายละเอียดดังนี้ ชื่อผูถือหุน จํานวนหุน 1. บริษัท เนแอ็ค จํากัด 78,027,337 25,002,100 2. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด 20,000,050 3. นายบุญเลิศ เกียรติศรีธารา 19,731,364 4. นายปญญา ถิรกิจพงศ 17,929,662 5. น.ส.ฐิติมา ถิรกิจพงศ 17,034,000 6. นายสุชาติ โชติวิทยะกุล 10,000,000 7. นางจรัสศรี พงศพิโรดม 8,500,000 8. น.ส.พิมภรณ จารีตนิเวศน 5,743,499 9. นายสิงพร เลิศธนพันธุ 5,568,900 10. นางปาริชาต บุญญรัตน 128,463,088 11. อื่นๆ รวม 336,000,000

รอยละ 23.22 7.44 5.95 5.87 5.34 5.07 2.98 2.53 1.71 1.66 38.23 100.00

นโยบายการจายเงินปนผล บริษัทมีนโยบายในการจายเงินปนผลในอัตราไมต่ํากวารอยละ 40 ของกําไรสุทธิ สําหรับบริษัทยอยซึ่ง บริษัทถือหุนอยูรอยละ 100 มีนโยบายจายเงินปนผลตามความจําเปนและเหมาะสม

13


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

5.2 การจัดการ 5.2.1 โครงสรางการจัดการ โครงสรางกรรมการบริษัท โครงสรางกรรมการบริษัท ประกอบดวยคณะกรรมการและผูบริหาร ซึ่งไดแก คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบและคณะผูบริหาร คณะกรรมการบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการของบริษัทประกอบดวยบุคคลผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 8 ทาน มีรายชื่อ ตอไปนี้ ชื่อ 1. นายยุทธ วรฉัตรธาร 2. ร.ต.ต.เกรียงศักดิ์ โลหะชาละ 3. พล.ต.อ.พิชิต ควรเดชะคุปต 4. นายสมพร เวชพาณิชย 5. นายปรีชา ถิรกิจพงศ 6. รศ.ดร.สมเจตน ทิณพงษ 7. นางสาวทิพาพร อัศวโสตถิ์ 8. นายวรยุทธ พงษสุวรรณ

ตําแหนง ประธานกรรมการ / กรรมการอิสระ กรรมการ / กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ / กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ กรรมการ / กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ กรรมการ และ กรรมการผูอํานวยการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ และ กรรมการรองผูอํานวยการ

กรรมการผูมีอํานาจลงลายมือชื่อผูกพันบริษัทประกอบดวยนายปรีชา ถิรกิจพงศ,นายวรยุทธ พงษสุวรรณ และนายสมเจตน ทิณพงษ โดยกรรมการสองในสามทานนี้ลงลายมือชื่อรวมกันและประทับตราสําคัญของบริษัท 5.2.2 อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษทั

• คณะกรรมการ เป น ผู รั บ ผิ ด ชอบจั ด การกิ จ การทั้ ง หลายทั้ ง ปวงของบริ ษั ท และมี อํ า นาจหน า ที่ ดําเนินการภายในขอบเขตของกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับของบริษัท และตามมติของที่ ประชุมใหญผูถือหุนและมีอํานาจกระทําการใดๆ ตามที่ระบุไวในหนังสือบริคณหสนธิ หรือที่เกี่ยวของ กับการดังกลาวนั้น

• ใหคณะกรรมการเลือกกรรมการคนหนึ่งเปนประธานกรรมการ และเลือกกรรมการอีกคนหนึ่งหรือ หลายคนเปนรองประธานกรรมการก็ได ในกรณีที่คณะกรรมการพิจารณาเห็นสมควรจะเลือกกรรมการ คนหนึ่งเปนกรรมการผูอํานวยการก็ได รองประธานกรรมการและกรรมการผูอํานวยการมีหนาที่ตาม ขอบังคับในกิจการซึ่งประธานกรรมการมอบหมาย คณะกรรมการอาจมอบหมายใหกรรมการคนหนึ่ง หรือหลายคนหรือบุคคลอื่นใด ปฏิบัติการอยางใดอยางหนึ่งแทนคณะกรรมการก็ได • มติของที่ประชุมกรรมการ ใหตัดสินดวยคะแนนเสียงขางมากของกรรมการที่มาประชุม กรรมการคน หนึ่งมีเสียงหนึ่งเสียงในการลงคะแนน เวนแตกรรมการที่มีสวนไดเสียในเรื่องใด ไมมีสิทธิออกเสียง

14


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

• หามมิใหกรรมการประกอบกิจการหรือเขาเปนหุนสวน หรือเขาเปนกรรมการในนิติบุคคลอื่นที่ประกอบ กิจการอันมีสภาพอยางเดียวกัน และเปนการแขงขันกับกิจการของบริษัท เวนแตจะแจงใหที่ประชุมผูถือ หุนทราบกอนที่จะมีมติแตงตั้ง • กรรมการตองแจงใหบริษัททราบโดยไมชักชา หากมีสวนไดเสียในสัญญาที่ทํากับบริษัท หรือเขาถือหุน หรือหุนกูเพิ่มขึ้นหรือลดลงในบริษัทหรือบริษัทในเครือ

• คณะกรรมการบริษัท ตองประชุมอยางนอย 3 เดือนตอครั้ง • กรรมการผูมีอํานาจลงลายมือชื่อแทนบริษัท คือ กรรมการสองคนลงลายมือชื่อรวมกันและประทับตรา สําคัญของบริษัทจึงจะมีผลผูกพันบริษัทได

• ที่ประชุมผูถือหุนหรือคณะกรรมการ อาจกําหนดชื่อกรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท พรอม ประทับตราสําคัญบริษัทได

• คณะกรรมการอาจแตงตั้งกรรมการจํานวนหนึ่งตามที่เห็นสมควร ใหเปนคณะกรรมการบริหารและใน จํานวนนี้ ใหแตงตั้งกรรมการผูอํานวยการเปนกรรมการบริหารดวย โดยใหคณะกรรมการบริหารมี อํานาจหนาที่ควบคุมดูแลกิจการของบริษัท ตามที่คณะกรรมการมอบหมาย 5.2.3 การสรรหากรรมการและผูบริหาร • ตามขอบังคับของบริษัท กําหนดใหคณะกรรมการของบริษัท ประกอบดวยกรรมการจํานวนไมนอยกวา 5 คน และกรรมการจํานวนไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด ตองมีถิ่นที่อยูในเมืองไทย

• บริษัทไดมีการแตงตั้งคณะกรรมการสรรหา เพื่อสรรหากรรมการ เพื่อใหไดบุคลากรที่มีความชํานาญ ตามที่ตองการ และมีคุณสมบัติเหมาะสมเสนอใหคณะกรรมการคัดเลือกกอนเสนอตอที่ประชุมผูถือหุน • การเลือกตั้งกรรมการของบริษัทใหกระทําโดยที่ประชุมผูถือหุน ตามหลักเกณฑและวิธีการดังตอไปนี้ 1. ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง 2. ในการเลือกกรรมการ อาจใชวิธีออกเสียงลงคะแนนเลือกกรรมการเปนรายบุคคลคราวละคน หรือ คราวละหลายๆ คน ตามแตที่ประชุมผูถือหุนจะเห็นสมควร แตในการลงมติแตละครั้งผูถือหุนตอง ออกเสียงดวยคะแนนที่มีตามขอ 1. ทั้งหมด จะแบงคะแนนเสียงแกคนใดมากนอยเพียงใดไมได 3. การออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งกรรมการ ใหใชเสียงขางมาก หากมีคะแนนเสียงเทากันใหผูเปน ประธานที่ประชุมออกเสียงชี้ขาด

• ในการประชุมสามัญประจําปทุกครั้ง ใหกรรมการออกจากตําแหนง 1 ใน 3 เปนอัตรา ถา จํานวนกรรมการที่จะแบงออกใหตรงเปนสามสวนไมได ก็ใหออกโดยจํานวนใกลที่สุดกับสวน 1 ใน 3 กรรมการผูออกจากตําแหนงตามขอนี้จะเลือกตั้งใหเขารับตําแหนงอีกก็ได กรรมการที่จะตองออกจาก ตําแหนงในปแรกและปที่สอง ภายหลังจดทะเบียนแปรสภาพเปนบริษัทมหาชนใหจับสลากกันวาผูใด จะออก ส ว นป ห ลั ง ๆต อ ไปให ก รรมการคนที่ อ ยู ใ นตํ า แหน ง นานที่ สุ ด นั้ น เป น ผู อ อกจากตํ า แหน ง กรรมการที่ออกตามวาระนั้น อาจถูกเลือกเขามาดํารงตําแหนงใหมก็ได

15


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

• นอกจากการพนตําแหนงตามวาระแลว กรรมการพนจากตําแหนงเมื่อ

(1) ตาย (2) ลาออก (3) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามกฎหมายวาดวยบริษัทมหาชนจํากัด (4) ที่ประชุมผูถือหุนลงมติใหออก (5) ศาลมีคําสั่งใหออก • กรรมการคนใดจะลาออกจากตําแหนง ใหยื่นใบลาออกตอบริษัท การลาออกมีผลนับแตวันที่ใบลา ออกไปถึงบริษัท กรรมการซึ่งลาออกจะแจงการลาออกของตนใหนายทะเบียนทราบดวยก็ได • ในกรณีที่ตําแหนงกรรมการวางลงเพราะเหตุอื่น นอกจากถึงคราวตองออกตามวาระ ใหคณะกรรมการ เลือกบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งมีคุณสมบัติ และไมมีลักษณะตองหามตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จํากัด เขาเปนกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เวนแตวาระของกรรมการจะเหลือ นอยกวาสองเดือน บุคคลซึ่งเขาเปนกรรมการแทนดังกลาว จะอยูในตําแหนงกรรมการไดเพียงเทาวาระที่ ยังเหลืออยูของกรรมการที่ตนเขาไปแทน มติของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่งตองประกอบดวยคะแนน เสียงไมนอยกวาสามในสี่ ของจํานวนกรรมการ ที่ยังเหลืออยู • ที่ประชุมผูถือหุน อาจลงมติใหกรรมการคนใดออกจากตําแหนง กอนถึงคราวออกตามวาระได ดวย คะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวนผูถือ หุน ซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และมีหุนนับ รวมกันไดไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนหุนที่ถือ โดยผูถือหุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง • การสรรหาผูบริหาร ทางบริษัทจะพิจารณาคุณสมบัติและศักยภาพของบุคคลภายในกอน หากไมมี บุคคลใดเหมาะสม จึงจะพิจารณารับบุคคลภายนอก การพิจารณาดังกลาวจะผานการอนุมัติตามขั้นตอน และสิ้นสุดที่กรรมการผูอํานวยการ ทั้งนี้แลวแตระดับของผูบริหารนั้น

5.2.3 คาตอบแทนกรรมการบริษัท รายชื่อกรรมการ 1. นายยุทธ วรฉัตรธาร 2. ร.ต.ต.เกรียงศักดิ์ โลหะชาละ 3. นายสมพร เวชพาณิชย 4. พล.ต.อ.พิชิต ควรเตชะคุปต 5. นายปรีชา ถิรกิจพงศ 6. รศ.ดร.สมเจตน ทิณพงษ 7. นางสาวทิพาพร อัศวโสตถิ์ 8. นายวรยุทธ พงษสุวรรณ รวม

คาเบี้ยประชุม 2552 1,200,000 600,000 360,000 360,000 240,000 1,200,000 240,000 240,000 4,440,000

คาเบี้ยประชุม 2553 1,200,000 600,000 360,000 360,000 240,000 1,200,000 240,000 240,000 4,440,000

16


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

5.3 คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบปจจุบัน ประกอบดวยกรรมการ 3 ทาน ดังนี้ ชื่อ ตําแหนง 1. ร.ต.ต.เกรียงศักดิ์ โลหะชาละ ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. พล.ต.อ.พิชิต ควรเดชะคุปต กรรมการตรวจสอบ 3. นายสมพร เวชพาณิชย กรรมการตรวจสอบ 5.3.1

การแตงตั้งกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทซึ่งเปนกรรมการอิสระ แตงตั้งโดยที่ประชุมผูถือหุน คณะกรรมการบริษัท โดยพิจารณาใหมีคุณสมบัติครบตามเกณฑ กลาวคือ • ถือหุนไมเกินรอยละ 0.50 ของทุนชําระแลวของบริษัท • ไมมีสวนรวมในการบริหารงานในบริษัท • ไมเปนลูกจาง พนักงาน หรือที่ปรึกษาที่ไดรับเงินเดือนประจําจากบริษัท • ไมมีผลประโยชนหรือสวนไดเสีย ไมวาทางตรงหรือทางออมในบริษัท • ไมเปนผูเกี่ยวของของผูบริหารหรือผูถือหุนใหญของบริษัท • มีความรูและประสบการณที่จะทําหนาที่สอบทานความนาเชื่อถือของงบการเงิน

หรือที่ประชุม

5.3.2 ขอบเขต หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานใหมีรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอเปนที่เชื่อถือได 2. ดูแลใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 3. ดูแลไมใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน 4. ดูแลบริษัทใหปฏิบัติตามขอกําหนด และกฎหมายที่เกี่ยวของ 5. สอบทานระบบการควบคุมภายใน 6. สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายหรือขอกําหนดใด ๆ ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 7. ใหคําแนะนําเกี่ยวกับการแตงตั้ง และกําหนดคาตอบแทนของผูสอบบัญชี 8. ประสานงานเกี่ยวกับฝายตรวจสอบภายในของบริษัท

17


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

5.4 คณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทนปจจุบัน ประกอบดวยกรรมการ 4 ทาน ดังนี้ ชื่อ ตําแหนง 1. พลตํารวจเอกพิชิต ควรเดชะคุปต ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน 2. นายยุทธ วรฉัตรธาร กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน 3. นายสมพร เวชพาณิชย กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน 4. นายปรีชา ถิรกิจพงศ กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน 5.4.1 ขอบเขต หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน มีหนาที่และความรับผิดชอบ ดังตอไปนี้ 1. กําหนดนโยบายและกรอบแนวทางในการสรรหากรรมการบริษัท กรรมการ ในคณะกรรมการชุด ยอยตางๆ (ที่ไดรับการแตงตั้งจากคณะกรรมการบริษัท) ที่ปรึกษาคณะกรรมการ 2. พิจารณาสรรหาและเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อดํารงตําแหนงกรรมการ กรรมการ ในคณะกรรมการชุดยอยตางๆ (ที่ไดรับรับการแตงตั้งจากคณะกรรมการบริษัท) และที่ปรึกษา คณะกรรมการ เพื่อทดแทน ในกรณีที่ครบวาระ ลาออก หรือกรณีอื่นๆ และนําเสนอใหที่ประชุมผู ถือหุน หรือคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติแตงตั้งแลวแตกรณีตามขอบังคับของบริษัทฯ 3. พิจารณาสรรหาผูบริหารในตําแหนงกรรมการผูอํานวยการ ในกรณีที่ครบวาระ ลาออก หรือกรณี อื่นๆ และนําเสนอคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาแตงตั้ง 4. เสนอแนวทางและวิธีการในการกําหนดคาเบี้ยประชุม คารับรอง เงินรางวัล และบําเหน็จรวมทั้ง ผลประโยชนอื่นใดที่มีลักษณะเปนเงินคาตอบแทน ใหแก คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุด ยอยตาง ๆ (ที่ไดรับการแตงตั้งจากคณะกรรมการบริษัท) และที่ปรึกษาคณะกรรมการ ใหที่ประชุม ผูถือหุนหรือคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติแลวแตกรณีตามขอบังคับของบริษัทฯ 5. กําหนดแนวทางการประเมินผลงานของผูบริหารในตําแหนงกรรมการผูอํานวยการเพื่อพิจารณา ปรับผลตอบแทนประจําป โดยไดคํานึงถึงหนาที่ความรับผิดชอบและความเสี่ยงที่เกี่ยวของ 6. เสนอนโยบาย และวิธีการในการกําหนดคาตอบแทนใหแกผูบริหารตั้งแตระดับผูอํานวยการฝาย ขึ้นไป ใหเหมาะสมและอยูในระดับที่เทียบเคียงไดกับอุตสาหกรรมในระดับเดียวกัน และนําเสนอ คณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ 7. ดูแลการกําหนดนโยบายใหมีอัตราคาตอบแทนและผลประโยชนโดยรวมที่สามารถชักนํา รักษาไว และจูงใจพนักงานที่มีความสามารถ และมีคุณสมบัติตามที่ตองการ 8. ปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย

18


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

5.5 ผูบริหาร รายชื่อผูบริหารของบริษัทมีดังนี้ 1. นายปรีชา 2. นายวรยุทธ 3. นายอนิรุทธ 3. นายไพศาล

ชื่อ ถิรกิจพงศ พงษสุวรรณ รูจีพันธ จํานงครักษ

ตําแหนง กรรมการผูอํานวยการ กรรมการรองผูอํานวยการ ผูอํานวยการฝายการตลาด ผูอํานวยการฝายบริหารโครงการ

6. การกํากับดูแลกิจการ บริษัทไดปฏิบัติตามหลักการของการกํากับดูแลกิจการที่ดี 15 ขอ ตามแนวทางของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย โดยมีรายละเอียดแตละขอดังนี้ นโยบายเกี่ยวกับการกํากับดูแลกิจการ (1) คณะกรรมการบริษัท ตระหนักวาการกํากับดูแลกิจการที่ดีเปนขอพึงปฏิบัติที่ดีสําหรับกรรมการบริษัทจด ทะเบียน (Code of Best Practices) ตามแนวของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยเชื่อมั่นเปนอยางยิ่งวา กระบวนการกํากับดูแลกิจการที่ดี จะยกระดับผลการดําเนินงานของบริษัท ไดอยางยั่งยืน และนําไปสู ความสําเร็จ อันไดแกการเพิ่มมูลคาใหแกผูถือหุน ดังนั้นคณะกรรมการบริษัท จึงยึดมั่นในการปฏิบัติตาม คุณลักษณะหลักของกระบวนการกํากับดูแลกิจการที่ดี อันประกอบดวย 33

- ความซื่อสัตย

- ความโปรงใส

44

- ความเปนอิสระ - ความรับผิดชอบตอภาระหนาที่ - ความเปนธรรม - ความรับผิดชอบตอสังคม คณะกรรมการบริษัท เปนผูมีความรู มีทักษะและประสบการณหลากหลาย ที่สามารถใชวิจารณญาณได อยางอิสระ และมีความเปนผูนํา ทําหนาที่กําหนดกลยุทธ ทิศทาง นโยบาย เปาหมายและภารกิจของบริษัท รวมทั้ง ติดตามผลการดําเนินงาน เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคและมีการปฏิบัติที่สอดคลองกับนโยบาย กฎระเบียบ กฎหมาย และขอบังคับตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ตลอดจนบริหารความเสี่ยงใหอยูในระดับที่เหมาะสม ภายใตกรอบกฎหมาย วัตถุประสงค และมติที่ประชุมผูถือหุน ดวยความซื่อสัตยสุจริต ระมัดระวัง คํานึงถึงผลประโยชนสูงสุดของบริษัท และมีความรับผิดชอบตอผูถือหุน และตอผูมีสวนไดเสียทุกฝาย นอกจากนี้ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล โปรงใส และสามารถตรวจสอบได

19


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

(2) สิทธิของผูถือหุน ในป 2553 บริษัทมีการประชุมผูถือหุนทั้งหมด 1 ครั้ง เปนการประชุมสามัญประจําป 2553 โดยบริษัทได จัดสงหนังสือนัดประชุมผูถือหุนพรอมทั้งขอมูลประกอบการประชุมตามวาระตางๆ ใหผูถือหุนลวงหนากอนวัน ประชุม 7 วัน โดยในแตละวาระมีค วามเห็นของคณะกรรมการประกอบ และมีการบัน ทึกการประชุ มถูกต อ ง ครบถวน วิธีการเลือกกรรมการทดแทนกรรมการที่หมดวาระ คณะกรรมการทําหนา ที่ชวยสรรหากรรมการที่มี คุณสมบัติเหมาะสมและเสนอขออนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน (3)

