คู่มือการดำเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น

Page 1

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อพ.สธ.-สถ.)


คำนำ กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น กระทรวงมหาดไทย มี ค วามศรั ทธา

ในพระราชด าริ ที่ ทรงท าเพื่ อ ผลประโยชน์ แก่ มหาชนชาวไทย ประกอบกั บได้ รั บทราบ การดาเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) ที่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสืบทอดงานอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของ พระบาทสมเด็ จพระบรมชนกาธิ เบศร มหาภู มิ พลอดุ ลยเดชมหาราช บรมนาถบพิ ตร นับตั้ งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้ างความเข้าใจ และทาให้ ตระหนักถึง ความสาคัญของทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีอยู่ในประเทศไทย ก่อให้เกิดกิจกรรมเพื่อให้มีการร่วม คิด ร่วมปฏิบัติที่นาผลประโยชน์มาถึงประชาชนชาวไทย เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นการด าเนิ น โครงการอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพื ช อั น เนื่ อ งมาจาก พระราชด าริ ฯ บรรลุ ตามวั ตถุ ประสงค์ ของโครงการ กรมส่ งเสริ มการปกครองท้ องถิ่ น จึงได้จัดทาคู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นและงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงานให้ถูกต้อง ตามแนวพระราชดาริ คู่มือการดาเนินงาน ฐานทรัพยากรท้องถิ่นและงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน แสดงถึงที่มาและความสาคัญ เป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของโครงพันธุกรรมพืชฯ แนวทางการดาเนินงานฐานทรัพยากร ท้องถิ่น สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน การอนุรั กษ์ ความหมายของงานฐานทรัพยากร ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ วิธีการดาเนินงาน และการบริหารจัดการเรียนรู้งานฐานทรัพยากร ท้องถิ่น การบริหาร และการจัดการเรียนรู้ วิธีการดาเนินงาน รวมทั้งการประเมินองค์กร ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น เพื่ อ ให้ ก ารเรี ย นรู้ น าไปสู่ ก ารพั ฒ นาตน องค์ ก ร สั ง คม และ ประเทศชาติต่อไป

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น มิถุนายน 2562

2


เรื่อง

สารบัญ 1. ที่มาและความสาคัญในการสนองพระราชดาริ 2. กลไกการขับเคลื่อนโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ 3. บทบาทของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นภายใต้แผนแม่บท อพ.สธ. ระยะที่ 5 ปีที่หก (ตุลาคม พ.ศ. 2559 – 30 กันยายน พ.ศ. 2564) 4. เป้าหมายของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดาริฯ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อพ.สธ.-สถ.) 5. แนวทางการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น 6. ตัวชี้วัดเป้าหมายของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดาริฯ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 7. กระบวนการดาเนินงานตามตัวชี้วัด 8. สรุปผลการถอดบทเรียนความสาเร็จจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ผ่านการประเมินผลการดาเนินงานโดยได้รับพระราชทานป้ายสนอง พระราชดาริและเกียรติบัตรฯ ในงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ประจาปี 2556 – 2561 9. พื้นทีอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่สมัครเข้าร่วมสนองพระราชดาริฯ และดาเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ

หน้า 1 4 10 11

12 30 33 52

57

3


สารบัญ ภาคผนวก « ตัวอย่างคาสั่งคณะกรรมการดาเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ จังหวัดสระแก้ว และตัวอย่างคาสั่งคณะทางาน ขับเคลื่อนและสนับสนุนการดาเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ จังหวัดสระแก้ว ภาคผนวก ก. « ร่างคาสั่งคณะทางานขับเคลื่อนและสนับสนุนการดาเนินงานโครงการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ อาเภอ....ภาคผนวก ข. « ตัวอย่างรายงานการประชุมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคผนวก ค. « ตัวอย่างแบบฟอร์มการสมัครเข้าร่วมสนองพระราชดาริฯ ภาคผนวก ง. « ร่างคาสั่งคณะกรรมการดาเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดาริฯ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น....(อพ.สธ.-อปท.) ภาคผนวก จ.

4


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

1. ที่มาและความสาคัญ 1.1 ตามที่ สมเด็ จพระกนิ ษฐาธิ ราชเจ้ า กรมสมเด็ จ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชดาริบางประการ เกี่ ยวกั บการอนุรั ก ษ์พั น ธุ ก รรมพืช “การสอนและอบรมให้ เด็ ก มี จิตสานึกในการอนุรักษ์พืชพรรณนั้นควรใช้วิธีการปลูกฝังให้เด็กเห็น ความงดงาม ความน่าสนใจ และเกิดความปิติที่จะทาการศึกษาและ อนุ รั ก ษ์ พื ช พรรณต่ อ ไป การใช้ วิ ธี ก ารสอนการอบรมที่ ใ ห้ เ กิ ด ความรู้สึกกลัวว่า หากไม่อนุรักษ์แล้วจะเกิดผลเสีย เกิดอันตรายแก่ตนเอง จะทาให้เด็กเกิดความเครียด ซึ่งจะเป็นผลเสียแก่ประเทศในระยะยาว” โครงการอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพื ช อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด าริ ฯ ได้ดาเนินงานสนองพระราชดาริจัดตั้งงาน

“สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน” เพื่อเป็นสื่อในการสร้างจิตสานึกด้านอนุรักษ์พันธุกรรมพืช โดยให้ เยาวชนนั้ น ได้ ใ กล้ ชิ ด กั บ พื ช พรรณไม้ เ ห็ น คุ ณ ค่ า ประโยชน์ ความสวยงามอันจะก่อให้เกิดความคิดที่จะอนุรักษ์พืชพรรณต่อไป ซึ่ง สามารถดาเนินการสวนพฤกษศาสตร์ ใ นพื้นที่ของโรงเรี ยน เป็นการจัดแหล่ง การเรียนรู้ที่สร้างโอกาสให้นักเรียนได้เผชิญกับ ความเป็ น จริ ง ตามธรรมชาติ ข องสิ่ ง มี ชี วิ ต โดยเฉพาะต้ น ไม้ ตลอดจนสิ่งมีชีวิตอื่น ที่อยู่อาศัยสัมพันธ์กับพืชพรรณไม้ทั้งหลาย และรวมถึงระบบนิเวศที่เกื้อกูลกันของธรรมชาติในบริเวณนั้น

1


2

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนจึงเป็นการรวบรวมพันธุ์ ไม้ ที่ มี ชี วิ ต มี แหล่ งข้ อมู ลพรรณไม้ มี การศึ กษา ต่อเนื่อง มีการเก็บตัวอย่างพรรณไม้แห้ง พรรณ ไม้ดอง มีการรวบรวมพันธุ์ไม้ ท้องถิ่นเข้ามาปลูก รวบรวมไว้ในโรงเรียน บันทึกข้อมูลและภูมิปัญญา ท้องถิ่นเกี่ยวกับพันธุ์ไม้ มีมุมสาหรับศึกษาค้นคว้า และมีการนาไปใช้ประโยชน์ เป็นสื่อในการที่จะให้ นัก เรี ย นเยาวชนและประชาชนทั่ว ไปได้ มี ค วาม เข้าใจเห็นความสาคัญของพืชพรรณ เกิดความรัก หวงแหน และรู้จักการนาไปใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน

สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทานพระราชด าริ “การรั กในทรัพยากร” คือ การรักชาติรักแผ่นดินรักสิ่งที่เป็นสมบัติของตัวเรา การที่จะให้เขารักประเทศชาติหรือรักษาสมบัติของเขานั้น ทาได้โดยก่อให้เกิดความรักความเข้าใจ ถ้าใครไม่รู้จักกัน เราก็ไม่มีความสัมพันธ์ ไม่มีความผูกพันต่อกัน แต่ว่า ถ้าให้รู้จักสิ่งนั้นว่า คืออะไร หรือว่าทางานก็จะรู้สึกชื่น ชม และรักหวงแหนสิ่งนั้นว่าเป็นของตน และจะทาให้ เกิดประโยชน์ได้

จะเห็นได้ว่า การรักทรัพยากรนั้นไม่เฉพาะทรัพยากรกายภาพและ ทรัพยากรชีวภาพเท่านั้น ทรัพยากรทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ก็เป็น สมบัติที่ต้องรัก เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา ให้เกิดประโยชน์ได้ และในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ทรงมีรับสั่ง ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดาว่า “ได้ไป กับ สมศ. มาเห็นว่าโรงเรียนยังสัมพันธ์กับชุมชนน้อย ทาอย่างไร ให้ชุมชนและโรงเรียน โดยเฉพาะนักเรียน ช่วยในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และให้มีการทา DNA Fingerprint ในโรงเรียน” อีกทั้งในแผนแม่บท โครงการอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพื ช อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด าริ สมเด็ จ พระเทพรั ตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุ มารี (อพ.สธ.) ในการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่นที่มี สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เป็นกาลัง ได้พิจารณาแล้วว่า การทาความเข้าใจกับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และองค์การ บริ ห ารส่ ว นต าบล ที่ จ ะต้ อ ง ดู แ ลการศึ ก ษา ดู แ ลรั ก ษ า ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดูแลประโยชน์สุขของชุมชน และมีภารกิจในการทาแผนพัฒ นาเกษตรของชุ มชน ซึ่ง องค์ ก ร ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น จะต้ อ งทราบในเรื่ อ งข้ อ มู ล ทางกายภาพ ข้อมูลชีวภาพ เศรษฐกิจ สังคม ศักยภาพชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อนาภูมิปัญญานั้นไปพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ทา ให้เป็นมาตรฐานสากล ซึ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนใหญ่ไม่ มีบุค ลากร ดัง นั้น จึ ง จ าเป็นต้อ งประสานกั บชุมชนและโรงเรี ย น เพื่อให้เกิดการบูรณาการในการปฏิบัติงานต่อไป


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

1.2 พ.ศ. 2560 ประเทศไทยมีพื้นที่ป่า 102,156,350.53 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 31.58 ของพื้นที่ประเทศ (ที่มา : สานัก จัดการที่ดินป่าไม้ กรมป่าไม้ , 2560) ส่วนมากเป็นพื้นที่ ป่าสงวนแห่งชาติ ซึ่งอยู่ในความดูแลของกรมป่าไม้ และ พื้นที่ป่าอนุรักษ์ (อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และเขตห้ า มล่ า สั ต ว์ ป่ า ) ซึ่ ง อยู่ ใ นความดู แ ลของกรม อุ ท ยานแห่ ง ชาติ สั ต ว์ ป่ า และพั น ธุ์ พื ช กระทรวง ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม แต่ พื้ น ที่ นอกเหนื อ จากนี้ จะอยู่ ภ ายใต้ ก ารก ากั บ ดู แ ลของ หน่วยงานอื่น

1.3 พื้ น ที่ ส่ ว นที่ เ หลื อ เป็ น พื้ น ที่ ชุ ม ชน พื้ น ที่ ส าธารณะประโยชน์ อยู่ ใ นความดู แ ลของกระทรวงมหาดไทย

ซึ่งทาง อพ.สธ. เน้นงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ลงไปที่พื้นที่ประเภทนี้ โดยมีจุดแข็งที่เป็นพื้นที่ที่มีความสัมพันธ์กัน ระหว่างทรัพยากรกายภาพ ทรัพยากรชีวภาพ และทรัพยากรวัฒนธรรม ภูมิปัญญา (ที่กากับการอนุรักษ์และใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรอย่างยั่งยืน ) เด็กนักเรียนจากโรงเรียนสมาชิก สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเป็นผู้ช่วย ท้องถิ่นในการบันทึก สืบทอด ภูมิปัญญาจากผู้เฒ่าผู้แก่ ปราชญ์ชาวบ้าน เป็นการพิสูจน์ภูมิปัญญาในเบื้องต้นผ่าน โครงงานวิทยาศาสตร์ และพืชศึกษา หลังจากนั้นมหาวิทยาลัยท้องถิ่นช่วยในการต่อยอดขยายผลสู่ผลิตภัณฑ์และ นวัตกรรม ส่วนราชการดาเนินงานสนับสนุนงานนี้ตามพันธกิจลงสู่ชุมชนท้องถิ่น บูร ณาการสู่การเป็นศูนย์ อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรท้องถิ่นตาบล โดยหากใช้แนวทางการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ซึ่งมี

“พื้นที่ปกปักทรัพยากรท้องถิ่น”

อยู่ ใ นองค์ ป กครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ มี พื้นที่ป่าธรรมชาติดั้งเดิม และบูรณาการเข้ากับการจัดการป่าชุมชนของกรมป่าไม้ สนับสนุนการเพิ่มพื้นที่ป่า ตามนโยบายและตัวชี้วัดการเพิ่มพื้นที่ป่าของรัฐบาลได้ และประชาชนในชุมชนท้องถิ่นก็สามารถที่จะมีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากป่าได้อย่างยั่งยืนต่อไป

3


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

4

2. กลไกการขับเคลื่อนโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ

2.1 คณะกรรมการดาเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่

อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ประธานกรรมการ

รองอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

เลขานุการคณะกรรมการโครงการฯ

รองประธานกรรมการ

หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม

รองประธานกรรมการ

ผู้อานวยการส่วนส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิต

กรรมการ

กรรมการและเลขานุการ

อานาจหน้าที่ จัดประชุมคณะกรรมการดาเนินงานที่มีหัวหน้า ส่วนราชการนั้น ๆ เป็นประธาน อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง

4

2

ร่างและจัดทาแผนแม่บทของหน่วยงานให้ สอดคล้องกับแผนแม่บทของ อพ.สธ.

ดาเนินงานและติดตามงานให้ เป็นไปตาม แผนปฏิ บั ติ ก ารและสอดคล้ อ งกั บ แนว ทางการดาเนินงานตามแผนแม่บท อพ.สธ.

5

สนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ในพืน้ ทีโ่ ครงการฯ

3

ร่างและจัดทาแผนปฏิบัติการรายปี ให้สอดคล้องกับแผนแม่บทของ อพ.สธ.

6

จัดทารายงานความก้าวหน้าของการดาเนินงาน ทุก ๆ 6 เดือน และรายงานประจาปีงบประมาณ

1


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

2.2 คณะกรรมการดาเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ จังหวัด......

ผู้ว่าราชการจังหวัด ประธานกรรมการ

รองผู้ว่าราชการจังหวัด

รองผู้ว่าราชการจังหวัด

รองประธานกรรมการ

รองประธานกรรมการ

รองผู้ว่าราชการจังหวัด

เลขานุการคณะกรรมการโครงการฯ

รองประธานกรรมการ

รองประธานกรรมการ

หัวหน้าส่วนราชการระดับจังหวัด

หัวหน้าสานักงานจังหวัด

กรรมการ

กรรมการและเลขานุการ

อานาจหน้าที่ 1 2 3

จัดประชุมคณะกรรมการดาเนินงานที่มีหัวหน้า ส่วนราชการนั้น ๆ เป็นประธาน อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง

4

ร่างและจัดทาแผนแม่บทของหน่วยงานให้ สอดคล้องกับแผนแม่บทของ อพ.สธ.

ดาเนินงานและติดตามงานให้ เป็นไปตาม แผนปฏิ บั ติ ก ารและสอดคล้ อ งกั บ แนว ทางการดาเนินงานตามแผนแม่บท อพ.สธ.

5

สนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ในพืน้ ทีโ่ ครงการฯ

6

จัดทารายงานความก้าวหน้าของการดาเนินงาน ทุก ๆ 6 เดือน และรายงานประจาปีงบประมาณ

ร่างและจัดทาแผนปฏิบัติการรายปี ให้สอดคล้องกับแผนแม่บทของ อพ.สธ.

5


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

6

2.3

ระดับจังหวัด คณะทางานขับเคลือ่ นและสนับสนุนการดาเนินงานโครงการ อนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริฯ จังหวัด..

(1) คณะทางาน จัดทาแผนแม่บท รองผู้ว่าราชการจังหวัด ประธานคณะทางาน

หัวหน้าส่วนราชการระดับจังหวัด

หัวหน้าส่วนราชการระดับจังหวัด

คณะทางาน

คณะทางาน ผู้อานวยการกลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูล เพื่อการพัฒนาจังหวัด สานักงานจังหวัด

อานาจหน้าที่

คณะทางานและเลขานุการ

1

วางแนวทางการดาเนินงานสนองพระราชดาริตามแผนแม่บทหรือแนวทางการดาเนินงานตาม กรอบการดาเนินงานของแผนแม่บท อพ.สธ. และดาเนินงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

2

สนับ สนุนการร่า งและจัด ทาแผนแม่บทของจัง หวัด และแผนปฏิบัติงานรายปี ให้สอดคล้อ งกับ แผนแม่บทของ อพ.สธ.

3

ก า กั บ ติ ด ต า ม แ ล ะ เ ร่ ง รั ด ก า ร ด า เ นิ น ง า น ใ ห้ เ ป็ น ไ ป ต า ม แ ผ น ป ฏิ บั ติ ง า น ร า ย ปี อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับแผนแม่บทของ อพ.สธ.

4

จัดทารายงานความก้าวหน้าของการดาเนินงานทุก 6 เดือน และรายงานประจาปี


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

(2) คณะทางานขับเคลือ่ นและสนับสนุน การดาเนินงานตามกรอบการ เรียนรู้ทรัพยากร ผู้อานวยการสานักงานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมจังหวัด ประธานคณะทางาน

หัวหน้าส่วนราชการระดับจังหวัด

หัวหน้าส่วนราชการระดับจังหวัด

คณะทางาน

คณะทางาน

ผู้อานวยการส่วนทรัพยากรธรรมชาติ สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด อานาจหน้าที่

1

คณะทางานและเลขานุการ

ขับเคลื่อนการดาเนินงานตาม “กิจกรรมปกปักทรัพยากร” โดยจัดทาขอบเขตพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืช การสารวจ ทารหัสประจาต้นไม้ ทาพิกัด เพื่อรวบรวบเป็นฐานข้อมูล ในพื้นที่ขององค์กรต่าง ๆ และ สารวจเก็บข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมต่าง ๆ อีกทั้งยังสนับสนุนให้มีอาสาสมัครปกปัก รักษาทรัพยากรในระดับหมู่บ้านและพื้นที่สถานศึกษา

2

ขับเคลื่อนการดาเนินงานตาม “กิจ กรรมส ารวจเก็บรวบรวมทรัพยากร” โดยการสารวจเก็บ รวบรวมตัวอย่างทรัพยากรทางกายภาพ ทรัพยากรชีวภาพ และทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิ ปัญญาท้องถิ่นในพื้นที่เป้าหมายหรือพื้นที่ที่จะมีการเปลี่ยนแปลงจากการพัฒนา

3

ขับเคลื่อนการดาเนินงานตาม “กิจ กรรมปลูกรักษาทรัพยากร” โดยการนาทรัพยากรที่ได้ตาม กิ จ กรรมปกปั ก ทรั พ ยากรและกิ จ กรรมส ารวจเก็ บ รวบรวมทรั พยากรมาเก็บ รั ก ษาไว้ ใ นพื้ น ที่ ที่ปลอดภัย เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรต่าง ๆ และการนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป

7


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

8

(3) คณะทางานขับเคลือ่ นและสนับสนุน การดาเนินงานตามกรอบการใช้ประโยชน์

เกษตรและสหกรณ์จังหวัด ประธานคณะทางาน

หัวหน้าส่วนราชการระดับจังหวัด

หัวหน้าส่วนราชการระดับจังหวัด

คณะทางาน

คณะทางาน หัวหน้ากลุ่มช่วยเหลือเกษตรและโครงการพิเศษ สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด

อานาจหน้าที่

คณะทางานและเลขานุการ

1

สนับสนุนการดาเนินงานตาม “กิจกรรมอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากร” โดยสนับสนุนการ ศึกษาวิจัยจนนาไปสู่การพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ

2

ขับเคลื่อนการดาเนินงานตาม “กิจกรรมศูนย์ข้อมูลทรัพยากร” โดยร่วมกับ อพ.สธ. จัดทาฐานข้อมูลระบบดิจิตอลและพัฒนาโปรแกรมสาหรับระบบศูนย์ข้อมูลทรัพยากรต่าง ๆ

3

สนับสนุนการดาเนินงานตาม “กิจกรรมวางแผนพัฒนาทรัพยากร”

4

กากับ ติดตาม และเร่งรัดการดาเนินงานให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติงานรายปีอย่างมีประสิทธิภาพและ สอดคล้องกับแผนแม่บทของ อพ.สธ.


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

(4) คณะทางานขับเคลื่อนและสนับสนุนการดาเนินงานตามกรอบการสร้างจิตสานึก (4.1) คณะทางานขับเคลือ่ นและสนับสนุนการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น ท้องถิ่นจังหวัด

อานาจหน้าที่

ประธานคณะทางาน

หัวหน้าส่วนราชการ ระดับจังหวัด

หัวหน้าส่วนราชการ ระดับจังหวัด

คณะทางาน

คณะทางาน

หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด คณะทางานและเลขานุการ

1 วางแนวทาง/ก าหนดแผนการสนั บ สนุ น ให้ อ งค์ ก ร ปกครองส่ วนท้ องถิ่ น เข้า ร่ วมสนองพระราชดาริ โดย สมั ค รเข้ า ร่ ว มโครงการฯ และสนั บ สนุ น การด าเนิ น กิจกรรม ตามแผนแม่บท อพ.สธ. และกาหนดองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นนาร่องและขยายผลการดาเนินงาน ในอาเภอ 2 วางแนวทางการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น นาไปสู่ การจัดตั้งศูนย์อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรตาบล และ การขับเคลื่อนการดาเนินงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3 กากับ ติดตาม และเร่งรัดการดาเนินงานให้เป็นไปตาม แผนปฏิ บั ติ ง านรายปี อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ สอดคล้องกับแผนแม่บทของ อพ.สธ.

(4.2) คณะทางานขับเคลือ่ นและสนับสนุนการดาเนินสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน อานาจหน้าที่

ศึกษาธิการจังหวัด ประธานคณะทางาน

หัวหน้าส่วนราชการ ระดับจังหวัด

หัวหน้าส่วนราชการ ระดับจังหวัด

คณะทางาน

คณะทางาน

ผู้อานวยการกลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา คณะทางานและเลขานุการ

1 วางแนวทาง/กาหนดแผนการสนับสนุนให้สถานศึกษา ภายในจังหวัดเข้าร่วมสนองพระราชดาริ โดยสมัครเป็น สมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน และมีการดาเนินงาน สวนพฤกษศาสตร์ โ รงเรี ย น เพื่ อ ปลู ก ฝั ง การสร้ า ง จิตสานึกให้กับเยาวชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสนับสนุนการดาเนินกิจกรรมตามแผนแม่บท อพ.สธ. 2 ติ ด ตามการด าเนิ น งานของโรงเรี ย นสมาชิ ก สวน พฤกษศาสตร์ โ รงเรี ย นในการรวบรวมพื ช พรรณไม้ ท้องถิ่น และรวบรวมภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับพืชพรรณ ทบทวนปรั บ ปรุ ง การด าเนิ น งานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนที่ทาอยู่เดิมให้ครบถ้วนคุณสมบัติและเกณฑ์ มาตรฐานที่ อพ.สธ. กาหนดและนาไปสู่การประเมินเพือ่ รับป้ายพระราชทานและเกียรติบัตร 3 กากับ ติดตาม และเร่งรัดการดาเนินงานให้เป็นไปตาม แผนปฏิ บั ติ ง านรายปี อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ สอดคล้องกับแผนแม่บทของ อพ.สธ.

