ComGrap

Page 1

ความหมายของคอมพิวเตอร์กราฟิก กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึง่ ซื่งใช้การสื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสือ่ ความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้รับสารต้องการ

คอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง การสร้าง การตกแต่งแก้ไข หรือการจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ โดยใช ้เครือ่ ง คอมพิวเตอร์ในการจัดการ เช่น การทาตกแต่งภาพที่เรียกว่า Image Retouching ภาพคนแก่ ให้มีวยั ที่เด็กขึ้น การใช้ภาพกราฟิกในการนาเสนอข้อมูลต่าง ๆ

ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิกในปี ค.ศ. 1940 คอมพิวเตอร์จะแสดงภาพกราฟิกโดยใช้เครือ่ งพิมพ์ โดยรูปภาพทีไ่ ด้ จะเป็นภาพที่เกิดจากการใช้ตัวอักษรมาประกอบกัน ในปี ค.ศ. 1950 สถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซาซูเซสต์ ( Massachusetts Institue Technology : MIT] ได้พัฒนาคอมพิวเตอร์ ซึง่ มีหลอดภาพ CRT(CathodeRayTube)เป็นส่วน แสดงผลแทนเครือ่ งพิมพ์เนื่องจากมีความต้องการที่จะให้การติดต่อระหว่างผู้ใช้ กับเครื่องคอมพิวเตอร์มีความเร็วยิ่งขึน้ ในปี ค.ศ. 1950 ระบบ SAGE (Semi - Automatic Ground Environment) ของ กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาสามารถแปลงสัญญาณจากเรดาร์ ให้เป็นภาพบนจอ คอมพิวเตอร์ได้ ระบบนี้เป็นระบบกราฟิก เครือ่ งแรกทีใ่ ช้ปากกาแสง ( Light Pen : เป็นอุปกรณ์สาหรับรับข้อมูลชนิดหนึง่ ) สาหรับการเลือกสัญลักษณ์ บนจอภาพได้ ในปี ค.ศ. 1950 - 1960 มีการทาวิจยั เรือ่ งเกีย่ วกับระบบคอมพิวเตอร์เป็นจานวนมาก ซึง่ ต่อมาได้กลายเป็นต้นแบบของระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกสมัยใหม่ ตัวอย่างเช่น ในปี ค.ศ. 1963 วิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของ อีวาน ซูเธอร์แลนด์ ( Ivan Sutherland) เป็นการพัฒนาระบบการวาดเส้น ซึ่งผูใ้ ช้สามารถกาหนดจุดบนจอภาพได้โดยตรงโดย การใช้ปากกาแสง จากนั้นระบบกราฟิกจะสามารถลากเส้นเชือ่ มจุดต่างๆ เหล่านีเ้ ข้าด้วยกัน กลายเป็นภาพโครงสร้างรูปหลาย เหลีย่ ม ระบบนีไ้ ด้กลายเป็นหลักการพืน้ ฐานของโปรแกรมช่วยในการออกแบบระบบงานต่างๆ เช่น การออกแบบระบบไฟฟ้า และ การออกแบบเครือ่ งจักร เป็นต้น ในระบบหลอดภาพ CRT สมัยแรกนั้น เราสามารถวาดเส้นตรงระหว่างจุดสองจุดบนจอภาพได้ แต่ภาพเส้นที่วาดจะจางหายไปจากจอภาพอย่างรวดเร็ว จึงต้องมีการ วาดซ้าลงที่เดิมหลายๆ ครั้งในหนึ่งวินาที เพือ่ ให้เราสามารถมองเห็นว่า เส้นไม่จางหายไป ซึ่งระบบแบบนี้มีราคาแพงมากในช่วงต้นปี ค.ศ. 1960 แต่ต่อมาในปี ค.ศ. 1965 จึงมีราคาถูกลงเนือ่ งจากบริษทั ไอบีเอ็ม ( IBM) ได้ผลิตออกมาขายเป็นจานวนมากในราคาเครื่องละ 100,000 ดอลลาร์ จากการทีร่ าคาของจอภาพถูกลงมากนี่เอง ทาให้สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิกเริ่มเป็นที่สนใจของคนทั่วไป นปี ค.ศ. 1968 บริษทั เทคโทรนิกส์ ( Tektronix) ได้ผลิตจอภาพ แบบเก็บภาพไว้ได้จนกว่าต้องการจะลบ ( Storage - Tube CRT) ซึ่งระบบนีไ้ ม่ต้องการหน่วยความจาและระบบการวาดซ้า จึงทาให้ราคาถูกลงมาก บริษัทตัง้ ราคาขายไว้เพียง 15,000 ดอลลาร์ เท่านั้น จอภาพแบบนี้จึงเป็นที่นิยมกันมากในช่วงเวลา 5 ปี ต่อมา กลางปี ค.ศ. 1970 เป็นช่วงเวลาที่อปุ กรณ์ทางคอมพิวเตอร์เริ่มมีราคาลดลงมาก ทาให้ฮาร์ดแวร์ของระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกมีราคา ถูกลงตามไปด้วย ผู้ใช้ทั่วไปจึงสามารถนามาใช้ในงานของตนได้ ทาให้การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกเริ่มแพร่หลายไปในงานด้านต่างๆ มากขึ้น