สิทธิของผูมีสวนไดเสีย ผลการดําเนินงานของบริษัทที่มีประสิทธิภาพเกิดขึ้นจากการไดรับความสนับสนุนที่ดีของผูมี สวนไดเสียในกลุมตาง ๆ เชน พนักงานและผูบริหารของบริษัทและบริษัทยอย รวมทั้งบุคคลภายนอก เชน คูคา ภาครัฐและหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อสรางความสําเร็จในระยะยาว โดยมีรายละเอียดดังนี้ - พนักงาน : บริษัทตระหนักดีวาพนักงานเปนองคประกอบที่สําคัญของความสําเร็จของบริษัท บริษัท ไดปฏิบัติกับพนักงานอยางเปนธรรม และใหผลตอบแทนที่เหมาะสม จัดใหมีสวัสดิการพนักงาน ประกันสังคม และการสัมนาประจําป เพื่อสรางสัมพันธภาพที่ดีของพนักงานในการทํางานรวมกัน นอกจากนี้บริษัทยัง สนับสนุนการพัฒนาทักษะและความสามารถในการทํางานอยางสม่ําเสมอ โดยใหเขารับการฝกอบรมและ สัมนาเพื่อเพิ่มศักยภาพของพนักงานในการพัฒนาองคกรใหดีขึ้น - คูคา : บริษัทมีการซื้อสินคาและบริการจากคูคาเปนไปตามเงื่อนไขทางการคา รวมถึงการปฏิบัติตาม สัญญาตอคูคา - เจาหนี้ : บริษัทไดปฏิบัติตามเงื่อนไขการกูยืมเงินตามขอตกลง - ลูกคา : บริษัทเอาใจใสและรับผิดชอบตอลูกคา ผลิตสินคาที่มีคุณภาพและมาตรฐาน รักษา ความลับของลูกคา และมีหนวยงานที่ติดตอกับลูกคา รวมทั้งรับฟงขอเสนอแนะและขอคิดเห็นจากลูกคา - คูแขง : บริษัทประพฤติตามกรอบกติกาการแขงขันที่ดี หลีกเลี่ยงวิธีการไมสุจริตเพื่อทําลายคูแขง - ชุมชน : บริษัทมีความรับผิดชอบตอสภาพแวดลอมของชุมชน และสังคม (4) การประชุมผูถือหุน การประชุมผูถือหุนในป 2553 บริษัท ไดจัดใหมีการประชุมผูถือหุน 1 ครั้ง คือ ประชุมใหญสามัญผูถือหุน ครั้งที่1/2553 ในวันที่ 23 เมษายน 2553 โดยบริษัท ไดจัดสงหนังสือเชิญประชุม หนังสือมอบฉันทะ และเอกสาร ประกอบวาระการประชุม ซึ่งมีขอมูลครบถวนเพียงพอใหแกผูถือหุนไดพิจารณาลวงหนากอนการประชุม 7 วัน และ ยังไดประกาศลงในหนังสือพิมพรายวันภาษาไทย เพื่อบอกกลาวเรียกประชุมสามัญผูถือหุน ติดตอกันไมนอยกวา 3 วันและกอนวันประชุมไมนอยกวา 7 วัน นอกจากนี้ ในวันประชุม บริษัท ไดจัดเจาหนาที่ลงทะเบียนอํานวยความ สะดวกใหแกผูถือหุนและผูรับมอบฉันทะที่เขารวมประชุม ในการประชุมผูถือหุน ประธานกรรมการไดทําหนาที่ประธานในที่ประชุม ไดเปดโอกาสใหผูถือหุนไดซักถาม และแสดงความคิดเห็นอยางเทาเทียมกัน และไดตอบคําถามและใหขอมูลตาง ๆ แกผูถือหุนอยางครบถวน รวมทั้งมี การจดบันทึกรายงานการประชุมและบันทึกการออกเสียงในแตละวาระการประชุม และจัดสงใหแกหนวยงานตาง ๆ ภายในระยะเวลา 14 วัน นับแตวันประชุมผูถือหุน หลังจากนั้นก็จะนําเสนอตอผูถือหุนเพื่อรับรองในการประชุมผู ถือหุนคราวถัดไป

20


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

(5)

ภาวะผูนําและวิสัยทัศน คณะกรรมการไดมีสวนรวมในการกําหนดนโยบาย เปาหมาย แผนธุรกิจ และงบประมาณของบริษัท ตลอดจนกํากับดูแลใหฝายบริหารดําเนินการใหเปนไปตามแผนและงบประมาณที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล (6)

ความขัดแยงทางผลประโยชน คณะกรรมการบริษัท ไดใหความสําคัญในเรื่องการจัดการเกี่ยวกับความขัดแยงทางผลประโยชน หรือ รายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการระหวางกันอยางเหมาะสม ภายใตกรอบจริยธรรมที่ดี โดยผานการกลั่นกรอง จากคณะกรรมการตรวจสอบ และมีการดูแลใหมีการปฏิบัติตามเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ตลอดจนการเปดเผยขอมูลการทํารายการที่ อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนดังกลาวตอสาธารณชน (7) จริยธรรมธุรกิจ บริษัท ยึดมั่นในแนวทางการดําเนินธุรกิจที่โปรงใส สุจริต และเปนธรรม ไดออกขอพึงปฏิบัติเกี่ยวกับ จรรยาบรรณของคณะกรรมการ ฝายจัดการและพนักงาน เพื่อใหผูที่เกี่ยวของยึดถือเปนแนวทางการปฏิบัติหนาที่ ตามภารกิจของบริษัท ภายใตกรอบกฎหมาย และกฎระเบียบของบริษัท สงเสริมสนับสนุนใหพนักงานมีการพัฒนา ความรู ความสามารถอยางทั่วถึง (8) การถวงดุลของกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร ปจจุบัน คณะกรรมการบริษัทมีจํานวน 8 ทาน ประกอบดวย กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหารจํานวน 6 ทาน และกรรมการที่เปนผูบริหาร 2 ทาน ในจํานวนกรรมการเปนกรรมการตรวจสอบ และหรือกรรมการอิสระ ดังนี้ ประกอบดวย กรรมการที่เปนผูบริหาร จํานวน 2 ทาน กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร รวมกรรมการอิสระ จํานวน 6 ทาน กรรมการตรวจสอบและ/หรือกรรมการอิสระของบริษัท ไมมีสวนเกี่ยวของในการบริหารงานประจํา และไม เปนผูถือหุนรายใหญของบริษัท จะเห็นไดวาบริษัท มีสัดสวนของกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระมากกวา 1 ใน 3 ของคณะกรรมการทั้งคณะ ซึ่งนับไดวาบริษัท มีการถวงดุลของกรรมการที่ไมเปนผูบริหารในสัดสวนที่สูงและ พอที่จะทําหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ กรรมการอิสระ มีความสําคัญตอการกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัท จึงกําหนดใหคําวา “กรรมการอิสระ” หมายความถึง กรรมการที่ไมทําหนาที่จัดการของบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทรวม เปนกรรมการที่เปนอิสระจาก ฝายจัดการและผูถือหุนที่มีอํานาจควบคุม และเปนผูซึ่งไมมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทในลักษณะที่จะทําใหมี ขอจํากัดในการแสดงความเห็นที่เปนอิสระและเปนกรรมการที่มีคุณสมบัติดังนี้ 1. เปนบุคคลที่ถือหุนไมเกิน 0.5% ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดในบริษทั บริษัทในเครือ หรือ บริษัทรวม 2. ไมมีสวนรวมในการบริหารงาน ไมเปนลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ไดรับเงินเดือนประจํา หรือไมได เปนผูใหบริการดานวิชาชีพผูสอบบัญชี ทนายความ หรือวิชาชีพที่ทําใหมีขอจํากัดในการแสดง ความเห็นที่เปนอิสระแกบริษัท บริษัทในเครือ หรือบริษัทรวม หรือไมเปนผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท

21


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

3. ไมมีความสัมพันธทางธุรกิจ ในลักษณะที่เปนการจํากัดความเปนอิสระในการปฏิบัติหนาที่ตําแหนง กรรมการ ซึ่งมีจํานวนเงินหรือมีมูลคาที่มีนัยสําคัญเปนสัดสวนกับรายไดบริษัท ตามเกณฑที่กําหนด และไมมีผลประโยชน หรือสวนไดเสีย ไมวาทางตรงหรือทางออม ทั้งในดานการเงิน และการ บริหารงานของบริษัท บริษัทในเครือ หรือบริษัทรวม หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ในลักษณะที่จะทําใหขาดความเปนอิสระ 4. ไมเปนญาติสนิทกับผูบริหารระดับสูง ผูถือหุนรายใหญของบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทรวม หรือ บุคคลที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนและไมไดรับการแตงตั้งใหเปนตัวแทนเพื่อรักษา ผลประโยชนของกรรมการ ผูถือหุนรายใหญ (9) การรวมหรือแยกตําแหนง ปจจุบัน บริษัทมีผูดํารงตําแหนงประธานกรรมการและกรรมการผูอํานวยการเปนบุคคลคนละคนกัน โดย ประธานกรรมการไมไดเปนพนักงาน และผูบริหารของบริษัทๆ ไดกําหนดบทบาท อํานาจหนาที่ของประธาน กรรมการและกรรมการผูอํานวยการไวชัดเจน อํานาจของกรรมการผูอํานวยการ คณะกรรมการบริษัทอาจแตงตั้งกรรมการจํานวนหนึ่งตามที่เห็นสมควร ใหเปนคณะกรรมการบริหาร และในจํานวนนี้ใหแตงตั้งกรรมการผูอํานวยการเปนกรรมการบริหารดวย โดยใหคณะ กรรมการบริหารมีอํานาจหนาที่ควบคุมดูแลกิจการของบริษัทตามที่คณะกรรมการมอบหมาย อํานาจของประธานกรรมการ ประธานกรรมการเปนกรรมการอิสระและไมมีอํานาจอนุมัติใด ๆ การอนุมัติ ใดที่เกินอํานาจกรรมการผูอํานวยการ ตองใชอํานาจคณะกรรมการทั้งคณะในการอนุมัติ (10) คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร บริษัทไดกําหนดนโยบายคาตอบแทนกรรมการ ในระดับที่เหมาะสมเมื่อเทียบเคียงกับอุตสาหกรรม ซึ่งอยู ในรูปของคาเบี้ยประชุมกรรมการ บริษัทไดขออนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนและหนวยงานที่เกี่ยวของแลว และ คาตอบแทนผูบริหารพิจารณาจากผลประกอบการของกิจการและผลการปฏิบัติงานของผูบริหารแตละทาน โดยอยู ในรูปของเงินเดือน โบนัส (11) การประชุมคณะกรรมการ โดยปกติ คณะกรรมการบริษัท ตองประชุมอยางนอย 3 เดือนตอครั้ง และมีการประชุมพิเศษเพิ่มเติมตาม ความจําเปน โดยมีการกําหนดวาระชัดเจนลวงหนา และมีวาระพิจารณาติดตามผลการดําเนินงานเปนประจํา และ มีการจัดสงหนังสือเชิญประชุมพรอมระเบียบวาระการประชุมกอนการประชุมลวงหนาประมาณ 7 วัน ในป 2553 คณะกรรมการบริษัทมีการประชุมรวมทั้งสิ้น 7 ครั้ง ซึ่งเลขานุการคณะกรรมการจะจัดสง หนังสือเชิญประชุม พรอมทั้งระเบียบวาระการประชุมและเอกสารประกอบการประชุมใหคณะกรรมการลวงหนา เพื่อใหคณะกรรมการมีเวลาศึกษาขอมูลกอนเขารวมการประชุม โดยกรรมการทุกทานสามารถแสดงความเห็นได อยางอิสระและไมขึ้นกับบุคคลหรือกลุมบุคคลใด และมีการบันทึกการประชุมและความคิดเห็นของกรรมการอยาง ชัดเจนและเปนลายลักษณอักษร รายละเอียดของการเขารวมประชุมของคณะกรรมการมีดังนี้

22


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

รายชื่อ

ตําแหนง

การเขารวมประชุม / การประชุมทั้งหมด (ครั้ง)

1. นายยุทธ วรฉัตรธาร

ประธานกรรมการ / กรรมการอิสระ

7/7

2. ร.ต.ต. เกรียงศักดิ์ โลหะชาละ

กรรมการ / กรรมการอิสระ และประธานกรรมตรวจสอบ

6/7

กรรมการ / กรรมการอิสระ และกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการ / กรรมการอิสระ และกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการ และ กรรมการผูอํานวยการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและกรรมการรองผูอํานวยการ

3. นายสมพร เวชพาณิชย 4. พล.ต.อ.พิชิต ควรเดชะคุปต 5. นายปรีชา ถิรกิจพงศ 6. รศ.ดร. สมเจตน ทิณพงษ 7. นางสาวทิพาพร อัศวโสตถิ์ 8. นายวรยุทธ พงษสุวรรณ

(12)

7/7 7/7 7/7 7/7 6/7 7/7

คณะอนุกรรมการ

คณะกรรมการบริษัทจะแตงตั้งกรรมการจํานวนหนึ่งจากคณะกรรมการบริษัทเปนกรรมการใน คณะอนุกรรมการเพื่อทําหนาที่พิเศษ โดยพิจารณาบทบาทหนาที่ของคณะกรรมการเปรียบเทียบกับคุณสมบัติของ กรรมการแตละคน โดยไดกําหนดใหคณะอนุกรรมการมีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 3 ป และอาจไดรับการ แตงตั้งใหมได ปจจุบัน คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการจํานวน 2 คณะ ไดแก คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการสรรหา 12.1 คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการ 3 ทาน ทุกทานเปนกรรมการที่เปนอิสระ ดังรายชื่อ ตอไปนี้ 1. ร.ต.ต.เกรียงศักดิ์ โลหะชาละ 2. พล.ต.อ.พิชิต ควรเดชะคุปต 3. นายสมพร เวชพาณิชย

กรรมการ/ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ/ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ กรรมการ/ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ

23


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

รายชื่อ

ตําแหนง

1. ร.ต.ต.เกรียงศักดิ์ โลหะชาละ 2. พล.ต.อ.พิชิต ควรเดชะคุปต 3. นายสมพร เวชพาณิชย

การเขารวมประชุม / การประชุมทั้งหมด (ครั้ง)

กรรมการ / กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ / กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ กรรมการ / กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ

4/5 5/5 5/5

12.2 คณะกรรมการสรรหา และกําหนดคาตอบแทน การเลือกกรรมการของบริษัทจะตองไดรับอนุมัติจากที่ประชุมใหญผูถือหุน เวนแตกรณีตําแหนงกรรมการ วางลงเพราะเหตุอื่นนอกเหนือจากออกตามวาระ คณะกรรมการบริษัทเปนผูเลือกบุคคลเขาดํารงตําแหนงกรรมการ แทน โดยบุคคลเขาเปนกรรมการใหอยูในตําแหนงไดเพียงเทาวาระที่เหลืออยูของกรรมการที่ตนแทน มติของ คณะกรรมการตองประกอบดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวนกรรมการที่ยังเหลืออยู คณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน ประกอบดวยกรรมการ 4 ทาน ดังมีรายชื่อตอไปนี้ 1. 2. 3. 4.

พล.ต.อ. พิชิต ควรเดชะคุปต นายยุทธ วรฉัตรธาร นายสมพร เวชพาณิชย นายปรีชา ถิรกิจพงศ

ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน

หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน มีดังตอไปนี้ •

กําหนดนโยบายและกรอบแนวทางในการสรรหากรรมการบริษัท กรรมการ ในคณะกรรมการชุดยอยตางๆ (ที่ไดรับการแตงตั้งจากคณะกรรมการบริษัท) ที่ปรึกษาคณะกรรมการ พิจารณาสรรหาและเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อดํารงตําแหนงกรรมการ กรรมการใน คณะกรรมการชุดยอยตางๆ (ที่ไดรับรับการแตงตั้งจากคณะกรรมการบริษัท) และที่ปรึกษาคณะกรรมการ เพื่อทดแทน ในกรณีที่ครบวาระ ลาออก หรือกรณีอื่นๆ และนําเสนอใหที่ประชุมผูถือหุน หรือ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติแตงตั้งแลวแตกรณีตามขอบังคับของบริษัทฯ พิจารณาสรรหาผูบริหารในตําแหนงกรรมการผูอํานวยการ ในกรณีที่ครบวาระ ลาออก หรือกรณีอื่นๆ และ นําเสนอคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาแตงตั้ง เสนอแนวทางและวิธีการในการกําหนดคาเบี้ยประชุม คารับรอง เงินรางวัล และบําเหน็จรวมทั้ง ผลประโยชนอื่นใดที่มีลักษณะเปนเงินคาตอบแทน ใหแก คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดยอยตาง ๆ (ที่ไดรับการแตงตั้งจากคณะกรรมการบริษัท) และที่ปรึกษาคณะกรรมการ ใหที่ประชุมผูถือหุนหรือ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติแลวแตกรณีตามขอบังคับของบริษัทฯ

24


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน) •

กําหนดแนวทางการประเมินผลงานของผูบริหารในตําแหนงกรรมการผูอํานวยการเพื่อพิจารณาปรับ ผลตอบแทนประจําป โดยไดคํานึงถึงหนาที่ความรับผิดชอบและความเสี่ยงที่เกี่ยวของ เสนอนโยบาย และวิธีการในการกําหนดคาตอบแทนใหแกผูบริหารตั้งแตระดับผูอํานวยการฝายขึ้นไป ให เหมาะสมและอยูในระดับที่เทียบเคียงไดกับอุตสาหกรรมในระดับเดียวกัน และนําเสนอคณะกรรมการ บริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ ดูแลการกําหนดนโยบายใหมีอัตราคาตอบแทนและผลประโยชนโดยรวมที่สามารถชักนํา รักษาไว และจูง ใจพนักงานที่มีความสามารถ และมีคุณสมบัติตามที่ตองการ ปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย (13) ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน

คณะกรรมการบริษัทใหความสําคัญกับการมีระบบการควบคุมและตรวจสอบภายในที่ดี จึงไดกําหนด และวางแนวทางในการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพทั่วทั้งองคกร โดยสงเสริมใหมีระบบงานที่เปนลายลักษณอักษร มีการตรวจสอบและควบคุมโดยผูปฏิบัติงานในระดับแรก เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน อยางเต็มที่ แตยังคงรักษาความคลองตัวในการปฏิบัติงานใหสามารถแขงขันได โดยบริษัท ไดมีการวาจาง บุคคลภายนอกที่มีประสบการณและชํานาญในดานการตรวจสอบภายใน เปนผูทําหนาที่ตรวจสอบการปฏิบัติงาน ดานตางๆ ใหเปนไปตามนโยบาย แผนงาน อํานาจดําเนินการ และกฎระเบียบของหนวยงานกํากับดูแล รวมทั้งทํา หนาที่ประเมินความเสี่ยงและการควบคุมภายในใหเหมาะสมและมีประสิทธิภาพอีกชั้นหนึ่ง คณะกรรมการจัดใหมีการตรวจสอบภายในตรวจสอบการปฏิบัติงานของทุกหนวยงาน และหนวยงานสนับสนุนใหเปนไปตามระเบียบที่วางไว

หนวยงานธุรกิจ

การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน คณะกรรมการบริษัทกําหนดใหฝายบริหารตองรายงานผลการดําเนินงานที่เกิดขึ้นจริงเปรียบเทียบกับ เปาหมายอยางสม่ําเสมอ อาทิ รายงานทางการเงิน รายงานความคืบหนาของการดําเนินงานในดานตาง ๆ กรณีที่การดําเนินงานไมเปนไปตามแผนที่วางไว คณะกรรมการบริษัทจะมีสวนรวมแกไข ปรับปรุง หรือ ดูแลใหฝายบริหารนําเสนอแผนงานเพื่อแกไขสถานการณ ระบบการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัท เห็นความสําคัญตอระบบการบริหารความเสี่ยงเพื่อรับรู ควบคุม จํากัด ลดโอกาสและ ปริมาณความสูญเสียที่จะเกิดขึ้น ไดจัดใหมีระบบการบริหารความเสี่ยง ในระดับจัดการซึ่งมีหนาที่เสนอแผนงาน การปฏิบัติงานและผลการปฏิบัติการตามแผนตอคณะกรรมการตรวจสอบ ดังนี้

25


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

ดานสภาพแวดลอมในองคกร ดานการกําหนดวัตถุประสงค ดานระบุความเสี่ยง ดานการประเมินความเสี่ยง ดานการจัดแผนจัดการความเสี่ยง ดานกิจกรรมการควบคุม ดานสารสนเทศและการสื่อสาร ดานการติดตามผล

(14) รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอย และสารสนเทศทางการ เงินที่ปรากฏในรายงานประจําป งบการเงินดังกลาวไดจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป และ คณะกรรมการซึ่งประกอบดวยคณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นวาระบบควบคุมภายในของบริษัทโดยรวมอยู ในระดับที่นาพอใจ และสามารถสรางความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลตอความเชื่อถือไดของงบการเงินของบริษัทและ บริษัทยอย (15) ความสัมพันธกับผูลงทุน คณะกรรมการไดสรางความสัมพันธที่ดีกับลูกคา และผูลงทุนทั่วไป โดยการเปดเผยขอมูลที่มีความ ถูกตอง ครบถวน โปรงใส เกี่ยวกับประวัติบริษัท รายงานทางการเงิน ตลอดจนขอมูลสําคัญที่มีผลกระทบตอราคา หลักทรัพยของบริษัท โดยผานตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย รายงานประจําป และเว็บไซดของบริษัท การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน บริษัทมีนโยบายและวิธีการดูแลผูบริหารในการนําขอมูลภายในของบริษัทไปใชเพื่อประโยชน สวนตนดังนี้ (1) ใหความรูแกผูบริหารในฝายตางๆ เกี่ยวกับหนาที่ที่ผูบริหารตองรายงานการถือ หลักทรัพยของบริษัท และบทกําหนดโทษตามพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 และ ตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (2) บริษัทกําหนดใหผูบริหารรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพยตอสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ตามมาตรา 59 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย พ.ศ. 2535 และจัดสงสําเนารายงานนี้ใหแกบริษัทในวันเดียวกับวันที่สงรายงานตอสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (3) บริษัทไดแจงใหผูบริหารทราบวา ผูบริหารที่ไดรับทราบขอมูลภายในที่เปน สาระสําคัญ ซึ่งมีผลตอการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย ตองใชความระมัดระวังในการซื้อขายหลักทรัพยของ บริษัทในชวง 1 เดือน กอนที่งบการเงินหรือขอมูลภายในนั้นจะเปดเผยตอสาธารณชน และบริษัทจะแจงใหผูที่ เกี่ยวของกับขอมูลภายในวาตองไมเปดเผยขอมูลนั้นใหผูอื่นทราบจนกวาจะไดมีการแจงขอมูลนั้นใหแกตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทยแลว พรอมทั้งรายงานใหคณะกรรมการบริษัททราบทุกครั้งที่มีการประชุม

26


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

มาตรการลงโทษหากมีการกระทําการฝาฝนระเบียบปฏิบัติงานดังกลาวขางตน บริษัทจะ ดําเนินการทางวินัยเพื่อพิจารณาลงโทษตามสมควรแกกรณี ไดแก ตักเตือนดวยวาจา ตักเตือนดวยหนังสือ ตัด คาจาง พักงาน เลิกจางโดยไมจายคาชดเชย ดําเนินคดีตามกฎหมาย 7. การควบคุมภายใน คณะกรรมการบริษัทฯและฝายบริหารมีหนาที่รับผิดชอบตอความมีประสิทธิภาพของระบบการควบคุม ภายใน และติดตามระบบอยูเปนประจํา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน ดังนั้นการจัดการกับการควบคุม ภายในจึงมีความสําคัญเปนอยางยิ่งที่คณะกรรมการบริษัทจะใหความสนใจและตระหนักอยูเสมอ โดยกําหนดให ทุกหนวยงานของบริษัท ตองคํานึงถึงการควบคุมภายในและใหครอบคลุมทุกดาน เชน การบริหารการกอสราง การ จัดซื้อ ดานบัญชีการเงิน ดานงานบุคคล และดานกฎหมาย ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดจัดใหมีระบบการควบคุมภายในซึ่ง สัมพันธกับการดําเนินธุรกิจตามองคประกอบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ในดานตางๆ ทั้ง 5 สวน ไดแก 1. สภาพแวดลอมองคกร 2. การบริหารความเสี่ยง 3. การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร 4. ระบบ สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามผล ซึ่งองคประกอบเหลานี้ไดผานชองทางตางๆ ดังนี้ 1. การจัดผังองคกร บริษัทฯ ไดออกแบบฝงองคกรใหสอดคลองกับลักษณะงาน พรอมทั้งกําหนด ขอบเขตอํานาจหนาที่เพื่อใหเกิดความคลองตัวและรวดเร็วตอการปฏิบัติงาน 2. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัทไดมอบหมายใหคณะกรรมการตรวจสอบทําหนาที่ ดูแล ติดตามและพิจารณาความเหมาะสมของระบบการควบคุมภายใน

3. การจัดประชุมคณะกรรมการ ในป 2553 บริษัทฯ มีการจัดประชุมคณะกรรมการรวม 7 ครั้ง โดยมี คณะกรรมการตรวจสอบทําหนาที่รายงานผลการตรวจสอบภายในตอคณะกรรมการบริษัททุก ไตรมาส นอกจากนี้บริษัทฯ ไดจัดใหมีการประชุมของพนักงานระดับการจัดการเพื่อรายงานความ คืบหนาของการปฏิบัติงานอยูเสมอ อันจะเปนการเพิ่มชองทางที่จะทําใหมีการสงผานขอมูลและการ ติดตามการทํางาน อยางไรก็ตาม หากมีการตรวจพบขอบกพรองที่เปนสาระสําคัญ จะมีการรายงาน ตอคณะกรรมการตรวจสอบ หรือ คณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาสั่งการแกไขตอไป 8.

