วารสาร มิตรชาวไร่ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม 2560

Page 1

������� ���� ok.indd 1

2/7/17 2:35 PM


���������� ������ ok.indd 2

2/2/2560 BE 4:59 PM


���������� ������ ok.indd 3

2/2/2560 BE 4:59 PM


���������� ������ ok.indd 4

2/2/2560 BE 4:59 PM


มกราคม 2560

MITR PHOL MODERNFARM

หนึ่งมิตรชิดใกล้

ให้ติดธงแดงขนาดใหญ่ที่ท้ายรถอย่างน้อย 2 ผืน และมีสัญญาณไฟแดง ไว้ที่สองข้างของตัวรถด้านละ 1 ดวง และด้านท้ายสุดที่ยื่นออกมานอกตัวรถ อีก 3 ดวง และให้ท�ำป้ายสะท้อนแสงสีขาวขนาด 0.90 x 1.20 เมตร เขียนตัวอักษร “รถช้า บรรทุกอ้อย” หรือ “รถพ่วง บรรทุกอ้อย” ก�ำหนดไว้ ให้ชดั เจน รวมถึงเรือ่ งการก�ำหนดความเร็วรถในช่วงทีว่ งิ่ เข้าเขตเมืองทีไ่ ม่เกิน 40 กม.ต่อ ชม. และให้วิ่งช่องซ้ายสุดห้ามขับแซง เป็นต้น ทางโรงงานน�้ำตาลมิตรผลเองได้มีการประชาสัมพันธ์ให้มิตรชาวไร่ ทราบถึงแนวทางปฏิบตั ริ ว่ มกันนีอ้ ยูเ่ ป็นระยะในช่วงนี้ ผมเองต้องขอขอบคุณ พี่น้องมิตรชาวไร่ทุกท่านที่ให้ความร่วมมือและร่วมกันปฏิบัติตามข้อก�ำหนด ทั้ง 19 ข้อนี้ โดยเราจะร่วมกันสนับสนุน ส่งเสริม นโยบายของรัฐบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและลดอุบัติเหตุในการใช้ถนน ของประชาชนที่อยู่ในชุมชนรอบ ๆ โรงงานน�้ำตาลและไร่อ้อยของพวกเรา ซึ่งส่วนใหญ่ก็ไม่ใช่ใครที่ไหนนะครับ ก็พี่ ๆ น้อง ๆ มิตรชาวไร่คนละแวก บ้านใกล้เรือนเคียงเดียวกันกับพวกเราทั้งนั้น ก่อนจากกันไป ขอทิ้งท้ายด้วยการอวยพรปีใหม่ให้พี่น้องมิตรชาวไร่ ผมขออั ญ เชิ ญ อ� ำ นาจคุ ณ พระศรี รั ต นตรั ย พระสยามเทวาธิ ร าช และ สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ พ วกเราเคารพนั บ ถื อ ทั่ ว สากลโลก โปรดอ� ำ นวยอวยพร ให้มิตรชาวไร่ทุกท่านประสบพบเจอแต่ความสุขสวัสดี มีโชคชัย ได้พืชผล เจริญงอกงาม เงินทองไหลมาเทมา รวยกันถ้วนหน้ายิ่ง ๆ ขึ้นไปตลอด ปีไก่ทองนี้นะครับ ด้วยรัก บรรเทิง ว่องกุศลกิจ

M

05

���������� ������ ok.indd 5

2/2/2560 BE 4:59 PM


MITR PHOL MODERNFARM

มกราคม 2560

06

���������� ������ ok.indd 6

2/2/2560 BE 4:59 PM


มกราคม 2560

MITR PHOL MODERNFARM

07

���������� ������ ok.indd 7

2/3/2560 BE 6:06 PM


���������� ������ ok.indd 8

2/2/2560 BE 4:59 PM


มกราคม 2560

MITR PHOL MODERNFARM

CONTENTS

CONTENTS

Special Scoop มิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม ฟาร์มดีไซน์เปลี่ยนแล้วปลื้ม Cover Story นำ�้ เปลี่ยนชีวิต หมอดิน อ้อยพันธุ์ดีมีอยู่จริง วิถีคนสู้ Eco Focus ฮีโร่มิตรชาวไร่ โลจิสติกส์ บุรุษชุดเขียว Ironman ของเล่นชาวไร่ สุขจากไร่ สูตรสุขภาพ หลากสไตล์มิตรชาวไร่

10 12 14 16 22 24 26 30 34 36 38 42 44 46 50 52

9

���������� ������ ok.indd 9

2/7/17 10:13 AM


���������� ������ ok.indd 10

2/2/2560 BE 4:59 PM


มกราคม 2560

MITR PHOL MODERNFARM

นายอิสระ ว่องกุศลกิจ ประธานกรรมการหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย เป็นประธานเปิดการประชุม วิ ช าการอ้ อ ยและน�้ ำ ตาลนานาชาติ ครั้ ง ที่ 29 นี้ ได้ ก ล่ า วว่ า การจั ด งานครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ให้ นั ก วิ ช าการ ผู ้ เชี่ ย วชาญ และนั ก วิ จั ย ได้ พ บปะแลกเปลี่ ย นความรู ้ ร ะหว่ า งกั น ทั้ ง ด้ า น การปลูกอ้อย อุตสาหกรรมน�้ำตาล เอทานอล พลังงานทดแทน และ ผลิตภัณฑ์ตอ่ เนือ่ ง ร่วมกันจัดแสดงความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและ นวัตกรรมด้านอ้อยและน�้ำตาลจากนานาประเทศทั่วโลก ที่จะช่วย ยกระดับ อุตสาหกรรมอ้อยและน�ำ้ ตาลไปพร้อม ๆ กับแสดงให้เห็น ถึ ง ศั ก ยภาพของประเทศไทย ซึ่ ง เป็ น ศู น ย์ ก ลางการปลู ก อ้ อ ย และผลิตน�้ำตาลในภูมิภาคอาเซียน โดยแนวคิดการจัดงานนี้คือ “Sufficient and Sustainable Agri-Sugar Cane from Small Farmers to Global Exporters” หรือ “การท�ำไร่อ้อยโดยวิถีพอเพียงและยั่งยืน : จากเกษตรกร รายย่อยสู่ผู้ส่งออกระดับโลก” ที่จะส่งเสริมให้เกษตรกรชาวไร่อ้อย ได้เรียนรู้ และพัฒนาปรับใช้เครื่องจักรกลที่ทันสมัย เพื่อทดแทน แรงงานที่เริ่มขาดแคลน และมีต้นทุนที่สูงขึ้น พร้อมทั้งเป็นการ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต ต่ อ ไร่ ใ ห้ สู ง ขึ้ น การพั ฒ นาพั น ธุ ์ อ ้ อ ย และการดู แ ลรั ก ษาให้ เ กิ ด การผลิ ต ที่ เ หมาะสม และทนทานกั บ สภาพภู มิ อ ากาศที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป ทนทานต่ อ แมลงศั ต รู อ ้ อ ย และโรคอ้อยใหม่ ๆ รวมทั้งการท�ำหรือการรวมแปลงขนาดใหญ่ เพื่อพัฒนาการใช้เครื่องจักรให้มีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่า ฯลฯ การผลิ ต น�้ ำ ตาลด้ ว ยระบบอั ต โนมั ติ การตรวจสอบติ ด ตาม เพื่ อ ลดการสู ญ เสี ย ในกระบวนการผลิ ต โดยใช้ ร ะบบเครื่ อ งมื อ ที่ ทั น สมั ย รวดเร็ ว ในการแก้ ป ั ญ หา ตลอดจนการวิ จั ย พั ฒ นา เพื่ อ ให้ มี ก ารใช้ น�้ ำ ตาลไปผลิ ต เป็ น สิ น ค้ า ที่ มี มู ล ค่ า สู ง ขึ้ น เช่ น สินค้าชีวเคมีภัณฑ์ต่าง ๆ (Bio chemical products) ตลอดจน พลาสติกชีวภาพที่ย่อยสลายได้ เป็นต้น ในส่วนของการประชุมหลัก จะเป็นการประชุมเชิงวิชาการ เกีย่ วกับอ้อยและน�ำ้ ตาลนานาชาติ ประกอบด้วยการน�ำเสนอผลงาน

SPEACIAL SCOOP

ความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีด้านอุตสาหกรรมอ้อย และน�ำ้ ตาล และการแสดงผลงานวิจยั จากประเทศต่าง ๆ ในรูปแบบ ปากเปล่าและโปสเตอร์ โดยเป็นผลงานน�ำเสนอของนักวิชาการ ชาวไทยถึง 40 เรื่อง จากทั้งหมดกว่า 290 เรื่อง มีเนื้อหาที่น่าสนใจ อาทิ เรื่องการปรับปรุงพันธุ์อ้อย การจัดการโรคและแมลงศัตรูพืช วิทยาการความก้าวหน้าด้านโรงงานน�ำ้ ตาล เอทานอล และผลิตภัณฑ์ อื่น ๆ ฯลฯ และยังมีหัวข้อการบรรยายที่น่าสนใจ หัวข้ออื่น ๆ จากวิทยาการระดับโลก งานนี้ ยั ง มี ไ ฮไลท์ ที่ น ่ า สนใจ อย่ า งนวั ต กรรมการผลิ ต น�้ ำ ตาลและเกษตรสมั ย ใหม่ ข องกลุ ่ ม มิ ต รผล ณ อุ ท ยาน มิ ต รผลภู เ ขี ย ว ต้ น แบบสู ่ ก ารผสานการพั ฒ นาชาวไร่ แ ละ ชุ ม ชนด้ ว ยแนวคิ ด เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เพื่ อ ให้ เ กษตรกร รายเล็กสามารถยืนหยัดได้ด้วยตัวเอง อีกทั้งเยี่ยมชมเทคโนโลยี การผลิตน�้ำตาลและธุรกิจต่อเนื่องอันทันสมัย พร้อมให้ความรู้ การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมอ้อย เพื่อเป็นต้นแบบ การท�ำธุรกิจอย่างยั่งยืน ซึ่งมีนักวิชาการกว่า 80 ประเทศทั่วโลก ที่มาชมงานนี้

นี่คืออีกหนึ่งความก้าวหน้าในวงการปลูกอ้อย ที่ทาง นิตยสาร “มิตรชาวไร่” ภูมใิ จน�ำเสนอกับผูอ ้ า่ นทุกท่านครับ M