สาหรับซอฟต์แวร์ทางด้านกราฟิกก็ได้มีการพัฒนาควบคู่มากับฮาร์ดแวร์เช่นกัน ซึ่งมีการเริ่มต้นจาก อีวาน ซูเธอร์แลนด์ ผู้ซงึ่ ได้ ออกแบบวิธีการหลักๆ รวมทั้งโครงสร้างข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร ์ กราฟิก ต่อมาก็มี สตีเฟน คูน ( Steven Coons, 1966) และ ปิแอร์ เบเซอร์ ( Pierre Bazier , 1972) ซึ่งศึกษาเกีย่ วกับการสร้าง เส้นโค้งและภาพพื้นผิว ทาให้ปัจจุบันเราสามารถสร้างภาพ 3 มิติ ได้สมจริงสมจัง มากขึ้น ในช่วง 10 ปีต่อมาได้มกี ารพัฒนาวิธีการสร้างภาพมากมายสาหรับใช้ในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิก และปัจจุบนั เราก็ ได้เห็นผลงานที่สวยงามและแปลกตา ซึ่งเป็นผลจากการศึกษาวิจยั ต่างๆ ในอดีตนั่นเอง

ภาพกราฟิกแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ และแบบ 3 มิติ ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ เป็นภาพที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ภาพถ่าย รูปวาด สัญลักษณ์ การ์ตูนต่าง ๆ ในโทรทัศน์ เช่น ชินจัง โดเรม่อน

ภาพกราฟิกแบบ 3 มิติ


ความรู้เรื่องความละเอียด พิกเซล ( Pixel) จุดภาพ หรือ พิกเซล ( pixel) เป็นหน่วยพื้นฐานของภาพ คือจุดภาพบนจอแสดงผล หรือ จุดภาพใน รูปภาพทีร่ วมกันเป็นภาพขึ้น โดยภาพหนึ่งๆ จะประกอบไปด้วยจุดภาพหรือพิกเซลมากมาย และแต่ละภาพทีส่ ร้างขึ้นจะมีความหนาแน่นของจุดภาพ หรือบางครัง้ แทนว่าความละเอียด (ความคมชัด)ทีแ่ ตกต่างกันไป จึงใช้ในการบอกคุณสมบัติของภาพ จอภาพ หรือ อุปกรณ์แสดงผลภาพได้ จอภาพที่มีจานวนพิกเซลมาก จะมีความละเอียดของภาพมาก โดยมากจะระบุจานวนพิกเซลแนวนอน x แนวตัง้ เช่น 1366 x 768 พิกเซล คาว่า "พิกเซล" ( pixel) มาจากคาว่า "พิกเจอร์" ( picture) ที่แปลว่า รูปภาพ และ "เอเลเมนต์" ( element) ที่แปลว่า องค์ประกอบ

ความละเอียดในการแสดงผล ( Resolution )คานี้สามารถใช้ได้กับสถานการณ์ที่แตกต่างกัน เช่น ความละเอียดของการ แสดงผลของเครื่องพิมพ์ หรือความละเอียดในการแสดงผลของจอภาพ ดังนั้นความละเอียดในการแสดงผลจึงหมายถึง จานวนหน่วยต่อพื้นที่

ความละเอียดของรูปภาพจานวนจุดภาพที่ใช้ประกอบกันเป็นภาพหรือความละเอียดจากการสแกนภาพ การแสดงภาพได้ ละเอียดมากเท่าใดนั้นขึน้ อยู่กบั ประเภทของจอภาพ VGA จะแสดงภาพได้ละเอียดน้อยกว่า SVGAความละเอียดของภาพสามารถบอกเป็นตัวเลขสองจานวน เช่น ความละเอียดของภาพขนาด1024x768 ซึง่ เมื่อคานวณ ออกมาแล้วก็คอื จานวนจุดที่จอภาพสามารถสร้างออกมาได้ ในกรณีนี้เลขจานวนแรกคือจานวนจุดในแนวนอนซึง่ เท่ากับ 1024 จุด ตัวเลขจานวนที่สองคือจานวนจุดในแนวตั้ง ซึง่ เท่ากับ 768 จุด


