Rotary Thailand 2010-2

Page 1

rotary Thailand

นิตยสารรายสองเดือน ปีที่ 28 ฉบับที่ 130 กันยายน-ตุลาคม 2553 September - October 2010

โ ร ต า รี ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย w w w . r o t a r y t h a i l a n d . o r g


โรตารี คืออะไร ?

วัตถุประสงค์ของโรตารี

โรตารี คือ องค์กรของนักธุรกิจและวิชาชีพจาก ทั่วโลก ซึ่งบ�ำเพ็ญประโยชน์เพื่อเพื่อนมนุษย์ ส่งเสริม มาตรฐานจรรยาบรรณในทุกวิชาชีพพร้อมทั้งช่วยสร้าง ไมตรีจิต และสันติสุขในโลก

The Object of Rotary The object of Rotary is to encourage and foster the ideal of service as a basis of worthy enterprise and, in particular, to encourage and foster :

“Rotary is an organization of business and professional persons united worldwide who provide humanitarian service, encourage high ethical standards in all vocations, and help build good will and peace in the world”

FIRST. The development of acquintance as an opportunity for service; SECOND. High ethical standards in business and professions, the recognition of the worthiness of all useful occupations, and the dignifying of each Rotarian’s occupation as an opportunity to serve society; THIRD. The application of the iedal of service in each Rotarian’s personal, business, and community life;

บททดสอบสี่แนวทาง The Four-Way Test Of the things we think, say or do

FOURTH. The advancement of international understanding, goodwill, and peace through a world fellowship of business, and professional persons united in the ideal of service. วัตถุประสงค์ของโรตารี โรตารีมวี ตั ถุประสงค์ เพือ่ สนับสนุนและส่งเสริมอุดมการณ์ แห่งการบ�ำเพ็ญประโยชน์ ในการด�ำเนินกิจกรรมที่มีคุณค่าเป็นหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อสนับสนุนและส่งเสริม

หนึ่ง การเสริมสร้างความคุ้นเคยระหว่างสมาชิก เพื่อการบ�ำเพ็ญ

1) Is it the TRUTH?

ประโยชน์

2) Is it FAIR to all concerned?

สอง การยกระดับจรรยาบรรณในธุรกิจและวิชาชีพ การยอมรับ คุณค่าในการประกอบอาชีพทีย่ งั คุณประโยชน์ และการให้โรแทเรียน ทุกคนภูมิใจในอาชีพของตน เพื่อการบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม

3) Will it build GOODWILL and BETTER FRIENDSHIPS? 4) Will it be BENEFICIAL to all concerned?

สาม การให้โรแทเรียนทุกคน น�ำเอาอุดมการณ์แห่งการบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ไปใช้ในชีวิตส่วนตัว ธุรกิจและชุมชน

“ไม่ว่าสิ่งใดที่เราคิด พูดหรือปฏิบัตินั้น 1. เป็นจริงหรือไม่ 2. เป็นธรรมไหมต่อทุกสิ่ง 3. จะสร้างเสริมไมตรีจิตและ มิตรภาพหรือไม่ 4. เป็นประโยชน์ไหมแก่ทุกฝ่าย”

สี่ การเพิม่ พูนความเข้าใจ ไมตรีจติ และสันติสขุ ระหว่างชาติ ด้วยมิตร

At a Glance Rotary Members: 1,227,563 Clubs: 34,103

สัมพันธ์ของบุคคลในธุรกิจและวิชาชีพทั่วโลก ที่มีอุดมการณ์ในการ บ�ำเพ็ญประโยชน์อย่างเดียวกัน

*As of 30 June

Rotaract Members: Interact Members: 189,336* 291,732* Clubs: 8,232* Clubs: 12,684*

Rotary Community Corps Members: 159,298* Corps: 6,929*


สารประธานโรตารีสากล เรย์ คลิงสมิท กันยายน ๒๕๕๓

Bigger, Better, Bolder ใหญ่ขึ้น ดีขี้น กล้ามากขึ้น ปีนี้เป็นอีกปีหนึ่งที่โรตารีมีวันครบรอบที่สำ� คัญ กล่าวคือ แม้ว่าได้เริ่มก่อตั้งสโมสร โรตารีชิคาโกในปี 1905 แล้วก็ตาม แต่การเริ่มต้นการจัดประชุมใหญ่ของสโมสรโรตารีต่างๆ นั้น ได้มีขึ้นในเดือนสิงหาคม ปี 1910 โดยมีโรแทเรียนจาก 16 สโมสร มาร่วมประชุมรวม 60 คน ประวัตศิ าสตร์ขององค์กรสโมสรโรตารีจงึ เริม่ ต้นขึน้ จากการประชุมใหญ่ในปี 1910 ครัง้ นัน้ เอง และบัดนี้ เราก�ำลังเริ่มก้าวสู่ศตวรรษที่สองแห่งการบ�ำเพ็ญประโยชน์ของโรตารี ในฐานะ เป็นองค์กรบ�ำเพ็ญประโยชน์ เราทุกคนคงจะต้องการให้ศตวรรษใหม่แห่งการบ�ำเพ็ญประโยชน์นี้ เป็นศตวรรษที่ ประสบผลส�ำเร็จมากยิ่งขึ้นไปกว่าศตวรรษที่ผ่านไป ดังนั้น ผมจึงขอถือโอกาสนี้ถามว่า – เรา ก�ำลังใช้วิถีทางที่ถูกต้อง เพื่อให้แน่ใจว่าเราจะประสบความส�ำเร็จ ใช่หรือไม่? เราก�ำลังท�ำ สิ่งที่ถูกต้องหรือไม่? เรามีวิสัยทัศน์อนาคตที่ชัดเจนหรือไม่? และเราสามารถใช้วลีจากเพลง “America the Beautiful” ที่มีว่า “เราจะมอง(อนาคต)ผ่านปีข้างหน้า” ไปได้หรือไม่? ในฐานะประธานโรตารีสากลคนที่ 100 ผมมีความเชือ่ มัน่ ว่า เราก�ำลังก้าวไปในทิศทาง ที่ถูกต้องแล้ว สโมสรของพวกเรา 33,000 สโมสร คือ สินทรัพย์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของโรตารี และ ความส�ำเร็จของเราในอีก 100 ปีข้างหน้านั้น ย่อมขึ้นอยู่กับสโมสรของเรา ที่จะสามารถด�ำรง คงความแจ่มใสมีชีวิตชีวาอยู่ต่อไป พลังของสโมสรเหล่านี้จะเป็นผู้ก�ำหนดความส�ำเร็จของเรา อย่างแท้จริง คณะกรรมการบริหารโรตารีสากลได้ใช้มาตรการต่างๆ ในการเสนอให้ความช่วยเหลือ สโมสรของเราในปีนี้มากยิ่งขึ้น รวมถึงการสร้างโปรแกรมผู้ประสานงานโรตารี เพื่อช่วยเหลือผู้ว่าการภาค ในการให้ ข่าวสารข้อมูล โปรแกรมของโรตารีสากลและวิธีปฏิบัติการที่ดีที่สุดแก่สโมสรต่างๆ ผมเชื่อมั่นอย่างยิ่งว่า หากเราสามารถช่วยให้สโมสรของเราดียิ่งขึ้นและกล้ากระท�ำ มากขึ้นแล้ว สโมสรของเราก็ย่อมจะเติบโตใหญ่ขึ้นอย่างแน่นอน สืบเนื่องมาจาก การท�ำให้ โรแทเรียน ได้ภาคภูมใิ จในสโมสรมากยิง่ ขึน้ และสมาชิกผูม้ งุ่ หวังได้เพิม่ ความตระหนักใน โรตารี มากยิ่งขึ้น ทั้งสองประการนี้ เพราะฉะนั้น เป้าหมายของผม ก็คือ การช่วยให้ผู้ว่าการภาคได้ ช่วยเหลือสโมสรในภาคให้ ใหญ่ยิ่งขึ้น ดียิ่งขึ้นและกล้ากระท�ำมากขึ้น. นีค่ อื เวลาทีย่ งิ่ ใหญ่ส�ำหรับผูท้ เี่ ป็นโรแทเรียน ให้เราร่วมกันท�ำให้ศตวรรษใหม่แห่งการ บ�ำเพ็ญประโยชน์นี้ น่าตื่นเต้นมากยิ่งขึ้นกว่าศตวรรษที่ผ่านไปด้วย/ เรย์ คลิงสมิท – ประธานโรตารีสากล 2010-2011 (Translation: Pichet3330@gmail.com – August 27, 2010)


สารประธานโรตารีสากล เรย์ คลิงสมิท ตุลาคม ๒๕๕๓

“ลงใต้ไปให้ถึง นิวออร์ลีนส์โน่น” “Way Down Yonder in New Orleans” มีเพลงหลายเพลงมากทีแ่ ต่งขึน้ เกีย่ วกับเมืองนิวออร์ลนี ส์ เนือ่ งจากมีประวัตแิ ละมรดก ทางดนตรี มีชื่อเป็นเมืองดนตรีแห่งหนึ่งของโลก โดยเฉพาะผมเอง ชอบเพลง “Way Down Yonder in New Orleans” ที่ได้น�ำเนื้อร้องท่อนหนึ่งและเป็นชื่อเพลงมาเป็นหัวเรื่องข้าง บน ซึ่งบ่งบอกให้เราคิดถึงการประชุมใหญ่โรตารีสากลปี 2011 ที่เมืองนี้ ระหว่างวันที่ 21−25 พฤษภาคม – ล่วงหน้าหนึ่งเดือนเต็มๆ ก่อนการประชุมใหญ่ทุกครั้งในหลายปีที่ผ่านมา . การประชุมใหญ่ทนี่ วิ ออร์ลนี ส์นี้ จะมีพธิ เี ปิดเป็นทางการในวันเสาร์ มิใช่วนั อาทิตย์ดงั เช่นปีก่อน และ ศาลามิตรภาพ สถานที่แสดงผลงานในการประชุมประจ�ำปีของเรา ก็จะเปิดใน เช้าวันเสาร์ด้วย ส่วนการประชุมอื่นๆ ที่มีก่อนหน้าประชุมใหญ่ทุกรายการจะสิ้นสุดลงในบ่าย วันเสาร์ เพื่อเปิดโอกาสให้โรแทเรียนและแขกมีเวลาพักผ่อนที่นั่นมากขึ้นก่อนการประชุมองค์ รวม ซึ่งจะเริ่มขึ้นในวันอาทิตย์ มีข่าวดีเพิ่มเติมอีก ก็คือ ศาลามิตรภาพ จะอยู่ติดกันกับห้องประชุมองค์รวมในศูนย์ ประชุมใหญ่ ศาลามิตรภาพ นีจ้ ะยืดเวลาท�ำงานออกไปเพือ่ ให้มเี วลาสังสรรค์และสร้างเครือข่าย ได้มากขึ้นส�ำหรับแขกผู้มาเยือนจากโรตารีทั่วโลก ที่นี่ก็คือสถานที่เหมาะสมส�ำหรับโรแทเรียน และครอบครัวจริงๆ ใครเล่าจะสามารถบรรยายมนต์เสน่ห์ ความตื่นเต้นเร้าใจ และการสร้าง แรงจูงใจ จากการประชุมใหญ่โรตารีสากลได้อย่างเหมาะสมบ้าง? การประชุมใหญ่ของเรานั้น เหนือกว่าค�ำบรรยายใดใด เพราะมีความหลากหลายในการจรรโลงไมตรีจิตมิตรภาพและการ สร้างเครือข่ายได้ดีที่สุด เมื่อเราได้พบกับมิตรโรแทเรียนจากทั่วทุกมุมโลก และบริการระหว่าง ประเทศนั้น ช่วยเสริมสร้างบรรยากาศได้อย่างแท้จริง เมื่อโรแทเรียนจะได้พบเพื่อนใหม่ๆ จาก ดินแดนไกลโพ้น ดังนัน้ วิธที ดี่ ที สี่ ดุ ทีจ่ ะเข้าใจและชืน่ ชมกับการประชุมใหญ่โรตารีได้อย่างแท้จริง คือ การเข้าร่วมงานทีด่ เี ด่นและส�ำคัญยิง่ ทีก่ ำ� ลังจะมีขนึ้ ทีน่ วิ ออร์ลนี ส์ ซึง่ จะเป็นการประชุมใหญ่ ที่ดีที่สุดอีกครั้งหนึ่งเท่าที่เคยมีมา ผมขอรับประกัน! ขอเชิญไปร่วมสนุกกับเราที่นิวออร์ลีนส์ ขณะที่พวกเราร่วมกันท�ำให้โลกน่าอยู่ยิ่งขึ้น ...ให้เราเตรียมตัวไปสนุกสนานกันเถิด....ซ�ำ้ อีกครัง้ หนึง่ ... ให้เราเตรียมตัวไปสนุกสนานกันเถิด.... ขออีกครั้งครับ! เรย์ คลิงสมิท ประธานโรตารีสากล 2010-2011 Ray Klinginsmith, 2010-2011 RI President (Translation – pichet3330@gmail.com)

02

นิตยสารโรตารีประเทศไทย กันยายน-ตุลาคม 2553


สารประธานทรัสตีฯ

คาร์ล วิลเฮล์ม สเตนแฮมเมอร์ กันยายน ๒๕๕๓

โปรแกรมเยาวชน ช่วยสร้างเสริมภาพลักษณ์สาธารณะให้แก่โรตารี Youth programs help enhance Rotary’s public image โรตารีมีโปรแกรมเยาวชนที่หลากหลาย แต่ส�ำหรับโปรแกรมของผู้ร่วมโปรแกรมรุ่น เยาว์ เช่น อินเตอร์แรคท์ และเยาวชนแลกเปลี่ยนนั้น แม้มิได้ใช้ทุนสนับสนุนจากมูลนิธิโรตารี ก็ตาม ก็สามารถเสริมสร้างภาพลักษณ์สาธารณะด้านบวกให้แก่โรตารีได้มากมาย และมูลนิธิ โรตารีก็พลอยได้รับผลดีจากโปรแกรมเหล่านี้อีกด้วย ดังนั้นโปรแกรมเหล่านี้จึงมีความส�ำคัญ มากส�ำหรับมูลนิธิโรตารี เนื่องจากว่า ผู้ร่วมโครงการจะได้รับสัมผัสแรกจากโรตารีที่จะน�ำเขา ไปสู่การเป็นสมาชิกสโมสรโรตารีในอนาคต และอาจเป็นผู้บริจาคให้แก่มูลนิธิโรตารีอีกด้วย ส่วนโปรแกรมส�ำหรับผู้ร่วมโครงการวัยหนุ่มสาว เช่น ทุนการศึกษาทูตสันถวไมตรี กลุ่มศึกษาแลกเปลี่ยน และนักศึกษาสันติภาพโรตารี นั้นได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิโรตารี ส�ำหรับผมมีโปรแกรมพิเศษ ก็คอื ศูนย์โรตารีเพือ่ การศึกษาสันติภาพและยุตขิ อ้ ขัดแย้งระหว่าง ประเทศ โปรแกรมนี้ในวันหนึ่งข้างหน้า อาจเป็นเพชรประดับบนมงกุฎโปรแกรมของโรตารีก็ เป็นได้ เราได้ระดมหาทุนสนับสนุนโปรแกรมนีไ้ ด้แล้วจ�ำนวน 95 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ ซึง่ ก็ตอ้ งไม่ลมื ด้วยว่า เรายังต้องพยายามหาเงินบริจาคเพิม่ เติม ส�ำหรับกองทุนโปรแกรมประจ�ำปี และกองทุนถาวร เพื่อสนองตอบเป้าหมาย กองทุนท้าทาย 200 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐต่อ ไปด้วย โปรแกรมส�ำหรับเยาวชนของเราทั้งหมด ล้วนเป็นโปรแกรมสนับสนุนสันติภาพ โดย เฉพาะผู้ร่วมโครงการเยาวชนแลกเปลี่ยน ซึ่งท�ำหน้าที่ดั่งทูตสันติภาพ เมื่อได้ไปอยู่ในสิ่งแวด ล้อมใหม่ๆ ทั้งหมด เราได้ขอจากพวกเขาไว้มากทีเดียว และเราก็สามารถภูมิใจในตัวพวกเขา ได้มากเช่นกัน นักเรียนนักศึกษาของเราทุกคน ไม่ว่าวัยเยาว์หรือวัยหนุ่มสาว ล้วนมีส่วนร่วมใน โครงการระดับท้องถิ่น ในประเทศหรือต่างประเทศ ซึ่งเป็นการช่วยให้ ชุมชนสร้างสรรค์ สาน สัมพันธ์โลก ด้วยการบริการเหนือตนเอง

คาร์ล วิลเฮล์ม สเต็นแฮมเมอร์ ประธานทรัสตีมูลนิธิโรตารี 2010−2011 (Translation: Pichet3330@gmail.com – August 29, 2010)


สารประธานทรัสตีฯ

คาร์ล วิลเฮล์ม สเตนแฮมเมอร์ ตุลาคม ๒๕๕๓

ความส�ำเร็จในอาชีพ หมายถึง การอุทิศ เวลา ความเชี่ยวชาญ และก�ำลัง ทรัพย์ Success in a vocation means giving – of time, expertise, and money. ผู้ที่เข้ามาเป็นสมาชิกสโมสรโรตารี จะเข้ามาอย่างภูมิใจในฐานะตัวแทนนักธุรกิจและ ผูป้ ระกอบอาชีพต่างๆ ดังนัน้ สมาชิกสโมสรทุกคนจึงมีพนั ธกิจในการเป็นผูแ้ ทนด้านอาชีพของ ตน ให้แก่มติ รโรแทเรียนอืน่ ๆ และเป็นแบบอย่างผูม้ จี ติ วิญญาณโรตารีในสถานทีท่ �ำงานของตน ด้วย ผูท้ ปี่ ระสบความส�ำเร็จในอาชีพการงาน จึงเป็นผูท้ จี่ ดั การชีวติ ของตนอย่างดีเสมอ ไม่ เพียงในด้านอาชีพเท่านัน้ แต่ในชีวติ ส่วนตัวของเขาเองด้วย ดังนัน้ พวกเขาจึงมีระบบทีด่ ใี นการ ให้ดว้ ย พวกเขาเข้าใจดีวา่ หากมูลนิธโิ รตารีกำ� ลังระดมทุนท้าทายพิเศษเพือ่ สมทบกับเงินบริจาค อย่างใจกว้าง ของมูลนิธบิ ลิ แอนด์เมลินดา เกทส์แล้ว การบริจาคให้แก่กองทุนโปรแกรมประจ�ำ ปี จึงมีความส�ำคัญอยู่เสมอ เนื่องจากโปรแกรมนี้เป็นส่วนที่ส�ำคัญของการด�ำเนินการด้านการ เงินของมูลนิธิโรตารี และที่มีความส�ำคัญเท่าๆ กันก็คือ การบริจาคกองทุนถาวรและผู้บริจาค รายใหญ่ในศูนย์ผู้บริจาครายใหญ่ของโรตารี ดังนั้น การบริจาคให้แก่ทุนท้าทายนี้จะต้องให้ มากกว่าและให้เหนือกว่าการบริจาคประจ�ำปีปรกติทวั่ ไป โชคดีทโี่ รแทเรียนจ�ำนวนมากมีความ เข้าใจเรื่องนี้ดี อย่างไรก็ตาม การบริจาคก็ไม่จ�ำเป็นต้องให้เป็นเงินเพียงอย่างเดียว โรแทเรียนจ�ำนวน มากมายได้อุทิศเวลาว่างและความเชี่ยวชาญของตน อันเนือ่ งจากความส�ำเร็จในอาชีพการงาน ของเขา แพทย์และพยาบาลจ�ำนวนมากออกไปช่วยเหลือเด็กที่เจ็บป่วย วิศวกรจ�ำนวนมากไป ช่วยขุดบ่อน�้ำ ครูอาจารย์มากมายไปช่วยงานในโรงเรียน ที่กล่าวมานี้ เป็นเพียงส่วนน้อย การปฏิบตั งิ านทีก่ ล่าวมานัน้ สามารถสะท้อนถึงอาชีพทีห่ ลากหลาย ทีม่ จี ดุ เริม่ ต้นในปี 1905 กลุ่มสุภาพบุรุษเพียงหยิบมือเดียวที่มีอาชีพต่างๆ กัน มารวมกันเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น นั่น คือจุดเริ่มต้นของสิ่งที่เรามาช่วยกันท�ำในปัจจุบันคือ การท�ำให้ ชุมชนสร้างสรรค์ สานสัมพันธ์ โลก โดยการบริการเหนือตนเอง