รายการระหวางกัน

จากมติที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 1/2539 เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2539 ที่ไดมีการอนุมัติใหซื้อที่ดิน พรอมสิ่งปลูกสรางจากบริษัท พี.ลิสซิ่ง จํากัด ซึ่งตอไปเรียกวา “พี.ลิสซิ่ง” ในราคา 175 ลานบาท (โดยไมรวมงาน สถาปตยกรรมและงานระบบในอาคาร) ซึ่งเปนรายการเกี่ยวโยงและไดทําสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพรอมสิ่งปลูก สราง เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2539 โดย พี.ลิสซิ่ง ยินยอมใหบริษัทเขาดําเนินงานสถาปตยกรรมและงานระบบใน อาคาร และเมื่ออาคารพรอมใชงานบริษัทไดเขามาใชประโยชนในอาคาร โดยถือสิทธิครอบครอบอาคารตาม สัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพรอมสิ่งปลูกสราง นอกจากนี้บริษัทไดทําการชําระเงินคามัดจําใหแกบริษัท พี.ลิสซิ่ง จํากัด ไปแลวเปนจํานวน 85.56 ลานบาท และลงทุนในงานสถาปตยกรรมและงานระบบในอาคาร จํานวน 26.45 ลานบาท

27


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

แตเนื่องจากเกิดวิกฤตเศรษฐกิจทําใหทั้งสองฝายไมสามารถปฏิบัติตามขอตกลงในสัญญาจะซื้อจะขาย ได บริษัทไดพิจารณาแกไขรายการเกี่ยวโยงเดิมเสียใหม โดยเปลี่ยนแปลงเปนการเชาอาคารปรีชากรุปแทน บริษัท ไดเจรจาตกลงกับบริษัท พี.ลิสซิ่ง จํากัด โดยไดมีการประเมินความเสียหายที่เกิดขึ้นกับทั้งสองฝาย อันเนื่องมาจาก การยกเลิกสัญญาจะซื้อจะขายและอยูบนเงื่อนไขการคาปกติโดยคาเสียหายที่บริษัทควรจะจายเปนจํานวนเงิน 171.32 ลานบาท หักกับคาเสียหายที่บริษัทควรจะไดรับจํานวนเงิน 186.67 ลานบาท คงเหลือสุทธิที่บริษัทจะไดรับ คืนเปนเงิน 15.35 ลานบาท บริษัทเชาพื้นที่อาคารกับบริษัท พี.ลิสซิ่ง จํากัด โดยเชาพื้นที่อาคารปรีชากรุป เลขที่ 1919 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ ชั้น 5,6,8 พื้นที่รวม 3,091 ตารางเมตร ตามการใชสอยจริง และความ เหมาะสมของบริษัท โดยอัตราคาเชาตารางเมตรละ 160.-บาท คาเชาตอเดือนเปนเงิน 494,560.-บาท ระยะเวลา 3 ป ตั้งแต 12 มกราคม 2549 ถึง 11 มกราคม 2552 รวมเปนเงิน 17,804,160.-บาท และจะมีสิทธิเชาตออีก 3 ป การชําระคาเชารายเดือน เดือนละ 494,560.-บาท บริษัทจะหักกลบหนี้กับเงินมัดจําอาคารกับบริษัท พี. ลิสซิ่ง จํากัด เปนเงิน 250,000.-บาทตอเดือน สวนที่เหลือชําระเปนเงินสดจํานวน 244,560.-บาทตอเดือน บริษัทไม หักกลบคาเชาทั้งจํานวนกับหนี้เงินมัดจําก็เพี่อให พี.ลิสซิ่ง มีกระแสเงินสดที่แนนอนสวนหนึ่งนําไปชําระหนี้ใหกับ บสท. ซึ่งเปนผลดีตอบริษัทในการเชาอาคารปรีชากรุปตอไป โดยเงินคาเชาที่บริษัทจะหักกลบหนี้ เดือนละ 250,000.-บาท เปนเวลา 3 ป คิดเปนเงิน 9 ลานบาท หักกับเงินมัดจําอาคาร พี.ลิสซิ่ง จะตองชําระคืน จํานวน 15.35 ลานบาท จะมียอดคงเหลือ 6.35 ลานบาท บริษัทจะนํามาหักกลบหนี้กับคาเชาที่จะเชาอาคารตอไปไดอีก ประมาณ 2 ป 2 เดือน การดําเนินการหักกลบลบหนี้และเชาพื้นที่อาคารดังกลาว บริษัทไดรับการอนุมัติจากที่ประชุมวิสามัญผู ถือหุนครั้งที่ 1/2549 เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2549 แลว รายการคาเชาจายระหวางกัน มีรายละเอียดดังนี้ หนวย : บาท ชื่อบริษัท 1. บมจ. ปรีชา กรุป 2. บจ. เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ

ประเภทรายการ/ บริษัทที่เกี่ยวของ คาเชา กับ บจ. พี.ลิสซิ่ง คาเชา กับ บจ. พี.ลิสซิ่ง

2553

รายละเอียดรายการระหวางกัน เชาพื้นที่อาคารสํานักงาน เนื้อที่ 1,979 ตร.ม. @ 160 บาท/เดือน (เดือนละ 316,640 บาท) เชาพื้นที่อาคารสํานักงานเนื้อที่ 1,112 ตร.ม. @ 160 บาท/เดือน (เดือนละ 177,920 บาท)

3,799,680 2,135,040

(1) ลักษณะทั่วไปของรายการระหวางกัน บริษัท ปรีชากรุป จํากัด (มหาชน) เชาพื้นที่อาคารสํานักงาน เลขที่ 1919 ถ. พัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ พื้นที่รวม 3,091 ตรม. อัตราคาเชาตรม.ละ 160 บาท รวมเปนคาเชาจายเดือนละ 494,560 บาท ปละ 5,934,720 บาท

28


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

(2) ความจําเปนและความสมเหตุสมผล บริษัท มีความจําเปนตองใชอาคารเลขที่ 1919 ถ. พัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพ ฯ เปนที่ตั้งสํานักงานใหญของบริษัท ปรีชากรุป จํากัด (มหาชน) และ บริษัทยอย 9. คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 9.1 ผลการดําเนินงาน ภาพรวมของผลการดําเนินงานที่ผานมา บริษัทและบริษัทยอย ดําเนินธุรกิจขายอสังหาริมทรัพย โดยเนนการพัฒนาอสังหาริมทรัพยเพื่อที่อยูอาศัย เปนหลัก อีกทั้งดําเนินธุรกิจอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาอสังหาริมทรัพย บริษัทและบริษัทยอยมีผลกําไรขาดทุนกอนภาษีเงินได ในป 2552 และ 2553 โดยในป 2552 มีผลกําไร เทากับ 242 ลานบาท และในป 2553 มีผลกําไรเทากับ 64 ลานบาท ตามลําดับ ทั้งนี้ ในป 2553 นั้น บริษัทและ บริษัทยอยมีผลกําไรกอนภาษีเงินได ลดลง รอยละ 75.67 เพราะวาบริษัทมียอดขายลดลง ทําใหรายไดจากการขาย ในป 2553 ลดงลงจากปกอน 629 ลานบาท หรือรอยละ 56 คําอธิบายและการวิเคราะหผลการดําเนินงาน รายได รายไดจากการขายของบริษัทและบริษัทยอยในป 2552 และ 2553 จํานวน 1,117 ลานบาท และ 488 ลานบาท ตามลําดับ รายไดจากการขายลดลงจากป 2552 จํานวน 629 ลานบาท ลดลงขึ้นรอยละ 56 เนื่องจาก บริษัทและบริษัทยอยมีรายไดจากการขายลดลง 629 ลานบาท 56 เปนเพราะบริษัทมียอดขาย • บริษัทและบริษัทยอยมีรายไดจากการขายลดลงรอยละ คอนโดมิเนียม ลดลง ซึ่งยอดขายหลักที่ลดลงเปนของโครงการพีจี พระราม 9 คอนโดมิเนียม ปรีชา รมเกลา และปรีชาราม 2 ตนทุนขายและคาใชจาย ในป 2552 และป 2553 บริษัทและบริษัทยอยมีตนทุนขาย จํานวน 741 ลานบาท และ 330 ลานบาท ตามลําดับ ลดลงจากป2552 รอยละ 56 เปนสัดสวนเดียวกันกับการลดลงของรายไดจากการขาย ในป 2552 และป 2553 บริษัทและบริษัทยอย มีคาใชจายในการขายและบริหาร จํานวน 102 ลานบาท และ 99 ลานบาท ลดลงจากป 2552 รอยละ 3 สวนหนึ่งมาจากคาใชจายดานการตลาดและสงเสริมการขายในสวน ของโครงการคอนโดมิเนียมที่มีการเปดตัวในป 2552 ในป 2552 และป 2553 บริษัทและบริษัทยอย มีดอกเบี้ยจาย จํานวน 46 ลานบาท และ 18 ลานบาท ปรับลดลงจากป 2552 รอยละ 60 เนื่องจากบริษัทมีการโอนกรรมสิทธิ์โครงการพีจี พระราม 9 คอนโดมิเนียม และ ไดจายคืนกูยืมเงินจากสถาบันการเงินและบุคคลอื่น

29


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

9.2 ฐานะการเงิน สินทรัพย ณ 31 ธันวาคม 2552 และ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทและบริษัทยอยมีสินทรัพยรวม จํานวน 1,086 ลาน บาท และ 919 ลานบาท ตามลําดับ ลดลงรอยละ 15 สินทรัพยที่สําคัญของบริษัทและบริษัทยอย ไดแก ตนทุน โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย จํานวน 690 ลานบาท และ 491 ลานบาท ตามลําดับ ลดลงรอยละ 29 เนื่องจากในป 2553 บริษัทและบริษทั ยอยไดมีการโอนกรรมสิทธิ์ในสินคาใหลูกคา ทําใหตนทุนโครงการพัฒนา อสังหาริมทรัพยลดลง หนี้สินและโครงสรางเงินทุน ณ 31 ธันวาคม 2552 และ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทและบริษัทยอยมีหนี้สินรวม จํานวน 494 ลานบาท และ 321 ลานบาท ตามลําดับ ลดลง 172 ลานบาท โดยมีสาเหตุหลักจากการปลอดเพื่อโอนกรรมสิทธและชําระ คืนเงินกูยืมจากสถาบันการเงิน และโอนรับรูรายไดเจาหนี้เงินมัดจําคางวดเงินดาวนเงินโอนที่ชําระลวงหนาของ ลูกคาโครงการ หนี้สินสวนใหญของบริษัทและบริษัทยอย เปนเงินกูสถาบันการเงิน และเจาหนี้การคา ณ 31 ธันวาคม 2552 และ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทมีเงินกูระยะยาว จํานวน 211 ลานบาท และ 211 ลานบาท ตามลําดับ โครงสรางเงินทุนของบริษัทและบริษัทยอย มีการกูเงินสถาบันการเงินลดลง อัตราสวนหนี้สินตอสวนของ ผูถือหุนลดลง ในป 2552 และ ป 2553 เทากับ 0.83 เทา และ 0.54 เทา ตามลําดับ สวนของผูถือหุน ณ 31 ธันวาคม 2552 และ ณ 31 ธันวาคม 2553 มีสวนของผูถือหุน จํานวน 592 ลาน บาท และ 597 ลานบาท ตามลําดับ เพิ่มขึ้นเนื่องจากผลการดําเนินงานมีกําไร มูลคาทางบัญชีตอหุนของบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2552 เทากับ 1.76 บาทตอหุน และ ณ 31 ธันวาคม 2553 เทากับ 1.78 บาทตอหุน เพิ่มขึ้น 0.02 บาทตอหุน 10. รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต และ งบการเงิน (ตามรายละเอียดในภาคผนวก 2)

30


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทไดตระหนักและเขาใจเปนอยางดีถึงความสําคัญในความนาเชื่อถือของรายงาน ทางการเงินและงบการเงินที่แสดงใหเห็นถึงสถานะทางการเงินและผลการดําเนินงานในปที่ผานมาอันเปนจริงและ สมเหตุสมผล ดังนั้นคณะกรรมการบริษัทถึงใหความรวมมือตอผูสอบบัญชี และใหความเปนอิสระแกผูสอบบัญชี ของบริษัทฯ อยางเต็มที่ในการตรวจสอบและแสดงความคิดเห็นที่มีตอการดําเนินงานของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทรับผิดชอบตอรายงานทางการเงินของบริษทั ฯ ที่จัดทําขึ้น โดยดูแลใหฝายจัดการ จัดทํางบการเงินและขอมูลทางการเงินใหถูกตอ ครบถวน ภายใตหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทยและ เปนไปตามมาตรฐานการบัญชีที่กําหนดโดยสมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศ ไทยรวมทั้งไดพิจารณาถึงความสมเหตุสมผลและอยางรอบคอบในการจัดทําและเปดเผยขอมูลที่ถูกตอง ครบถวน และเพียงพอตอการพิจารณาฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัท นอกจากนี้ คณะกรรมการยังไดตระหนักถึงความสําคัญของระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพวาจะ สามารถทําใหบริษัท สามารถดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ มีการรายงานขอมูลทางการเงินที่ถูกตองครบถวน อีกทั้งยังเปนการปองกันไมใหเกิดการทุจริตและการดําเนินการที่ผิดปกติอยางมีสาระสําคัญ ซึงคณะกรรมการบริษัท ไดจัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบเปนคณะทํางานที่สอบทานและดูแลใหบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในและการ ตรวจสอบที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งดูแลใหมีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ

31


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

ภาคผนวก

32


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท ชื่อ-สกุล/ ตําแหนง

อายุ (ป)

คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดสวนการ ถือหุนใน บริษัท(%) ชวงเวลา ไมมี พ.ศ.2547-ปจจุบัน พ.ศ.2544-2545 พ.ศ. 2543-2544 พ.ศ. 2543-2544

1. นายยุทธ วรฉัตรธาร ประธานกรรมการ

62

- ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ปริญญาโท เศรษฐศาตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2. ร.ต.ต.เกรียงศักดิ์ โลหะชาละ กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ

68

- ปริญญาตรี คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร -ปริญญาโทรัฐประศาสนศาสตร KENT STATE UNIVERSITY สหรัฐอเมริกา -ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขา วิชารัฐศาสตร ม.รามคําแหง

ไมมี

- ปริญญาตรี รัฐประศาสนศาสตร บัณฑิต สาขาวิชาตํารวจ โรงเรียนนายรอยตํารวจสามพราน นครปฐม - ปริญญาโท ศิลปศาสตร สาขาพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน

ไมมี

3. พลตํารวจเอกพิชิต ควรเดชะคุปต กรรมการและกรรมการตรวจสอบ

65

พ.ศ.2538 – ปจจุบัน พ.ศ. 2543-2545 พ.ศ. 2533-2543 พ.ศ. 2529

ปจจุบัน พ.ศ.2546-2547 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2551 พ.ศ.2550 พ.ศ. 2550

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง ตําแหนง ประธานกรรมการและกรรการอิสระ กรรมการผูจัดการใหญ ผูจัดการ รองผูจัดการ

ชื่อบริษัท บมจ. ปรีชา กรุป ธ.ศรีนคร จํากัด(มหาชน) ตลาดหลักทรัพยใหม ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

กรรมการอิสระและ ประธานกรรมการตรวจสอบ ปลัดกรุงเทพมหานคร รองปลัดกรุงเทพมหานคร ผูอํานวยการสํานักสวัสดิการสังคมและผูแถลง ขาว กรุงเทพมหานคร

บมจ. ปรีชา กรุป

กรรมการและกรรมการตรวจสอบ ผูชวยผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ กรรมการอํานวยการ ประธานกรรมการพัฒนาเด็กและเยาวชน กรรมการบริหารสลากกินแบงรัฐบาล ประธานกรรมการกิจการสัมพันธ กรรมการขาราชการตํารวจ(ก.ตร.) ประธานอนุกรรมการ ก.ตร.(อุทรณ)

บมจ. ปรีชา กรุป สํานักงานตํารวจแหงชาติ สภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทย สภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทย สํานักสลากกินแบงรัฐบาล สํานักสลากกินแบงรัฐบาล สํานักงานตํารวจแหงชาติ สํานักงานตํารวจแหงชาติ

กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร


ชื่อ-สกุล/ ตําแหนง

อายุ (ป)

4. นายสมพร เวชพาณิชย กรรมการและกรรมการตรวจสอบ

63

5. นายปรีชา ถิรกิจพงศ กรรมการผูอํานวยการและ กรรมการผูมีอํานาจลงนาม

66

6. รศ.ดร.สมเจตน ทิณพงษ กรรมการและกรรมการผูมีอํานาจลงนาม

61

7. นางสาวทิพาพร อัศวโสติ์ กรรมการ

51

8. นายวรยุทธ พงษสุวรรณ กรรมการรองผูอํานวยการและ กรรมการผูมีอํานาจลงนาม

52

คุณวุฒิทางการศึกษา

- ปริญญาตรี กฎหมาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ปริญญาโท เศรษฐศาตร Middle Tennessee State University -บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต กิตติมาศักดิ์ (สาขาการตลาด) มหาวิทยาลัย ราชภัฎ จันทรเกษม - ปริญญาตรี,โท,เอก วิศวกรรม สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเซีย

- อาชีวศึกษา S.T. Johns College of Commerce - ปริญญาตรี สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ปริญญาโท สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

สัดสวน การถือ หุนใน ไมมี

บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

พ.ศ. 2548 พ.ศ.2547-ปจจุบัน พ.ศ.2535-ปจจุบัน พ.ศ.2532-ปจจุบัน พ.ศ.2531-ปจจุบัน พ.ศ.2537 - ปจจุบัน

กรรมการและกรรมการตรวจสอบ กรรมการและกรรมการตรวจสอบ ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา กรรมการผูจัดการ กรรมการผูอํานวยการ

บมจ. ปรีชา กรุป บมจ. ที.ซี. ยูเนี่ยน โกลบอล บมจ. โอเชี่ยน ทาวเวอร บจก. ธนิยะ พลาซา บจก.เค วี เอส เมนเนจเมนท บมจ. ปรีชา กรุป

ปจจุบัน ปจจุบัน ปจจุบัน พ.ศ. 2549-2551 พ.ศ. 2540-2544

กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการ ที่ปรึกษา กรรมการบริหาร

พ.ศ. 2528-2532

รองประธานกรรมการ

บมจ. ปรีชา กรุป บมจ.อมตะ คอรปอเรชั่น บจก. BC Cartering จํากัด บมจ. ปรีชา กรุป บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ํา ภาคตะวันออก บจก. อมรพันธนคร-สวนสยาม

0.33

พ.ศ.2546 – ปจจุบัน

กรรมการ

บมจ. ปรีชา กรุป

ไมมี

พ.ศ.2546 – ปจจุบัน พ.ศ.2546 – ปจจุบัน พ.ศ.2546 – ปจจุบัน พ.ศ.2546 – ปจจุบัน พ.ศ.2546 – ปจจุบัน พ.ศ.2547 - ปจจุบัน พ.ศ. 2538 - ปจจุบัน