ความละเอียดของจอภาพ หมายถึง หน่วยของจานวนจุดที่มากที่สุดที่จอคอมพิวเตอร์สามารถผลิตได้ โดยความละเอียดในการแสดงผลของจอ จะขึ้นกับ วีดีโอการ์ด ที่เรียกว่าการ์ดจอ ซึ่งจะมีความสามารถในการแสดงผล หลากหลาย เช่น แสดงผลที่ความละเอียด 800 x 600 พิกเซล หมายถึง จานวนพิกเซลในแนวนอน เท่ากับ 800 และจานวน พิกเซลในแนวตัง้ เท่ากับ 600

ความละเอียด 800 x 600

ความละเอียดของเครื่องพิมพ์คือ จานวนจุดเลเซอร์ที่เครื่องพิมพ์สามารถผลิตได้ตอ่ นิ้ว เช่น ถ้าเครือ่ งพิมพ์แบบเลเซอร์มีความ ละเอียด 300 จุดต่อนิ้ว ( dots per inch – dpi ) นั่นคือ เครื่องพิมพ์สามารถพิมพ์ได้ 300 จุดทุกๆ 1 นิ้ว

ความละเอียดของอิมเมจเซตเตอร์อิมเมจเซตเตอร์ (Imagesetter) คือ เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ที่มีคุณภาพสูง สามารถพิมพ์ลง บนกระดาษถ่ายภาพ หรือฟิล์มก็ได้ โดยสามารถพิมพ์รูปภาพให้ความละเอียด 1800 dpi ถึง 3000 dpi


บิต ( BIT ) Bit ย่อมาจาก Binary Digit หมายถึง หน่วยความจาที่เล็กที่สุดของคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย ตัวเลข 2 จานวน คือ 0 หมายถึงปิด และ 1 หมายถึงเปิด หรือสีขาวและสีดา

ความลึกของบิต ( Bit Depth )ความลึกของบิต หมายถึง จานวนบิตที่ใช้ในแต่ละพิกเซล ในกราฟิกแบบบิตแมป สีของพิกเซลถูกบันทึกโดยใช้บิต ถ้าใช้สีมากก็แสดงสีได้มากขึ้น ถ้ามีหน่วยความจา 2 บิต ในการเก็บรวบรวมข้อมูล สามารถใช้สีได้ทั้งหมด 2 เท่ากับ 4 สี คือ สามารถกลับสีได้ 4 วิธี คือ 00, 01,10 และ 11 ถ้ามี 2 บิต สามารถสร้างสีให้กับพิกเซลทั้งหมด 4 เฉดสี

เราเรียกสีแบบ 24 บิตว่า เป็นสีเหมือนจริง หรือ True Color ในการแก้ไขภาพ ในระดับมืออาชีพอาจจะมีการใช้สีถึง 36,48,64 บิต แต่ในคอมพิวเตอร์ทั่วๆ ไปมักจะใช้สี ไม่เกิน 32 บิต


... ระบบสี ( Color Model )... ปกติเมื่อพูดถึงสี มักจะนึกถึงแม่สี 3 สีแต่อย่างไรก็ตาม การใช้สีกับงานกราฟิกในคอมพิวเตอร์ มีรายละเอียดหลาย ประการ ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะ ดังนั้นจึงควรทราบระบบสี ีของคอมพิวเตอร์ก่อน ระบบสีของคอมพิวเตอร์ จะเกี่ยวข้องกับการแสดงผลแสงที่แสดงบนจอคอมพิวเตอร์ โดยมี ลักษณะการแสดงผล คือ ถ้าไม่มีแสดงผลสีใดเลย บนจอภาพจะแสดงเป็น "สีดา" หากสีทุกสีแสดงผลพร้อมกัน จะ เห็นสีบนจอภาพเป็น "สีขาว" ส่วนสีอื่นๆ เกิดจากการแสดงสีหลายๆ สี แต่มีค่าแตกต่างกัน การแสดงผลลักษณะนี้ เรียกว่า การแสดงสีระบบ Addivtive สีที่ใช้ในงานด้านกราฟิกทั่วไป มี 4 ระบบ คือ 1. RGB 2. CMYK 3. HSB 4. LAB 1. RGB เป็นระบบสีที่ประกอบด้วยแม่สี 3 สี คือ แดง ( Red), เขียว ( Green) และน้าเงิน ( Blue) เมื่อนามาผสมผสาน กันทาให้เกิดสีต่าง ๆ บนจอคอมพิวเตอร์มากถึง 16.7 ล้านสี ซึ่งใกล้เคียงกับสีที่ตาเรามองเห็นปกติ สีที่ได้จากการผสมสีขึ้นอยู่กับความเข้มของสี โดยถ้าสีมีความเข้มมาก เมื่อ นามาผสมกันจะทาให้เกิดเป็นสีขาว จึงเรียกระบบสีนี้ว่าแบบ Additive หรือการผสมสีแบบบวก


