นาฬิกาไซน์ ฉบับที่ 6

Page 1


นาฬิกาซายน์ฉบับต้อนรับหน้าฝนสาหรับทุกคนทีม่ ีฝัน... ช่วงเวลานี้เมื่อปีที่แล้ว ทุกคนในคณะกาลังตื่นเต้นอยู่กับการเตรียมงานต่างๆ เพื่อต้อนรับ ความใหม่ เริ่มตั้งแต่ปี การศึกษาใหม่ ไปจนถึงนักศึกษาใหม่ ชั้นปีที่ 1 ที่ได้เข้ามาเป็นครอบครัวของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพของเรา นับเป็นช่วงเวลาแห่งความสดใส แม้บางวันจะมีฝนพรา แต่ ในปีนี้การเตรียมงานต่างๆ ได้เลื่อนกาหนดตามปฏิทินการศึกษา รูปแบบใหม่ ที่จะเริ่มเปิดภาคการศึกษาที่ 1 ในเดือนสิงหาคม – ธันวาคม ส่วนภาคการศึกษาที่ 2 จะเริ่มในเดือนมกราคม – พฤษภาคม และภาคฤดูร้อน จะเริ่มต้นในเดือนมิถุนายน – กรกฎาคม ทาให้บรรยากาศภายในมหาวิทยาลัยอาจจะดูเงียบๆ หรือเหงาๆ ยิ่งในยามฝนพรา หวนให้คิดถึงบรรยากาศของกิจกรรมต่างๆ ที่เหล่าชาววิด ’ยาได้ร่วมทากันมาจากรุ่นหนึ่งสู่อีกรุ่น หนึ่งเรื่อยไป สาหรับฉบับนี้มีคอลัมน์ใหม่เกิดขึ้น คือ Ajarn Bob’s notes โดย ดร.โรเบิร์ต แบทซิงเงอร์ อาจารย์ ประจาสาขาวิช า วิทยาการคอมพิวเตอร์ ได้แบ่งปันประสบการณ์จากการสัมภาษณ์นักศึกษาระดับปริญญาเอกชาวพม่า ซึ่งมีมุมคิดที่น่าสนใจเป็น ยิ่งนัก และหวังว่าจะเป็นแรงกระตุ้นให้กับผู้อ่านทุกท่านในการดาเนินตามรอยฝันและทาให้มันเป็นจริง นอกจากนี้ยังมี บทความเกี่ยวกับงานสอนที่น่าสนใจโดย อาจารย์ ดร.พีรพัฒน์ ตรังรัฐพิทย์ หัวหน้าสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ในชื่อเรื่อง ว่า “Teaching is fun” การสอนจะสนุกสนานเพียงใด ลองพลิกอ่านดูได้นะคะ สาหรับคอลัมน์ประจาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการ สอนวาดภาพโดยพี่อู๋ บทความ Unity จากคุณไอซ์ ยังคงอัดแน่นด้วยสาระที่อ่านได้สบายๆ และสาหรับผู้ที่วางแผนจะศึกษา ต่อต่างประเทศ ลองอ่านบทความ Back to the Future ในฉบับนี้นะคะ เพราะเป็นบทสัมภาษณ์ อาจารย์ ดร.นฤพร เต็งไตรรัตน์ ที่ เพิ่งสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก จากประเทศอังกฤษ และอีกหลายบทความที่ยังคงความน่าสนใจด้วยความตั้งใจยิ่งของ ทีมงานนาฬิกาซายน์ทุกคน ฤดูฝนมาถึงแล้ว เวลาเดินทางไปข้างนอกอย่าลืมพกร่มไปด้วยนะคะ ด้วยความปรารถนาดีจาก... ทีมงานนาฬิกาซายน์ พฤษภาคม 2556


ึ ษามหาวิทยาลัยพายัพ ปี การศก ึ ษา 2557 (ส.ค.2557-ก.ค.2558) ปฏิทน ิ การศก จ 4 11 18 25

สงิ หาคม 2557 พ พฤ ศ ส 1 2 5 6 7 8 9 12 13 14 15 16 19 20 21 22 23 26 27 28 29 30 อ

3 10 17 24

พฤศจิกายน 2557 อ พ พฤ ศ ส 1 4 5 6 7 8 11 12 13 14 15 18 19 20 21 22 25 26 27 28 29

กุมภาพ ันธ์ 2558 อ พ พฤ ศ ส

2 9 16 23

3 10 17 24

4 11 18 25

5 12 19 26

4 11 18 25

5 12 19 26

6 13 20 27

พฤษภาคม 2558 พ พฤ ศ 1 6 7 8 13 14 15 20 21 22 27 28 29

12 ส.ค. 57 23 ต.ค. 57 5 ธ.ค. 57 10 ธ.ค. 57 31 ธ.ค. 57 1 ม.ค. 58 4 มี.ค. 58 6 เม.ย. 58 13-15 เม.ย. 58 5 พ.ค. 58 1 มิ.ย. 58 30 ก.ค. 58 31 ก.ค. 58

7 14 21 28

ส 2 9 16 23 30

อา 3 10 17 24 31

อา 2 9 16 23 30

อา 1 8 15 22

อา 3 10 17 24 31

ก ันยายน 2557 พ พฤ ศ 3 4 5 10 11 12 17 18 19 24 25 26

จ 1 8 15 22 29

อ 2 9 16 23 30

จ 1 8 15 22 29

ธ ันวาคม 2557 อ พ พฤ ศ ส 2 3 4 5 6 9 10 11 12 13 16 17 18 19 20 23 24 25 26 27 30 31

มีนาคม 2558 พ พฤ ศ

2 9 16 23 30

3 10 17 24 31

4 11 18 25

7 14 21 28

จ 1 8 15 22 29

มิถุนายน 2558 อ พ พฤ ศ 2 3 4 5 9 10 11 12 16 17 18 19 23 24 25 26 30

5 12 19 26

ว ันหยุดประจาปี วันเฉลิมพระชนมพรรษา ิ น สมเด็จพระนางเจ ้าฯ พระบรมราชน ี าถ วันปิ ยมหาราช วันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ พระบาทสมเด็จพระเจ ้าอยูห ่ วั วันรัฐธรรมนูญ ิ้ ปี วันสน วันขึน ้ ปี ใหม่ วันมาฆบูชา วันจักรี วันสงกรานต์ วันฉั ตรมงคล วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเข ้าพรรษา

6 13 20 27

ส 6 13 20 27

ส 6 13 20 27

อา 7 14 21 28

อา 7 14 21 28

อา 1 8 15 22 29

อา 7 14 21 28

6 13 20 27

7 14 21 28

จ 5 12 19 26

จ 6 13 20 27

ตุลาคม 2557 พ พฤ ศ 1 2 3 8 9 10 15 16 17 22 23 24 29 30 31

มกราคม 2558 อ พ พฤ ศ 1 2 6 7 8 9 13 14 15 16 20 21 22 23 27 28 29 30

ส 4 11 18 25

อา 5 12 19 26

ส 3 10 17 24 31

อา 4 11 18 25

เมษายน 2558 อ พ พฤ ศ ส 1 2 3 4 7 8 9 10 11 14 15 16 17 18 21 22 23 24 25 28 29 30