11

���������� ������ ok.indd 11

2/2/2560 BE 4:59 PM


���������� ������ ok.indd 12

2/2/2560 BE 5:00 PM


���������� ������ ok.indd 13

2/2/2560 BE 5:00 PM


���������� ������ ok.indd 14

2/2/2560 BE 5:00 PM


มกราคม 2560

ฟาร์มดีไซน์เปลี่ยนแล้วปลื้ม

MITR PHOL MODERNFARM

สนับสนุนอยู่ในขณะนี้ ก็ต้องอาศัยการออกแบบจัดรูปแปลงเป็น พื้นฐาน ยิ่งรวมแปลงได้ผืนใหญ่มากขึ้นเท่าไหร่ วางแนวแถวอ้อยได้ ยาวขึ้น และเว้นพื้นที่หัวแปลงไว้ให้กลับรถได้ ปัจจัยเหล่านี้ล้วนมีผล ช่วยเพิ่มสมรรถนะให้รถตัดอ้อยท�ำงานได้มากยิ่งขึ้นเท่านั้น ช่วยลด ระยะเวลาท�ำงานให้สนั้ ลง และประหยัดค่าน�ำ้ มันได้อย่างน่าอัศจรรย์ เพราะไม่ต้องเสียเวลากลับรถบ่อยนั่นเอง ส�ำหรับแปลงอ้อยในไร่บริษัทของมิตรผลเอง นอกจากจะน�ำ องค์ความรู้เรื่องการท�ำฟาร์มดีไซน์มาใช้เพื่อให้เอื้อต่อการท�ำงาน ของเครื่องมือเกษตรและรถตัดขนาดใหญ่แล้ว เรายังค�ำนึงถึงการลด ระยะเวลาในการขนส่งอ้อยตัดสดจากแปลงเข้าสู่โรงงาน (Cut-toCrush Logistic) โดยอ้อยทางใกล้ในรัศมีไม่เกิน 40 กม. ลดระยะ เวลาขนส่งลงให้เหลือเพียง 4 ชั่วโมง 30 นาที เท่า่นั้น ซึ่งฟาร์มดีไซน์ นั้นมีส่วนช่วยสนับสนุนให้ระบบโลจิสติกส์มีประสิทธิภาพขึ้นได้จริง เคล็ดลับอยู่ที่ “จุดขนถ่ายอ้อย” (Caneyard) การท�ำไร่อ้อยสมัยใหม่ท่ีต้องใช้เครื่องจักรเข้ามาท�ำงานแทน แรงงานคนนั้น จ�ำเป็นที่จะต้องจัดเตรียมพื้นที่ให้กับเครื่องจักรได้ ท�ำงานอย่างเต็มที่ในทุกขั้นตอน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การแบ่งพื้นที่ไว้ประมาณครึ่งไร่ถึงหนึ่งไร่ส�ำหรับท�ำเป็นจุดขนถ่าย กลางแปลงอ้อย หรือจุดขนถ่ายอ้อย (Caneyard) นั้น จึงส�ำคัญ เพราะเป็นพื้นที่ตรงกลางของกิจกรรมการตัดอ้อยในแปลงใหญ่ กับการขนส่งอ้อยไปโรงงานโดยรถเซมิเทรลเลอร์ หลักการง่าย ๆ

คล้ า ยกั บ สถานี ข นถ่ า ยย่ อ ยที่ เราท� ำ ในแหล่ ง อ้ อ ยรถบรรทุ ก เล็ ก เพื่อช่วยอ�ำนวยความสะดวกให้กับชาวไร่รายเล็กไม่ต้องขนอ้อย ปริ ม าณไม่ ม ากมาส่ ง โรงงานน�้ ำ ตาลซึ่ ง ด้ ว ยข้ อ จ� ำ กั ด ของขนาด รถบรรทุกเล็กหรือรถอีแต๊กอีแต๋นแล้วต้องใช้การขนส่งหลายเที่ยว จุดขนถ่ายอ้อยส�ำหรับอ้อยแปลงใหญ่ก็เช่นกัน มีประโยชน์ ในทิศทางเดียวกัน กล่าวคือ รถตัดอ้อย 1 คันจะท�ำงานคู่กันกับ รถตะกร้าหรือรถบิน ขนาดความจุออ้ ย 5-6 ตัน จ�ำนวน 2 คัน คอยวิง่ สลับกันเทอ้อยใส่รถเซมิเทรลเลอร์ ขนาดความจุ 30-35 ตัน ซึง่ จอด รอรับอ้อยอยูท่ จี่ ดุ ขนถ่ายอ้อย รถบินจะวิง่ เทอ้อยใส่รถเซมิเทรลเลอร์ อยู่ 6 เที่ยว จึงจะเต็ม จากนั้นรถเซมิเทรลเลอร์จะมุ่งหน้าสู่โรงงาน น�้ำตาลทันที วิธีนี้จะท�ำให้รถตัดอ้อยและรถบินก็ยังสามารถท�ำงาน ตัดอ้อยในแปลงต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง วันหนึ่ง ๆ อยากตัดอ้อยส่ง โรงงานเท่าไหร่ ก็เอารถเซมิเทรลเลอร์มาจอดรอไว้ที่จุดขนถ่ายอ้อย ท�ำแบบนี้วน ๆ ไป ไม่มีทางหลุดเป้าที่วางไว้อย่างแน่นอน ดังนัน ้ การแบ่งพื้ นทีไ่ ว้สำ� หรับท�ำจุดขนถ่ายกลางแปลงอ้อย หรือเคนยาร์ดส�ำหรับการท�ำอ้อยแปลงใหญ่ จึงมีความจ�ำเป็น ในแง่ ข องการจั ด สรรพื้ นที่ ไ ว้ ใ ห้ เ ครื่ อ งจั ก รท� ำ งานได้ อ ย่ า ง เต็ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ เสริ ม สมรรถนะให้ กั บ รถตั ด อ้ อ ยของ มิตรชาวไร่สามารถขยับเพดานตัดอ้อยให้ทะลุ 50,000 ตัน ่ ลายคนฝันไว้ได้ไม่ยาก ตามทีห M

15

���������� ������ ok.indd 15

2/2/2560 BE 5:00 PM


���������� ������ ok.indd 16

2/2/2560 BE 5:00 PM


มกราคม 2560

MITR PHOL MODERNFARM

คุณบุญมี ทิพเจริญ 17

���������� ������ ok.indd 17

2/2/2560 BE 5:00 PM


Cover Story

MITR PHOL MODERNFARM

มกราคม 2560

18

���������� ������ ok.indd 18

2/2/2560 BE 5:00 PM


���������� ������ ok.indd 19

2/3/2560 BE 5:54 PM


Cover Story

MITR PHOL MODERNFARM

มกราคม 2560

ไว้ตอเกินจากนั้นไปตอ 2 ตอ 3 จะไม่คุ้มแล้ว อ้อยยอดนี่ดีสุด ๆ จะได้ 16 ตัน บางคนได้มากกว่านี้ พอมาเป็นอ้อยตอจะเหลือ 8 ตัน ถ้าไว้อีกตอก็จะลดลงเหลือ 5-6 ตัน ตำ�่ กว่า 10 ตันมันไม่คุ้ม ก็ต้องรื้อปลูกใหม่ บวกลบคูณหารดูแล้วคุ้มกว่า พ่อลองมาแล้ว ไม่เชื่อก็ลองดูสิ

20

���������� ������ ok.indd 20

2/2/2560 BE 5:00 PM


มกราคม 2560

MITR PHOL MODERNFARM

Cover Story

นอกจากการปลูกอ้อยแล้ว เคล็ดลับการท�ำไร่ของพ่อบุญมี อยู่ที่การ “พักดิน” และการ “ขุดสระ” เพื่อเตรียมทั้งเรื่องดินและ เรื่องน�ำ้ ให้พร้อม “ส่วนการพักดิน เราใช้ใบคลุมไว้หมักไว้ 1-2 เดือน แล้วไถ ใช้น�้ำราด ต้องใช้น�้ำตลอดท�ำให้ต้องขุดสระหมดเงินไป 5 แสน ในพืน้ ที่ 1 แปลงใหญ่ ประมาณ 50 ไร่ ขุดสระไป 1 หมืน่ ลูกบาศก์เมตร ที่ ต ้ อ งขุ ด สระเพราะว่ า น�้ ำ ไม่ มี ในห้ ว ยแห้ ง หมด โรงงานก็ เ คย มาแนะน�ำให้ขุดสระลึก 5 เมตร ยาว 80 เมตร กว้าง 40 เมตร” “ตอนนี้ พ ่ อ ก็ ขุ ด สระมาได้ 2 ปี แ ล้ ว นะ มี น�้ ำ เข้ า มา เกือบเต็ม เดี๋ยวนี้มีน�้ำร่วม 4 เมตร ที่อื่นน�้ำลดเหลือ 2-3 เมตร ก็มี เนื่ อ งจากพื้ น ที่ แ ถวนี้ เ ป็ น ที่ สู ง เก็ บ น�้ ำ ไม่ ค ่ อ ยอยู ่ ของเรา เป็นดินเหนียวสู บ น�้ ำ ตลอดทั้ ง ปี ก็ ยั ง ไม่ ห มด โดยยื ม เครื่ อ ง สู บ น�้ ำ 14 แรง ของโรงงานมา สู บ ได้ ไ กลเป็ น พั น เมตร มีห ลายท่ อ ส�ำ หรั บสระที่ ขุ ด ใช้ ส�ำ หรั บส่ ว นที่ เ ป็ น แปลงใหญ่ สุ ด ส่ ว นแปลงอื่ น ๆ ใช้ น�้ ำ ในห้ ว ย เพราะที่ แ ปลงอื่ น จะติ ด ล� ำ ห้ ว ย ซึ่งเป็นน�้ำสาธารณะต้องรีบเร่งท�ำเร่งใช้ ใครทันก็ได้ใครช้าก็อด เรามี เครื่องสูบอยู่หลายเครื่องก็ให้ลูกน้องไปเฝ้าไว้” พ่อบุญมี เล่าว่าจริง ๆ แล้วการปลูกอ้อยโดยการพักดินเป็น แนวทางที่ให้ผลได้ดีกว่า และช่วยให้อ้อยไว้ตอได้ดี แต่ก็ยังกลัวว่า จะขาดรายได้ไปซึ่งมีผู้รู้แนะน�ำให้ทดลองปลูกพืชอื่นสลับกันในช่วง พักดิน “ได้ลองปลูกปอเทืองไปหลายเเปลงแล้วเหมือนกันตั้งแต่ เดือนตุลาคมทีผ่ า่ นมา ต้องรอดูวา่ ผลทีไ่ ด้จะเป็นอย่างไร รอออกดอก แล้ ว ไถกลบไปเขาว่ า จะท� ำ ให้ ดิ น ดี มี ธ าตุ อ าหารเพิ่ ม ให้ ดิ น ความจริ ง แล้ ว มั น ก็ มี ห ลั ก อยู ่ เ หมื อ นกั น นะ จะใส่ อ ะไรบ� ำ รุ ง ดิ น นี่ ก็ ต ้ อ งดู ด ้ ว ยเหมื อ นกั น ว่ า ที่ แ ปลงนั้ น เป็ น ดิ น อะไร น�้ ำ วี แ นส จะช่วยท�ำให้ดินแข็งขึ้นเหมาะกับดินทราย กากหม้อกรองจะท�ำให้ ดิ น ร่ ว นซุ ย เหมาะกั บ ดิ น เหนี ย ว จะบ� ำ รุ ง ดิ น ก็ ต ้ อ งรู ้ เ ทคนิ ค ด้ ว ย พ่อบุญมีสังเกตว่า อ้อยจะไว้ตอได้นานขึ้นไหมมันก็ต้องอยู่ที่ดิน ของเราด้ ว ย หากปลู ก นาน ๆ หลายคร๊ อ ป ผลผลิ ต จะลดลง จนไม่คมุ้ เรือ่ ย ๆ อันนีไ้ ม่คมุ้ อ้อยแถวนีส้ ว่ นมากจะปลูกได้สองตอ คือ อ้อยยอดและอ้อยตอ ไว้ตอเกินจากนั้นไปตอ 2 ตอ 3 จะไม่คุ้มแล้ว อ้อยยอดนี่ดีสุด ๆ จะได้ 16 ตัน บางคนได้มากกว่านี้ พอมาเป็น อ้อยตอจะเหลือ 8 ตัน ถ้าไว้อีกตอก็จะลดลงเหลือ 5-6 ตัน ต�่ำกว่า 10 ตันมันไม่คุ้ม ก็ต้องรื้อปลูกใหม่ บวกลบคูณหารดูแล้วคุ้มกว่า พ่อลองมาแล้ว ไม่เชื่อก็ลองดูสิ” ่ อ แล้วนีค ื เคล็ดลับความส�ำเร็จของ พ่ อบุญมี ทิพจริญ ่ ง ทีส ั่ สมประสบการณ์การปลูกอ้อยมาร่วม 20 ปี และจะยังคงอยู่ ้ อย่างงอกงาม ่ อ ่ ด กับอ้อยต่อไป เพราะนีค ื “ทองค�ำหวาน” ทีผ ุ ขึน ่ ว่า 1,000 ไร่ทเี่ ขาดูแลเองเป็นอย่างดี บนพื้ นทีก M