2. CMYK เป็นระบบสีที่ใช้กับเครื่องพิมพ์ที่พิมพ์ออกทางกระดาษหรือวัสดุผิวเรียบอื่น ๆ ซึ่งประกอบด้วย สีหลัก 4 สี คือ สีฟ้า (Cyan), สีม่วงแดง (Magenta), สีเหลือง (Yellow) และสีดา (Black) เมื่อนามาผสมกันจะเกิดสีเป็นสีดา แต่จะไม่ดาสนิท เนื่องจากหมึกพิมพ์มีความไม่บริสุทธิ์ จึงเป็นการผสมสีแบบ ลบ (Subtractive) หลักการเกิดสีของระบบนี้ คือ หมึกสีหนึ่งจะดูด กลืนแสงจากสีหนึ่งแล้วสะท้อนกลับออกมาเป็นสีต่าง ๆ เช่น สีฟ้าดูดกลืนแสงของสีม่วงแล้วสะท้อนออกมาเป็น สีน้าเงิน ซึ่งจะสังเกตได้ว่าสีที่สะท้อนออกมาจะเป็นสีหลัก ของระบบ RGB การเกิดสีในระบบนี้จึงตรงข้ามกับการเกิดสีในระบบ RGB ดังภาพ

3. HSB เป็นระบบสีแบบการมองเห็นของสายตามนุษย์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ Hue คือ สีต่าง ๆ ที่สะท้อน ออกมาจากวัตถุแล้วเข้าสู่สายตาของเรา ซึ่งมักจะเรียกสีตามชื่อสี เช่น สีเขียว สีเหลือง สีแดง เป็นต้น Saturation คือ ความสดของสี โดยค่าความสดของสีจะเริ่มที่ 0 ถึง 100 ถ้ากาหนด Saturation ที่ 0 สีจะมีความสดน้อย แต่ถ้ากาหนดที่ 100 สีจะมีความสดมาก Brightness คือ ระดับความสว่างของสี โดยค่าความสว่างของสีจะเริ่มที่ 0 ถึง 100 ถ้ากาหนดที่ 0 ความสว่างจะ น้อยซึ่งจะเป็นสีดา แต่ถ้ากาหนดที่ 100 สีจะมีความสว่างมากที่สุด


4. LAB เป็นระบบสีที่ไม่ขึ้นกับอุปกรณ์ใด ๆ (Device Independent) โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ "L" หรือ Luminance เป็นการกาหนดความสว่าง ซึ่งมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 100 ถ้ากาหนดที่ 0 จะกลายเป็นสีดา แต่ถ้ากาหนดที่ 100 จะเป็นสีขาว "A" เป็นค่าของสีที่ไล่จากสีเขียวไปสีแดง "B" เป็นค่าของสีที่ไล่จากสีน้าเงินไปเหลือง


รูปแบบของภาพภาพทีเ่ กิดบนจอคอมพิวเตอร์ เกิดจากการทางานของโหมดสี RGB ซึ่งประกอบด้วย สีแดง (Red) สีเขียว (Green) และสีน้าเงิน (Blue) โดยใช้หลักการยิงประจุไฟฟ้าให้เกิด การเปล่งแสงของสีทั้ง 3 สี มาผสมกันทาให้เกิดเป็นจุดสีเล็ก ๆ ที่เรียกว่า พิกเซล (Pixel) โดยพิกเซลจะมีหลากหลาย สี เมื่อนามาวางต่อกันจะเกิดเป็นรูปภาพ ซึ่งภาพที่ใช้กับ เครื่องคอมพิวเตอร์ มี 2 ประเภท คือ 2.1 ภาพกราฟิกแบบ Raster