04

นิตยสารโรตารีประเทศไทย กันยายน-ตุลาคม 2553

คาร์ล วิลเฮล์ม สเต็นแฮมเมอร์ ประธานทรัสตีมูลนิธิโรตารี 2010−2011 (Translation: Pichet3330@gmail.com – August 30, 2010)


Tanaka is choice for 2012-13 RI president นย.อุณา ชไนเดอร์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่ ผู้แปล

ทานากะได้รับการเสนอชื่อให้เป็นประธานโรตารีสากล ปี 2555-2556 ซาคูจิ ทานากะ สมาชิกสโมสรโรตารียาชิโอ เมืองไซตามะ ประเทศญี่ปุ่น ได้รับการเสนอชื่อให้ เป็นประธานโรตารีสากล ปี 2555-2556 จากคณะกรรมการเสนอชื่อประธานโรตารีสากลโนมินี โดยจะ ด�ำรงต�ำแหน่งอย่างเป็นทางการตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคมนีเ้ ป็นต้นไป หากไม่มกี ารน�ำเสนอชือ่ ผูอ้ นื่ เข้าแข่งขัน ทานากะกล่าวว่าท่านต้องการเห็นโรตารี “ยังคงมีความต่อเนื่องในภารกิจหลักในฐานะที่เป็น พลังหลักในการปรับปรุงชุมชนของเรา” ในการที่จะท�ำงานชิ้นนี้ให้ดีได้ โรตารีจ�ำต้องมีสโมสรที่พร้อมและมีความจริงจัง ท่านเสริมว่า “เราโชคดีทเี่ ราได้ปรับปรุงแผนกลยุทธของโรตารีสากล เพือ่ ช่วยสร้างความเข้มแข็ง ให้สโมสร ซึง่ จะท�ำให้ เป็นสโมสรที่มีชีวิตชีวา กระตือรือร้น มีสมรรถภาพ และสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงโลก” ทานากะเป็นประธานบริษัทขายส่ง ชื่อ บริษัททานากะจ�ำกัดมานานถึง 32 ปี ซึ่งต่อมาในปี 2538 ได้กลายเป็น บริษัทมหาชน และหลังจากนั้นก็ได้ร่วมกับบริษัทขายส่งอื่นๆ ที่อยู่ในระดับแนวหน้า ของญี่ปุ่น ปัจจุบัน ท่านด�ำรงต�ำแหน่งรองประธานหอการค้าของเมืองยาชิโอ และที่ปรึกษาของบริษัท อราตา จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทขายส่งอาหารสัตว์และสัตว์เลี้ยง นอกจากนี้ ท่านยังเป็นประธาน National Household Papers Distribution Association of Japan มานานถึง 8 ปีแล้ว ทานากะได้รับการ ศึกษาด้านธุรกิจ จาก Nihon Management Daigakuin และ Tokyo Management Daigakuin จากที่เคยอยู่ในต�ำแหน่งกรรมการของมูลนิธิโรตารี ท่านยังเคยเป็นประธานกรรมการจัดงาน ประชุมใหญ่โรตารีสากล ที่เบอร์มิงแฮม (Burmingham Convention) เมื่อปี 2552 ต�ำแหน่งต่างๆที่ ท่านได้ท�ำหน้าที่มาในโรตารี่ คือ กรรมการบริหารโรตารีสากล เป็นผู้ประสานงานมูลนิธิภูมิภาค เป็นผู้ ว่าการภาค และอยู่ในคณะกรรมการเฉพาะกิจการขจัดโปลิโอให้หมดสิ้น และยังเป็นกรรมการกองทุน ถาวรในญี่ปุ่น และกรรมการแผนวิสัยทัศน์ในอนาคต (Future Vision Committee) ท่านเป็นผู้ก่อตั้งกองทุนมิตรภาพโรตารีเพื่อเสรีภาพ อีกทั้งท่านและคุณเคียวโกะผู้เป็นภรรยา ยังเป็น พอลแฮร์ริสเฟลโลว์ เบเบแฟกเตอร์ และเมเจอร์โดเนอร์ด้วย ท่านได้รับรางวัลบริการเหนือตนเอง และรางวัลการบ�ำเพ็ญประโยชน์ดีเด่นของมูลนิธิโรตารี ท่านกล่าวว่าการขจัดโปลิโอให้หมดสิ้นจากโลกนี้ “เป็นค�ำมั่นสํญญาที่เราได้ให้ไว้กับเด็กๆทั่ว โลก และท่านไม่เคยนึกสงสัยเลยว่า วันแห่งความส�ำเร็จของโครงการนี้จะมาถึงในอนาคตอันใกล้นี้” ท่านทานากะ และคุณเคียวโกะ มีบุตร 3 คน และหลานๆ อีก 5 คน คณะกรรมการรับเลือกการเสนอชือ่ Nominating Committee เข้า รับการเลือกตั้งเป็นประธานโรตารี สากล ประกอบด้วย John F. Germ, USA (chair ประธาน); Monty J. Audenart, Canada; Keith Barnard-Jones,

England; Peter Bundgaard, Denmark; Frank C. Collins Jr., USA; Rudolf Hoendler, Germany; Jackson San-Lien Hsieh, Taiwan; Umberto Laffi, Italy; Ashok M. Mahajan, India; Gerald M. Meigs, USA; Paul A. Netzel,

USA; Samuel A. Okudzeto, Ghana; Kazuhiko Ozawa, Japan; Noraseth Pathmanand, Thailand; Themistocles A.C. Pinho, Brazil; Barry Rassin, Bahamas; and Barry E. Thompson, Australia.


rotary Thailand นิตยสารโรตารี ประเทศไทย

แปดเดือนหลังจากภัยพิบัติแผ่นดินไหว ประชาชนชาวเฮติ ต้องการมากกว่าความช่วยเหลือฉุกเฉิน รายละเอียดเพิ่ม เติมที่หน้า 13

06

นิตยสารโรตารีประเทศไทย กันยายน-ตุลาคม 2553


นิตยสารรายสองเดือน ปีที่ 28 ฉบับที่ 130 กันยายน-ตุลาคม 2553 September - October 2010

สารบัญ Content

สารประธานโรตารีสากล สารประธานทรัสตีฯ สารบัญ คณะท�ำงาน บทบรรณาธิการ จดหมายถึง บ.ก. Rotary International สกู๊ปพิเศษ “จะช่วยพลิกฟื้นให้คืนสภาพเดิม หรือจะช่วยซ�้ำเติมให้อ่อนแอ” สกู๊ปพิเศษ 2 “โปลิโอ ฉากที่สอง” หลากหลายสไตล์แจ๊ส 2010 RI Convention ศูนย์โรตารีในประเทศไทย สิ่งละอันพันละน้อย Rotary Coordinators Rotary in action

1-2. 3-4 6-7

8 9-10 11-12 13-19 20-30 31-33 34-37 38 39-40 41-42 43-45

กองบรรณาธิการ

สถานที่ติดต่อ 29/10 หมู่2 ต.ช้างเผือก อ.เมืองจ.เชียงใหม่ 50300 29/10 Mu2,Chang Puak, Muang,Chiang Mai,THAILAND 50300 Tel (66)81 595 7999 Fax (66)5335 7345 Email: chamnanxyz@hotmail.com chamnanxyz@gmail.com ช�ำนาญ จันทร์เรือง Chamnan Chanruang

สุรกิจ เกิดสงกรานต์ Surakit Kerdsongkran

วาณิช โยธาวุธ Vanit Yotharvut

อรอนงค์ ศิริพรมนัส Onanong Siripornmanut

พิเชษฐ์ รุจิรัตน์ Pichet Ruchirat

ชฎาพร เจริญโชคธนพร Chadaporn Charoanchoktanaporn


บทบรรณาธิการ

ชำ�นาญ จันทร์เรือง

มวลมิตรโรแทเรียนทุกท่านครับ ขอขอบคุณทุกท่านที่กรุณาให้ความเห็น ต่อนิตยสารโรตารีประเทศไทยฉบับที่ แล้ว มีทั้งอีเมล์ โทรศัพท์และการพบปะพูดคุยโดยตรง มีข้อแนะน�ำดีๆ และเป็นประโยชน์ มากมาย ที่จะน�ำไปปรับปรุงให้ดียิ่งๆ ขึ้นไป การพิสูจน์อักษรหรือการตรวจปรู๊ฟนั้นเรา ท�ำโดยกองบรรณาธิการทุกคน เพราะผมเห็นว่าหากเราจะตรวจเฉพาะของตนเองหรือ เฉพาะตัวบรรณาธิการเองนั้น มีโอกาสผิดพลาดสูง เพราะปกติเวลาที่เราตรวจครั้งแรก แล้วครั้งต่อไปเรามักจะตรวจไม่ค่อยเจอ จึงต้องอาศัยผู้อื่นคอยตรวจซ�้ำ ซึ่งอาจใช้เวลา มากหน่อยแต่ก็แก้ด้วยการก�ำหนดให้ปิดต้นฉบับเร็วขึ้น ในเรื่องเนื้อหาสาระและการแปลนั้น ผมได้รับความอนุเคราะห์จากมวลมิตร โรแทเรียน ที่ส่งบทความเข้ามาเป็นจ�ำนวนมาก บางบทความอาจจะยาวเกินไปหรือสั้น เกินไป หรืออาจจะเป็นชี้เฉพาะไปยังบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เป็นการเฉพาะมากเกินไป ฯลฯ ท�ำให้บางส่วนอาจจะได้ลงพิมพ์หรือไม่ได้ลงพิมพ์ ซึ่งเป็นเรื่องปกติของการส่งบทความไป ยังนิตยสารทั่วไป ขอให้ท่านส่งมาอีกอย่าเพิ่งหมดก�ำลังใจนะครับ ผมขอขอบคุณทุกท่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกองบรรณาธิการที่ประกอบไปด้วย อน.วาณิช โยธาวุธ อน.พิเชษฐ์ รุจิรัตน์ อน.สุรกิจ เกิดสงกรานต์และ อน.อรอนงค์ ศิริพร มนัส ตลอดจนคอลัมนิสต์ทุกท่านที่ทั้งแปลและตรวจปรู๊ฟให้โดยไม่มีค่าตอบแทน ส�ำหรับ ค�ำชมในเรื่องของอาร์ตเวิร์คนั้น ผมขอมอบให้ อน.วาณิช ไปทั้งหมดเพราะหากขาดท่าน เสียแล้วนิตยสารโรตารีประเทศไทยคงจะไม่สวยงามได้ขนาดนี้ ครับ

ผมหวังว่าคงจะได้รับความเห็นและบทความจากมวลมิตรโรแทเรียนทุกท่านนะ ช�ำนาญ จันทร์เรือง บรรณาธิการ

08

นิตยสารโรตารีประเทศไทย กันยายน-ตุลาคม 2553


letters to editor Email: chamnanxyz@hotmail.com chamnanxyz@gmail.com

Dear DGE Chamnan :

เรียน ผวล. ช�ำนาญ

Recently I did receive a copy of “The Rotarian” which you are an editor. It’s quiet nice, I consider one of the best Rotary magazine in Thailand. I am so happy and satisfy with a format, font , graphic, topic, photo, and noncompromise style . I appreciate your time contribution and effort to generate such a nice magazine for us. Many thanks Krub.

ได้รบั นิตยสารโรตารีประเทศไทยฉบับแรกของท่านแล้ว สวยงามน่าจับ น่าอ่านมาก ยินดีด้วยใจจริง ด้วยไมตรีจิตแห่งโรตารี สุรกิจ

Building Communities - Bridging Continents Sincerely, Krai

ขอบคุณมากครับ เป็นเพราะทุกท่านทีช่ ว่ ยกันจนส�ำเร็จ ออกมาดังทีเ่ ห็น ส�ำหรับความสวยงามนัน้ ต้องให้ความ ดีแก่ท่านวาณิชไปเต็มๆ ส่วนเนื้อหานั้นต้องยกความดี ให้แก่ทา่ นอรอนงค์ (นอกจากแปลพืน้ ฐานโรตารีและจัด อาร์ตเวิร์คเอง) ท่านพิเชษฐ์ และ ท่านสุรกิจที่ท่านทั้ง สามแปลได้อย่างยอดเยี่ยม (และไม่คิดสตางค์) ตลอด จนนักแปล และนักเขียนกิตติมศักดิ์ อาทิ ท่านเกษม ชัย ท่านอาจารย์เสาวลักษณ์ ท่านอาจารย์ประดิษฐ์ ฯลฯ ครับ/บก.

Dear DGE Chamnan, Congratulations on the Thailand Rotary นิตยสารโรตารีที่ชี้น�ำโรแทเรียน ผวล. ช�ำนาญ จันทร์เรือง จากภาค 3360 ได้ Magazine very well done! Light, compact, well laid out, and reader- ขอให้ผมสะท้อนความคิดเห็นเกี่ยวกับนิตยสารโรตารี ประเทศไทย เพือ่ เป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาให้ friendly. นิตยสารฉบับนีเ้ ป็นประโยชน์ตอ่ มวลมิตรโรแทเรีย่ น ทัง้ Best wishes, มวล ในฐานะทีผ่ มเคยได้รับมอบหมายจากภาค 3360 Kasemchai ให้ท�ำหน้าที่เป็นบรรณาธิการนิตยสารฉบับนี้ในสมัยที่ อผภ. เชาวน์ นาราฤทธิ์ เป็นบรรณาธิการบริหาร ผม Dear DGE Chamnan, Just received the latest Rotary Thailand ได้ใช้โอกาสในช่วงนั้นพยายาม รวบรวมบทความและ ข่าวสารเพื่อตีพิมพ์ในนิตยสารดังกล่าว แต่ดูเหมือนว่า Magazine from the postman today. Sending my hearty congratulations to All สิ่งที่ยากที่สุดของการท�ำนิตยสารก็คือ บทความที่เป็น ภาษาไทยที่เขียนโดยโรแทเรี่ยนไทย เพราะส่วนใหญ่ concerned for the well done jobs. มักเป็นบทความแปลมาจากภาษาต่างประเทศแทบทัง้ ฉบับ เมื่อเป็นเช่นนี้ ประโยชน์ที่มิตรโรแทเรียนพึงได้ Regards, รับจึงเป็นเรื่องที่ค่อนข้างไกลตัว ดังนั้น เมื่อได้รับการ Pichet. ขอร้องจาก ผวล. ช�ำนาญ จันทร์เรือง ให้สะท้อนความ คิดเห็น ผมจึงขอน�ำเสนอในบางประเด็น ดังต่อไปนี้


1. คณะท�ำงาน ดู เ หมื อ นจะเป็ น ประเพณี ข อง สโมสรโรตารี ที่ เรามั ก มี ร ายชื่ อ บุ ค คล มากมายในหนังสือท�ำเนียบต่างๆ รวม ทั้งกองบรรณาธิการของนิตยสารโรตารี ประเทศไทยด้วย แต่ดูเหมือนว่ารายชื่อ เหล่ า นั้ น จะไม่ เ คยมี ก ารพบปะปรึ ก ษา หารือถึงแนวทางในการด�ำเนินงานจัดท�ำ นิตยสารเลยแม้แต่ครั้งเดียว อาจมีบ้างก็ เฉพาะบรรณาธิการหลักภาคละหนึ่งหรือ สองคนเท่านั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ ผู้มีรายชื่อ เป็นกองบรรณาธิการจึงไม่ทราบว่าแต่ละ คนมีบทบาทหน้าทีอ่ ะไร นอกจากรวบรวม ข่าวสารความเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นในภาค ของตนเองเท่านั้น และบางเรื่องก็เหมาะ สมเฉพาะสโมรหรือภาคนั้นๆ แต่อาจไม่ เหมาะสมหรือเป็นประโยชน์แก่ภาคอื่น ก็ได้ แต่หากต้องเขียนบทความด้วยตนเอง ก็ไม่ถนัด จึงไม่แปลกใจทีข่ า่ วสารของภาค ต่างๆ มักขึ้นอยู่กับความเอาใจใส่และ ความขยันของผู้ส่งข่าวเสียเป็นส่วนใหญ่ ส่วนบทความก็มกั แปลมาจากภาษาอืน่ ซึง่ เป็นเรือ่ งของประเทศอืน่ ไม่เกีย่ วกับบริบทของเรา จึงไม่ ค่อยได้รับความสนใจจากมวลมิตรโรแทเรี่ยนเท่าที่ควร 2. เนื้อหาสาระ ผมคิดว่านิตรสารฉบับนี้น่าจะท�ำหน้าที่ตอบ สนองความต้องการของมวลมิตรโรแทเรีย่ นในด้านต่างๆ ได้ กล่าวคือ ข่าวสารความเคลื่อนไหวของสโมสรโรตารี จากภาคต่างๆ ความก้าวหน้าหรือความเคลือ่ นไหวของ สโมสรโรตารีจากต่างประเทศ ความก้าวหน้าหรือความ เปลี่ยนแปลงจากโรตารีสากลและมูลนิธิ นอกเหนือ จากนั้น น่าจะเป็นเหตุการณ์ต่างๆ ของสโมสรโรตารี ในประเทศไทย เช่น บทความที่เป็นประโยชน์ในการ หนุนใจให้มวลมิตรโรแทเรี่ยนเกิดความรักความผูกพัน และเต็มใจท�ำกิจกรรมเพื่อสังคมมากขึ้น รวมทั้งความ เต็มอกเต็มใจในการบริจาคเพื่อมูลนิธิด้วย เป็นต้น สิ่ง ส�ำคัญประการหนึ่งที่นิตยสารน่าจะเป็นประโยชน์ได้ มาก คือ การให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรตารีอย่าง ต่อเนื่อง ผมเชื่อว่า สาเหตุหนึ่งที่ท�ำให้สมาชิกโรตา รีลดน้อยถอยลง อาจเนื่องมาจากความไม่เข้าใจใน เจตนารมณ์และแนวทางการท�ำงานของโรตารีมากกว่า จึงไม่มคี วามผูกพันและพร้อมทีจ่ ะอุทศิ ทุม่ เทเพือ่ องค์กร นี้ เราต้องก้าวข้ามความเข้าใจที่ว่าโรตารีเป็นเพียงการ พบปะสังสรรค์เท่านัน้ ให้ไปสูอ่ กี ระดับหนึง่ ทีก่ ารรวมตัว กันเพือ่ ท�ำประโยชน์แก่สงั คม โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูด้ อ้ ย โอกาส รวมทัง้ การสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างกันเพือ่ น�ำมาสูก่ ารอยูร่ ว่ มกันอย่างสันติสขุ ตามแผนปรองดองที่ ประเทศชาติต้องการ