9


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

10

3. บทบาทของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ภายใต้แผนแม่บท อพ.สธ. ระยะ 5 ปีที่หก (ตุลาคม พ.ศ. 2559 - กันยายน พ.ศ. 2564)

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย มี ความศรัทธาในพระราชดาริที่ทรงทาเพื่อผลประโยชน์แก่มหาชน ชาวไทย ประกอบกั บได้ รั บทราบการดาเนินงานโครงการอนุรั กษ์ พั น ธุ ก รรมพื ช อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด าริ สมเด็ จ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) ที่ทรงสืบทอดงาน อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 โดยมี วั ต ถุ ประสงค์ เ พื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจ และท าให้ ตระหนั กถึ ง ความสาคัญของทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีอยู่ในประเทศไทย ก่อให้เกิด กิจกรรมเพื่อให้มีก ารร่ วมคิด ร่ วมปฏิบัติ ที่นาผลประโยชน์มาถึง ประชาชนชาวไทย กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจึงได้กาหนด พันธกิจและวัตถุประสงค์ของ การดาเนินงานไว้

5.1 พันธกิจ

1

ขับเคลื่อนและสนับสนุนให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นสนองพระราชดาริ สมเด็จพระกนิษฐา ธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี งานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ด้านทรัพยากร กายภาพ ด้านทรัพยากรชีวภาพ และด้า นทรัพยากร วัฒนธรรมและภูมิปัญญา

2

ส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นดาเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ ในกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การปกปั ก ทรั พยากรท้อ งถิ่ น การส ารวจเก็ บ รวบรวม ทรัพยากรท้องถิ่น การปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่น การ อนุ รั ก ษ์ แ ละใช้ ป ระโยชน์ ท รั พ ยากรท้ อ งถิ่ น ศู น ย์ ข้ อ มู ล ทรัพยากรท้องถิ่น และการสนับสนุนในการอนุรักษ์และ จัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

5.2 วัตถุประสงค์ของการจัดทาคู่มืองานฐานทรัพยากรท้องถิ่น

1

เพื่อ เป็นกรอบและทิศ ทางการสนองพระราชดาริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ทั้งในส่วนราชการ ระดับส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค รวมไปถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

2

ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทามาตรฐานการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อเป็นแนวทางดาเนินการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาท้องถิ่นในทุกระดับ

3

เพื่อเป็นแผนปฏิบัติงานให้จังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนาไปปรับใช้ในการ สร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรท้องถิ่นเพื่อนาไปสู่การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ อย่างยั่งยืน

4. เป้าหมายของโครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริฯ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อพ.สธ.-สถ.)

1

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่ง สมัครเข้าร่วมโครงการ อพ.สธ.

3

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่ง ดาเนินงานโครงการ อพ.สธ. ในกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การปกปักทรัพยากร ท้องถิ่น การสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่น การปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่น การอนุรักษ์ และใช้ประโยชน์ ทรัพยากรท้องถิ่น ศูนย์ข้อมูลทรัพยากรท้อ งถิ่น และการสนับสนุนในการอนุรักษ์และจัดทาฐานทรัพยากร ท้องถิ่น

4

องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ทุ ก แห่ ง จั ด ท า ฐานข้ อ มู ล ทรั พ ยากรซึ่ ง มี ทั้ ง ทรั พ ยากร กายภาพ ทรัพยากรชีวภาพ ทรัพยากรทาง วัฒนธรรมและภูมิปัญญาของแต่ละท้องถิ่น

2

5

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่งจัดตั้ง “ศูนย์อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรท้องถิ่น ”

พั ฒ นายกระดั บ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ทุกแห่ งที่ผ่านการประเมินผลการดาเนินงานโดย ได้ รั บ พระราชทานป้ า ยสนองพระราชด าริ และเกี ย รติ บั ต รฯ ในงานฐานทรั พ ยากรท้ อ งถิ่ น ให้เป็นศูนย์เรียนรู้ท้องถิ่น

11


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

12

5. แนวทางการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น 5.1 แนวทางสาหรับองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ ได้มีนโยบายให้ องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) สามารถดาเนินการเข้าร่ วมสนองพระราชดาริ ในกรอบการสร้ างจิตสานึก กิจกรรมที่ 8 กิจกรรมพิเศษ สนับสนุนการอนุรักษ์ทรัพยากร โดยสมัครเป็นสมาชิก “ฐานทรัพยากรท้องถิ่น” หลักการ รวบรวม รักษา พัฒนา สาระสาคัญ องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) สร้างการมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนน้อมนาแนวพระราชดาริฯ สู่การร่วม คิดร่วมปฏิบัติ ดาเนินงานการปลูกรักษา ศูนย์ข้อมูลและสนับสนุนในการอนุรักษ์ทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด นาไปสู่การ จัดตั้ง ศู นย์อ นุรั กษ์และพัฒนาทรั พยากรท้อ งถิ่ น โครงการอนุรั กษ์พันธุกรรมพืชฯ – องค์การบริห ารส่ วนจั ง หวัด เพื่ออนุรักษ์และพัฒนาบนฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การกาหนดรหัสสมาชิก ฐานทรัพยากรท้องถิ่น สาหรับองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ตัวอย่าง : คาอธิบายรหัส ชื่อ องค์การบริหารส่วนจังหวัด จังหวัดนครราชสีมา รหัส 8-2300101 คาอธิบายรหัส 8 คือ กิจกรรมที่ 8 กิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษ์ทรัพยากร 2300101 คือ รหัสองค์การบริหารส่วนจังหวัด จังหวัดนครราชสีมา แนวปฏิบตั ิ : ผู้ร่วมปฏิบตั ิ สมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน สมาชิกฐานทรัพยากรท้องถิน่

หน่วยงานภาครัฐและเอกชน

ชุมชน กลุ่มจิตอาสา

การปฏิบัติของบุคลากรในการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด 1) องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) - ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และพัฒนาท้องถิ่น - สนับสนุนงบประมาณในการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง - สืบสานอนุรักษ์ และพัฒนาความรู้ ภูมิปัญญาจากการเรียนรู้ฐานทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด - มีจิตสานึกในการอนุรักษ์และพัฒนา

16


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. 2) ผู้บริหาร - รู้เป้าหมาย...“จิตสานึก”... แล้วทา - รู้หน้าที่...“สนับสนุนผู้ปฏิบัติ”...แล้วทา - ปกครองโดยธรรม 3) ผู้ปฏิบัติ - ซื่อตรง มุ่งมั่น พัฒนา สามัคคี มีคุณธรรม - อนุรักษ์และพัฒนาบนฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การดาเนินงาน 3 ด้าน ด้านที่ 1 ด้านการบริหารและการจัดการ จานวน 7 ตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการดาเนินงาน จานวน 3 ตัวชี้วัด ด้านที่ 3 ด้านผลการดาเนินงาน จานวน 2 ตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารและการจัดการ 7 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 การมีส่วนร่วมขององค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและสถานศึกษา ตัวชี้วัดที่ 2 การแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน การจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น ตัวชี้วัดที่ 3 การวางแผนการบริหารและแผนการดาเนินงานการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด ตัวชี้วัดที่ 4 การดาเนินงานตามแผน ตัวชี้วัดที่ 5 การสรุปและประเมินผลการดาเนินงานงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด ตัวชี้วัดที่ 6 การวิเคราะห์ผลและปรับปรุงพัฒนางานฐานทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด ตัวชี้วัดที่ 7 การรายงานผลการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัดให้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ ทราบ อย่างน้อยปีละ1ครั้ง ด้านที่ 2 ด้านการดาเนินงาน 3 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 การปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด ตัวชี้วัดที่ 2 ศูนย์ข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด ตัวชี้วัดที่ 3 การสนับสนุนในการอนุรักษ์ทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด ด้านที่ 3 ด้านผลการดาเนินงาน 2 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 การจัดตั้งศูนย์อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรท้องถิ่น โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ – องค์การบริหารส่วนจังหวัด จังหวัด .......................... ตัวชี้วัดที่ 2 การเชื่อมโยงเครือข่าย

17

13


14

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. รายละเอียดการดาเนินงาน

ด้านที่ 1 การบริหารและการจัดการ จานวน 7 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 การมีส่วนร่วมขององค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด 1) รายงานการประชุม - วาระการประชุมเรื่องเกี่ยวกับการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด - รายชื่อ ลายมือชื่อของสมาชิกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้บริหาร สถานศึกษาและผู้ที่ เกี่ยวข้องกับการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด 2) หลักฐานที่แสดงถึงการมีส่วนร่วม - บันทึกการประชุม - ภาพถ่ายการประชุม ตัวชี้วัดที่ 2 การแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน การจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น 1) การจัดทาคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ องค์การบริหารส่วนจังหวัด จังหวัด ...................................... - คณะกรรมการด้านที่ 1 บริหารและการจัดการ - คณะกรรมการด้านที่ 2 การดาเนินงาน - คณะกรรมการด้านที่ 3 ผลการดาเนินงาน 2) การจัดทาคาสั่งคณะอนุกรรมการ การดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด - คณะทางานปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด - คณะทางานศูนย์ข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด - คณะทางานสนับสนุนในการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด ตัวชี้วัดที่ 3 การวางแผนการบริหารและแผนการดาเนินงานการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด 1) แผนการดาเนินงานด้านการบริหาร โดยเขียนแผนการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด รวมกับ แผนงานประจาปีขององค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) แสดงผังโครงสร้างการบริหาร 2) แผนการดาเนินงานการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด แสดงรายละเอียดงาน ปริมาณงาน ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ ระยะเวลา 3) การจัดทาปฏิทินการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 4 การดาเนินงานตามแผน การประสานงานของคณะกรรมการดาเนินงาน คณะอนุกรรมการ งานฐานทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด กับหน่วยงานต่าง ๆ 1) เอกสารสรุปค่าใช้จ่ายการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด ลงนามชื่อผู้บริหาร หัวหน้างาน 2) หนังสือเชิญประชุม 3) หนังสือขอบคุณผู้ร่วมประชุม


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ตัวชี้วัดที่ 5 สรุปและประเมินผลการดาเนินงานงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด ตัวชี้วัดที่ 6 วิเคราะห์ผลและปรับปรุงพัฒนางานฐานทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด 1) วิเคราะห์ผล และหาข้อสรุป 2) วางแผน ปรับปรุง และพัฒนาการดาเนินงานในปีต่อไป ตัวชี้วัดที่ 7 รายงานผลการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัดให้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ ทราบ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

ด้านที่ 2 การดาเนินงาน ตัวชี้วัดที่ 1 การปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด 1) การรวบรวมและจัดเก็บทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด - ทรัพยากรพืช - ทรัพยากรสัตว์ - ทรัพยากรชีวภาพอื่น ๆ - ทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา 2) การปลูกและรักษาทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด - พื้นที่ปลูก เช่น พื้นที่แปลงปลูกพันธุกรรม - พื้นที่รักษา เช่น ที่เก็บเมล็ดพันธุ์ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ - การติดตามหลังการปลูกและรักษาทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด - การติดตามการเจริญเติบโต - การติดตามการเปลี่ยนแปลง ตัวชี้วัดที่ 2 ศูนย์ข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด 1) การรวบรวมและบันทึกข้อมูลทรัพยากรจากสมาชิกฐานทรัพยากรท้องถิ่น - ทรัพยากรกายภาพ - ทรัพยากรชีวภาพ - ทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา 2) การจัดและสืบค้นข้อมูล - การจัดเก็บระบบเอกสาร - การจัดเก็บระบบคอมพิวเตอร์ ตัวชี้วัดที่ 3 การสนับสนุนในการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด 1) การสนับสนุนการสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรท้องถิ่นจังหวัด (งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน และงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น) 2) การสนับสนุนงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ และอานวยความสะดวก 19

15


16

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

ด้านที่ 3 ผลการดาเนินงาน ตัวชี้วัดที่ 1 การจัดตั้งศูนย์อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรท้องถิ่นโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ องค์การบริหารส่วนจังหวัด จังหวัด...................................................... 1) การจัดทาโครงสร้างการบริหารและบุคลากร 2) การจัดทาแผนงานและงบประมาณในการดาเนินงานประจาปี ตัวชี้วัดที่ 2 การจัดเชื่อมโยงเครือข่าย 1) การจัดทา website 2) การจัดตั้งกลุ่ม ชมรม เครือข่าย ฯลฯ

120 cm.

ศูนย์โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

80 cm.

สนองพระราชดาริโดย อบจ./เทศบาล/อบต. ...................... ตาบล............ อาเภอ .................. จังหวัด ............

20


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. 5.2 แนวทางสาหรับเทศบาล และองค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) การดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่ น สาหรับเทศบาลและองค์การบริห ารส่วนตาบล (อบต.) ได้แบ่งการ ดาเนินงานออกเป็น 4 ระดับ ดังนี้ 1) ระดับป้ายสนองพระราชดาริในงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น 1) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - สนับสนุนงบประมาณ การดาเนินงาน อย่างต่อเนื่อง - ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น - สืบสานอนุรักษ์ และพัฒนาความรู้ ภูมิปัญญาจากการเรียนรู้ฐานทรัพยากรท้องถิ่น 2) ผู้บริหาร - รู้เป้าหมาย ... “จิตสานึก” ... แล้วทา - รู้หน้าที... ่ “สนับสนุนผู้ปฏิบัต”ิ ...แล้วทา 3) ผู้ปฏิบัติ - ซื่อตรง มุ่งมั่น พัฒนา สามัคคี มีคุณธรรม

21

17


18

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

2) ระดับเกียรติบตั รงานฐานทรัพยากรท้องถิน่ ขั้นที่ 1 เกียรติบัตรแห่งความมุ่งมั่น อนุรักษ์ สรรพสิ่ง สรรพชีวิต ด้วยจิตสานึกในงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น - 6 งาน 4 ทรัพยากร ครบ เห็นได้ชัดเจน - ปริมาณ ผู้มีส่วนร่วมในงาน... เพิ่ม - ความหลากหลายของงาน... เพิ่ม - ผู้บริหาร สนับสนุน ดูว่าจริงใจ จริงจัง - ไม่เครียด เพียร หมั่น...มีวิธีการใหม่ๆ - ผู้ปฏิบัติเกิดมี “กรุณาจิต” ต่อสรรพชีวิต สรรพสิ่ง ...ไม่คุกคาม ไม่ทาร้าย – ทาลาย - ผู้ปฏิบัติ เกิดมี “มุทิตาจิต” ต่อสรรพชีวิต สรรพสิ่ง ... ช่วยเหลือเกื้อหนุน เห็น... ทั้งท้องถิ่น สะอาด เป็นระเบียบ ... ทุกสรรพสิ่ง สมบูรณ์ตามธรรมชาติ 3) ระดับเกียรติบตั รงานฐานทรัพยากรท้องถิน่ ขั้นที่ 2 เกียรติบัตรแห่งการเข้าสู่สถานภาพ สถานศึกษาอบรมสั่งสอนเบ็ดเสร็จ บนฐานงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น - 6 งาน 4 ทรัพยากร ครบ เห็นได้ชัดเจน ผู้บริหาร... ปกครองโดยธรรม - ปฏิบัติงานด้วยความผาสุก กลมเกลียว ประหยัดสุด ประโยชน์สูง - มีธรรม มีปัญญา... จัดระเบียบของกาย จนเป็นระเบียบของใจ ... ความกร้าวไม่มี ... ชม.. เยี่ยม.. สะอาด เป็นระเบียบทุกหนแห่ง 4) ระดับเกียรติบตั รงานฐานทรัพยากรท้องถิน่ ขั้นที่ 3 เกียรติบัตรแห่งการเป็นสถานอบรมสั่งสอนเบ็ดเสร็จ บนฐานงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ทุกสรรพสิ่ง ล้วนเป็นปัจจัยแห่งความสว่าง... คือปัญญา .. ชี้นา สนทนา รูปธรรมที่ปรากฏ เชื่อมโยงสู่ชีวิตแห่งตนและสังคม - ผู้บริหาร กลมกลืนในงาน บนฐานของจิต ที่มีความเห็นชอบ - ผู้ปฏิบัติ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน .. ปราศจากความหิว ปราศจากอบาย ปราศจากความคับแค้น

22


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. การสนองพระราชดาริของเทศบาล และองค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) ในงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น มีการบริหารและการจัดการ ดังนี้ 1.1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน และสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น 1) รายงานการประชุม - วาระการประชุมเรื่องเกี่ยวกับการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น จัดประชุมภายในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ควรมีอย่างน้อย 4 คณะ) 1. การประชุมสภา 2. การประชุมประชาคม 3. กาประชุมกลุ่มอนุรักษ์ของหมู่บ้าน 4. การประชุมคณะทางาน (3 ด้าน และ 6 งาน) การเข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยงานภายนอก (โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ /โรงเรียน/อปท.) การประชุมกลุ่ม การฝึกอบรมปฏิบัติการงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น การฝึกอบรมปฏิบัติการสารวจและจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น 2) หลักฐานที่แสดงถึงการมีส่วนร่วม บันทึกการประชุม - บันทึกการประชุม แสดงวัน เวลา สถานที่ และผู้จดบันทึก พร้อมเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับงานฐานทรัพยากร ท้องถิ่น เช่น การดาเนินงานทั้ง 6 งาน การนางานฐานทรัพยากรท้องถิ่นเข้าสู่ชุมชน เป็นต้น - ภาพถ่าย 1.2 แต่งตัง้ คณะกรรมการดาเนินงาน การจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิน่ 1) ค าสั่ ง แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการด าเนิ น งานฐานทรั พ ยากรท้ อ งถิ่ น อพ.สธ.-ต าบล ต้ อ งระบุ ห น้ า ที่ ข อง คณะกรรมการดาเนินงานให้ชัดเจน (1) คณะกรรมการด้านที่ 1 การบริหารและการจัดการ ต้องมีนายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นประธาน รองนายกฯ เป็นรองประธาน ปลัดฯ และเจ้าหน้าที่ฝ่ายต่าง ๆ รวมทั้งฝ่ายการเงิน ธุรการ เป็นคณะกรรมการ (2) คณะกรรมการด้านที่ 2 การดาเนินงาน ปลัดฯ เป็นประธาน ผู้อานวยการกองฯ เป็นรองประธานและผู้ที่ ทาหน้าที่เป็นหัวหน้างานทั้ง 6 งานเป็นคณะกรรมการ (3) คณะกรรมการด้านที่ 3 ผลการดาเนินงาน เน้นฝ่ายวัดประเมินผลเป็นประธาน ฝ่ายธุรการ ฝ่ายอาคาร สถานที่ ฯลฯ เป็นคณะกรรมการ - คาสั่งคณะกรรมการ 3 ด้าน ระบุหน้าที่ความรับผิดชอบจานวนคณะกรรมการ 2) คณะอนุกรรมการศูนย์อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรท้องถิ่น ตาบล (1) คณะทางานปกปักทรัพยากรท้องถิ่น (2) คณะทางานสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่น (3) คณะทางานปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่น

23

19


20

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

(4) คณะทางานอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรท้องถิ่น (5) คณะทางานศูนย์ข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่น (6) คณะทางานสนับสนุนในการอนุรักษ์และจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น - ในแต่ละคณะระบุหน้าที่ความรับผิดชอบ จานวนคณะกรรมการ ประธาน รองประธาน เลขานุการ แต่ละงานมีความสมดุลของคณะกรรมการต่อการดาเนินงาน และมีใจรัก หรือจิตอาสา 3) คณะอนุกรรมการทรัพยากรท้องถิ่น (ระดับเกียรติบัตรฯ) (1) คณะทางานทรัพยากรท้องถิ่น : การศึกษาพืช (2) คณะทางานทรัพยากรท้องถิ่น : การศึกษาสัตว์ (3) คณะทางานทรัพยากรท้องถิ่น : การศึกษาชีวภาพอื่น ๆ (4) คณะทางานทรัพยากรท้องถิ่น : การศึกษาภูมิปัญญา - ในแต่ละคณะระบุหน้าที่ความรับผิดชอบ จานวนคณะกรรมการ ประธาน รองประธาน เลขานุการ แต่ละงานมีความสมดุลของคณะกรรมการต่อการดาเนินงาน และมีใจรัก หรือจิตอาสา 1.3 วางแผนการบริหารและแผนการดาเนินงานการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น (1) แผนการดาเนินงานด้านการบริหาร โดยเขียนแผนการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น รวมกับแผนงาน ประจาปีขององค์การบริหารส่วนตาบล แสดงผังโครงสร้างการบริหาร - นโยบาย วิสัยทัศน์ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย วัตถุประสงค์ของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ - โครงสร้างบริหารงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นอยู่ในโครงสร้าง ส่วนสานักปลัด - แผนพัฒนาตาบล 4 ปี โดยนางานฐานทรัพยากรท้องถิ่นจัดไว้ในแผนพัฒนาตาบล แสดงหน้าปก ชี้ประเด็น งานฐานทรัพยากรท้องถิ่นอยู่ในส่วนใด (แนบแถลงนโยบายโดยนายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) - ผังโครงสร้างการบริหาร การบรรลุงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นลงในผังโครงสร้างบริหาร (2) แผนการดาเนินงานการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น แสดงรายละเอียดงาน ปริมาณงาน ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ ระยะเวลา ระดับป้ายฯ ส่วนที่ 1 ชื่อแผนงาน (แผนงาน /โครงการ) ผู้รับผิดชอบ หลักการและเหตุผลวัตถุประสงค์ เป้าหมาย พื้นที่ดาเนินการ ส่วนที่ 2 แผนการดาเนินงานด้านบริหาร แสดงรายละเอียดงาน ปริมาณงานผู้รับผิดชอบ งบประมาณ และระยะเวลา - ด้านที่ 1 การบริหารและการจัดการ - ด้านที่ 2 การดาเนินงาน งานปกปักทรัพยากรท้องถิ่น งานสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่น งานปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่น 24


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. งานอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรท้องถิ่น งานศูนย์ข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่น งานสนับสนุนในการอนุรักษ์และจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น - ด้านที่ 3 ผลการดาเนินงาน แผนงานด้านการติดตามประเมินผล ส่วนที่ 3 ผลที่คาดว่าจะได้รับ ระดับเกียรติบัตรฯ ส่วนที่ 1 ชื่อแผนงาน (แผนงาน /โครงการ) ผู้รับผิดชอบ หลักการและเหตุผลวัตถุประสงค์ เป้าหมาย พื้นที่ดาเนินการ ส่วนที่ 2 แผนการดาเนินงานด้านบริหาร แสดงรายละเอียดงาน ปริมาณงานผู้รับผิดชอบ งบประมาณ และระยะเวลา - ด้านที่ 1 การบริหารและการจัดการ - ด้านที่ 2 การดาเนินงาน งานปกปักทรัพยากรท้องถิ่น งานสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่น งานปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่น งานอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรท้องถิ่น งานศูนย์ข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่น งานสนับสนุนในการอนุรักษ์และจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น ทรัพยากรท้องถิ่น : การศึกษาพืช ทรัพยากรท้องถิ่น : การศึกษาสัตว์ ทรัพยากรท้องถิ่น : การศึกษาชีวภาพอื่น ๆ ทรัพยากรท้องถิ่น : การศึกษาภูมิปัญญา - ด้านที่ 3 ผลการดาเนินงาน แผนงานด้านการติดตามประเมินผล ส่วนที่ 3 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (3) การจัดทาปฏิทินการปฏิบัติงาน (5 คะแนน) - แสดงปฏิทินให้สอดคล้องกับแผนการดาเนินงาน ซึ่งกาหนดระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดในแต่ละปี โดยแสดง bar chart ให้สอดคล้องกับแผนงานใน 1.3 2) ระดับป้ายฯ - ด้านที่ 1 การบริหารและการจัดการ - ด้านที่ 2 การดาเนินงาน งานปกปักทรัพยากรท้องถิ่น 25

21


22

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. งานสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่น งานปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่น งานอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรท้องถิ่น งานศูนย์ข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่น งานสนับสนุนในการอนุรักษ์และจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น - ด้านที่ 3 ผลการดาเนินงาน แผนงานด้านการติดตามประเมินผล

ระดับเกียรติบัตรฯ - ด้านที่ 1 การบริหารและการจัดการ - ด้านที่ 2 การดาเนินงาน งานปกปักทรัพยากรท้องถิ่น งานสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่น งานปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่น งานอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรท้องถิ่น งานศูนย์ข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่น งานสนับสนุนในการอนุรักษ์และจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น ทรัพยากรท้องถิ่น : การศึกษาพืช ทรัพยากรท้องถิ่น : การศึกษาสัตว์ ทรัพยากรท้องถิ่น : การศึกษาชีวภาพอื่น ๆ ทรัพยากรท้องถิ่น : การศึกษาภูมิปัญญา - ด้านที่ 3 ผลการดาเนินงาน แผนงานด้านการติดตามประเมินผล 1.4 ดาเนินงานตามแผน (1) เอกสารสรุปค่าใช้จ่ายในการดาเนินการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น ลงนาม ชื่อผู้บริหาร หัวหน้างาน - ตารางสรุปการใช้งบประมาณตามแผนการดาเนินงาน ให้สอดคล้องกับข้อ 1.3.1) และหลักฐานการ เบิกจ่ายวัสดุ อุปกรณ์ และค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ในแต่ละปี - เอกสาร ตัวอย่างหลักฐาน การเบิกจ่าย ผู้เบิก และผู้มีอานาจอนุมัติ ในแต่ละปี (2) หนังสือเชิญประชุม การประสานงานทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน (3) หนังสือขอบคุณผู้ร่วมประชุม การประสานงานทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน 1.5 สรุปและประเมินผลการดาเนินงาน - ตารางสรุปและประเมินผล การดาเนินงานตามแผนที่ตั้งไว้ใน 1.3 1) แสดงทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยแสดงเป็นร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ในแต่ละปี 26