ภาพกราฟิกแบบ Raster หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แบบ Bitmap เป็นภาพกราฟิกที่เกิดจากการเรียงตัวของจุด สี่เหลี่ยมเล็ก ๆ หลากหลายสี ที่เรียกว่า พิกเซล ในการสร้างภาพ กราฟิกแบบ Raster จะต้องกาหนดจานวนพิกเซลให้กับภาพที่ต้องการสร้าง ถ้ากาหนดจานวนพิกเซลน้อย เมื่อ ขยายภาพให้มีขนาดใหญ่ขึ้น จะทาให้มองเห็นภาพเป็นจุดสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ หรือถ้ากาหนดจานวนพิกเซลมากก็จะทาให้แฟ้มภาพมีขนาดใหญ่ ดังนั้น การกาหนดจานวนพิกเซลจึงควรกาหนดให้เหมาะสมกับงานที่จะสร้าง เช่น งานที่มีความละเอียด น้อย หรือภาพสาหรับเว็บไซต์ ควรกาหนดจานวนพิกเซล ประมาณ 72 ppi (pixel / inch คือ จานวนพิกเซลใน 1 ตารางนิ้ว) แต่ถ้าเป็นงานแบบพิมพ์ เช่น นิตยสาร ปกหนังสือ โปสเตอร์ ขนาดใหญ่ จะกาหนดประมาณ 300 - 350 ppi เป็นต้น ข้อดีของภาพกราฟิกแบบ Raster คือ สามารถปรับแต่งสี ตกแต่งภาพได้ง่ายและสวยงาม ซึ่งโปรแกรมที่ นิยมใช้สร้างภาพกราฟิกแบบ Raster คือ Photoshop, Paint เป็นต้น

ภาพกราฟิกแบบ Raster ที่ขยายใหญ่ขึ้น จะมองเห็นภาพเป็นจุดสี่เหลีย่ ม


2.2 ภาพกราฟิกแบบ Vectorเป็นภาพกราฟิกที่เกิดจากการอ้างอิงความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ หรือการคานวณ ซึ่ง ภาพจะมีความเป็นอิสระต่อกัน โดยแยกชิ้นส่วนของภาพทั้งหมดออกเป็นเส้นตรง เส้นโค้ง รูปทรง เมื่อมีการขยายภาพความละเอียดของภาพจะไม่ลดลง แฟ้มมีขนาดเล็กกว่าแบบ Raster ภาพกราฟิกแบบ Vector นิยมใช้เพื่องานสถาปัตยกรรมตกแต่งภายใน และการออกแบบต่าง ๆ เช่น การ ออกแบบรถยนต์ การออกแบบอาคาร การสร้างการ์ตูน เป็นต้น ซึ่งโปรแกรมที่นิยมใช้สร้างภาพแบบ Vector คือ โปรแกรม Illustrator, CorrelDraw, 3Ds Max แต่อุปกรณ์ที่ใช้ แสดงผลภาพ เช่น จอคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องพิมพ์ จะเป็นการแสดงผลภาพแบบ Raster

ภาพกราฟิกแบบ Vector ที่ขยายใหญ่ขึ้น ความละเอียดของภาพจะไม่ลดลง


รูปแบบของไฟล์ กราฟิกไฟล์สาหรับอินเทอร์เน็ต ไฟล์กราฟิกที่สนับสนุนระบบอินเทอร์เน็ต ปัจจุบันมี 3 ไฟล์หลัก ๆ คือ 1. ไฟล์สกุล GIF ( Graphics Interlace File) 2. ไฟล์สกุล JPG ( Joint Photographer's Experts Group) 3. ไฟล์สกุล PNG ( Portable Network Graphics) 1. ไฟล์สกุล GIF (Graphics Interlace File) 2. เป็นไฟล์กราฟิกมาตรฐานที่ทางานบนอินเทอร์เน็ต มักจะใช้เมื่อ - ต้องการไฟล์ที่มีขนาดเล็ก - จานวนสีและความละเอียดของภาพไม่สูงมากนัก - ต้องการพื้นแบบโปร่งใส - ต้องการแสดงผลแบบโครงร่างก่อน แล้วค่อยแสดงผลแบบละเอียด - ต้องการนาเสนอภาพแบบภาพเคลื่อนไหว จุดเด่น - มีขนาดไฟล์ต่า - สามารถทาพื้นของภาพให้เป็นพื้นแบบโปร่งใสได้ ( Transparent) - มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียดในระบบ Interlace - มีโปรแกรมสนับการสร้างจานวนมาก - เรียกดูได้กับ Graphics Browser ทุกตัว - ความสามารถด้านการนาเสนอแบบภาพเคลื่อนไหว ( Gif Animation) จุดด้อย - แสดงสีได้เพียง 256 สี 3. ไฟล์ .GIF มี 2 สกุล ได้แก่ - GIF87 พัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1987 เป็นไฟล์กราฟิกรุ่นแรกที่สนับสนุนการนาเสนอบน อินเทอร์เน็ต เป็นไฟล์ที่มีขนาดเล็กและแสดงผลสีได้เพียง 256 สี และกาหนดให้แสดงผลแบบโครงร่างได้ (Interlace) - GIF89A พัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1989 เป็นไฟล์กราฟิกที่พัฒนาต่อจาก GIF87 โดยเพิ่มความสามารถการแสดงผลแบบพื้นโปร่งใส ( Transparent) และการสร้างภาพเคลื่อนไหว