อา 5 12 19 26

กรกฎาคม 2558 พ พฤ ศ 1 2 3 8 9 10 15 16 17 22 23 24 29 30 31

อา 5 12 19 26

6 13 20 27

7 14 21 28

ส 4 11 18 25

ึ ภาคการศกษาที ่ 1/2557 ึ ษา : 4 ส.ค. 57 เปิ ดภาคการศก สอบกลางภาค : 29 ก.ย. - 4 ต.ค. 57 สอบประจาภาค : 24 พ.ย. - 6 ธ.ค. 57 ปิ ดคริสต์มาส : 22 ธ.ค. 57 - 4 ม.ค. 58 ึ ภาคการศกษาที ่ 2/2557 ึ ษา : 5 ม.ค. 58 เปิ ดภาคการศก สอบกลางภาค : 2 - 7 มี.ค. 58 ปิ ดสงกรานต์ : 12 - 17 เม.ย. 58 สอบประจาภาค : 4 - 16 พ.ค. 58 ภาคฤดูรอ ้ น 2557 ึ ษา : 2 มิ.ย. 58 เปิ ดภาคการศก สอบกลางภาค : 22 - 24 มิ.ย. 58 สอบประจาภาค : 13 - 18 ก.ค. 58


คณะวิทยาศาสตร์ร่วมแสดงมุทิตาจิต อาจารย์อนงค์ จีระโสตถิกุล อาจารย์ประจากลุม่ วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน และ คุณเจตนา อภินันท์ เลขานุการคณะวิทยาศาสตร์ ในโอกาสเกษียณอายุการทางานในเดือนพฤษภาคม 2557 นี้


me

ทำไมต้องคณะวิทยำศำสตร์ มหำวิทยำลัยพำยัพ

เชิญหาคาตอบได้ที่นี่...









Teaching is fun. เรื่อง : อาจารย์ ดร.พีรพัฒน์ ตรังรัฐพิทย์

Teaching is fun.

จาได้ว่า เวลาที่มีคนถามว่า ปัจจุบันทางานอะไร และเมื่อได้คาตอบว่าสอนหนังสือ ก็มักจะมี คนถามต่อเสมอ ๆ ว่า “สอนหนังสือสนุกมั้ย”

http://7428.net/wp-content/uploads/2013/04/Classroom-Renderings.jpg

เมื่อมานั่งทบทวนคาถามนี้ “สอนหนังสือสนุกมั้ย” อยากจะถามผู้สอนหลายๆ คนเหมือนกันในคาถาม เดียวกันนี้ซึ่งก็อาจได้คาตอบในหลายๆ แง่ หลายๆ มุม แต่อย่างไรก็ตาม หากลองมานั่งตอบคาถามให้ ตัวเอง ดีกว่าว่าความสนุกของการสอนหนังสืออยู่ตรงไหน และหากไม่มีความสนุกล่ะมันจะเป็นเพราะเหตุใดกัน การสอนหนั ง สื อ ของผมเริ่ ม ตั้ ง แต่ ปี พ .ศ. 2525 ก็ เป็ น เวลา 30 กว่ า ปี แ ล้ ว ในขณะนั้ น เพิ่ งจะจบ การศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาบริหารธุรกิจมาหมาด ๆ จากประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งโดยความเป็นจริงแล้ว ไม่เคยคิดที่จ ะยึ ดอาชีพการสอนหนังสื อเป็ นหลักเลย ในขณะนั้นมีทางเลื อกให้ อยู่ส องทางคือการทางานที่ ธนาคาร และทางานที่มหาวิทยาลัยพายั พ แต่ด้วยความคิดของเด็กๆ (ในสมัยนั้น) ก็อยากทางานสบาย โดยได้


Teaching is fun. ยิ น ว่ า ท างานธนาคารเป็ น งานหนั ก (ถ้ า ตัดสิน ใจทางานธนาคาร ป่ านนี้ คงเป็ น ระดับ ผู้ จั ด การแล้ ว ก็ ได้ ) ก็ เลยตัด สิ น ใจตั้ งแต่ ก่ อ น กลับมาจากฟิลิป ปิน ส์ว่า “สอนหนังสือก็ได้ ” ซึ่งนี่ก็คือจุดเริ่มต้นของอาชีพสอนหนังสือของ ผม การที่ ไม่ เคยมี ป ระสบการณ์ ในการ สอนมาก่ อ น เคยแต่ เห็ น ผู้ ส อนคนอื่ น ๆ ที่ มี แนวการสอนทั้ งแบบที่ ผ มชอบ และที่ ผ มไม่ ชอบ แบบที่ชอบก็ เห็ นจะเป็นแนวการสอนที่ http://cdn-3.freeclipartnow.com/d/11723-1/classroom.jpg ไม่น่าเบื่อ สนุก มีการสอนทั้ง แบบการบรรยาย ผสมผสานกับการยกตัวอย่างจากประสบการณ์จริงซึ่งผู้เรียนได้เรียนรู้จากทฤษฎีและประสบการณ์ จึงทาให้ไม่ เครียด และสนุกไปกับความรู้ใหม่ ๆ และแนวการสอนอีกแบบหนึ่งที่เคยเห็นและเคยเรียนซึ่งเป็นแนวการสอน ที่คิดว่าไม่ชอบและน่าเบื่อ ก็คือแนวการสอนที่ผู้สอนเอาแต่บรรยายตามตารา อธิบายตามตารา ยืนอยู่กับที่ หรือนั่งอยู่กับที่ อาจมีการเขียนกระดานบ้าง เป็นต้น แนวการสอนแบบนี้น่าเบื่อเป็นที่สุด ที่ครั้งหนึ่งที่ ผมลง เรียนวิชาที่น่าเบื่ออยู่แล้วคือประวัติศาสตร์ เมื่อนั่งเรียนได้ประมาณสองสัปดาห์กับการสอนแบบดังกล่าวนี้ ผม ตัดสิ น ใจบอกเลิ กไปในทั น ที ดังนั้ น เมื่อ รู้ อยู่แล้ ว ว่า ต้อ งสอนหนั งสื อ ก็ เลยมี ความตั้ งใจที่ จ ะเลื อ กศึก ษา “ให้พยายามคิดว่าผู้เรียนหรือผู้ฟังไม่รู้ วิธีการสอนแบบแรกที่ชอบ โดยก่อนถึงเวลาที่ต้องกลับ เรื่องอะไรในสิ่งที่เราจะพูดมาก่อนเลย” ประเทศไทย เลยตัดสินใจปรึกษาอาจารย์ที่ผมชื่นชอบ แนวการสอนของท่านว่าสอนหนังสืออย่างไร คาตอบที่ได้เป็นคาตอบที่ยังคงนามาใช้มาจนถึงปัจจุบัน และเคย ให้คาแนะนาให้กับผู้สอนหลายๆ คน ตลอดจนผู้ที่ต้องยืนพูดต่อหน้าผู้คนมากๆ คาตอบสั้นๆ ที่ผมได้รับในวัน นั้นก็คือ “ให้พยายามคิดว่าผู้เรียนหรือผู้ฟังไม่รู้เรื่องอะไรในสิ่งที่เราจะพูดมาก่อนเลย” ฟังดูง่ายนะครับ แต่ทา ค่อนข้างยากมาก เพราะการทีผ่ มไม่มีประสบการณ์ในการสอนมาก่อน ผมจะทาอย่างไรล่ะ น่าคิด น่าคิด... การสอนครั้งแรก ยังไม่มีประสบการณ์ ยังไม่เคยสอนอะไรให้ใครเป็นชั่วโมง ถึงแม้ว่าก่อนหน้านี้จะเคย ได้รับคาแนะนาใดๆ เกี่ยวกับวิธีการสอนมาแล้ว ผมจาได้ว่ายังไม่มีความมั่นใจในตัวเองเท่าใดนัก ที่จะใช้วิธี ต่าง ๆ เหล่านั้น ผู้สอนหลายคนรวมทั้งผมเริ่มวิธีการสอนตามแบบฉบับของไทยที่สืบทอดกันมาเป็นเวลานาน ตั้งแต่สมัยโบราณที่มีแหล่งของการเรียนรู้ คือ วัด โดยมีพระสงฆ์เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ทั้งหลายให้แก่ผู้เรียน และในสมัยปัจจุบันนั้น โรงเรียนเป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ ในชั้ นเรียนก็มีครูผู้สอนเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ความรู้ต่าง ๆ ที่ได้รับการจัดสรรไปตามอายุ และระดับของความรู้ที่ถ่ายทอด เทคนิควิธีการ สอนมักจะเป็นการสอนแบบ Traditional Teaching หรือ Classroom Teaching หรือที่เรียกว่า Face-toface teaching เป็นเทคนิคการสอนแบบการนาเสนอในชั้นเรียน ซึ่งอาจถือว่าเป็นเทคนิคแบบพื้นฐานเลยก็ว่า