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. 1.6 วิเคราะห์ผลและปรับปรุงพัฒนางาน (1) วิเคราะห์ผล และหาข้อสรุป - ตารางวิเคราะห์ผลการดาเนินงาน สรุปปัญหาและอุปสรรคการดาเนินงาน ให้ครอบคลุมทั้ง ด้านที่ 1 การบริหารและการจัดการ ด้านที่ 2 การดาเนินงาน ด้านที่ 3 ผลการดาเนินงาน แผนงานด้านการติดตามประเมินผล และ การศึกษาทรัพยากรท้องถิ่น (2) วางแผน ปรับปรุง และพัฒนาการดาเนินงานในปีต่อไป - ตารางการวางแผนและปรับปรุงพัฒนางาน ในแต่ละปี ให้ครอบคลุมทั้ง ด้านที่ 1 การบริหารและการ จัดการ ด้า นที่ 2 การดาเนินงาน ด้า นที่ 3 ผลการดาเนินงาน แผนงานด้า นการติดตามประเมินผล และการศึ กษา ทรัพยากรท้องถิ่น 1.7 รายงานผลการดาเนินงานให้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ ทราบอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง - หนังสือนาส่งในแต่ละปี - รายงานผลการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ประจาปี จัดทาเป็นรู ปเล่มเอกสาร ประกอบด้วย หน้าปก คานา สารบัญที่แสดงข้อ 1.1-1.6 เนื้อหา สรุป และภาคผนวก โดยแนบเอกสารหลักฐานประกอบ เช่น ตัวอย่าง ใบงานผลงาน 1- 9 ทะเบียนงานปกปักทรัพยากรท้องถิ่น ทะเบียนงานสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่น ภาพถ่ายการ ดาเนินงานทั้ง 6 งานฯลฯ - รายงานผลการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ประจาปี จัดทาเป็น CD/DVD ประกอบด้วยข้อมูลที่ รวบรวมได้ทั้งหมดจากข้อ 1.1 – 1.6

27

23


24

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

5.3 แนวทางสาหรับสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) การดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน สาหรับสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(อปท.) ได้แบ่งการดาเนินงานออกเป็น 4 ระดับ ดังนี้ (1) ระดับป้ายสนองพระราชดาริในงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (1.1) องค์ประกอบของงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนครบ เห็นได้ชัดเจน . (1.2) ผู้บริหาร - รู้เป้าหมาย ... “จิตสานึก” ... แล้วทา - รู้หน้าที่... “สนับสนุนครูผู้ปฏิบัติ” ...แล้วทา (1.3) ครูผู้ปฏิบัติ - ใช้รูปธรรมเป็นสื่อนานามธรรม ไปสู่นามธรรมในเด็ก (1.4) เด็ก - “คลุกคลี” กับพืชพรรณจนเกิดความรู้เบื้องต้น นาผลที่ได้แสดง พร้อมทั้งวิธีการ อันเป็นที่มาแห่งผลนั้น (2) เกียรติบตั รงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ขั้นที่ ๑ เกียรติบัตรแห่งความมุ่งมั่น อนุรักษ์ สรรพสิ่ง สรรพชีวิต ด้วยจิตสานึกของครูและเยาวชน (2.1) งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน - ปริมาณครู เด็ก มีส่วนร่วมในงาน ... เพิ่มขึ้น - ความหลากหลายของงาน... เพิ่มขึ้น (2.2) ผู้บริหาร สนับสนุน ดูว่าจริงใจ จริงจัง (2.3) ครูผู้ปฏิบัติ ไม่เครียด เพียรหมั่นหาวิธีการใหม่ ๆ (2.4) เด็ก - เกิดมี “กรุณาจิต” ต่อสรรพชีวิต สรรพสิ่ง... ไม่คุกคาม ไม่ทาร้าย – ทาลาย - เกิดมี “กรุณาจิต” ต่อสรรพชีวิต สรรพสิ่ง... ช่วยเหลือเกื้อหนุน เห็น ...ทั้งโรงเรียน สะอาด เป็นระเบียบ ... ทุกสรรพสิ่ง สมบูรณ์ตามธรรมชาติ (3) เกียรติบตั รงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ขั้นที่ 2 เกี ย รติ บั ต รแห่ ง การเข้ า สู่ ส ถานภาพ สถานศึ ก ษาอบรมสั่ ง สอนเบ็ ด เสร็ จ บนฐานงานสวน พฤกษศาสตร์โรงเรียน (1) ผู้บริหาร ปกครองโดยธรรม (2) ครูผู้ปฏิบัติ ปฏิบัติงานด้วยความผาสุข กลมเกลียว ประหยัดสุด ประโยชน์สูง (3) เด็ก มีธรรม มีปัญญา... จัดระเบียบของงาน จนเป็นระเบียบของใจ... ความก้าวร้าว...ไม่มี ในหมู่เด็ก ... ชม ... เยี่ยม... สะอาด เป็นระเบียบทุกหนแห่ง (4) เกียรติบตั รงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ขั้นที่ 3 เกียรติบัตรแห่งการเป็นสถานอบรมสั่งสอนเบ็ดเสร็จ บนฐานงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (1) ทุกสรรพสิ่ง ล้วนเป็นปัจจัยแห่งความสว่าง คือ ปัญญา ชี้นา สนทนา รูปธรรมที่ปรากฏ เชื่อมโยงสู่ชีวิตแห่งตนและสังคม (2) ผู้บริหาร ครู กลมกลืนในงาน บนฐานของจิตที่มีความเห็นชอบ (3) เด็ก เกื้อกูลซึ่งกันและกัน โรงเรียน ปราศจากความหิว ปราศจากอบาย ปราศจากความคับ แค้น


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. การสนองพระราชดาริของสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในงานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน มี การบริหารและการจัดการ ดังนี้ 1.1 โรงเรียน และชุมชนมีสว่ นร่วม ในงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 1) รายงานการประชุม - วาระการประชุมเรื่องเกี่ยวกับงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน - ตารางสรุปจานวนครั้งในการประชุมในแต่ละปี ของกรรมการชุดต่าง ๆ ตั้งแต่ 4 คณะขึ้นไป ตัวอย่างเช่น 1. คณะกรรมการสถานศึกษา 2. คณะผู้ปกครอง 3. คณะผู้บริหารและครู 4. คณะกรรมดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน - รายชื่อ ลายมือชื่อ คณะกรรมการสถานศึกษา และ/หรือคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และ/หรือ กรรมการสภามหาวิทยาลัย หรือคณะกรรมการอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 2) หลักฐานที่แสดงถึงการมีส่วนร่วม - บั น ทึ ก การประชุ ม แสดงวั น เวลา สถานที่ และผู้ จ ดบั น ทึ ก พร้ อ มเนื้ อ หาที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ งานสวน พฤกษศาสตร์โรงเรียน เช่น การดาเนินงานตาม องค์ประกอบ สาระการเรียนรู้ การบูรณาการไปยังกลุ่มสาระต่าง ๆ เป็นต้น ในแต่ละคณะ - ภาพถ่ายที่สอดคล้องกับการประชุมแต่ละคณะ โดยใต้ภาพระบุเรื่อง วัน เดือน ปี สถานที่ ในการประชุมในแต่ละปี 1.2 แต่งตัง้ คณะกรรมการดาเนินงาน งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 1) คาสั่งแต่งตั้งในแต่ละปี ต้องระบุหน้าที่ของคณะกรรมการดาเนินงานให้ชดั เจน แสดงคาสั่งคณะกรรมการ 4 ด้าน - ด้านที่ 1 การบริหารและการจัดการ เน้นผู้บริหารเป็นประธาน รองผู้บริหารฝ่ายต่าง ๆ เป็นรองประธาน และหัวหน้ากลุ่มสาระต่าง ๆ รวมทั้งฝ่ายการเงิน เป็นคณะกรรมการ - ด้านที่ 2 การดาเนินงาน รองฝ่ายวิชาการเป็นประธาน หัวหน้ากลุ่มสาระวิทยาศาสตร์เป็นรองประธาน หัวหน้ากลุ่มสาระอื่น ๆ เป็นคณะกรรมการ (5 องค์ประกอบ พืชศึกษา 3 สาระ) - ด้านที่ 3 ผลการดาเนินงาน เน้นฝ่ายวัดประเมินผลเป็นประธาน ฝ่ายธุรการ ฝ่ายอาคารสถานที่ ฯลฯ เป็นคณะกรรมการ - ด้านที่ 4 ความถูกต้องทางวิชาการ เน้นหัวกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์เป็นประธาน หัวหน้ากลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยีเป็นรองประธาน และครูผู้สอนกลุ่มสาระอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นคณะกรรมการ หมายเหตุ : • ระบุหน้าที่ของคณะกรรมการดาเนินงานแต่ละด้านให้ชัดเจน • ในกรณีที่ทางโรงเรียนมีจานวนบุคลากรน้อยสามารถตั้งคณะกรรมการซ้าในแต่ละด้าน

29

25


26

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

2) คณะกรรมการการดาเนินงาน 5 องค์ประกอบงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน - หลักฐาน คาสั่งการแต่งตั้งคณะกรรมการ ในแต่ละลาดับการเรียนรู้ของแต่ละองค์ประกอบ ให้สอดคล้องกับ จานวนเด็ก และปริมาณงาน การนาเสนอ ชื่อหัวหน้าแต่ละคณะ จานวนคณะกรรมการในแต่ละปี - ระบุหน้าที่ของคณะกรรมการดาเนินงานให้ชัดเจนแต่ละองค์ประกอบ และแต่ละลาดับการเรียนรู้ในแต่ละปี 3) คณะกรรมการพืชศึกษา สาระธรรมชาติแห่งชีวิต สาระสรรพสิ่งล้วนพันเกี่ยว สาระประโยชน์แท้แก่มหาชน ระดับป้ายฯ คาสั่งแต่งตั้ง พืชศึกษา - คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการโครงสร้างแต่ละส่วนของพืช (ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด) - คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเรียนรู้นิเวศวิทยา - คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการการขยายพันธุ์ การดูแลรักษา และการเจริญเติบโต - คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการการนาไปใช้ประโยชน์ โดยแสดงคาสั่งและหน้าที่ให้แสดงชื่อประธาน รองประธาน และกรรมการที่สอดคล้องกับปริมาณงาน ปริมาณนักเรียนในแต่ละปี ระดับเกียรติบัตรขั้นที่ 1 2 และ 3 (เพิ่มคาสั่ง 3 สาระ) คาสั่งแต่งตั้ง สาระธรรมชาติแห่งชีวิต สรรพสิ่งล้วนพันเกี่ยว ประโยชน์แท้แก่มหาชน - หลักฐาน แต่ละปีการแต่งตั้ง คณะกรรมการ ในแต่ละลาดับการเรียนรู้ของแต่ละสาระการเรียนรู้ จานวนคณะกรรมการแต่ละลาดับการเรียนรู้ของแต่ละสาระการเรียนรู้ สอดคล้องกับจานวนเด็ก และปริมาณงาน ให้แสดงชื่อประธานรองประธาน และคณะกรรมการ - ระบุหน้าที่ของคณะกรรมการดาเนินงานให้ชัดเจนในแต่ละลาดับการเรียนรูใ้ นแต่ละปี 1.3 วางแผนการบริหารและแผนการจัดการเรียนรู้ 1) แผนการดาเนินงานด้านการบริหาร โดยเขียนแผนงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนรวมกับแผนงาน ประจาปีของโรงเรียน แสดงรายละเอียดงาน ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ - แผนภูมิ โครงสร้างบริหารของโรงเรียนแต่ละปี โดยระบุงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนอยู่ในความ รับผิดชอบของฝ่ายวิชาการ - แผนงานประจาปีของโรงเรียน - ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องหลักสูตรแกนกลางกับงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน - ผังมโนทัศน์ (Mind mapping) ของการจัดการเรียนรู้ บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ในทุกระดับชั้นและทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดย • โรงเรียนรับป้ายฯ แสดงการบูรณาการ 5 องค์ประกอบ และพืชศึกษาโรงเรียน ขั้นที่ 1 รับป้ายฯ - การเขียนแผนงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ซึ่งประกอบไปด้วย ส่วนที่ 1 ชื่อแผนงาน ผู้รับผิดชอบ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย พื้นที่ดาเนินการ ส่วนที่ 2 ตารางแสดงรายละเอียดงาน ปริมาณงาน ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ และระยะเวลาที่จะทา ที่แสดงแผนการดาเนินงานด้านบริหาร แผนการดาเนินงาน 5 องค์ประกอบ พืชศึกษา (ป้ายฯ) 3 สาระ (เกียรติบัตรขั้นที่ 1, 2, 3) แผนงานด้านการติดตามประเมินผล และแผนงาน ด้านที่ 4 ส่วนที่ 3 ประโยชน์ที่ได้รับ อื่น ๆ ฯลฯ


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. 2) การจัดทาปฏิทินการปฏิบัติงาน - ปฏิทินแผนการดาเนินงานด้านบริหาร แผนการดาเนินงาน 5 องค์ประกอบ พืชศึกษา (ป้ายฯ) 3 สาระ (เกียรติบัตรขั้นที่ 1, 2, 3) แผนงานด้านการติดตามประเมินผล และแผนงานด้านที่ 4 กาหนดระยะเวลาเริ่มต้นถึงสิ้นสุด ในแต่ละปี โดยขีด bar chart ให้สอดคล้องกับแผนงานใน 1.3 1) 3) แผนการจัดการเรียนรู้ โดยเขียนแผนบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน แสดงให้เห็นวิธีการจัดการ เรียนรู้อย่างชัดเจนในทุกระดับชั้นและทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง - วิธีการจัดการเรียนรู้อย่างชัดเจน เช่น จัดทาหลักสูตร การบูรณาการ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชุมนุม ฯลฯ ในแต่ละปี - ผังมโนทัศน์ (Mind mapping) บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนในทุกระดับชั้นและทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้ ตามวิธีการจัดการเรียนรู้ในแต่ละปี เช่น วิธีการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ - ระดับป้ายฯ แสดง mind mapping 5 องค์ประกอบ กับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และพืชศึกษากับ 8 กลุ่ม สาระ (รูปแบบที่ 1 แสดง 5 องค์ประกอบ บูรณาการกับ 8 กลุ่มสาระ รูปแบบที่ 2 แสดง 8 กลุ่มสาระบูรณาการกับ 5 องค์ประกอบ) - ระดับเกียรติบัตร 1,2,3, เพิ่ม mind mapping สาระธรรมชาติแห่งชีวิต สรรพสิ่งล้วนพันเกี่ยว ประโยชน์แท้ แก่มหาชน 1.4 ดาเนินงานตามแผน การประสานงานของคณะกรรมการดาเนินงาน งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน หน่วยงานต่าง ๆ 1) เอกสารสรุปค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ลงนามชื่อผู้บริหาร หัวหน้างาน - ตารางงบประมาณตามแผนที่ตั้งไว้และค่าใช้จ่าย ข้อ 1.3 1) โรงเรียนรับป้ายฯ แสดงหลักฐานประกอบด้วย แผนการดาเนินงานด้านบริหาร แผนการดาเนินงาน 5 องค์ประกอบ พืชศึกษา แผนงานด้านการติดตามประเมินผล และแผนงานด้านที่ 4 โรงเรียนรับเกียรติบัตรขั้นที่ 1, 2, 3 แสดงหลักฐานประกอบด้วย แผนการดาเนินงานด้านบริหาร แผนการ ดาเนินงาน 5 องค์ประกอบ พืชศึกษา 3 สาระ แผนงานด้านการติดตามประเมินผล และแผนงานด้านที่ 4 ในแต่ละปี - เอกสาร ตัวอย่างหลักฐาน การเบิกจ่าย ผู้เบิก และผู้มีอานาจอนุมัติ ในแต่ละปี 1.5 สรุปและประเมินผลการดาเนินงาน 1) ผลการดาเนินงาน 5 องค์ประกอบงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน - สรุปผลการดาเนินงานใน 5 องค์ประกอบ แต่ละลาดับการเรียนรู้ ในแต่ละปี - ประเมินผลการดาเนินงาน จานวนที่ดาเนินการได้แล้วมีช่องประเมินเปรียบเทียบกับที่วางแผนไว้เท่าไร ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ สรุปว่าทาได้กี่เปอร์เซ็นต์ในแต่ละปี - ตารางสรุปและประเมินผล การดาเนินงานด้านการบริหาร ที่แสดงทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยแสดงเป็นร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ในแต่ละปี - ตารางสรุปและประเมินผล การดาเนินงาน 5 องค์ประกอบ ที่แสดงทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยแสดงเป็นร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ในแต่ละปี 31

27


28

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

2) ผลการดาเนินงานพืชศึกษา สาระการเรียนรู้ สาระธรรมชาติแห่งชีวิต สาระสรรพสิ่งล้วนพันเกี่ยว สารประโยชน์แท้แก่มหาชน โรงเรียนรับป้ายฯ - ตารางสรุปและประเมินผล การดาเนินงานพืชศึกษา ตามแผนที่ตั้งไว้ในข้อ 1.3 1) แสดงทั้งเชิงปริมาณ และคุณภาพ โดยแสดงเป็นร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ในแต่ละปี โรงเรียนรับเกียรติบัตรขั้นที่ 1, 2, 3 - ตารางสรุปและประเมินผล การดาเนินงานพืชศึกษา 3 สาระ ตามแผนที่ตั้งไว้ใน ข้อ 1.3 1) แสดงทั้งเชิง ปริมาณและคุณภาพ โดยแสดงเป็นร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ในแต่ละปี - ตารางสรุปและประเมินผล แผนงานด้านการติดตามประเมินผล และแผนงานด้านที่ 4 1.6 วิเคราะห์ผลและปรับปรุงพัฒนางาน 1) วิเคราะห์ผล และหาข้อสรุป โรงเรียนรับป้ายฯ - ตารางวิเคราะห์ และสรุปปัญหาอุปสรรค การดาเนินงานด้านการบริหาร การดาเนินงาน 5 องค์ประกอบ พืช ศึกษา แผนงานด้านการติดตามประเมินผล และแผนงานด้านที่ 4 โรงเรียนรับเกียรติบัตรขั้นที่ 1, 2, 3 - ตารางวิเคราะห์ และสรุปปัญหาอุปสรรค การดาเนินงานด้านการบริหาร การดาเนินงาน 5 องค์ประกอบ พืชศึกษา 3 สาระ แผนงานด้านการติดตามประเมินผล และแผนงานด้านที่ 4 ด้านการบริหารและการจัดการในแต่ละปี ให้ครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน พืชศึกษาและ 3 สาระ - ตารางวิเคราะห์ และสรุปปัญหาอุปสรรคด้านการดาเนินงานในแต่ละปีให้ครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน พืชศึกษา และ 3 สาระ 2) วางแผน ปรับปรุง และพัฒนาการดาเนินงานในปีต่อไป นาปัญหาและข้อสรุป จาก 1.6 (1) นามาวางแผน และพัฒนางานในปีต่อไป - ตารางการวางแผนและปรับปรุงพัฒนางานด้านการบริหารและการจัดการในแต่ละปีให้ครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน พืชศึกษาและ 3 สาระ - ตารางการวางแผนและปรับปรุงพัฒนางานด้านการดาเนินงานในแต่ละปีให้ครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน พืชศึกษา และ 3 สาระ โรงเรียนรับป้ายฯ - ตารางการวางแผน และปรับปรุงพัฒนางานการดาเนินงานด้านการบริหาร การดาเนินงาน 5 องค์ประกอบ พืชศึกษา แผนงานด้านการติดตามประเมินผล และแผนงานด้านที่ 4 โรงเรียนรับเกียรติบัตรขั้นที่ 1, 2, 3 - ตารางการวางแผน และปรับปรุงพัฒนางานการดาเนินงานด้านการบริหาร การดาเนินงาน 5 องค์ประกอบ พืชศึกษา 3 สาระ แผนงานด้านการติดตามประเมินผล และแผนงานด้านที่ 4 32


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. 1.7 รายงานผลการดาเนินงานให้โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชฯ ทราบ อย่างน้อยปีการศึกษาละ 1 ครั้ง - แสดงหนังสือนาส่งในแต่ละปี - รายงานผลการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ประจาปี จัดทาเป็นรูปเล่มเอกสาร ประกอบด้วย หน้าปก คานา สารบัญที่แสดงข้อ 1.1-1.6 เนื้อหา สรุป และภาคผนวก โดยแนบเอกสารหลักฐานประกอบ เช่น ตัวอย่าง ใบงาน, ตัวอย่างเอกสาร ก.7-003, เล่มทะเบียนพรรณไม้ (ก.7-005), ตัวอย่างชิ้นงานในแต่ละกลุ่มสาระฯลฯ - รายงานผลการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ประจาปี จัดทาเป็น CD/DVD ประกอบด้วย ข้อมูลที่รวบรวมได้ทั้งหมดจากข้อ 1.1 – 1.6

33

29


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

30

6. ตั ว ชี้ วั ด เป้ า หมายของโครงการอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพื ช อั น เนื่ อ งมาจาก พระราชดาริฯ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อพ.สธ.-สถ.)

1

ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการเข้าร่วม สนองพระราชดาริ ภายในปี พ.ศ. 2562

จังหวัดซักซ้อมแนวทางการดาเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ ตามคู่ มื อ การด าเนิ น งานฐานทรั พ ยากรท้ อ งถิ่ น ตามโครงการอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพื ช อันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ กรมส่ง เสริมการปกครองท้องถิ่น (อพ.สธ.-สถ.) ประจาปี พ.ศ. 2562 จัง หวัด มีก ารประชุม คณะท างานขับเคลื่อ นและสนับสนุนการดาเนินงานโครงการอนุรั ก ษ์ พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ จังหวัด...

อาเภอจัดตั้งคณะทางานขับเคลื่อนและสนับสนุนการดาเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ อาเภอ.... และมีการประชุมดาเนินกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนในพื้นที่

องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น มี ก ารประชุ ม เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นการเข้ า ร่ ว มสนองพระราชด าริ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น รณรงค์ แ ละประชาสั ม พั น ธ์ สร้ า งการรั บ รู้ แ ก่ ชุ ม ชน วั ด และโรงเรี ยน ให้ เ ห็ น ถึ ง ความส าคั ญในการจั ดท าฐานข้อ มูล ทรั พยากรท้อ งถิ่ น ทั้ง ทางด้ า น กายภาพ ชีวภาพ วัฒนธรรมและภูมิปัญญา

องค์กรปกครองส่วนท้อ งถิ่นสมัค รเข้า ร่วมสนองพระราชดาริ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

2

ด้านการดาเนินงานเพือ่ นาไปสูเ่ ป้าหมาย การปฏิบัติ ภายในปี พ.ศ. 2563

องค์ ก รปกครองส่ว นท้ อ งถิ่ น จั ด ตั้ ง ศู น ย์ โ ครงการอนุรั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพืช อั น เนื่ อ งมาจาก พระราชดาริฯ องค์ก รปกครองส่วนท้อ งถิ่นจัดทาแผนปฏิบัติง าน/แผนงบประมาณขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น

องค์ก รปกครองส่ว นท้อ งถิ่น จัดตั้ง คณะกรรมการดาเนินโครงการอนุรั กษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

องค์ก รปกครองส่วนท้อ งถิ่นจัดประชุมคณะกรรมการดาเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดาเนินกิจกรรมงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ดังนี้ 1) การปกปักทรัพยากรท้องถิ่น 2) การสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่น 3) การปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่น 4) การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรท้องถิ่น 5) ศูนย์ข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่น 6) สนับสนุนในการอนุรักษ์และจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิน่

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทาฐานข้อมูลและป้ายพรรณไม้ท้องถิ่น และภาพ QR code จาก URL ของลิงค์ข้อมูลพรรณไม้แต่ละชนิด และแสดงพิกัดหรือแหล่งที่พบพรรณไม้

อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น / อ า เ ภ อ / จั ง ห วั ด ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด า เ นิ น ง า น ให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นทราบทุกวันที่ 30 ของทุกเดือน

31


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

32

3

ด้า นการขยายผลการด าเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ผ่านการ ประเมินผลการดาเนินงานโดยได้รับพระราชทานป้ายสนองพระราชดาริ และ เกียรติบัตรฯ ภายในปี พ.ศ. 2563

กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น /จั ง หวั ด /อ าเภอ/องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประชาสั ม พั น ธ์ แ ละเผยแพร่ ค วามรู้ ก ารด าเนิ น งานโครงการอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพื ช อันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ

จัง หวัด /อ าเภอพัฒนายกระดับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ผ่านการประเมินผลการ ดาเนินงานโดยได้รับพระราชทานป้ายสนองพระราชดาริ และเกียรติบัตรฯ ให้เป็นศูนย์เรียนรู้ แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นและผู้ที่สนใจเรียนรู้

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ โดยสถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น บรรจุวิชาเกี่ยวกับการ ดาเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ ไว้ในหลักสูตรการอบรม ต่าง ๆ ของสถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

7. กระบวนการดาเนินงานตามตัวชี้วัด

33


34

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการเข้าร่วมสนองพระราชดาริ ภายในปี พ.ศ. 2562

7.1

1 จัดประชุมชี้แจงเพื่อสร้างความเข้าใจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่งสมัครเข้า

บทบาทของจังหวัด

ร่วมสนองพระราชดาริ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ โดยถือ ปฏิ บั ติ ต ามแนวทางคู่ มื อ การด าเนิ น งานฐานทรั พ ยากรท้ อ งถิ่ น ตามโครงการอนุ รั ก ษ์ พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อพ.สธ.-สถ.) ประจาปี พ.ศ. 2562

2 จัดประชุมคณะกรรมการดาเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก

พระราชดาริฯ จังหวัด ปีละ 2 ครั้ง เพื่อวางแนวทางการดาเนินงานสนองพระราชดาริตาม แผนแม่บทหรือแนวทาง การดาเนินงานตามกรอบการดาเนินงานของแผนแม่บท อพ.สธ. และ ดาเนินงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนการร่างและจัดทาแผนแม่บทของจังหวัด และแผน ปฏิบัติงานรายปีให้สอดคล้องกับแผนแม่บทของ อพ.สธ. กากับ ติดตาม และเร่ งรัดการ ดาเนินงานให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติงานรายปี อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับแผน แม่บทของ อพ.สธ. และจัดทารายงานความก้าวหน้าของ การดาเนินงานทุก 6 เดือน และ รายงานประจาปี รายละเอียดตามภาคผนวก ก.