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการรองผูอํานวยการ

บจก. อีเทอรไนซ บจก. ออลสวีท บจก. ฟอรลีฟวิ่ง บจก. พุทธานี บจก. ฐิติเวศม บจก. เอ เอ็สเตท บมจ.ปรีชากรุป

ไมมี

ไมมี


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน)

ขอมูลการดํารงตําแหนงของผูบริหาร และผูมีอํานาจควบคุมในบริษัท บริษัทยอย และบริษัทที่เกี่ยวของ รายชื่อริษัท

บริษัท ปรีชากรุป จํากัด (มหาชน)

รายชื่อกรรมการ 1. นายยุทธ วรฉัตรธาร 2. ร.ต.ต.เกรียงศักดิ์ โลหะชาละ 3. พลตํารวจเอก พิชิต ควรเตชะคุปต 4. นายสมพร เวชพาณิชย 5. นายปรีชา ถิรกิจพงศ 6. รศ.ดร.สมเจตน ทิณพงษ 7. นางสาวทิพาพร อัศวโสตถิ์ 8. นายวรยุทธ พงษสุวรรณ

ประธานกรรมการและ กรรมการอิสระ กรรมการและประธาน กรรมการตรวจสอบ กรรมการและกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการและกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการและกรรมการ ผูอํานวยการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและกรรมการรอง ผูอํานวยการ

บริษัทยอย

บริษัทที่เกี่ยวของ

บริษัท พี.บี. เอ็สเตท จํากัด

บริษัท แอล. เอสเตท จํากัด

บริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัด

บริษัท จี.เอช.ไอ. เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด

บริษัท รวยลานลาน จํากัด

บริษัท พี.ลิสซิ่ง จํากัด

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

กรรมการผูอํานวยการ

กรรมการผูอํานวยการ

กรรมการผูอํานวยการ

-

กรรมการผูอํานวยการ กรรมการผูอํานวยการ ประธานกรรมการ

ประธานกรรมการ

ประธานกรรมการ

ประธานกรรมการ

ประธานกรรมการ

-

กรรมการ กรรมการรอง ผูอํานวยการ

กรรมการ กรรมการรอง ผูอํานวยการ

กรรมการ กรรมการรองผูอํานวยการ

กรรมการ กรรมการรองผูอํานวยการ

กรรมการ กรรมการรอง ผูอํานวยการ

กรรมการ -


งบการเงินและรายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552



บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 งบการเงินรวม

(หนวย : บาท) สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว - สุทธิ ลูกหนี้การคา - สุทธิ เงินใหกยู ืมและดอกเบี้ยคางรับกิจการที่เกีย่ วของกัน - สุทธิ ตนทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย - สุทธิ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น - สุทธิ รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินฝากธนาคารติดภาระหลักประกัน เงินลงทุนในบริษัทยอย - สุทธิ ที่ดินรอการพัฒนา - สุทธิ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยไมมีตัวตน - สุทธิ สินทรัพยรอการขาย - สุทธิ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

หมายเหตุ 3

2553

2552

5 6 4, 7 4 8, 26 4

109,877,387.11 27,750.00 868,137.00 1,878,626.29 491,235,309.94 16,858,104.58 620,745,314.92

73,751,286.67 252,123.00 1,811,318.03 689,733,899.02 10,082,751.43 775,631,378.15

95,228,199.01 27,750.00 118,365,547.49 269,768,195.10 9,653,487.80 493,043,179.40

32,802,815.57 21,400.00 108,079,100.59 389,398,457.49 7,581,361.93 537,883,135.58

10 11 12 13 14 15 4

2,657,218.06 71,725,391.64 213,557,662.23 433,136.62 6,930,514.83 2,772,777.28 298,076,700.66 918,822,015.58

3,495,710.68 71,725,391.64 224,474,384.03 211,751.91 7,549,164.82 2,779,430.44 310,235,833.52 1,085,867,211.67

1,837,218.06 147,570,240.68 67,184,693.15 206,459,710.09 414,038.74 1,812,582.00 425,278,482.72 918,321,662.12

1,824,335.68 147,511,930.93 67,184,693.15 216,198,229.89 179,832.19 1,823,382.00 434,722,403.84 972,605,539.42


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หนวย : บาท)

งบการเงินรวม หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

2553

2552

11,126,369.88 35,063,020.00 8,219,589.16 6,789,636.65 11,093,555.47 37,106,097.15 109,398,268.31

11,396,110.90 99,374,471.76 42,875,587.07 24,250,000.00 10,438,822.68 27,440,190.45 14,445,472.10 51,560,905.96 281,781,560.92

8,726,278.89 35,063,020.00 62,906,758.18 6,856,832.87 8,058,055.48 4,037,554.38 125,648,499.80

5,894,414.71 36,473,967.93 124,594,880.38 24,250,000.00 8,978,537.14 9,303,076.00 15,944,822.64 225,439,698.80

210,894,900.00 1,129,200.00 212,024,100.00 321,422,368.31

210,747,150.00 1,104,200.00 211,851,350.00 493,632,910.92

210,894,900.00 1,127,200.00 212,022,100.00 337,670,599.80

210,747,150.00 1,102,200.00 211,849,350.00 437,289,048.80

336,000,000.00

336,000,000.00

336,000,000.00

336,000,000.00

336,000,000.00

336,000,000.00

336,000,000.00

336,000,000.00

21

88,750,822.16 (287,250.00)

88,750,822.16 (562,877.00)

88,750,822.16 (287,250.00)

88,750,822.16 (293,600.00)

22 20

5,542,963.42 9,825,365.51 163,110,709.60 162,503,392.17 597,399,647.27 592,234,300.75 918,822,015.58 1,085,867,211.67

9,825,365.51 146,362,124.65 580,651,062.32 918,321,662.12

5,542,963.42 105,316,305.04 535,316,490.62 972,605,539.42

หนี้สนิ และสวนของผูถือหุน หนี้สนิ หมุนเวียน เจาหนี้การคา หนี้สนิ สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เงินกูย ืมระยะสัน้ จากบุคคลหรือกิจการที่เกีย่ วของกัน เงินกูย ืมระยะสัน้ อื่น คาใชจายคางจาย ภาษีเงินไดคางจาย ประมาณการตนทุนโครงการ หนี้สนิ หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สนิ หมุนเวียน หนี้สนิ ไมหมุนเวียน เงินกูย ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี้สนิ ไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สนิ ไมหมุนเวียน รวมหนี้สนิ สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน - หุนสามัญ 336,000,000 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท ทุนที่ออกและเรียกชําระแลว - หุนสามัญ 336,000,000 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท สวนเกิน(ต่ํากวา)ทุน สวนเกินมูลคาหุนสามัญ สวนต่ํากวาทุนอื่น กําไรสะสม จัดสรรแลว - สํารองตามกฎหมาย ยังไมไดจัดสรร รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สนิ และสวนของผูถือหุน

19 4 17 4

4, 18

19


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หนวย: บาท)

รายไดจากการขาย ตนทุนขาย กําไรขั้นตน รายไดอื่น กําไรกอนคาใชจาย คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร คาตอบแทนผูบริหาร รวมคาใชจาย กําไรกอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน กําไรกอนภาษีเงินได ภาษีเงินได กําไรสุทธิ กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (หุน)

งบการเงินรวม หมายเหตุ 3 4

4, 23 24 4, 24 4

4, 25 26

3 3

2553

2552

487,921,324.00 1,116,566,036.00 (329,808,884.55) (741,371,508.62) 158,112,439.45 375,194,527.38 23,208,531.28 15,094,998.20 181,320,970.73 390,289,525.58 (14,820,882.54) (19,549,396.38) (72,993,580.41) (74,330,021.26) (10,893,400.00) (8,203,510.00) (98,707,862.95) (102,082,927.64) 82,613,107.78 288,206,597.94 (18,341,436.01) (46,256,593.02) 64,271,671.77 241,950,004.92 (19,061,607.25) (56,152,205.95) 45,210,064.52 185,797,798.97 0.13 336,000,000

0.55 336,000,000

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 307,032,095.00 (217,613,317.03) 89,418,777.97 101,761,189.34 191,179,967.31 (9,938,172.84) (57,802,971.37) (10,893,400.00) (78,634,544.21) 112,545,423.10 (23,951,199.11) 88,594,223.99 (2,946,182.29) 85,648,041.70

430,680,939.00 (310,822,984.63) 119,857,954.37 96,732,417.66 216,590,372.03 (10,115,291.37) (52,510,443.93) (8,203,510.00) (70,829,245.30) 145,761,126.73 (41,283,114.12) 104,478,012.61 (3,514,152.76) 100,963,859.85

0.25 336,000,000

0.30 336,000,000


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 งบการเงินรวม

(หนวย : บาท) ทุนเรือนหุน หมายเหตุ ที่ออกและชําระแลว ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 เงินลงทุนเผื่อขาย ผลกําไรที่รับรูในสวนของผูถือหุน รวมรายไดที่รับรูในสวนของผูถือหุน กําไรสุทธิ รวมรายไดทั้งสิน้ ที่รับรูสําหรับป จัดสรรสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เงินลงทุนเผื่อขาย ผลกําไรที่รับรูในสวนของผูถือหุน รวมรายไดท่รี ับรูในสวนของผูถือหุน กําไรสุทธิ รวมรายไดทั้งสิน้ ที่รับรูสําหรับป จัดสรรสํารองตามกฎหมาย จายเงินปนผล ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2553

22

22 20

สวนเกิน(ต่ํากวา)ทุน สวนเกิน กําไร(ขาดทุน) มูลคาหุนสามัญ ที่ยังไมเกิดขึ้นจริง

กําไรสะสม จัดสรรแลว

ยังไมไดจัดสรร

รวม

336,000,000.00

88,750,822.16

(658,752.00)

494,770.43

(18,246,213.81)

406,340,626.78

336,000,000.00

88,750,822.16

95,875.00 95,875.00 95,875.00 (562,877.00)

5,048,192.99 5,542,963.42

185,797,798.97 185,797,798.97 (5,048,192.99) 162,503,392.17

95,875.00 95,875.00 185,797,798.97 185,893,673.97 592,234,300.75

336,000,000.00

88,750,822.16

275,627.00 275,627.00 275,627.00 (287,250.00)

4,282,402.09 9,825,365.51

45,210,064.52 45,210,064.52 (4,282,402.09) (40,320,345.00) 163,110,709.60

275,627.00 275,627.00 45,210,064.52 45,485,691.52 (40,320,345.00) 597,399,647.27


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หนวย : บาท) ทุนเรือนหุน หมายเหตุ ที่ออกและชําระแลว ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 เงินลงทุนเผื่อขาย ผลกําไรที่รับรูในสวนของผูถือหุน รวมรายไดที่รับรูในสวนของผูถือหุน กําไรสุทธิ รวมรายไดทั้งสิน้ ที่รับรูสําหรับป จัดสรรสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เงินลงทุนเผื่อขาย ผลกําไรที่รับรูในสวนของผูถือหุน รวมรายไดท่รี ับรูในสวนของผูถือหุน กําไรสุทธิ รวมรายไดทั้งสิน้ ที่รับรูสําหรับป จัดสรรสํารองตามกฎหมาย จายเงินปนผล ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

22

22 20

งบการเงินเฉพาะกิจการ สวนเกิน(ต่ํากวา)ทุน กําไรสะสม สวนเกิน กําไร(ขาดทุน) จัดสรรแลว ยังไมไดจัดสรร มูลคาหุนสามัญ ที่ยังไมเกิดขึ้นจริง

รวม

336,000,000.00

88,750,822.16

(306,400.00)

494,770.43

9,400,638.18

434,339,830.77

336,000,000.00

88,750,822.16

12,800.00 12,800.00 12,800.00 (293,600.00)

5,048,192.99 5,542,963.42

100,963,859.85 100,963,859.85 (5,048,192.99) 105,316,305.04

12,800.00 12,800.00 100,963,859.85 100,976,659.85 535,316,490.62

336,000,000.00

88,750,822.16

6,350.00 6,350.00 6,350.00 (287,250.00)

4,282,402.09 9,825,365.51

85,648,041.70 85,648,041.70 (4,282,402.09) (40,319,820.00) 146,362,124.65

6,350.00 6,350.00 85,648,041.70 85,654,391.70 (40,319,820.00) 580,651,062.32


บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 1.

ขอมูลทั่วไป บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน) “บริษัท” เปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย ซึ่งประกอบธุรกิจหลักในการพัฒนา อสั ง หาริ ม ทรั พ ย โดยมี สํ า นั ก งานตั้ ง อยู เ ลขที่ 1919 ถนนพั ฒ นาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง จั ง หวั ด กรุงเทพมหานคร บริษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2539

2.

เกณฑการจัดทํางบการเงิน งบการเงินนี้ไดจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีไทย (“มาตรฐานการบัญชี”) และมาตรฐานการรายงานทางการเงินไทย (“มาตรฐานการรายงานทางการเงิน”) รวมถึงการตีความและแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใชโดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) เพื่อใหเปนไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปของประเทศไทย งบการเงินของบริษัทไดจัดทําเปนภาษาไทยและมีหนวยเงินตราเปนบาท ซึ่งการจัดทํางบการเงินดังกลาวเปนไปตาม วัตถุประสงคของการจัดทํารายงานในประเทศไทย ดังนั้นเพื่อความสะดวกของผูอานงบการเงินที่ไมคุนเคยกับภาษาไทย บริษัทไดจัดทํางบการเงินฉบับภาษาอังกฤษขึ้นโดยแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทย บริษัทประกอบกิจการพัฒนาอสังหาริมทรัพยเพียงประเภทเดียวจึงไมแสดงขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงานไว ในการจัดทํางบการเงินใหเปนไปตามมาตรฐานการบัญชี ผูบริหารตองใชการประมาณและขอสมมติฐานหลายประการ ซึ่ง มีผลกระทบตอการกําหนดนโยบายและการรายงานจํานวนเงินที่เกี่ยวกับ สินทรัพย หนี้สิน รายได และคาใชจาย การ ประมาณและขอสมมติฐานมาจากประสบการณในอดีต และปจจัยตาง ๆ ที่ผูบริหารมีความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผล ภายใตสภาวการณแวดลอมนั้นซึ่งไมอาจอาศัยขอมูลจากแหลงอื่นและนําไปสูการตัดสินใจเกี่ยวกับการกําหนดจํานวน สินทรัพยและหนี้สินนั้น ๆ ดังนั้นผลที่เกิดขึ้นจริงจากการตั้งขอสมมติฐานตอมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยและหนี้สินอาจ แตกตางไปจากที่ประมาณไว ประมาณการและขอสมมติฐานที่ใชในการจัดทํางบการเงินจะไดรับการทบทวนอยางสม่ําเสมอ การปรับประมาณการทาง บัญชีจะบันทึกในงวดบัญชีที่การประมาณการดังกลาวไดรับการทบทวน หากการปรับประมาณการกระทบเฉพาะงวดนั้น ๆ และจะบันทึกในงวดที่ปรับและงวดในอนาคต หากการปรับประมาณการกระทบทั้งงวดปจจุบันและอนาคต ในระหวางป 2553 สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศการจัดเลขระบุมาตรฐานการบัญชีของไทยบางรายการ ดังนี้

เลขระบุฉบับมาตรฐานการบัญชีเดิม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27

เลขระบุฉบับมาตรฐานการบัญชีใหม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 101 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 102 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 103

เรื่อง หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ การรับรูรายไดสําหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย การเปดเผยขอมูลในงบการเงินของธนาคาร และสถาบันการเงินที่คลายคลึงกัน


เลขระบุฉบับมาตรฐานการบัญชีเดิม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34

เลขระบุฉบับมาตรฐานการบัญชีใหม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 104

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 105

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 42

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 106

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 48

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 107

เรื่อง การบัญชีสําหรับการปรับโครงสรางหนี้ที่มี ปญหา (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2545) การบัญชีสําหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้ และตราสารทุน การบั ญ ชี สํ า หรั บ กิ จ การที่ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ เฉพาะดานการลงทุน การแสดงรายการและการเป ด เผยข อ มู ล สําหรับเครื่องมือทางการเงิน

การประกาศใชมาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ ออกใหมและปรับปรุงใหม ในระหวางป 2553 สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีใหใชแมบทการบัญชี มาตรฐานการบัญชี มาตรฐาน การรายงานทางการเงิน และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกใหมและปรับปรุงใหม ดังตอไปนี้ ก) แมบทการบัญชี (ปรับปรุง 2552) มีผลบังคับใชทันทีในปปจจุบัน ซึ่งฝายบริหารของบริษัทไดประเมินแลวเห็นวา แมบทการบัญชีดังกลาวไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงินสําหรับปปจจุบัน ข) มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีผลบังคับใช สําหรับงบการเงินที่มีรอบบัญชีเริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 รวมจํานวน 28 ฉบับ มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทางการเงิน/ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552)

เรื่อง การนําเสนองบการเงิน สินคาคงเหลือ งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทาง บัญชีและขอผิดพลาด เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน สัญญากอสราง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ สัญญาเชา รายได ผลประโยชนของพนักงาน ตนทุนการกูยืม การเป ด เผยข อ มู ล เกี่ ย วกั บ บุ ค คลหรื อ กิ จ การที่ เกี่ยวของกัน


มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทางการเงิน/ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27) ปรับปรุง 2552( มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28) ปรับปรุง 2552( มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31) ปรับปรุง 2552( มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33) ปรับปรุง 2552( มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34) ปรับปรุง 2552( มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36) ปรับปรุง 2552( มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37) ปรับปรุง 2552( มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38) ปรับปรุง 2552( มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40) ปรับปรุง 2552( มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3) ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5) ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 6 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15

เรื่อง การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชนเมื่อ ออกจากงาน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริษัทรวม การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟอ รุนแรง สวนไดเสียในการรวมคา กําไรตอหุน งบการเงินระหวางกาล การดอยคาของสินทรัพย ประมาณการหนี้ สิ น หนี้ สิ น ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น และ สินทรัพยที่อาจเกิดขึ้น สินทรัพยไมมีตัวตน อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ การรวมธุรกิจ สิ น ทรั พ ย ไ ม ห มุ น เวี ย นที่ ถื อ ไว เ พื่ อ ขายและการ ดําเนินงานที่ยกเลิก การสํารวจและประเมินคาแหลงทรัพยากรแร สัญญาการกอสรางอสังหาริมทรัพย

ฝายบริหารของบริษัทไดประเมินแลวเห็นวามาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับดังกลาวไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงินสําหรับปที่เริ่มใช ยกเวนมาตรฐานการบัญชี ดังตอไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16) ปรับปรุง 2552) เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16) ปรับปรุง 2552) มีผลกระทบตอบริษัท ดังนี้ (1)

ตนทุนในการรื้อ การขนยาย และการบูรณะสภาพของสินทรัพย ซึ่งเปนภาระผูกพันอันเกิดขึ้นจากการติดตั้ง สินทรัพยดังกลาว ตองถือเปนตนทุนของสินทรัพยและอาจมีการคิดคาเสื่อมราคาประจําป

(2)

การกําหนดคาเสื่อมราคา ตองพิจารณาแตละสวนประกอบแยกตางหาก เมื่อสวนประกอบแตละสวนนั้นมี ตนทุนที่มีนัยสําคัญ

(3)

มูลคาคงเหลือของที่ดิน อาคาร และอุปกรณตองมีการประมาณดวยจํานวนเงินสุทธิที่คาดวาจะไดรับในปจจุบัน จากการจําหนายสิ นทรัพยนั้น หากสิน ทรัพยนั้นมีอายุและสภาพที่คาดวาจะเปน ณ วั นสิ้ นสุดอายุก ารให ประโยชน นอกจากนี้ตองมีการทบทวนมูลคาคงเหลือและอายุการใหประโยชนอยางนอยทุกสิ้นป


ปจจุบันฝายบริหารของบริษัทอยูระหวางการประเมินผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงดังกลาวขางตนตองบ การเงินหากไดถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16) ปรับปรุง 2552) นับตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 ไดรวมขอกําหนดในการรับรูและวัดมูลคาตนทุนผลประโยชนพนักงานหลังออกจาก งานภายใตโครงการผลประโยชนที่กําหนดไว ผลประโยชนระยะยาวอื่น และผลประโยชนเมื่อเลิกจางในระหวางปซึ่ง ไดมีการใหบริการและกําหนดใหมีขอสมมติตามหลักคณิตศาสตรประกันภัยเพื่อประเมินภาระผูกพันและคาใชจาย นอกจากนี้ภาระผูกพันไดถูกประเมินโดยการคิดลดกระแสเงินสดแตละหนวยที่ประมาณการไวเนื่องจากอาจมีการจาย ชําระในหลาย ๆ ปภายหลังจากที่พนักงานไดทํางานให ปจจุบันฝายบริหารของบริษัทอยูระหวางการประเมินผลกระทบดังกลาวขางตนตองบการเงินในปที่เริ่มใชมาตรฐาน การบัญชีฉบับดังกลาว ค) มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใชสําหรับงบการเงินที่มีรอบบัญชีเริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 มีดังนี้ มาตรฐานการบัญชี เรื่อง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 ภาษีเงินได มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20) ปรับปรุง 2552) การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับความ ชวยเหลือจากรัฐบาล มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21) ปรับปรุง 2552) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ฝายบริหารของบริษัทอยูระหวางการประเมินผลกระทบตองบการเงินในปที่เริ่มใชมาตรฐานการบัญชีฉบับดังกลาว เกณฑในการนําเสนองบการเงินรวม งบการเงิน รวมนี้ ไดร วมงบการเงิน ของบริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (รวมกัน เรียกวา “กลุม บริษัท”) ดังนี้ บริษัทยอย บริษัท พี.บี.เอ็สเตท จํากัด บริษัท จี.เอช.ไอ. เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด บริษัท เฮาสซงิ่ คอมเพล็กซ จํากัด บริษัท แอล.เอสเตท จํากัด บริษัท รวยลานลาน จํากัด

จัดตั้งขึ้นในประเทศ ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

ประเภทธุรกิจ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาอสังหาริมทรัพย

สัดสวนเงินลงทุน 2553 2552 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100%

รายการบัญชีระหวางบริษัทกับบริษัทยอยที่เปนสาระสําคัญไดถูกตัดออกในการจัดทํางบการเงินรวม บริษัทยอยเปนกิจการที่อยูภายใตการควบคุมของบริษัท การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อบริษัทมีอํานาจควบคุมทั้งทางตรงหรือ ทางออมในการกําหนดนโยบายทางการเงินและการดําเนินงานของบริษัทนั้น เพื่อไดมาซึ่งประโยชนจากกิจกรรมของ บริษัทยอย งบการเงินของบริษัทยอยไดรวมอยูในงบการเงินรวม นับแตวันที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้นสุดลง งบการเงินรวมจัดทําขึ้นโดยใชนโยบายการบัญชีเดียวกันสําหรับรายการบัญชีหรือเหตุการณทางบัญชีที่เหมือนกันหรือที่ คลายคลึงกัน


3.