10

นิตยสารโรตารีประเทศไทย กันยายน-ตุลาคม 2553

3. บทความ สิ่ ง ที่ นิ ต ยสารโรตารี ป ระเทศไทยขาดมาก คือ บทความที่เป็นประโยชน์ต่อการเสริมสร้างความ รู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรตารี รวมทั้งการติดตามความ เปลี่ยนแปลงในระเบียบหรือแนวทางด�ำเนินการด้าน ต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ตลอดเวลา มิตรโรแทเรีย่ นจ�ำนวนไม่นอ้ ย ทีไ่ ม่มโี อกาสติดตามความเปลีย่ นแปลงเหล่านี้ จึงมักคิด และท�ำตามที่เคยรู้มาก่อนในสมัยดั้งเดิม เมื่อเป็นเช่นนี้ ความเป็นเอกภาพและความเข้าใจอันดีระหว่างกันจึง ไม่เกิดขึ้น จนอาจน�ำความแตกแยกมาสู่พวกเราด้วย กันเองก็ยังเคยมี ผมจึงเห็นว่า เราต้องคัดสรรและเฟ้น หานักเขียนประจ�ำของนิตยสาร และต้อนรับบทความ ที่แสดงความคิดเห็นที่หลากหลาย ให้นิตยสารโรตารี เป็นเวทีของการน�ำเสนอแนวคิดเพื่อปรับปรุงพัฒนา โรตารีให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น ผมคิดว่า นิตยสารโรตารี เป็นเวทีทเี่ ป็นกลางทีส่ ดุ ในการอรรถาธิบายเจตนารมณ์ และความมุ่งหมายของโรตารี รวมทั้งอธิบายให้ความรู้ ความเข้าใจระเบียบและแนวทางในการบริหารโรตารีให้ สมาชิกส่วนใหญ่เข้าใจ จนสามารถซึมซับกลายเป็นส่วน หนึง่ ในการเป็นสมาชิกทีร่ กั และผูกพันโรตารีจนถึงทีส่ ดุ 4. การก�ำหนดหัวข้อ ผมคิดว่า นิตยสารโรตารีต้องก�ำหนดหัวข้อที่ ต้องการเน้นย�้ำในแต่ละปีอย่างชัดเจน และให้บทความ หรือความรู้ต่างๆ ที่น�ำเสนอสอดคล้องกับหัวข้อหลัก อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อให้สโมสรในภาคต่างๆ และมิตร โรแทเรียนมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน มีการก�ำหนดกรอบ การท�ำงานอย่างเป็นระบบ และมีการวางแผนอย่างเป็น เอกภาพทั้งประเทศ หากนิตยสารโรตารีสามารถเป็น สื่อกลางและน�ำเสนอจุดมุ่งของโรตารีในประเทศไทย ในแต่ละปีได้อย่างชัดเจน ผมเชื่อว่า ทุกคนจะตั้งหน้า ตั้งตารอคอยการปรากฏของนิตยสารฉบับนี้ เพราะ จะได้รับแรงบันดาลใจและแนวทางในการท�ำหน้าที่ให้ สอดคล้องกับเป้าหมายที่ก�ำหนด อน. ดร. ประดิษฐ์ เถกิงรังสฤษฏ์ สร.เชียงใหม่ ขอบคุณท่านอาจารย์มากครับส� ำหรับค�ำแนะน�ำที่มี คุณค่ายิ่ง/บก.


Rotary International อผภ.วิชัย มณีวัชรเกียรติ ผู้แปล

โครงการนำ�ร่องวิสัยทัศน์ ในอนาคต มูลนิธิอนุมัติทุนสนับสนุน ทุนแรก ทุนสนับสนุนทุนแรกที่ได้รับการอนุมัติจากมูลนิธิ โรตารี ภายใต้โครงการนำ�ร่องวิสัยทัศน์ในอนาคต จะเป็น โครงการป้องกันไข้เลือดออกในประเทศอินโดนีเซีย และให้ ทุนกับโครงการหลากหลายในประเทศไทย โดยโครงการ นำ�ร่องเริ่มเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคมที่ผ่านมา

แผนวิสัยทัศน์ในอนาคตได้น�ำเสนอทุนสนับสนุน 2 แบบ ได้แก่ ทุนสนับสนุน ระดับโลก และทุนสนับสนุนระดับภาค ทุนสนับสนุนระดับโลกสนับสนุนโครงการระหว่าง ประเทศทีใ่ ห้ผลทีย่ งั่ ยืนมากขึน้ ในเรือ่ งทีเ่ น้นความส�ำคัญ ทีส่ อดคล้องกับพันธกิจของมูลนิธิ โรตารี ทุนสนับสนุนระดับภาคเป็นทุนสนับสนุนเฉพาะที่อาจถูกใช้ กับสโมสรในท้องถิ่น หรือสโมสรในประเทศอื่น และภาคนอกโครงการน�ำร่อง ในการท�ำโครงการ ภาค 7980 (Connecticut, สหรัฐอเมริกา) และ 3400 (อินโดนีเซีย) ได้รับทุน สนับสนุนระดับโลกทุนแรก โดยได้รบั ทุนจากมูลนิธเิ ป็นจ�ำนวน 15,660 เหรียญสหรัฐ เพือ่ ช่วยท�ำลายวงจรการแพร่พันธุ์ของยุง ที่แพร่กระจายไข้เลือดออกในชุมชนชานเมืองของ สุราการต้า (Surakarta) กองทุนส่วนมากจะใช้ในการปูกระเบื้องสีขาวที่ผิวด้านในของ อ่างอาบน�้ำที่ท�ำจากปูนในบ้านจ�ำนวน 900 หลัง ท�ำให้การหาตัวอ่อนของยุงที่มีสีเทาใน อ่างอาบน�้ำง่ายขึ้น สโมสรโรตารี Kartini ซึ่งเป็นผู้เสนอแนวคิดของโครงการ จะท�ำงานกับ เจ้าหน้าที่สุขภาพท้องถิ่น และกลุ่มดูแลสุขภาพเพื่อให้ความรู้ถึงมาตรการการป้องกันแก่ ชุมชน การริเริม่ ก้าวแรกทีถ่ กู คาดหวังให้เป็นโมเดลทัว่ ทัง้ อินโดนีเซีย สนับสนุนการป้องกัน โรคและบ�ำบัดโรคซึ่งเป็นเรื่องที่เน้นความส�ำคัญเรื่องหนึ่งของแผนวิสัยทัศน์ในอนาคต ภาค 3330 (ประเทศไทย) ก�ำลังจะใช้ทุนสนับสนุนระดับภาคทุนแรกจ�ำนวน 39,500 เหรียญสหรัฐเพื่อให้ทุนกับโครงการท้องถิ่น ได้แก่ การซื้อหนังสือ คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์กฬี าส�ำหรับโรงเรียน การจัดหาน�ำ้ สะอาดส�ำหรับเด็กนักเรียน และการบริจาค เตียงคนป่วยให้กับโรงพยาบาล หนึง่ ร้อยภาคก�ำลังเข้าร่วมในโครงการน�ำร่องวิสยั ทัศน์ในอนาคต และทดลองใช้ โครงสร้างของทุนสนับสนุนใหม่เป็นเวลา 3 ปี ภายใต้แผนวิสัยทัศน์ในอนาคต – Arnold R. Grahl


Future Vision pilot Foundation approves first grants The first grants approved by The Rotary Foundation under the Future Vision pilot will fight dengue fever in Indonesia and fund a variety of projects in Thailand. The pilot began 1 July.

Two types of grants are offered under the Future Vision Plan: global grants and district grants. Global grants support large, international projects with sustainable outcomes in the areas of focus, which correspond to the Foundation’s mission. District grants are block grants that may be used for projects with local clubs or clubs in other countries, and with nonpilot districts. Districts 7980 (Connecticut, USA) and 3400 (Indonesia) received the first global grant, which includes US$15,660 from the Foundation, to help disrupt the breeding cycle of the mosquitoes that transmit dengue fever in a community on the outskirts of Surakarta. Most of the funds will go toward installing white ceramic tiling on the interior surfaces of cement bathtubs in 900 homes, making it easier to spot gray mosquito larvae spawned in them. The Rotary Club of Solo Kartini, which came up with the project idea, will work with local health officials and health care groups to educate the community on prevention measures. The initiative, which is expected to serve as a model throughout Indonesia, supports the disease prevention and treatment area of focus in the Future Vision Plan. District 3330 (Thailand) will be using the first district grant of $39,500 to fund local projects, including buying books, computers, and sports equipment for schools; providing clean water for students; and adding patient beds at a hospital. One hundred districts are participating in the Future Vision pilot, a threeyear test of the new grant structure offered under the Future Vision Plan. – Arnold R. Grahl

12

นิตยสารโรตารีประเทศไทย กันยายน-ตุลาคม 2553


Fragile resilience

โรแทเรียนชาวอเมริกัน ลอยด์ สมิธ เดินทางไปเฮติเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ เพื่อจะช่วยบรรเทาทุกข์ผ่านเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานระหว่าง ชาติ (Builders International) สมิธได้ถ่ายภาพเหล่านี้ที่โบสถ์ใน ปอร์โต แปงซ์ ซึ่งเป็นแห่งหนึ่งในสถานที่หลายแห่งที่เขาไปเยี่ยม เยือนเมื่อครั้งที่เขามาปฏิบัติภารกิจตามหาข้อเท็จจริง U.S. Rotarian Lloyd Smith traveled to Haiti in February to deliver relief through Builders International. Smith took these photographs at a Port-au-Prince church, one of several places he visited on his fact-finding mission.


Fragile resilience

“จะช่วยพลิกฟื้นให้คืนสภาพเดิม หรือ จะช่วยซ้ำ�เติมให้อ่อนแอ”

14

นิตยสารโรตารีประเทศไทย กันยายน-ตุลาคม 2553


อีกนานแค่ไหน ที่คนในเฮติจะยังพอยืนหยัดอยู่ได้ โดย เอ็ดวิดจ์ แดนติแค็ท

วันที่ 12 มกราคม 2553 เฮติโดนถล่มโดยภัยธรรมชาติครัง้ ทีร่ นุ แรงทีส่ ดุ ในรอบ 200 ปี ทั่วโลกรับรู้ว่ามีผู้เสียชีวิตมากกว่า 200,000 คน และมากกว่าหนึ่งล้านคนในเมืองหลวงของ เฮติและรอบตัวเมือง เลโอกาเนอ เปอติ โกอาฟเวอ และ จัคเมล สูญเสียบ้านที่อยู่อาศัย ชั่วไม่กี่สัปดาห์หลังแผ่นดินไหว บรรดานักข่าว บุคคลส�ำคัญเข้าไปเยี่ยมและสังเกตการณ์ ต่าง ยกย่องความอดทนของชาวเฮติเป็นพิเศษ ช่วงวันแรกๆมีเพียงชาวเฮติตามล�ำพังเท่านัน้ ทีผ่ จญ กับวิบัติภัย รัฐบาลของพวกเขาเองก็เป็นอัมพาตจากความหายนะ จนไม่สามารถช่วยเหลือ ประชาชนได้ ดังนั้นชาวเฮติจึงต้องขุดคุ้ยหาสิ่งของอันเป็นที่รักของพวกเขาจากซากเศษหิน อิฐปูนด้วยค้อน ขวานและมือเปล่า เนื่องจากอาหารและน�้ำเป็นสิ่งที่ขาดแคลน พวกเขาจะ น�ำอาหารที่รับแจกมาแบ่งปันกัน เฮติซึ่งได้ชื่อว่าเป็นประเทศยากจนที่สุดในซีกโลกตะวันตก ยังมาเจอะเจอกับความเป็นความตายให้โลกสะเทือนขวัญ ถือเป็นบทเรียนตัวอย่างที่จะช่วย พลิกฟื้นให้คืนสภาพเดิม ถ้าหากผู้ที่รู้สึกสะเทือนใจช่วยกันเผยแพร่ภาพข่าว คาดหวังว่าโลกน่าจะได้อะไร มากกว่านี้ นักข่าวพากันท�ำข่าวไม่หยุดหย่อนท่ามกลางความวุ่นวายของการแจกจ่ายอาหาร และน�้ำ ยอมให้ตัวเองถูกชนกระทบกระแทกเพื่อให้ได้บันทึกภาพที่ดูน่ากลัว อย่างเช่นกรณี การขโมยทรัพย์สนิ ทีต่ ำ� รวจเฮติยงิ ผูช้ ายหิวโหยตายคาถุงข้าวหลายศพ อย่างไรก็ตามการขโมย ทรัพย์สินเป็นจ�ำนวนมากคาดว่าไม่มีใครท�ำ กลายเป็นว่าชาวเฮติลดสภาพการกินอยู่ลงแทน เพื่อตั้งรับความยากล�ำบากที่ต้องสู้ทนต่อไปอีกยาวนาน พวกเขาสร้างเพิงพักชั่วคราวด้วยไม้ เสาและผ้าคลุมเตียง ใช้สถานทีส่ าธารณะเป็นบ้าน เวลาฝนตกพวกเขาต้องลุกขึน้ ยืนแล้วปล่อย ให้น�้ำพาโคลนไหลผ่านขาไป ผมไปเยีย่ มเฮติสองครัง้ หลังแผ่นดินไหว เริม่ ถามตัวเองว่า ถ้ามัวหลงปลืม้ กับการช่วย พลิกฟื้นให้คืนสภาพเดิมอยู่เช่นนี้ ชาวเฮติจะมีวันพ้นจากความเจ็บปวดหรือไม่ มันจะไม่ต้อง ทนเจ็บปวดอยู่อย่างนั้น เหมือนฝนตกเกือบทุกวันหรือไม่ก็ห้วงพายุร้ายในฤดูเฮอริเคน หรือมิ ฉะนั้นก็ถอนการช่วยเหลืออาหารจากค่ายผู้พักพิงบางส่วนเพื่อบีบคนเหล่านั้นให้เลิกราไปเอง หรือไม่ก็เอารถแทรกเตอร์บุกเข้าไปในค่ายพักที่กำ� ลังขยับเป็นสมบัติส่วนตัว หรือการข่มขืน ผู้หญิงและเด็กหญิงในค่ายหลายแห่ง แต่ต่อไปมันจะกลายเป็นความชาชินแทน เนื่องจากถูก ปล่อยปละละเลย “ถ้าการช่วยพลิกฟืน้ ให้คนื สภาพเดิม หมายถึงการทีเ่ ราต้องยอมทนทุกข์ได้มากกว่า คนอื่นๆ แท้จริงแล้วไม่เป็นเรื่องที่น่าชื่นชมเลย” หญิงสาวคนหนึ่งที่อยู่ในค่ายขนาดใหญ่ ชอง เดอ มาร์ ในเมืองปอร์โตแปงซ์ กล่าวกับผม “บ้านเมืองที่เต็มไปด้วย คนไร้ที่อยู่อาศัยไม่มีวันที่ จะกลับคืนสู่เฮติในสภาพปกติได้หรอก” บรรดามิตรประเทศและผู้น�ำต่างๆ ทั้งในเฮติและนานาชาติ ต่างก็วางแผนฟื้นฟู ประเทศเฮติ พวกเขาอาจจะไม่ใส่ใจอะไรมากนัก ถ้าพวกเขาไม่มีความเข้าใจในเรื่องความ สุภาพอ่อนน้อม ความอดทนอดกลั้น และความมีจิตใจกล้าหาญของคนในเฮติที่แสดงออกมา ให้เห็นนับตั้งแต่แผ่นดินไหวว่าเป็นคนพอใจกับความชีวิตเป็นอยู่ ประวัติศาสตร์ก็บอกเราเช่น นั้น ชาวเฮติมีลักษณะนิสัยยืดหยุ่นอดทนต่อหลักเกณฑ์อันโหดร้ายของพระเจ้านโปเลียน เคย ตกเป็นทาสครั้งที่อยู่ใต้อาณานิคมฝรั่งเศส จนกระทั่งพวกเขาเริ่มปฏิวัติ ตั้งขึ้นเป็นสาธารณรัฐ ขึ้นมาในปี 1804 ชาวเฮติอดทนอดกลั้นมานาน 30 ปี ในยุคของจอมเผด็จการ ดิววาลิแย จน กระทั่งพวกเขาพากันขับไล่ ชอง เคล้าด ดิววาลิแย ให้พ้นออกไปในปี 1986 ตอนนี้มีเพียงเรื่อง ของเวลา ก่อนที่ความอดทนหลังเกิดแผ่นดินไหวจะเป็นเหตุให้อ่อนแอลง แปลโดย อน.อรอนงค์ ศิริพรมนัส สร.พลูตาหลวง


ท่านสามารถช่วยสนับสนุนกองทุนบรรเทาทุกข์จากเหตุแผ่นดินไหวในเฮติได้เช่นกัน ( Earthquake Relief Fund) โดยผู้บริจาคให้กับมูลนิธิโรตารี ซึ่งกองทุนนี้เพิ่มขึ้นกว่า 1.73 ล้านเหรียญสหรัฐในช่วงกลางเดือนมิถุนายน (www.rotary.org /haiti) เข้าไปหาความรู้เกี่ยวกับ Haiti Task Force เข้าไปชมเรื่องราวข่าวสารที่สร้างขึ้น ใหม่ ทางเว็บไซต์ของ ภาค 7020 เป้าหมายสูงสุดคือการเปิดโรงเรียนในวันที่ 1 ตุลาคม เป็น วันเริ่มต้นปีการศึกษาตามปกติของประเทศ

16

นิตยสารโรตารีประเทศไทย กันยายน-ตุลาคม 2553



18

นิตยสารโรตารีประเทศไทย กันยายน-ตุลาคม 2553


Fragile resilience HOW LONG CAN THE PEOPLE OF HAITI PERSEVERE? by Edwidge Danticat

How you can help Contribute to the Haiti Earthquake Relief Fund, a Rotary Foundation donor advised fund that has raised more than US$1.73 million as of mid-June (www.rotary.org/haiti). Learn about the Haiti Task Force, the conduit for rebuilding efforts, on the District 7020 website. A top goal is opening schools on 1 October, the traditional start of the country’s academic year.