21

���������� ������ ok.indd 21

2/2/2560 BE 5:00 PM


���������� ������ ok.indd 22

2/2/2560 BE 5:00 PM


มกราคม 2560

นำ�้ เปลี่ยนชีวิต

MITR PHOL MODERNFARM

ตัดอ้อยสดช่วยอ้อยตอจริงเหรอ? เริ่มต้นกันที่เรื่องตัดอ้อยสดทิ้งใบคลุมดินกันก่อนเลย ถือเป็น หลักการส�ำคัญในหลักสี่เสาของมิตรผลโมเดิร์นฟาร์มที่เราอยากให้ มิตรชาวไร่ท่องจ�ำกันให้ขึ้นใจ การตัดอ้อยสดเกี่ยวอะไรก้บอ้อยตอ ตอบให้ก็ได้ว่ามันมีความเกี่ยวพันกันอย่างไม่น่าเชื่อ และก็เกี่ยวพัน กันไปแล้ว การตัดอ้อยสดจะช่วยลดความบอบช�ำ้ หน้าดินของแปลงอ้อย โดยใบอ้อยที่ท้ิงคลุมดินไว้ ป้องกันไม่ให้ความชื้นที่มีอยู่ในดินระเหย หายไปในอากาศ ท� ำ ให้ ห น่ อ อ้ อ ยตอที่ พ ร้ อ มจะแทงขึ้ น มานั้ น มีความสมบูรณ์พร้อมทีส่ ดุ เหมือนได้รบั การฟูมฟักเป็นอย่างดีจากเรา ส�ำหรับอ้อยทีโ่ ดนไฟไหม้ ความชืน้ และธาตุอาหารในดินจะถูกไฟเผา ให้วอดวายไปพร้อมกับใบอ้อย กลายเป็นตอตะโกด�ำเมี่ยม ตอนตัด เล่นง่ายไว้กอ่ น แต่ลมื นึกถึงตอนกลับมาบ�ำรุงตออ้อยจนกลายเป็นภาระ ให้ต้องมาเยียวยากันอย่างหนัก เข้าต�ำราเสียน้อยเสียยาก เสียมาก เสียง่าย จริงไหมละครับมิตรชาวไร่ อ้อยตอต้องให้นำ�้ หยดสิดี การให้นำ�้ หยดบนดินหรือจะเรียกกันให้เท่ ๆ ตามนักวิชาการว่า “ระบบชลประทานน�ำ้ หยด” (Drip Irrigation) ถือวิธกี ารให้นำ�้ อีกวิธที ี่ มิตรชาวไร่หลายคนเริม่ น�ำไปใช้ได้ผลในแปลงตัวเองกันแล้ว จากปัญหา อ้อยกระทบแล้งข้ามปีสองซีซนั่ ต่อเนือ่ งในช่วงทีผ่ า่ นมา ท�ำให้มติ รชาวไร่ หลายคนต้องเริม่ ขยับขยายหาวิธรี บั มือกับปัญหาน�ำ้ ขาดแคลนกันอย่าง จริงจัง เพราะจะให้ทำ� อ้อยน�ำ้ ราดแบบแต่กอ่ น ถ้ามีนำ�้ ก็ยงั คงพอจะ ท�ำได้อยู่ แต่นแี่ ล้งหนักน�ำ้ จะให้คนได้กนิ ได้ใช้ยงั ขัดสน อ้อยแทบไม่ตอ้ ง พูดถึง ส�ำหรับพวกเรามิตรผลโมเดิรน์ ฟาร์มแล้ว อ้อยแปลงไหนยังท�ำ อ้อยน�ำ้ ราดอยูน่ าทีนถี้ อื ว่าเชย หรือจะเป็นแบบน�ำ้ พุง่ ก็ยงั เฉย ๆ เพราะ วิธใี ห้นำ�้ ทีค่ มุ้ ค่าและชาญฉลาดทีส่ ดุ ของ พ.ศ. นี้ คือ “ระบบน�ำ้ หยด

บนดิน” ที่ใช้น�้ำน้อยกว่า แต่อ้อยสามารถดูดซึมไปใช้ได้ถึง 95% ซึง่ ต่างจากการให้นำ�้ วิธอี นื่ ทีอ่ อ้ ยสามารถน�ำไปใช้ได้เพียง 50% เท่านัน้ เพราะมันก็เป็นตามชือ่ กล่าวคือ น�ำ้ จะค่อย ๆ หยดลงไปในดินโดยตรง ปรับได้ในอัตราทีอ่ อ้ ยต้องการน�ำ้ ในแต่ละช่วงวัย จึงท�ำให้ดนิ ยังคงรักษา ความชืน้ ไว้ได้ในปริมาณทีอ่ อ้ ยต้องการ ลดการสูญเสียน�ำ้ ไปโดยเปล่า ประโยชน์ เรียกว่าเปลี่ยนมาให้น�้ำหยดครั้งนี้เป็นการยิงปืนนัดเดียว ได้นกอีกหลายตัว เพราะมิตรชาวไร่หลายคนติดใจเปลีย่ นวิธใี ห้นำ�้ แล้ว ยังหันมาเปลีย่ นวิธกี ารให้ปยุ๋ หันมาใช้ปยุ๋ น�ำ้ ไปพร้อมกันในคราวเดียว กับน�ำ้ หยด ลดต้นทุนไปได้อกี เป็นกอง อย่าลืมนะครับว่าเดิมพันของ เราวันนีอ้ ยูท่ กี่ ารบ�ำรุงอ้อยให้ไวตอได้มากขึน้ โดยทีผ่ ลผลิตต้องไม่ตำ�่ กว่า 10 ตันต่อไร่ ยิง่ ใครมีเทคนิคช่วยเซฟต้นทุนในการดูแลรักษาด้วยแล้ว ถ้าอ้อยได้ 10 ตันต่อไร่เท่ากัน แต่สามารถเซฟต้นทุนได้มากกว่า ก�ำไรคูณสอง ของเราก็อยูต่ รงนีด้ ว้ ย ไม่รวยวันนีแ้ ล้วจะรวยวันไหนจริงไหมครับ ถ้าอยากได้ผลลัพธ์ใหม่ที่มากขึ้นกว่าเดิมก็ต้องกล้าที่จะ ่ นแปลงจริงไหมครับมิตรชาวไร่ มาเปลีย ่ นแปลงไปพร้อมกัน เปลีย ่ เถอะว่า ยังมีอก กับเรามิตรผลโมเดิรน ์ ฟาร์มนะครับ เชือ ี หลาย ่ วข้องกันในระบบการท�ำไร่สมัยใหม่ในแบบฉบับของ อย่างทีเ่ กีย มิตรผลโมเดิร์นฟาร์มที่ทั้งง่ายและช่วยอ�ำนวยความสะดวก ให้กับมิตรชาวไร่ มาช่วยกันท�ำให้อ้อยตอเป็นก�ำไรที่งอกงาม กันนะครับ M

23

���������� ������ ok.indd 23

2/2/2560 BE 5:00 PM


���������� ������ ok.indd 24

2/2/2560 BE 5:00 PM


มกราคม 2560

MITR PHOL MODERNFARM

ดินทัง้ สองประเภทนีม้ จี ดุ เด่นและจุดด้อยทีแ่ ตกต่างกัน วิธบี ำ� รุงฟืน้ ฟูดนิ ให้ดจี งึ ต่างกันไป ฉบับนีเ้ ราจะพูดถึงวิธบี ำ� รุงดินเหนียวกันก่อนนะครับ พีน่ อ้ งมิตรชาวไร่คงจะพอทราบกันดีอยูแ่ ล้วว่า อนุภาคโครงสร้าง ของดินเหนียวมีลกั ษณะเป็นแผ่นแบน มีขนาดเล็กไม่เกิน 0.002 มม. ดินเหนียวนีโ้ ดยทัว่ ไปหากไม่มอี นิ ทรียว์ ตั ถุ ปะปนอยูเ่ ลย ตัวอนุภาคก็จะ จับตัวกันแน่นจนแทบไม่มชี อ่ งอากาศเหลืออยูเ่ ลยนะครับ (น่าจะอึดอัด น่าดูทเี ดียว) และเมือ่ ฝนตกหรือเราให้นำ�้ ลงไป การระบายน�ำ้ ออกของ ดินเหนียวนีจ้ ะท�ำได้คอ่ นข้างยากด้วยเหตุที่ มีชอ่ งว่างระหว่างอนุภาคดิน ทัง้ น้อยและเล็กเสียเหลือเกิน จนท�ำให้ออกซิเจนในอากาศแทรกตัวอยู่ ได้นอ้ ยตามไปด้วย ผลคืออะไรน่ะเหรอครับ รากอ้อยของเราก็จะพบกับ อุปสรรคแทงทะลุลงไปได้ยาก แผ่ขยายได้ลำ� บาก รากอ้อยในดินเหนียว จึงกุดสัน้ หรือเจริญเติบโตอยูไ่ ด้เฉพาะชัน้ ผิวดินบนเท่านัน้ พู ด แบบนี้ อ ย่ า เพิ่ ง เสี ย ววู บ วาบกั น นะครั บ ในส่ ว นดี ข อง ดินเหนียวก็ยังมีอยู่มาก เพราะสภาพทางเคมีของดินเหนียวนั้นเก่ง เก็บธาตุอาหารต่าง ๆ ไว้ได้สงู มาก จึงมีความอุดมสมบูรณ์ในตัวเอง ใช้เป็นแหล่งอาหารให้แร่ธาตุที่เป็นประโยชน์ต่ออ้อยได้เป็นอย่างดี ที่ต้องให้เข้าใจและต้องจริตกับดินเหนียวกันเสียก่อนจะได้เตรียมดิน กันอย่างถูกต้องกันตัง้ แต่เริม่ ไม่ตอ้ งลุน้ เสียวกันทีหลัง คนอืน่ ชอบคุย ปลูกร้อยครัง้ ชนะร้อยครัง้ เขาว่าแน่แล้ว มีหรือจะมาสู้ ปลูกครัง้ เดียว ไว้ตอไปได้อกี นานแบบพวกเราได้ จริงไหมละมิตรชาวไร่