Teaching is fun. ได้สาหรับผู้สอนหน้าใหม่ที่มีผู้สอนทาหน้าที่เป็นเสมือน “ผู้ให้” ผู้ซึ่งรับผิดชอบในการให้ทั้งความรู้และแนวคิดกับ “Anywhere, Anytime” หมายถึง ผู้เรียน วิธีการสอนวิธีนี้ ผู้สอนส่วนใหญ่มักจะมีความเชื่อ การเรียนการสอนจะเกิดขึ้นในเวลา ว่าเป็นวิธีการสอนที่ดีที่สุดในการให้การศึกษาแก่ผู้เรียน โดยผู้ ส อนต้ อ งเตรี ย มข้ อ มู ล การสอนทุ ก อย่ า งเพื่ อ ใดก็ได้ และที่ไหนก็ได้ ถ่ายทอดให้ แก่ผู้ เรีย น ไม่ว่าจะเป็ น เนื้ อหาการบรรยาย การบ้าน ตลอดจนการตอบคาถามที่อาจเกิดขึ้นได้ (ทั้ง ๆ ที่รู้ว่านักศึกษาไทยไม่ค่อยมีใครถามอะไรหรอก) และ เผลอๆ ผู้สอนก็จะมีการบ้านไปค้นคว้าต่อ เพื่อมาตอบให้แก่ผู้เรียนในครั้งต่อไป เหมือนว่า ผู้สอนจะต้องเตรียม ทุกอย่างและถ่ายทอดให้แก่ผู้เรียน สิ่งที่จะจูงใจให้ผู้เรี ยนมีความสนใจก็เห็นจะเป็นวิธีการสอน ข้อมูลการสอน และนอกจากนั้นก็เห็นจะเป็นการให้คะแนนทดสอบและเกรด มันเป็นงานที่ยาก แล้วมันสนุกตรงไหนล่ะครับ จากประสบการณ์การสอนกว่า 30 ปีที่ผ่านมา ความสนุกเกิดจากการที่ได้มีการเรียนรู้ ตลอดจนการ พัฒ นาแนวคิด เทคนิ คต่างๆ ในการสอนที่คิดว่าจะเกิดผลลัพธ์สูงสุดในการเรียนรู้ของผู้เรียน และเมื่อได้มี โอกาสไปศึกษาเรียนรู้ในระดับสูงขึ้น ซึ่งมีการเรียนรู้เกี่ยวกับการศึกษาโดยเฉพาะในด้านทฤษฎีการเรียนรู้ของ ผู้เรียนแล้ว ทาให้มีความรู้สึกว่าวิธีการตามทฤษฎีต่างๆ นั้นดูเหมือนสิ่งที่ “เราเคยทามาแล้ว” อย่างไม่รู้ตัว เพราะจากข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นคือ ผู้สอนส่วนหนึ่ง (รวมตัวผมด้วย) ไม่เคยได้รับการอบรมการสอนหรือ เรียนรู้ เกี่ยวกับการสอนโดยเฉพาะทฤษฎีการเรียนรู้ต่างๆ มาก่อน ดังนั้ น เทคนิ ควิธี การสอนหนั งสื อของเขา เหล่ านั้ น เกิด จากสั ญ ชาติญ าณ จากประสบการณ์ การสังเกตการณ์ผู้สอนของผมในอดีต และจากการ ผ่านการสัมมนา อบรมการสอนในบางเรื่องมาบ้าง ซึ่งหากผู้ส อนทุกคนได้มีการเรียนรู้เกี่ย วกับ ทฤษฏี การเรียนรู้ต่างๆ ก็จะสามารถช่วยให้ ผู้สอนมีความ เข้าใจในพฤติกรรมของผู้เรียนได้มากขึ้น จากสถานการณ์ การเรี ย นการสอนใน ปัจจุบันทาให้แนวคิดในการสอนอาจเปลี่ยนไป กล่าวคือ การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่เข้ามามีบทบาทใน ด้านการเรียนการสอนมากขึ้น โดยเฉพาะเทคโนโลยีที่เข้ามาเสริม แนวคิดการเรียนการสอนที่กล่าวถึงหลักการ “Anywhere, Anytime” หมายถึง การเรีย นการสอนจะเกิดขึ้นในเวลาใดก็ได้ และที่ไหนก็ได้ เทคโนโลยี ดังกล่าว เช่น การนาระบบอินเทอร์เน็ตเข้ามาใช้ในชีวิตประจาวัน ไม่ว่าจะเพื่อการบันเทิง การสื่อสาร หรือการ อื่ น ๆ เทคโนโลยี นี้ ท าให้ ผู้ ส อน และผู้ เรี ย นไม่ ว่ า จะอยู่ ในระดั บ หรือ วั ย ใด ก็ จ ะมี ค วามสามารถใช้ ร ะบบ อินเทอร์เน็ตเพื่อสื่อสารถึงกันและกันได้โดยไม่ยากนัก ดังนั้น การเรียนการสอนในระบบออนไลน์ และการเข้าสู่ บทเรียนในห้องเรียนเสมือน (Virtual Classroom) ก็สามารถเกิดขึ้นได้ เทคนิควิธีการสอนออนไลน์ดังกล่าว อาจเรียกในหลายชื่อ เช่น Non-classroom Teaching, Online Teaching และ E-learning Teaching เป็น