นโยบายการบัญชีที่สําคัญ เกณฑการวัดคาในการจัดทํางบการเงิน นอกจากที่เปดเผยไวในหัวขออื่น ๆ ในสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญและหมายเหตุประกอบงบการเงินอื่น ๆ เกณฑในการ จัดทํางบการเงินใชราคาทุนเดิม การรับรูรายได โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย บริษัทและบริษัทยอยรับรูรายไดจากการขายบานพรอมที่ดินและรายไดจากการขายหนวยในอาคารชุดพักอาศัยเมื่องาน กอสรางเสร็จตามสัญญาและมีการโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่มีนัยสําคัญของความเปนเจาของสินคาใหกับผูซื้อ รายไดและตนทุนจากการขายที่ดินเปลา รับรูเปนรายไดและตนทุนขายเมื่อมีการโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่มี นัยสําคัญของความเปนเจาของสินคาใหกับผูซื้อ รายไดคาเชา รายไดคาเชาภายใตสัญญาเชาดําเนินงานรับรูในงบกําไรขาดทุนโดยวิธีเสนตรงตลอดอายุสัญญาเชา คาใชจายเริ่มแรกที่ เกิดขึ้นเปนการเฉพาะเพื่อใหเกิดสัญญาเชาเปนสวนหนึ่งของคาเชาทั้งสิ้นตามสัญญา คาเชาที่อาจเกิดขึ้นรับรูเปนรายไดใน รอบระยะเวลาบัญชีซึ่งคาเชานั้นเกิดขึ้น ดอกเบี้ยรับรับรูเปนรายไดตามระยะเวลาที่พึงรับ รายไดสิทธิการเชารอตัดบัญชี รายไดคาสิทธิการเชารอตัดบัญชี จะบันทึกตัดบัญชีเปนรายไดตามอายุของสัญญาเชา เงินปนผลรับ เงินปนผลรับถือเปนรายไดเมื่อมีสิทธิในการรับเงินปนผล รายไดอื่น ถือเปนรายไดตามเกณฑคงคาง ตนทุนการขายบานพรอมที่ดินและอาคารชุดพักอาศัย การคํานวณตนทุนขายบานพรอมที่ดินและอาคารชุดพักอาศัย บริษัทและบริษัทยอยตองประมาณตนทุนทั้งหมดที่จะใชใน การพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย ซึ่งตนทุนดังกลาวประกอบดวย ตนทุนที่ดินและการปรับปรุงที่ดิน ตนทุนคาออกแบบ และกอสราง ตนทุนงานสาธารณูปโภค ตนทุนการกูยืมเพื่อใชในการกอสรางโครงการ และคาใชจายอื่นที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ ฝายบริหารไดประมาณการตนทุนดังกลาวขึ้นจากประสบการณในการประกอบธุรกิจโดยจะมีการทบทวนการประมาณ การดังกลาวเปนระยะ ๆ หรือเมื่อตนทุนที่เกิดขึ้นจริงแตกตางจากประมาณการตนทุนอยางมีสาระสําคัญ ในการคํานวณหา ตนทุนขายบานพรอมที่ดินและหนวยในอาคารชุดพักอาศัย บริษัทและบริษัทยอยไดทําการแบงสรรตนทุนการพัฒนา ทั้งหมดที่คาดวาจะเกิดขึ้น (โดยคํานึงถึงตนทุนที่เกิดขึ้นจริงดวย) ตามเกณฑพื้นที่ที่ขาย บริษัทและบริษัทยอยจะบันทึกขาดทุนจากการดอยคา (ถามี) ไวในงบกําไรขาดทุน คาใชจายที่เกี่ยวของกับการขาย เชน คาภาษีธุรกิจเฉพาะ คาธรรมเนียมการโอนกรรมสิทธิ์ บันทึกเปนคาใชจายเมื่อมีการ ขาย


การรับรูคาใชจาย การรับรูคาใชจายบันทึกในงบกําไรขาดทุนตามเกณฑคงคาง สัญญาเชาดําเนินงาน รายจายภายใตสัญญาเชาดําเนินงานบันทึกในงบกําไรขาดทุนโดยวิธีเสนตรงตลอดอายุสัญญาเชา ประโยชนที่ไดรับตาม สัญญาเชาจะรับรูในงบกําไรขาดทุนเปนสวนหนึ่งของคาเชาทั้งสิ้นตามสัญญา คาเชาที่อาจเกิดขึ้นจะบันทึกในงบกําไร ขาดทุนในรอบบัญชีที่มีรายการดังกลาว ตนทุนทางการเงิน ดอกเบี้ยจายและคาใชจายในทํานองเดียวกันบันทึกในงบกําไรขาดทุนในงวดที่คาใชจายดังกลาวเกิดขึ้น ยกเวนในกรณีที่มี การบันทึกเปนตนทุนสวนหนึ่งของสินทรัพย อันเปนผลมาจากการใชเวลายาวนานในการจัดหา กอสราง หรือการผลิต สินทรัพยดังกลาวกอนที่จะนํามาใชเองหรือเพื่อขาย ดอกเบี้ยซึ่งเปนสวนหนึ่งของคางวดตามสัญญาเชาการเงินบันทึกใน งบกําไรขาดทุนโดยใชวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง ผลประโยชนของพนักงาน บริษัทและบริษัทยอยรับรูเงินเดือน คาจาง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสํารองเลี้ยงชีพเปน คาใชจายเมื่อเกิดรายการ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ประกอบดวยเงินสด เงินฝากธนาคารประเภทเผื่อเรียก และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพ คลองสูงสุทธิจากเงินฝากธนาคารที่ติดภาระค้ําประกัน เงินลงทุนชั่วคราว เงินลงทุนชั่วคราวที่เปนเงินทุนในตราสารทุนในความตองการของตลาดที่เปนหลักทรัพยเผื่อขาย แสดงดวยมูลคายุติธรรม บริษัทรับรูการเปลี่ยนแปลงมูลคาโดยแสดงไวในสวนของผูถือหุน ราคาทุนของหลักทรัพยที่จําหนายใชวิธีถัวเฉลี่ย ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจงหนี้หักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ บริษัทตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเทากับจํานวนหนี้ที่คาดวาจะเก็บเงินไมได โดยประมาณจากประสบการณในการเก็บหนี้ และการวิเคราะหฐานะการเงินของลูกหนี้แตละราย ลูกหนี้จะถูกตัดจําหนายบัญชี เมื่อทราบวาเปนหนี้สูญ ตนทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย ตนทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย แสดงในราคาทุนหักคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย (ถามี) โดยแสดงสุทธิจากการตัด บัญชีเปนตนทุนขาย ราคาทุนซึ่งประกอบดวยตนทุนในการไดมาซึ่งที่ดิน ตนทุนการพัฒนาที่ดิน วัสดุที่ใช คาแรงงาน และ คาใชจายที่เกี่ยวของโดยตรงกับโครงการรวมทั้งดอกเบี้ยจายที่เกิดขึ้นจากการกูยืมเพื่อใหการไดมาซึ่งการพัฒนาโครงการ ขางตนกอนโครงการจะแลวเสร็จถือเปนตนทุนโครงการ ตนทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย แสดงในราคาทุนหรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ํากวา


ดอกเบี้ยจายที่ถือเปนตนทุน ดอกเบี้ยจายเฉพาะที่เกิดจากการกูยืมเพื่อใชในการไดมาซึ่งที่ดินและพัฒนาโครงการตาง ๆ ถือเปนสวนหนึ่งของราคาทุน ของโครงการและจะหยุดบันทึกเมื่อโครงการเสร็จสมบูรณหรือหยุดชะงักลง ดอกเบี้ยจะถูกบันทึกเปนตนทุนอีกก็ตอเมื่อมี กิจกรรมการพัฒนาโครงการอีกครั้งหนึ่ง เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษัทยอยในงบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกบัญชีโดยใชวิธีราคาทุนและหักคาเผื่อการดอยคา (ถามี) (ดูหมาย เหตุประกอบงบการเงินขอ 11) ที่ดินรอการพัฒนา ที่ดินรอการพัฒนา เปนที่ดินที่จะใชพัฒนาตอไปในอนาคต ซึ่งแสดงในราคาทุนหักคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย (ถามี) ราคาทุนประกอบดวยคาที่ดินและคาใชจายที่เกี่ยวของ ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยแสดงไวในงบกําไรขาดทุน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ จะแสดงในราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสมและหักคาเผื่อการดอยคา (ถามี) คาเสื่อมราคา คาเสื่อมราคาคํานวณโดยวิธีเสนตรงตามเกณฑอายุการใชสินทรัพยโดยประมาณและตามอายุของสัญญาเชาสําหรับอาคาร บนที่ดินเชา ดังนี้ สวนปรับปรุงอาคารเชา อาคารสํานักงานขาย อาคาร สาธารณูปโภค เครื่องตกแตงและอุปกรณสํานักงาน ยานพาหนะ

จํานวนป 5 - 20 อายุสญ ั ญาเชา 20 5 5 5

คาเสื่อมราคารวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน และไมมีการคิดคาเสื่อมราคาสําหรับสินทรัพยระหวางกอสราง การซอมแซมและบํารุงรักษาจะรับรูในงบกําไรขาดทุนระหวางปบัญชีที่เกิดรายการขึ้น ตนทุนของการปรับปรุงใหดีขึ้นที่ สําคัญจะบันทึกรวมไวในราคาตามบัญชีของสินทรัพยหากมีความเปนไปไดคอนขางแนวาการปรับปรุงนั้นจะทําใหบริษัท ไดประโยชนกลับคืนมามากกวาการใชประโยชนโดยไมมีการปรับปรุงสินทรัพยที่ไดมา การปรับปรุงหลักจะตัดคาเสื่อม ราคาตลอดอายุการใชประโยชนที่เหลืออยูของสินทรัพยที่เกี่ยวของ รายการกําไรและรายการขาดทุนจากการจําหนายกําหนดโดยเปรียบเทียบสิ่งตอบแทนที่ไดรับกับราคาตามบัญชีและรวมไว อยูในกําไรจากการดําเนินงาน


การดอยคาของสินทรัพย ยอดสินทรัพยตามบัญชีของบริษัทไดรับการทบทวน ณ ทุกวันที่ในงบดุลวา มีขอบงชี้เรื่องการดอยคาหรือไม ในกรณีที่มี ขอบงชี้จะทําการประมาณมูลคาสินทรัพยที่คาดวาจะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคารับรูเมื่อมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยหรือมูลคาตามบัญชีของหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสด สูง กวามูลคาที่จะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคาบันทึกในงบกําไรขาดทุนเวนแตเมื่อมีการกลับรายการการประเมินมูลคา ของสินทรัพยเพิ่มของสินทรัพยชิ้นเดียวกันที่เคยรับรูในสวนของผูถือหุนและมีการดอยคาในเวลาตอมาในกรณีนี้ใหรับรู ในสวนของผูถือหุน เมื่อมีการลดลงในมูลคายุติธรรมของสินทรัพยทางการเงินเผื่อขาย ซึ่งไดบันทึกในสวนของผูถือหุน และมีความชัดเจนวา สินทรัพยดังกลาวมีการดอยคา ยอดขาดทุนซึ่งเคยบันทึกในสวนของผูถือหุนจะถูกบันทึกในงบกําไรขาดทุนโดยไมตอง ปรับกับสินทรัพยทางการเงินดังกลาว ยอดขาดทุนที่บันทึกในงบกําไรขาดทุนเปนผลตางระหวางราคาทุนที่ซื้อกับมูลคา ยุติธรรมในปจจุบันของสินทรัพยหักขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยทางการเงินนั้น ๆ ซึ่งเคยรับรูแลวในงบกําไร ขาดทุน การคํานวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยหมายถึงราคาขายสุทธิของสินทรัพย หรือมูลคาจากการใชของสินทรัพย แลวแต มูลคาใดจะสูงกวาในการประเมินมูลคาจากการใชของสินทรัพย ประมาณการกระแสเงินสดที่จะไดรับในอนาคตจะคิดลด เปนมูลคาปจจุบันโดยใชอัตราคิดลดกอนคํานึงภาษีเงินไดเพื่อใหสะทอนมูลคาที่อาจประเมินไดในตลาดปจจุบันซึ่งแปร ไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีตอสินทรัพย สําหรับสินทรัพยที่ไมกอใหเกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพยอื่นให พิจารณามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนรวมกับหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดที่สินทรัพยนั้นมีความเกี่ยวของดวย การกลับรายการดอยคา ขาดทุนจากการดอยคาจะถูกกลับรายการ หากมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใชในการคํานวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับ คืน ขาดทุนจากการดอยคาจะถูกกลับรายการเพียงเพื่อใหมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยไมเกินกวามูลคาตามบัญชีภายหลังหัก คาเสื่อมราคาหรือคาตัดจําหนาย เสมือนหนึ่งไมเคยมีการบันทึกขาดทุนจากการดอยคามากอน สัญญาเชาการเงิน สัญญาเชาที่ดิน อาคาร และอุปกรณที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสวนใหญไดโอนไปใหกับผูเชาถือ เปนสัญญาเชาการเงิน สัญญาเชาการเงินจะบันทึกเปนรายจายฝายทุนดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่เชา หรือมูลคา ปจจุบันสุทธิของจํานวนเงินที่ตองจายตามสัญญาเชาแลวแตมูลคาใดจะต่ํากวา โดยจํานวนเงินที่ตองจายจะปนสวนระหวาง หนี้สินและคาใชจายทางการเงินเพื่อใหไดอัตราดอกเบี้ยคงที่ตอหนี้สินคงคางอยูโดยพิจารณาแยกแตละสัญญา ภาระผูกพัน ตามสัญญาเชาหักคาใชจายทางการเงินจะบันทึกเปนหนี้สินระยะยาว สวนดอกเบี้ยจายจะบันทึกในงบกําไรขาดทุนตลอด อายุของสัญญาเชา สินทรัพยที่ไดมาตามสัญญาเชาการเงินจะคิดคาเสื่อมราคาตลอดอายุการใชงานของสินทรัพยที่เชา หรือ อายุของสัญญาเชา แลวแตระยะเวลาใดจะต่ํากวา สัญญาระยะยาวเพื่อเชาสินทรัพยโดยที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสวนใหญตกอยูกับผูใหเชาจะจัด เปนสัญญาเชาดําเนินงาน เงินที่ตองจายภายใตสัญญาเชาดําเนินงาน )สุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ไดรับจากผูใหเชา (จะ บันทึกในงบกําไรขาดทุนโดยใชวิธีเสนตรงตลอดอายุของสัญญาเชานั้น


คาใชจายที่เกิดขึ้นจากการยกเลิกสัญญาเชาดําเนินงานกอนหมดอายุการเชา เชน เบี้ยปรับที่ตองจายใหกับผูใหเชา จะบันทึก เปนคาใชจายในรอบระยะเวลาบัญชีที่การยกเลิกนั้นเกิดขึ้น ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรูในงบดุลก็ตอเมื่อบริษัทมีภาระหนี้สินเกิดขึ้นจากขอพิพาททางกฎหมายหรือภาระผูกพันซึ่งเปน ผลมาจากเหตุการณในอดีต และมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวาประโยชนเชิงเศรษฐกิจจะตองถูกจายไปเพื่อชําระ ภาระหนี้สินดังกลาว โดยจํานวนภาระหนี้สินดังกลาวสามารถประมาณจํานวนเงินไดอยางนาเชื่อถือ ถาผลกระทบดังกลาว มีจํานวนที่เปนสาระสําคัญ ประมาณการกระแสเงินสดที่จะจายในอนาคตจะคิดลดเปนมูลคาปจจุบันโดยใชอัตราคิดลดใน ตลาดปจจุบันกอนคํานึงภาษีเงินได เพื่อใหสะทอนมูลคาที่อาจประเมินไดในตลาดปจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความ เสี่ยงที่มีตอหนี้สิน คดีฟองรอง บริษัทมีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นจากขอพิพาททางการคาและการถูกฟองรองเรียกคาเสียหาย ซึ่งฝายบริหารไดใชดุลยพินิจใน การประเมินผลของขอพิพาทและคดีที่ถูกฟองรองแลวและเชื่อมั่นวาจะไมมีความเสียหายเกิดขึ้นจึงไมไดบันทึกประมาณ การหนี้สินดังกลาว ณ วันที่ในงบดุล อยางไรก็ตามผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกตางไปจากที่ไดมีการประมาณการไว ภาษีเงินได ภาษีเงินไดคํานวณขึ้นจากกําไรสุทธิสําหรับปหลังบวกกลับดวยคาใชจายที่ไมอนุญาตใหถือเปนรายจายในการคํานวณภาษี โดยใชอัตราภาษีที่ประกาศใช ณ วันที่ในงบดุล เงินปนผลจาย เงินปนผลจายและเงินปนผลจายระหวางกาลบันทึกในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่งที่ประชุมผูถือหุนและคณะกรรมการของบริษัทไดอนุมัติการจายเงินปนผล กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานสําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 คํานวณจากกําไรสุทธิสวนของผูถือหุน สามัญ และหุนสามัญที่ออกจําหนายแลวถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักระหวางปในแตละป 4.

รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทมีรายการบัญชีสวนหนึ่งกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ซึ่งกิจการเหลานี้เกี่ยวของกันโดยการถือหุนและ/หรือมี กรรมการรวมกัน รายการระหวางกันที่มีสาระสําคัญที่รวมไวในงบการเงินใชราคาตามปกติธุรกิจ โดยถือตามราคาตลาด ทั่วไป หรือเปนในราคาที่ตกลงกันตามสัญญาหากไมมีราคาตลาดรองรับสําหรับรายการที่ไมมีราคาตลาด


รายการที่สําคัญที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้ (หนวย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 รายไดจากการขาย 4,264,200.00 7,900,000.00 บุคคลที่เกีย่ วของกัน 41,845,064.00 24,664,072.00 รายไดจากการโอนเปลี่ยนสิทธิ์ บุคคลที่เกีย่ วของกัน 180,000.00 รายไดจากการริบเงินมัดจํา บุคคลที่เกีย่ วของกัน 179,986.00 ดอกเบี้ยรับ 2,338,183.15 2,347,712.90 บริษัท พี.บี.เอ็สเตท จํากัด 5,547,674.68 บริษัท เฮาสซงิ่ คอมเพล็กซ จํากัด 4,332,349.88 1,014,828.79 บริษัท รวยลานลาน จํากัด 5,392.01 3,890.05 บริษัท แอล.เอสเตท จํากัด 67,308.26 183,502.97 67,308.26 183,502.97 บริษัท พี.ลิสซิง่ จํากัด หนี้สญู รับคืน 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 บริษัท พี.ลิสซิง่ จํากัด 3,000,000.00 คาเชาจาย 5,934,720.00 3,799,680.00 3,799,680.00 บริษัท พี.ลิสซิง่ จํากัด 5,934,720.00 คารับรอง 537,066.92 141,508.94 276,999.38 บริษัท พี แอนด บี รัชดา โฮเต็ล จํากัด 212,038.36 ดอกเบี้ยจาย 7,110,868.39 3,007,681.33 บริษัท เฮาสซงิ่ คอมเพล็กซ จํากัด 3,077,889.16 9,730,187.68 บุคคลที่เกีย่ วของกัน 3,077,889.16 11,946,340.71 กลับรายการคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (เงินใหกยู ืม) (5,047,142.40) บริษัท เฮาสซงิ่ คอมเพล็กซ จํากัด หนี้สงสัยจะสูญ (เงินใหกยู ืม) 28,394.01 74,801.95 บริษัท แอล.เอสเตท จํากัด บริษัท พี.บี.เอ็สเตท จํากัด 3,201,899.72 2,405,508.43 กลับรายการขาดทุนจากการดอยคาเงินลงทุน 58,309.75 38,498.74 บริษัท จี.เอช.ไอ.เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด บริษัท เฮาสซงิ่ คอมเพล็กซ จํากัด 74,438,055.01


ยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ที่มีสาระสําคัญคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้ (หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

งบการเงินรวม 2553 ลูกหนี้การคา บุคคลที่เกีย่ วของกัน เงินประกันการเชา บริษัท พี.ลิสซิง่ จํากัด เงินมัดจําอาคาร (ดูหมายเหตุ 9) บริษัท พี.ลิสซิง่ จํากัด คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ บริษัท พี.ลิสซิง่ จํากัด สินทรัพยหมุนเวียนอื่น บุคคลที่เกีย่ วของกัน สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น บริษัท มัลคอม จํากัด คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ บริษัท มัลคอม จํากัด คาใชจายคางจาย บริษัท พี แอนด บี รัชดา โฮเต็ล จํากัด บริษัท ทีเอสเอ แอนด พี จํากัด บริษัท พี.ลิสซิง่ จํากัด หนี้สนิ หมุนเวียนอื่น บริษัท พี.บี.เอ็สเตท จํากัด บุคคลที่เกีย่ วของกัน