หมอดิน

การเตรียมดินในพืน้ ทีด่ นิ เหนียว แบบฉบับมิตรผลโมเดิรน์ ฟาร์ม จะแตกต่างกับการเตรียมดินทรายอยู่สักหน่อยครับ คือ นอกจาก จะปลูกพืชตระกูลถัว่ อย่างถัว่ เขียว ปอเทือง เพือ่ บ�ำรุงในช่วงทีเ่ ราพักดิน การลดการไถพรวนดิน การควบคุมแนวการวิง่ ของรถแทรกเตอร์ และ ลดการเผาใบอ้อยโดยใช้รถตัดอ้อยแล้ว ให้เพิม่ ขัน้ ตอนเตรียมดินทัง้ การไถ พรวน ถ้าจ�ำเป็นก็ปน่ั โดยโรตารี่ และบางพืน้ ทีต่ อ้ งลงริปเปอร์ หรือไถระเบิดดินดานความลึกประมาณ 30-40 เซนติเมตร ก่อนยกแปลงปลูกอ้อย (Bed) เตรียมปลูกอ้อย เพือ่ ให้ดนิ เหนียวทีจ่ บั ตัวกันเป็นก้อนแตกออก ดินทีไ่ ด้จะละเอียดขึน้ เวลาเข้าหน้าฝน ท�ำให้นำ้� ไหลลงชัน้ ดินได้สะดวกขึน้ นอกจากนี้การน�ำเศษวัสดุเหลือใช้จากโรงงานน�้ำตาลและ โรงงานเอทานอล อย่างฟิลเตอร์เค้ก (Filter Cake) หรือกากหม้อกรอง จากโรงงานน�ำ้ ตาล และวีแนส (Vinasses) หรือน�ำ้ ทีผ่ า่ นกระบวนการ กลั่ น เอทานอล มาช่ ว ยจะท� ำ ให้ ธ าตุ อ าหารในดิ น เพิ่ ม ขึ้ น มาก ท�ำให้แปลงอ้อยมีดนิ ทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ให้ออ้ ยให้ผลผลิตได้ดี การบ�ำรุงรักษาและเติมธาตุอาหารในดินอย่างสม�ำ่ เสมอ จะช่วย ท�ำให้ออ้ ยดูดซับส�ำหรับการเติบโตอย่างเหมาะสมและถูกช่วงเวลา และ ต้องไม่ลมื อีกปัจจัยส�ำคัญทีม่ าควบคูก่ บั ดิน คือ “น�ำ้ ” และ “ความชืน้ ” ทีต่ อ้ งเหมาะสมส�ำหรับการปลูกอ้อยด้วย วางแผนเตรียมดินมาขนาดนี้แล้ว ที่เหลือก็รอดูอ้อย เติบโตเอา เติบโตเอา หลังจากนั้น มิตรชาวไร่ก็รอรับทรัพย์ ่ อ ่ ง ในวันทีอ ้ ยโตเต็มทีส ่ เข้าขายทีโ่ รงงานได้อย่างสบายใจเฉิบ M

25

���������� ������ ok.indd 25

2/2/2560 BE 5:00 PM


���������� ������ ok.indd 26

2/3/2560 BE 5:09 PM


มกราคม 2560

MITR PHOL MODERNFARM

อ้อยพันธุ์ดีมีอยู่จริง

พั น ธุ ์ มิ ต รผลเอ็ ม พี ที (MPT) 04-204 ซึ่ ง เกิ ด จากการปรั บ ปรุ ง พันธุ์ เอ็มพีที (MPT) 99-447 และสุพรรณบุรี 80 เป็นพันธุ์อ้อย ส�ำหรับดินร่วนเหนียว ร่วน ร่วนทราย อาศัยน�้ำฝน ซึ่งค่อนข้าง เหมาะสมกับพื้นที่การปลูกอ้อยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คงไม่ต้องสาธยายกันมากถึงคุณสมบัติอันเยี่ยมยอดของอ้อย พันธุ์นี้ ส�ำหรับลักษณะประจ�ำพันธุ์ของเอ็มพีที (MPT) 04-204 จะให้ผลผลิตสูงถึง 17-22 ตันต่อไร่ค่าความหวาน 12-14 ซีซีเอส ซึ่ ง ถื อ ว่ า มี สู ง มาก ทั้ ง ยั ง เติ บ โตเร็ ว แตกกอดี ม าก และไว้ ต อดี เช่นเดียวกัน ทรงกอกว้างคลุมร่องเร็ว ผลผลิตสูง ความหวาน ปานกลาง ผลผลิตน�้ำตาลสูงมาก อ้อยพันธุ์นี้ เหมาะสมที่จะปลูกในช่วงปลายฝน หรือเดือน ต.ค.- ก.พ. เก็บเกี่ยวเดือน ธ.ค.–มี.ค. ใส่ปุ๋ยอย่างน้อย 2 กระสอบ และให้นำ�้ เสริมเมื่อฝนทิ้งช่วง ทั้งนี้แม้ว่าจะมีพันธุ์อ้อยที่มีคุณสมบัติดีขึ้นแค่ไหน แต่พี่น้อง มิตรชาวไร่ต้องไม่ลืมว่า ดิน น�้ำ และการบริหารจัดการไร่อ้อย อย่างเหมาะสม เป็นปัจจัยใหญ่ที่จะท�ำให้อ้อยให้ผลผลิต และมีค่า ความหวานสูง รวมถึงมีคุณสมบัติอื่น ๆ ตามที่ต้องการ แต่ อ ย่ า งไรก็ ต าม อย่ า ลื ม หน้ า ต่ า งบานแรกของการ ่ ี ปลูกอ้อยให้ประสบความส�ำเร็จ นัน ์ อ ้ ยทีด ่ คือ การเลือกพั นธุอ นะครับ M

27

���������� ������ ok.indd 27

2/3/2560 BE 5:10 PM


MITR PHOL MODERNFARM

มกราคม 2560

INFO ตัดอ้อยแบบไหนดีสุด

28

���������� ������ ok.indd 28

2/2/2560 BE 5:00 PM


มกราคม 2560

MITR PHOL MODERNFARM

AD 5 29

���������� ������ ok.indd 29

2/2/2560 BE 5:00 PM


���������� ������ ok.indd 30

2/2/2560 BE 5:00 PM


���������� ������ ok.indd 31

2/2/2560 BE 5:00 PM


วิถีคนสู้

MITR PHOL MODERNFARM

มกราคม 2560

คุณลึกสา ก�ำลังยง

32

���������� ������ ok.indd 32

2/2/2560 BE 5:01 PM


มกราคม 2560

MITR PHOL MODERNFARM

ระยะ 1.65 เมตร ต้องใช้ท่อนพันธุ์มากกว่าจ�ำนวนล�ำอ้อยต่อไร่ ก็เยอะกว่า เวลาจ้างคนงานตัดอ้อย เขาจะนับกันเป็นล�ำ ไม่นบั ว่าล�ำ เล็กถูกกว่าอ้อยล�ำใหญ่ การปลูกอ้อยที่ระยะ 1.65 เมตร เลยต้อง เสียค่าจ้างคนตัดอ้อยแพงกว่าแบบ 1.85 เมตร” อ้อยที่ปลูกด้วยระยะ 1.85 เมตร นอกจากจะได้อ้อยล�ำอวบ อ้วนสูงยาวกว่าแล้ว ยังเป็นล�ำอ้อยที่สมบูรณ์กว่า เหมาะกับการใช้ เครื่องจักรเข้ามาจัดการ ส่วนใหญ่ที่ยังไม่กล้าเปลี่ยนมาใช้ระยะห่าง 1.85 เมตรนั้น พ่อลึกสาให้ความเห็นว่า ชาวไร่ส่วนใหญ่ยังเชื่อว่า ปลูกอ้อยร่องห่างแล้วจะท�ำให้มีวัชพืชมาก เพราะกว่าที่ใบอ้อยจะ โตจนชนกันให้ร่มเงาคลุมดินระหว่างร่องได้หมด ต้นหญ้าก็โตเต็ม พื้นที่แล้ว แต่จากประสบการณ์ส่วนตัวของมิตรชาวไร่ผู้เจนจัดคนนี้ บอกได้เลยว่าไม่วา่ ปลูกอ้อยระยะห่างเท่าไหร่กม็ วี ชั พืชขึน้ เท่า ๆ กัน แต่ที่ต่างกันคือแบบ 1.85 เมตร สามารถเอาเครื่องจักรเข้าไปช่วย ก�ำจัดวัชพืชได้ง่ายและสะดวกกว่ามากนั่นเอง ยิ่งถ้าจัดการวัชพืชได้ทุกปี วัชพืชจะน้อยลงเรื่อย ๆ การใช้ เครื่องจักรจัดการกับวัชพืชให้ผลดีกว่าการฉีดพ่นสารเคมีที่แม้ว่า วัชพืชจะตายแต่ก็เกิดผลข้างเคียงกับอ้อย กว่าที่อ้อยจะฟื้นตัว วัชพืชจะกลับมาอีกเป็นอย่างนี้ไปตลอด พื้นที่บางส่วนที่เครื่องจักรอาจเข้าไปไม่ถึง ต้องอาศัยแรงงาน คนเข้ามาช่วยก�ำจัดวัชพืช ซึ่งมีเพียงจอบเสียมเป็นอาวุธคู่มือ เมื่อ เทียบต้นทุนการใช้เครื่องจักรกับแรงงานคนแล้ว พ่อลึกสาตอบแบบ ไม่ต้องคิดเลยว่าใช้เครื่องจักรคุ้มกว่าเยอะ แถมไม่ต้องไปวุ่นวายกับ เรื่องคนให้มากความ แค่พูดคุยกับคนขับรถแทรกเตอร์ไม่กี่คนก็ได้ งานแล้ว อีกทั้งเครื่องจักรยังได้งานที่มีมาตรฐานอีกด้วย “ผมพู ด ตรง ๆ เลยว่ า พอใจเครื่ อ งจั ก รมากกว่ า เพราะ ไม่เรือ่ งมาก พูดกับคนแค่สองสามคนเราก็ได้งานแล้ว แต่ถา้ เป็นคนงาน บางทีเราต้องพูดซ�้ำ ๆ ย�้ำ ๆ เป็นสิบรอบ โดยเฉพาะอ้อยแปลงที่งาม ก็จะล�ำบากยิ่งขึ้น พวกแปลงที่มีหญ้าขึ้นรก ๆ ก็ล�ำบากเหมือนกัน เพราะคนงานเขารักสบายชอบความสะดวกเลยชอบเผาอ้อยกัน ถ้าเปลี่ยนมาใช้เครื่องจักรได้ทั้งหมดจะดีมาก เพราะมันจะเป็นไป ตามระบบตามที่เราค�ำนวนไว้แต่แรก” นอกจากนี้ค่าจ้างคนงานยังมีค่าใช้จ่ายปลีกย่อยลงไปอีก ซึ่ ง นอกจากค่ า แรงแล้ ว ยั ง ต้ อ งจั ด เตรี ย มน�้ ำ ดื่ ม อาหารการกิ น อีกสองมื้อ วันไหนแดดแรงต้องพักวันละหลายครั้ง สองชั่วโมง พักที ยิ่งแดดจัดยิ่งพักบ่อย เพราะไม่สามารถสู้แดดไหว แต่ถ้า เป็นเครื่องจักรนี่สบายลุยได้ถึงไหนถึงกัน ค่าใช้จ่ายต่อพื้นที่ของเครื่องจักรเมื่อเทียบกับแรงงานคน แบบวันต่อวัน ถ้าใช้ผานพรวนอเนกประสงค์แบบ 12 จาน จะได้ งานวันละ 30 ไร่ ในขณะที่ถ้าใช้แรงงานคนต้องใช้คนมากถึง 70-80 คน ค่าแรงคนละ 270 บาท รวมต้องจ่ายประมาณ 20,000 บาท เทียบกับใช้เครื่องจักรจ่ายเพียง 6,000 บาท ตกไร่ละ 200 บาท แม้เครื่องจักรเครื่องหนึ่งจะมีราคาสูงประมาณ 100,000 บาท แต่ถ้าว่าคุ้มค่ามาก ปีหนึ่ง ๆ ใช้เป็นร้อย ๆ ไร่ไม่มีปัญหา แต่