Teaching is fun. ต้ น ซึ่ ง ผู้ ส อนในระบบการเรี ย นการ สอนแบบ “Anywhere, Anytime” นี้ จะต้ อ งมี ค วามเข้ าใจในกระบวนการ สอน และมี ค วามทุ่ ม เทให้ แ ก่ ผู้ เรี ย น ม าก ขึ้ น ก ว่ า เดิ ม ที่ ส อ น ใน ระ บ บ ห้องเรียน (Classroom Teaching) เมื่ อ พู ด ถึ ง เทคนิ ค การสอนที่ กล่ า วมาข้ า งต้ น แล้ ว ไม่ ว่ า จะเป็ น Classroom Teaching ห รื อ Nonclassroom Teaching ก็ ต า ม สิ่ ง ที่ ค ว ร ค า นึ ง ถึ ง เป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง คื อ กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรีย น เพราะผู้เรียนก็เหมือนลูกค้า ซึ่งในทางธุรกิจ ก็จะกล่าวว่า “Customer is a king” หมายถึงว่า เราในฐานะของผู้นาเสนอสินค้า เราจะทาอย่างไรที่จะทาให้ลูกค้าได้รับความพึงพอใจมาก ที่สุด เปรียบเสมือนลูกค้าคือพระราชา ที่เราจะต้องการตอบสนองความต้องการของท่าน และในขณะเดียวกัน ผู้เรียนก็เปรียบเสมือนกับเป็นลูกค้าของเรา ซึ่งเราจะทาอย่างไรเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจในบทเรียน ใน ที่นี้ความพึงพอใจก็น่าจะหมายถึงการเกิดการเรียนรู้ และความเข้าใจในบทเรียนหรือเนื้อหาที่นาเสนอ แรกเริ่มเดิมที เทคนิคการสอนของผู้สอนส่วนใหญ่จะเน้นที่เนื้อหาที่จะนาเสนอ และมักจะคิดว่าผู้เรียน เป็ นประเภท Passive คือ ไม่มีการโต้ตอบ ดังนั้น จึงเน้น ในเรื่องการสอน การถ่ายทอด โดยที่จะคิดว่า ทา อย่างไรที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในบทเรียน ด้วยการสร้างสิ่งที่เรี ยกว่า สิ่ งเร้า (Stimulus) หรือแรง บันดาลใจ โดยหวังในพฤติกรรมสุดท้ายว่า ผู้เรียนจะเกิดความสนใจในบทเรียน และจะมีการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม มีการรับรู้ และเกิดการเรียนรู้ในที่สุด แนวความคิดนี้เรียกว่า พฤติกรรมนิยม (Behaviorism) โดย Pavlov ได้กล่าวถึงสิ่งเร้าทั้งทางบวกและทางลบ เช่น การให้คะแนนเป็นเสมือนแรงจูงใจให้ตั้งใจเรียนเพื่อจะ ได้คะแนน หรือเกรดสูงๆ การให้คะแนนเก็บ คะแนนรายงาน พวกนี้เป็นสิ่งเร้าในทางบวก ในทางกลับกัน หาก ผู้สอนใช้มาตรการหักคะแนน หากมีการกระทาผิด ก็จะเป็นสิ่งเร้าในทางลบ แต่ก็อาจได้ผลดีที่ผู้เรียนจะเปลี่ยน พฤติ ก รรมโดยมี ค วามพยายาม ผู้สอนในระบบการเรียนการสอนแบบ ทาตัว ให้ ดีขึ้น ทฤษฎี พ ฤติกรรม “Anywhere, Anytime” นี้ จะต้องมีความเข้าใจ นิยมนี้เห็นว่า กระบวนการทาง ในกระบวนการสอน และมีความทุ่มเทให้แก่ผู้เรียน สมองเป็ น สิ่ ง ที่ ม องไม่ เห็ น จึ ง ไม่ให้ความสาคัญ ดังนั้น หากจะ มากขึ้นกว่าเดิมที่สอนในระบบห้องเรียน มองอีกแง่หนึ่งก็คือการพิจารณา การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของ (Classroom Teaching) ผู้ เรี ย นนั้ น ผู้ เรี ย นเป็ น เสมื อ น