3 จัดตั้งคณะทางานขับเคลื่อนและสนับสนุนการดาเนินงานฯ โดยมีนายอาเภอ เป็นประธาน บทบาทของอาเภอ

หัวหน้าส่วนราชการระดับอาเภอ เป็นคณะทางาน และท้องถิ่นอาเภอ เป็นคณะทางานและ เลขานุการ ฯลฯ และจัดประชุมเพื่อขับเคลื่อนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่งในพื้นที่ สมัครเข้าร่วมสนองพระราชดาริฯ และสนับสนุนการดาเนินงานตามกรอบแนวทางการสนอง พระราชดาริให้เกิดผลเป็นรูปธรรมในพื้นที่อาเภอ รายละเอียดตามภาคผนวก ข.

คณะทางานขับเคลือ่ นและสนับสนุน การดาเนินงานโครงการ อพ.สธ.-อาเภอ

หัวหน้าส่วนราชการระดับอาเภอ คณะทางาน

นายอาเภอ ประธานคณะทางาน

หัวหน้าส่วนราชการระดับอาเภอ คณะทางาน

ท้องถิ่นอาเภอ สานักงานการปกครองท้องถิ่นอาเภอ คณะทางานและเลขานุการ

35


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

36 อานาจหน้าที่

1

วางแนวทาง/กาหนดแผนการสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้าร่วมสนองพระราชดาริ โดยสมัครเข้าร่วมโครงการฯ และสนับสนุนการดาเนินกิจกรรม ตามแผนแม่บท อพ.สธ. และกาหนด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนาร่องและขยายผลการดาเนินงานในอาเภอ

2

วางแนวทางการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น นาไปสู่การจัดตั้งศูนย์อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากร ตาบล และการขับเคลื่อนการดาเนินงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

3

กากับ ติดตาม และเร่งรัดการดาเนินงานให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติงานรายปีอย่างมีประสิทธิภาพและ สอดคล้องกับแผนแม่บทของ อพ.สธ.

4 จัดประชุมเพื่อขับเคลื่อนการเข้าร่วมสนองพระราชดาริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช

บทบาทขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่

อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ฯ โดยมีองค์ประกอบการประชุม ดังนี้ นายกองค์กรปกครอง ส่ว นท้ อ งถิ่ น สมาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น เจ้ า หน้ า ที่ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่น ผู้ น าศาสนา ผู้บริหารศึกษา กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นาชุมชน กลุ่มอนุรักษ์ จิตอาสา ปราชญ์ชาวบ้าน และ ผู้แทนชุมชน ฯลฯ รายละเอียดตามภาคผนวก ค.

แนวทางการจัดประชุมผูเ้ กีย่ วข้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ 1. ก าหนดระเบีย บวาระการประชุม เรื่ อ ง การสมัค รสมาชิกฐานทรั พยากรท้อ งถิ่น องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น กาหนดวาระการประชุม และเชิญประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา เพื่อรับทราบและพิจารณา เรื่องการสมัคร สมาชิก ฐานทรัพยากรท้อ งถิ่น โดยประธานในที่ประชุมนาเสนอเพื่อรั บทราบและพิจ ารณา ตามตัวอย่า งวาระ การประชุม (ตัวอย่าง) วาระการประชุม ระเบียบวาระที่ 1 : ประธานแจ้งเพื่อทราบ 1.1 ที่มาและความสาคัญในการสนองพระราชดาริฯ 1.2 พระราชดาริฯ บางประการ 1.3 สรุปแนวทางการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ระเบียบวาระที่ 2 : เรื่องเพื่อพิจารณา 2.1 ขั้นตอนการสมัครเป็นสมาชิก 2.2 การจัดเอกสารประกอบการสมัคร 2.3 มติที่ประชุม (เห็นชอบ/พร้อมดาเนินการ) ระเบียบวาระที่ 3 : เรื่องอื่น ๆ


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. 2. รายงานการประชุม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แสดงองค์ประกอบของรายงานการประชุม ดังนี้ 2.1 ผู้เข้าร่วมการประชุม ดังนี้ - ฝ่ายบริหาร ได้แก่ นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รองนายกฯ ปลัดฯ ผู้อานวยการสานัก /กอง หัวหน้าฝ่าย และเจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - ฝ่ายนิติบัญญัติ ได้แก่ ประธานสภาฯ รองประธานสภาฯ เลขาประธานสภา และสมาชิกสภา - ผู้นาท้องถิ่น ได้แก่ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นาชุมชน ผู้นาศาสนา ผู้บริหารสถานศึกษา ปราชญ์ชาวบ้าน กลุ่มอนุรักษ์ และตัวแทนชุมชน 2.2 บันทึกการประชุม 2.3 มติที่ประชุม เห็นชอบและพร้อมดาเนินการสมัครสมาชิกฐานทรัพยากรท้องถิ่น (มติเห็นชอบเป็นเอกฉันท์) 2.4 หลักฐานรายชื่อลายมือชื่อผู้เข้าร่วมการประชุม และลงนามรับรองสาเนาถูกต้อง

5 รณรงค์ แ ละประชาสั ม พั น ธ์ สร้ า งการรั บ รู้ แ ก่ ชุ ม ชน วั ด และโรงเรี ย น ให้ เ ห็ น ถึ ง

บทบาทขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่

ความส าคั ญ ในการจั ด ท าฐานข้ อ มู ล ทรั พ ยากรท้ อ งถิ่ น ทั้ ง ทางด้ า นกายภาพ ชี ว ภาพ วัฒนธรรมและภูมิปัญญา เพื่อที่จะรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรท้องถิ่นให้เป็นมรดกของชาติ ไทยสืบไป และให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนาร่องด้วยการสารวจทรัพยากรทางชีวภาพ บริเวณรอบสานักงาน สองข้างทางถนน ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ เช่น ต้นไม้ พันธุ์พืช แล้วจัดทา ฐานข้อมูลและป้ายพรรณไม้ท้องถิ่น และภาพ QR code จาก URL ของลิงค์ข้อมูลพรรณไม้ แต่ละชนิด และแสดงพิกัดหรือแหล่งที่พบพรรณไม้ คู่มือการสร้าง QR CODE 3

1

Upload ไฟล์เอกสารที่ต้องการ ลงเว็บไซต์เพื่อให้ได้ที่อยู่ URL

5

6

Copy ลิงค์ URL ที่สร้างไว้ และทาการวางลิงค์ไฟล์ เอกสารที่ต้องการ

กด SAVE และ Website

7

สร้าง QR CODE โดย สามารถสร้างบนเว็บไซต์ที่ อนุญาตให้สร้างฟรี (ค้นหาได้จาก Google)

2

เตรียมไฟล์เอกสารทีต่ ้องการ เผยแพร่ทาการฝากขึ้น บนเว็บไซต์

4 ดาวน์โหลดแอพพลิเคชั่น QR Reader ได้ทั้งระบบ ios และ Android

8 กดเลือก และ Share image

เลือกไฟล์รูป PNG + กด บันทึกรูปภาพหรือเลือกแชร์ ทาง LINE กรณีทแี่ ชร์ QR CODE ทาง LINE ให้พิมพ์ชื่อเรื่อง แล้วเลือกผูร้ บั ทีต่ อ้ งการส่งออก

9 นา QR CODE ทีส่ ร้างไว้ นาไปเผยแพร่

37


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

38

แนวทางการจัดทาฐานข้อมูลและป้ายพรรณไม้ทอ้ งถิน่ ชื่อสามัญของพรรณไม้ ชื่อวิทยาศาสตร์

จัดทาป้าย และ องค์ประกอบของป้าย QR Code แสดง ตาแหน่งที่พบ

จัดทา ฐานข้อมูล พรรณไม้

QR Code แสดง ข้อมูลพรรณไม้

• ใช้ฐานข้อมูลพรรณไม้จากฐานข้อมูลสารานุกรม วิกีพีเดีย • ปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้องและทันสมัย ตัวอย่างฐานข้อมูล ประดู่บา้ น จากฐานข้อมูลวิกีพเี ดีย ชื่อไทย ประดู่บ้าน (Angsana) ชื่อท้องถิน่ ดู่บ้าน (ภาคเหนือ) ประดู่กิ่งอ่อน ประดู่ลาย (ภาคกลาง) ประดู่เหลือง ประดู่อังสนา ชื่อวิทยาศาสตร์ Pterocarpus indicus Willd. วงศ์ FABACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ การใช้ประโยชน์

จัดทา QR code แสดงฐานข้อมูล พรรณไม้

• เข้า https://www.qr-code-generator.com/ • กรอก URL • Download QR Code ที่ได้

การใช้งาน

ใช้ Line App เพื่อ Scan QR Code


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

6 สมั ค รเข้ า ร่ ว มสนองพระราชด าริ โครงการอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพื ช อั น เนื่ อ งมาจาก

บทบาทขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่

พระราชดาริฯ งานฐานทรัพยากรท้องถิ่น หมายถึง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเตรียม เอกสารประกอบการสมัครตามแบบฟอร์มและรายละเอียดที่กาหนดส่งผ่านไปยังสานักงาน ท้อ งถิ่นอ าเภอ เพื่อ ตรวจสอบเอกสารให้ค รบถ้วนส่ง ให้ สานักงานส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่นจังหวัด โดยรวบรวมเอกสารการสมัครนาเรียนผู้ว่าราชการจังหวัดในฐานะประธานฯ (ผ่านหัวหน้าสานักงานจังหวัดในฐานะเลขานุการฯ) และพิจารณาลงนามประสานส่งชุด เอกสารการสมั ค รขององค์ ก รปกครอง ส่ ว นท้ อ งถิ่ น (ทั้ ง หมดในแต่ ล ะวงรอบ) ไปยั ง ผู้อานวยการโครงการ อพ.สธ. แล้วโครงการ อพ.สธ. พิจารณาผลการสมัครและแจ้งเลข สมาชิกของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกลับไปยังผู้ว่าราชการจังหวัด จากนั้นให้สานักงาน ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดสรุปผลรายงานให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น รายละเอียดตามภาคผนวก ง.

ขั้นตอนการสมัครสมาชิก 1. จัดเอกสารประกอบการสมัคร เอกสารหมายเลข 1 หนังสือราชการขอสมัครเป็นสมาชิก “ฐานทรัพยากรท้องถิ่น” เอกสารหมายเลข 2 แบบสอบถามข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อประเมินความพร้อมขององค์กร เอกสารหมายเลข 3 แผนที่แสดงขอบเขต ภูมิศาสตร์ และมาตราส่วน เอกสารหมายเลข 4 รายงานการประชุมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2. อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น จั ด ส่ ง ใ บ ส มั ค ร ส ม า ชิ ก “ ฐ า น ท รั พ ย า ก ร ท้ อ ง ถิ่ น ” ผ่านสานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอาเภอ ไปยังสานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด แล้วจังหวัด ตรวจสอบเอกสารเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดลงนามถึงรองผู้อานวยการโครงการ อพ.สธ. สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โครงการอนุ รั กษ์ พั นธุ ก รรมพื ชอั นเนื่ อ งมาจากพระราชด าริ ฯ พระราชวั ง ดุ สิ ต สวนจิ ตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2280-8710, 0-2281-7999, 0-2281-8422 ต่อ2219, 2220-22 มือถือ 081-6277601, 081-9078050 โทรสาร 0-2280-8710, 0-2281-7999, 0-2281-8422 ต่อ2221 สามารถดาวน์โหลดเอกสารสมัครสมาชิก ได้ที่ Website http://www.rspg.or.th/domestic/files/pdf/8_014.pdf

39


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

40

ขั้นตอนการประสานงานจัดส่งชุดใบสมัครและเอกสารประกอบการสมัครสมาชิก ฐานทรัพยากรท้องถิ่น (อปท.) ผ่านจังหวัดถึง อพ.สธ.

ใบสมัคร & เอกสารประกอบการสมัคร สมาชิกฐานทรัพยากรท้องถิ่น (อปท.)

ที่ประชุมคณะทางาน อพ.สธ.- จังหวัด คณะทางานกรอบการสร้างจิตสานึก (4.1)

เอกสารครบถ้วนถูกต้อง

ท้องถิ่นจังหวัดรวบรวมผ่าน หัวหน้าสานักงานจังหวัด เสนอ ผวจ. พิจารณาลงนามหนังสือ นาส่ง ผอ. อพ.สธ.

เอกสารไม่ครบถ้วน/ไม่ถูกต้อง อปท.แก้ไขและส่งใหม่ภายใน 1 สัปดาห์

อพ.สธ.

พิจารณาตรวจสอบความครบถ้วนและ ความถูกต้องของเอกสาร 1

หนังสือราชการขอสมัครเป็นสมาชิก (เรียน ผอ. อพ.สธ.)

2

แบบสอบถามข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

3

แผนที่ประกอบการเดินทาง

4

แผนที่แสดงขอบเขต ภูมิศาสตร์ และมาตราส่วน

5

รายงานการประชุมของ อปท.

ขั้นตอนการพิจารณาชุดใบสมัครและเอกสารประกอบการสมัครสมาชิกฐาน ทรัพยากรท้องถิ่น (อปท.) และประสานงานแจ้งผลการสมัครถึงจังหวัด อพ.สธ. รับชุดใบสมัครและเอกสารประกอบการสมัคร สมาชิกฐานทรัพยากรท้องถิน่ (อปท.) จากจังหวัด เจ้าหน้าที่ อพ.สธ. กรอบการสร้างจิตสานึกตรวจสอบเอกสาร พิจารณาตรวจสอบความครบถ้วนและความถูกต้องของเอกสาร เอกสารไม่ครบถ้วน/ ไม่ถูกต้องแจ้งกลับให้แก้ไข

เอกสารครบถ้วนถูกต้อง ออกเลขสมาชิก จังหวัด

เสนอ ผอ. อพ.สธ. พิจารณาลงนามหนังสือประสานจังหวัด - ผวจ. รายงานผลการสมัครให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นทราบ

สานักงานส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่นจังหวัด


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

ขั้นตอนการสมัครสมาชิกฐานทรัพยากรท้องถิน่ และสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ผ่านการดาเนินงานโดยจังหวัด

สมาชิกงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น

แจ้งท้องถิ่นจังหวัด แจ้ง อปท.

อปท.

สมาชิกงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โรงเรียน

แจ้งศึกษาธิการจังหวัด ศึกษานิเทศก์ ผอ. สานักงานเขตพืน้ ที่ การศึกษาจังหวัด

ทาใบสมัครและเอกสารการสมัคร (เรียน ผอ. อพ.สธ.)

1

คณะทางาน 4.1-4.2 รวบรวม ตรวจสอบความถูกต้อง

จังหวัด

2 ผู้ว่าราชการจังหวัดลงนาม

กรอบการสร้างจิตสานึก

แจ้งผลการสมัครไปยัง ผู้ว่าราชการจังหวัด

อพ.สธ.

41


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

42

7.2

ด้านการดาเนินงานเพื่อนาไปสู่เป้าหมายการปฏิบัติ ภายในปี พ.ศ. 2563 ขั้นตอนการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น

1 จัด ตั้ง ศูน ย์ โ ครงการอนุ รักษ์พั นธุก รรมพืช อั นเนื่ องมาจากพระราชดาริ ฯ องค์ก ร บทบาทขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่

ปกครองส่วนท้องถิ่น หมายถึง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเมื่อได้รับแจ้งตอบรับให้เข้าร่วมสนอง พระราชดาริฯ และได้เลขสมาชิกแล้ว ให้ดาเนินการจัดทาป้ายศูนย์โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ อบจ./เทศบาล/อบต.

ตัวอย่างป้ายศูนย์โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 120 cm.

ศูนย์โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

80 cm.

สนองพระราชดาริโดย อบจ./เทศบาล/อบต. ...................... ตาบล............ อาเภอ .................. จังหวัด ............


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

2 จัดทาแผนปฏิบตั งิ าน/แผนงบประมาณโดยการตั้งงบประมาณรายจ่ายจากเงินรายได้และ บทบาทขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่

เงินอุ ดหนุนทั่วไป ให้ กระทาตามที่กฎหมาย ระเบียบ กฏกระทรวง ข้อ บังคับ ค าสั่ง หรื อ หนัง สือ สั่ง การกระทรวงมหาดไทยกาหนด เพื่อ ดาเนินการตามอานาจหน้าที่และภารกิจ ถ่ายโอน รวมทั้งแนวนโยบายของรัฐบาล และกระทรวงมหาดไทย โดยใช้แผนพัฒนาท้องถิ่น เป็นแนวทางในการจัดทางบประมาณ และประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น เพื่อนาแผนพัฒนา ท้องถิ่นไปสู่การปฏิบัติ โดยตั้งงบประมาณรายจ่ายเพื่อแก้ปัญหาความเดือดร้อนและพัฒนา คุณภาพชีวิตของประชาชน รายการการคุ้มครอง ดูแล บารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ฯลฯ เช่น การส่งเสริ ม สนับสนุ นโครงการอนุรั กพันธุกรรมพืชอั นเนื่องมาจาก พระราชดาริฯ

3 จัดตั้งคณะกรรมการดาเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อพ.สธ.-อปท. (ชื่อย่อ) หมายถึง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ โดยมีองค์ประกอบคณะกรรมการ 3 คณะ ประกอบด้วย รายละเอียดตามภาคผนวก จ.

ขั้นตอนการทางานฐานทรัพยากรท้องถิน่ โดย อบต./เทศบาล จัดตั้งคณะกรรมการ/ทางาน จากในอบต./เทศบาล โรงเรียน และหน่วยงานต่าง ๆ

สารวจทรัพยากร 3 ฐาน

นาข้อมูลลงระบบฐานข้อมูล

อบต./เทศบาล

วิเคราะห์และจัดการข้อมูล เพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน

43


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

44

การแต่งตัง้ คณะกรรมการดาเนินงาน ฐานทรัพยากรท้องถิน่ คณะกรรมการด้านที่ 1 การบริหารและการจัดการ องค์ประกอบ โดยมีนายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นประธาน สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารศึกษา กานัน ผู้ใหญ่บ้าน และผู้นาชุมชน เป็นกรรมการ และมีปลัด องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น เป็ น กรรมการและ เลขานุการ ฯลฯ

คณะกรรมการด้านที่ 2 การดาเนินงาน องค์ประกอบ โดยมีคณะทางาน 6 ฝ่าย 1) งานปกปักทรัพยากรท้องถิ่น 2) งานสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่น 3) งานปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่น 4) งานอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรท้องถิ่น 5) งานศูนย์ข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่น 6) งานสนั บ สนุ น ในการอนุ รั ก ษ์ แ ละจั ด ท าฐาน ทรัพยากรท้องถิ่น

คณะกรรมการด้านที่ 3 คณะกรรมการด้านติดตามและ ประเมินผลการดาเนินงาน องค์ประกอบ โดยรองปลัดหรือผู้อานวยการ สานัก / กอง เป็ น ประธาน หั ว หน้ า ฝ่ า ย เป็ น รองประธาน เจ้ า หน้ า ที่ ผู้ แ ทนสถานศึ ก ษา เป็ น กรรมการ และ เจ้าหน้าที่ผู้ได้รับมอบหมาย เป็นเลขานุการ ฯลฯ

อานาจหน้าที่ (1) จัดประชุมคณะกรรมการดาเนินโครงการ อพ.สธ.-อปท. อย่าง น้อยปีละ 2 ครั้ง (2) ก าหนดกรอบแนวทางการด าเนิ นงานของหน่ วยงานให้ สอดคล้ อง กับแผนแม่บท อพ.สธ. (3) ด าเนิ น งานและติ ด ตามงานให้ เ ป็ น ไปตามกรอบแนวทางการ ปฏิบัติงานและสอดคล้องกับแนวทางการดาเนินงานตามแผนแม่บท อพ.สธ. (4) สนับสนุนให้มีการฝึกอบรมและศึกษาด้านพันธุกรรมพืช (5) แต่งตั้งคณะทางานหรืออนุกรรมการเฉพาะกิจเพื่อดาเนินงาน ตามแนวทางการดาเนินงาน อพ.สธ.