863,137.00

2552 -

-

-

1,339,680.00

1,339,680.00

805,920.00

805,920.00

350,916.00

3,350,916.00

350,916.00

3,350,916.00

(350,916.00)

(3,350,916.00)

(350,916.00)

(3,350,916.00)

112,450.00

112,450.00

-

-

1,993.72

1,993.72

-

-

(1,993.72)

(1,993.72)

-

-

659.12 243,000.00 133,416.00

14,792.46 243,000.00 -

659.12 243,000.00 133,416.00

353.10 243,000.00 -

916,989.00

6,913,146.00

22,000.00 -

22,000.00 260,000.00

เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2550 บริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัด ไดมีการเปดใหจองคอนโดมิเนียม พีจี พระราม 9 อาคารบี โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีการจองซื้อและทําสัญญาจะซื้อจะขายกับบุคคลที่เกี่ยวของกัน จํานวน 1 ราย มีมูลคาการ ซื้อขายและเงื่อนไขการกําหนดราคาซื้อขายดังนี้ ลานบาท มูลคาตามสัญญา 3.30

เงินรับลวงหนา 0.32

เงื่อนไขการกําหนดราคา ราคาและเงื่อนไขเชนเดียวกับลูกคาทั่วไป


เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2552 บริษัท รวยลานลาน จํากัด ไดมีการเปดใหจองคอนโดมิเนียม พีจี 2 พระราม 9 เดอะคอนโด เรสซิเดนท โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีการจองซื้อและทําสัญญาจะซื้อจะขายกับบุคคลที่เกี่ยวของกัน จํานวน 3 ราย มี มูลคาการซื้อขายและเงื่อนไขการกําหนดราคาซื้อขายดังนี้ ลานบาท มูลคาตามสัญญา 9.96

เงินรับลวงหนา 0.59

เงื่อนไขการกําหนดราคา ราคาและเงื่อนไขเชนเดียวกับลูกคาทั่วไป

ในระหวางป 2553 บุคคลที่เกี่ยวของกันไดรับโอนสิทธิการจองซื้อหองชุดคอนโดมิเนียมจากบุคคลภายนอกเนื่องจาก บุคคลดังกลาวไมสามารถทําสัญญาซื้อ - ขายกับบริษัทยอยสําหรับคอนโดมิเนียม พีจี พระราม 9 อาคาร บี จํานวน 9 หอง ชุด ปจจุบันบุคคลที่เกี่ยวของกันไดทําสัญญาซื้อขายตามราคาเปดจองครั้งแรกกับบริษัทยอย มูลคาตามสัญญาซื้อขาย จํานวนเงิน 15.52 ลานบาท เงินใหกูยืมและดอกเบี้ยคางรับกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมและดอกเบี้ยคางรับกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบดวย (หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

งบการเงินรวม 2553 บริษัท พี.บี.เอ็สเตท จํากัด เงินตน ดอกเบี้ยคางรับ บริษัท เฮาสซงิ่ คอมเพล็กซ จํากัด ดอกเบี้ยคางรับ บริษัท แอล.เอสเตท จํากัด เงินตน ดอกเบี้ยคางรับ บริษัท รวยลานลาน จํากัด เงินตน ดอกเบี้ยคางรับ บริษัท พี.ลิสซิง่ จํากัด ดอกเบี้ยคางรับ รวม หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ เงินใหกยู ืมและดอกเบี้ยคางรับ - สุทธิ

2552 -

-

-

-

-

-

89,961.55 13,234.41

66,959.55 7,842.40

-

-

103,047,029.61 6,028,202.79

22,047,029.61 1,695,852.91

1,878,626.29 1,878,626.29 1,878,626.29

1,811,318.03 1,811,318.03 1,811,318.03

33,689,405.09 36,524,793.01 -

33,689,405.09 34,186,609.86 74,249,494.67

1,878,626.29 1,811,318.03 181,271,252.75 167,754,512.12 (62,905,705.26) (59,675,411.53) 118,365,547.49 108,079,100.59


สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญมีรายการเคลื่อนไหวดังนี้ (ดูหมายเหตุ 11) (หนวย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 62,242,243.55 ยอดยกมา 59,675,411.53 บวก หนี้สงสัยจะสูญ 3,230,293.73 หัก กลับรายการหนี้สงสัยจะสูญ (2,566,832.02) ยอดคงเหลือ 62,905,705.26 59,675,411.53 การเพิ่มขึ้นและลดลงของเงินใหกูยืมและดอกเบี้ยคางรับกิจการที่เกี่ยวของกัน (กอนหักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ) สําหรับแต ละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้ งบการเงินรวม ยอดยกมา เพิ่มขึ้น ลดลง ยอดคงเหลือ

2553 1,811,318.03 67,308.26 1,878,626.29

2552 1,627,815.06 183,502.97 1,811,318.03

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 167,754,512.12 381,335,594.59 92,193,085.65 80,916,388.07 (78,676,345.02) (294,497,470.54) 181,271,252.75 167,754,512.12

บริษัทมีเงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน โดยออกตั๋วสัญญาใชเงินชนิดจายคื นทวงถาม ผลตอบแทนอางอิ งอัตรา ดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชยสําหรับลูกคารายใหญชั้นดีประเภทเงินกูแบบมีระยะเวลา (Minimum Loan Rate: MLR) ตอป และไมมีหลักประกันเงินกูยืม เงินกูยืมระยะสั้นจากบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน เงิ น กู ยื ม ระยะสั้ น จากบุ ค คลหรื อ กิ จ การที่ เ กี่ ย วข อ งกั น รวมดอกเบี้ ย ค า งจ า ย ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2553 และ 2552 ประกอบดวย (หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

งบการเงินรวม 2553 บริษัท เฮาสซงิ่ คอมเพล็กซ จํากัด เงินตน ดอกเบี้ยคางจาย บุคคลที่เกีย่ วของกัน เงินตน ดอกเบี้ยคางจาย รวม

2552 -

42,875,587.07 42,875,587.07

59,480,495.00 3,426,263.18

83,711,018.46 3,008,274.85

62,906,758.18

37,875,587.07 124,594,880.38


การเพิ่มขึ้นและลดลงของเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกันรวมดอกเบี้ยคางจายของบริษัทสําหรับแตละปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้ (หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 ยอดยกมา 86,719,293.31 400,594.52 เพิ่มขึ้น 124,760,868.39 149,359,398.79 ลดลง (148,573,403.52) (63,040,700.00) ยอดคงเหลือ 62,906,758.18 86,719,293.31 การเพิ่มขึ้นและลดลงของเงินกูยืมระยะสั้นจากบุคคลที่เกี่ยวของกันรวมดอกเบี้ยคางจายของบริษัทสําหรับแตละปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้ (หนวย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 ยอดยกมา 42,875,587.07 38,798,666.99 37,875,587.07 29,976,789.04 เพิ่มขึ้น 3,077,889.16 171,899,917.06 3,077,889.16 99,776,149.07 ลดลง (45,953,476.23) (167,822,996.98) (40,953,476.23) (91,877,351.04) ยอดคงเหลือ 42,875,587.07 37,875,587.07 บริษัท บริษัทมีเงินกูยืมจากบริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัด โดยออกตั๋วสัญญาใชเงินชนิดจายคืนทวงถาม โดยจายผลตอบแทน ในรูปของดอกเบี้ย ผลตอบแทนอางอิงอัตราดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชยสําหรับลูกคารายใหญชั้นดีประเภทเงินกูแบบมี ระยะเวลา (Minimum Loan Rate: MLR) ตอป และไมมีหลักประกันเงินกูยืม ในเดือนกันยายน 2553 บริษัทและบริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัด ไดมีการหักกลบลบหนี้ดอกเบี้ยคางรับ จํานวนเงิน 74.25 ลานบาท กับเงินกูยืมระยะสั้น จํานวนเงิน 73.51 ลานบาท และภาษีเงินไดหัก ณ ที่จาย จํานวนเงิน 0.74 ลานบาท ในเดือนกันยายน 2553 บริษัทมีการจายชําระเงินกูยืมและดอกเบี้ยคางจายของบริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัด จํานวนเงิน 75.07 ลานบาท โดยการหักกลบลบหนี้กับเงินปนผลของบริษัทยอยดังกลาว จํานวนเงิน 75 ลานบาท และภาษีเงินไดหัก ณ ที่จาย จํานวนเงิน 0.07 ลานบาท (ดูหมายเหตุ 20) บริษัทมีเงินกูยืมจากบุคคลที่เกี่ยวของกัน จํานวนเงิน 7.20 ลานบาท โดยทําสัญญาเงินกูยืม จํานวนเงิน 4 ลานบาท อัตรา ดอกเบี้ยรอยละ 12 ตอป ตอมาไดขยายระยะเวลาการชําระคืนครั้งลาสุดภายในวันที่ 1 กรกฎาคม 2552 และออกตั๋วสัญญา ใชเงินอายุ 2 เดือน จํานวนเงิน 3.20 ลานบาท อัตราดอกเบี้ยรอยละ 12 ตอป ตอมาไดตออายุตั๋วสัญญาใชเงินครั้งลาสุด ครบ กําหนดชําระคืนภายในวันที่ 31 สิงหาคม 2552 โดยไมมีหลักประกันเงินกูยืม ปจจุบันบริษัทชําระคืนเต็มจํานวนแลว บริษัทไดทําสัญญาเงินกูยืมจากบุคคลที่เกี่ยวของกัน จํานวนเงิน 90 ลานบาท อัตราดอกเบี้ยรอยละ 12 ตอป สําหรับเงินตน จํานวนเงิน 30 ลานบาท บริษัทไดจายชําระคืนเต็มจํานวนแลว และสําหรับเงินตน จํานวนเงิน 60 ลานบาท บริษัทไดทยอย


บริษัทมีเงินกูยืมจากบุคคลที่เกี่ยวของกัน จํานวนเงิน 8.10 ลานบาท โดยการออกตั๋วสัญญาใชเงินอายุ 2 และ 5 เดือน อัต ราดอกเบี้ย รอ ยละ 12 ตอ ป ตอ มาบริษัท ไดข ยายระยะเวลาการชํา ระคืน ครั้ง ลา สุด ภายในเดือ นกรกฎาคม 2552 สําหรับเงินตน จํานวนเงิน 4 ลานบาท และครบกําหนดชําระคืนภายในเดือนสิงหาคม 2552 สําหรับเงินตน จํานวนเงิน 4.10 ลานบาท และไมมีหลักประกันเงินกูยืม ปจจุบันบริษัทชําระคืนเต็มจํานวนแลว บริษัทยอย บริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัด มีเงินกูยืมจากกรรมการบริษัท จํานวนเงิน 5 ลานบาท โดยไมมีการทําสัญญาเงินกูยืม ไม มีการคิดดอกเบี้ยระหวางกัน และไมมีหลักประกันเงินกูยืม ปจจุบันบริษัทยอยชําระคืนเต็มจํานวนแลว คาตอบแทนกรรมการ คาตอบแทนกรรมการนี้เปนประโยชนที่จายใหแกกรรมการของบริษัทตามมาตรา 90 ของพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จํากัด โดยไมรวมเงินเดือนและผลประโยชนที่เกี่ยวของที่จายใหกับกรรมการซึ่งดํารงตําแหนงเปนผูบริหารของบริษัทดวย คาตอบแทนกรรมการ สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 จํานวนเงิน 4.44 ลานบาท และ 4.44 ลาน บาท ตามลําดับ สัญญาเชาพื้นที่และอาคาร เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2549 บริษัทและบริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัด ไดเปลี่ยนแปลงสัญญาเชาพื้นที่อาคารกับบริษัท พี. ลิสซิ่ง จํากัด ลงวันที่ 1 กุมภาพันธ 2538 หลังจากที่ไดบรรลุขอตกลงเกี่ยวกับเงินมัดจําอาคาร (ดูหมายเหตุ 9) โดยมีเงิน ประกันการเชา จํานวนเงิน 805,920 บาท และ 533,760 บาท ตามลําดับ อัตราคาเชาเดือนละ 316,640 บาท และ 177,920 บาท ตามลําดับ กําหนดระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2550 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ตอมาเมื่อวันที่ 1มกราคม 2553 บริษัทและบริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัด สามารถตออายุสัญญาเชาไดอีก 3 ป


ลักษณะความสัมพันธของบริษัท ชื่อบริษัท บริษัท พี.บี.เอ็สเตท จํากัด บริษัท เฮาสซงิ่ คอมเพล็กซ จํากัด บริษัท จี.เอช.ไอ.เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด บริษัท แอล.เอสเตท จํากัด บริษัท รวยลานลาน จํากัด บริษัท พี.ลิสซิง่ จํากัด บริษัท พี แอนด บี รัชดา โฮเต็ล จํากัด

บริษัท ทีเอสเอ แอนด พี จํากัด บริษัท มัลคอม จํากัด

ประเทศ ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

ความสัมพันธ บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทที่เกีย่ วของกัน บริษัทที่เกีย่ วของกัน บริษัทที่เกีย่ วของกัน บริษัทที่เกีย่ วของกัน

ลักษณะความสัมพันธ ผูถือหุนทางตรง ผูถือหุนทางตรง ผูถือหุนทางตรง ผูถือหุนทางตรง ผูถือหุนทางตรง ผูบริหารและ/หรือผูถือหุนเปนบุคคลในครอบครัวเดียวกัน ผูบริหารและ/หรือผูถือหุนเปนบุคคลในครอบครัวเดียวกัน ผูบริหารและ/หรือผูถือหุนเปนบุคคลในครอบครัวเดียวกัน ผูบริหารและ/หรือผูถือหุนเปนบุคคลในครอบครัวเดียวกัน

หลักเกณฑในการคิดรายไดและคาใชจายระหวางกัน นโยบายการกําหนดราคา ดอกเบี้ยรับ - ดอกเบี้ยจาย คาเชา คารับรอง

5.

อางอิงอัตราดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชย ราคาตลาด เทียบเคียงกับอัตราคาเชาของพื้นที่ใกลเคียง ราคาตลาด เทียบเคียงกับราคาขายกับบุคคลภายนอก

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบดวย

งบการเงินรวม เงินสด เงินฝากธนาคารกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารออมทรัพย เงินฝากธนาคารประจํา รวม

2553 1,420,391.38 101,859,454.95 4,988,009.66 1,609,531.12 109,877,387.11

2552 8,641,021.25 60,781,598.54 2,731,962.95 1,596,703.93 73,751,286.67

(หนวย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 607,029.01 6,572,738.00 93,401,593.07 25,560,616.12 1,185,966.00 636,098.25 33,610.93 33,363.20 95,228,199.01 32,802,815.57

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดทั้งหมดของกลุมบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 เปนสกุลเงินบาท


6.

เงินลงทุนชั่วคราว – สุทธิ เงินลงทุนชั่วคราว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบดวย (หนวย: บาท) ราคาทุน

ตราสารทุน หลักทรัพยจดทะเบียน เงินลงทุนอื่น รวม

2553 1,469,000.00 3,000,000.00 4,469,000.00

2552 1,969,000.00 3,000,000.00 4,969,000.00

งบการเงินรวม มูลคายุติธรรม 2553 2552 27,750.00 252,123.00 27,750.00 252,123.00

ขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง 2553 2552 (1,441,250.00) (1,716,877.00) (3,000,000.00) (3,000,000.00) (4,441,250.00) (4,716,877.00) (หนวย: บาท)

ราคาทุน ตราสารทุน หลักทรัพยจดทะเบียน เงินลงทุนอื่น รวม

2553 1,469,000.00 3,000,000.00 4,469,000.00

2552 1,469,000.00 3,000,000.00 4,469,000.00

งบการเงินเฉพาะกิจการ มูลคายุติธรรม 2553 2552 27,750.00 21,400.00 27,750.00 21,400.00

ขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง 2553 2552 (1,441,250.00) (1,447,600.00) (3,000,000.00) (3,000,000.00) (4,441,250.00) (4,447,600.00)

สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงมูลคายุติธรรมมี รายการเคลื่อนไหว ดังนี้

ยอดยกมา หัก ผลกําไรที่รับรูจากการจําหนายเงินลงทุนในสวนของเจาของ หัก การเปลี่ยนแปลงระหวางปจากการตีราคาหลักทรัพย ยอดคงเหลือ

งบการเงินรวม 2553 2552 4,716,877.00 4,812,752.00 (269,277.00) (6,350.00) (95,875.00) 4,441,250.00 4,716,877.00

(หนวย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 4,447,600.00 4,460,400.00 (6,350.00) (12,800.00) 4,441,250.00 4,447,600.00


7.

ลูกหนี้การคา – สุทธิ ลูกหนี้การคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบดวย

งบการเงินรวม 2552 81,000.00 (81,000.00) -

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 700,000.00 (700,000.00) -

ลูกหนี้การคา - ทั่วไป หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การคา - ทั่วไป - สุทธิ

2553 781,000.00 (781,000.00) -

ลูกหนี้การคา - บุคคลที่เกีย่ วของกัน

868,137.00

-

-

-

ลูกหนี้การคา - สุทธิ

868,137.00

-

-

-

สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญมีรายการเคลื่อนไหวดังนี้

งบการเงินรวม ยอดยกมา บวก หนี้สงสัยจะสูญ ยอดคงเหลือ

2553 81,000.00 700,000.00 781,000.00

2552 81,000.00 81,000.00

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 700,000.00 700,000.00 -


8.

ตนทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย – สุทธิ (หนวย: บาท) งบการเงินรวม คอนโดมีเนียม หมูบานปรีชา ไพรเวทบีช

หมูบานปรีชา

หมูบาน ปรีชา

หมูบาน ปรีชา

หมูบาน ปรีชา

คอนโดมีเนียม พีจี พระราม 9

คอนโดมีเนียม พีจี พระราม 9

พีจี 2 พระราม 9 เดอะคอนโด

หมูบานปรีชา

ระยอง

รมเกลา 1

รมเกลา 2

ราม 1

ราม 2

สุวินทวงศ

อาคารเอ

อาคารบี

เรสซิเดนท

23,937,300.32 434,418.44

113,586,800.24 17,167,026.71

116,317,764.42 71,557,783.69

65,309,440.00 13,579,899.60

90,020,661.56 873,862.72

29,586,397.67 810,036.99

95,676,040.54 660,017.70

(178,100.25)

(27,362,008.17)

(99,999,392.93)

(78,889,339.60)

(34,274,731.12)

(16,094,798.87)

(79,858,429.01)

103,391,818.78

87,876,155.18

-

56,619,793.16

14,301,635.79

16,477,629.23

-

(271,099.77) -

รวม

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 เพิ่มขึ้น จําหนาย

82,595,923.38 -

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คาเผื่อการลดมูลคาของโครงการ

82,595,923.38

24,193,618.51

ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 เพิ่มขึ้น

(37,227,215.63) (655,788.00)

(3,748,651.40) -

จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มูลคาตามบัญชีสุทธิ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553

(37,883,003.63) 45,368,707.75

(3,748,651.40) 20,188,648.92

113,586,800.24

116,317,764.42

มูลคาตามบัญชีสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

44,712,919.75

20,444,967.11

103,391,818.78

87,876,155.18

-

-

65,309,440.00 -

-

-

113,950,537.69 33,498,478.30 147,449,015.99 -

730,980,865.82 138,581,524.15 (336,656,799.95) 532,905,590.02 (41,246,966.80) (655,788.00)

232,474.72 (38,625.05) 89,749,561.79

29,586,397.67

95,676,040.54

113,950,537.69

232,474.72 (41,670,280.08) 689,733,899.02

56,581,168.11

14,301,635.79

16,477,629.23

147,449,015.99

491,235,309.94


(หนวย: บาท) หมูบานปรีชา ไพรเวทบีช ระยอง

หมูบานปรีชา รมเกลา 1

หมูบานปรีชา รมเกลา 2

งบการเงินเฉพาะกิจการ หมูบานปรีชา หมูบานปรีชา ราม 1 ราม 2

คอนโดมีเนียม พีจี พระราม 9 อาคาร เอ

รวม

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 เพิ่มขึ้น จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คาเผื่อการลดมูลคาของโครงการ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 เพิ่มขึ้น จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มูลคาตามบัญชีสทุ ธิ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553

82,595,923.38 82,595,923.38

22,977,998.81 434,418.44 (178,100.25) 23,234,317.00

113,586,800.24 17,167,026.71 (27,362,008.17) 103,391,818.78

116,317,764.42 71,557,783.69 (99,999,392.93) 87,876,155.18

65,309,440.00 13,579,899.60 (78,889,339.60) -

29,586,397.67 810,036.99 (16,094,798.87) 14,301,635.79

430,374,324.52 103,549,165.43 (222,523,639.82) 311,399,850.13

(37,227,215.63) (655,788.00) (37,883,003.63) 45,368,707.75

(3,748,651.40) (3,748,651.40) 19,229,347.41

113,586,800.24

116,317,764.42

65,309,440.00

29,586,397.67

(40,975,867.03) (655,788.00) (41,631,655.03) 389,398,457.49

มูลคาตามบัญชีสทุ ธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

44,712,919.75

19,485,665.60

103,391,818.78

87,876,155.18

14,301,635.79

269,768,195.10

-


ในระหวางป 2552 บริษัทไดรวมดอกเบี้ยเงินกูยืม เปนสวนหนึ่งของตนทุนการพัฒนาโครงการ จํานวนเงิน 8.60 ลานบาท ในงบการเงินรวม และจํานวนเงิน 5.28 ลานบาท ในงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัทและบริษัท รวยลานลาน จํากัด ไดจดจํานองที่ดินของโครงการบางสวน พรอมสิ่งปลูกสรางที่มีอยูแลวและที่จะมีขึ้น ตอไปในภายหนาของโครงการดังกลาว เพื่อใชเปนหลักประกันเงินกูยืมจากสถาบันการเงิน (ดูหมายเหตุ 19) เงินกูยืมจาก บริษัทอื่น (ดูหมายเหตุ 17) และบริษัทไดเคยมอบโฉนดที่ดินของโครงการบางสวนเพื่อใชเปนหลักประกันเงินกูยืมจาก บุคคลที่เกี่ยวของกัน (ดูหมายเหตุ 4) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 กลุมบริษัทมีมูลคาการซื้อขายที่ทําสัญญาจะซื้อจะขายแลวบางโครงการ ดังนี้ (หนวย: บาท)

โครงการ บริษัท คอนโดมิเนียม พีจี พระราม 9 อาคาร เอ บริษัทยอย คอนโดมิเนียม พีจี พระราม 9 อาคาร บี คอนโดมิเนียม พีจี 2 พระราม 9 เดอะคอนโด เรสซิเดนท รวม

9.