Teaching is fun. กล่ อ งด า (Black Box) จะมุ่ งเน้ น ที่ วิธีก ารว่าจะมี ก ารน าเข้าอย่างไร (Input) และท าให้ มีก ารเปลี่ ย นแปลง พฤติกรรมการเรียนรู้อย่างไร (Output) เท่านั้น ดั ง นั้ น ถ้ า ห า ก ผู้ ส อ น ส า ม า ร ถ จั ด สภาพแวดล้อมที่ช่วยให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อผู้สอน และวิช าเรีย นได้ ผู้ เรียนก็จ ะเรีย นอย่ างมีความสุ ข สนใจ กระตือรือร้นในการเรียน ผู้สอนจึงควรมีการ วางแผนการสอนตั้งแต่การจัดลาดับความยากง่าย ของบทเรีย นให้ ส อดคล้องกับ วุฒิ ภ าวะของผู้เรียน บรรยากาศในห้ อ งเรี ย นมี ลั ก ษณ ะให้ ผู้ เ รี ย นมี เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นโดยไม่รบกวนผู้อื่น มีโอกาสประสบความส าเร็จ ในการท างานที่ได้รับ มอบหมาย เป็นต้น ขณะเดียวกันก็พึงระวังไม่สร้าง บรรยากาศที่เคร่งเครียด เช่น มีการลงโทษดุว่าให้ เกิดความอับอาย การให้งานที่ยากเกินไปจนผู้เรียน รู้สึกท้อแท้ในความสามารถของตน หรือบทเรียนที่ง่ายเงินไปจนผู้เรียนรู้สึกเบื่อหน่าย ฯลฯ อาจกล่ าวได้ว่าแนวคิดของทฤษฎี การเรียนรู้กลุ่ มพฤติกรรมนิยมสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการ จัดการเรียนการสอนได้เกือบทุกวิชา ซึ่งถ้าผู้สอนศึกษาเรื่องนี้ให้เข้าใจ ก็จะสามารถนาไปใช้จัดการเรียนการ สอนให้เกิดประสิทธิภาพได้เป็นอย่างดี ในปัจจุบันแนวความคิดนี้ก็ยังเป็นที่นิยมในกลุ่มผู้สอนส่วนใหญ่ไม่ว่าจะ เป็นกลุ่มผู้สอนใหม่หรือกลุ่มผู้สอนรุ่นเก่าแล้วก็ตาม อีกแนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ ของผู้เรียนที่น่าสนใจคือ แนวปัญญานิยม (Cognitivism) เป็นการ ปฏิวัติการศึกษาโดยที่เน้นในกิจกรรมภายในของกระบวนการสมอง เสมือนกับการเปิด กล่องดา (Black box) ของมนุษย์เพื่อจะทาความเข้าใจว่ามนุษย์มีการเรียนรู้อย่างไร เช่น กระบวนการคิด ความจา การหยั่งรู้ และ การแก้ปัญหา เป็นต้น ซึ่งอาจไม่เกี่ยวข้องกับการวางเงื่อนไขหรือการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง อย่ า งที่ พ ฤติ ก รรมนิ ย มได้ ก ล่ า วไว้ ดั ง นั้ น การศึ ก ษาถึ งแนวคิ ด นี้ มุ่ ง เน้ น ถึ ง กระบวนการทางสมอง ว่ า มี ความสาคัญต่อการเรียนรู้ หรือการแก้ปัญหา โดยให้ความสาคัญน้อยมากต่อสิ่งเร้าที่กล่าวถึงในแนวความคิด พฤติกรรมนิย ม หากจะทาความเข้าใจง่ายขึ้น การศึกษาในแนวคิดนี้จะมองกระบวนการคิด กระบวนการ วิเคราะห์เสมือนคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งที่จะทาความเข้าใจว่า การนาข้อมูลเข้าอย่างไร ข้อมูลปริมาณเท่าใด เมื่อข้อมูลเข้าไปแล้ว จะมีการจัดเก็บข้อมูลไว้ชั่วคราวอย่างไรก่อนที่จะย้ายข้อมูลเข้าไปเก็บอย่างถาวร มีการ ประมวลผลข้อมูลอย่างไร มีการนาข้อมูลเก่าในอดีตหรือจากประสบการณ์มาช่วยในการประมวลผล วิเคราะห์ และแก้ปัญหาได้อย่างไร ตลอดจนกระบวนการถ่ายทอดข้อมูลเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เรียนในที่สุด


Teaching is fun. ในกระบวนการเรียนรู้แล้ว นักจิตวิทยาได้กล่าวว่า การท่องจาเป็นวิธีที่ไม่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ แต่ควรสอนให้ผู้เรียนได้มองเห็นความสัมพันธ์ของสิ่งที่เกี่ยวข้องในภาพรวม และให้ความสาคัญกับ กระบวนการทางสมองที่จ ะทาให้ ผู้เรีย นเกิดความเข้าใจในสิ่ งที่จะเรียน หรือในประเด็นของปั ญ หา ดังนั้ น คาแนะนาต่าง ๆ ในการพัฒนาประสิทธิภาพในการเรียนการสอนจึงประกอบด้วยองค์ประกอบคือ ประการแรก การให้ผู้เรียนได้มองเห็นภาพรวมและเป้าหมายของสิ่งที่จะเรียน จะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจและสามารถที่จะคิด วิธีการไปสู่เป้าหมายได้ง่ายขึ้น เกิดการวิเคราะห์ว่า ส่วนย่อยทั้งหลายมีความเกี่ยวข้องกันอย่างไรเพื่อที่จะมุ่ง ไปสู่เป้าหมายในภาพรวมได้ ประการที่สอง การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์เดิ มกับประสบการณ์ ใหม่ ที่ น าไปสู่ ค วามเข้ า ใจหรื อ สามารถ การท่องจาเป็นวิธีที่ไม่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิด แก้ปัญหาได้ และประการสุดท้ายคือ การใช้ การเรียนรู้ แต่ควรสอนให้ผู้เรียนได้มองเห็น สื่อที่เร้าความสนใจ การหาวิธีที่จะทาให้สิ่งที่ กาลังสอนอยู่ทาให้ผู้เรียนเกิดการรับรู้ได้มาก ความสัมพันธ์ของสิ่งที่เกี่ยวข้องในภาพรวม ที่ สุ ด เช่ น น้ าเสี ย งที่ ช วนให้ เกิ ด ความสนใจ และให้ความสาคัญกับกระบวนการทางสมอง และการดึ ง ผู้ เ รี ย น เข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มใน ที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในสิ่งที่จะ กิจกรรม หรือตอบคาถามในสิ่ งที่กาลังสอน เรียน หรือในประเด็นของปัญหา เป็นต้น อีกแนวความคิดที่น่าสนใจในการนาไปปฏิบัติ คือ แนวความคิด และปรัชญาที่มีความเชื่อว่า ผู้เรียน สามารถสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง ซึ่งความรู้นี้จะฝังติดอยู่กับคนสร้าง ดังนั้นความรู้ของแต่ละคนเป็นความรู้ เฉพาะตั ว เป็ น สิ่ ง ที่ ต นสร้ า งขึ้ น เองเท่ า นั้ น แนวความคิ ด นี้ เรี ย กว่ า สรรคนิ ย ม (Constructivism) ใน แนวความคิดดังกล่าวนี้ ผู้เรียนจะเป็นผู้ที่กาหนด หรือมีส่วนร่วมในการกาหนดสิ่งที่จะเรียน และวิธีการเรียน ของตน เป็นผู้ที่ตัดสินใจว่า ตนจะได้เรียนรู้อะไร เรียนรู้อย่างไรและมีการพัฒ นาการเรียนรู้ของตนได้อย่างไร ภายใต้การอานวยความสะดวกของผู้สอน เราอาจเรียกได้ว่าผู้สอนจะทาหน้าที่เสมือนโค้ชที่คอยให้คาแนะนา ทิศทางการเรียนรู้เพื่อไม่ให้ผู้เรียนหลงทิศทาง จากแต่ก่อนที่ผู้เรียนถูกมองว่ามีลักษณะ Passive หรือไม่มีการโต้ตอบในการเรียนการสอน หรือที่ เรี ย กว่ารั บ อย่ างเดี ย วนั้ น ในการเรี ย นการสอนแบบ Constructivism นั้ น ผู้ เรีย นจะถู ก มองว่ ามี ลั ก ษณะ Active มีความกระตือรือร้นที่จะเข้าสู่กระบวนการสร้างสรรค์ความรู้มากกว่าที่รอรับอย่างเดียว ความรู้ที่ผู้เรียน สร้างขึ้นมานั้นจะมาจากประสบการณ์เดิมส่วนตัวของผู้เรียนและข้อสมมติฐานที่ถูกพัฒนาขึ้นจากสิ่งแวดล้อมใน ขณะนั้ น ผู้ เรี ย นจะพั ฒ นาความรู้ด้ว ยการทดสอบข้อสมมติฐานต่างๆ อย่างต่อเนื่ อง ผู้ เรียนแต่ล ะคนจะมี กระบวนการตีความและการสร้างสรรค์ความรู้ที่แตกต่างกัน โดยแนวความคิดของ Constructivism นี้ ผู้เรียน ไม่เป็นเสมือนกับกระดานว่างๆ แต่จะนาเอาประสบการณ์ เดิม โครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่ ความสนใจ และ แรงจูงใจภายในเป็นพื้นฐานในการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนตามแนวความคิด Constructivism จะมีหลากหลาย โดยจะเน้นที่การ กระตุ้นให้ผู้เรียนใช้มุมมองที่หลากหลายในการนาเสนอ เช่น เมื่อผู้สอนนาเสนอกรณีศึกษาไม่ว่าจะเป็นการ