วิถีคนสู้

ผมพูดตรง ๆ เลยว่าพอใจ ่ ่ เครืองจักรมากกว่า เพราะไม่เรืองมาก พูดกับคนแค่คนสองคนก็ท�ำ งานได้แล้ว แต่ถา้ เป็นคนงานต้องพูดเป็นสิบ ๆ คน

ต้องใช้เครื่องจักรให้เป็น บ�ำรุงรักษาและตรวจเช็คสภาพก่อนและ หลังการใช้งานอยู่เสมอ จารบีอย่าให้ขาด น็อตเฟืองอย่าให้หลวม ในช่วง 4-5 ปี ที่ผ่านมา หลังเปลี่ยนมาปลูกอ้อยตามหลัก มิ​ิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม ท�ำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของพ่อลึกสาเปลี่ยน จากหน้ามือเป็นหลังมือ โดยเฉพาะเรือ่ งรายได้ ท�ำให้ตอนนีพ้ อ่ ลึกสา มีรถยนต์ และเครื่องจักรกลทางการเกษตรถึง 8 คัน ซึ่งพระเอก ก็คือ รถตัดอ้อยคันใหม่ที่เพิ่งได้มา ซึ่งในเขตของพ่อลึกสามีเพียง สองคันเท่านั้น พ่อลึกสาได้วางแผนว่าจะใช้รถตัดนี้ ตัดอ้อยให้ได้ 18,00020,000 ตัน ตัดให้คุ้มกับค่าส่งรถ โดยรับจ้างตัดอ้อยให้แปลง ของญาติพนี่ อ้ ง และคนรูจ้ กั กัน ในตอนนีไ้ ด้พนื้ ทีอ่ อ้ ยทีต่ อ้ งเข้าไปตัดแล้ว ประมาณ 1,800 ไร่ ซึ่ ง ที่ ผ ่ า นมาทางมิ ต รผลจะช่ ว ยจั ด การหา พื้นที่ตัดอ้อยให้รถตัด แต่ปีนี้เปลี่ยนมาให้เจ้าของรถตัดหาพื้นที่เอง ซึ่งพ่อลึกสาบอกว่าต้องลองดู โดยจะรับตัดอ้อยพร้อมกับบริการ หลังการตัดรวมไปถึงช่วยจัดการแปลงอ้อยให้ด้วย ซึ่งตอนนี้พ่อ ลึกสาก�ำลังหัดขับรถตัดอ้อยเองอยู่ พอถามว่าท�ำไมต้องมาขับเอง ด้วยในเมื่อตอนนี้ก็มีลูกน้องอยู่หลายคน มิตรชาวไร่คนเก่ง ก็ตอบ ค�ำถามของเราอย่างถ่อมตัวว่า “รถอีแต๋นผมก็ขับมาแล้ว ท�ำไมจะมาขับรถตัดอ้อยเอง ไม่ได้ละ่ ” M

33

���������� ������ ok.indd 33

2/2/2560 BE 5:01 PM


���������� ������ ok.indd 34

2/2/2560 BE 5:01 PM


caragua-

มกราคม 2560

MITR PHOL MODERNFARM

อาหารเหลวที่ว่าก็คือปุ๋ยน�้ำ ซึ่งเป็นปุ๋ยชนิดหนึ่งที่สามารถ ละลายน�้ำได้ แล้วให้พร้อมระบบให้น�้ำ ดังนั้นเมื่ออ้อยดูดใช้น�้ำ ก็จะมีการดูดธาตุอาหารพืชไปพร้อมกับน�้ำ เรียกว่ายิงปืนนัดเดียว ได้นกสองตัว การให้ปุ๋ยในระบบน�้ำจะเป็นการให้ทั้งน�้ำและปุ๋ยไปพร้อมกัน ปุ๋ยน�้ำจึงเป็นการให้ปุ๋ยที่มีประสิทธิภาพมาก สามารถลดแรงงาน ในการให้ปุ๋ย ลดการชะล้างปุ๋ยเลยเขตรากพืช การแพร่กระจายปุ๋ย สม�่ำเสมอบริเวณที่รากอ้อยอยู่ ในแปลงอ้อยที่มีการวางระบบน�้ำแล้ว ควรให้ปุ๋ยในระบบน�้ำ เนื่องจากจะมีการเพิ่มค่าติดตั้งอีกเล็กน้อยเมื่อเทียบกับผลดีต่าง ๆ ที่จะตามมา ซึ่งแนะน�ำให้เพื่อนมิตรชาวไร่ใช้ปุ๋ยน�้ำ โดยใส่พร้อมกับ การให้ปุ๋ยน�้ำหยดทางดิน จ�ำนวน 4 ครั้งต่อปี จะสามารถประหยัด ต้นทุนการผลิตได้ ปุ๋ยน�้ำมีสองประเภท คือ ปุ๋ยที่ละลายน�้ำแล้วบรรจุแกลลอน หรือซอง พร้อมใช้ ซึ่งประเภทนี้มีธาตุอาหารต�่ำ ไม่สามารถใช้ แทนธาตุอาหารหลักที่ใช้ทางดินได้ แต่เหมาะจะใช้แก้ไขปัญหา กรณี อ ้ อ ยขาดธาตุ อ าหารที่ ต ้ อ งการน้ อ ยเท่ า นั้ น เช่ น จุ ล ธาตุ พวก เหล็ก สังกะสี ทองแดง โบรอน และแมงกานีส อี ก ประเภทอยู ่ ใ นรู ป ปุ ๋ ย เม็ ด หรื อ ปุ ๋ ย เกล็ ด ที่ ล ะลายน�้ ำ ได้ง่าย ขายในรูปเม็ด หรือเกล็ด แต่เมื่อจะใช้จึงเอามาละลายน�้ำ ปุ ๋ ย พวกนี้ ส ามารถใช้ ท ดแทนปุ ๋ ย ทางดิ น ได้ แต่ มั ก มี ร าคาแพง การใช้จึงต้องใช้น้อยกว่าปกติ และควรใช้ตามค�ำแนะน�ำ ปุ๋ยน�้ำเหมาะกับพื้นที่ที่ดินมีปัญหาเช่น ดินเค็ม ดินเปรี้ยวจัด ดิ น ทรายจั ด ดิ น เหนี ย วจั ด เพราะดิ น ที่ มี ค ่ า ความเป็ น กรดด่ า ง มากเกินไป จะท�ำให้ธาตุอาหารไม่ละลายและไม่อยู่ในรูปที่ราก สามารถดูดซึมได้ การให้ปุ๋ยทางดินจึงอาจไม่ได้ผล

Eco Focus

ส่ ว นดิ น เหนี ย วจั ด หรื อ ดิ น ทรายจั ด ลั กษณะของเนื้อดิน มีผลต่อการกักเก็บธาตุอาหาร ที่มากหรือน้อยเกินไป อย่างเช่น ดิ น ทรายที่ มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ ต�่ ำ เมื่ อ ใส่ ปุ ๋ ย ท� ำ ให้ ถู ก ชะล้ า ง ออกไปหมดก่อนที่รากจะดูดใช้ได้ การให้ ปุ ๋ ย น�้ ำ พร้ อ มใช้ จึ ง ช่ ว ยแก้ ป ั ญ หาเรื่ อ งสภาพดิ น ไม่เหมาะสมได้ ท�ำให้อ้อยได้รับสารอาหารจากปุ๋ยอย่างเต็มที่ ไม่ใช่ว่าจะมีแต่ข้อดีนะครับ ปุ๋ยน�้ำก็มีข้อเสียอยู่เหมือนกัน ข้อเสียของปุ๋ยน�้ำ ที่เป็นการให้ปุ๋ยทางใบคือ การให้ปุ๋ยทางใบ เพียงอย่างเดียว ไม่สามารถจะให้ธาตุอาหารแก่ต้นอ้อยได้อย่าง เพียงพอ ในปริมาณที่เท่าเทียมกับปุ๋ยเม็ดทางดิน เพราะถ้าให้ ในระดับความเข้มข้นสูงเกินไป อาจท�ำให้อ้อยมีอาการใบไหม้ได้ รวมถึงปัจจุบันราคาต่อหน่วยของปุ๋ยน�้ำก็สูงกว่าปุ๋ยเม็ดระดับหนึ่ง แต่ ท ้ า ยที่ สุ ด แม้ ว ่ า ปุ ๋ ย จะเป็ น ธาตุ อ าหารที่ จ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ การเจริญเติบโตของอ้อยแต่ถ้าใช้อย่างไม่ถูกวิธี อาจท�ำให้ต้นทุน ของเพื่อนมิตรชาวไร่สูงเกินจ�ำเป็น แนวคิ ด มิ ต รผลโมเดิ ร ์ น ฟาร์ ม ที่ มุ ่ ง ท� ำ อ้ อ ยแบบยั่ ง ยื น จึ ง เป็ น อี ก ทางเลื อ กหนึ่ ง ที่ เ ป็ น ทางเลื อ กให้ เ พื่ อ นมิ ต รชาวไร่ ลองน� ำ ไปปรั บ ใช้ อย่ า งเช่ น การปลู ก พื ช ตระกู ล ถั่ ว ทุ ก แปลง หลังการเก็บเกี่ยวเพื่อบ�ำรุงดิน และตรึงไนโตรเจนจากอากาศสู่ดิน การเก็บเกี่ยวอ้อยโดยตัดสด ไม่เผาใบ และปล่อยใบอ้อยคลุมดิน ท� ำ ให้ ดิ น ชื้ น และคุ ณ ภาพดิ น ดี ขึ้ น เนื่ อ งจากมี อิ น ทรี ย วั ต ถุ ช่วยปรับปรุงดิน วิ ธี ก ารเหล่ า นี้ ช ่ ว ยลดการใช้ ปุ ๋ ย เคมี ท� ำ ให้ ดิ น ร่ ว นซุ ย อากาศถ่ายเทได้ดีและดินยึดเกาะน�้ำและธาตุอาหารได้ดีขึ้น ถ้าลองท�ำได้ผลดีอย่างไรอย่าลืมแชร์ตอ ่ ด้วยนะครับ