มูลคาการซือ้ ขายที่มีการทําสัญญาจะซือ้ จะขายแลว อัตราสวนรอยละ จํานวนเงิน ตอยอดขายรวม

ยอดขายรวมของ โครงการ

189,415,344.00

86.40

219,222,079.00

820,799,656.00

97.08

845,529,966.00

328,854,000.00 1,339,069,000.00

76.74 89.67

428,526,000.00 1,493,278,045.00

ลูกหนี้อื่น - สุทธิ ลูกหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบดวย

ลูกหนี้อื่น หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้อื่น - สุทธิ

(หนวย: บาท) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 350,916.00 3,350,916.00 (3,350,916.00) (350,916.00) -


สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญมีรายการเคลื่อนไหว ดังนี้

ยอดยกมา หัก กลับรายการหนี้สงสัยจะสูญ ยอดคงเหลือ

(หนวย: บาท) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 3,350,916.00 6,350,916.00 (3,000,000.00) (3,000,000.00) 350,916.00 3,350,916.00

บริษัทไดยกเลิกสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพรอมสิ่งปลูกสราง ฉบับลงวันที่ 2 สิงหาคม 2539 ซึ่งบริษัทไดจายชําระเงินมัดจํา เชาซื้อสินทรัพยบางสวน จํานวนเงิน 85.56 ลานบาท และไดบันทึกคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเต็มมูลคาแลว ตอมาบริษัทและ บริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัด ไดเจรจาตกลงกับบริษัท พี.ลิสซิ่ง จํากัด และไดทําบันทึกขอตกลงตอทายสัญญาเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2549 ใหหักกลบลบหนี้คาความเสียหายที่เกิดขึ้นระหวาง บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน) และบริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัด กับ บริษัท พี.ลิสซิ่ง จํากัด โดยไดมีการประเมินความเสียหายที่เกิดขึ้นกันทั้งสองฝาย อันเนื่องมาจากการ ยกเลิกสัญญาจะซื้อจะขายและอยูบนเงื่อนไขการคาปกติ โดยคาเสียหายที่บริษัทควรจะจาย จํานวนเงิน 171,320,055 บาท หักกับคาเสียหายที่บริษัทควรจะไดรับ จํานวนเงิน 186,670,971 บาท คงเหลือสุทธิที่บริษัทจะไดรับคืนเปนเงิน 15,350,916 บาท บริษัทไดกลับรายการคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเงินมัดจําอาคาร โดยแสดงสุทธิจากผลเสียหาย ไวในงบกําไรขาดทุน โดย บริษัทจะหักกลบหนี้สินกับคาเชาพื้นที่อาคารบางสวน (ดูหมายเหตุ 4) ซึ่งบริษัทไดอางอิงดอกเบี้ยสําหรับลูกคารายใหญ ชั้นดีประเภทเงินกูแบบมีระยะเวลา (Minimum Loan Rate: MLR) ตอป สําหรับยอดหนี้คงเหลือ 10.

เงินฝากสถาบันการเงินติดภาระหลักประกัน เงินฝากสถาบันการเงินติดภาระหลักประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบดวย

เพื่อเปนหลักประกัน ธนาคารออกหนังสือค้ําประกัน (ดูหมายเหตุ 27)

งบการเงินรวม 2553 2552 2,657,218.06 3,495,710.68

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 1,837,218.06 1,824,335.68


11.

เงินลงทุนในบริษัทยอย – สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทยอยแสดงในราคาตามวิธีราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบดวย ทุนชําระแลว บริษัท พี.บี.เอ็สเตท จํากัด บริษัท จี.เอช.ไอ.เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด บริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัด บริษัท แอล.เอสเตท จํากัด บริษัท รวยลานลาน จํากัด รวม

2553 2,000,000.00 5,000,000.00 100,000,000.00 5,000,000.00 20,000,000.00 132,000,000.00

2552 2,000,000.00 5,000,000.00 100,000,000.00 5,000,000.00 20,000,000.00 132,000,000.00

สัดสวนเงินลงทุน (รอยละ) 2553 2552 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100

วิธีราคาทุน 2553 2,000,000.00 5,000,000.00 100,000,000.00 5,000,000.00 48,398,548.00 160,398,548.00

2552 2,000,000.00 5,000,000.00 100,000,000.00 5,000,000.00 48,398,548.00 160,398,548.00

คาเผื่อการดอยคา 2553 (2,000,000.00) (4,903,191.51) (5,000,000.00) (925,115.81) (12,828,307.32)

2552 (2,000,000.00) (4,961,501.26) (5,000,000.00) (925,115.81) (12,886,617.07)

สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 คาเผื่อการดอยคามีรายการเคลื่อนไหว ดังนี้

ยอดยกมา หัก กลับรายการขาดทุนจากการดอยคา ยอดคงเหลือ

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 12,886,617.07 87,363,170.82 (58,309.75) (74,476,553.75) 12,828,307.32 12,886,617.07

(หนวย: บาท) มูลคาตามบัญชีสุทธิ 2553 2552 96,808.49 38,498.74 100,000,000.00 100,000,000.00 47,473,432.19 47,473,432.19 147,570,240.68 147,511,930.93


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ผลขาดทุนสะสมจากบริษัท พี.บี.เอ็สเตท จํากัดและบริษัท แอล.เอสเตท จํากัด มี จํานวนมากกวามูลคาเงินลงทุนจํานวนเงิน 62.91 ลานบาท และ 59.68 ลานบาท ตามลําดับ ซึ่งบริษัทไดบันทึกผลตาง ดังกลาวของเงินลงทุนในบริษัทยอยดังกลาวสุทธิจาก “เงินใหกูยืมและดอกเบี้ยคางรับบริษัทยอย” ในงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ตามลําดับ (ดูหมายเหตุ 4) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มูลคาสุทธิตามบัญชีของบริษัท รวยลานลาน จํากัด มีมูลคาต่ํากวาราคาทุนที่บริษัทได ลงทุนไว อยางไรก็ตาม ผูบริหารของบริษัทเชื่อมั่นวามูลคาเงินลงทุนในบริษัทยอยดังกลาวจะไมลดลงเปนการถาวร เนื่องจากอยูในชวงเริ่มตนของการประกอบกิจการคอนโดมิเนียม ดังนั้น บริษัทจึงมิไดบันทึกคาเผื่อการดอยคาเงินลงทุน ดังกลาวไวในบัญชี บริษัทไดเคยจํานําใบหุนทั้งหมดของบริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัด เพื่อใชเปนหลักประกันเงินกูยืมจากสถาบันการเงิน ของบริษัท (ดูหมายเหตุ 19) 12.

ที่ดินรอการพัฒนา – สุทธิ ที่ดินรอการพัฒนา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบดวย (หนวย : บาท) ที่ดินรอการพัฒนา งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 เพิ่มขึ้น จําหนาย/โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เพิ่มขึ้น จําหนาย/โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คาเผื่อการลดมูลคาของโครงการ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 เพิ่มขึ้น จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เพิ่มขึ้น จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มูลคาตามบัญชีสท ุ ธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มูลคาตามบัญชีสท ุ ธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

95,901,033.15 4,540,698.49 100,441,731.64 100,441,731.64

94,063,163.15 94,063,163.15 94,063,163.15

(27,356,340.00) (1,360,000.00) (28,716,340.00) (28,716,340.00) 71,725,391.64 71,725,391.64

(26,878,470.00) (26,878,470.00) (26,878,470.00) 67,184,693.15 67,184,693.15

บริษัทไดจดจํานองที่ดินรอการพัฒนาบางสวน เพื่อใชเปนหลักประกันเงินกูยืมจากสถาบันการเงิน (ดูหมายเหตุ 19) และ เงินกูยืมจากบริษัทอื่น (ดูหมายเหตุ 17)


13.

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบดวย (หนวย: บาท) งบการเงินรวม สวนปรับปรุง อาคารเชา

ที่ดิน ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ซือ้ จําหนาย โอน/ปรับปรุง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ซือ้ จําหนาย โอน/ปรับปรุง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คาเสือ่ มราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 คาเสือ่ มราคา จําหนาย โอน/ปรับปรุง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คาเสือ่ มราคา จําหนาย โอน/ปรับปรุง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

26,080,500.19 26,080,500.19 26,080,500.19 -

อาคาร

ระบบสาธารณูปโภค

เครื่องตกแตงและ อุปกรณสํานักงาน

ยานพาหนะ

รวม

30,942,762.24 332,260.14 (24,762,392.52) 7,223,288.65 13,735,918.51 12,135.57 13,748,054.08

13,032,666.48 244,510.00 (13,032,666.48) 191,257,001.36 191,501,511.36 191,501,511.36

62,100,459.16 (62,100,459.16) -

20,023,844.39 1,662,625.73 (8,930,467.77) 12,756,002.35 518,988.69 (68,325.95) 13,206,665.09

13,819,398.70 12,900.00 (20,522.50) 13,811,776.20 13,811,776.20

139,919,130.97 2,252,295.87 (108,846,508.43) 224,560,790.20 257,885,708.61 531,124.26 (68,325.95) 258,348,506.92

29,826,731.69 371,811.26 (24,604,147.30) 5,594,395.65 1,019,341.33 6,613,736.98

9,845,793.00 4,945,131.91 (10,225,912.46) 4,565,012.45 9,044,482.42 13,609,494.87

62,098,883.52 1,505.75 (62,100,389.27) -

17,862,168.44 994,261.59 (8,837,167.10) 10,019,262.93 1,045,827.66 (63,525.21) 4,615.98 11,006,181.36

12,381,228.44 871,779.35 (20,354.24) 13,232,653.55 328,777.93 13,561,431.48

132,014,805.09 7,184,489.86 (105,787,970.37) 33,411,324.58 11,438,429.34 (63,525.21) 4,615.98 44,790,844.69


(หนวย: บาท) งบการเงินรวม ที่ดิน

สวนปรับปรุง อาคารเชา

อาคาร

ระบบสาธารณูปโภค

เครื่องตกแตงและ อุปกรณสํานักงาน

ยานพาหนะ

รวม

ราคาตามบัญชี ภายใตกรรมสิทธิ์ของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

26,080,500.19

8,141,522.86

186,936,498.91

-

2,736,739.42

579,122.65

224,474,384.03

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

26,080,500.19

7,134,317.10

177,892,016.49

-

2,200,483.73

250,344.72

213,557,662.23


(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สวนปรับปรุง อาคารเชา

ที่ดิน ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ซือ้ จําหนาย โอน/ปรับปรุง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ซือ้ จําหนาย โอน/ปรับปรุง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คาเสือ่ มราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 คาเสือ่ มราคา จําหนาย โอน/ปรับปรุง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คาเสือ่ มราคา จําหนาย โอน/ปรับปรุง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

26,080,500.19 26,080,500.19 26,080,500.19 -

อาคาร

ระบบสาธารณูปโภค

เครื่องตกแตงและ อุปกรณสํานักงาน

ยานพาหนะ

รวม

26,904,312.89 35,775.00 (24,212,392.52) 2,727,695.37 9,099.28 2,736,794.65

13,032,666.48 244,510.00 (13,032,666.48) 191,257,001.36 191,501,511.36 191,501,511.36

18,342,843.70 (18,342,843.70) -

17,181,439.08 1,183,942.66 (7,786,590.84) 10,578,790.90 453,330.74 (20,340.95) 11,011,780.69

9,422,678.61 9,422,678.61 9,422,678.61

84,883,940.76 1,464,227.66 (63,374,493.54) 217,337,501.55 240,311,176.43 462,430.02 (20,340.95) 240,753,265.50

26,152,188.47 149,116.52 (24,212,366.52) 2,088,938.47 148,466.29 2,237,404.76

9,845,793.00 4,945,131.91 (10,225,912.46) 4,565,012.45 9,044,482.42 13,609,494.87

18,341,302.06 1,505.75 (18,342,807.81) -

15,706,688.71 647,458.72 (7,772,599.22) 8,581,548.21 687,175.90 (19,315.74) 9,249,408.37

8,531,784.96 345,662.45 8,877,447.41 319,800.00 9,197,247.41

78,577,757.20 6,088,875.35 (60,553,686.01) 24,112,946.54 10,199,924.61 (19,315.74) 34,293,555.41


(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ที่ดิน

สวนปรับปรุง อาคารเชา

อาคาร

ระบบสาธารณูปโภค

เครื่องตกแตงและ อุปกรณสํานักงาน

ยานพาหนะ

รวม

ราคาตามบัญชี ภายใตกรรมสิทธิ์ของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

26,080,500.19

638,756.90

186,936,498.91

-

1,997,242.69

545,231.20

216,198,229.89

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

26,080,500.19

499,389.89

177,892,016.49

-

1,762,372.32

225,431.20

206,459,710.09


(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

งบการเงินรวม 2553 2552 คาเสือ่ มราคาสําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม แสดงไวในคาใชจายในการบริหาร

11,438,429.34

7,184,495.26

10,199,924.61

6,088,870.75

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ราคาตามบัญชีกอ นหักคาเสือ่ มราคาสะสม ไดตัดจําหนาย คาเสือ่ มราคาทั้งจํานวนแลวแตยังคงใชงานอยู

25,233,674.00

16,504,526.10

16,296,574.34

7,864,729.22

บริษัทและบริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัด ไดทําสัญญาเชาอาคารสํานักงาน ดังตอไปนี้

คูสญ ั ญา สัญญาใหเชาพื้นที่สํานักงาน (ผูใหเชา) บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน) บริษัท ปรีชา กรุป จํากัด (มหาชน) สัญญาเชาพื้นที่สํานักงาน (ผูเชา) บริษัท ปรีชากรุป จํากัด (มหาชน) บริษัท เฮาสซงิ่ คอมเพล็กซ จํากัด บริษัท รวยลานลาน จํากัด

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 อัตราคาเชาตอเดือน ระยะเวลา (บาท) หมายเหตุ

บริษัทอื่น หนวยงานราชการ

2 ป 1 ป

441,900.00 577,500.00

-

บริษัท พี.ลิสซิง่ จํากัด บริษัท พี.ลิสซิง่ จํากัด บุคคลภายนอก

3 ป 3 ป 1 ป

316,640.00 177,920.00 50,000.00

-

บริษัทไดทําสัญญาเชาที่ดินจากบุคคลภายนอกเพื่อกอสรางอาคาร โดยมีกําหนดระยะเวลาการเชา 20 ป ตั้งแตวันที่ 1 สิงหาคม 2532 สิ้นสุดวันที่ 31 กรกฎาคม 2552 อัตราคาเชาเดือนละ 54,788 บาท และบริษัทไดนําอาคารดังกลาวไปให บริษัทแหงหนึ่งเชาชวงตอเปนระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ธันวาคม 2536 ถึงวันที่ 15 กรกฎาคม 2552 โดยไดรับคาตอบแทน การเชา จํานวนเงิน 8.55 ลานบาท และไดรับคาเชาในอัตราคาเชาเดือนละ 71,223 บาท ทั้งนี้ เมื่อครบกําหนดอายุสัญญาเชา เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2552 บริษัทไมไดตออายุสัญญาเชาและไดทําสัญญาขายอาคารดังกลาวใหกับบริษัทแหงหนึ่ง จํานวนเงิน 6.50 ลานบาท ในระหวางป 2552 บริษัทไดโอนอาคารปรีชาคอมเพล็กซจากบัญชี “ตนทุนพัฒนาอสังหาริมทรัพย” มาบัญชี “อาคารและ อุปกรณ” มูลคาสุทธิตามบัญชี จํานวนเงิน 217.34 ลานบาท ในระหวางป 2552 บริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัดไดโอนหองชุดจากบัญชี “ตนทุนพัฒนาอสังหาริมทรัพย” มาบัญชี “อาคารและอุปกรณ” มูลคาสุทธิตามบัญชี จํานวนเงิน 7.22 ลานบาท


14.

สินทรัพยไมมีตัวตน – สุทธิ สินทรัพยไมมีตัวตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบดวย (หนวย : บาท) โปรแกรมคอมพิวเตอร งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ซือ้ จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ซือ้ จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คาตัดจําหนายสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 คาตัดจําหนาย จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คาตัดจําหนาย จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

339,116.06 10,700.00 349,816.06 294,250.00 644,066.06

285,707.00 285,707.00 294,250.00 579,957.00

69,977.18 68,086.97 138,064.15 72,865.29 210,929.44

48,733.54 57,141.27 105,874.81 60,043.45 165,918.26

211,751.91 433,136.62

179,832.19 414,038.74

งบการเงินรวม 2553 2552 คาตัดจําหนายสําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม ไดแสดงไวคาใชจายในการบริหาร

72,865.29

68,086.97

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 60,043.45

57,141.27


15.

สินทรัพยรอการขาย – สุทธิ สินทรัพยรอการขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบดวย (หนวย: บาท) งบการเงินรวม ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 เพิ่มขึ้น จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เพิ่มขึ้น จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คาเผื่อการลดมูลคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 เพิ่มขึ้น จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

7,230,009.92 319,154.80 7,549,164.72 189,312.89 7,738,477.61 (807,962.78) (807,962.78) 7,549,164.72 6,930,514.83

เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2551 ลูกหนี้ของบริษัท พี.บี.เอ็สเตท จํากัดไดทําบันทึกขอตกลงโอนที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางซึ่งมี มูลคาตามสัญญา จํานวนเงิน 8.22 ลานบาท เพื่อชําระหนี้ใหแกบริษัท พี.บี.เอ็สเตท จํากัด ซึ่งมีมูลคาตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 จํานวนเงิน 6.93 ลานบาท และ 7.55 ลานบาท ตามลําดับ โดยในระหวางป 2553 และ 2552 บริษัท พี.บี.เอ็สเตท จํากัดไดจายคาปรับปรุงและตกแตงเพิ่มเติมเพื่อขาย จํานวนเงิน 0.19 ลานบาท และ 0.32 ลานบาท ตามลําดับ 16.

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน บริษัทมีวงเงินเบิกเกินบัญชีจากธนาคารพาณิชย 2 แหง จํานวนเงิน 20 ลานบาท อางอิงอัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมสําหรับลูกคา รายใหญชั้นดี ประเภทเงินเบิกเกินบัญชี (Minimum Overdraft Rate: MOR) ตอป เงินเบิกเกินบัญชีดังกลาว ค้ําประกันโดย กรรมการบริษัทในนามสวนตัวเต็มวงเงิน บริษัทมีวงเงินกูยืมระยะสั้นจากธนาคารพาณิชยแหงหนึ่ง จํานวนเงิน 45 ลานบาท อางอิงอัตราดอกเบี้ยสําหรับลูกคาราย ใหญชั้นดีประเภทเงินกูแบบมีระยะเวลา (Minimum Loan Rate: MLR) ตอป กําหนดชําระภายใน 12 เดือน หรือการปลอด จํานองที่ดิน เงินกูยืมดังกลาวค้ําประกันโดยจดจํานองโครงการปรีชารมเกลา 1 บางสวนของบริษัทยอย รวมทั้งค้ําประกัน โดยบริษัทยอย วงเงิน 7.44 ลานบาท นอกจากนี้กรรมการบริษัทไดรวมค้ําประกันในนามสวนตัวเต็มวงเงิน ปจจุบันบริษัท ไดจายชําระคืนเงินกูยืมดังกลาวแลวทั้งจํานวน และถอนหลักประกันโครงการปรีชารมเกลา 1


17.

เงินกูยืมระยะสั้นอื่น บริษัท บริษัทไดทําสัญญาเงินกูยืมจากบริษัทอื่น วงเงิน จํานวนเงิน 50 ลานบาท โดยคิดอัตราดอกเบี้ยรอยละ 12 ตอป ตอมาได ขยายระยะเวลาการชําระคืนครั้งลาสุดภายในวันที่ 18 เมษายน 2553 โดยไดมอบโฉนดที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางบางสวน ของโครงการ (ดูหมายเหตุ 8) และที่ดินรอการพัฒนา (ดูหมายเหตุ 12) เปนหลักประกันเงินกูยืม ปจจุบันบริษัทไดจายชําระ คืนเงินกูยืมดังกลาวเต็มจํานวนแลว และไดรับคืนหลักประกันดังกลาวแลว

18.

หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบดวย งบการเงินรวม เงินประกันผลงาน เงินมัดจําและรายไดรับลวงหนา ภาษีเงินไดหัก ณ ที่จายคางจาย เจาหนี้อื่น ภาษีมูลคาเพิ่มรอใบกํากับภาษี อื่น ๆ รวม

19.