On 12 January 2010, Haiti was struck by its worst natural disaster in over 200 years. The world knows now that over 200,000 people died and more than a million lost their homes in Haiti’s capital and the surrounding cities of Léogâne, Petit Goave, and Jacmel. In the weeks and months after the earthquake, many journalists, visiting dignitaries, and even causal observers praised the extraordinary endurance of the Haitian people. For the first hours and days, Haitians were pretty much on their own. Their government, paralyzed by its own losses, was incapable of assisting them, so they dug their loved ones out of the rubble with hammers and axes and their bare hands. As food and water became scarce, they divided small rations among themselves. Haiti, which is often referred to as the poorest country in the Western Hemisphere, had something crucial to offer the world: a lesson in resilience. If some of the more sensationalist broadcasts were any indication, the world was expecting something else. Journalists eagerly jumped into the middle of chaotic food and water distributions, allowing themselves to be bumped and shoved for the cameras. Such was the fear of looting that Haitian policemen shot hungry young men to death over bags of rice. However, the massive large-scale looting that was anticipated never took place. Instead Haitians buckled down for what will surely be a long and difficult road. They set up temporary shelters with sticks and bedsheets, making public places their homes. When it rained, they stood up and let the muddy water flow through their legs. After two post-earthquake visits to Haiti, I began to ask myself if this much-admired resilience would not in the end hurt Haitians. It would not be an active hurt, like the almost daily rainfalls or the menacing winds of the hurricane season. Or the withdrawal of food aid from some of the refugee camps to force people to vacate them. Or the bulldozers that have started to move into the camps that have sprouted up on private property. Or the rape of the women and girls in many of the camps. Instead it would be a passive hurt, as in a lack of urgency, or neglect. “If being resilient means that we’re able to suffer much more than other people, then it’s really not a compliment,” a young woman at the large Champs de Mars camp in downtown Port-au-Prince told me. “A city full of homeless people can’t become what is now normal in Haiti.” As friends and leaders, both within Haiti and the international community, shape their reconstruction plans for the country, they would be remiss if they misinterpreted the grace, patience, and courage its people have shown since the earthquake as complacency. History teaches us otherwise. Haitians were resilient against the brutal Napoleonic code of French colonial slavery until they started a revolution that created their republic in 1804. Haitians endured 30 years of the Duvalier dictatorship until they ousted Jean-Claude Duvalier in 1986. It is now only a matter of time before their post-earthquake endurance justifiably wears out.


Special Scoop

“โปลิโอ ฉากที่สอง” ผู้รอดชีวิตจากโรคร้ายนี้เมื่อ ทศวรรษที่แล้วกำ�ลังทุกข์ทรมาน กับอาการของความพิการ โดย เคท โนแลน อินนา พิงค์นีมีชีวิตที่ดีมากแม้จะเคยเป็นโปลิโอมาก่อน เธอท�ำอาหารจากเตาอบที่ชนะเลิศ การประกวดระดับชาติ และมีผู้ชื่นชมในรสชาติอาหารเข้าคิวรอคอยที่จะทานอาหารใน ร้านอินนา ที่นับว่าเป็นร้านดาวเด่นในชิคาโกที่ ๆ เธอได้รับฉายาว่า “ราชินีแห่งอาหารเช้า” เมือ่ แรกตรวจพบว่าได้รบั เชือ้ โปลิโอตอนอายุ 18 เดือนในปี พ.ศ. 2487 อินนาเข้ารับการรักษา จาก ซิสเตอร์อสิลซาเบธ เคนนี่ ชาวออสเตรเลียทีม่ ชี อื่ เสียงโดยเฉพาะในการรักษาโรคโปลิโอ โดยการใช้ไหมพรมขนสัตว์ต้มแล้วพันรอบมือเท้าของผู้ป่วยที่ได้รับเชื้อโรคโปลิโอ จากนั้นก็ นวดกล้ามเนื้อบริเวณนั้นเพื่อหยุดการหดตัวของกล้ามเนื้อที่ถูกเชื้อโรคโปลิโอเล่นงาน หนึ่ง เดือนหลังจากเข้าร่วมตามแผนบ�ำบัดรักษา พิงค์นีเดินได้อีกครั้งหนึ่ง แต่เชื้อโรคได้ท�ำลาย กล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ มากมายเกินกว่าจะฟื้นตัวเหมือนเดิมได้ เธอใช้เวลาหลายปีในการฝึก ใช้กล้ามเนื้อที่เหลืออยู่แต่ขาข้างขวาก็ไม่สามารถท�ำงานได้ดีเท่าข้างซ้ายอีกเลย พิงค์นีจ�ำได้ว่าเธอเคยไปร่วมงานกาลาที่นครนิวยอร์กที่มีเคาท์แบสซี่เล่นดนตรี ดารา ภาพยนตร์ในดวงใจของเธอ เฟรด แอสแทร์ไปที่งานนี้ด้วย เธอเดินไปหาเขา และเขาพูดว่า “ผมสังเกตเห็นคุณเดินด้วยความล�ำบาก เราลองแกล้งท�ำเป็นไม่ล�ำบากดูนะครับ” “เขาน�ำฉันไปสูฟ่ ลอร์เต้นร�ำ และเราเต้นพลางเหวีย่ งตัวสลับกันถึง 12 ครัง้ เหวีย่ งถึง 12 ครัง้ กับเฟรด แอสแทร์ ช่างเป็นห้วงเวลาที่ยอดเยี่ยมจริง ๆ” เธอร�ำลึกถึงวันเก่า ๆ ปัจจุบนั พิงค์นมี กั มีอาการอ่อนล้าหมดความรูส้ กึ และขาของเธอก็ไม่มแี รง แม้จะมีการบริหาร กล้ามเนือ้ เพือ่ ให้แข็งแรงอยูเ่ สมอ เธอฝืนใจยอมใส่เฝือกอ่อนพยุงข้อเท้าจากส�ำนักงานแพทย์ กลับบ้าน ระหว่างทางบนถนน พิงค์นีซึ่งอายุ 67 ปีแล้วคิดถึงเหตุการณ์วันนี้เหมือนดั่ง “ลม หวน”

20

นิตยสารโรตารีประเทศไทย กันยายน-ตุลาคม 2553


ล้อเข็นผู้พิการ ของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา แฟรงกลิน ดี โรสเวลท์

แฟรงกลิ น เดลาโน โรสเวลต์ (Franklin Delano Roosevelt) เกิดวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2425 (ค.ศ. 1882) เสียชีวิตวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 32 ของสหรัฐอเมริกา เป็นประธานาธิบดีที่ด�ำรงต�ำแหน่งยาวนานที่สุด (พ.ศ. 2476-2488) และเป็นประธานาธิบดีเพียงคนเดียว ของ สหรัฐอเมริกาที่ได้รับเลือกถึงสี่สมัย ก่อนการประกาศญัตติ ข้อที่ 22 ในปี พ.ศ. 2494 (22nd Amendment) ซึง่ จ�ำกัดให้ ประธานาธิบดีสามารถด�ำรงต�ำแหน่งได้แค่สองสมัยเท่านั้น ท่านได้รับเชื้อโรคร้ายโปลิโอ ในปี พ.ศ.2471 (ค.ศ.1928) เป็นคนพิการคนแรกที่ได้เป็นผู้น�ำผู้ยิ่งใหญ่ของประเทศ


“มันเป็นสิ่งเตือนให้รู้ว่าเรามีงานต้องท�ำหลายอย่าง” เธอกล่าว “ฉันต้องหัดเดินกับ อุปกรณ์ชว่ ยเดินอีกครัง้ ยิง่ ไปกว่านัน้ ฉันต้องยอมรับว่าต่อจากนีไ้ ปมันจะเป็นส่วนหนึง่ ของอวัยวะในร่างกายของฉัน” โรคโปลิโอไม่ได้กลับมาท�ำร้ายเธออีก แต่สงิ่ ทีเ่ กิดขึน้ กับ เธอคือ อาการต่อเนือ่ งของคนทีเ่ คยเป็นโรคโปลิโอ เป็นของแถมส�ำหรับผูป้ ว่ ยด้วยโรค นี้แล้วรอดชีวิต แต่มันจะเกิดขึ้นตามมาหลังจากนั้นอีกอย่างน้อย 15 ปี ประมาณกัน ว่ามีชาวอเมริกันที่เคยป่วยด้วยโรคโปลิโอ 55 เปอร์เซนต์จาก 775,000 รายมีความ เสี่ยงที่จะมีอาการดังว่านี้ “เราน่าจะได้รับการสนับสนุนในโครงการกวาดล้างโรคโปลิโอ หากผู้คนเข้าใจถึงผล กระทบ ในระยะยาวของโรคนี้” ผวภ. แอนน์ลี ฮัสซี ประธานกลุ่มโรแทเรียนปฏิบัติ การเพือ่ ผูร้ อดชีวติ จากโรคโปลิโอและเพือ่ น กล่าว เช่นเดียวกับโรแทเรียนอีกมากมาย ทีเ่ ป็นเหยือ่ โรคโปลิโอ แอนน์เป็นปากเสียงอย่างแข็งขันในการรณรงค์บริจาคเงินสมทบ กองทุนค�ำท้า 200 ล้านเหรียญสหรัฐฯ “ผู้พิการโปลิโอช่วยกันท�ำงานให้ภาคในฐานะ ประธานอนุกรรมการโปลิโอภาคและช่วยกันหาทุนจากการบริจาค ดิฉนั ได้เดินทางไป ฮ่องกงเพื่อร่วมกิจกรรมหนึ่งที่สามารถหาทุนได้มากถึง 250,000 เหรียญ” คนไม่มากนักทีไ่ ด้ยนิ เกีย่ วกับอาการหลังเป็นโปลิโอ เปรียบเทียบกันกับตอนทีโ่ รคแพร่ กระจายอย่างน่ากลัวในช่วงศตวรรษที่ 20 เป็นเหตุให้มกี ระแสความเคลือ่ นไหวระดับ ประเทศในสหรัฐอเมริกาโดยประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ ตอนนัน้ ผูค้ นยังไม่รู้ จักภัยจากโปลิโอทั้งหมด ผู้ที่ได้รับผลจากอาการหลังเป็นโปลิโอซึ่งเป็นอาการที่ตรวจ หาไม่พบ ขาดงานวิจยั ติดตามฐานผูป้ ว่ ยทีร่ อดชีวติ จากโรคโปลิโอ ท�ำให้เราไม่ทราบถึง ความเกี่ยวข้องกันของอาการหลังเป็นโปลิโอด้วย อาการของโรคเกิดขึ้น 26 ปีมาแล้ว แต่แพทย์ไม่รู้วิธีที่จะวินิจฉัยหรือรักษามันได้ ฮัสเซย์ กล่าว ทั้งนี้เนื่องจากว่าโรคโปลิโอถือว่าเป็นโรคที่ถูกขจัดไปหมดสิ้นแล้วใน ประเทศสหรัฐอเมริกา ผลของโรคที่ตามมาไม่ค่อยเป็นที่สนใจอยากรู้กันเท่าไหร่ จึง ไม่มีการศึกษาวิจัยกันในวงการแพทย์ หน่วยงานอนามัยผู้ป่วยหลังเป็นโปลิโอสากล ซึ่งท�ำงานร่วมกับกลุ่มปฏิบัติการโรตารี ได้ตอบสนองต่อความขาดแคลนข้อมูลการศึกษาในเรื่องนี้ โดยการจัดตั้งโครงข่าย ผ่านเว็บไซต์ www.post-polio.org เชื่อมโยงผู้ป่วยโรคนี้เข้าด้วยกันและยังมีแพทย์ผู้ เชีย่ วชาญสองสามท่านทีม่ ปี ระสบการณ์ในการดูแลรักษาอาการผูป้ ว่ ยหลังเป็นโปลิโอ ร่วมในเครือข่ายด้วย ส่วนใหญ่ของผู้ที่มีชีวิตรอดในช่วงที่มีการระบาดของโรคโปลิโออย่างรุนแรงในสหรัฐ จะตายในอีก 40 ปีต่อมา นี่เป็นข้อเท็จจริงที่ลบล้างความเข้าใจผิด ๆ ที่ว่าโปลิโอเป็น ประเภทของไวรัสที่ได้รับการศึกษาค้นคว้ามามากที่สุดในประวัติศาสตร์ แต่ประเด็น อาการหลังเป็นโปลิโอกลับมีคนรู้น้อยมาก เรายังคงต้องค้นคว้าหาข้อมูลมากยิ่งขึ้น ไปอีกในอนาคต เพราะคลืน่ แห่งปัญหารอบใหม่ทจี่ ะเกิดขึน้ กับผูป้ ว่ ยในประเทศก�ำลัง พัฒนาก�ำลังตามมา “พวกเขาจะต้องมีชีวิตที่ทุกข์ทรมาน แล้วใครจะรับมือกับความเจ็บป่วยของเขา ใคร จะช่วยให้เขาพาตัวเองจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งได้” ฮัสเซย์กล่าว ส�ำหรับ ศ.แดเนียล เจ. วิลสัน อาการหลังเป็นโปลิโอหมายถึงการจัดการกับรายการ ของความสามารถในการใช้ชวี ติ ประจ�ำวันทีจ่ ะท�ำเองไม่ได้อกี แล้วทีเ่ พิม่ มากขึน้ เรือ่ ย ๆ “ผมไม่สามารถเดินเทีย่ วในปารีสได้ ขึน้ รถไฟเองก็ไม่ได้” ท่านศาสตราจารย์อายุ 60 ปี แห่งวิทยาลัยมูเลงเบิรก์ ในเมืองอัลเลน รัฐเพนซิลวาเนียกล่าว เขายังเป็นผูเ้ ขียนหนังสือ

22

นิตยสารโรตารีประเทศไทย กันยายน-ตุลาคม 2553

คลื่นแห่งปัญหารอ ผู้ป่วยในประเทศโล ตามมา


อบใหม่ที่จะเกิดขึ้นกับ ลกกำ�ลังพัฒนากำ�ลัง

ประวัตศิ าสตร์แห่งโรคโปลิโอในสหรัฐอเมริกาทีเ่ ป็นทีย่ อมรับอย่างแพร่หลาย หนังสือ เล่มดังกล่าวชื่อ “มีชีวิตอยู่กับโรคโปลิโอ – การระบาดของโรคและผู้มีชีวิตรอด” วิลสันได้รบั เชือ้ โรคโปลิโอเมือ่ อายุ 5 ขวบ ผูเ้ ป็นมารดาของท่านให้การดูแลโดยการใช้ ถุงน�้ำร้อนซึ่งภายหลังเป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย กล้ามเนื้อของล�ำตัวด้านซ้ายที่ ถูกท�ำให้ออ่ นปวกเปียกเป็นผลให้กระดูกสันหลังคดงอ พออายุ 10 ขวบท่านเข้ารับการ ผ่าตัดเพือ่ จัดกระดูกสันหลังและต้องเข้าเฝือกทัง้ ตัวเป็นเวลา 6 เดือน ท่านจบเกรด 5 ที่ โรงเรียนใกล้บา้ นในเมืองวอซอ รัฐวิสคอนซิน แล้วร่างกายก็เริม่ แข็งแรงขึน้ จนสามารถ เข้าเรียนต่อไปได้เรื่อย ๆ จนจบปริญญาดุษฎีบัณฑิตที่ มหาวิทยาลัย จอห์น ฮอปกิ้นส์ สัญญาณแรกทีบ่ อกว่าอาการหลังการเป็นโปลิโอเกิดขึน้ ในราวกลางปี พ.ศ. 2523 เมือ่ ศ. วิลสัน มีความล�ำบากในการยกเท้าข้างขวาออกจากคันเร่งเพื่อเหยียบคันเบรคใน รถของท่าน จากนั้นไม่นานขาซ้ายก็ใช้เดินไม่ได้อีกกล้ามเนื้อก็เริ่มปวดมากขึ้นเรื่อย ๆ แครอล ผูเ้ ป็นภรรยาของท่านต้องช่วยถือของให้ ในขณะทีท่ า่ นต้องนัง่ เพือ่ เล็กเชอร์ ถ้า จะเดินระยะใกล้ ๆ ก็ตอ้ งมีไม้เท้า ระยะไกลหน่อยก็ตอ้ งใช้ สกูตเตอร์ และเมือ่ สุนขั ตัว โปรดพันธ์ุเทอร์เรียที่ชื่อ “แอบบี้” ตายลงตอนอายุ 16 ปี ท่านก็ปฏิเสธที่จะหาสุนัข ตัวใหม่มาทดแทน ทั้งนี้ก็เพราะท่านพามันเดินเล่นไม่ไหวแล้ว ที่บ้านต้องติดลิฟท์คน พิการที่บันไดเพื่อเตรียมไว้เมื่อท่านหมดแรงยึดราวบันไดเพื่อพาตัวเองขึ้นไปชั้นบน “ผมมีชีวิตอยู่กับความแน่นอนที่ว่าผมไว้ใจร่างกายตัวเองไม่ได้อีกต่อไปแล้ว” วิลสัน กล่าว อับราแฮม ไลเบอร์แมน อายุ 72 ปี ผู้อ�ำนวยการศูนย์การแพทย์ โรคพาร์คินสัน มูฮัมหมัด อาลี ณ สถาบันประสาทวิทยาแบร์โรวในเมืองฟีนิกซ์เริ่มมีความล�ำบากใน การเดินในราวทศวรรษ 1900 บางครั้งต้องใช้ไม้เท้า จนราวปี พ.ศ. 2544 ขาข้างซ้าย ของเขาก็ใช้ไม่ได้อกี เลย เขาวินจิ ฉัยด้วยตัวเองได้วา่ เป็นอาการของโรคหลังเป็นโปลิโอ แม้จะไม่เจ็บปวดที่กล้ามเนื้อหรือหัวข้อเข่าแต่ขาทั้งสองก็มีทุกข์จากการไม่มีเรี่ยวแรง “แม้จะทุกข์จากอาการเหล่านี้ แต่ผมก็จะไม่ตายจากโรคนี้ ถ้าอายุน้อยกว่านี้สัก 10 ปีผมคงจะมีความสุขกว่านี้” ไลเบอร์แมนกล่าว เขาได้รับเชื้อโปลิโอและต้องเข้ารับ การรักษาในโรงพยาบาลในปี พ.ศ. 2487 ตอนนั้นอายุ 6 ขวบอาศัยอยู่ในนิวยอร์ก และโดนโปลิโอเล่นงานจนเป็นอัมพาตเกือบทั้งตัว มารดาของเขาเขียนจดหมายถึง ประธานาธิบดีโรสเวลท์เพื่อขอความช่วยเหลือ และท่านประธานธิบดีตอบกลับเชิง เห็นใจว่าเขาจะพยายามท�ำทุกอย่างเท่าที่จะท�ำได้ ไลเบอร์แมนมีชีวิตวนเวียนอยู่กับ เฝือก ความเจ็บป่วยจากอุบัติเหตุ และการผ่าตัด แต่เขาก็สามารถใช้ชีวิตต่อมาด้วย มือทีแ่ ข็งแรงและยังสามารถเดินเองได้โดยไม่ตอ้ งใช้อปุ กรณ์หรือคนช่วย เขาศึกษาจน จบแพทย์ ท�ำงานในกองทัพอากาศสหรัฐฯ ท�ำงานเป็นแพทย์ประจ�ำประเทศญีป่ นุ่ และ ต่อมาก็มาเป็นผู้เชี่ยวชาญโรคพาร์คินสัน “คุณอาจมีวิธีบรรเทาอาการเจ็บปวดหรืออ่อนล้าได้ แต่ไม่มีวิธีง่าย ๆ ในการวินิจฉัย หาสาเหตุได้” ผศ.จูลี ซิลเวอร์แห่งคณะแพทย์ศาสตร์มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดกล่าว เธอ เป็นอดีตผูอ้ ำ� นวยการศูนย์ฟน้ื ฟูผปู้ ว่ ยโปลิโอสากลโรงพยาบาลสปอลดิง้ เฟรมิงแฮม ใน รัฐแมสซาชูเซท “เราสามารถท�ำได้เพียงตัดประเด็นที่ไม่ใช่ต้นเหตุออกไป” หลังจาก ตัดปัญหาอย่างเช่นที่เกี่ยวกับไทรอยด์ และการอดนอนอันอาจเป็นสาเหตุของความ อ่อนล้าออกไปแล้ว ก็พอพิจารณาได้ว่าอาการหลังเป็นโปลิโอคือสาเหตุแห่งความ เสื่อมถอยต่าง ๆ ในตัวคนไข้ ทีศ่ นู ย์ฟน้ื ฟูและสถานทีอ่ ำ� นวยความสะดวกไม่กแี่ ห่งในประเทศนีท้ มี่ คี วามเชีย่ วชาญใน อาการเจ็บป่วยหลังเป็นโปลิโอ เราใช้วิธีประเมินอาการทั่วไปโดยนายแพทย์ที่มีความ ช�ำนาญและประสบการณ์อาการเหล่านี้ เราท�ำการศึกษาสภาพกล้ามเนือ้ ให้การอบรม ทางกายภาพบ�ำบัดและแนะแนวอาชีพ การใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน และบริการจิตแพทย์