M

35

���������� ������ ok.indd 35

2/2/2560 BE 5:01 PM


���������� ������ ok.indd 36

2/2/2560 BE 5:01 PM


มกราคม 2560

MITR PHOL MODERNFARM

ฮีโร่มิตรชาวไร่

การผลิ ต ขยายราเขี ย วท� ำ ได้ โ ดยการเพาะเชื้ อ บนเมล็ ด ข้าวโพดหรือข้าวสุก แล้วน�ำไปราดตามร่องปลูกอ้อย โดยใช้ขา้ วทีม่ ี สปอร์ราเขียว จ�ำนวน 2.5 กิโลกรัม ผสมน�ำ้ 100 ลิตร เติมสารจับใบ คนกระทั่งสปอร์หลุด กรองด้วยผ้าขาวบาง น�ำไปราดตามร่อง แล้วกลบดินทันที หรือใช้ขา้ วทีม่ สี ปอร์ราเขียวไปโรยลงในร่องปลูกอ้อย แล้วกลบทันทีโดยใช้เชือ้ ราเขียว อัตรา 40 กิโลกรัมต่อไร่ นอกจากนีย้ งั ฉีดพ่นเชือ้ ราเขียวลงบนท่อนพันธุอ์ อ้ ยก่อนปลูกได้อกี ด้วย คุณสมบัติเด่นของราเขียว คือ ผลิตได้ง่าย ทนทาน มีชีวิต อยู่ในดินได้ข้ามปี ใช้งานง่าย แต่ข้อจ�ำกัดคือต้องการความชื้นสูง ในการงอก จึงควรเลือกช่วงเวลาที่เหมาะสม เช่น ในช่วงฤดูฝน หรือปลายฝนต้นหนาว และหลีกเลีย่ งการใช้ในช่วงทีม่ แี สงแดดจัด เพือ่ นมิตรชาวไร่ทสี่ นใจสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลเพิม่ เติม ได้ที่ บริษัท มิตรผลวิจัย พัฒนาอ้อยและน�้ำตาล จ�ำกัด เพียงแค่นี้ ไร่ออ้ ยของเราก็จะเขียวขจีตงั้ แต่บนแปลงจนถึงใต้ดนิ เลยละ เชื้ อ ราเขี ย วนี่ แ หล่ ะ คื อ ฮี โ ร่ ข องมิ ต รชาวไร่ ตั ว จริ ง เสียงจริง! M

พืน้ ทีแ่ พร่ระบาด พบมากในดินร่วนทรายทีจ่ งั หวัดชลบุรี ระยอง และกาญจนบุรี ส่วนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ก็พบเข้าท�ำลายอ้อย และมันส�ำปะหลังมากทีข่ อนแก่น อุดรธานี และบุรรี มั ย์ ภาคเหนือพบที่ จังหวัดก�ำแพงเพชร ทีร่ า้ ยทีส่ ดุ คือเพศเมียตัวหนึง่ ๆ ของด้วงร้ายนี้ สามารถวางไข่ได้มากกว่า 400 ฟองเลยทีเดียว มาไม่เกรงใจกันแบบนี้ ต้องจัดหนักกันซะหน่อยแล้ว... วิธีหนึ่งที่ใช้จัดการกับด้วงหนวดยาวอย่างมีประสิทธิภาพ คือ การก�ำจัดด้วยเชือ้ ราเมตาไรเซียม (Metarhizium anisopliae) หรือ ราเขียว ที่เป็นเชื้อจุลินทรีย์ หรือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีประโยชน์ ทีด่ ำ� รงชีวติ ด้วยการเบียดเบียนอยูใ่ นตัวศัตรูออ้ ย ท�ำให้เหยือ่ เป็นโรค หรือเกิดการเจ็บป่วย อ่อนแอและตายในทีส่ ดุ โดยราเขียวชนิดนี้ เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่จะมีสีเขียวหม่น สามารถมีชวี ติ อยูใ่ นดินได้นาน เป็นเชือ้ ราทีไ่ ม่ทำ� อันตรายต่อไส้เดือน ฝอย สัตว์ตา่ ง ๆ รวมถึงมนุษย์เรา แต่ ส� ำ หรั บ ด้ ว งหนวดยาวแล้ ว ราเขี ย วคื อ ไม้ เ บื่ อ ไม้ เ มา ที่จ้องล้างบางด้วงหนวดยาวตั้งแต่ระยะเป็นไข่ จนถึงตัวเต็มวัย เลยทีเดียว โดยเชื้อราเขียวเมื่อสัมผัสกับด้วงหนวดยาว จะแทรก เข้ า ทางผิ ว หนั ง และท� ำ ลายระบบภายใน ท� ำ ให้ กิ น อาหารไม่ ไ ด้ และแห้งตายภายใน 14 วัน จากนัน้ เชือ้ จะเจริญบนตัวหนอนและสร้าง เป็นดอกเห็ดขึน้ มา 37

���������� ������ ok.indd 37

2/2/2560 BE 5:01 PM


���������� ������ ok.indd 38

2/2/2560 BE 5:01 PM


มกราคม 2560

MITR PHOL MODERNFARM

ช่ ว งเวลาที่ ป ลู ก อ้ อ ยตั้ ง แต่ เ ตรี ย มดิ น ลงแปลง รอจนอ้ อ ย เติบโตเจริญงอกงามนั้นอาจกินเวลาเป็นปี ๆ แต่ส่ิงหนึ่งที่มีผลต่อ ราคาอ้อยคือการตัดอ้อยส่งช่วงเปิดหีบ ซึ่งมีเวลาประมาณหนึ่ง เดือนระยะเวลาที่จำ� กัดนี้ ความรวดเร็วจึงถือเป็นหัวใจส�ำคัญ เพราะ หากขั้นตอนเกิดความล่าช้าอาจท�ำให้อ้อยที่เราตั้งใจบ�ำรุงรักษา ให้ น�้ ำ ให้ ปุ ๋ ย กั น มาทั้ ง ปี ต้ อ งสู ญ เสี ย น�้ ำ หนั ก และค่ า ความหวาน ไปอย่างน่าเสียดาย สิง่ หนึง่ ทีเ่ ข้ามามีบทบาทส�ำคัญในช่วงตัดอ้อยจนถึงการส่งอ้อย เข้าโรงหีบคือระบบโลจิสติกส์ หรือระบบขนส่งอ้อย ซึง่ ครอบคลุมตัง้ แต่ ขัน้ ตอนการตัดอ้อย ไปจนถึงการขนส่งอ้อยจ�ำนวนมหาศาลเข้าสูโ่ รงงาน น�ำ้ ตาล กระบวนการนีจ้ งึ มีความส�ำคัญไม่แพ้ขนั้ ตอนอืน่ ๆ ถ้าบริหาร จัดการไม่ดกี ารขนส่งติดขัด รถขนอ้อยไปค้างอยูท่ ไี่ หนสักทีเ่ สียเวลา หลายวัน อาจท�ำให้ออ้ ยล�ำอวบ ๆ ทีต่ ดั แล้วต้องสูญเสียน�ำ้ หนัก และ ค่าความหวานไปอย่างน่าเสียดาย นอกจากท�ำให้ขายได้ราคาต�ำ่ ลงแล้ว ยังอาจถูกปฏิเสธไม่รบั อ้อยเข้าโรงงานอีกด้วย ที่ผ่านมากการขนส่งอ้อยจะเสียเวลาช่วงคิวลงอ้อย ที่จะ มากระจุกตัวในช่วงเดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ ท�ำให้บางครั้ง รถอ้อยมาค้างที่ลานเป็นเวลานานหลายวัน แม้จะมีการแก้ปัญหา ด้วยการใช้คิวเสรี หรือการน�ำรถเทรลเลอร์บรรทุกอ้อยมาช่วย แต่กย็ งั แก้ปญ ั หาได้ไม่ทงั้ หมด การเดิ น ทางของอ้ อ ย จากการตั ด ที่ ไร่ ม าสู ่ หี บ อ้ อ ย หรื อ ที่ เรี ย กเป็ น ภาษาอั ง กฤษว่ า Cut to Crush ทางมิ ต รผลจึ ง ได้ น�ำระบบที่ทันสมัยเข้ามาบริหารจัดการ ท�ำให้ย่นระยะเวลาตั้งแต่ การเก็บเกี่ยวจนถึงเข้าโรงงาน เหลือเพียง 4 ชั่วโมง โดยใช้เวลา เก็บเกี่ยวและโหลดอ้อยไม่เกิน 1 ชั่วโมง ดัมพ์อ้อยรอที่สถานีขนถ่าย เพื่อชั่งน�้ำหนัก แค่ 2 ชั่วโมง และขนส่งอีก 1 ชั่วโมง ด้วยรถกึ่งพ่วง อัตราส่วนรถกึ่งพ่วง 8 คัน ต่อรถตัด 1 คัน ที่ส�ำคัญยังบริหารคิวรถ