2553 2,053,573.55 31,539,963.00 638,234.23 2,243,394.34 121,960.43 508,971.60 37,106,097.15

2552 12,199,616.11 36,012,821.94 1,219,225.08 1,906,532.40 121,960.43 100,750.00 51,560,905.96

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 748,958.05 3,055,867.17 1,038,000.00 11,032,821.94 397,528.89 657,921.99 1,377,194.34 1,114,997.54 475,873.10 83,214.00 4,037,554.38 15,944,822.64

เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบดวย งบการเงินรวม

เงินกูย ืมจากสถาบันการเงิน หัก สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เงินกูย ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

2553 245,957,920.00 (35,063,020.00) 210,894,900.00

2552 310,121,621.76 (99,374,471.76) 210,747,150.00

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 245,957,920.00 247,221,117.93 (35,063,020.00) (36,473,967.93) 210,894,900.00 210,747,150.00


โดยมีรายละเอียดแยกตามมูลหนี้ดังนี้ อางอิงอัตรา วงเงิน ผูใหกู

มูลหนี้ (ลานบาท)

(ลานบาท)

2553

10.95

-

2552

ชําระคืนภายใน

ดอกเบี้ย

ระยะเวลา

ตอป (รอยละ)

30 พ.ย. 2553

MLR

การชําระหนี้

บริษัท ธนาคาร

1.14

ผอนชําระเงินงวด (เงินตนพรอมดอกเบี้ย) ไมนอยกวาเดือนละ - 200,000 บาท ตั้งแตเดือน ธ.ค. 2548 ถึง พ.ย. 2549 - 250,000 บาท ตั้งแตเดือน ธ.ค. 2549 เปนตนไป

ธนาคาร

127.00

-

21.90

31 ธ.ค. 2553

MLR

โดยการปลอดจํานองที่ดิน

ธนาคาร

140.00

0.01

0.01

5 ก.ค. 2554

MLR

โดยการปลอดจํานองที่ดิน

ธนาคาร

65.00

20.85

47.64

8 ธ.ค. 2554

MLR

โดยการปลอดจํานองที่ดิน

ธนาคาร

192.00

163.10

176.54

31 มี.ค. 2558

MLR

ผอนชําระทุก 3 เดือน รวม 29 งวด ตั้งแต เดือนมีนาคม 2551 ถึง เดือนมีนาคม 2558 งวดที่ 1 - 4 ผอนชําระงวดละ 1.44 ลานบาท งวดที่ 5 - 8 ผอนชําระงวดละ 2.40 ลานบาท งวดที่ 9 - 12 ผอนชําระงวดละ 3.36 ลานบาท งวดที่ 13 - 16 ผอนชําระงวดละ 3.55 ลานบาท งวดที่ 17 - 20 ผอนชําระงวดละ 3.84 ลานบาท งวดที่ 21 - 24 ผอนชําระงวดละ 4.80 ลานบาท งวดที่ 25 - 28 ผอนชําระงวดละ 5.09 ลานบาท

ธนาคาร รวม บริษัทยอย ธนาคาร

รวม รวมทั้งหมด

190.00

62.00 245.96

247.23

30 มิ.ย. 2556

MLR

244.00

-

62.90

ก.ค. 2553

MLR

-

62.90

245.96

310.13

งวดที่ 29 ชําระสวนที่เหลือ 94.08 ลานบาท โดยการปลอดจํานองหองชุด

โดยการปลอดจํานองที่ดิน เดือน ม.ค. - มิ.ย. 53 ผอนชําระเดือนละ 5 ลานบาท เดือน ก.ค. 53 ชําระสวนที่เหลือ 31.97 ลานบาท


การเพิ่มขึ้นและลดลงของเงินกูยืมจากสถาบันการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้ งบการเงินรวม ยอดยกมา เพิ่มขึ้น ลดลง ยอดคงเหลือ

2553 310,121,621.76 62,000,000.00 (126,163,701.76) 245,957,920.00

2552 637,091,166.76 171,357,835.80 (498,327,380.80) 310,121,621.76

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 247,221,117.93 552,958,221.73 62,000,000.00 166,186,904.00 (63,263,197.93) (471,924,007.80) 245,957,920.00 247,221,117.93

บริษัท บริษัทและบริษัท รวยลานลาน จํากัดไดจดจํานองที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางของโครงการที่มีอยูแลวและที่จะมีขึ้นตอไปใน ภายหนา (ดูหมายเหตุ 8) ที่ดินรอการพัฒนา (ดูหมายเหตุ 12) บริษัทไดจดจํานําใบหุนของบริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัด เพื่อใชเปนหลักประกันเงินกูยืมจากสถาบันการเงินของบริษัท นอกจากนี้ บริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัด และกรรมการ บริษัทไดเขาค้ําประกันเงินกูยืมจากสถาบันการเงินบางสวน ปจจุบัน บริษัทไดไถถอนหลักประกันใบหุนของบริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัด คืนทั้งจํานวน (ดูหมายเหตุ 11) บริษัทยอย บริษัท รวยลานลาน จํากัด มีเงินกูยืมจากสถาบันการเงิน ตอมาในระหวางป 2552 บริษัทยอยไดผิดนัดชําระหนี้เงินกูยืม ดังกลาว เนื่องจากบริษัทยอยมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบโครงการ บริษัทยอยไดทําบันทึกตอทายสัญญาเงินกูยืมครั้งลาสุด เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ 2553 เพื่อขอผอนผันการขยายระยะเวลาการชําระหนี้เปนครบกําหนดวันที่ 31 กรกฎาคม 2553 อยางไรก็ตาม ธนาคารไดเรียกเก็บดอกเบี้ยจายในระหวางชวงเวลาดังกลาวในอัตราปกติ ตามที่ระบุใชในสัญญาเงินกูยืม บริษัท รวยลานลาน จํากัด ไดจดจํานองที่ดินของโครงการพรอมสิ่งปลูกสรางที่มีอยูแลวและที่จะมีขึ้นตอไปในภายหนา เพื่อใชเปนหลักประกันเงินกูยืมกับสถาบันการเงิน นอกจากนี้ กรรมการบริษัทไดรวมค้ําประกันในนามสวนตัวเต็มวงเงิน เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2553 บริษัท รวยลานลาน จํากัด ไดจายชําระเงินกูยืมครบทั้งจํานวนและปลอดการจดจํานอง หลักประกันและการค้ําประกันแลว 20.

การจายเงินปนผล บริษัท ที่ประชุมสามัญผูถือหุน เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2553 มีมติใหจายเงินปนผลในอัตราหุนละ 0.12 บาท รวมเปนจํานวนเงิน 40.32 ลานบาท บริษัทยอย ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัด เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2553 มีมติใหจายเงินปนผลในอัตรา หุนละ 75 บาท รวมเปนจํานวนเงิน 75 ลานบาท

21.

สวนเกินมูลคาหุน ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ .2535 มาตรา 51 ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุนสูงกวามูลคา หุนที่จดทะเบียนไว บริษัทจะตองนําคาหุนสวนเกินนี้ตั้งเปนทุนสํารอง (“สวนเกินมูลคาหุน”) สวนเกินมูลคาหุนนี้จะ นําไปจายเงินปนผลไมได


22.

สํารองตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด บริษัทตองจัดสรรกําไรสุทธิประจําปสวนหนึ่งไวเปนทุนสํารองไมนอยกวารอย ละหาของกําไรสุทธิประจําป หักดวยยอดเงินขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาทุนสํารองนี้จะมีจํานวนไมนอยกวารอยละ สิบของทุนจดทะเบียน

23.

รายไดอื่น รายไดอื่นสําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบดวย งบการเงินรวม รายไดจากการใหเชา รายไดจากการจําหนายสาธารณูปโภค รายไดจากการโอนเปลี่ยนสิทธิ์ รายไดจากการริบเงินมัดจํา ดอกเบี้ยรับ เงินปนผลรับและสวนแบงกําไร กําไรจากการจําหนายทรัพยสนิ กลับรายการหนี้สงสัยจะสูญ กลับรายการขาดทุนจากการดอยคาสินทรัพย อื่น ๆ รวม

2553 11,652,672.42 4,108,981.08 560,000.00 2,412,427.50 165,653.13 19,300.00 2,250,000.00 2,039,497.15 23,208,531.28

2552 3,437,349.50 996,469.01 1,420,000.00 20,000.00 327,048.33 3,000,000.00 4,595,870.80 1,298,260.56 15,094,998.20

(หนวย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 11,902,600.00 3,377,349.50 3,846,594.85 996,469.01 80,000.00 320,000.00 946,949.00 20,000.00 6,795,176.44 9,201,056.87 74,999,475.00 74.79 3,693,245.98 2,250,000.00 6,770,178.50 71,996,465.37 940,319.26 357,652.43 101,761,189.34 96,732,417.66


24.

คาใชจายตามลักษณะ คาใชจายตามลักษณะที่สําคัญ สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบดวย งบการเงินรวม คาใชจายเกีย่ วกับพนักงาน คาเสือ่ มราคาและรายการตัดบัญชี คาเชาทรัพยสนิ คาสงเสริมการขาย คาที่ปรึกษา คารักษาความปลอดภัย คาภาษีธุรกิจเฉพาะ คาสาธารณูปโภค ดอกเบี้ยผิดนัดชําระหนี้ ขาดทุนจากการจําหนายทรัพยสนิ ขาดทุนจากการดอยคาสินทรัพย

25.

2553 31,701,318.86 11,511,294.63 7,317,059.62 2,612,538.94 864,000.00 7,010,345.92 8,158,096.84 9,031,428.80 218,464.72 1,463,750.78

2552 29,122,714.13 7,252,572.23 7,802,755.05 5,569,998.00 897,857.55 8,269,816.64 1,258,391.00 7,718,142.28 3,270,954.08 5,659,785.79 -

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 24,517,344.68 24,118,941.51 10,259,968.06 6,146,012.02 4,177,036.22 4,633,278.22 1,987,164.17 1,445,617.02 864,000.00 864,000.00 4,800,236.92 5,747,147.34 5,668,049.54 503,711.00 8,154,771.74 6,549,042.50 2,263,424.97 3,827,771.98 -

ตนทุนทางการเงิน ตนทุนทางการเงิน สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบดวย งบการเงินรวม ดอกเบี้ยจาย ดอกเบี้ยจายที่ถือเปนรายจายฝายทุน คาธรรมเนียมทางการเงิน รวม

26.

2553 17,699,426.01 642,010.00 18,341,436.01

2552 51,403,448.42 (5,485,360.40) 338,505.00 46,256,593.02

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 23,412,689.11 46,327,354.56 (5,227,745.44) 538,510.00 183,505.00 23,951,199.11 41,283,114.12

ภาษีเงินไดนิติบุคคล บริษัทและบริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัด มีภาระภาษีเงินไดนิติบุคคล สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2553 และ 2552เนื่องจากบริษัทมีกําไรสุทธิทางบัญชี และหลังจากบวกกลับดวยสํารองและคาใชจายตาง ๆ ที่ไมอนุญาตใหถือ เปนคาใชจายในการคํานวณภาษีเงินไดและหักดวยรายไดที่ไดรับยกเวนไมตองนํามารวมเปนเงินได บริษัทมีผลกําไรสุทธิ ทางภาษี และบริษัทและบริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัด มีผลขาดทุนทางภาษีสะสมยกมาจากปกอน ๆ ที่ยังสามารถใช ประโยชนทางภาษีได ณ วันที่ 31ธันวาคม 2552 จํานวนเงิน 2.34 ลานบาท และ 15.95 ลานบาท ตามลําดับ บริษัทบันทึก ภาษีเงินไดนิติบุคคลเปนคาใชจายทั้งจํานวนในแตละปบัญชีและบันทึกภาระสวนที่คางจายเปนหนี้สินในงบดุล


บริษัท รวยลานลาน จํากัด บริษัท จี.เอช.ไอ.เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด บริษัท แอล.เอสเตท จํากัด และบริษัท พี.บี.เอ็สเตท จํากัดไมมีภาระภาษีเงินไดนิติบุคคล สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2553 และ 2552 เนื่องจากบริษัทมีขาดทุน สุทธิทางบัญชี และหลังจากบวกกลับดวยสํารองและคาใชจายตาง ๆ ที่ไมอนุญาตใหถือเปนคาใชจายในการคํานวณภาษี เงินไดและหักดวยรายไดที่ไดรับยกเวนไมตองนํามารวมเปนเงินได เปนผลใหบริษัทมีขาดทุนสุทธิทางภาษี การลดภาษีเงินได พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการลดอัตรารัษฎากรฉบับที่ 475 พ .ศ .2551 ลงวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ .2551 ใหสิทธิแกบริษัทที่มีหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยตามกฎหมายวาดวย หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย โดยลดอัตราภาษีเงินไดจากรอยละ 30 เปนรอยละ 25 ของกําไรสุทธิเฉพาะสวนที่ไมเกิน 300 ลานบาท เปนเวลาสามรอบระยะเวลาบัญชีตอเนื่องกันนับแตรอบระยะเวลาบัญชีแรกที่เริ่มในหรือหลัง 1 มกราคม 2551 27.

ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทและบริษัทยอยมีภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ดังนี้ บริษัท 27.1 ภาระผูกพันจากการใหธนาคารออกหนังสือค้ําประกันระบบสาธารณูปโภค จํานวนเงิน 9.08 ลานบาท (ดูหมายเหตุ 10) 27.2 ภาระผูกพันที่ตองจายตามสัญญา ดังตอไปนี้ 27.2.1 จายชําระตามสัญญาเชากับบริษัท พี.ลิสซิ่ง จํากัด อัตราคาเชาเดือนละ 0.32 ลานบาท (ดูหมายเหตุ 13) 27.2.2 จายชําระตามสัญญากอสรางกับบริษัทอื่น มูลคาคงเหลือ 32.49 ลานบาท 27.2.3 จายชําระตามสัญญาวาจางออกแบบกับบริษัทอื่น มูลคาคงเหลือ 0.16 ลานบาท 27.2.4 จายชําระตามสัญญาวาจางที่ปรึกษาสิ่งแวดลอมกับบริษัทอื่น มูลคาคงเหลือ 0.10 ลานบาท บริษัทยอย 27.3 ภาระผูกพันที่ตองจายตามสัญญา ดังตอไปนี้ 27.3.1 จายชําระตามสัญญาเชากับบริษัท พี.ลิสซิ่ง จํากัด อัตราคาเชาเดือนละ 0.18 ลานบาท (ดูหมายเหตุ 13) 27.3.2 จายชําระตามสัญญากอสรางกับบริษัทอื่น มูลคาคงเหลือ 110.09 ลานบาท 27.3.3 จายชําระตามสัญญาวาจางออกแบบกับบริษัทอื่น มูลคาคงเหลือ 0.12 ลานบาท

27.3.4 จายชําระตามสัญญาบริหารและควบคุมงานกอสรางกับบริษัทอื่น มูลคาคงเหลือ 0.13 ลานบาท จายชําระตามสัญญาวาจางติดตั้งเครื่องปรับอากาศกับบริษัทอื่น มูลคาคงเหลือ 0.90 ลานบาท


27.4 หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น บริษัท -

บริษัทมีคดีความจากการถูกบริษัทอื่นฟองรองเรียกคาเสียหายทุนทรัพย จํานวนเงิน 0.62 ลานบาท ศาลชั้นตนได พิพากษาใหชําระเงิน จํานวนเงิน 0.38 ลานบาท พรอมดวยดอกเบี้ยอัตรารอยละ 7.5 ตอป และศาลอุทธรณได พิพากษาใหยกฟองโจทก ปจจุบันคดีความดังกลาวกําลังอยูระหวางการพิจารณาของศาลฎีกา

-

บริษัทมีคดีความจากการถูกบริษัทอื่นฟองรองเรียกคาเสียหายทุนทรัพย จํานวนเงิน 1.16 ลานบาท คดีความดังกลาว กําลังอยูระหวางการพิจารณาของศาลชั้นตน

อยางไรก็ตาม บริษัทไดบันทึกคาเสียหายที่อาจเกิดขึ้นในงบการเงินภายใตหนี้สินหมุนเวียน จํานวนเงิน 0.71 ลานบาท บริษัทยอย -

บริษัท เฮาสซิ่ง คอมเพล็กซ จํากัด มีคดีทางศาลจากการถูกบุคคลภายนอกฟองรองเรียกคาเสียหายเกี่ยวกับเรื่องการ ขอเพิกถอนนิติกรรม การซื้อขายที่ดินโดยมีทุนทรัพย จํานวนเงินประมาณ 117.95 ลานบาท ศาลชั้นตนพิพากษาให ยกฟองโจทก ปจจุบันคดีความดังกลาวกําลังอยูระหวางการพิจารณาของศาลอุทธรณ

อยางไรก็ตาม ฝายบริหารของบริษัทยอยประเมินผลกระทบจากคดีความฟองรองดังกลาวบริษัทจะไมไดรับความเสียหาย 28.

เครื่องมือทางการเงิน บริษัทไมมีนโยบายที่จะประกอบธุรกรรมตราสารทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธเพื่อการเก็งกําไรหรือการคา นโยบายการบัญชี รายละเอียดของขอมูลทางบัญชีที่สําคัญ วิธีการที่ใชซึ่งรวมถึงเกณฑในการรับรูรายไดและคาใชจายเกี่ยวกับสินทรัพยและ หนี้สินทางการเงินแตละประเภทไดเปดเผยไวแลวในหมายเหตุขอ 3 ความเสี่ยงเกี่ยวกับเครื่องมือทางการเงินที่มีสาระสําคัญของบริษัท สรุปไดดังตอไปนี้ ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ ความเสี่ยงทางดานสินเชื่อ คือ ความเสี่ยงที่คูคาไมสามารถชําระหนี้ทําใหบริษัทเกิดความสูญเสียทางการเงินได บริษัทไดมี นโยบายในการปองกันความเสี่ยงนี้โดยการวิเคราะหฐานะทางการเงินของคูคา บริษัทเชื่อวามูลคาสูงสุดของความเสี่ยง คือ มูลคาตามบัญชีของลูกหนี้ หักดวยคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตามที่แสดงในงบดุล ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ย คือ ความเสี่ยงที่มูลคาของเครื่องมือทางการเงินจะเปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากการเปลี่ยนแปลง อัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทกูยืมเงินมาเพื่อใชในการดําเนินงานและพัฒนาโครงการ ซึ่งตองจายดอกเบี้ยทั้งแบบคงที่และแบบลอยตัว บริษัท ไมไดใชเครื่องมือทางการเงินใดเพื่อลดความไมแนนอนของกระแสเงินสดในอนาคตที่จะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ อัตราดอกเบี้ย


ความเสี่ยงดานสภาพคลอง ความเสี่ยงดานสภาพคลอง หรือความเสี่ยงที่กิจการจะเผชิญกับความยุงยากในการระดมทุนใหเพียงพอและทันตอเวลาตอ ภาระผูกพันที่ระบุไวในเครื่องมือทางการเงิน ความเสี่ยงดานสภาพคลองอาจเกิดจากการที่กิจการไมสามารถขายสินทรัพย ทางการเงินไดทันเวลาดวยราคาที่ใกลเคียงกับมูลคายุติธรรม สินทรัพยทางการเงินของบริษัทสวนใหญประกอบดวยเงินสดและเงินฝากธนาคาร ลูกหนี้การคา เงินใหกูยืมแกบริษัทยอย ลูกหนี้และเงินใหกูยืมแกบริษัทอื่น ความสามารถในการระดมทุนใหเพียงพอและทันเวลาตอการปฏิบัติตามภาระผูกพันที่ ระบุไวในเครื่องมือทางการเงินขึ้นอยูกับความสามารถในการชําระหนี้ของบริษัทยอย บริษัทอื่น และการรับชําระมูลคาของ โครงการที่เสร็จและลงนามในสัญญาซื้อขายแลวจากลูกคา มูลคายุติธรรม เนื่องจากสินทรัพยทางการเงินและหนี้สินทางการเงินสวนใหญจัดอยูในประเภทระยะสั้น สวนหนี้สินระยะยาวมีอัตรา ดอกเบี้ยใกลเคียงกับอัตราในทองตลาด ฝายบริหารของบริษัทเชื่อวามูลคายุติธรรมของสินทรัพยทางการเงินและหนี้สิน ทางการเงินดังกลาวจะไมแตกตางอยางเปนสาระสําคัญจากมูลคาตามบัญชี 29.

เหตุการณภายหลังวันที่ในงบดุล ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2554 มีมติใหจายเงินปนผลในอัตราหุนละ 0.05 บาท รวมเปน จํานวนเงิน 16.80 ลานบาท

30.

การจัดประเภทรายการใหม บริษัทและบริษัทยอย ไดจัดประเภทรายการใหมบางรายการในงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และงบกําไรขาดทุน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 เพื่อใหสอดคลองกับการแสดงรายการในงบการเงินปปจจุบันดังนี้ หนวย : บาท งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

กอนจัด

จัดประเภท

หลังจัด

กอนจัด

จัดประเภท

หลังจัด

ประเภทใหม

ใหม

ประเภทใหม

ประเภทใหม

ใหม

ประเภทใหม

ตนทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย - สุทธิ

688,774,597.51

959,301.51

689,733,899.02

-

-

ที่ดินรอการพัฒนา - สุทธิ

72,684,693.15

(959,301.51)

71,725,391.64

-

-

คาใชจายในการขาย

39,437,282.59

(19,887,886.21)

19,549,396.38

22,142,933.99

(12,027,642.62)

10,115,291.37

คาใชจายในการบริหาร

58,205,645.05

16,124,376.21

74,330,021.26

53,126,311.31

(615,867.38)

52,510,443.93

คาตอบแทนผูบริหาร

4,440,000.00

3,763,510.00

8,203,510.00

(4,440,000.00)

12,643,510.00

8,203,510.00

งบดุล -

งบกําไรขาดทุน

31.

การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ไดรับการอนุมัติใหออกโดยคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2554


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.