ผลที่ตามมาของการให้บริการทางจิตวิทยามีส่วนช่วยฟื้นฟูสภาพจิตใจเป็นอย่างมาก “สิ่งที่เกิดกับผู้ป่วยเหมือนผีซ�้ำด�้ำพลอย” ซิลเวอร์กล่าว เธอเป็นผู้เขียนหนังสือชื่อ “อาการหลังเป็นโปลิโอ – แนวทางส�ำหรับผู้เป็นโปลิโอและบุคคลในครอบครัว” ผู้ ป่วยที่รู้ผลของอาการเจ็บป่วยหลังการเป็นโปลิโอจะเริ่มต้นด้วยอาการตกใจที่ทราบ ว่าโรคโปลิโอที่ตนเองเป็นนั้นมันยังไม่จบแค่ความพิการที่เป็นอยู่ นอกจากนั้นอาการ ที่เกิดขึ้นทีหลังนี้ยังรักษาให้หายไม่ได้อีกด้วย ค�ำแนะน�ำส�ำหรับการดูแลตนเองได้แก่ การปรับผังบ้าน การใช้เฝือกอ่อน การจัดการกับความเครียดที่เกิดขึ้น การเปลี่ยน วิธีการใช้ชีวิต ลดชั่วโมงการท�ำงาน และการใช้เครื่องมือต่าง ๆ เช่นเครื่องช่วยหายใจ พาหนะขับเคลือ่ น การลดอาการเจ็บปวด ตลอดจนการระมัดระวังอุบตั เิ หตุจากการล้ม ทศวรรษที่ 1950 ผูป้ ว่ ยทีร่ อดชีวติ จากโรคโปลิโอต้องฝึกกายบริหารระหว่างการฟืน้ ฟู สภาพร่างกาย การฝึกร่างกายในช่วงนีผ้ ปู้ ว่ ยต้องอดทนกับความเจ็บปวดเป็นอย่างมาก แนวทางการฝึกกายภาพบ�ำบัดล่าสุดได้เชือ่ มโยงกับความท้าทายให้เกิดความมุง่ มัน่ ใน ผลของการฝึกอย่างจริงจัง ชาลส์ แอทลาสสอนให้ผคู้ นรูจ้ กั การฝึกสร้างกล้ามเนือ้ ด้วย การสร้างขุมพลังความตั้งใจและการออกก�ำลังกายแบบไอโซเมตริก (ออกก�ำลังกาย โดยวิธีเกร็งกล้ามเนื้อ) และคุณนอร์แมน วินเซนต์ พีลจากหนังสือเรื่อง “พลังแห่งการ คิดเชิงบวก” ก็บอกว่าทัศนคติคือทุกสิ่งทุกอย่าง ความคิดของทั้งสองท่านนี้เป็นส่วน หนึ่งของวัฒนธรรมอเมริกัน “เมื่อคุณเข้ารับการบ�ำบัดฟื้นฟู เป้าหมายคือการเน้นกดดันให้คุณต้องปฏิบัติให้ได้ มากที่สุดที่จะท�ำได้เหมือนเครื่องจักรที่ท�ำงานเต็มสมรรถนะ นักกายภาพบ�ำบัดและ สมาชิกในครอบครัวจะช่วยผู้ป่วยหลังเป็นโปลิโอให้สามารถออกก�ำลังกายได้เต็ม ก�ำลังความสามารถที่มีอยู่ และในหลายกรณีส่งผลให้แผนการฟื้นฟูสภาพร่างกายได้ ผลเป็นที่พอใจ” วิลสันกล่าว “เราชนะในสงครามโลกครั้งที่ 2 และเราน�ำโลกสู่ความ ก้าวหน้า ผูช้ ายมักท�ำสิง่ ทีส่ นับสนุนไปสูค่ วามเป็นชายชาตรี การต่อสูก่ บั ความเจ็บปวด ในระหว่างการฟื้นฟูนี้แสดงให้เห็นว่าคุณไม่เป็นคนอ่อนแอ” พิงค์นีจ�ำได้ถึงความปลื้มปิติที่ได้เห็นภาพการรณรงค์ขจัดภัยโปลิโอ “คุณจะท�ำให้ คนเหล่านั้นผิดหวังได้อย่างไร พวกเขาอยู่ข้างคุณ เด็กโปลิโอได้เรียนรู้การเป็นเด็ก ดี” เธอกล่าว อีกหลายปีต่อมาก็เกิดประเด็นอาการหลังการเป็นโปลิโอ แล้วมีผลงานวิจัยที่แสดง ว่าการออกก�ำลังกายแบบที่แนะน�ำให้ผู้ป่วยโรคโปลิโอปฏิบัตินั้นอาจก่อให้เกิดผล เสียข้างเคียง การเปลี่ยนความรู้ที่เคยสอนกันมาก่อนก็เหมือนกับการปรับตัวให้เข้า กับวัฒนธรรมใหม่ วิลสันผู้ซึ่งเขียนหนังสือโดยมีบท ๆ หนึ่งพูดถึงโรคโปลิโอ ได้แสดง ความเห็น การหยุดการให้ค�ำแนะน�ำในการออกก�ำลังกายเท่ากับบอกให้ผู้เคยเป็น โปลิโอถอยหลังเริ่มต้นใหม่ เพือ่ ทีจ่ ะขจัดความปวดล้าและอ่อนแรงพิงค์นตี อ้ งกลับไปสูต่ �ำราการรักษาแบบโบราณ “แต่มันท�ำให้ฉันเจ็บปวด” เธอกล่าว “ฉันควรจะอยู่สภาพที่ดีกว่านี้หากไม่ได้ท�ำการ บริหารร่างกายแบบทีเ่ คยท�ำ” วันนีเ้ ธอต้องเดินโดยใช้ไม้เท้าและคาดว่าเธอคงต้องนัง่ บนรถเข็นแบบเต็มเวลาในอีก 6 ปีข้างหน้า โลกแห่งความเป็นจริงเช่นนีเ้ ป็นทีค่ นุ้ เคยส�ำหรับลอโร เฮลสเตดผูอ้ ำ� นวยการโปรแกรม หลังเป็นโปลิโอ ที่โรงพยาบาลเพื่อการฟื้นฟูแห่งชาติ ในวอชิงตัน ดีซี และเป็นผู้ให้ ข้อมูลหลักในเรื่องของอาการหลังเป็นโปลิโอ เฮลสเตดได้เคยจัดการประชุมใหญ่ ทางการแพทย์ส�ำหรับอาการหลังเป็นโปลิโอเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2527 ในช่วงทศวรรษที่ 1970 และ 80 เริม่ มีรายงานผูป้ ว่ ยโรคโปลิโอทีร่ อดชีวติ แล้วมีอาการ แสดงให้เห็นแล้วบ้าง ตอนนั้นหมอและคนไข้ต่างก็กลัวกันว่าอาจเป็นการฟื้นคืนชีพ ของไวรัส แพทย์บางท่านสงสัยว่าจะเป็นโรคไฟโบรมายอัลเจีย (fibromyalgia – โรค เจ็บปวดตามเนื้อตัวโดยไม่ทราบสาเหตุ) หรือไม่ก็ โรคทางระบบประสาทส่วนกลาง (multiple sclerosis) บางท่านก็สรุปเอาว่าอาการของโรคนี้มีที่มาจากภายในศีรษะ ผู้ป่วยเอง เพื่อให้ได้รายงานที่เชื่อถือได้ เฮลสเตดจึงเข้าท�ำงานที่สถาบันบ�ำบัดและ วิจัยโรคแห่งมหาวิทยาลัยเบย์เลอร์ในฮูสตัน เขาจัดการประชุมของผู้เชี่ยวชาญระดับ

24

นิตยสารโรตารีประเทศไทย กันยายน-ตุลาคม 2553


ชาติ ณ สถาบันโรสเวลท์วอร์มสปริงเพื่อการฟี้นฟูในรัฐจอร์เจีย ซึ่งเป็นศูนย์โปลิโอที่ ฯพณฯ ประธานาธิบดี แฟรงกลิน ดี. โรสเวลท์เป็นผู้ก่อตั้งขึ้น เฮลสเตดขณะนั้นอายุ 40 ปีปลาย ๆ แล้ว เขาเป็นผู้รอดชีวิตจากโรคโปลิโอ เขาเองก็มี อาการเจ็บปวดทีข่ าข้างหนึง่ แบบอธิบายอาการไม่ได้ เขาได้รบั เชือ้ โปลิโอตอนทีเ่ รียนปี หนึง่ ในมหาวิทยาลัย และต้องแบ่งใช้ชวี ติ ในปีถดั มาระหว่างการฝังตัวอยูใ่ น(โรง) ปอด เหล็ก (Iron Lung) และรถเข็นจนเขาสามารถรักษาตัวเองให้แข็งแรงขึน้ มาอีกครัง้ หนึง่ เขาสูญเสียความสามารถในการใช้แขนและมือข้างขวา แต่ได้ฝึกใช้งานมือข้างซ้าย ให้เขียนหนังสือได้จนเรียนจบ และมาเป็นผู้เชี่ยวชาญอาการบาดเจ็บของไขสันหลัง ที่โรงพยาบาลเบย์เลอร์ เขาคิดว่าโรคโปลิโอที่เคยเป็นนั้นรักษาจบไปแล้ว จนกระทั่ง อาการเจ็บปวดกลับมาอีก “ขาทีป่ วดนัน้ ช่างเหมือนกับอาการปวดขาทีผ่ มเคยเป็นตอนพิษของโปลิโอเริม่ เล่นงาน ผม โชคดีทเี่ รามีเครือ่ งไม้เครือ่ งมือดี ๆ ทีเ่ บย์เลอร์ทจี่ ะวินจิ ฉัย มันไม่ใช่ไวรัสโปลิโอแต่ ก็ไม่มีใครบอกได้ว่ามันคืออะไร.” เฮลสเตดชายอายุ 74 ปีที่เป็นบรรณาธิการหนังสือ เรื่อง การจัดการกับอาการหลังเป็นโปลิโอ – แนวทางในการใช้ชีวิตและอยู่อย่างมี ความสุขกับอาการหลังเป็นโปลิโอ. กล่าว จากนั้นเขาได้อ่านบทความของเดวิด วีเชอร์ส ซึ่งเป็นนักวิจัยแห่งมหาวิทยาลัยรัฐ โอไฮโอ เขาท�ำงานโดยใช้เครื่องมือตรวจจับกระแสไฟฟ้าสมองที่สามารถตรวจหา ปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบบประสาท วีเชอร์สได้ตรวจสอบผู้รอดชีวิตจากโรคโปลิโอซึ่งมี อาการทีเ่ กิดขึน้ คล้าย ๆ กัน และได้พบความเปลียนแปลงในระบบประสาททีน่ า่ ตกใจ การค้นพบของเขาท�ำให้เกิดค�ำถามต่าง ๆ มากกว่าค�ำตอบที่เคยมี สื่อมวลชนรับทราบเพียงว่านี่คือการกลับมาของโรคโปลิโอซึ่งตามมาด้วยการตีพิมพ์ รายงานการประชุมของเฮลสเตดมากมาย ชัยชนะจากเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ นีค้ อื การได้ รับการสนับสนุนให้มีการวิจัยเพิ่มมากขึ้น การศึกษาพบว่าความจริงโปลิโอไม่ได้กลับ คืนชีพ เราพบว่ามีไวรัสโปลิโออยู่บ้างในผู้ป่วยบางรายแต่ก็ไม่มากพอที่จะก่อให้เกิด โรคโปลิโอซ�ำ้ ซ้อน ในเวลาไม่นานนักนักวิจัยก็สามารถสรุปและตั้งชื่อความผิดปกตินี้ และอธิบายลักษณะต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจนขึ้น สมุฏฐานโรคก็คือ ระหว่างที่เกิดการแพร่กระจายไวรัสโปลิโอเฉียบพลัน ผู้ป่วยได้สูญ เสียเซลประสาทสั่งการ ซึ่งเป็นเซลประสาทที่น�ำสัญญานมาสู่กล้ามเนื้อ มากกว่าร้อย ละ 50 มีอาการอ่อนล้าและถึงกับเป็นอัมพาต ระบบประสาทจัดการดัดแปลงซึ่งจะ ท�ำให้ประสาทสั่งการหมดความส�ำคัญไป

ตกใจที่ทราบ ว่าโรคโปลิโอที่ ตนเองเป็นนั้น มันยังไม่จบ

ลองจินตนาการตามดู ว่าหากแขนข้างขวาถูกเล่นงานโดยโปลิโอและแขนซ้ายปลอดภัย เซลประสาทที่ตายไปของแขนขวาไม่สามารถกระตุ้นให้กล้ามเนื้อท�ำงานได้ ดังนั้น กล้ามเนื้อก็เริ่มแคระแกร็นแต่ก็ยังสามารถส่งสัญญาณเคมีให้แขนซ้ายยังคงผลิตก้าน ใยประสาทซึ่งเป็นส่วนปลายของระบบประสาทที่กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เกิดขึ้นเพื่อการกระตุ้นกล้ามเนื้อให้ทำ� งาน ความหายนะก็คือการที่ระบบมีการสร้าง ก้านประสาทแบบนี้มากขึ้นเรื่อย ๆ “ลองคิดถึงปริมาณเมตะบอลิสม์ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเคมีที่น�ำไปสร้างก้านใย ประสาทแต่ละก้าน ในทีส่ ดุ ประสาทสัง่ การก็ลม้ เหลวและเป็นเหตุให้เกิดความอ่อนแอ ของกล้ามเนื้อส่วนอื่น ๆ.” เฮลสเตดกล่าว การออกก�ำลังกายจึงเป็นการเร่งการเจริญ เติบโตของก้านใยประสาทให้เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ค�ำถามเกี่ยวกับอาการหลังการเป็นโปลิโอมีมากกว่าค�ำตอบที่มีอยู่มากมายนัก ท�ำไม บางคนจึงมีอาการ บางคนไม่มี สภาพเช่นนีจ้ ะรักษาได้อย่างไร และเราสามารถป้องกัน ได้หรือไม่


แค่ความพิการที่เป็นอยู่ ระบบประสาทจัดการ ดัดแปลงซึ่งจะทำ�ให้ ประสาทสั่งการหมดความ สำ�คัญไป ยังไม่มีงานวิจัยชิ้นใหม่ ๆ ออกมามากนัก อาการหลังเป็นโปลิโอยังเปรียบ เสมือนสภาพของลูกก�ำพร้า เพราะมีวิกฤตการณ์ไม่กี่ครั้งตั้งแต่โรคโปลิโอ กลายเป็นเชิงอรรถในประวัตศิ าสตร์ของสหรัฐอเมริกา ก่อนทีโ่ รคนีจ้ ะถูกค้น พบโครงการรณรงค์ตอ่ สูก้ บั โรคโปลิโอมาร์ชออฟไดมส์ถกู วางเป้าหมายความ สนใจไปที่ความผิดพลาดของเด็กที่เกิดมา ยังมีงานบางส่วนที่ท�ำต่อเนื่องอยู่ สถาบันวิทยาศาสตร์ระบบประสาทและ การเจ็บปวดจอห์น พี. เมอร์ธา ในเมืองจอห์นสทาวน์ รัฐเพนซิลวาเนียก�ำลัง ค้นคว้าวิธีการออกก�ำลังกายที่ไม่เพิ่มความอ่อนล้า และพฤติกรรมการลด ความเครียด ซึ่งท�ำกันที่คลินิกผู้รอดจากโรคโปลิโอ การศึกษาในประเทศ แคนาดา ฝรั่งเศส นอร์เวย์ และสวีเดนแสดงให้เห็นว่าระบบภูมิคุ้มกันมี อิทธิพลต่ออาการหลังเป็นโปลิโอ และความสนใจในการทดลองทางคลินิก ระยะยาวในอเมริกาจะสามารถเลียนแบบการเกิดภูมิต้านทานเช่นว่านั้น การวิจัยจะน�ำไปสู่การสร้างโปรตีนแกมมาโกลบูลินที่จะสามารถลดความ รุนแรงของอาการลงได้ เฮลสเตดกล่าวว่าการศึกษาต่าง ๆ ดูจะหดหายไปในช่วง 5 ถึง 10 ปีที่ผ่าน มา ทั้งนี้เพราะผู้รอดชีวิตจากโรคโปลิโอในสหรัฐตายไปบ้าง และมีความซับ ซ้อนมากขึ้นเมื่อผู้ป่วยมีอายุมากขึ้นท�ำให้ล�ำบากในการท�ำวิจัย แต่อาการ ป่วยก็ยังคงมีอยู่ต่อไปหลายปี “ตอนนี้เรื่องนี้ก็เริ่มเป็นประเด็นในประเทศอินเดีย และอีกไม่นานก็จะเป็น เหมือนกันในทุกประเทศที่ก�ำลังพัฒนา เมื่อผู้คนมีอายุเฉลี่ยยาวนานมาก ขึ้น.” ฮัสเซย์ แห่งกลุ่มปฏิบัติการโรแทเรียนกล่าว ในขณะที่ความพยายาม ของโรตารีในการขจัดโรคโปลิโอให้หมดไปจากโลกเริม่ ท�ำให้โอกาสแห่งการ เกิดผู้เป็นโรคโปลิโอใหม่น้อยลงเรื่อย ๆ องค์การอนามัยโลกประมาณไว้ว่า จะมีผู้เคยเป็นโรคโปลิโอทั่วโลก 10 – 20 ล้านคน. “เมื่อผู้ติดเชื้อโปลิโอราย สุดท้ายถูกค้นพบแล้วหนทางยังอีกยาวไกลมากนักทีอ่ าการหลังจากเป็นโรค โปลิโอจะยังคงมีอยูต่ อ่ ไปเพือ่ ท้าทายคนแต่ละคน สังคม วิวฒ ั นาการทางการ แพทย์ การเงินและการเมือง.” ฮัสเซย์กล่าว แปลโดย อน.สุรกิจ เกิดสงกรานต์ สร.บางเขน

26

นิตยสารโรตารีประเทศไทย กันยายน-ตุลาคม 2553

The making of Polio’s sec

Ray Klinginsmith, from th t Some who survived him best.decades ago a disease facing a crippling syn

อาการที่พบโดยทั่วไปส�ำหรับผู้ที่มีอาการหลังเป็นโปลิโอ − อ่อนล้า 86-87% − ปวดกล้ามเนื้อ 71-86% − ปวดข้อ 71-79% − อ่อนแรงในส่วนของกล้ามเนื้อที่เคยลีบ 69-87% − อ่อนแรงในส่วนของกล้ามเนื้อที่ไม่เคยลีบ 50-77% − อ่อนไหวต่ออากาศเย็น 29-56% − กล้ามเนื้อแคระแกร็น 28-39% ความล�ำบากที่มักประสบโดยทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยอาการ หลังเป็นโปลิโอ − การเดิน 64-85% − การขึ้นบันได 61-83% − การใส่เครื่องแต่งกาย 16-62% Most common 
symptoms in people with postpolio 
syndrome • Fatigue, 86-87% • Muscle pain, 71-86% • Joint pain, 71-79% • Weakness in previously affected muscles, 69-87% • Weakness in previously unaffected muscles, 50-77% • Intolerance of cold, 29-56% • Muscle atrophy, 28-39% Most common challenges for people with postpolio 
syndrome • Walking, 64-85% • Stair climbing, 61-83% • Dressing, 16-62%


a President. cond act

the he people who know are now ndrome.