(GIF Animation) ซึ่งเป็นไฟล์กราฟิกที่มีความสามารถพิเศษโดยนาเอาไฟล์ภาพหลายๆ ไฟล์มารวมกันและนาเสนอภาพเหล่านั้นโดยอาศัยการหน่วงเวลา มีการใส่รูปแบบการนาเสนอ ลักษณะต่างๆ ( Effects) ในลักษณะภาพเคลื่อนไหว 4. 2. ไฟล์สกุล JPG (Joint Photographer’s Experts Group) เป็นอีกไฟล์หนึ่งที่นิยมใช้บน Internet มักใช้กรณี 1. ภาพที่ต้องการนาเสนอมีความละเอียดสูง และใช้สีจานวนมาก (สนับสนุนถึง 24 bit color) 2. ต้องการบีบไฟล์ตามความต้องการของผู้ใช้ 3. ไฟล์ชนิดนี้มักจะใช้กับภาพถ่ายที่นามาสแกน และต้องการนาไปใช้บนอินเทอร์เน็ต เพราะให้ความคมชัดและความละเอียดของภาพสูง จุดเด่น - สนับสนุนสีได้ถึง 24 bit - สามารถกาหนดค่าการบีบไฟล์ได้ตามที่ต้องการ - มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียดในระบบ Progressive - มีโปรแกรมสนับสนุนการสร้างจานวนมาก - เรียกดูได้กับ Graphics Browser ทุกตัว - ตั้งค่าการบีบไฟล์ได้ ( compress files) จุดด้อย - ทาให้พื้นของรูปโปร่งใสไม่ได้ 5. ข้อเสียของการบีบไฟล์ ( Compress File) กาหนดค่าการบีบไฟล์ไว้สูง ( 1 - 10) แม้ว่าจะช่วยให้ขนาดของไฟล์มีขนาดต่า แต่ก็มีข้อเสีย คือ เมื่อมีการส่งภาพจาก Server ไปแสดงผลที่ Client จะทาให้การแสดงผลช้ามาก เพราะต้องเสียเวลาใน การคลายไฟล์ ดังนั้นการเลือกค่าการบีบไฟล์ ควรกาหนดให้เหมาะสมกับภาพแต่ละภาพ

6.


3. ไฟล์สกุล PNG (Portable Network Graphics) จุดเด่น - สนับสนุนสีได้ถึงตามค่า True color (16 bit, 32 bit หรือ 64 bit) - สามารถกาหนดค่าการบีบไฟล์ได้ตามที่ต้องการ - มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียด ( Interlace) - สามารถทาพื้นโปร่งใสได้ จุดด้อย - หากกาหนดค่าการบีบไฟล์ไว้สูง จะใช้เวลาในการคลายไฟล์สูงตามไปด้วย แต่ขนาดของไฟล์จะมีขนาดต่า - ไม่สนับสนุนกับ Graphic Browser รุ่นเก่า สนับสนุนเฉพาะ IE 4 และ Netscape 4 - ความละเอียดของภาพและจานวนสีขึ้นอยู่กับ Video Card - โปรแกรมสนับสนุนในการสร้างมีน้อย

ตัวอย่างภาพที่มีนามสกุล .png


Transparent Feature หมายถึงคุณลักษณะของภาพ ที่มีการดรอป ( Drop) การแสดงสีที่ต้องการ มักจะเป็นสีพื้น (จริงๆ เลือกสีได้ มากกว่า 1 สี) เพื่อให้สีที่เลือกโปร่งใส และแสดงผลตามสีพื้นของ Browser