อานาจหน้าที่ จัดทาขอบเขตพื้นที่ปกปักทรัพยากร จัดเก็บข้อมูลทางกายภาพพืช สัตว์ ข้อมูลพื้นฐานในท้องถิ่น ข้อมูลการประกอบอาชีพ ข้อมูลประวัติหมู่บ้าน วิถีชุมชน การเก็บรักษาทั้งในรูปเมล็ด เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ อนุรักษ์ รักษา ทรั พ ยากรต่ า ง ๆ ด าเนิ น กิ จ กรรม/โครงการ/งานสนั บ สนุ น ของ คณะทางานชุดที่ 1 - 6

อานาจหน้าที่ (1) ติ ด ตามและประเมิ น ผลตามเกณฑ์ ก ารประเมิ น ป้ า ยสนอง พระราชดาริในงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น (2) รวบรวมผลการดาเนินงานตลอดจนการจัดทารายงานผลการ ดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น (3) ปรับปรุง วางแผน ติดตามผล การดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพ สร้าง สภาพแวดล้ อมทั่ วไป ให้ เป็ นระเบี ยบและบรรยากาศที่ ดี ของงานฐาน ทรัพยากรท้องถิ่น บุคลากรในการปฏิบัติงานมีคุณธรรมจริยธรรม (4) กากับดูแลการจัดทาหลักสูตรบูรณาการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน หลักสูตรท้องถิ่น


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

4 จัดประชุมคณะกรรมการดาเนินโครงการฯ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง เพื่อกาหนดกรอบ บทบาทขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่

แนวทาง วั ต ถุ ป ระสงค์ และเป้ า หมายการด าเนิ น งานโครงการอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพื ช อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด าริ ฯ รวมทั้ ง การขั บ เคลื่ อ นงานและติ ด ตามประเมิ น ผล การดาเนินงานตามโครงการ เพื่อรายงานต่ออาเภอและจังหวัด

5 การดาเนินกิจกรรมงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ดังนี้ รายละเอียดตามภาคผนวก ฎ. 5.1 วิธีการดาเนินงาน งานที่ 1 ปกปักทรัพยากรท้องถิน่ หมายถึง การสารวจทาขอบเขต พื้นที่ปกปัก สารวจความหลากหลายทางชีวภาพ การสารวจและ ท ารหั สประจาตั วต้ น ของพรรณไม้ ต่ า ง ๆ การศึก ษาคุ ณภาพ สิ่งแวดล้อม ความเป็นอยู่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมการ ใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติในเขตพื้นที่รับผิดชอบ เช่น พื้นที่ บริ เ วณส านั ก งาน ส่ ว นราชการ หน่ ว ยงาน พื้ น ที่ บ ริ เ วณ สถานศึกษา พื้นที่สองข้างทางถนน พื้นที่ป่าชุมชน พื้นที่สาธารณะ ประโยชน์ เป็นต้น

1. กาหนดขอบเขตพื้นที่และสารวจทรัพยากรในพื้นที่ปกปักทรัพยากรท้องถิ่น 2. ทาผังแสดงขอบเขตพื้นที่ปกปักทรัพยากรท้องถิ่น 3. ศึกษาทรัพยากรในพื้นที่ปกปักทรัพยากรท้องถิ่น 4. ทาตัวอย่างทรัพยากรในพื้นที่ปกปักทรัพยากรท้องถิ่น 5. ทาทะเบียนทรัพยากรในพื้นที่ปกปักทรัพยากรท้องถิ่น 6. ดูแล รักษา ทรัพยากรในพื้นที่ปกปักทรัพยากรท้องถิ่น

งานที่ 2 สารวจเก็บรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่น หมายถึง เป็นการ สารวจและเก็บรวบรวมตัวอย่าง ทรัพยากรกายภาพ ทรัพยากร ชีวภาพ และทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา พื้นที่เป้าหมาย ตามความเหมาะสมของเขตพื้นที่รบั ผิดชอบ หรือพื้นที่บริเวณที่กาหนด

1. ข้อมูลพื้นฐานในท้องถิ่น 2. ข้อมูลการประกอบอาชีพในท้องถิ่น 3. ข้อมูลกายภาพในท้องถิ่น 4. ข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน 5. ข้อมูลการใช้ประโยชน์จากพืชในท้องถิ่น

งานที่ 3 ปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่น หมายถึง เป็นการจัดตั้ง สวนพฤกษศาสตร์จากผลการสารวจและศึกษาฐานทรัพยากร ธรรมชาติต่าง ๆ ภายในเขตพื้นที่ งานขยายพันธุ์พืช งานปลูก พันธุกรรมและบันทึกผลการเจริญเติบโต งานจัดทาแผนที่พันธุกรรม และทาพิกัดต้นพันธุกรรมพืช การเก็บรักษาในรูปแบบต่าง ๆ

1. จัดหาและรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่น 2. ปลูกและการรักษาทรัพยากรท้องถิ่น 3. ติดตามการเจริญเติบโต และการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรท้องถิ่น

งานที่ 4 อนุรักษ์และใช้ป ระโยชน์ท รัพ ยากรท้องถิ่น หมายถึง เป็ น การส่ ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ์ แ ละใช้ ป ระโยชน์ พั น ธุ ก รรมพื ช โดยการพัฒนาเส้นทางการศึกษาธรรมชาติเพื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ อาทิ ศึ ก ษาด้ า นชี ว ภาพ ด้ า นสุ ข ภาพและการเจริ ญ เติ บ โต ด้านการขยายพันธุ์ ด้านการเพาะปลูก ด้านการจาแนกสายพันธุ์

1. สนั บ สนุ น การสร้า งจิ ต สานึ กในการอนุ รักษ์ ท รัพ ยากรงานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน 2. สนับสนุนในเรื่องงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ และการอานวยความสะดวกต่าง ๆ

งานที่ 5 ศูนย์ขอ้ มูลทรัพยากรท้องถิน่ หมายถึง เป็นการจัดระบบ การรวบรวมข้อมูลพันธุกรรมพืชในรูปแบบและสื่อต่าง ๆ ที่สะดวก ต่ อ การสื บ ค้น และน าไปใช้ ป ระโยชน์ ด้า นการบริห ารจั ด การ อนุ รักษ์ ขยายพั น ธุ์ สะดวกต่ อการเรีย นรู้ การต่ อยอด การ ศึกษาวิจัย เพื่อใช้ประโยชน์ด้านทีอ่ ยู่อาศัย อาหาร สมุนไพร ฯลฯ

1. ฟื้นฟู บารุงรักษา ขยายพันธุ์เพิ่มขึ้นและแจกจ่ายให้กับชุมชน 2. ใช้ประโยชน์ทรัพยากรท้องถิ่นอย่างยั่งยืน เช่น การจัดหารแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากทรัพยากรในท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้ ฯลฯ

งานที่ 6 สนับสนุนในการอนุรักษ์และจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น หมายถึง เป็นการจัดตั้งแหล่งเรียนรูเ้ พื่อนาไปสูก่ ารสร้างจิตสานึกในการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ อาทิ สวนพฤกษศาสตร์ พิพิธภัณฑ์ และ งานจัดฝึ กอบรม ฯลฯ

1. รวบรวมและการบันทึกข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่น (ทรัพยากรกายภาพ ชีวภาพ และวัฒนธรรมภูมิปัญญา) 2. ระบบการจัดเก็บและสืบค้นได้ (เอกสารและคอมพิวเตอร์)

6. ข้อมูลการใช้ประโยชน์จากสัตว์ในท้องถิ่น 7. ข้อมูลการใช้ประโยชน์จากชีวภาพอื่น ๆ ในท้องถิ่น 8. ข้อมูลภูมิปัญญาในท้องถิ่น 9. ข้อมูลแหล่งทรัพยากรและโบราณคดีในท้องถิ่น 10. รายงานผลการสารวจและจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น

45


46

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. 5.2 การจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิน่ 9 ใบงาน งานสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่นโดยใช้ใบงาน 9 ใบงาน การบันทึกข้อมูลในใบงาน และการจัดทาฐานข้อมูล

1. การเก็บข้อมูลพื้นฐานในท้องถิ่น 2. การเก็บข้อมูลการประกอบอาชีพในท้องถิ่น 3. การเก็บข้อมูลด้านกายภาพในท้องถิ่น 4. การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน 5. การเก็บข้อมูลการใช้ประโยชน์ของพืชในท้องถิ่น 6. การเก็บข้อมูลการใช้ประโยชน์ของสัตว์ในท้องถิ่น 7. การเก็บข้อมูลการใช้ประโยชน์ของชีวภาพในท้องถิ่น 8. การเก็บข้อมูลภูมิปัญญาในท้องถิ่น 9. การเก็บข้อมูลแหล่งทรัพยากรและโบราณคดีในท้องถิ่น

งานสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่น โดยใช้ใบงาน 9 ใบงาน และบันทึกข้อมูลในใบงาน

จะมีการฝึ กอบรมอย่างเข้มข้นโดย อพ.สธ. และมีหน่วยงานต่าง ๆ และมหาวิทยาลัย เป็นผูส้ นับสนุนและเป็นพี่เลีย้ ง


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

เครือข่ายการจัดทาฐานข้อมูลฐานทรัพยากรท้องถิ่นระดับตาบล

วัฒนธรรม

ค่านิยม ความเป็นไทย

ภูมิคุ้มกัน

อบต. อพ.สธ.

ร่วมมือ

อพ.สธ.

ทะเบียนฐานทรัพยากรท้องถิน่

ภูมิปัญญา ไทย

โรงเรียน

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน

9 ใบงาน

หมู่บ้าน

โรงเรียน อบต.

การเปลี่ยนแปลง

พัฒนา

หมู่บ้าน

วิถีไทย

47


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

48

6 จัดทาฐานข้อมูลและป้ายพรรณไม้ท้องถิ่น และภาพ QRcode จาก URL ของลิงค์ข้อมูล บทบาทขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่

พรรณไม้แต่ละชนิด และแสดงพิกัดหรือแหล่งที่พบพรรณไม้ หมายถึง จัดหาแผ่นป้ายโดยอาจ เป็นแผ่นไม้ พลาสติก โลหะ หรือในกรณีที่เป็นกระดาษหลังจัดทาเสร็จให้เคลือบด้วยพลาสติก เพื่อป้องกันน้า แผ่นป้ายที่จัดทามีขนาดเท่ากับมาตรฐานกระดาษ A5 ขนาด 148 x 210 มิลลิเมตร วางแนวนอน สีพื้นที่ใช้ให้ใช้เป็นดา หรือสีน้าตาลเข้มแบบด้าน (สีโอ๊ค) ข้อความ ตัวอักษรภายในป้ายมีองค์ประกอบ ดังนี้ 1) ชื่อแสดงพรรณไม้ ให้ใช้ชื่อสามัญหรือชื่อท้องถิ่น เป็น ภาษาไทย 2) ชื่อวิทยาศาสตร์ของพรรณไม้ตามมาตรฐาน เป็นภาษาอังกฤษ 3) แสดงภาพ QR code แสดงถึงข้อมูลของพรรณไม้แต่ละชนิด และพิกัดหรือแหล่งที่พบพรรณไม้ 4) ชื่อหรือโลโก้หน่วยงาน ที่จัดทาป้าย (ตัวอย่างตามหน้าที่ 38 -39)

7 รายงานผลการด าเนิ นงานให้ กรมส่ งเสริ ม การปกครองท้ องถิ่ นทราบทุ กวั นที่ 30 บทบาทของจังหวัด ที่

ของทุกเดือน หมายถึง ให้จังหวัดรายงานสถานะความคืบหน้าของการขับเคลื่อนการดาเนิน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นทราบทุกวันที่ 30 ของทุกเดือน

ผลการสมัครเข้าร่วม ยังไม่สมัคร

สมัครเข้าร่วมแล้ว

รหัส สมาชิก

อปท./ โรงเรียน

อาเภอ

จังหวัด

ผู้ประสานงาน (ชื่อ/ที่อยู่/เบอร์ติดต่อ /อีเมล์)

หมายเหตุ

ลงชื่อ ผู้รายงาน (...........................) ท้องถิ่นจังหวัด..................... วันที... ่ ............................. หมายเหตุ องค์ปกครองส่วนท้องถิ่นใดเมื่อได้สมัครเข้าร่วมโครงการ อพ.สธ. และดาเนินกิจกรรมงานฐาน ทรั พ ยากรท้ อ งถิ่ น และงานสวนพฤกษศาสตร์ โ รงเรี ย นแล้ ว ให้ ด าเนิ น การถอดบทเรี ย นผลการด าเนิ น การ เพื่อรายงานให้อาเภอ/จังหวัด/กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นทราบด้วย


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

7.3

ด้านการขยายผลการดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ผ่าน การประเมินผลการดาเนินงานโดยได้รับพระราชทานป้ายสนองพระราชดาริ และเกียรติบัตรฯ ภายในปี พ.ศ. 2563 1 ประชาสั ม พั น ธ์ แ ละเผยแพร่ ค วามรู้ การด าเนิ นงานโครงการอนุ รั กษ์ พั นธุ กรรมพื ช

บทบาทของจังหวัด/ อาเภอ/องค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่

อันเนื่อ งมาจากพระราชดาริฯ หมายถึง จัง หวัด อาเภอ และองค์กรปกครองส่วนท้อ งถิ่น ประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้ และเผยแพร่องค์ความรู้ให้แก่ประชาชน เพื่อให้เห็นความสาคัญและ ประโยชน์ของการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น ทั้งทางชีวภาพ ทางกายภาพ และทางวัฒนธรรมและ ภูมิปัญญา

2 พัฒนายกระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ผ่านการประเมินผลการดาเนินงานโดย บทบาทองค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่

ได้รับพระราชทานป้ายสนองพระราชดาริ และเกียรติบัตรฯ หมายถึง องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นจัดทาหลักสูตรการอบรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ในการดาเนินงานโครงการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชฯ และเตรียมความพร้อมของสถานที่เพื่อยกระดับเป็นศูนย์เรียนรู้ทรัพยากร ท้องถิ่นให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น ๆ และผู้ที่สนใจเรียนรู้

3 บรรจุวิชาเกี่ยวกับการดาเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ บทบาทของกรมส่งเสริม การปกครองท้องถิน่ โดยสถาบันพัฒนา บุคลากรท้องถิน่

ไว้ในหลักสูตรการอบรมต่าง ๆ ของสถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หมายถึง ให้สถาบันพัฒนา บุคลากรท้องถิ่น บรรจุเนื้อหาวิชาเกี่ยวกับการดาเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดาริฯ ไว้ในหลักสูตรการอบรมต่าง ๆ โดยเชิญผู้แทน อพ.สธ. และผู้แทนองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นที่ประสบความสาเร็จในการดาเนินงานร่วมเป็นวิทยากรบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าอบรม ตามหลักสูตรต่าง ๆ

49


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

50

8. สรุปผลการถอดบทเรียนความสาเร็จจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ที่ผ่านการประเมินผลการดาเนินงานโดยได้รบั พระราชทานป้ายสนอง พระราชดาริและเกียรติบตั รฯ ในงานฐานทรัพยากรท้องถิน่ ประจาปี 2556 - 2561

หัวข้อ

รายละเอียด

1. ประสบการณ์การดาเนินงาน ที่ผ่านมา ให้ข้อคิดเห็นอย่างไร

» » การดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น สามารถนาไปใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ และพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนได้ เช่น การสร้างรายได้ด้วยการนาพืช ในท้องถิ่ นมาประยุกต์ใ ช้กับภูมิปัญญาท้อ งถิ่นเพื่อสร้างสินค้า /ผลิตภัณ ฑ์ ที่ มี คุ ณ ภาพ รวมถึ ง การส ารวจฐานทรั พ ยากรท้ อ งถิ่ น อาจท าให้ ชุ ม ชน ได้ค้นพบทรัพยากรที่มีค่าและควรอนุรักษ์ไว้ » » การเรียนรู้ไม่ได้จากัดอยู่ในสถานศึกษาเพียงอย่างเดียว แต่การเรียนรู้ สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่โดยชุมชนสามารถสารวจทรัพยากรเพื่อศึกษาได้โดย ไม่ มี รู ป แบบที่ แ น่ น อน เพราะแต่ ล ะชุ ม ชนมี ภู มิ ป ระเทศที่ แ ตกต่ า งกั น เช่ น บางชุมชนอาจมีแต่ทะเล ภูเขา หรืออาจะเป็นแค่ชุมชนเมือง ซึ่งมุ่งเน้นด้านงาน ฐานทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญาเพียงอย่างเดียว » » การลงมือทาเพียงลาพังอาจไม่ส่งผลสาเร็จต่อการดาเนินงาน จึงควรมี การสร้างแรงบันดาลใจและสร้างความร่วมมือกันภายในหน่วยงานและระหว่าง หน่วยงาน เช่น การสร้างความร่วมมือกันในทุกภาคส่วนโดยอาจร่วมมือกับ ชุมชน สถานศึกษา ส่วนราชการ และอาสาสมัคร เพื่อ สร้างความสามัค คี ในพื้ น ที่ ทั้ ง นี้ ควรมี ก ารรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น จากภาคส่ ว นต่ า ง ๆ เพื่ อ ให้ การดาเนินงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งผลการดาเนินงานอาจจะต้องใช้ เวลาจึงจะเห็นผล ความมุ่งมั่นและตั้งใจจึงถือเป็นสิ่งสาคัญในการดาเนินงาน โดยผู้น าชุ มชน ผู้ บ ริ ห ารองค์ ก ร และผู้ ป ฏิบั ติ ควรศึ ก ษาการดาเนิน งาน ให้ เชี่ยวชาญเพื่อ การสื่ อ สารกับทุกภาคส่ วนและสร้ า งความเข้า ใจร่ วมกัน ซึ่ ง อาจสร้ า งความเข้ า ใจได้ ด้ ว ยการประชาสั ม พั น ธ์ แ ละอบรมเพื่ อ สร้ า ง ความเข้าใจให้แก่ชุมชน การจัดทาแผนผังการดาเนินงาน การปักป้ายอนุรักษ์ และการจัดโครงการปกปักป่า


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

หัวข้อ

รายละเอียด » » การศึ ก ษาเรี ย นรู้ แ นวทางการด าเนิ น งานด้ ว ยการศึ ก ษาจากคู่ มื อ การด าเนิ น งานเพี ย งอย่ า งเดี ย วอาจสร้ า งความเข้ า ใจได้ ย าก จึ ง ควร มีการศึ กษาจากการประชุมเพื่อสร้ างการรับรู้โดยเจ้า หน้าที่จากโครงการ และการศึกษาดูงานจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้นแบบ หรือองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นข้างเคียงที่ประสบผลสาเร็จ » » ในอนาคตชุมชนอาจพัฒนาและกลายเป็นเมืองและส่งผลให้ทรัพยากร ท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น และความเป็นชุมชนสูญหายไป ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่อาจ หลีกเลี่ยงได้ การดาเนินโครงการ อพ.สธ. จึงถือเป็นสิ่งสาคัญในการอนุรักษ์ ทรั พ ยากรท้ อ งถิ่ น ไว้ โดยอาจมี ก ารบั น ทึ ก ข้ อ มู ล จากปราชญ์ ช าวบ้ า น ซึ่งเป็นผู้สูงอายุที่ดารงชีวิตในชุมชนมาอย่างยาวนานและเข้าถึงทรัพยากร ท้ อ งถิ่ น ต่ า ง ๆ ในพื้ น ที่ ทั้ ง นี้ การส ารวจทรั พ ยากรท้ อ งถิ่ น บางประเภท อาจดาเนินงานร่ วมกับกรมป่า ไม้เนื่อ งจากปราชญ์ชาวบ้า นอาจมีสุ ขภาพ ไม่แข็งแรงเพียงพอที่จะร่วมสารวจได้ » » ควรมีการติดตามการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง ทั้งด้านการปฏิบัติงาน และด้า นการส ารวจข้ อ มูลทรั พยากรท้อ งถิ่น อย่า งสม่าเสมอ โดยอาจน า เทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ เช่น การนากล้องวงจรปิด มาติ ด ตั้ ง ในป่ า เพื่ อ ส ารวจข้ อ มู ล สายพั น ธุ์ แ ละจ านวนของสั ต ว์ ป่ า ทั้ง นี้ เป้าหมายหลักของการดาเนินงานคือการสร้ างจิตสานึกให้ แก่ชุมชน ในพื้นที่เพื่อให้เกิดการอนุรักษ์อย่างยั่งยืนต่อไปในอนาคต

2. การเรียนรูท้ ที่ าให้เกิดผลสาเร็จ มีการเรียนรูอ้ ย่างไร

» » การเรียนรู้ที่ทาให้เกิดผลสาเร็จควรเป็นการเรียนรู้ที่ศึกษาให้เชี่ยวชาญ โดยมีการอบรมเตรียมความพร้อมให้แก่บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้นแบบ 29 แห่ง และบุคลากรจังหวัด เพื่อเป็นต้นแบบให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นอื่นที่เริ่มสมัครเข้าร่วมโครงการ รวมถึงการปลูกจิตสานึกให้มีใจรัก และมุ่งมั่นที่จะดาเนินโครงการ อพ.สธ. ทั้งนี้ การเรียนรู้ที่ดีควรเป็นการเรียนรู้ โดยการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน ทั้งชุมชนผู้เป็นทั้งเจ้าของและผู้สนับสนุนงาน

51


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

52

หัวข้อ

รายละเอียด ฐานทรัพยากรท้องถิ่น ผู้ปฏิบัติทั้งระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระดับอาเภอ และระดับจังหวัด เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานอนุรักษ์ฐานทรัพยากรท้องถิ่น ซึ่ ง ในฐานะผู้ ป ฏิ บั ติ ทั้ ง 3 ระดั บ นั้ น ควรรู้ ลึ ก และรู้ จ ริ ง ถึ ง วั ต ถุ ป ระสงค์ ของโครงการ การดาเนินงาน และควรมีวิธีการถ่ายทอดให้ผู้ฟังทราบไป ในทิศทางเดียวกัน เพื่อให้ทุกฝ่ายสามารถทางานร่วมกันและดาเนินงานไป ในทิศทางเดียวกันได้สาเร็จ โดยยึดหลัก 3Hs คือ Head การทางานอย่า ง มีแบบแผน Hand การลงมือทา และHeart การทางานด้วยใจ ศรัทธา ความมุ่งมั่น และการประสานสัมพันธ์ท้องถิ่นเพื่อทางานร่วมกันอย่างเข้าใจและเข้าถึง

3. ปัญหาอุปสรรคทีพ่ บ ระหว่างดาเนินการเป็นอย่างไร และมีแนวทางในการแก้ไข ปัญหาเหล่านัน้ ได้อย่างไร

ปัญหาและอุปสรรคที่พบระหว่างการดาเนินการ คือ » » การขาดความรู้ในระดับผู้ปฏิบัติ เจ้าหน้าที่ระดับอาเภอ รวมถึงระดับจังหวัด ทั้ ง ในด้ า นการปฏิ บั ติ ง านแบบลงลึ ก และการปฏิ บั ติ ง านเชิ ง วิ ช าการ ซึ่ ง สามารถแก้ ไขได้โ ดยการจั ด อบรมเพื่อ สร้ า งองค์ ค วามรู้ โดยเจ้ า หน้า ที่ จาก อพ.สธ. และอาจดาเนินการขยายสาขาของศูนย์เรียนรู้/ศูนย์ประสานงาน ในแต่ละภาคเพื่อดาเนินการช่วยเหลือและสนับสนุนได้รวดเร็วขึ้น » » การสื่ อ สารถึ ง ประโยชน์ ข องโครงการ อพ.สธ. ให้ แ ก่ ชุ ม ชนทราบ เนื่องจากชุมชนอาจกลัวที่จะได้รับผลกระทบจากโครงการฯ เช่น การเข้าร่วม โครงการฯ อาจไม่ส ามารถเข้า ไปเก็บของป่า ได้อี ก จึ ง ควรมีก ารอบรมให้ ความรู้แก่ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้สามารถถ่ายทอดให้ ชุมชนทราบว่าจะได้รับประโยชน์อะไรจากโครงการฯ » » องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขาดความเข้าใจในการวิเคราะห์เงิน /คน/งาน ตามแผนปฏิบัติการโครงการ อพ.สธ. ซึ่งส่งผลต่อการเบิกจ่ายงบประมาณ รวมถึงระเบียบที่ชัดเจนในการเบิกจ่ายของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ทั้งนี้ ควรมีการจัดทาแนวทางที่ชัดเจนเพื่อให้สอดคล้องต่อบริบทของท้องถิ่น นั้น ๆ และเพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการปฏิบัติงาน


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

หัวข้อ

รายละเอียด » » ผู้ ป ฏิ บั ติ ม องว่ า การอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพื ช เป็ น การเพิ่ ม ภาระให้ แ ก่ ผู้ปฏิบัติ ซึ่ง ควรมีการปรั บมุมมองในการทางาน โดยอาจลดกระบวนการ หรือขั้นตอนลง รวมถึงการสร้างความเข้าใจให้แก่ผู้ปฏิบัติว่า การดาเนินงาน ในเรื่องดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติหน้าที่อยู่แล้ว รวมถึงการสร้าง แรงจูงใจ เช่น การบรรจุโครงการ อพ.สธ. ลงในการประเมิน LPA ประจาปี » » ควรมีการสนับสนุน ส่งเสริม และกากับโดยส่วนกลางในการระบุหน้าที่ ในการปฏิบัติงานเนื่องจากการดาเนินงานของ อพ.สธ. นั้น จะเป็นการสร้าง ภาระให้เจ้าหน้าที่/ผู้ปฏิบัติบางส่วน/กลุ่มงานเท่านั้น และส่งผลให้การทางาน มีความล่าช้า จึงเห็นควรให้มีการกระจายภาระการทางานออกให้เป็นรูปธรรม ตามโครงสร้างองค์กรมากขึ้น

4. ปัจจัยสูค่ วามสาเร็จมีอะไรบ้าง หากเป็นปัจจัยภายนอกสามารถ หาได้จากส่วนใด

ปัจจัยสู่ความสาเร็จมีดังนี้ » » การสร้างจิตสานึกและจิตศรัทธา » » การสร้าง/ขยายสาขา ศูนย์ประสานงานในทุกภูมิภาค โดยมีมหาวิทยาลัย และวิทยากรผู้ช่วย เพื่อให้คาปรึกษาและอบรม รวมถึงควรมีการฝึ กอบรม สร้างวิทยากรผู้ช่วยเพิ่มเติม » » การสร้างจิตอาสาทั้งภายในและภายนอกองค์กร » » การสนับสนุนบุค ลากรให้ เป็นวิทยากรผู้ช่วยในการเดินทางไปอบรม ให้ความรู้ในพื้นที่อื่น ๆ » » การบูรณาการร่วมกันและการสร้างเครื อข่า ยภาคีเพื่อสนับสนุนการ ดาเนินงานทุกด้าน » » การลงมือปฏิบัติ » » การจั ด อบรมหลั ก สู ต รทั้ ง ในระดั บ เจ้ า หน้ า ที่ ผู้ ป ฏิ บั ติ บุ ค ลากร ของส่วนราชการ รวมถึงผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