Teaching is fun. สมมติ ห รือจากเหตุการณ์ ปั ญ หาที่เกิดขึ้น จริงที่ต้องการ การแก้ ปั ญ หาให้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษา ทั้ ง นี้ จากกรณี ศึ ก ษา ดังกล่าวผู้เรียนจะเป็นผู้กาหนดเป้าหมายและจุดมุ่งหมาย ของการเรี ย นของตน ผู้ เรี ย นจะมีบ ทบาทส าคัญ ในการ เสนอความคิดในการแก้ปัญหาตลอดจนสร้างความรู้และ กากับการเรียนรู้ของตนเอง โดยมีผู้สอนแสดงบทบาทใน การเป็นผู้ชี้แนะ ผู้กากับ ผู้ฝึกฝน ผู้อานวยความสะดวกใน การเรียนของผู้เรียน โดยมีการจัดบริบทของการเรียน จัด สถานการณ์การเรียน สภาพแวดล้อม ทักษะ เนื้อหา และ งานที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียนตามสภาพที่เป็นจริง พร้อมทั้งมี การวัดผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามสภาพที่เป็นจริงขณะ ดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอน

แม้ว่าบทบาทของผู้สอนจะเปลี่ยนไป ในเทคนิคการสอนใหม่ ๆ แต่ใน ความเป็นผู้สอนแล้วก็ยังต้อง ตระเตรียมให้พร้อมเพื่อตอบคาถาม และแบ่งปันความรู้ให้แก่ผู้ที่มีความ ต้องการอย่างไม่มีที่สิ้นสุด

ดังที่กล่าวแล้วข้างต้น ประสบการณ์การเรียนการสอนหลายปี ที่ผ่านมาบวกกับประสบการณ์ในการศึกษาต่อทาให้มีความเข้าใจมาก ขึ้น ในทฤษฎี แ ละแนวความคิ ด ต่ างๆ ที่ ก ล่ าวถึ งบทบาทของผู้ เรีย น บทบาทของผู้ ส อน ตลอดจนแนวการสอนที่ จะมีป ระสิ ท ธิผ ลต่อ การ เรียนรู้ของผู้เรียนมากที่สุด จากแนวความคิดแรกที่ยึดติดกับการที่ผู้สอน ต้องเป็น “ผู้ให้” และเน้นที่การเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน นั้นอาจต้องมีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ในความคิดเห็ นของผม แล้ว ผู้สอนก็ยังคงเป็น “ผู้ให้” แต่เปอร์เซ็นต์การให้นั้นอาจลดน้อยลง และเพิ่ม ลักษณะของผู้แนะนา ผู้กากับดูแล และให้ ผู้เรียนได้มีโอกาส กาหนดทิศทางการเรียนรู้ และใช้ความรู้ ของเขาเองในการสร้างสรรค์ และแก้ปัญหา โดยเฉพาะปัจจุบันได้เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้หาความรู้ เพิ่ ม เติ ม จากหลากหลายแหล่ ง ความรู้ ซึ่ ง เป็ น ผลมาจากการพั ฒ นา ทางด้ านเทคโนโลยี Internet เช่ น อากู๋ (Google) น้ า ยู (YouTube) และป้าวิ (Wikipedia) เป็นต้น ดังนั้น โอกาสที่เปิดกว้างในการเรียนรู้นี้ ทาให้เทคนิคการสอนที่อาจมองเห็นว่ายากที่จะทาได้นั้นมีความเป็นไปได้มากขึ้น คาถามที่ว่า “สอนหนังสือสนุกมั้ย” ผมจาได้ว่าตลอดระยะเวลา 30 ปีมานี้ ผมสนุกกับการสอนหนังสือ ผมสนุกกับอาชีพนี้ที่ผมถือว่าเป็นอาชีพที่หยุดนิ่งไม่ได้ เป็นอาชีพที่ต้องเสาะหาความรู้เพื่อปรับปรุงความรู้เดิม เพื่อหาสิ่งใหม่ ๆ เพิ่มเติม และเพื่อเติมความเป็นผู้สอนที่แท้จริง ผมคิดว่า แม้ว่าบทบาทของผู้สอนจะเปลี่ยนไป ในเทคนิคการสอนใหม่ ๆ แต่ในความเป็นผู้สอนแล้วก็ยังต้องตระเตรียมให้พร้อมเพื่อตอบคาถาม และแบ่งปัน ความรู้ให้แก่ผู้ที่มีความต้องการอย่างไม่มีที่สิ้นสุด 




Digital Painting Ausun Studio by P'k Paladino

Digital Painting : Ausun Studio ฉบับนี้จะเป็นการสอนวาดภาพคน ให้เป็นการ์ตูนครับ โดยหลักจะเป็นการลงสีหลังเส้นที่เราร่างไว้ครับ เพือ่ เน้นความเป็นการ์ตูน ด้วยเทคนิคง่ายๆ นี้ สามารถนามาทาเป็นผลงานที่ น่าชื่นใจให้กับเรา และคนพิเศษได้ครับ ใครสนใจอยากชมผลงานอื่นๆ ของผม หรือจะพูดคุย ปรึกษาเกี่ยวกับงาน ด้าน digital art ก็เชิญได้เลยครับ ที่...

เพื่อไม่ให้เป็นการเสียเวลา เรามาเริ่มวาดภาพการ์ตูนกันได้เลยครับ




Ajarn Bob’s Notes Written by Dr.Robert Batzinger

We met Dr. Poe at the Asian Internet Engineering Conference held November 13-15, 2013 in Chiang Mai, Thailand. She presented a paper describing a model for using mobile and static sensors to provide connectivity cover an area with minimum energy consumption. In her talk, she described the method and presented an analysis of the performance these hybrid networks of static and mobile sensors. The research paper was well done and received compliments from the organizers of this event. After her presentation, we spoke with her to try to gain insight as to what it means to be an ASEAN scholar living in Germany.