Polio’s second act Some who survived the disease decades ago are now facing a crippling syndrome. by Kate Nolan

Ina Pinkney has made the best of polio. Her baked goods win national acclaim, and foodies wait for seatings at Ina’s, her culinary star turn in Chicago, where she is known as “the breakfast queen.” Diagnosed with polio at 18 months in 1944, she was treated by the famed Australian nurse Sister Elizabeth Kenny, whose then-controversial therapy involved boiling strips of wool, wrapping them around the affected limbs, and using massage to alleviate muscle spasms. After a month of the painful regimen, Pinkney was walking again, but the disease had caused lasting damage. For years, she exercised to retrain her muscles, but her right leg never caught up with the left. Pinkney remembers going to a gala in New York as a young woman. Count Basie played, and her idol, movie star Fred Astaire, was there. She walked over to him, and Astaire said, “I see you have some difficulty walking. Let’s just pretend.” “He took me in dance position, and we swayed, maybe 12 times – 12 sways with Fred Astaire, a very big moment,” she recalls. Pinkney now experiences “mind-numbing” fatigue, and her leg feels weak despite the exercises to strengthen it. She reluctantly agreed to be fitted with an ankle-foot orthosis (a brace) and wore it home from the doctor’s office. Leaving the office, she fell in the street. Pinkney, 67, calls the episode a “gut blow.” “It told me I had a lot of work to do,” she says. “I had to learn to walk with the brace and, more important, I had to accept it.” Pinkney’s polio had not come back, but she had postpolio syndrome, a set of debilitating symptoms that strikes survivors at least 15 years after they’ve had the disease. As many as 55 percent of an estimated 775,000 polio survivors in the United States may be at risk of developing it. “We’d see more support for polio eradication if people understood the long-range effects of the disease,” says District Governor Ann Lee Hussey, chair of the Rotarian

28

นิตยสารโรตารีประเทศไทย กันยายน-ตุลาคม 2553

Action Group for Polio Survivors and Associates. Like a lot of Rotarians who had polio, she is a strong advocate for Rotary’s US$200 Million Challenge. “Many survivors serve as their district PolioPlus chair and are active in fundraising. I traveled to Hong Kong for an event that raised $250,000.” Many people have not heard of postpolio syndrome. Compared with the 20th-century epidemics that spawned a national movement in the United States led by President Franklin D. Roosevelt, it’s an understated illness. Those who have postpolio syndrome – an under-diagnosed, under-researched condition without broad-based advocacy from patients – often don’t realize it’s related to the disease. It has been 26 years since the syndrome was identified, but many doctors don’t know how to diagnose or treat it, Hussey says. Because polio is viewed as a conquered disease in the United States, its aftermath has been relatively unexplored in the research and in medical schools. Post-Polio Health International, which works with the Rotarian Action Group, addresses the dearth of information through a network at www.post-polio.org. It connects patients with each other and the few health professionals experienced in treating the condition. Most of the people who lived through the U.S. polio epidemics will die in the next 40 years – a fact that may offset the irony that the final phase of the most studied virus in history now gets modest public notice. But even greater resources may be needed in the future, as a new tide of potential patients rises in the developing world. “They’re going to have horrible lives. Who will address their pain and mobility issues?” Hussey asks. For Daniel J. Wilson, having postpolio syndome means managing a growing list of things he can’t do anymore. “I can’t walk all over Paris and take the metro,” says Wilson, 60, a professor of history at Muhlenberg College in Allentown, Pa., and the author of a well-regarded history of polio in the United States, Living with Polio: The Epidemic and Its Survivors. Wilson contracted the disease at age five, his mother caring for him with the hot packs that had become common. The weakened muscles of his right torso led to scoliosis, a type


of spinal disfigurement. At 10, he had spinal surgery that put him in a body cast for six months. He completed fifth grade at home in Wausau, Wis., and regained his strength. He later earned his doctorate from Johns Hopkins University. The first sign of postpolio syndrome came in the mid-1980s, when Wilson had trouble lifting his right foot off the gas pedal to brake his car. Soon his right leg began giving out while he walked, and he experienced increasing muscle pain. His wife, Carol, started carrying packages for him. Now he sits while he lectures, walks with a cane, and uses a scooter for longer distances. When his beloved wheaten terrier Abbey died at 16 last year, he decided against getting another dog because he couldn’t walk one anymore. He installed a stair lift at home, preparing for when he can’t handle stairs. “I live with the certainty that I can’t trust my body anymore,” Wilson says. Abraham Lieberman, 72, medical director of the Muhammad Ali Parkinson Center at Barrow Neurological Institute in Phoenix, started to have difficulty walking in the late ’90s and sometimes used a walking stick. By 2001, his left leg was failing, and he diagnosed himself with postpolio syndrome. He has no joint or muscle pain but suffers weakness in his legs. “I’m not happy about it, but I’m not going to die from it. I’d be happier if I were 10 years younger,” says Lie-berman, who was hospitalized with polio in 1944 at age six in New York with nearly full-body paralysis. His mother wrote to Roosevelt for help, and the sympathetic president wrote back, saying he would do what he could. Lieberman’s young life became a cycle of braces, injury, and surgery but left him with strong hands and the ability to walk without assistance. He finished medical school, served in the U.S. Air Force as a doctor in Japan, and later specialized in research on Parkinson’s disease. “You can manage the pain and fatigue, but there’s no simple test for it,” says Julie Silver, assistant professor at Harvard Medical School and former director of the International Rehabilitation Center for Polio at Spaulding Framingham Hospital in Massachusetts. “It’s a diagnosis of exclusion.” After thyroid problems and sleep apnea 
have been ruled out as causes of fatigue, for instance, postpolio syndrome may be considered in a patient who 
has slowed down. At the rehabilitation center and the handful of other facilities across the country specializing in postpolio syndrome, an assessment typically includes an examination by a doctor experienced with the condition, a nerve and muscle study, and sessions with physical and occupational therapists, a brace specialist, and a psychologist. The psychological fallout of a diagnosis can be dramatic for patients. “It feels like a double whammy,” says Silver, author of Post-Polio Syndrome: A Guide for Polio Survivors and

Their Families. First, there’s the shock of realizing that they aren’t finished with polio, and then that no recovery from postpolio syndrome is in view. Care recommendations can include home modifications, a brace, stress management for fatigue, lifestyle changes such as reduced work hours, 
and devices to help with breathing and mobility, alleviate pain, or prevent falls. In the 1950s, polio survivors learned to exercise during rehabilitation, often in great pain. The new field of physical therapy strongly linked determination with overcoming challenges. Charles Atlas was telling men they could build a muscular body through willpower and isometric exercises, and Norman Vincent Peale in The Power of Positive Thinking was saying attitude was everything. Both ideas were part 
of American culture. “When you went into rehab, the emphasis was on pushing as hard as you could, like the Little Engine That Could. Physical therapists and families pushed polio survivors to achieve the maximum results, and in many cases substantial recovery was possible,” Wilson says. “We had won World War II, and we were moving forward. Men had a lot of concerns about masculinity and proving they could take it. Dealing with painful physical therapy demonstrated you weren’t a sissy.” Pinkney recalls the pressure she felt from the public campaign against polio. “How could you let anyone down, with all of them on your side? Polio children learned to be such good children,” she says. Then, years later, came postpolio syndrome. Research showed that the exercise that had been recommended could come with harmful side effects. Unlearning the old rules was as much a cultural shift as a medical one, says Wilson, whose book devotes a chapter to the illness. De-emphasizing exercise initially strikes many survivors as backward. To overcome her postpolio fatigue and weakness, Pinkney went back to the old playbook. “But it hurt me,” she says. “I’d be in better shape now if I hadn’t exercised.” Today she walks with a cane and predicts she will rely on a wheelchair full time within six years. These realities are familiar to Lauro Halstead, director of the postpolio program at the National Rehabilitation Hospital in Washington, D.C., and a key figure in the story of postpolio syndrome. In 1984, Halstead organized the first medical conference devoted to the condition. In the 1970s and ’80s, survivors started reporting symptoms reminiscent of polio. Patients and doctors feared the virus was back. Other doctors suspected the chronic condition fibromyalgia or multiple sclerosis. Some told patients the symptoms were in their heads. To make sense of the reports, Halstead, then working at the Institute for Rehabilitation


and Research at Baylor University in Houston, organized a national meeting of experts at the Roosevelt Warm Springs Institute for Rehabilitation in Georgia, the polio center founded by FDR. A polio survivor in his late 40s, Halstead was having unexplained leg pains himself. He had polio after his freshman year of college and split the next year between an iron lung and a wheelchair until he regained his strength. He lost the use of his right arm and hand but taught himself to write left-handed and finished his schooling. Becoming a spinal cord injury specialist at Baylor, he assumed polio was behind him until the pain returned. “The leg pains were very like the leg pains I experienced during the acute phase of polio. Fortunately, there were a lot of hotshots at Baylor to look into it. It wasn’t polio, but nobody could figure out what it was,” says Halstead, 74, editor of Managing Post-Polio: A Guide to Living and Aging Well with Post-Polio Syndrome. Then he read an article by David Wiechers, a researcher at Ohio State University who was working with electromyographic diagnosis, which monitors electrical activity in the muscles to diagnose neuromuscular problems. Wiechers had tested some polio survivors who had the same symptoms and noticed surprising neurological changes. His work raised more questions than it answered, though. Media were riveted to the notion that polio was back, which generated plenty of publicity for Halstead’s conference. But the triumph of the event was setting a research agenda. Studies would show that polio was not back. Fragments of the virus were found in patients but weren’t reinfecting them. Researchers soon named the new disorder and clarified its characteristics.

30

นิตยสารโรตารีประเทศไทย กันยายน-ตุลาคม 2553

Now the pathology is clear. During the acute phase of polio, patients can lose motor neurons, the nerves that carry signals to the muscles. More than 50 percent of them can experience weakness and possibly paralysis. The neurological system makes adaptations that can wear out the surviving motor neurons. Imagine a right arm attacked by polio and an unaffected left arm, Halstead says. The right arm’s dead nerve cells no longer stimulate the muscle, so the muscle atrophies but still sends out a chemical signal that instructs the healthy left arm to develop more “axon sprouts” – the endings on the motor neurons where chemical changes take place for muscle stimulation. Catastrophically, the number of sprouts increases. “Think of the tremendous metabolism it takes to generate the chemicals needed by each axon sprout. The motor neurons get worn out. That accounts for the new weakness in the muscle,” Halstead says. Exercise is thought to spur the unwanted growth of new sprouts. Questions about postpolio syndrome still outnumber the answers: Why do some people get it while others don’t? What might cure the condition? Can it be prevented? There’s not much new in the research. Postpolio syndrome has always been an orphan condition – the crisis of the few since polio became a footnote in U.S. history. Before the illness was even identified, the once polio-centric March of Dimes had changed its focus to birth defects. Some work continues. The John P. Murtha Neuro-science and Pain Institute in Johnstown, Pa., is exploring nonfatiguing exercises and stress-reduction behaviors at its polio-survivors clinic. Studies in Canada, France, Norway, and Sweden show that the immune system may have an influence on postpolio syndrome, and interest 
in a long-term U.S. clinical trial to replicate them is growing. Research may lead to a gamma globulin shot to reduce symptoms. Halstead says studies have fallen off in the past 5 or 10 years, as U.S. polio survivors die and the medical complications of aging make it harder to research them. But the syndrome could continue for years. “It is just now becoming an issue in India, and it will be eventually in all areas of the developing world as the average lifespan increases,” says Hussey, of the Rotarian Action Group. While Rotary’s eradication efforts have dramatically slowed the rate of polio infection, the World Health Organization estimates that survivors number between 10 and 20 million worldwide. “Long after the 
last polio case, postpolio syndrome will persist as a significant personal, social, medical, financial, and political challenge,” Hussey says.


All that Jazz หลากหลายสไตล์แจ๊ส


Rotary International Convention 2011

นับถอยหลังการประชุมโรตารีสากล หลากหลายสไตล์แจ๊ส

/ ดนตรีทมี่ กี ลิน่ อายท้องถิน่ และให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับการแสดง ดนตรีในที่ต่าง ๆ ในแต่ละวัน ไปเยือน คองโกว์สแควร์ ใน สวนสาธารณะหลุยส์ อาร์มสตรอง ที่ ทาสชาวแอฟริกันได้รับอนุญาตให้ไป ชุมนุมกันในวันอาทิตย์ย้อนหลังไป ตั้งแต่ศตวรรษที่ 17 เพื่อขับร้องและ บรรเลงดนตรีตามประเพณีของพวก เขา ซึ่งเป็นรากฐานของวิวัฒนาการ ดนตรีอเมริกันมากมายในเวลาต่อมา ไปชม การแสดงของเหล่ า ศิลปินที่ ห้องพรีเซิร์ฟเวชั่นฮอลล์ อา คารเฟรนช์ควอเตอร์ เลขที่ 726 ถนน เซนต์ปีเตอร์ ที่ซึ่งอนุรักษ์ดนตรีแจ็ส สไตล์นิวออร์ลีนส์แท้ๆ มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1961 ออกจาก เฟรนช์ควอเตอร์แล้ว คุณยังสามารถไป ชม การแสดงสดของเหล่านักดนตรีต่างๆ ที่ส่วนอื่นๆ ของ เมืองได้ด้วย ไม่ว่าจะเป็นข้างถนนเฟรนช์เมน เขตแวร์เฮาส์ และแถบชานเมือง ไปส�ำรวจ ห้องจัดแสดงที่หลุยส์เซียนา มิวสิค แฟคตอรี่ เลขที่ 210 ถนนเดคาร์ตูร์ ที่เก็บรวบรวมข้าวของ เกีย่ วกับดนตรีเป็นจ�ำนวนมาก ของเหล่าศิลปินนิวออร์ลนี ส์ และศิลปินภาคใต้ นอกจากนี้ยังมีการแสดงสดของศิลปิน เวย์น เฮิรน์ ซึง่ แสดงเป็นประจ�ำอยูท่ นี่ ใี่ ห้คณ ุ ได้ชมอีกด้วย ท่านทีส่ นใจ สามารถลงทะเบียนเข้า ร่วมประชุมโรตารีสากล 2011 ได้ที่www. rotary.org/convention

ศิลปินริทึ่มแอนด์บลูส์ระดับต�ำนานผู้ล่วงลับไป แล้ว เออร์นี่ เค - โดว์ เคยพูดถึงบ้านเกิดของเขาว่า “ผมก็ ไม่มนั่ ใจหรอกนะ แต่คอ่ นข้างเชือ่ ว่าดนตรีทกุ ประเภทมีทมี่ า จากนิวออร์ลนี ส์” รูปแบบการดนตรีแห่งเมืองรูปพระจันทร์ เสีย้ วนีย้ งั คงลีลาแบบซุปกัมโบเข้มข้น มีทงั้ แจ๊สทุกประเภท บลูส์ ก็อสเปล อาร์แอนด์บี ร็อค คันทรี่ ละติน แคริบเบียน คาจัน รวมทั้งซีเดโค ส�ำหรับชาวโรตารีที่ต้องการไปร่วม ประชุมโรตารีสากล 2011 ในวันที่ 21-25 พฤษภาคม ที่นิ วออร์ลีนส์ คุณมีวิธีง่ายๆ หลายวิธีที่จะไปท�ำความรู้จักกับ ดนตรีสไตล์นิวออร์ลีนส์แท้ๆ ของเมืองเจ้าภาพได้ อ่าน OffBeat นิตยสารดนตรีรายเดือนแจกฟรี ทีจ่ ะบอกคุณถึงรายละเอียดการแสดงดนตรีตา่ งๆ นิตยสาร นี้หาอ่านได้ตามล็อบบี้โรงแรม ทางเข้าภัตตาคาร บาร์ หรือ ร้ า นช� ำ ทั่ ว ไป เพื่ อ ความรวดเร็ ว คุ ณ สามารถ คลิกไปที่เว็บไซต์ แปลโดย รทร.อรุ ณ วดี สมานมิ ต ร พอล www.offbeat.com ดู สร.เชียงใหม่เหนือ ก่อนก็ได้ ฟ ั ง วิ ท ยุ ชุ ม ชน สถานี WWOZ (คลื่น 90.7 FM) รายการ เพลงที่ เ ปิ ด เฉพาะ เพลง นิวออร์ลีนส์

32

นิตยสารโรตารีประเทศไทย กันยายน-ตุลาคม 2553


Convention countdown All that jazz

The late rhythm and blues legend Ernie K-Doe once said of his hometown, “I’m not sure, but I’m almost positive, that all music came from New Orleans.” The Crescent City’s music scene remains a simmering gumbo of styles, including jazz of all kinds, blues, gospel, R&B, rock, country, Latin, Caribbean, Cajun, and zydeco. Rotarians bound for the 2011 RI Convention in New Orleans, 21-25 May, will find several easy ways to partake of the host city’s musical offerings. Read OffBeat, a free monthly music magazine with extensive performance listings. Look for it in hotel lobbies and the entrances to restaurants, bars, and retailers. For a head start, visit www.offbeat.com before you leave home. Listen to community-supported radio station WWOZ (90.7 FM). Its programming is devoted to local music and music with local ties, and it airs daily performance listings. Visit Congo Square, part of Louis Armstrong Memorial Park. It’s where African slaves were allowed to congregate on Sundays as far back as the 1700s, sharing musical traditions and planting the seeds for the evolution of much of America’s music.