โลจิสติกส์

หน้าโรงงานเหลือเพียง 1-2 คิว ได้คุณภาพอ้อยสด 100% จากเดิม ใช้เวลารอคิว 2-3 วัน ซึ่งท�ำให้เกิดความคุ้มค่าต่อมิตรชาวไร่มาก ๆ และความลับของความเร็วจากไร่สู่หีบอ้อยนี้ ไม่ได้มาเพราะ โชคช่วย แต่มันอยู่ที่การวางแผนในการท�ำฟาร์มดีไซน์ ให้แถวอ้อย เป็นแนวยาว เพื่อง่ายต่อการจัดล�ำดับเก็บเกี่ยวตามอายุอ้อย ใช้ รถตัดอ้อยแทนแรงงานคนเพื่อทุนเวลา และใช้ระบบ GPS ในการ ติดตามรถขนอ้อยเพื่อจัดคิว รวมไปถึงฝึกอบรมคนขับรถตัดอ้อย ให้มีความช�ำนาญ ได้เคล็ดลับแล้วอยากให้เพื่ อนมิตรชาวไร่ลองเอาไปใช้ แล้ ว จะรู้ ว่ า แค่ เ ปลี่ ย นวิ ธี จั ด การนอกจากท� ำ ให้ มี ร ายได้ เ พิ่ ม มาฟรี ๆ แล้ ว ยั ง ประหยั ด เวลา ดี ก ว่ า นี้ จ ะมี อี ก ไหม ลอง ถามใจเธอดู? M

39

���������� ������ ok.indd 39

2/2/2560 BE 5:01 PM


���������� ������ ok.indd 40

2/2/2560 BE 5:01 PM


���������� ������ ok.indd 41

2/3/2560 BE 5:11 PM


���������� ������ ok.indd 42

2/2/2560 BE 5:01 PM


���������� ������ ok.indd 43

2/2/2560 BE 5:01 PM


���������� ������ ok.indd 44

2/2/2560 BE 5:01 PM


มกราคม 2560

MITR PHOL MODERNFARM

วิธีการก็มีทั้ง การป้องกันก่อนการปลูก โดยใช้สารพ่นก่อนขั้น ตอนเตรียมดิน ยับยั้งวัชพืชที่ขึ้นอยู่ก่อน แล้วจึงท�ำการไถเตรียมดิน การใช้ยาคุมหญ้า หรือ สารควบคุมวัชพืชก่อนงอก พ่นลงไป ในผิวดินโดยตรง เพื่อไปท�ำลายวัชพืชในส่วนของเมล็ด ราก และ ยอดอ่อนใต้ดิน การใช้ยาคุมหญ้า ใช้พ่นหลังจากวัชพืชงอกแล้ว มีใบสองถึงสามใบ ส่วนใหญ่การฉีดพ่นยาพวกนี้ ชาวไร่ทั่วไปจะใช้เครื่องพ่น สารแบบบูมสเปรย์ (Boom Spray) ซึ่งมีลักษณะเป็นแขนยาว 6 เมตร ที่มีหัวฉีดพ่นสารเรียงเป็นแถว ฉีดสารด้วยปั๊มแรงดันสูง และมีระบบกรองถังบรรจุน�้ำยา ขนาดที่นิยมมีทั้ง 400 ลิตร และ 600 ลิตร เครือ่ งนีเ้ หมาะสาํ หรับการพ่นสารคุมหญ้า หรือสารควบคุม ศั ต รู พื ช โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง หากฉี ด ก่ อ นที่ อ ้ อ ยจะงอก หรื อ ฉี ด หลังการปลูก วันหนึ่ง ๆ สามารถฉีดพ่นยาได้งานประมาณ 20-30 ไร่ ด้วยการใช้รถแทรกเตอร์ขนาด 95 ขึ้นไปเป็นตัวลาก ใช้น�้ำมัน ประมาณไร่ละลิตรครึ่ง แต่ข้อเสียคือประสิทธิภาพในการพ่นยา ของเครื่องบูมสเปรย์ ขึ้นอยู่กับความเร็วในการวิ่งของรถแทรกเตอร์ ถ้ารถวิ่งเร็ว และพืน้ ทีไ่ ม่เรียบสม�ำ่ เสมอประสิทธิภาพของเครือ่ งพ่น จะลดลงไปมาก ทางมิตรผลโมเดิร์นฟาร์มจึงได้พัฒนาเครื่องพ่นสารที่เรียกว่า สเปรย์ ริ ก (Spray Rig) ซึ่ ง ต่ อ ยอดเทคโนโลยี ม าจากเครื่ อ ง พ่นสารของออสเตรเลีย และก�ำจัดจุดอ่อนของเครื่องบูมสเปรย์

ของเล่นชาวไร่

แบบเก่า โดยเพิ่มความสามารถ ในการก�ำหนดอัตราการพ่น และ ปรับแรงดันในระบบ ท�ำให้เพิ่มประสิทธิภาพในการพ่นมากยิ่งขึ้น และยังประหยัดน�้ำมันต่อไร่ลงถึงครึ่งลิตร แต่ได้พื้นที่งานมากกว่า ถึง 80-100 ไร่ต่อวันเลยทีเดียว เรียกว่าเพื่อนมิตรชาวไร่ที่มีพื้นที่ไร่อ้อยไม่เกิน 1,000 ไร่ สามารถจบงานได้ในเวลาไม่ถึงสองสัปดาห์ จากเดิมต้องใช้เวลา เกือบเดือน โดยใช้รถแทรกเตอร์ขนาด 105 แรงม้ามาช่วย ยิ่ ง ถ้ า เพื่ อ นมิ ต รชาวไร่ ได้ ปรั บพื้ น ที่ ปลูกอ้อยเป็นเกษตร แปลงใหญ่ ตามทฤษฎีมิตรผลโมเดิร์น ฟาร์มแล้ว จะยิ่งช่วยให้ เครื่ อ งบู ม สเปรย์ ท� ำ งานได้ ส ะดวก และรวดเร็ ว ยิ่ ง กว่ า เดิ ม มาก เพราะมีการเตรียมแปลงให้มคี วามยาวยิง่ กว่าเดิม ท�ำให้รถแทรกเตอร์ ไม่ต้องเสียเวลาในการกลับรถนาน รวมไปถึงระยะห่างระหว่าง ร่องปลูกที่ 1.85 เมตร ที่เป็นขนาดที่ทางมิตรผลได้วิจัยมาแล้ว ว่าเป็นขนาดที่พอเหมาะไม่กว้างและแคบเกินไป ้ี หละส�ำหรับการฉีดยา เพื่ อน้องอ้อยของเรา ง่าย ๆ แค่นแ ก็จะทานอาหารได้เต็มอิม ี ช ั พื ชตัวร้ายมาเบียดแย่ง ่ สบายใจ ไม่มว ๊ บ พร้อมส่งตัวเข้าเรือนหอ กวนใจ ล�ำต้นอวบอ้วนสูงยาวหวานเจีย เฮ้ย โรงหีบ แล้วครับ M

45

���������� ������ ok.indd 45

2/2/2560 BE 5:02 PM


���������� ������ ok.indd 46

2/2/2560 BE 5:02 PM


���������� ������ ok.indd 47

2/2/2560 BE 5:02 PM


สุขจากไร่

MITR PHOL MODERNFARM

วิธีนี้จึงเป็นการปรับปรุงและเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน ด้วยวิธีธรรมชาติ อีกทั้งยังเป็นการลดการใช้สารเคมี การปลูกพืช ตระกูลถั่วในช่วงพักดิน ยังช่วยตัดวงจรโรคและแมลงศัตรูพืชได้ อีกทางหนึ่ง “ตอนแรกก่ อ นจะปลู ก อ้ อ ยก็ ใ ห้ ห ว่ า นถั่ ว เขี ย วก่ อ น ปลู ก อ้ อ ย 45 วั น พอถั่ ว เขี ย วเริ่ ม ออกดอกค่ อ ยไถกลบทั้ ง ต้ น ตีดินคลุกเตรียมแปลงปลูก ถ้าเป็นไปได้ก็ลงฟิลเตอร์เค้กกับพวก ขี้เถ้า ประมาณไร่ละ 2 คันรถ รับรองว่าได้อ้อยล�ำใหญ่ โตดีมาก ผลผลิตต่อไร่สูงแน่นอนเลย” นอกจากถั่ ว เขี ย วแล้ ว พี่ พ ยุ ง ยั ง ได้ ท ดลองเปลี่ ย นมาใช้ ปอเทือง พืชทางเลือกทีท่ นแล้ง ทีน่ ำ� มาไถกลบจะกลายเป็นปุย๋ พืชสด คุณภาพดีที่สามารถบ�ำรุงดิน และลดต้นทุนค่าปุ๋ยให้กับมิตรชาวไร่ ได้อย่างไม่น่าเชื่อ ส� ำ หรั บ ต้ น พั น ธุ ์ ป อเทื อ ง พี่ พ ยุ ง บอกว่ า ได้ ม าจากการ สนับสนุนของมิตรผล โดยพี่พยุงได้แบ่งพื้นที่ประมาณ 5 ไร่ เป็น แปลงทดลองปลูก ผลทีไ่ ด้คอ่ นข้างน่าพอใจ เพราะให้ผลผลิตทีด่ กี ว่า การปลูกถั่วเขียว ติดอยู่ที่ว่าต้องคอยหาพันธุ์ปอเทืองอยู่ตลอดทุก ฤดูปลูก เพราะต้องไถกลบต้นปอเทืองที่ปลูกก่อนที่จะให้เมล็ดเพื่อ ปลูกในครั้งต่อไป นอกจากปอเทืองแล้ว ทางมิตรผลยังได้สนับสนุนในเรื่อง ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำเกี่ยวกับการปรับปรุงดิน อีกทั้งยังสนับสนุน ให้ ใช้ ปุ ๋ ย ชี ว ภาพในการปลู ก อ้ อ ย เพื่ อ ลดสั ด ส่ ว นปุ ๋ ย เคมี ล ง ทางมิตรผลมีโครงการสนับสนุนถังหมักปุ๋ยเพื่อให้พี่พยุง และเพื่อน มิตรชาวไร่คนอื่น ๆ ได้ลองเอาไปหมักใช้เองที่ไร่ ภั ย แล้ ง ในปี ที่ ผ ่ า นมา ท� ำ ให้ โ ควต้ า อ้ อ ยของพี่ พ ยุ ง ลดลง จากเดิมที่เคยได้โควต้าอ้อย 9,000 - 10,000 ตัน ลดเหลือเพียง 6,000 ตัน ซึ่งเป็นของพี่พยุงเองประมาณ 2,000 ตัน โควต้า ที่เหลือเป็นของลูกไร่ของพี่พยุงซึ่งมีอยู่ประมาณ 30 ราย ลูกไร่ ส่วนใหญ่เริ่มที่จะเปลี่ยนมาใช้หลักวิธีมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม เพราะ เห็นผลผลิตอ้อยทีเ่ พิม่ ขึน้ ของพีพ่ ยุง หลักปลูกอ้อยตามวิธขี องมิตรผล ที่พี่อ้อยได้ไปเรียนมา ให้ผลผลิตที่ดีกว่าเดิมมาก ปีหนึ่ง ๆ พี่พยุง และลูกไร่ ส่งอ้อยเข้าโรงหีบได้เงินค่าอ้อยครั้งละหลายล้านบาท เลยทีเดียว เฉพาะส่วนไร่อ้อยของพี่พยุง จ�ำนวนร้อยกว่าไร่นั้น พี่พยุง แบ่งไว้สำ� หรับปลูกอ้อย 160 ไร่ ทีเ่ หลือก็เป็นแปลงทดลอง นอกจากนี้ ยังแบ่งไว้ปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคเอง และปลูกข้าวโพด เลี้ยงสัตว์อีกด้วย ที่ผ่านมาพี่พยุงพยายามที่จะท�ำให้อ้อยในโควต้าของพี่พยุง เป็นอ้อยสด 100% แต่ยังไม่สามารถเป็นได้อย่างที่ตั้งใจไว้ได้ในเร็ว