What challenges have you had as an ASEAN scholar from Myanmar living and studying in Germany?

It

took time to make the transition. Although I am still studying German, language was not the biggest obstacle for me because most Germans also speak English. I had studied English since Kindergarten in Myanmar but living abroad has made English useful and important to me.

Also, I found that I had to take many basic courses that were not available to me as a student in Myanmar. This has added to the coursework I needed for my doctoral studies. Living and working in Germany has greatly expanded my professional interests, skills and opportunities.


You have already published 11 research papers on sensor networks that have been well quoted in Google Scholar. How did you choose this field of study?

My graduate studies expand on my interest and skills I discovered during my undergraduate studies. I basically followed my areas of interest. That has lead to a sequence of projects that has generated the research papers.

What undergraduate courses did you discover were most important to your graduate studies?

Mathematics

Mathematics is a

is a basic core skill that is very important. I learned Math in my undergraduate years but I never applied it. However I found that knowing Math is key to being accepted for graduate studies and it provides for a wide range of research opportunities. Studying abroad I discovered a lot of new subjects that were not available locally in Myanmar and Mathematics is key to understanding those subjects.

basic core skill that is very important

Do you use social media to keep in touch with family in Myanmar? I noticed that students spend a lot of time on social media. I keep in touch with my family through email and phone calls, but not Facebook. It is a big distraction. That's my opinion.


What advice would you give to undergraduate students?

Students need

to have a goal. Without a goal, attempts at studies will not work out. We Asians tend to make narrow, traditional choices in what we study. However, we need to learn to expand our horizons and look for knowledge that is not available to us locally. In the West people are open in what they think about. Thinking new thoughts helps them to discover new things.

Students need to have a goal. Without a goal, attempts at studies will not work out.

================================================================ ASEAN SCHOLAR Profile Dr Wint Yi Poe Distributed Computer Systems Lab. Computer Science Department University of Kaiserslautern Kaiserslautern, Germany Research Interests * Wireless Sensor Networks * Network Modeling and Performance Evaluation Education 2002 BS Information Technology: Mandalay Technicolgy University, Mandalay, Myanmar 2004 MS Information Science: Yangon University, Yangon, Myanmar 2012 PhD Computer Science (Doktor der Ingenieurwissenschaften Informatik): Technischen Universitat Kaiserslautern, Kaiserslautern, Germany


เรื่อง : วรานนท์ หรรษ์ไชยาศรี Game programmer บริษัท Creative Kingdom(Thailand) จากัด

Made with …

ากบทความในตอนที่แล้ว ผู้อ่านหลายคน คงได้รู้จักกับ Unity3d กันไปพอสมควร หลายคนอาจ ไปลอง โหลดมาใช้งานแล้ว ทาตาม Tutorial ใน Youtube หรือ ถาม อ.กู..เกิ้ล (Google) ก็แล้วแต่ สะดวก ถ้ า หากถามคนในวงการเกมคอมพิว เตอร์ ว่ า Unity3d คื อ อะไร ทุ ก คนก็ จ ะบอกว่ า " มั น เป็ น Engine free ท ำเกมไง" หรื อ หลายคนไปค้ น หาใน Google ว่า "Unity3d" ก็จะพบข้อมูลมากมายในการ ทาเกม ซึ่งก็เป็นอย่างนั้นจริงๆ หากอยากดูว่า เกมทีืท่ า จาก Unity3d มีเ กมอะไรบ้าง ก็ลองเข้าไปดูที่นี่เ ลย ครับ https://unity3d.com/showcase/gallery/games เราจะได้เห็นเกมมากมายที่ใช้ Unity3d ทา ซึ่ง ส่วนใหญ่จะเป็นเกมส์ที่ดังๆ ทาเงินระดับร้อยล้าน เป็น ส่ ว นมาก เช่ น Call of Duty , SubWay Sufers , Bad piggy , Temple Run หรือ Marvel Superhero Squad เมื่อเรา ลอง คลิ๊กเข้าไปในแต่ละหน้า ก็จะได้ เห็นข้อมูลของเกมนั้นๆ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ คือ - บริษัทผู้ผลิต (developer) - ประเภทของเกม (Genre(s)) - คาอธิบายเกี่ยวกับเกม (Description) ซึ่งจะมี link ไปที่เว็บไซต์ของค่ายเกมนั้นๆด้วย (read more) - แพล็ตฟอร์ม (platform) ที่เล่นเกมนีไ้ ด้ เพื่อให้เราไปหา โหลดมาลองเล่นได้

แม้ ว่ า Unity3d จะเป็ น engine ที่ ส ร้ า งมา เพื่อให้ทาเกม แต่ก็ไม่ได้หมายว่า ทาอย่างอื่นไม่ได้นะ ครับ หากเรายังอยู่ที่เว็บโชว์เกมที่ทาจาก Unity3d ลองเลื่อนเมาส์ขึ้นไปข้างบน จะเห็นเมนู "Non-games" ให้เลือก

หรือ ไปที่ link นี้ http://unity3d.com/showcase/gallery/non-games


จะพาเราไปหน้ า ที่ เ น้ น ในเรื่ อ งของการใช้ Unity3d สาหรับการพัฒนาแอปพลิเคชันที่ไม่เกี่ยวกับเกม ซึ่งมี ทั้งโปรแกรมเพื่อการเรียนรู้(Education/Edutainment apps)โปรแกรมเพื่ อธุ ร กิ จ (Business apps)รวมถึ ง เกมเพื่อการเรียนรู้ (Serious game)

 Dinosaurs Unearthed Augmented Reality Experience

ต่อจากนี้จะขอแนะนาแอปพลิเคชันที่น่าสนใจ ที่ ใช้ Unity3d มาประยุกต์ให้เป็นประโยชน์ และใช้งาน ได้จริง ในสาขาวิชาชีพและธุรกิจต่างๆ เริ่มจาก

 Nuovo - Interactive Visualisation ใช้เทคโนโลยี การผนวกภาพจากกล้องของแท็บ เล็ ต เข้ า กั บ โลก 3D (AR) เพื่ อ ใช้ ป ระโยชน์ ใ น พิพิธ ภัณ ฑ์ ไดโนเสาร์ล้านปี เมื่อมองผ่านแท็บ เล็ ต หรือสมาร์ทโฟน ในตาแหน่งที่กาหนดไว้ ตัวไดโนเสาร์ 3 มิ ติ ก็ จ ะปรากฏขึ้ น เหมื อ นกลั บ มามี ชี วิ ต อี ก ครั้ ง ตรงหน้ า เรา เป็ น ประโยชน์ กั บ ธุ ร กิ จ ท่ อ งเที่ ย วเป็ น อย่างมาก โดยไม่ต้องสร้างขึ้นมาในโลกจริง และยัง ตอบสนองกับผู้ใช้ได้