Pay homage to the performers at Preservation Hall, 726 St. Peter Street, a French Quarter institution that has been safeguarding New Orleans jazz traditions since 1961. Get out of the French Quarter. Live music thrives in other parts of town as well, including along Frenchmen Street, in the Warehouse District, and in Uptown. Peruse the racks at the Louisiana Music Factory, 210 Decatur Street, which stocks a huge inventory of music by local and regional artists and hosts regular in-store performances. – Wayne Hearn Register for the 2011 RI Convention at www.rotary. org/convention.


มอนทรีออล รำ�ลึก

การประชุมใหญ่โรตารีสากลปี 2010 ที่เมืองมอนทรีออล ควีเบค ประเทศแคนาดา

34

1.เริ่มงานปาร์ตี้ Major Donor โดย อดีตประธานโรตารีสากล Luis Vencente Giay และภรรยา 2.โรแทเรีย่ นชาวแคนาดาและ ไนจีเรีย ที่บูธแห่งมิตรภาพ 3.โรตาแรคท์บ�ำเพ็ญประโยชน์ 4.ลูกเสือชาวแคนาดา ในพิธีเชิญธง 5.ประชาสัมพันธ์โครงการ “End Polio Now” เป็นภาษาฝรั่งเศส ที่ตลาดเมืองเก่า ในมอนทรีออล 6.ประธานโรตารีสากลปี 2009-10 John Kenny พบผู ้ สื่ อ ข่ า ว 7.เริ่ ม พิ ธี เ ปิ ด โดยนั ก เต้ น ชาวตุ ร กี 8.มาร่วมงานกันทัง้ ครอบครัว 9.เพลงไพเราะจาก Dolly Parton 10.ระหว่างช่วงพัก 11.Marie Irene Richmond-Ahoua คณะ กรรมการโปลิโอจาก ประเทศ Cote d’Ivoire มอบลูกฟุตบอล ก�ำจัดโปลิโอจากอาฟริกาให้ ประธาน Kenny 12.RYLA ที่ มหาวิทยาลัย McGill นิตยสารโรตารีประเทศไทย กันยายน-ตุลาคม 2553


13.ประธาน Kenny ย�้ ำ จุ ด ยื น ในการ ก� ำ จั ด โปลิ โ อ 14.โรตาแรคท์ เ ตอร์ จ าก เพนซิ ล วาเนี ย 15.ร่ ว มรณรงค์ ก� ำ จั ด โปลิโอ 16.งานค�่ำคืน ของ Major Donor 17.แลกเปลี่ยนความเห็นระหว่าง เยาวชน แลกเปลี่ ย น 18. โรตารแรคท์ เ ตอร์ 19.การแสดงของ Cirque du Soleil 20.ราชิ นี นู ร ์ แ ห่ ง จอร์ แ ดน รณรงค์ เรื่ อ ง สันติภาพ 21.ประธาน โรตารีสากล เรย์ คลิงสมิธและ ภรรยา 22.นักเขียน Greg Mortenson 23.Ryla จงเจริญ 24.Palais des congres สถานที่จัดการประชุม


2010 ROTARY INTERNATIONAL ผวล.ช�ำนาญ จันทร์เรือง CONVENTION

เมื่อปลายเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา ผมได้มีโอกาสไปร่วมการประชุมใหญ่ โรตารีสากลที่ มอนทรีออล แคนาดา ซึง่ จัดขึน้ ระหว่างวันที่ 20-23 มิถนุ ายน 2553 นอกจากจะมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจในความใหม่ๆ เกี่ยวกับ วงการโรตารีแล้ว ยังมุ่งหมายที่จะไปศึกษาเพื่อเป็นการเตรียมงานในการเป็นเจ้า ภาพ การประชุมใหญ่ฯ ที่กรุงเทพฯในปี 2553 ที่จะถึงนี้ การประชุมใหญ่ที่มอนทรีออลครั้งนี้ เป็นการประชุมใหญ่ขนาดกลาง เพราะมีผเู้ ข้าร่วมการประชุม 19,907 คน (มีคนไทย 36 คน) จากเป้าทีต่ งั้ ไว้ 20,000 คน อาจจะเป็นเพราะข้อจ�ำกัดในเรือ่ งสถานทีท่ ตี่ อ้ งจัดแยกกันระหว่างการประชุม รวม (plenary session) จัดที่ CentreBell กับการประชุมแยก (breakout session) จัดที่ Palais des Congres de Montreal ซึ่งอยู่กันคนละที่ต้องใช้รถ รับส่งจ�ำนวนมากและใช้เวลาพอสมควร เจ้าภาพจึงตัง้ เป้าจ�ำนวนผูเ้ ข้าร่วมประชุม ไม่มากนักเพียง 20,000 คน ซึ่งแตกต่างจากของไทยเราในปี 2555 ที่จัดรวมกัน ที่เดียวคือที่เมืองทองอารีนาและตั้งเป้าผู้เข้าร่วมประชุมไว้ถึง 30,000 ถึง 40,000 คน อย่างไรก็ตามแม้ว่าจะจ�ำกัดด้วยอาคารสถานที่ แต่ในเรื่องทางด้าน วิชาการและการจัดโปรแกรมต่างๆไม่วา่ จะเป็น House of Friendship หรือ Host Event ต่างๆเจ้าภาพก็จดั ได้อย่างดีเยีย่ ม นอกจากเนือ้ หาสาระจะอยูใ่ นความสนใจ ของผู้เข้าประชุมกันอย่างมากโดยยังอยู่ร่วมประชุมต่อหลังจากพิธีเปิดแล้ว เป็น เปอร์เซ็นต์ค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับการประชุมในครั้งที่ผ่านๆมาที่ผู้เข้าประชุม ส่วนใหญ่พอร่วมพิธีเปิดแล้วก็มักจะเดินทางต่อไปเที่ยวแล้วไม่กลับมาอีกเลย แต่ ในคราวนีม้ ผี เู้ ข้าร่วมเต็มเกือบทุกห้อง บางห้องถึงกับต้องปิดไม่ให้เข้าไปอีกแล้วยัง มี keynote speakers หลายท่านทีอ่ ยูใ่ นความสนใจของผูเ้ ข้าประชุมเป็นอย่างยิง่ Keynote Speaker ที่ส�ำคัญนอกจากประธานโรตารีสากล John Kenny ซึ่งท�ำหน้าที่เป็นผู้ด�ำเนินรายการหลัก (Master of Ceremonies) และ ประธานโรตารีสากลรับเลือก Ray Klingkinsmith แล้วท่านอื่นคือพระราชินีนูร์ แห่งจอร์แดน (Her Majesty Queen Noor of Jordan) ซึ่งพระองค์ได้กล่าว

36

นิตยสารโรตารีประเทศไทย กันยายน-ตุลาคม 2553


สุนทรพจน์ได้อย่างประทับใจ โดยไม่ต้องมีเครื่องช่วยเหมือน speaker ท่านอื่นๆ พระองค์ท่านเป็นสามัญชนชาวอเมริกันมา ก่อน และมาอภิเษกสมรสกับกษัตริยฮ์ สุ เซนแห่จอร์แดนผูล้ ว่ งลับไป แล้ว พระราชินีนูร์ทรงมีบทบาทที่ส�ำคัญอย่างยิ่งในการเสริมสร้าง สันติภาพระหว่างอาหรับกับอิสราเอล ในการกล่าว สุนทรพจน์ ใน วันนั้นได้เรียกเสียงปรบมืออย่างกึกก้อง เมื่อพระองค์ทรงกล่าว ถึงความตั้งใจที่อยากจะมี สโมสรโรตารีในเยรูซาเร็ม ที่สมาชิก ประกอบไปด้วยทั้งคนยิวและคนอาหรับอยู่ด้วยกัน อีกท่านหนึ่งก็คือ ดอลลี พาร์ตัน (Dolly Parton) ดารา ฮอลลีวูดรุ่นอาวุโสที่ท�ำงานในด้านการเรียนรู้หนังสือ ได้ก่อตั้ง Dollywood theme park มาครบรอบ 25 ปีโดยบริจากหนังสือ มาแล้วถึง 25 ล้านเล่มแล้ว ในการพูดในวันนัน้ เธอยังได้แสดงดนตรี ประกอบด้วยความสนุกสนาน และในตอนท้ายโรตารีสากลได้มอบ Paul Harris Fellow เป็นการตอบแทนที่เธอได้ร่วมสนับสนุน ท�ำงานของโรตารีมาอย่างยาวนานเช่นกัน นอกจากนัน้ ยังมีบคุ คลส�ำคัญและมีชอื่ เสียงอีกหลายท่าน อาทิ Fr.Marciano “Rocky” Evangelista ซึง่ เป็นพระ Salesian ที่บวชโดยสันตะปาปาพอลที่ 6, Greg Mortenson ผู้ก่อตั้งร่วม Central Institute และเป็นผู้แต่ง Three cups of Tea ที่มีชื่อ เสียงไปทัว่ โลก, Bruce Aylward นายแพทย์ผเู้ ป็นหัวหน้าโครงการ Global Polio Eradication Initiative(GPEI), Peter Kyle อดีต ที่ปรึกษาธนาคารโลก, Jo Luck ผู้เป็น CEO ขององค์การ Heifer International ที่ผมเห็นว่าเธอผู้นี้น่าจะเป็นผู้หญิงที่เก่งที่สุดใน โลกทีผ่ มเคยรูจ้ กั และพูดคุยด้วย มาตัง้ แต่เมือ่ ครัง้ ทีเ่ ธอมาเชียงใหม่ เมือ่ 2 ปีกอ่ น และในการพูดในวันนัน้ เธอค�ำว่า “น�ำ้ ใจ”(Nam Jai) ที่เธอบอกว่าเป็นภาษาลาว ซึ่งเป็นค�ำที่ช่วยท�ำให้งานทั้งหลาย ประสพความส�ำเร็จ ในส่วนของการแสดงในพิธีเปิดและปิด ก็ท�ำได้อย่างยิ่ง ใหญ่ คือ ในพิธีเปิดมีการแสดงของ Celtic Thunder ซึ่งเป็นกลุ่ม นักร้องที่มีชื่อเสียงมากจ�ำนวน 5 คนมารวมตัวกัน เป็นการแสดง ทีส่ นุกสนาน จนคณะทีเ่ ดินทางไปประชุมด้วยบอกว่าเสียค่าเครือ่ ง บินมาเป็นแสนแต่เห็นการแสดงสดครัง้ นีก้ ค็ มุ้ แล้ว ส่วนในพิธปี ดิ ก็ มี Russel Watson นักร้องเสียง Tenor ชาวอังกฤษที่ขึ้นมาร้อง เพลงสะกดผูฟ้ งั โดยเฉพาะอย่างยิง่ เพลงเก่าๆ ของ Pavarotti ชาว อิตาเลียนผู้ล่วงลับ และยังการแสดงกายกรรมของคณะ Cirque du Soleil ที่แสดงไปทั่วโลกกว่า 300 เมืองใน 5 ทวีป ผ่านตาผู้ ชมมามากกว่า 100 ล้านคน ส่วนที่เป็นจุดส�ำคัญของการประชุมใหญ่ในทุกๆ ครั้งที่ ผ่านมาอีกจุดหนึ่งก็คือ House of Friendship ซึ่งท�ำได้ดีมาก มีการออกบูธมากมายทั้งการขายสินค้าที่เกี่ยวกับตราสัญลักษณ์ โรตารี และบูธจัดแสดงนิทรรศการจากหน่วยงานต่างๆ ของทัง้ จาก ส�ำนักงานใหญ่โรตารีสากล และสโมสรหรือชมรมต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง กับโรตารีเป็นร้อยๆ บูธ ที่น่าสนใจส�ำหรับผมก็คือ ชมรมคนชอบ ดื่มไวน์ของโรตารีนั่นเอง นอกจากนั้นก็มีชมรมกอล์ฟ ชมรม ฮาร์

เลย์ ฯลฯ แต่เวทีการแสดงไม่ค่อยคึกคักนักเป็นแต่เพียงการแส ดงเล็กๆน้อยๆ แต่ก็มีส่วนหนึ่งที่ขึ้นจอยักษ์ส�ำหรับถ่ายทอดการ แข่งขันฟุตบอลโลกเอาไว้ด้วย ซึ่งก็สะดวกมากเพราะตรงกับเวลา กลางวันบ้านเขา (แต่ตรงกับดึกดื่นของบ้านเรา) โดยมีเสียงเฮเป็น ระยะๆสร้างบรรยากาศได้ครึกครื้นดีทีเดียว นอกจากโปรแกรมอย่างเป็นทางการ ของเจ้าภาพแล้วผู้ ไปร่วมประชุมยังมีการจัดโปรแกรมต่างๆ เพิม่ ขึน้ มาอีก อาทิ 2010 Asia Breakfast Meeting, Down Under Breakfast, Japanese Friendship, Centenial Governors Reunion, RIBI Breakfast, Latin American Breakfast, Beatles Tribute Concert เป็นต้น ในฐานะทีเ่ ป็นโรแทเรียนคนหนึง่ ผมอยากให้ทกุ ท่านหากมีโอกาส เข้าร่วมประชุมใหญ่กจ็ ะเป็นประสบการณ์ทยี่ งิ่ ใหญ่ และยากทีจ่ ะ ลืมเลือนได้ แต่หากจ�ำกัดด้วยระยะเวลา สุขภาพหรือค่าใช้จา่ ยแล้ว ในปี 2555 ไทยเราก็จะได้เป็นเจ้าภาพการประชุมนี้ ผมอยากให้ทกุ ท่านได้เข้าร่วมการประชุมครัง้ นีเ้ ป็นอย่างยิง่ เพราะนอกจากจะได้ ความรูม้ ากมากมายแล้ว ยังได้พบปะและแลกเปลีย่ นวัฒนธรรมกับ มวลมิตรโรแทเรียนชาวต่างชาติ ที่ส�ำคัญก็คือโอกาสในการได้รับ การสนับสนุนหรือ แลกเปลีย่ นโครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์ตา่ งๆ ซึง่ สามารถน�ำมาพัฒนาโครงการต่างๆของโรตารีบ้านเราให้เจริญรุด หน้ายิง่ ๆขึน้ ไป สมดังอุดมการณ์ของโรตารีทวี่ า่ “Service Above Self” หรือ “บริการเหนือตนเอง” นั่นเอง หมายเหตุ ส�ำหรับความคืบหน้าของการเตรียมการ ประชุมใหญ่ฯที่จะมีขึ้นระหว่าง วันที่ 6 -9 พฤษภาคม 2555 ที่ ประเทศไทยเรานั้น ในระหว่างวันที่ 20 -22 สิงหาคม ที่ผ่านมา ประธานโรตารีสากลรับเลือก กัลยัน เบอร์นาจี และคณะกรรมการ จัดการประชุมใหญ่ฯ (International Convention Committee – ICC) พร้อมทั้งเจ้าหน้าที่จากโรตารีสากลได้มาประชุมร่วม กับคณะกรรมการในส่วนของเจ้าภาพ (Host Oraganization Committee – HOC) ซึ่ง ICC ได้มีมติเบื้องต้นว่าค่าลงทะเบียน เป็นเงิน 160 US$ โดยต้องลงทะเบียนก่อนวันที่ 1 ธ.ค. 2554 (first deadline) และได้คนื ส่วนลดในภายหลังอีก 25% หากเราในฐานะ เจ้าภาพลงทะเบียนเกินเป้าหมายที่เสนอไว้ (50 % ของจ�ำนวน โรแทเรียนในประเทศไทย คือมากกว่า 3,500 คนนั่นเอง) ซึ่งก็ หมายความว่าค่าลงทะเบียนจริงแล้วส�ำหรับคนไทยเรา ประมาณ 120 US$(ประมาณสามพันกว่าบาท) ซึ่งต�่ำมากเมือเทียบกับการ ประชุมฯครั้งที่ผ่านๆมา (มอนทรีออล 295 US$ นิวออร์ลีนส์ 300 US$) ทั้งนี้ ต้องรอมติสุดท้ายของคณะกรรมการบริหารโรตารี สากล ประมาณเดือนพฤศจิกายน 2553 ชี้ขาดอีกทีซึ่งผมจะน�ำ ความคืบหน้า การเตรียมการประชุมฯมาเสนอให้ทราบในโอกาส ต่อๆ ไปครับ


ศูนย์โรตารีในประเทศไทย

75/82-83 ชั้น 32 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์2 ซอยวัฒนา ถ.อโศก เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0 2661 6720-1 แฟกซ์ 0 2661 6719

เรียน มิตรโรแทเรียนที่รักทุกทาน

เมนู Member Access

โรตารีสากลไดเปดชองทางเขาดูขอมูลโรตารีของสมาชิก (Member Access) บนเว็ บ ไซต www.rotary.org เพื่ อ สนั บ สนุ น ให โ รแทเรี ย น สามารถค น หาข อ มู ล ต า งๆ ได เช น ยอดการบริ จ าคเงิ น ให แ ก มู ล นิ ธิ โรตารีฯ ซึ่งผมไดนําเกร็ดเล็กเกร็ดนอยเกี่ยวกับเมนู Member Access มาฝากใหเพื่อนสมาชิกที่ยังไมรูจักไดรับทราบ เผื่อจะเปนประโยชนกับ เพื่อนๆ ครับ นอกจากนี้ มี ข า วฝากจากผู แ ทนดู แ ลการเงิ น ฯ ในเดื อ น กันยายนนี้ อัตราแลกเปลี่ยนโรตารีสากล จะลดเหลือ 32 บาท ตอ 1 เหรียญ สโมสรใดยังไมชําระคาบํารุงหรือทานใดตองการบริจาคเงินให มูลนิธิโรตารี เชิญไดเลยครับ

เมนู Member Access บนเว็บไซต www.rotary.org ชวยให โรแทเรียนสามารถดําเนินงานโรตารีไดอยางรวดเร็วและงาย ขึ้น ทําใหมีความตอเนื่องในระหวางปของผูนํา และมั่นใจได วาโรตารีสากลจะมีขอมูลตางๆ ที่ถูกตอง

ดวยไมตรีจิตแหงโรตารี อผภ.ชาญชัย วิศิษฏกุล ประธานคณะกรรมการบริหารศูนยโรตารีในประเทศไทย

ท า นสามารถสมั ค รใช Member Access ของโรตารี สากลได โดยเขาไปที่เว็บไซต www.rotary.org คลิ้กที่เมนู Member Access และกรอกขอมูลใหครบถวน (ควรเตรียม ข อ มู ล โรตารี ข องท า นให พ ร อ มก อ นสมั ค ร เช น หมายเลข สมาชิ ก , หมายเลขสโมสร เป น ต น ) เพี ย งเท า นี้ ท า นก็ สามารถเขาไปใชบริการไดแลว (สมาชิกแตละทานสามารถ ใ ช สิ ท ธิ พิ เ ศ ษ ข อ ง Member Access ไ ด ต า ง กั น ดั ง รายละเอียดดานลางนี้)