มกราคม 2560

วันนี้ เพราะไร่อ้อยของหญิงแกร่งแห่งด่านช้างบางส่วนถูกแอบเผา แม้จะถูกไฟไหม้ไปบ้างแต่พี่พยุงก็ตอบพร้อมรอยยิ้มว่า ไม่เป็นไร เดี๋ยวปีหน้าลองปลูกใหม่อีกทีก็ได้ “พี่เป็นแนวร่วมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมนะ เลยใส่ใจเรื่องนี้เป็น พิเศษ พยายามจะให้ได้อ้อยสดทั้งหมดเต็ม 100% แต่ปีที่ผ่านมา ท�ำไม่ได้ เพราะถูกแอบเผาอ้อยไหม้ไปบางส่วน ตอนนี้คนงานที่มีอยู่ 25 คน เวลาตัดอ้อยสดก็มีเพิ่มเงินให้ ใคร ๆ ก็เลยอยากมาท�ำงาน กับพี่ เพราะไม่ต้องไปไหนไกลบ้าน ติดอยู่ที่เราซะอีกที่ไม่ค่อยมี งานให้เขาท�ำ บางช่วงเขาเลยต้องเข้ากรุงเทพฯ ไปรับจ้างท�ำงาน ก่อสร้าง เหลือประจ�ำอยู่ที่ไร่อ้อยประมาณ 12 คนเอง แต่ถ้ามีงาน ให้ท�ำทั้งหมดก็กลับมากันหมดนะ” นอกจากหลักสี่เสาของ มิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม จะเป็นแนวคิด ที่วิจัยและพัฒนามาเพื่อการปลูกอ้อยโดยเฉพาะ แต่พี่พยุงยังลอง เอาหลักนี้ไปแนะน�ำให้กับเกษตรกรที่ปลูกพืชอื่นได้ลองน�ำไปปรับ ใช้ดู เช่น ชาวนาที่ปลูกข้าว พอหลังจากเกี่ยวข้าวเสร็จ ให้ทดลอง ไม่เผาฟางแต่ให้ทิ้งไว้จนฟางเกิดการหมักตัว แล้วค่อยมาตีคลุมฟาง ในภายหลัง ท�ำให้จุลินทรีย์ในดินเพิ่มขึ้นมาก ผลที่ได้คือข้าวในปีต่อ มาให้ผลผลิตที่ดีขึ้นผิดหูผิดตา “พีก่ เ็ ริม่ จากการบอกพวกญาติ ๆ ครอบครัวใกล้ ๆ กันนีแ้ หละ ให้ลองไม่เผาฟางดูสักฤดู แล้วรอดูผลผลิตในปีถัดไปว่าเป็นอย่างไร หลังเกี่ยวข้าวปรากฏว่าดีข้ึนเยอะมาก ท�ำให้ตอนนี้คนแถวบ้านพี่ เลยเลิกเผาฟางกันแล้ว การใส่ปุ๋ยก็เหมือนกัน พี่ลองใส่ปุ๋ยแบบฝัง พอพี่เห็นครั้งแรกก็สงสัยกันว่าการใส่ปุ๋ยไว้ลึก ๆ แล้วอ้อยมันจะลง ไปกินได้อย่างไร ผ่านไปปีเดียวเท่านั้นแหละ พอตอนนี้สิเห็นอ้อย พี่ ล� ำ ใหญ่ เพราะปุ ๋ ย ที่ ใ ส่ ไ ม่ ร ะเหยไป และมี ดิ น คอยกลบเอาไว้ เลยแห่มาขอให้พี่ไปช่วยฝังปุ๋ยกันใหญ่” จริง ๆ แล้วแม้ว่าหลักมิตรผลโมเดิร์นฟาร์มจะให้ผลดีที่สุด กั บ ไร่ อ ้ อ ยที่ มี ข นาดใหญ่ แต่ ก็ ไ ม่ ใช่ ว ่ า ถ้ า เอามาใช้ กั บ ไร่ ข นาด เล็กแล้วจะไม่เห็นผล เพราะพื้นที่ 17 ไร่ของพี่พยุงคือตัวอย่าง ที่ดี ซึ่งพี่พยุงได้ทดลองใช้การระเบิดดินดานเพื่อเตรียมดิน โดย ขั้นตอนนี้ได้รับการสนับสนุนจากทางมิตรผล ในเรื่องค่าใช้จ่ายท�ำให้ ลดต้นทุนในการเตรียมดินไปได้เกือบครึ่งหนึ่งเลยทีเดียว ่ อ นีค ื บทพิ สจ ู น์แล้วว่าหลักสีเ่ สาของมิตรผล โมเดิรน ์ ฟาร์ม ่ สามารถน�ำมาปรับใช้ได้จริงกับทุก ๆ พื้ นทีใ่ นประเทศไทย ซึง ่ วกับการ ถ้าเพื่ อนมิตรชาวไร่คนไหนสนใจ อยากได้คำ� แนะน�ำกีย ท�ำเกษตรสมัยใหม่ตามหลักสีเ่ สานัน ้ สามารถเข้าไปขอค�ำแนะน�ำ ได้ทโ่ี รงงานมิตรผลทีใ่ กล้ทส ี่ ด ุ ได้ทน ั ที M

48

���������� ������ ok.indd 48

2/3/2560 BE 5:13 PM


มกราคม 2560

MITR PHOL MODERNFARM

สุขจากไร่

49

���������� ������ ok.indd 49

2/2/2560 BE 5:02 PM


���������� ������ ok.indd 50

2/2/2560 BE 5:02 PM


���������� ������ ok.indd 51

2/3/2560 BE 5:14 PM


���������� ������ ok.indd 52

2/3/2560 BE 5:16 PM


มกราคม 2560

MITR PHOL MODERNFARM

แอปติดตามสถานการณ์นำ�้ ติดตามสถานการณ์นำ�้ ได้ที่ “WMSC” ข้อมูลบริหารจัดการน�ำ้ แบบปัจจุบันทันด่วนจากศูนย์ประมวลและวิเคราะห์สถานการณ์น�้ำ ของกรมชลประทาน ที่มีทั้งปริมาณน�้ำฝน ปริมาณน�้ำในอ่างเก็บน�้ำ ข้อมูลน�ำ้ ในแม่นำ�้ คลองชลประทานต่าง ๆ เพือ่ เพือ่ นมิตรชาวไร่จะได้ เตรียมการล่วงหน้าได้สะดวกและมีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ แอปนีม้ โี หลด ทัง้ Android และ IOS

แอปเครือ่ งบันทึกบัญชีรายรับ รายจ่ายบัญชีในครัวเรือน รูบ้ นั ทึก รูบ้ ญ ั ชี รูจ้ กั ออม กับ “SmartAcc” ของกรมตรวจ บัญชีสหกรณ์ ทีใ่ ห้เพือ่ นมิตรชาวไร่ได้ใช้บนั ทึกบัญชีรายรับ รายจ่าย สร้างวินัยทางการเงิน และสนับสนุนการออม เก็บเงินที่ได้จากการ ขายอ้อยไว้ลงทุนต่อ แอปนีม้ ใี ห้โหลดทัง้ Android และ IOS

หลากสไตล์มิตรชาวไ่ร่

ติดตามแจ้งเตือนการระบาดของศัตรูพชื รู้ก่อนรับมือง่ายกับแอป “ProtectPlants” แอปพลิเคชัน ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคพืชและศัตรูพืช และมีฟังก์ชันพยากรณ์เตือน การระบาด และติดตามการระบาดศัตรูพืช เพื่อให้เพื่อนมิตรชาวไร่ ป้องกันได้ทันท่วงที เรียกว่ามีไว้อุ่นใจครับผม แอปนี้มีให้โหลด ทัง้ Android และ IOS

“ฝนหลวง” (Fonluang) แอปพลิเคชันโครงการฝนหลวง เป็นหนึง่ ในพระราชกรณียกิจ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ในการสร้าง ฝนหลวง เพือ่ บรรเทาปัญหาความแห้งแล้งขาดแคลนน�ำ้ ทางการเกษตร แอปฝนหลวงพัฒนาขึ้นเพื่อน�ำข้อมูลด้านฝนหลวงมาแสดง ให้ประชาชนทั่วไปได้ใช้ประโยชน์ นอกจากนี้ยังมีสามารถ รายงาน สภาพอากาศประจ�ำวัน แสดงพืน้ ทีฝ่ นตกทัว่ ประเทศไทย รายงานพืน้ ที่ ท�ำฝนหลวง รวมถึงพืน้ ทีเ่ ป้าหมายในภูมภิ าคต่าง ๆ ทัว่ ประเทศไทย และยังแสดงข้อมูลเกีย่ วกับปริมาณน�ำ้ ในเขือ่ นต่าง ๆ ทัว่ ประเทศไทย ผ่านภาพจากกล้อง CCTV เรียกว่าเป็นแอปพลิเคชันสารพัดประโยชน์ ทีแ่ นะน�ำให้เพือ่ นมิตรชาวไร่ทกุ คนมีไว้ตดิ มือถือครับ แอปนีม้ ใี ห้โหลด ทัง้ Android และ IOS 53

���������� ������ ok.indd 53

2/3/2560 BE 5:16 PM


MITR PHOL MODERNFARM

มกราคม 2560

54

���������� ������ ok.indd 54

2/3/17 10:00 AM


มกราคม 2560

MITR PHOL MODERNFARM

55

���������� ������ ok.indd 55

2/2/2560 BE 5:02 PM


���������� ������ ok.indd 56

2/2/2560 BE 5:02 PM


���������� ������ ok.indd 57

2/2/2560 BE 5:02 PM


MITR PHOL MODERNFARM

มกราคม 2560

58

���������� ������ ok.indd 58

2/2/2560 BE 5:02 PM


มกราคม 2560

MITR PHOL MODERNFARM

59

���������� ������ ok.indd 59

2/2/2560 BE 5:02 PM


���������� ������ ok.indd 60

2/2/2560 BE 5:03 PM


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.