เป็ น 3d application ที่ ใ ช้ น าเสนอโครงการ คอนโดมิ เ นี ย ม เพื่ อ ให้ ลู ก ค้ า ได้ ดู ร ายละเอี ย ด ของ โครงการในรูป แบบเสมือนจริง โดยไม่ใ ช่ แค่รูป ภาพ หรือ แบบแปลนเท่านั้น แต่จะได้เห็นทั้งสภาพแวดล้อม ทั้งหมดก่อนที่จะสร้างคอนโดมิเนียมนี้เสร็จ ซึ่งนับเป็น ประโยชน์อย่างมากในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และ งาน ออกแบบสถาปัตยกรรม ช่ วยให้ป ระหยัดต้นทุ น ใน การทาต้นแบบ และ ได้ความรู้สึกที่มากกว่า

 Minutely

แอปพลิ เ คชั น อั จ ฉริ ย ะที่ ช่ ว ยรายงานสภาพ


อากาศในพื้นที่ต่างๆ ซึ่งอ้างอิงจากฐานข้อมูลที่ได้จาก เครื่องตรวจสภาพอากาศส่วนกลาง ทาให้สามารถเห็น สภาพอากาศในแต่ละพื้นที่ได้ 3 มิติ แบบ real time และพยากรณ์ ไ ด้ว่าจะเกิดพายุขึ้นหรือไม่ ในระดับ ที่ รุนแรงขนาดไหน ช่วยให้วางแผนในการเดินทางได้ง่าย ขึ้น หรือ อาจช่ วยชี วิตผู้คนได้เ ป็นล้าน จากภัยพิบัติ ธรรมชาติ

 GUNSTRUCTION http://www.ar15.com/gunstruction

 Surgical Anatomy of the Liver

แอปพลิเคชันสอนการประกอบปืน ซึ่งใช้ในทาง การทหาร ช่ วยในการศึ กษาโครงสร้ างของปื น ชนิ ด ต่างๆ และการฝึกประกอบปืน โดยไม่ต้องใช้ปืนจริงๆ เหมาะกับการฝึกทหารจานวนมาก และลดการสูญเสีย เนื่องจากอุบัติเหตุจากการฝึกปฏิบัติ ใครๆก็ทาได้ ไม่ ต้องใช้ของจริงที่ทั้งอันตรายและแพงมากด้วย แอปพลิเคชันที่ช่วยฝึกการผ่าตัดตับและเรียนรู้ โครงสร้างของตับ โดยจะแสดงโครงสร้างการทางาน และ องค์ ป ระประกอบของตั บ ทั้ ง หมด รวมไปถึ ง ลักษณะการผ่าตัดที่ถูกต้อง ซึ่งไม่ต้องใช้ ตับจริงๆ ใน เรียนรู้เพื่อผ่าตัด ประหยัดทั้งงบประมาณ และ เวลา ในการเรี ย นรู้ เหมาะบรรดาคนหมอยุ ค ดิ จิ ทั ล เป็ น อย่างยิ่ง หรือ คนทั่วไปที่ "…อยากเป็นหมอ..."


 3D KPI Application

ผ่านจอ ซึ่งตอบสนองกับการเอียงตัวของ ผู้ใช้งาน ให้ ความรู้ สึ ก เหมื อ นกั บ ได้ เ ข้ า ไปวิ่ ง หรื อ ปั่ น จั ก รยานใน สถานที่จริง ทาให้การออกกาลังกายภายในฟิตเนสไม่ น่าเบื่ออีกต่อไป แถมยังประหยัดและปลอดภัยอีกด้วย

3D KPI ช่ ว ยในเรื่ อ ง ก า ร จั ด ก า รโ ร ง ง า น อุ ต สาหกรรมต่ า งๆ ท าให้ รู้ ค วามเคลื่ อ นไหวของ โรงงานได้เป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเป็นกระบวนการผลิต ปัญหาที่เกิดขึ้นในสายการผลิต ซึ่งจะแสดงผลออกมา ในรู ป แบบ 3 มิ ติ แสดงผลแบบ real time ที่ ข้ อ มู ล ได้รับการ update จากฐานข้อมูลที่เชื่อมต่อ กับแต่ละ แผนกภายในโรงงาน ทาให้การแก้ปัญหาเป็นเร่ืองที่ไม่ สายเกินไป และสามารถปรับปรุงพัฒนาโรงงานให้ดี ยิ่งขึ้นได้ เมื่อเห็นจุดบกพร่องก่อน ทั้งหมดนี้เป็นเพียงตัวอย่าง ของแอปพลิเคชันที่ ไม่ใช่เกมซึ่งใช้ Unity3d พัฒนาเพื่อให้เกิดประโยชน์ใน ด้านต่างๆ เชื่อว่า หลายคนคงเกิดไอเดียที่อยากจะทาแอป พลิเคชันเพื่อให้โ ลกนี้น่าอยู่ขึ้น ทุกคนล้วนมีความคิ ด สร้างสรรค์ แต่ใครจะนามันออกมาทาให้เป็นรูป เป็น ร่างจับต้องได้

 BitGym แอปพลิเคชันที่ช่วยให้คนที่ชอบไปฟิตเนสเพื่ออ อกก าลั ง กาย โดยเฉพาะคนที่ ช อบวิ่ ง หรื อ ปั่ น จั ก รยาน จะสามารถท่ อ งเที่ ย วไปตามเส้ น ทาง ธรรมชาติ โดยไม่ต้องไปในสถานที่จริง เพียงแค่มอง

Unity3d อาจเป็ น เครื่ อ งมื อ ตั ว หนึ่ ง ที่ ช่ ว ยให้ ความคิดสร้างสรรค์ของเราเป็นความจริง ใช้งานได้ จับต้องได้ และอาจจะส่งผลให้โลกนี้เปลี่ยนแปลงไป ก็ เป็นได้ 



สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ร่วมกับ Creative Kingdom Animation Studios Film หรือบริษัท ซีเคเอ เชียงใหม่ จากัด จัดโครงการอบรมหลักสูตรระยะสั้น หัวข้อ “Unity: Basic Course” ระหว่างวันที่ 19 – 30 พฤษภาคม 2557 ดาเนินการสอนโดย คุณ วรานนท์ หรรษ์ไชยาศรี หรือคุณไอซ์ Game programmer & Instructor ของบริษัท ซีเค เอ เชียงใหม่ จากัด ท่านใดที่พลาดการอบรมครั้งนี้ รอพบกับการอบรมในรุ่นต่อไป และสามารถติดตาม ข่าวสารเกี่ยวกับ Unity ได้ที่


ข่าวประชาสัมพันธ์








ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.พิศมัย กิจเกื้อกูล คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ คณะกรรมการประชาสัมพันธ์และการรับนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.