สิทธิพิเศษของโรแทเรียนใน Member Access รายการ แบบฟอรมการรายงานเปาหมายของสโมสรในการพัฒนากองทุนของมูลนิธิโรตารี การปรับปรุงขอมูลสโมสรใหเปนปจจุบัน การปรับปรุงขอมูลสมาชิกภาพใหเปนปจจุบัน ดูสรุปการบริจาคเงินใหมูลนิธิ (Club Recognition Summary) (ของสโมสรเองเทานั้น) ชําระคาบํารุงครึ่งป หรือพิมพรายงานครึ่งป ดูรายงานการเงินของสโมสร ดูรายงานโรแทเรียนทุกคนบริจาคทุกป (EREY) ดูการบริจาคเงินรายเดือน เงินปนสวนและรายงานโปลิโอ บริจาคเงินใหมูลนิธิโรตารี ดูประวัติการบริจาคเงินของทาน หาทําเนียบทางการ (Official Directory) ออนไลน จัดการเรื่องอีเมล ลงทะเบียนการประชุมตางๆ ดูสิทธิประโยชนของสมาชิก ตัวเลขโรตารีไทย ผูแทนดูแลการเงิน (ก.ย. 53)

38

ภาค 3330 2,116 คน 77 สโมสร

ภาค 3340 1,240 คน 58 สโมสร

นิตยสารโรตารีประเทศไทย กันยายน-ตุลาคม 2553

นายก

เลขาฯ

เหรัญญิก

โรแทเรียน

X X X X X X X X X X X X X X

X X X X X X X X X X X X X

X X X X X X X X X X

X X X X X X

ภาค 3350 2,421 คน 90 สโมสร

ภาค 3360 1,278 คน 61 สโมสร


สิ่งละอันพันละน้อย

อผภ.เกษมชัย นิธิวรรณากุล ผู้ว่าการภาคปี น�ำทาง สร้างผลงาน

ชื่อนั้นสำ�คัญไฉน นามสกุลของประธานโรตารีสากล Ray Klinginsmith ควรออกเสียงและสะกด เป็นภาษาไทยเช่นไร...“คลิงกินสมิท” หรือ “คลิงงินสมิท” หรือ “คลิงสมิท” กันแน่ ผมขอเรียนเชิญท่านผู้อ่านลองวิเคราะห์พื้นฐานการออกเสียงของค�ำที่มี ng เป็นตัวสะกดในภาษาอังกฤษ ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 4 ทางเลือก 1.ออกเสียงตามสัทอักษรหรือสัญลักษณ์แทนเสียงพยัญชนะ/สระ [ ] คล้ายคลึงกับเสียง ‘ง’ ในภาษาไทย เช่นเสียงลงท้ายของค�ำว่า sing, thing, along, among เป็นต้น 2.ออกเสียงตามสัทอักษรสองตัว [ ] + [ ] แยกเป็นสองเสียงเรียงตาม กันคล้ายคลึงกับเสียง ‘น’ + เสียง ‘จ’ ในภาษาไทย เช่น binge (บินจฺ) สองเสียงนี้อาจเกิดกับ ค�ำสองพยางค์หรือมากกว่าก็ได้ โดยออกเสียง [ ] คล้ายเสียง ‘น’ ลงท้ายในพยางค์แรก + [ ] คล้ายเสียง ‘จ’ น�ำในพยางค์ทตี่ าม เช่น angel ออก เสียง An-gel (เอน-เจิล) และ danger ออกเสียง Dan-ger (เดน-เจอร์) เป็นต้น 3.ออกเสียงตามสัทอักษรสองตัว [ ] + [ ] เป็นสองเสียงแยกออกจากกัน คล้ายคลึงกับเสียง ‘น’ ตามด้วยเสียงคล้าย ‘ก’ น�ำในพยางค์หลัง เช่น finger ออกเสียง Fing-ger (ฟิง-เกอร์) bingo ออกเสียง Bing-go (บิง-โก) anger ออกเสียง Ang-ger (แอ็ง-เกอร์) angle ออกเสียง Ang-gle (แอ็ง-เกิล) 4.เมื่อค�ำใดสะกดด้วย ng ต่อท้ายด้วย st ให้ออกเสียงเป็นเสียงพยัญชนะพวง ได้แก่เสียง [ ] + [ ] + [ ] + [ ] โดยเสียง [ ] อาจละไว้ก็ได้ เช่น angst ออก เสียง (แอ็งคฺสฺทฺ) หรือ (แอ็งสฺทฺ) Patricia Groenewold ผู้จัดการฝ่าย Presidential Services อธิบายว่าให้ ออกเสียง Kling คล้องจองกับเสียง sing เมื่อตามด้วย in ซึ่งมีเสียงสระน�ำจึงออกเสียง เป็น คลิง-งิน-สมิท [“The President’s name is pronounced Kling - in - smith, with the first syllable - Kling - rhyming with sing.”] เนื่องจากเสียงพยางค์ที่สอง ‘in’ มิได้เป็นเสียงเน้นจึงออกแผ่วเบาเสมือน หนึ่งถูกกลมกลืนหายไป ดังนั้นหากจะเขียนเป็นไทยว่า ‘คลิงสมิท’ ดังที่ ผวล. ช�ำนาญ จันทร์เรืองเคยปรารภไว้ก็ไม่ผิด

แต่เขียนและออกเสียงพยางค์ที่สองเป็น ‘กิน’ มันไม่ถูกต้องแน่ ๆ ครับ


สโมสรโรตารีสามารถประชุม น้อยกว่ารายสัปดาห์ได้ไหม

ในอีกสามปีขา้ งหน้านี้ สโมสรโรตารีแต่ละสโมสร อาจ ได้รับอนุญาตกำ�หนดการจัดประชุม ที่มีความถี่น้อย กว่ า หรื อ มากกว่ า รายสั ป ดาห์ เ องก็ ไ ด้ หากสภา นิ ติ บั ญ ญั ติ โ รตารี ลงคะแนนเสี ย งเห็ น ชอบกั บ โครงการนำ � ร่ อ งว่ า ด้ ว ยความถี่ ก ารประชุ ม ในปี 2556 คณะกรรมการบริหารโรตารีสากลมีมติให้ด�ำเนินโครงการน�ำร่อง สองโครงการตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2547 เป็นต้นมาอันได้แก่ความถี่ การจัดประชุม (Meeting Frequency) และสโมสรโรตารีอีคลับ (Rotary e-Club) โครงการหลังนี้ได้รับอนุมัติแล้วในการประชุมสภานิติบัญญัติเมื่อ เดือนเมษายน 2553 โครงการน�ำร่องแรกจะครบวาระการทดลองในวันที่ 30 มิถนุ ายน 2556 มีวตั ถุประสงค์ทดสอบ กรอบวิธกี ารบริหารสโมสร เพือ่ ให้โรตารีเป็น องค์กรบ�ำเพ็ญประโยชน์ชนั้ น�ำของโลก โดยสโมสรทีส่ มัครเป็นสโมสรน�ำร่อง จ�ำนวน 200 สโมสรทั่วโลก สามารถจัดประชุมที่มีความถี่น้อยกว่าหรือ มากกว่ารายสัปดาห์ตลอดระยะเวลานาน 6 ปี มีเงื่อนไขห้ามเปลี่ยนแปลง ความถี่การประชุมในช่วงทดลอง สโมสรน�ำร่องส่วนใหญ่เลือกการประชุมสองครั้งต่อเดือน บาง สโมสรเลือกหยุดตลอดช่วงพักร้อนในคิมหันต์ฤดู มีบางสโมสรขอประชุม มากกว่าหนึ่งครั้งต่อสัปดาห์ในสถานที่หลากหลาย โครงการน�ำร่องจะช่วยเราเรียนรู้ว่า ความถี่การประชุมที่แตก ต่างไปจากรายสัปดาห์นั้น มีผลกระทบอย่างไรต่อการพัฒนาสมาชิกภาพ คะแนนเข้าประชุม การด�ำเนินโครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์ การมีส่วนร่วม ในมูลนิธิโรตารี และวุฒิภาวะผู้น�ำภายในสโมสร

40

นิตยสารโรตารีประเทศไทย กันยายน-ตุลาคม 2553


Rotary Coordinators

อผภ.รศ.ดร.เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์

2010 Bangkok Rotary Institute

การประชุม 2010 Bangkok Rotary Institute (โซน 6 บี, 7 เอ และ 10 บี) วันที่ 19 – 21 พฤศจิกายน 2553 ณ โรงแรมอิมพีเรียล ควีนส์ปาร์ค กรุงเทพมหานคร การประชุม Rotary Institute เป็นการประชุมส�ำหรับเจ้าหน้าที่ของ โรตารีสากล ทั้งในปัจจุบัน อดีต และอนาคต เพื่อให้ได้รับทราบข้อมูลข่าวสาร ความรู้ ความเคลื่อนไหวของโรตารีในระดับภูมิภาค และเป็นการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์รวมทัง้ เป็นการสร้างเครือข่ายอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ในการประชุม ครั้งนี้ อดีตกรรมการบริหารโรตารีสากล Jackson Hsieh ซึ่งเป็น convener ของการประชุมได้เห็นชอบให้โรแทเรียนทัว่ ไป สามารถลงทะเบียนเข้าประชุมได้ เพื่อเป็นการส่งเสริมความเป็นผู้น�ำของสโมสรและภาคและเน้นการพัฒนาผู้น�ำ จึงขอเชิญชวนให้โรแทเรียนโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้นำ� ของสโมสรและภาค อดีต นายก นายก ตลอดจนผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การภาค และคณะกรรมการภาค ได้เข้าประชุม เพื่อให้ได้รับทราบข้อมูลข่าวสารปัจจุบัน ของโรตารีในเขตภูมิภาค นอกจากจะ ได้ประสบการณ์ในการประชุมระดับนานาชาติ ยังมีโอกาสได้สงั สรรค์และสร้าง มิตรภาพ พร้อมทั้งเครือข่ายการร่วมมือกันในกิจกรรมต่างๆ ของโรตารีอีกด้วย รวมทั้งจะเป็นโอกาสดีสำ� หรับโรแทเรียนในประเทศไทยในการเตรียมพร้อมไป สู่การเป็นเจ้าภาพ การจัดการประชุมใหญ่ประจ�ำปีของโรตารี สากลในปี 2555 (2012 Bangkok Rotary Convention) การประชุมครั้งนี้เป็นการประชุมระดับโซนซึ่งจะประกอบด้วย โซน 6 บี (ปากีสถาน อัฟกานิสถาน บังคลาเทศ มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน ไทย ลาว กัมพูชา) โซน 7 เอ (อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์) และโซน 10 บี (ฮ่องกง มาเก๊า มองโกเลีย จีน ไต้หวัน)


ลงทะเบียนออนไลน์ได้ที่ www.2010bangkokrotaryinstitute.org หรือ ดาวน์โหลดใบลงทะเบียน กรอกรายละเอียดให้ครบถ้วน และส่งไปที่ อผภ.กฤษณ์ อินเทวัฒน์ แฟกซ์ 0 2651 2838 หรือ ติดต่อ ศูนย์โรตารีในประเทศไทยที่โทร. 0 2661 6720-1

ในฐานะที่เป็นผู้ประสานงานโรตารีของโซน 6 บี ซึ่งมีหน้าที่ช่วย ประสานในการให้ความรูค้ วามเข้าใจ ในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับโรตารีแก่โรแทเรียน ในโซน และเป็นประธานจัดงาน 2010 Bangkok Rotary Institute ด้วย จึงขอเชิญชวนผูน้ ำ� สโมสรและภาคลงทะเบียนเข้าร่วม การประชุมดังกล่าว นอกจากนี้ เมือ่ ลงทะเบียน Institute แล้วท่านยังสามารถลงทะเบียนเพือ่ เข้าร่วมการสัมมนามูลนิธิโรตารีได้ด้วย เพื่อเป็นการเรียนรู้และรับทราบ ข้อมูลที่น่าสนใจและเป็นปัจจุบันของมูลนิธิ ก่อนหน้าการประชุมนี้ จะมีการสัมมนาอบรมผู้ว่าการภาครับ เลือก ซึ่งผู้ว่าการภาครับเลือกของไทยทั้ง 4 ภาคต้องเข้าร่วมการประชุม ด้วย เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมก่อนการไปอบรมผู้ว่าการภาครับเลือก (ปี 2555-56) และยังมีการสัมมนาผู้ฝึกอบรมภาค รวมทั้งการสัมมนามูลนิธิ โรตารี ท่านสามารถดูรายละเอียด เพิ่มเติมได้ที่ www.2010bangkokrotaryinstitute.org และเนื่องจากเราเป็นเจ้าภาพในการจัดประชุม ดังนั้นจึงจัดให้ มีการแปลจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยและภาษาจีนกลางตลอดการ ประชุม เพือ่ ให้ โรแทเรียนได้รบั ทราบข้อมูลข่าวสารอย่างเต็มที่ ทัง้ ในห้อง ประชุมครบองค์และห้องประชุมกลุม่ ย่อย และยังมีขา่ วดีอกี เรือ่ งหนึง่ คือ ได้รับการยืนยันการมาร่วมการประชุมนี้จากผู้น�ำโรตารีหลายท่าน อาทิ เช่น ประธานโรตารีสากล เรย์ คลิงกินสมิท อดีตประธานโรตารีสากลและ ประธานมูลนิธโิ รตารีของโรตารีสากล คาร์ล-วิลเฮล์ม สเตนแฮมเมอร์ อดีต ประธานโรตารีสากล พิชยั รัตตกุล และอดีตกรรมการบริหารโรตารีสากล นรเศรษฐ ปัทมานันท์ เป็นต้น นอกจากความรู้ มิตรภาพและเครือข่ายความร่วมมือระหว่าง นานาประเทศแล้ว ยังมีรายการบันเทิงที่น่าสนใจ สนุกสนาน หาดูได้ยาก ซึ่งจะจัดเป็นพิเศษแด่มวลมิตรโรแทเรียนและครอบครัวทุกคน มาร่วมกันต้อนรับประธานโรตารีสากล แขกผู้มีเกียรติ มวล มิตรโรแทเรียนและครอบครัว จากนานาประเทศ ณ การประชุม 2010 Bangkok Rotary Institute ครั้งนี้โดยพร้อมเพรียงกัน

42

นิตยสารโรตารีประเทศไทย กันยายน-ตุลาคม 2553


Rotary in Action

District Foundation Seminar และ การประชุม Club Trainer Meeting ของ ภาค3330 โรตารีสากล

การประชุม District Foundation Seminar และการประชุม Club Trainer Meeting ของภาค3330 โรตารีสากล ที่โรงแรมวังใต้จังหวัด สุราษฎร์ธานี เมื่อวันเสาร์ที่ 14 สิงหาคม 2553 มีมวลมิตรโรแทเรียนเข้าร่วมประชุมทั้งสิ้นจ�ำนวน 277 ท่าน ภาพจากซ้ายไปขวา) ผวภ. นพ.พรชัย บุญแสง กล่าวเปิดการประชุม ,อผภ.วิชัย มณีวัชรเกียรติ ,ประธานคณะกรรมการมูลนิธิโรตารี RRFC.Hoe Ben Fong

วันที่ 19 สิงหาคม 2553 รองผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต นายนิวิทย์ อรุณรัตน์ และสโมสรโรตารีภูเก็ตเซ้าท์ โดยนายกศุภกร บุณยขจร อผภ. เสริมศักดิ์ ปิยธรรม ผวล.อรชร สายสีทอง และสมาชิกสโมสรทุกท่าน ได้ตอ้ นรับคณะโรตารีจากสโมสร Hiratsuka West Rotary จากประเทศ ญี่ปุ่น ซึ่งน�ำทีมโดยนายก Nawashima Kiyosi, อน.Arai Yoshimitsu, นยล.Yanagawa Osamu มวลมิตรโรแทเรียน และทีมทันตแพทย์ อาสา ในการสนับสนุนทีมทันตแพทย์อาสาจากทางประเทศญีป่ นุ่ ในโครงการรณรงค์ปอ้ งกันฟันผุให้แก่เด็กๆในจังหวัดภูเก็ต เป็นปีที่ 2 ติดต่อ กัน อีกทั้งยังเป็นการสานสัมพันธไมตรีระหว่างสโมสรทั้ง 2 ประเทศ เพื่อพัฒนาสู่การเป็นสโมสรคู่มิตรในโอกาสต่อไป


District 3350 R.I. Membership Seminar Lopuri 30-7-2553

สัมนามมูลนิธิโรตารีิ และ นายกสโมสรฯ พบ ผู้ว่าการภาค ครั้งที่ 1 จ.อยุธยา วันที่ 28 สิงหาคม 2553

44

นิตยสารโรตารีประเทศไทย กันยายน-ตุลาคม 2553


District 3360 R.I.

เลีย้ งอาหารกลางวันเด็กนักเรียน เป็นกิจกรรม ที่สโมสรฯ จัดขึ้นในวาระโอกาสต่างๆ จากภาพ สร.แม่สาย เลี้ยงเด็กๆที่ รร.บ้านป่าแฝ หนองอ้อ เนื่องในวันคล้ายวัน เกิดสมาชิกฯ มิตรภาพเป็นหัวใจของสมาชิกในสโมสรฯ ค�ำ่ คืน แห่งมิตรภาพ “คืนแห่งสีสนั สานสัมพันธ์โรตารี Colorful Night Party” สโมสรโรตารีล้านนา เชียงใหม่ ได้สร้าง ความสนุกสนานและสัมพันธภาพระหว่างโรแทเรียน รวม ถึงสมาชิกในครอบครัวด้วย

สมทบทุนขจัดโปลิโอ สโมสรโรตารีเชียงแสน จัดกิจกรรมหาทุน สมทบโครงการโปลิโอพลัส โดยจัดให้มีการขายไข่ไก่ ขายพันธุ์ปลาพร้อมร่วม ปล่อยพันธุ์ปลาลงแม่น�้ำโขง ในช่วงเทศกาลวันหยุดวันแม่แห่งชาติ สามารถหา รายได้ทงั้ หมด 10,000 บาท เป็นตัวอย่างกิจกรรมของสโมสรเล็ก ทีไ่ ด้เริม่ รณรงค์ เพื่อขจัดโปลิโอให้หมดสิ้นไปจากโลก facebook rotary3360 เฟสบุ๊คโรตารีภาค 3360 ได้เปิดใช้งาน อย่างเป็นทางการเมื่อเดือนกรกฏาคม 2553 ที่ผ่านมา มีสมาชิกเข้าร่วมเพื่อ แลกเปลี่ยน ข้อมูลข่าวสารระหว่างกันเพิ่มมากขึ้นตามล�ำดับ ปัจจุบันประมาณ 100 คน เฟสบุ๊คสะดวกต่อการแจ้งข่าวประชาสัมพันธ์ ส่งภาพ แสดงความคิด เห็น อัพโหลดไฟล์วีดีโอ แจ้งเตือนการประชุม อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือในการ ประชาสัมพันธ์โรตารี สู่ชุมชนและช่วยส่งเสริมในการหาสมาชิกใหม่


โรคร้ายโปลิโอ ยังคงเป็นต้นเหตุ ความพิการของเด็กๆ นับพันคนทัว่ โลก ด้วย ความช่วยเหลือจากพวกเรา ที่จะช่วยกันกำ�จัดโรคร้าย จากโลกใบนี้ ตลอดไป รายละเอียดเพิ่มเติมที่ rotary.org/endpolio


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.