53


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

54

หัวข้อ

รายละเอียด

5. มองอนาคตอย่างไรถึงจะทาให้ โครงการยัง่ ยืนชุมชนมีความสุข กับการร่วมโครงการ

» » ควรมี ก ารด าเนิ นงานที่ เ น้ น ความยั่ ง ยื น ในการใช้ ท รั พ ยากรท้ อ งถิ่ น ตามหลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง และการสร้ า งความร่ ว มมื อ พื้ น ที่ จากทุ ก ภาคส่ ว นด้ ว ยการสร้ า งศรั ท ธาและจิ ต ส านึ ก ในการอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงอนาคตที่การอนุรักษ์สามารถพัฒนาเศรษฐกิจ และสร้ า งรายได้แ ละพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิต ให้ แ ก่ ชุม ชน ทั้ ง นี้ ให้ มี การคงไว้ ซึ่งนโยบายระดับสูงของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย

6. ตัวช่วยทีท่ าให้งาน ประสบผลสาเร็จมีอะไรบ้าง และสามารถช่วยได้อย่างไร

ตัวช่วยที่ทาให้งานประสบผลสาเร็จ มีดังนี้ » » ศูนย์ประสานงานระดับจังหวัด (สถจ.) โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้นแบบจะเป็นผู้ช่วยเหลือในทางปฏิบัติ และให้ศูนย์ประสานงานเป็นผู้ช่วยเหลือ ทางการวิชาการ » » การจัดทาข้อมูลฐานทรัพยากรท้องถิ่นที่สมบูรณ์ » » กระบวนการการแบ่งปันความรู้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้นแบบ ทั้ง 29 แห่ง » » การศึกษาด้วยการลงมือปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น » » การสนับสนุนงบประมาณโดยจัง หวัดและหน่วยงานภายนอกเพื่อให้ สามารถดาเนินการได้อย่างราบรื่น


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

55

9. พื้นทีอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทีส่ มัครเข้าร่วมสนองพระราชดาริฯ และดาเนินโครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชฯ เริ่มดาเนินการตั้งแต่ปี 2557 ภายใต้การเชิญชวนของอธิบดีกรมป่าไม้ โดยใช้ทรัพยากรที่อยู่ในชุมชน หน่วยงานราชการที่อยู่ในท้องถิ่น ข้าราชการ ปราชญ์ชาวบ้าน และนาโครงการนี้เข้าแผนพัฒนาของตาบล และอยู่ในงบประมาณแต่ละปี ปีละ 100,000 บาท เพื่อใช้ดาเนินงาน เพื่อสารวจข้อมูลในพื้นที่ที่รับผิดชอบ จังหวัดกาญจนบุรี มีป่าชุมชนทั้งหมด 15,000 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 80 มีสมุนไพรทั้งหมด 270 กว่าชนิด ในปี 2555 ได้ประกวด อาเภอพนมทวน ป่า จุดเด่นของผู้บริหาร คือ ใช้พนักงานข้าราชการในท้องถิ่นเป็นตัวนาใช้บุคลากรของ อบต. อยู่ในทุก อบต.หนองโรง คณะ จึงไม่ค่อยประสบปัญหาเนื่องจากชาวบ้านให้ความร่วมมือร่วมใจช่วยกันสารวจให้การดาเนินการง่าย ขึ้น ได้รับป้ายเกียรติบัตรมาแล้ว

(1)

ในส่วนของงานด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น อบต. ดาเนินการเรื่องแผนโบราณ ด้านพืชทาเรื่องไพร

ด้านสัตว์ทาเรื่องแย้ ทั้งนี้ เคยส่งผู้แทนเป็นวิทยากรให้ทหาร ท้ อ งถิ่ น จั ง หวั ด ท้ อ งถิ่ น อ าเภอในเรื่ อ งการท าป่ า การรั ก ษา พันธุกรรมพืชเป็นการใช้จริงทาจริง เป็นการรักษาทรัพยากรของ ไทยให้ลูกหลานได้ใช้ประโยชน์

(2) จังหวัดขอนแก่น อาเภอชาสูง อบต.ห้วยเตย

สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.nhongrong.go.th/

อบต.ห้วยเตยได้ดาเนินโครงการ อพ.สธ. ตั้งแต่ปี 2558 โดยแต่งตั้งคณะทางาน 6 คณะ เพื่อดาเนินงาน กิจกรรม 9 ใบงาน โดยได้มีการาป้ายรหัสที่และติดรหัสประจาชนิดของทรัพยากร จัดทาผังแสดงขอบเขตพื้นที่ ปกปัก รวมถึงจัดทาป้ายแสดงการเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ

ทรั พยากรที่โดดเด่น คือ รั งมดแดงและไก่ดา ซึ่ งได้มีก ารต่อ ยอดการอนุรั กษ์การดูแลรั กษามดแดงด้วยการให้ น้า ให้อาหาร สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ในส่วนของภูมิปัญญานั้นได้มีการจักสานผลิตภัณฑ์จากต้นกกซึ่งได้ถ่ายทอดให้กับนักเรียนและ ผู้สนใจชุมชน ทั้งนี้ อบต.ห้วยเตย ได้มีการจัดทาสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนโดยนาพืชพันธุ์ต่างๆ มาประกอบการเรียนการสอน สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.huaitoei.com


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

56

(3) จังหวัดขอนแก่น อาเภอน้าพอง อบต.บัวเงิน

ยางนา

เริ่มดาเนินการตั้งแต่ปี 2558 โดยกาหนดแนวทางการดาเนินงานไว้ 3 กรอบ ได้แก่ กรอบ การเรียนรู้ กรอบการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์และกรอบการสร้างจิตสานึกซึ่ง ได้จัดทาโครงการ ร่วมกับชุมชน และสถานศึกษา ในส่วนของการจัดหาและรวบรวมนั้น มีพันธุ์พืช จานวน 5 ชิ้นได้แก่ ยางนา มะม่วงป่า สมอไทย หม่อน แคป่า สัตว์ จานวน 1 ชนิด คือ ไก่ดา ซึ่งได้รับมอบจากชาวบ้าน ในพื้นที่ ชีวภาพ คือ เทา และภูมิปัญญา จานวน 3 ชนิด ได้แก่ การสานไซดักปลา การนวดจับเส้น และการทอเสื่อกก

มะม่วงป่า

สมอไทย

หม่อน

แคป่า

ไก่ดา การนวดจับเส้น การทอเสื่อกก การสานไซดัก โดยในส่วนของการอนุรักษ์นั้น ได้มีการแจกจ่าย พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ ให้แก่ชาวบ้าน และถ่ายทอดภูมิปัญญาต่างๆ ทั้งนี้ เป้าหมาย คือการสร้างจิตสานึกที่ดีให้แก่ชุมชน สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.bua-ngoen.go.th/

(4) จังหวัดจันทบุรี อาเภอนายายอาม อบต.นายายอาม

ได้ดาเนินการตั้งแต่ปี 2556 โดยได้รับความช่วยเหลือและคาแนะนาจากวิทยากร คณะที่ปรึกษา ผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่โครงการ อพ.สธ. ในการดาเนินงานมาตลอด โดยดาเนินงานใน 3 ด้าน 7 กิจกรรม ดังนี้

การดาเนินกิจกรรมที่มีขั้นตอนซับซ้อน เช่น การสารวจ การบันทึก และการจัดเก็บพันธุ์พืชและชีวภาพด้วยการดอง

การดาเนินกิจกรรมที่มีความเรียบง่าย เช่น การปล่อยกุ้ง การปลูกพืชในพื้นที่วัดและพื้นที่ สาธารณะ

ในส่วนของการเก็บรวบรวมภูมิปัญญาท้องถิ่นนั้น มีตั้งแต่การทาไม้กวาด การทาน้าพริก แกง การทาขนมข้าวตู และการสร้างเครื่องกวาดขยะ สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.nayaiamsao.go.th/


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

(5) จังหวัดจันทบุรี อาเภอสอยดาว อบต.ทุง่ ขนาน

ได้ ด าเนิ น โครงการตั้ ง แต่ ปี 2559 โดยเป็ น แผนงานภายใต้ แ นวทางงานฐานทรั พ ยากรท้ อ งถิ่ น 3 ด้าน 6 งาน จุดเด่น คือ การจัดทาข้อมูลฐานทรัพยากรในโรงเรียนด้วยการทา DNA Fingerprint ทั้งนี้ ได้ มีการดาเนินการในสถานที่ต่างๆ เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พื้นที่ราชการ และพื้นที่วัดป่า เพื่อสร้างจิตสานึก ในการรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบรวมถึงการส่งเสริมวิถีชีวิตของชุมชนในรูปแบบเกษตรกรรม

รูปแบบประเพณีเพื่อการอนุรักษ์ เช่น การทาสวน การทาปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพ และประเพณีบั้งไฟ สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.govesite.com/thungkanan/index.php?p=1

(6) จังหวัดชลบุรี อาเภอเมืองชลบุรี ทต.บางทราย

57

ดาเนินการตั้งแต่ปี 2557 โดยจัดทาฐานข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่น 3 ฐานทรัพยากร ได้แก่ ทรัพยากร ชีวภาพ ทรัพยากรกายภาพ และทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ซึ่งได้รับความช่วยเหลือจากภาคี เครือข่ายในพื้นที่ เช่น ชุมชน สถานศึกษา และโครงการ อพ.สธ. ในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ

วัดเขาบางทราย

ตลาดประมง ท่าเรือพลี

ตลาดสะพานปลาอ่างศิลา

โดยมีความโดดเด่นในเรื่องของแหล่งท่องเที่ยว ที่เป็นแหล่งโบราณคดี เช่น วัดเขาบางทราย หรือพื้นที่ น่าสนใจในเชิงการท่องเที่ยว เช่น ตลาดประมงท่าเรือพลี ตลาดสะพานปลาอ่างศิลา ซึ่งถือเป็นการอนุรักษ์วัฒนะ ธรรมและภูมิปัญญาอีกทางหนึ่ง สามารถสืบค้นได้ที่ http://bangsaichonburi.go.th/public/


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

58

(7) จังหวัดชุมพร อาเภอท่าแซะ อบต.สลุย

ได้สมัครเข้าร่วมโครงการ อพ.สธ. ตั้งแต่ปี 2557 โดยได้ดาเนินกิจกรรมทั้งหมด 6 กิจกรรม ซึ่งในงาน อนุ รั ก ษ์ แ ละใช้ ป ระโยชน์ ท รั พ ยากรท้ อ งถิ่ น นั้ น ได้ แ จกจ่ า ยพั น ธุ์ ไ ม้ ใ ห้ แ ก่ ป ระชาชน เจ้ า หน้ า ที่ และผู้สนใจนาไปปลูกเพื่อขยายพันธุ์เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวสร้างความชุ่มชื้นให้แก่พื้นที่ป่า

อบต. ได้ร่วมดาเนินการจัดอบรมและดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นร่วมกับโรงเรียน 7 แห่ง เพื่อ เสริมสร้างการมีส่วนร่วมให้แก่ชุมชนและปลูกฝังจิตสานึกในการอนุรักษ์ให้แก่เยาวชน สามารถสืบค้นได้ที่ https://www.saluy.go.th/

(8) อบต.สองพี่น้องได้เริ่มดาเนินโครงการตั้งแต่ปี 2557 ซึ่ง อบต.สองพี่น้อง และ อบต.สลุย มีพื้นที่ร่วมกันใน จังหวัดชุมพร การศึกษาพื้นที่ โดย อบต.สองพี่น้อง มีพื้นที่ป่าห้วยใหญ่ อบต.สลุย มีพื้นที่ป่าพ่อตาหินช้าง อบต.สองพี่น้อง มี อาเภอท่าแซะ พื้นที่ติดกับประเทศพม่า 1800 ไร่ 288 ตารางกิโลเมตร จัดกิจกรรม 3 ด้าน กับ 6 งาน อบต.สองพีน่ อ้ ง

หลังจากเข้าร่วมโครงการ อพ.สธ. มีการลักลอบการตัดไม้น้อยลง และชาวบ้านช่วยกันดูแลรักษาป่ามากขึ้น โดยมีโรงเรี ยนช่วยกั นดูแลรั บ ผิดชอบ มี ก ารเพาะพันธุ์และขยายพันธุ์ กล้า ไม้ และแจกจ่ า ยให้ กับชาวบ้า นเพื่ อ ขยายพันธุ์ในชุมชนต่อไปอบต.สองพี่น้อง มีแผนผังเส้นทางเดินธรรมชาติ มี QR Code ต้นไม้ มีแหล่งท่องเที่ยวเชิง นิเวศ และทุ่งบัวตอง สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.songpeenong.go.th/


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

59

(9) จังหวัดเชียงใหม่ อาเภอแม่แตง อบต.กืด้ ช้าง

เริ่ มดาเนินการตั้ งแต่ปี 2555 โดยดาเนินการ 3 ด้าน 6 งาน ซึ่งมีประโยชน์และนาไปขยายผลได้เป็น โครงการที่ท้องถิ่นให้ความสาคัญและสามารถต่อยอดร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ เช่น กรมชลประทาน การศึกษา ระดับมหาวิทยาลัย ขณะนี้ดาเนินการร่วมกับศูนย์ประสานงานเพื่อขับเคลื่อนงานอย่างต่อเนื่อง

โดยกิจกรรมที่โดดเด่นของ อบต.กื้ดช้าง คือการอนุรักษ์พันธุ์ช้าง ทั้งในเรื่องของการจัดประเพณีที่มีช้างประกอบพิธี การให้อาหารช้าง ซึ่ง ถือเป็นการอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ อนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญา ที่เป็น จุดเด่นของชุมชน

สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.kuedchang.go.th/

(10)

อบต.ชุมพล ได้ดาเนินโครงการตั้งแต่ปี 2558 โดยมีจุดประสงค์เพื่อสนองต่อพระราชปณิธานและพระ ราชภารกิ จ ของสมเด็ จ พระเจ้า อยู่ หัว รัชกาลที่ 9 ที่ทรงอนุรัก ษ์ต้ นยางนา ตั้ ง แต่ปี 2503 และทรงเห็ น จังหวัดนครนายก ความสาคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชในการปกปักพันธุกรรมพืช การสารวจ ปลูกรักษา การอนุรักษ์ อาเภอองครักษ์ และใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืช วางแผนพัฒนาพันธุ์พืช และสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อบต.ชุมพล เพื่อป้องกันชาวต่างชาติที่เข้ามาศึกษาวิจัยและพัฒนาแล้วจัดสิทธิบัตรเป็นพืชพันธุ์ใหม่ ซึ่งอาจส่งผลให้ ประเทศไทยไม่ได้เป็นเจ้าของสิทธิในการใช้ประโยชน์ทรัพยากรนั้นๆ อบต.ชุมพลได้ร่วมกับโรงเรียน และชาวบ้านในชุมชน ในการร่วมสนอง พระราชดาริและเห็นความสาคัญในการสร้างจิตสานึก โดยเริ่มที่การสอน ให้เด็กและนักเรียนรู้จักกับทรัพยากรท้องถิ่นต่างๆ เพื่อให้เกิดความรู้สึก รัก และต้องการที่จะอนุรักษ์ทรัพยากรนั้นๆ ต่อไป สามารถสืบค้นได้ที่ http://chumphon-sao.go.th/

ต้นยางนา


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

60

(11) จังหวัดนครราชสีมา อาเภอปากช่อง อบต.ขนงพระ

ผักโขม

สภาพความเป็นมาเดิมของ อบต.ขนงพระ เคยมีการบุกรุกป่าและนาขยะมาทิ้ง อบต.ขนงพระ จึง นาพื้นที่นี้มาพัฒนาโดยการเข้า ร่ วมโครงการเมื่อ ปี 2552 ด้วยพื้นที่ 500 ไร่ ซึ่ง มีการ ประชาคมกับชาวบ้า นในชุมชนเพื่อช่วยกันดูแล และสร้ า งเครือข่า ยชุมชนร่วมกับสหกรณ์ จังหวัดนครราชสี มา มีมหาวิทยาลัยศิลปากรช่วยลงระบบฐานข้อมูล และร่วมกับชาวบ้า น และบริษัทต่าง ๆ ช่วยทา CSR โดยมีกิจกรรม ดังนี้

ใบบัวบก

ว่านขันหมาก โดยมีการศึกษาทรัพยากรท้องถิ่น 4 ด้าน เช่น การศึกษา ผักโขม การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชาผักโขมและมาสก์ หน้า นาจิ้งหรีดมาแปรรูป เป็ น น้ าพริก จิ้งหรีดทอด มีการศึกษาด้า นชี วภาพของเห็ดนางฟ้า ฮังการี ภูมิปัญญาท้องถิ่น การทาระหัดวิดน้า ซึ่งเป็นระบบการผลิตน้า ขนาดเล็ก และมีการนาใบบัวบกเข้าร่วมวิจัยกับมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา และต่อยอดเพื่อพัฒนานามาใช้ประโยชน์ในชุมชน และ การนาว่านขันหมากเป็นพืชทีนามาแปรรูปซึ่งสามารถเพิ่มสมรรถนะ ทางเพศได้

สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.khanongpra.go.th/

(12) จังหวัดนครราชสีมา อาเภอเมืองฯ ทต.โคกกรวด

จิ้งหรีดทอด

เห็ดนางฟ้าฮังการี

ทต.โคกกรวด ได้สมัครเข้าร่วมโครงการ อพ.สธ. ตามนโยบายด้านการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เมื่อปี 2553 โดยพื้นที่ในตาบลโคกกรวด แต่เดิมได้มีการพัฒนาเมือง จากสังคมเกษตรสู่สังคมเมืองและอุตสาหกรรม ส่งผลให้ทรัพยากรท้องถิ่นต่าง ๆ ถูกทาลายและสูญ หายรวมถึงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป

ทต. โคกกรวด จึงได้ดาเนินการศึกษาทรัพยากรท้องถิ่นต่างๆ เพื่อเผยแพร่ผล การศึกษา การใช้ประโยชน์ และการสร้างจิตสานึกในชุมชนให้เกิดความรักและความ หวงแหนในทรัพยากรท้อ งถิ่นของตนเอง และทต.โคกกรวดยัง ได้มีการติดป้า ย แสดงแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาดั้งเดิมเพื่อการอนุรักษ์และหวงแหนไม่ให้สูญไป สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.kokkruatcity.go.th/index.php


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

(13) จังหวัดนครราชสีมา อาเภอเมืองฯ อบต.หนองระเวียง

อบต. หนองระเวียง เป็น อบต. ขนาดเล็ก ซึ่งได้ลงสมัครเข้าร่วมโครงการในปี 2554 และใช้เวลาเพียง 1 ปี ในการประสบความสาเร็จ โดยมีการบูรณาการกับหน่วยงานอื่น ๆ เช่น มีบุคลากรเข้าร่วมโครงการในตอนแรกเริ่ม จานวน 5 คน ซึ่ง อบต. หนองระเวียง มีพื้นที่ 1,000 ไร่

เป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลอีสาน มีชุมชนแบบชนบท และเกิดผลตอบรับที่มีความคุ้มค่ามาก ซึ่งถือ เป็นต้นแบบความสาเร็จของการร่วมมือกันระหว่างคนในชุมชน สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.nongraviang.go.th/ อบต.คูขาด ได้ดาเนินโครงการตั้งแต่ปี 2557 และได้ดาเนินการทั้งหมด 6 กิจกรรม ซึ่งได้รับ

(14) ความร่วมมือจากหน่วยงานราชการและสถานศึกษาในพื้นที่ในการจัดทางานฐานทรัพยากร จังหวัดนครราชสีมา อาเภอคง อบต.คูขาด

ท้องถิ่น โดยถือเป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น สืบสานอนุรักษ์และพัฒนา ความรู้ ภูมิปัญญาจากการเรียนรู้ฐานทรัพยากรท้องถิ่น รวมทั้งสนับสนุนการสร้างจิตสานึกใน การอนุรักษ์ทรัพยากรท้องถิ่น ด้วยความซื่อตรง มุ่งมั่น พัฒนา สามัคคี และมีคุณธรรม ทั้งนี้ อบต.คูขาด มีจุ ดเด่นในเรื่อ งของพันธุ์ไก่พื้นเมือ ง “พันธุ์คอล่อน” ซึ่งได้ดาเนินการอนุรักษ์และมีการติดตาม

ในส่ วนของทรั พยากรวัฒนธรรมและภูมิปั ญญานั้ น อบต.คูขาด ได้มีการอนุรักษ์การสานสุ่มไก่ การทาสุ่ม ซาวด์น่า และได้มีการจั ดตั้ ง ศูนย์เรี ยนรู้ เพื่อ ส่ง เสริ มและอนุรั ก ษ์ใ นเรื่ อ ง ดังกล่าว สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.khukhad.go.th/

61


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

62

(15)

อบต.เปือ ได้สมัครเข้าร่วมโครงการ อพ.สธ. ตั้งแต่ปี 2553 โดยสมัยก่อนนั้น พื้นที่มีปัญหาเนื่องจากวิกฤตใน อ่างเก็บน้าอ้อของตาบล ซึ่งชาวบ้าน 5 หมู่บ้าน ใช้ อุปโภคบริโภค พบว่ามีปลาในอ่างเก็บน้าตายทางตาบล จึงเรียกประชุม และนาน้าไปพิสูจน์ พบว่าน้าเป็นพิษ ซึ่ง เกิดจากชาวบ้านบริเวณรอบอ่างใช้สารเคมีในการทา เกษตร จึงมีการรณรงค์และทอดผ้าป่าซื้อที่ดินบริเวณ นั้นทั้งหมด เพื่อเข้าร่วมโครงการ อพ.สธ.