ภาพ Gif Transparent บนพื้น Background ขาว

ภาพ Gif Transparent บนพื้น Background เขียว


Interlace Feature หมายถึงคุณลักษณะของการแสดงผลแบบโครงร่าง และค่อยๆ แสดงแบบละเอียด โดยใช้หลักการแทรกสอด ของเส้นสี โดยปกติการแสดงผลภาพบนอินเทอร์เน็ต จะแสดงผลไล่ ่ จากขอบบนของภาพจนถึงขอบล่าง ซึ่งมักจะแสดงผลช้ามาก เพราะต้องรอให้แต่ละส่วนแสดงผลครบทุกความ ละเอียด แต่ด้วยเทคนิคการแทรกสอด ภาพจะแสดงแบบเต็มรูป แต่แสดงผลแบบหยาบๆ คล้ายๆ กับการแสดงผลแบบเบลอ แล้วค่อยๆ ชัดเจนขึ้นตามเวลา ทาให้ผู้ใช้เห็นภาพ โครงร่างก่อน หากไม่พอใจจะดูก็สามารถข้ามการแสดงผลไปได้เลยทันที เทคนิคนี้จะอาศัยการแสดงผลของเส้นสีทีละเส้นให้แสดงผลแทรกสอดกันไปเรื่อยๆ จนครบทุกเส้น

การแสดงภาพแบบปกติ

การแสดงภาพแบบ Gif Interlace ระยะที่ 1


การแสดงภาพแบบ Gif Interlace ระยะที่ 2

การแสดงภาพแบบ Gif Interlace ระยะที่ 3

การแสดงภาพแบบ Gif Interlace ระยะที่ 4

การนาเสนอแบบโครงร่าง ( Progressive) การนาเสนอแบบโครงร่างของไฟล์ . JPG แตกต่างกับไฟล์ . GIF คือ อาศัยการแสดงผลแบบโครงร่างด้วย ภาพความละเอียดต่า แทนการนาเสนอแบบเส้นสี ลักษณะของภาพ แบบนี้จึงจะแสดงผลโดยมีลักษณะของภาพโครงร่างทั้งภาพที่มีจุดของภาพเบลอๆ แล้วค่อยๆ กระจายจุดภาพ ให้เต็มทั้งภาพ

รูปแบบในการจัดเก็บข้อมูลของภาพมีหลายรูปแบบ อื่นๆอีกดังนี้

1. BMP Window Bitmap


เป็นรูปแบบพื้นฐานทีใ่ ช้งานได้ดีกับโปรแกรมทีท่ างานภายใต้วินโดว์ ไฟล์ BMP ที่เห็นบ่อยๆ คือ ภาพวอลล์เป เปอร์ที่แสดงบนจอภาพของวินโดว์ โดยสามารถแสดงได้ตั้งแต่ 2,16,256 และ 16 ล้านสี CGM Computer Graphic Metafile เป็นมาตรฐานสากลสาหรับการแลกเปลี่ยนไฟล์ด้าน กราฟิก ไปยังเครื่องที่มรี ะบบแตกต่างกัน

2. EPS Encapsulated PostScript เป็นรูปแบบที่ใช้กับงานประเภท Desktop Publishing หรืองานเกี่ยวกับการจัดหน้า เช่น PageMaker โดย ใช้กับเครื่องพิมพ์แบบ PostScript เท่านั้น ไฟล์ EPS นี้เมื่อนามาย่อ-ขยาย จะไม่ทาให้ภาพสูญเสียความคมชัด เนื่องจากมีความละเอียดสูง 3. JPX Joint Photographic Experts Group ใช้การบีบข้อมูลทาให้ไฟล์ภาพมีขนาดเล็ก แต่จะทาให้ความคมชัดของภาพลดลงไปด้าย ไฟล์ภาพน้า สามารถแสดงสีได้สูงสุดถึง 16 ล้านสี ไฟล์รูปแบบ JPEG จะมีขนาดเล็ก กว่าไฟล์รูปแบบ GIF มาก 4. PCX Z – Soft PC Paintbrush Format ใช้ได้กับเครื่อง PC เท่านั้น โปรแกรมกราฟิกส่านใหญ่จะสนับสนุนรูปแบบ PCX ขนาดของไฟล์มีขนาด ใหญ่มากและจทางานได้ดีกับ 16 หรือ 32 สี 5. TIFF Tagged Image File Format ไฟล์แบบ TIFF เป็นรูปแบบที่มีคุณภาพความคมชัดของภาพสูงที่สุด ไม่ว่าจะย่อหรือขยายภาพคุณภาพที่ แสดงก็ยังคงเดิม แต่จะมีขนาดใหญ่เนื่องจากมีการรวมเอาข้อมูลจาก บิตแมป วันที่และเวลาที่ไฟล์ถูกสร้าง รวมทั้งซอฟท์แวร์ที่ใช้ 6. WMF Windows MetaFile ไฟล์ WMF นี้มีข้อเสียคือ ไม่ค่อยมีประสิทธิภาพในการเก็บภาพ แสดงภาพได้ไม่ถูกต้อง แต่สามารถ ใช้ได้ทั้งกับโปรแกรมแบบเวกเตอร์และแบบบิตแมป


ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก

1. Photo Retouching โปรแกรมที่เหมาะสาหรับการแก้ไข ตกแต่งภาพ และ ทาเอฟเฟกต์ให้กับภาพที่ได้สร้างขึ้นมาแล้ว ซึ่งอาจจะ มา จากภาพถ่ายจริง ได้แก่ Adobe PhotoShop, Corel Photopaint, PaintShop

2. Graphic Illustrator โปรแกรมสาหรับการออกแบบงานกราฟิก หรืองาน Lay out ซึ่งเป็นงานสองมิติ มีการเขียนรูปในลักษณะการ เน้น เส้นเน้นรูปทรงเรขาคณิต ซึ่งไม่ใช่รูปถ่าย ได้แก่ Adobe Illustrator, CorelDraw


3. Computer Aided Design โปรแกรมสาหรับการเขียนภาพที่แสดงออกถึงมิติ ขนาด ที่ ให้ความชัดเจนของวัตถุที่ต้องการสร้างขึ้นมา ได้แก่ Auto CAD, Prodesign

4. 3D Photo Realistic โปรแกรมที่สามารถสร้างภาพสามมิติ ที่มีมวลและปริมาตร และมีคุณสมบัติของพื้นผิว จนเกิดความสมจริง ของแสง และเงา ได้แก่ 3D studio MAX, Auto CAD 3D


5. Presentation โปรแกรมกราฟิก สาหรับช่วยในการนาเสนองาน ใน ลักษณะเป็นสไลค์ประกอบคาบรรยาย มีการสร้างภาพ กราฟฟิกที่ดูแล้วเข้าใจง่ายขึ้น เช่น กราฟชนิดต่าง ๆ หรือการสร้าง แผนผังการจัดองค์กรโปรแกรมประเภทนี้ ส่วนมากใช้ในงานธุรกิจ


6. Animation เป็นโปรแกรมสร้างภาพเคลื่อนไหวตามลาดับ โปรแกรมจะ แสดงภาพเป็นลาดับให้แลดูเหมือน ภาพเคลื่อนไหว โดย อาจมีเทคนิคต่างๆ ประกอบการแสดงภาพเช่น การซ้อนภาพ , เลื่อนภาพ, การเลื่อนภาพให้หายไปได้ และ การ แปลงภาพ รวมถึงมีลักษณะการโต้ตอบกับผู้ใช้ด้วย


การออกแบบงานกราฟิก

ความหมายของการออกแบบ หมายถึง กระบวนการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดหรือ จินตนาการออกมาเป็นรูปแบบต่างๆ ทาให้เราสามารถ รับรู้ด้วยประสาท สัมผัส ซึ่งอาจเป็นทางตา หู ผิวสัมผัส รส กลิ่นก็ได้ แนวคิด - การออกแบบ เกิดจากพื้นฐานทางความคิดและ ทางทัศนการสื่อสาร(visual communication) - การออกแบบเป็นการรักษาสมดุลระหว่างพลังการแสดงออกหรือพลัง ความคิดสร้างสรรค์เฉพาะบุคคล กับ ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย ความสาคัญ การออกแบบเป็นเรื่องของมนุษย์โดยตรง สัตว์อื่นๆไม่สามารถออกแบบได้ นอกจาก การสร้างงานด้วยสัญชาติ ญาณเท่านั้น มนุษย์มีการออกแบบเพื่อตอบสนองความต้องการ ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ การออกแบบมีมาพร้อมๆกับการเกิดของมนุษย์ ตั้งแต่อดีต จนปัจจุบัน และตั้งแต่เกิด จนตาย เป้าหมาย 1. เพื่อความสะดวกสบายและตอบสนองความต้องการของมนุษย์ 2. เพื่อการสร้างสรรค์และแสดงคุณค่าของผลงาน 3. เพื่อการวางแผนในเชิงทรัพยากรหรือการลดต้นทุน 4. เพื่อการประหยัดเวลาในการนาเสนอข่าวสาร 5. เพื่อประสิทธิภาพในการสื่อสารให้ผู้รับเข้าใจได้อย่างถูกต้อง คุณสมบัติของนักออกแบบ 1. มีความรู้ความสามารถและทักษะในการออกแบบ 2. เข้ากระบวนการใช้งานออกแบบได้อย่างเหมาะสม 3. มีวิธีนาเสนอผลงานได้อย่างสร้างสรรค์และโดดเด่น 4. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ 5. สามารถประยุกต์ใช้จิตวิทยาการรับรู้ได้อย่างดี


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.