จังหวัดน่าน อาเภอเชียงกลาง อบต.เปือ

ชุ ม ชนทั้ ง ต าบลมี ค วามเข้ ม แข็ ง เกี่ ย วกั บ การอนุ รั ก ษ์ สิ่งแวดล้อม โดยได้รับรางวัลลูกโลกสีเขียวป่าชุมชนดีเด่น สาหรับ การด าเนิ น งานในอนาคต อบต . มี ค วามต้ อ งการ ที่ จ ะ ประชาสัมพันธ์เชิญชวนหน่วยงาน อื่นๆ เข้าร่วมต่อไป

สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.puelocal.com/master6.php

(16)

ทต.ศรีพนา สมัครเข้าร่วมโครงการ อพ.สธ. ตั้งแต่ปี 2558 ซึ่งได้ดาเนินกิจกรรมทั้งหมด 3 ด้าน จานวน 6 งาน และถือเป็นต้นแบบของการบริ หารจัดการที่ดี เนื่องจากมีการวาง แผนการดาเนินงานต่างๆ

จังหวัดบึงกาฬ อาเภอเซกา ทต.ศรีพนา

รวมถึงมีการให้ข้อเสนอแนะในการดาเนินงานเพื่อเป็นข้อสังเกตให้แก่ อปท. เช่น การพิจารณาเลือกพื้นที่ปกปักที่มี ความเหมาะสม การพิจารณาเลือกชุมชนที่จะดาเนินกิจกรรมในระยะแรกของโครงการ และการเลือกพื้นที่ปลูกรักษาที่ เหมาะสม เป็นต้น สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.sriphanacity.go.th/


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

63

จังหวัดปทุมธานี อาเภอคลองหลวง อบต.คลองสี่

(17)

อบต.คลองสี่ ได้ เ ริ่ ม ด าเนิ น โครงการตั้ ง แต่ ปี 2555 ซึ่ ง ใช้ ห ลั ก การคนสามวั ย สร้ า งกระบวนการท างาน งานฐานทรัพยากรท้องถิ่น โดยให้ผู้สูงอายุบอกเล่าเรื่องราวใน อดี ต เกี่ ย วกั บ พื ช พรรณ พั น ธุ์ สั ต ว์ ชี ว ภาพ ภู มิ ปั ญ ญา วิถีชีวิต ผ่านคนวัยทางาน เด็กและเยาวชน เพื่อสร้างการเรียนรู้ สร้ า งจิ ตส านึ ก เพื่ อ พัฒ นาให้ เกิ ดการใช้ป ระโยชน์ และการ อนุรักษ์ และเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรท้องถิ่นที่และนากลับมา ฟื้นฟู ส่งเสริมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.klongsi.go.th/ ทต.บ้านใหม่ เป็นต้นแบบของ อปท. ที่เข้าร่วมโครงการ อพ.สธ. ด้วยอุปสรรคที่เป็น อปท. ในพื้นที่เขตเมือง ซึ่งมีพื้นที่ป่าน้อยมาก และดาเนินการอนุรักษ์พืชพรรณได้ยาก จึงได้เน้นการ ดาเนินการอนุรักษ์ในเรื่องของวัฒนธรรมและภูมิปัญญาเป็นหลัก

จังหวัดปทุมธานี อาเภอเมืองฯ ทต.บ้านใหม่

(18) ฐานะทรัพยากรท้องถิน่

อนุรักษ์พืชพรรณไม้ อนุรักษ์พันธุ์พืชทางชีวภาพ

อนุรักษ์พันธุ์สัตว์ อนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น สามารถสืบค้นได้ที่ http://baanmai.go.th/


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

64

(19)

จังหวัดปราจีนบุรี อาเภอประจันตคาม อบต.ดงบัง

อบต.ดงบัง ได้เข้าร่วมโครงการ อพ.สธ. ตั้งแต่ปี 2557 โดยคณะกรรมการบริหารจัดการงาน ฐานทรัพยากรท้องถิ่น ได้มีการประชุมคัดเลือก ป่าชุมชนบ้านโนนหินผึ้ง พื้นที่หมู่ที่ 5 เป็นเขตพื้นที่ ปกปักทรัพยากรท้องถิ่น โดยมีพื้นที่ทั้งหมด 169 ไร่ 1 งาน 67 ตารางวา เป็นที่นาร่องและจะขยาย ผลไปยั ง หมู่ บ้ า นต่ า ง ๆ ในเขต อบต.ดงบั ง เนื่ อ งจากป่ า ชุ ม ชนบ้ า นโนนหิ น ผึ้ ง เป็ น แหล่ ง ทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ มีทั้งแหล่งอาหาร แหล่งสมุนไพร และพืชในท้องถิ่นอีกหลายชนิด แต่ใน ขณะเดียวกันก็มีคนบางกลุ่มใช้ประโยชน์จากป่าอย่างผิดวิธี โดยการลักขโมยพันธุ์ไม้ เช่น ผักหวาน และขโมยสมุนไพรเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ด้านต่าง ๆ มีการปล่อยสัตว์เลี้ยงเข้าไปในป่าทาให้พรรณไม้ ต่าง ๆ ได้รับความเสียหาย อบต.ดงบัง จึงน้อมนาแนวพระราชดาริ มาบริหารจัดการพื้นที่ดังกล่าว

สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.dongbang.go.th/index.php

จังหวัดพังงา อาเภอเกาะยาว อบต.เกาะยาวน้อย

อบต.เกาะยาวน้อย ได้เข้าร่วมโครงการ อพ.สธ. เมื่อปี 2553 ซึ่งดาเนินการทั้ง 3 ด้าน 6 งาน และได้ นาพระราชกระแส สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี “ทาอย่างไรให้ชุมชน ให้โรงเรียน โดยเฉพาะนักเรียน ช่วยในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และมีการทา DNA Fingerprint ในโรงเรียน”

(20) อบต.เกาะยาวน้อยจึงได้จัดตั้ง “ศูนย์อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรเกาะ ยาวน้อย” เพื่อเป็นฐานทรัพยากรในการพึ่งตนเอง สู่เศรษฐกิจพอเพียง เกิดประโยชน์แก่ชุมชนเกาะยาวน้อย และประเทศชาติต่อไปในอนาคต โดย เน้นการมีส่วนร่วมกับชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน โรงเรียน สถานศึกษา กลุ่ม แม่บ้ า น ภาคเอกชน พนั ก งานส่ ว นต าบล และพนั ก งานจ้ า ง ในการจั ด ทางานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ด้วยความรัก สามัคคีในองค์กร เพื่อนาไปสู่ ชุมชนที่เข้มแข็งและยั่งยืน สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.yaonoi.go.th/


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

(21) จังหวัดพังงา อาเภอเกาะยาว ทต.เกาะยาวใหญ่

65

ทต.เกาะยาวใหญ่ ได้เข้าร่วมโครงการ อพ.สธ. เมื่อปี 2558 ตามนโยบายของกรม ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นในการสนับสนุนให้ อปท. ดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ซึ่งดาเนินงานอยู่ภายใต้กรอบการสร้างจิตสานึก กิจกรรมที่ 8 โดย ทต.เกาะยาวใหญ่ ได้ดาเนินการทั้ง 3 ด้ า น 4 ฐานทรั พยากร และได้มีก ารใช้ เครื่ อ งมือ GPS ในการจั บ ตาแหน่งหรือปกปักทรัพยากรท้องถิ่นต่าง ๆ ไม่ให้ผิดพลาด ซึ่งถือเป็นต้นแบบของการใช้ เทคโนโลยีในการดาเนินโครงการ

สามารถสืบค้นได้ที่ http://020282.abt.in.th/

(22) ทต.พรุในมีสภาพพื้นที่เป็นเกาะ ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบหุบเขาอุดมสมบูรณ์ไปด้วยพรรณไม้นานา

จังหวัดพังงา อาเภอเกาะยาว ทต.พรุใน

ชนิดแต่ปัจจุบันความเจริญเติบโตของธุรกิจในรูปแบบที่พักมีจานวนมากขึ้น และมีค่านิยมสมัยใหม่เข้ามา แทนที่ทาให้ วิถีชุมชน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาที่ดีง ามเลือนหายไป จึงเป็นจุดเริ่ มต้นของการเข้า ร่ วม โครงการในปี 2553 และเริ่มจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่นในปี 2556 ด้วยความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่เทศบาล ชุมชน สถานศึกษา มัสยิด และหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนอย่างดีเยี่ยม โดยทรัพยากรที่โดดเด่นของ ทต.พรุในจะเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของชุมชนบนเกาะ เช่น ภูมิปัญญาการทาไซดักปลา เป็นต้น

สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.prunai.go.th/


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

66

(23) อบต.ราแดง ได้เข้าร่วมโครงการ อพ.สธ. ตั้งแต่ปี 2556 และได้ดาเนินการทั้ง 3 ด้าน 6 งาน โดยมี วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งศูนย์อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรท้องถิ่นตาบลราแดง ทั้งนี้พื้นที่ตาบลราแดง ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ในฤดูแล้งจะขาดแคลนน้าในการทาการเกษตร จึงจาเป็น อย่างยิ่งที่จะต้องขุดคลองเพื่อกักเก็บน้าไว้ทาการเกษตร

จังหวัดสงขลา อาเภอสิงหนคร อบต.ราแดง

รวมถึงปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกันการพังทลายของดิน การปลูกหญ้าแฝกจึงเป็นงานปลูกรักษาทรัพยากร ท้องถิ่นงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นต่อไป สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.ramdang.go.th/

(24) จังหวัดสงขลา อาเภอหาดใหญ่ อบต.ท่าข้าม

อบต.ท่าข้าม ได้สมัครเข้าร่วมโครงการ อพ.สธ. เมื่อปี 2556 โดยดาเนินกิจกรรมทั้งหมด 3 ด้าน 6 งาน และมุ่งเน้นที่การศึกษา 4 ทรัพยากรได้แก่ ทรัพยากรพืชที่ได้คัดเลือกพืชศึกษา คือ กะพ้อสัตว์ศึกษา คือ ผึ้งโพรยไทย หรือผึ้งยวน ชีวภาพศึกษาคือ เห็ดแครง และการศึกษา วัฒนธรรมภูมิปัญญา

การทาซั้งหรือฝายมีชีวิตมาทาการศึกษา โดยเลือกทรัพยากรศึกษาทั้ง 4 กรณีนั้น เพื่อมุ่งเน้น การเฟ้น หาคุณค่า และศักยภาพของทรัพยากรแต่ละชนิด เพื่อการอนุรักษ์ บารุงรักษาไว้ สร้างจิตสานึกให้คนใน ชุมชนรักและหวงแหนทรัพยากรในท้องถิ่นของตนเอง นาไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.thakham.go.th/


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

ทม.สะเดา ได้ ผ่ า นการประเมิ น ผลการด าเนิ น งานจากคณะกรรมการโครงการ อพ .สธ. เมื่อวันที่ 9 ก.ย. 2560 และได้รับพระราชทานป้ายสนองพระราชดาริ งานฐานทรัพยากรท้องถิ่น เมื่อวันที่28 พ.ย. 2560 โดยสนับสนุนการสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และสนับสนุน ในเรื่ อ งงบประมาณวัส ดุ อุ ปกรณ์ อ านวยความสะดวกต่ า ง ๆ ในการฟื้น ฟู การบารุ ง รั กษา และ การขยายพันธุ์เพิ่มขึ้น

จังหวัดสงขลา อาเภอสะเดา ทต.สะเดา

(25)

67

เทศบาลเล็ ง เห็ น ถึ ง พั น ธุ์ พื ช ในท้ อ งถิ่ น เช่ น ส้ ม โอ ส้มจุก ไหลเผือก ที่กาลังจะสูญหายจากท้องถิ่น โดย นามาขยายพันธุ์ และปลูกรักษาในพื้นที่แปลงปลูกของ ทม.สะเดา

สามารถสืบค้นได้ที่ http://sadaocity.go.th/event.php

จังหวัดสุราษฎร์ธานี อาเภอพนม ทต.คลองชะอุน่

ทต.คลองชะอุ่น ได้เข้าร่วมโครงการ อพ.สธ. ซึ่งแรกเริ่มนั้น ทต.คลองชะอุ่น ไม่มีความมั่นใจในการเข้า ร่ ว มโครงการ อพ.สธ. แต่ ไ ด้ รั บ ค าแนะน าจากที่ ป รึ ก ษาโครงการฯ ให้ ด าเนิ น การต่ อ ในโครงการ พระราชดาริต่อไป จึงมีการสารวจพื้นที่อนุรักษ์และเส้นทางข้อมูลพันธุ์ไม้ด้วยการใช้ข้อมูล GPS มีการปัก ป้ายกันเขตไว้เป็นพื้นที่อนุรักษ์พันธุ์พืช มีการสารวจข้อมูลท้องถิ่น มีการอนุรักษ์ และใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรท้องถิ่น

(26)

มีการจัดค่ายอนุรักษ์พันธุกรรมพืชในโรงเรียนเพื่อปลูกจิตสานึกในชุมชน มีการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่นซึ่ง ปัจจุบันได้อยู่ในขั้นตอนการเตรียมความพร้อมในการจัดทา สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.klongchaun.go.th/


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

68

(27) จังหวัดหนองคาย อาเภอศรีเชียงใหม่ ทต.พระพุทธบาท

อบต.พระพุทธบาท ได้สมัครเข้าร่วมโครงการ อพ.สธ. เมื่อปี 2558 ซึ่งได้ดาเนินกิจกรรม ทั้ง 3 ด้าน 6 งาน และมีจุดเด่นในเรื่องของวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นเนื่องจากตาบล พระพุทธบาทนั้น แต่เดิมเป็นชาวอพยพเข้ามาอยู่ในพื้นที่ ส่วนใหญ่เป็นชาวไทยและชาวลาว ตาบลพระพุทธบาทจึงมีวัฒนธรรมและภูมิปัญญาที่น่าสนใจและควรค่าแก่การอนุรักษ์ เช่น การทาไม้กวาดดอกหญ้า การทอผ้า การสานไม้ไผ่ การสานเชือกไนล่อนการทาอุปกรณ์จับ ปลา ชื่อท้องถิ่น “จั่น” เป็นต้น

สามารถสืบค้นได้ที่ http://020743.abt.in.th/ ในปี ง บประมาณ พ.ศ. 2558 อบต.โนนโหน ได้ ด าเนิ น การจั ด ท าฐานทรั พ ยากรท้ อ งถิ่ น ต.โนนโหน เพื่อให้ได้รู้จักทรัพยากรท้องถิ่นของตน และทรัพยากรอื่นๆ ในพื้นที่ป่าโนนเอียด ส่งเสริมให้มีการ จังหวัดอุบลราชธานี ฟื้นฟูบารุงรักษา ขยายพันธุ์เพิ่มขึ้น อาเภอวารินชาราบ (28) อบต.โนนโหนน โดยมีการจัดกิจกรรมในการปลูกรักษา ดังนี้ 1. จัดทาศูนย์เพาะชากล้าไม้ 2. จัดกิจกรรมปั่นปลูกป่า 3. จัดกิจกรรมพัฒนาป่าชุมชน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และเปลี่ยนประสบการณ์และยังเป็นการสืบทอด ความรู้จากคนรุ่นหลังสู่คนรุ่นใหม่ สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.nonnhon.go.th/


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

(29) จังหวัดอุบลราชธานี อาเภอเขื่องใน อบต.ยางขี้นก

อบต.ยางขี้นก ได้สมัครเข้าร่วมโครงการ อพ.สธ. เมื่อวันที่ 30 ก.ย. พ.ศ. 2558 ลาดับ สมาชิ ก ฐานทรั พ ยากรท้ อ ง ถิ่ น 8-634 04 10 เพื่ อ สนอง พระราชด าริ และ เป็ น การปลู ก จิ ต ส านึ ก ให้ ป ระชาชนมี ส่ ว นร่ ว มในการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรของประเทศ ที่นาไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน

ณ ตอนนี้ ช่ ว ยกั น อนุ รั ก ษ์ รั ก ษา ฟื้ น ฟู พั ฒ นา และน าไปสู่ ก ารใช้ ป ระโยชน์ ซึ่ ง ตรงกั บ เป้ า หมาย และวัต ถุ ป ระสงค์ของ อพ.สธ. และภายใต้ ก ารน้ อ มนา พระราชกระแส “การรั กทรั พยากร คือ การรั กชาติ รั ก แผ่ น ดิ น ” มาสู่ ก ารปฏิ บั ติ อ ย่ า งแท้ จ ริ ง ซึ่ ง มี ผ ลส าเร็ จ ใน ด้ า นการขุ ด เจาะบ่ อ ธนาคารน้ าใต้ ดิ น และ การจัดการน้าเสียของห้องสุขา ด้วยธนาคารน้าใต้ดินระบบปิด “สุขาพันปี” สามารถสืบค้นได้ที่ http://www.yangkhinok.com/

69


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ.

ภาคผนวก


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก ก.-1

ตัวอย่างคาสั่งคณะกรรมการดาเนินงานโครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืช อันเนือ่ งมาจากพระราชดาริฯ จังหวัดร้อยเอ็ด


ก.-2

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก

76


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก ก.-3

ตัวอย่างคาสั่งคณะทางานขับเคลื่อนและสนับสนุนการดาเนิน โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริฯ จังหวัดสระแก้ว


ก.-4

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก ก.-5


ก.-6

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก ก.-7


ข.-1

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก

ร่างคาสัง่ คณะทางานขับเคลือ่ นและสนับสนุนการดาเนินงาน โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริฯ อาเภอ........

คาสั่งอาเภอ................................. ที่ ........./....... เรื่อง แต่งตั้งคณะทางานขับเคลื่อนและสนับสนุนการดาเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อาเภอ..... -----------------------------โครงการอนุ รั ก ษ์ พั นธุ ก รรมพื ชอั นเนื่ อ งมาจากพระราชด าริ สมเด็ จ พระเทพรั ตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุ มารี เป็นโครงการที่ สมเด็จพระกนิษฐาธิ ราชเจ้ า กรมสมเด็จพระเทพรั ตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสืบสานพระราชปณิธานในการอนุรักษ์ทรัพยากรของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่ทรงมีสายพระเนตรอั นกว้างไกล โดยทรงให้ ความสาคัญและเห็ นถึงความสาคั ญของการอนุรั กษ์ พันธุกรรมพืช ทรัพยากร และการสร้างจิตสานึกนับเป็นพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อมแก่ปวงชนชาวไทย และประเทศไทยเป็นล้นพ้นที่ได้รับพระราชทานแนวพระราชดาริ พระราชกระแส และพระราชวินิจฉัย เพื่อเป็นกรอบใน การดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น เพื่อให้สนับสนุนการดาเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริสมเด็จพระเทพ รั ตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุ มารี ให้ บรรลุ เป้า หมาย และวัตถุป ระสงค์ ของโครงการ อ าเภอ..........จึ ง แต่ง ตั้ ง คณะท างานขั บ เคลื่ อ นและสนั บ สนุ น การด าเนิ น โครงการอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพื ช อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด าริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อาเภอ........โดยมีองค์ประกอบและอานาจหน้าที่ ดังนี้ (1) นายอาเภอ ประธาน (2) หัวหน้าส่วนราชการระดับอาเภอ คณะทางาน (3) เกษตรอาเภอ คณะทางาน (4) ที่ดินอาเภอ คณะทางาน (5) ปศุสัตว์อาเภอ คณะทางาน (6) ฯลฯ คณะทางาน (7) ท้องถิ่นอาเภอ คณะทางานและเลขานุการ


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก ข.-2

อานาจหน้าที่ (1) วางแนวทาง/ก าหนดแผนการสนั บ สนุ น ให้ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น เข้ า ร่ ว มสนอง พระราชดาริ โดยสมัครเข้าร่วมโครงการฯ และสนับสนุนการดาเนินกิจกรรม ตามแผนแม่บท อพ.สธ. และกาหนด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนาร่องและขยายผลการดาเนินงานในอาเภอ (2) วางแนวทางการจั ด ท าฐานทรั พ ยากรท้ อ งถิ่ น น าไปสู่ ก ารจั ด ตั้ ง ศู น ย์ อ นุ รั ก ษ์ และพัฒนาทรัพยากรตาบล และการขับเคลื่อนการดาเนินงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (3) ก ากั บ ติ ด ตาม และเร่ ง รั ด การด าเนิ น งานให้ เ ป็ น ไปตามแผนปฏิ บั ติ ง านรายปี อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับแผนแม่บทของ อพ.สธ. (4) ดาเนินการอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ................................................

(........................................) นายอาเภอ....................


ค.-1

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก ตัวอย่างรายงานการประชุมองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ รายงานการประชุม................................................................. ครั้งที... ่ ................................. วันที่.............................เดือน........................ พ.ศ........... ณ.....................................................................

ผู้มาประชุม 1. ชื่อ-สกุล......................................ตาแหน่ง....................................... 2. ชื่อ-สกุล......................................ตาแหน่ง....................................... ผู้ไม่มาประชุม (ถ้ามี) 1. ชื่อ-สกุล......................................ตาแหน่ง........................................ 2. ชื่อ-สกุล......................................ตาแหน่ง........................................ ผู้เข้าร่วมประชุม (ถ้ามี) 1. ชื่อ-สกุล......................................ตาแหน่ง........................................ 2. ชื่อ-สกุล......................................ตาแหน่ง........................................ เริ่มประชุมเวลา........................น. ระเบียบวาระที่ 1 : ประธานแจ้งเพื่อทราบ 1.1 ที่มาและความสาคัญในการเข้าร่วมสนองพระราชดาริ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ เป็นโครงการที่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสืบสานพระราชปณิธาน ในการอนุรักษ์ทรัพยากรของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ซึ่งทรงมีสายพระเนตรยาวไกล โดยที่ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงให้ความสาคัญและเห็นความสาคัญ ของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดดังในปี พ.ศ. 2503 ทรงอนุรักษ์ต้นยางนา ในปี พ.ศ. 2504 ทรงให้นาพรรณไม้จากภูมิภาคต่าง ๆ มาปลูก ไว้ในสวนจิตรลดา เพื่อเป็นแหล่งศึกษา และทรงมีโครงการพระราชดาริที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์พัฒนาทรัพยากร พัฒนา แหล่งน้า การอนุรักษ์และพัฒนาดิน อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ เป็นการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงสืบทอดพระราช ปณิธานต่อโดยมีพระราชดาริ ให้ดาเนินการอนุรักษ์พืชพรรณของประเทศโดยพระราชทานให้โครงการส่วนพระองค์ฯ สวนจิตรลดา ฝ่ายวิชาการเป็น ผู้ดาเนินการจั ดตั้งธนาคารพืชพรรณขึ้น ในปี พ.ศ. 2536 - 2549 โดยรั บทุนสนับสนุน


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก ค.-2

จากส านั ก งานคณะกรรมการพิ เ ศษเพื่ อ ประสานงานโครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด าริ (กปร.)พิ เ ศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ (กปร.) และเป็นหน่วยงานขึ้นตรงกับเลขาธิการพระราชวัง ตั้ง แต่ ปี พ.ศ. 2539 และต่ อ มาในปี ง บประมาณ พ.ศ. 2550 ส านักพระราชวัง ดาเนินการจั ดสรรงบประมาณให้ อพ.สธ. ดาเนินการแยกส่ วนอย่างชัดเจนจากโครงการส่ วนพระองค์ฯ สวนจิตรลดา การดาเนินงาน อพ.สธ. ดาเนินงานโดยอยู่ภายใต้แผนแม่บทซึ่งเป็นระยะ ๆ ละห้าปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 เป็นต้นมา และในแผนแม่บทระยะ 5 ปีที่หก นี้ มีแนวทางดาเนินการที่สอดคล้องและสนับสนุน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12.(ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564) ซึ่งมีกรอบแนวคิดและหลักการในการวางแผนที่สาคัญได้แก่ (1) การน้อมนาและประยุกต์ใช้หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (2) คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม (3) การสนับสนุนและส่งเสริม แนวคิดการปฏิรูปประเทศ และ (4) การพัฒนาสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เพื่อให้สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ซึ่งกรอบแนวความคิดทั้งสี่นั้นล้วนแต่ต้องดาเนินการภายใต้การดูแลรักษาทรัพยากร และการนามาใช้ประโยชน์อย่าง ยั่งยืน ยิ่งไปกว่านั้น อพ.สธ. ยังมีกิจกรรมตามกรอบแผนแม่บท อพ.สธ. ที่สอดคล้องกับแผนการขับเคลื่อนและปฏิรูป ระบบวิจัยแบบบูรณาการของประเทศและกรอบยุทธศาสตร์การวิจัยแห่งชาติ 20 ปีทั้ง 7 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) ด้านความมั่นคง (2) ด้านการเกษตร (3)ด้านอุตสาหกรรม(4)ด้านสังคม(5)ด้านการแพทย์และสาธารณสุข (6)ด้านพลังงาน(7) ด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ส่งผลประโยชน์ต่อประเทศชาติและประชาชนให้มากที่สุด เพื่อการบริหารจัดการ ความรู้ผลงานวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ทรัพยากร และภูมิปัญญาของประเทศ สู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ และสาธารณะ ด้วยยุทธวิธีที่เหมาะสมที่เข้าถึงประชาชนและประชาสังคมอย่างแพร่หลาย แผนแม่ บ ท อพ.สธ. ระยะ 5 ปี ที่ ห ก (ตุ ล าคม พ.ศ. 2559- กั น ยายน พ.ศ. 2564) เป็ น แผนแม่ บ ท ที่จัดทาขึ้น เพื่อใช้เป็นกรอบในการดาเนินงานตามแนวทางพระราชดาริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรั ตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุ มารี โดยมีหน่วยงานที่ร่ วมสนองพระราชดาริ เข้ามามีส่ วนร่ วมวางแผนงาน ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคทั่วประเทศไทย ทั้งภาครัฐและเอกชนให้มีแนวทางดาเนินงานต่อเนื่องตามกรอบแผนแม่บท โดยเน้นการทางานเข้าไปสร้างจิตสานึกในการรักษาทรัพยากรตั้งแต่ในสถานศึกษาดาเนินงานในระดับท้องถิ่นในการ จัดทาฐานข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่นซึ่งประกอบด้วย 3 ฐานทรัพยากร ได้แก่ ทรัพยากรชีวภาพ ทรัพยากรกายภาพ และทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา จากฐานข้อมูลดังกล่าวจะนาไปสู่การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน บนพื้นฐานของการมีจิตสานึก ในการอนุรักษ์ทรัพยากรที่มีอยู่ในประเทศไทยต่อไป


ค.-3

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก

สถานการณ์ดา้ นทรัพยากรของประเทศไทย ในปัจจุบันทั่วโลกที่เห็นตระหนักถึงภัยธรรมชาติที่มีมากขึ้น เนื่องจากข่าวสารที่สามารถสื่อสารได้อย่างฉับไว สามารถให้ความกระจ่างและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ประเทศไทยมีแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ พ.ศ. 2553-2557 ตั้งแต่วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ซึ่งแผนดังกล่าวได้ใช้เป็นกรอบแนวทางการ ดาเนินงานเกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติของประเทศ แต่ถึงแม้ประเทศไทยมีแผนฯ ดังกล่าว แต่นั่นเป็นการแก้ปัญหา เฉพาะหน้าต่อภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้น สิ่งที่ควรตระหนักมากที่สุดคือสาเหตุของการเกิดสิ่งเหล่านั้น อันได้แก่การดูแล ทรัพยากรธรรมชาติที่กาลังถูกคุกคาม ในหลาย ๆ ลักษณะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประชาคมโลกควรตระหนักและเห็นความสาคัญ ในเรื่องคุ้มครองและใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากร และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ตระหนักถึงความสมบูรณ์ทางด้าน ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ต่าง ๆ ตลอดจนรับทราบปัญหาและระดับความรุนแรงที่เกิดขึ้นจากการที่ทรัพยากรต่าง ๆ กาลังจะสูญสิ้นไป ซึ่งจะนาไปสู่การจัดการการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ข้อมูลของกรมป่าไม้ และกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช พบว่าพื้นที่ป่าไม้ลดลงอย่างต่อเนื่อง อย่างรวดเร็ว ส่งผลทาให้ พรรณพืชหลากหลายชนิดที่ยังไม่ได้ศึกษาและบางชนิดที่ยังไม่สารวจพบสูญพันธุ์ไป จากสิ่งเหล่านี้ไม่ได้เพียงแต่ทรัพยากรชีวภาพที่ประกอบด้วยสัตว์ พืช และจุลินทรีย์ จะโดนทาลายแต่ทรัพยากร กายภาพ และทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญาที่เกี่ยวข้องก็จะสูญหายไปด้วย ปี พ.ศ. 2553 จากรายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2553 ซึ่งรวบรวมข้อมูลจากหน่วยงาน ราชการที่เกี่ ยวข้องนับแต่เริ่ มปีง บประมาณ 2553 โดยคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่ง ชาติ ที่ต้ องจัดทารายงาน เพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อนาไปปฏิบัติให้สอดคล้องกับสถานการณ์นั้นพบว่าในส่วน ของทรัพยากรป่าไม้ซึ่งจัดให้เป็นสิ่งแวดล้อมบนบกนั้น มีพื้นที่ป่าทั้งหมด 107,615,181 ไร่ หรือคิดเป็น 33.56% ของ พื้นที่ประเทศ และเป็นพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 64,826,658 ไร่ หรือคิดเป็น 20.22% ของพื้นที่ประเทศ และพบว่ายังคงถูก บุกรุ ก ลักลอบตัดไม้ และถูกทาลายโดยไฟป่า อย่า งต่อ เนื่องทุกปี ในขณะที่กระทรวงทรั พยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมมีแผนเพิ่มพื้นที่ป่าของประเทศไทย เป็น 40% ของพื้นที่ทั้งหมด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 - 2563 หรือในอีก 9 ปี โดยแบ่งออกเป็นพื้นที่อนุรักษ์ 25% ทั้งการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกของชาติ อุทยานแห่งชาติฯ หรือพื้นที่ป่าสงวน เป็นต้น


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก ค.-4 ส่ ว นอี ก 15% จะผลั ก ดั น ให้ เ ป็ น พื้ น ที่ ป่ า เศรษฐกิ จ ต่ อ ไป โดยมี ห ลั ก การลดการคุ ก คามการสู ญ เสี ย ความหลากหลายทางชีวภาพ ปลูกป่าเพื่อฟื้นฟูสภาพป่าที่เสื่อมโทรม ตลอดจนทาให้ความหลากหลายทาง ชีว ภาพเกิ ด มูล ค่ า เพิ่ ม โดยเฉพาะพื ชสมุ นไพรที่ มี อย่ า งหลากหลายมาทาวิ จัย และน าไปใช้ ไ ด้จ ริ ง ในระบบ สาธารณสุขและผลักดันสมุนไพร และตารับยาแผนไทยหรือยาสมุนไพรเข้าสู่บัญชียาหลักแห่งชาติโดยกระทรวง สาธารณสุขมากกว่า 70 รายการ ซึ่งในจานวนยาเหล่านั้นจาเป็นต้องใช้สมุนไพรที่เป็นพืชวัตถุมากกว่า 200 ชนิด ผนวกกับธาตุวัตถุ สัตว์วัตถุและภูมิปัญญาในด้านการแพทย์แผนไทย ในการผลิตยาแผนไทยให้มีคุณภาพและเป็นที่ ยอมรับในการใช้ในโรงพยาบาลทั่วไป ในประเทศและต่างประเทศ สิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นต่อเมื่อเรายังมีทรัพยากรนั้น ๆ อยู่ ไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรกายภาพ ชีวภาพ และภูมิปัญญาในการใช้ทรั พยากรนั้น ๆ นั่นคือต้องทาให้เกิดการ สื่อสาร การศึกษาเรื่องการอนุรักษ์ นาไปสู่ความมีจิตสานึกต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรที่ทุกคนเกิดความตระหนักและ หวงแหนทรัพยากรที่มีอยู่ ในเรื่องของทรัพยากรทางทะเล ประเทศไทยมียุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล (พ.ศ.2555 2559) ได้กาหนดให้มีความสอดคล้องกับความต้องการของชาติในการแสวงประโยชน์จากทะเล ในห้วงเวลาดังกล่าว และมุ่งเน้นการสร้างเสถียรภาพ ความปลอดภัย เสรีภาพ และสภาวะแวดล้อมที่เอื้อ ต่อการดาเนินกิจกรรมทาง ทะเลของทุกภาคส่ วนอย่างยั่งยืน จึ งได้ดาเนินการจัดตั้งคณะกรรมการนโยบายผลประโยชน์แห่ งชาติทางทะเล เพื่อผลักดันให้เกิดกฎหมายเพื่อรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล โดยมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องซึ่งล้วนเป็น หน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริ อพ.สธ. เป็นส่วนใหญ่ เช่น กองทัพเรือกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กรมประมง กรมป่าไม้ กรมอุทยานฯ และอีกหลายหน่วยงาน ซึ่งตระหนักในปัญหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดูแล รักษาทรัพยากรและนาไปสู่การใช้ประโยชน์ เช่น ปัญหาการทาลายสิ่งแวดล้อมโดยมนุษย์ ปัญหาอุตสาหกรรม ที่เกี่ยวข้องกับทางทะเล ปัญหาทรัพยากรและการทาประมง การบริหารและการจัดการผลประโยชน์แห่งชาติทาง ทะเล การแย่งชิงทรัพยากรในทะเลระหว่างกลุ่มผลประโยชน์ภายในชาติและระหว่างประเทศ รวมทั้งปัญหาอื่น ๆ ที่จ ะนาไปสู่ ก ารทาลายทรั พยากรทางทะเลที่เป็นแหล่ง รวมทรั พยากรกายภาพทรั พยากรชีวภาพ รวมถึง ทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของประเทศไทย และเกี่ยวพันกับประเทศเพื่อนบ้านอีกด้วย


ค.-5

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก จากค าสั่ งหั วหน้ าคณะรั กษาความสงบแห่ งชาติ ที่ 62/2559 มี ผลบั งคั บใช้ ตั้ งแต่ วั นที่ 6 ตุลาคม 2559 เรื่อง “การปฏิรูประบบวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ” โดยกาหนดให้มีสภานโยบายวิจัยและ นวัตกรรมแห่งชาติ เพื่อทาหน้าที่ในการกาหนดทิศทางนโยบาย ยุทธศาสตร์ รวมทั้งปรับปรุงระบบวิจัยและ นวัตกรรมของประเทศ ตลอดจนกากับและติดตามการบริหารจัดการการจัดสรรงบประมาณ และประเมินผลการ ดาเนินการให้เป็นไปอย่างเหมาะสมและมีเอกภาพ อันเป็นประโยชน์ต่อการแก้ไขปัญหาการวิจัยของประเทศ และปฏิรูป การบริ ห ารราชการและก าหนดกรอบยุ ท ธศาสตร์ ก ารวิ จั ย แห่ ง ชาติ 20 ปี ทั้ ง 7 ยุ ท ธศาสตร์ ได้ แ ก่ ความมั่นคง การเกษตร อุตสาหกรรม สังคม การแพทย์และสาธารณสุข พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นนโยบายและกาหนดยุทธศาสตร์ ที่ต้องใช้ทุนทางทรัพยากรเป็นพื้นฐานทั้งสิ้น อพ.สธ. จึงติดตามและประสานงานในมิติการดูแลรักษาทรัพยากรของประเทศในแง่ของการสร้าง ความตระหนักนาไปสู่การสร้างจิตสานึกในการรักษาทรัพยากรของประเทศ ที่นาไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และ ยั่งยืน ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทรัพยากรของประเทศที่มีอยู่ ณ ตอนนี้ ช่วยกันอนุรักษ์รักษาฟื้นฟูพัฒนา และ นาไปสู่การใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนให้กับประเทศไทย ซึ่งตรงกับเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของอพ.สธ. และภายใต้ การน้อมนาพระราชกระแส “ การรักทรัพยากร คือการรักชาติรักแผ่นดิน ” มาสู่การปฏิบัติโดยแท้จริง 1.2 พระราชดาริบางประการ “วั นที่ 8 กุ มภาพั นธ์ 2536 ณ อาคารที่ ประทั บในส านั กงานชลประทานเขต1 ถนนทุ่ งโฮเตล จังหวัดเชียงใหม่ การสอนและอบรมให้เด็กมีจิตสานึกในการอนุรักษ์พืชพรรณนั้นควร ใช้วิธีการปลูกฝังให้เด็ก เห็นความงดงามความน่าสนใจ และเกิดความปิติที่จะทาการศึกษาและอนุรักษ์พืชพรรณต่อไป การใช้วิธีการสอน การอบรมที่ให้เกิดความรู้สึกกลัวว่า หากไม่อนุรักษ์แล้วจะเกิดผลเสีย เกิดอันตรายแก่ตนเอง จะทาให้เด็กเกิด ความเครียด ซึ่งจะเป็นผลเสียแก่ประเทศในระยะยาว” “วั น ที่ 29 กรกฎาคม 2540 ณ อาคารชั ย พั ฒ นา สวนจิ ต รลดา ทรงให้ ห าวิ ธี ก ารที่ จ ะ ทาให้ เด็ก สนใจพืชพรรณต่าง ๆ เกิดความสงสัย ตั้งคาถามตนเองเกี่ยวกับพืชพรรณที่ตนสนใจ จะนาไปสู่ การศึกษาทดลองค้นคว้าวิจัยอย่างง่าย ๆ สาหรับโรงเรียนที่ไม่มีห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ที่ดีนัก หากอาจารย์ โรงเรียนต่าง ๆ ทาได้ดังนี้ ก็จะช่วยให้เด็กเป็นคนฉลาด”


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก ค.-6 “วั น ที่ 14 สิ ง หาคม 2540 ณ ศาลาดุ สิ ด าลั ย สวนจิ ต รลดา การรั ก ในทรั พ ยากร คือ การรักชาติรักแผ่นดินรักสิ่งที่เป็นสมบัติของตัวเรา การที่จะให้เขารักประเทศชาติหรือรักษาสมบัติของเขานั้น ทาได้โดยก่อให้เกิดความรักความเข้าใจ ถ้าใครไม่รู้จักกัน เราก็ไม่มีความสัมพันธ์ไม่มีความผูกพันต่อกัน แต่ว่าถ้าให้ รู้จักสิ่งนั้นว่าคืออะไรหรือว่าทางาน ก็จะรู้สึกชื่นชม และรักหวงแหนสิ่งนั้นว่าเป็นของตน และจะทาให้เกิดประโยชน์ได้” “เคยแนะน าโรงเรี ย นต่ า ง ๆ นอกจากพื ช พรรณแล้ ว สิ่ ง ที่ มี ใ นธรรมชาติ สิ่ ง ที่ ห าได้ ง่ า ย อาจเป็นอุปกรณ์สอนได้หลายอย่างแม้แต่วิชาศิลปะก็ให้มาวาดรูปต้นไม้ ก็ไม่ต้องหาของอื่นมาเป็นแบบหรือเรื่อง ภาษาไทย การเรียงความก็อาจทาให้เรื่องของการเขียนรายงาน ทาให้หัดเขียนหนังสือหรืออาจ แต่งคาประพันธ์ ในเรื่องพืชเหล่านี้ เป็นตัวอย่างงานศึกษางานวิทยาศาสตร์ และวิชาอื่น ๆ ดังที่ได้กล่าวมา นอกจากนั้นในวิชาพฤกษศาสตร์ โดยเฉพาะ ซึ่งอาจช่วยได้ ในที่นี้ยังไม่เคยกล่าว คือเรื่องวิชาการท้องถิ่น ซึ่งก็เป็นนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ การอนุรักษ์ทรัพยากร ไม่ใช้่เฉพาะให้นักเรียนปลูกป่า หรือให้อนุรักษ์ดิน ปลูกหญ้าแฝกอย่างเดียว ก็พยายามจะให้ ออกไปดูข้าง ๆ โรงเรียนว่าที่นั่นมีอะไรอยู่ และต้นไม้ชื่ออะไร เป็นอะไร” “ทรงพระราชทานพระราชวินิจฉัย เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2548 ได้ไปกับ สมศ. มาเห็นว่าโรงเรียนยัง สัมพันธ์กับชุมชนน้อย ทาอย่างไร ให้ชุมชนมาให้โรงเรียน โดยเฉพาะนักเรียน ช่วยในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชและให้ มีการทา DNA Fingerprint ในโรงเรียน” 1.3 แนวทางการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ( 1 ) เ ป้ า ห ม า ย เ พื่ อ พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร อ นุ รั ก ษ์ แ ล ะ พั ฒ น า ท รั พ ย า ก ร พั น ธุ ก ร ร ม พื ช และทรัพยากรให้เกิดประโยชน์ถึงมหาชนชาวไทย (2) วัตถุประสงค์ (2.1) เข้าใจและเห็นความสาคัญของพันธุกรรมพืชและทรัพยากร (2.2) ให้ร่วมคิด ร่วมปฏิบัติ จนเกิดประโยชน์ถึงมหาชนชาวไทย (2.3) ให้มีระบบข้อมูลพันธุกรรมพืชและทรัพยากร สื่อถึงกันได้ทั่วประเทศ (3) แผนแม่บทของ อพ.สธ. ดาเนินงานใน 3 ฐานทรัพยากร ได้แก่ (3.1) ทรัพยากรภายภาพ (3.2) ทรัพยากรชีวภาพ (3.3) ทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา


ค.-7

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก (4) กรอบการดาเนินงาน 3 กรอบ กิจกรรมสนับสนุนการดาเนินงาน 8 กิจกรรม (4.1) กรอบการเรียนรู้ทรัพยากร ประกอบด้วย กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมปกปักทรัพยากร กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากร กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมปลูกรักษาทรัพยากร (4.2) กรอบการใช้ประโยชน์ ประกอบด้วย กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากร กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมศูนย์ข้อมูลทรัพยากร กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมวางแผนพัฒนาทรัพยากร (4.3) กรอบการสร้างจิตสานึก ประกอบด้วย กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร กิจกรรมที่ 8 กิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษ์ทรัพยากร (5) วิถี อพ.สธ. ซื่อตรง มุ่งมั่น พัฒนา สามัคคี มีคุณธรรม (5.1) ซื่อตรง : ต่อตนเอง หน้าที่รับผิดชอบ อาชีพ องค์กร ผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชา

เพื่อนร่วมงาน (5.2) มุ่งมั่น : มีศรัทธา มีจิตปณิธานมุ่งมั่น ที่จะปฏิบัติงานให้สาเร็จ เพื่อผลประโยชน์แท้ (5.3) พัฒนา : วิทยาการปัญญา พัฒนาคุณภาพงาน พัฒนาคุณภาพชีวิต พัฒนาตนเองให้ พร้อมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและการได้รับมอบหมาย เรียนรู้ ศึกษา ค้นคว้า รู้จริง รู้ทา รู้จา พัฒนาด้วยความยั่งยืน พัฒนาสุขภาพกาย ให้สุขภาพแข็งแรง พัฒนาสุขภาพจิต ให้เข็มแข็ง พอเพียง (5.4) สามั ค คี : ร่ ว มมื อ ร่ ว มใจ ร่ ว มคิ ด ร่ ว มปฏิ บั ติ มี ค วามพร้ อ มเพรี ย งเป็ น หนึ่ ง (one for all all for one) one = พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว one = อพ.สธ. (5.5) มีคุณธรรม : ความรับผิดชอบ ซื่อตรง ซื่อสัตย์ อดทน อดกลั้น สามัคคี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เมตตา กรุณา มุทิตา รักษาศีล ซื่อตรงแรกเหมือนเป็นคุณธรรมที่เสมือนเป็นหัวเรือคุณธรรมหลังเป็นเหมือนหางเสือที่ คอยกากับโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เรื่องความรับผิดชอบ ตามแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามแนวพระราชดาริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ในหัวข้อในหลวงกับความรับผิดชอบ หมายถึงการรู้หน้าที่มีวินัย ตรงต่อ เวลา ความเป็นเลิศ ความกล้าหาญ ความซื่อตรง ถ้ามีความรับผิดชอบแล้วงานย่อมสาเร็จตามที่ได้รับมอบหมาย จากนั้นคุณธรรมอื่น ๆ จะตามมา ท้ายสุดการรักษาศีล ผู้นับถือตามศาสนาใด ก็รักษาปฏิบัติตามหลักศรัทธา รักษาข้อปฏิบัติ แต่ละศาสนาที่ตนเองนับถือ สานักงานหรือองค์กรนั้น ๆ ก็จะประสบแต่ความสุข ความสงบ และความเจริญก้าวหน้า


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก ค.-8 (6) การด าเนิ นงานฐานทรั พยากรท้ องถิ่ น งานฐานทรั พยากรท้ องถิ่ น อยู่ ใ นกรอ บ การดาเนินงานที่ 3 กรอบการสร้างจิตสานึก กิจกรรมที่ 8 กิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษ์ทรัพยากร ประกอบด้วย 3 ด้าน ดังนี้ ด้านที่ 1 การบริหารและการจัดการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน และสถานศึกษา มีส่วนร่วม ในการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่นแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน การจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น วางแผนการ บริหารและแผนการดาเนินงานการจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น การดาเนินงานตามแผน สรุปและประเมินผลการ ดาเนินงาน วิเคราะห์ผลและปรับปรุงพัฒนางานรายงานผลการดาเนินงานให้ อพ.สธ. ทราบอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ด้านที่ 2 การดาเนินงาน งานที่ 1 การดาเนินงานปกปักทรัพยากรท้องถิ่น 1.1 การกาหนดขอบเขตพื้นที่และการสารวจทรัพยากร 1.2 การทาผังแสดงขอบเขตพื้นที่ปกปักทรัพยากรท้องถิ่น 1.3 การศึกษาทรัพยากรในพื้นที่ปกปักทรัพยากรท้องถิ่น 1.4 การทาตัวอย่างทรัพยากรในพื้นที่ปกปักทรัพยากรท้องถิ่น 1.5 การทาทะเบียนทรัพยากรในพื้นที่ปกปักทรัพยากรท้องถิ่น 1.6 การดูแล รักษา ทรัพยากรในพื้นที่ปกปักทรัพยากรท้องถิ่น งานที่ 2 การดาเนินงานสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่น 2.1 การเก็บข้อมูลพื้นฐานในท้องถิ่น 2.2 การเก็บข้อมูลการประกอบอาชีพในท้องถิ่น 2.3 การเก็บข้อมูลด้านกายภาพในท้องถิ่น 2.4 การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน 2.5 การเก็บข้อมูลการใช้ประโยชน์ของพืชในท้องถิ่น ทะเบียนพรรณไม้ในชุมชน 2.6 การเก็บข้อมูลการใช้ประโยชน์สัตว์ในท้องถิ่น ทะเบียนพันธุ์สัตว์ในชุมชน 2.7 การเก็บข้อมูลการใช้ประโยชน์ชีวภาพอื่น ๆ ทะเบียนชีวภาพอื่น ๆ ในชุมชน 2.8 การเก็บข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น ทะเบียนภูมิปัญญาในชุมชน


ค.-9

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก 2.9 การเก็บข้อมูลแหล่งทรัพยากรและโบราณคดี ทะเบียนแหล่งทรัพยากรในชุมชน

และทะเบียนโบราณคดีในชุมชน 2.10 การจัดทารายงานผลการสารวจและจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น งานที่ 3 การดาเนินงานปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่น 3.1 การจัดหาและรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่น 3.2 การปลูกและรักษาทรัพยากรท้องถิ่น 3.3 การติดตามการเจริญเติบโตและการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรท้องถิ่น เช่น แบบบันทึกการเปลี่ยนแปลง งานที่ 4 การดาเนินงานอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรท้องถิ่น 4.1 การฟื้นฟู บารุงรักษา ขยายพันธุ์เพิ่มขึ้นและแจกจ่ายให้กับชุมชน ตาบล 4.2 การใช้ประโยชน์ทรัพยากรท้องถิ่นอย่างยั่งยืน เช่น การจัดการท่องเที่ยวเชิง นิเวศ การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากทรัพยากรในท้องถิ่น การสร้างแหล่งเรียนรู้ ฯลฯ งานที่ 5 การดาเนินงานศูนย์ข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่น 5.1 การรวบรวมและการบันทึกข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่น (ทรัพยากรกายภาพ ทรัพยากรชีวภาพ และทรัพยากรวัฒนธรรมภูมิปัญญา) 5.2 ระบบการจัดเก็บและสืบค้นได้ (เอกสาร และคอมพิวเตอร์) งานที่ 6 งานสนับสนุนในการอนุรักษ์และจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น 6.1 สนั บ สนุ น การสร้ า งจิ ต ส านึ ก ในการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากร (งานสวน พฤกษศาสตร์โรงเรียน) 6.2 สนับสนุนในเรื่องงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ อานวยความสะดวกต่าง ๆ ด้านที่ 3 ผลการดาเนินงาน 3.1 สภาพแวดล้อมทั่วไปของท้องถิ่นมีความสะอาด เป็นระเบียบ ร่มรื่น น่าอยู่ 3.2 บรรยากาศของท้องถิ่น 3.3 บุคลากร มีคุณธรรม จริยธรรม 3.4 ผลการดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บุคลากรดีเป็นที่ยอมรับ


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก ค.-10 ระดับการประเมินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น 1. ป้ายสนองพระราชดาริในงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น 2. เกี ยรติ บั ตรงานฐานทรั พยากรท้ องถิ่ น ขั้ นที่ 1. : เกี ยรติ บั ตรแห่ งความมุ่ งมั่ น อนุ รั กษ์ สรรพสิ่ ง สรรพชีวิต ด้วยจิตสานึกในงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น 3. เกี ย รติ บั ต รงานฐานทรั พ ยากรท้ อ งถิ่ น ขั้ น ที่ 2 : เกี ย รติ บั ต รแห่ ง การเข้ า สู่ ส ถานภาพ สถานอบรมสั่งสอนเบ็ดเสร็จ บนฐานงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น 4. เกียรติบัตรงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ขั้นที่ 3 : เกียรติบัตรแห่งการเป็นสถานอบรมสั่งสอนเบ็ดเสร็จ บนฐานงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ระเบียบวาระที่ 2 : เรื่องเพื่อพิจารณา 2.1 ขั้นตอนการสมัครเป็นสมาชิก 2.1.1 จัดประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จ านวน....ครั้ง จานวน ..... คณะ (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้มีการประชุมหารือเพื่อพิจารณาในการเข้าร่วมสมัครสมาชิกฐานทรัพยากรท้องถิ่น ของคณะผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวนครั้ง จานวนคณะ) 2.1.2 จัดเอกสารประกอบการสมัครสมาชิก ตรวจสอบความเรียบร้อย สมบูรณ์ ในการจัดเตรียม เอกสารประกอบการสมัครสมาชิก เอกสาร 1 หนังสือราชการขอสมัครเป็นสมาชิก “ฐานทรัพยากรท้องถิ่น” เอกสาร 2 แบบสอบถามข้อมูลองค์กรปกครองส่ วนท้อ งถิ่นเพื่อประเมินความพร้อ มขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นที่จะร่วมสนองพระราชดาริ เอกสาร 3 แผนที่แสดงขอบเขต ภูมิศาสตร์ และมาตราส่วน เอกสาร 4 รายงานการประชุมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2.1.3 มติที่ประชุม (เห็นชอบ/พร้อมดาเนินการ) - ผู้เข้าร่ วมประชุมทุก คน ในแต่ละคณะ รับทราบและพิจ ารณากระบวนการดาเนินงานฐาน ทรัพยากรท้องถิ่น - ประธานในที่ประชุม สอบถามผู้เข้าประชุมเห็นชอบ การที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการ เข้าร่วมสมัครเป็นสมาชิกฐานทรัพยากรท้องถิ่น และสรุปจานวนผู้ลงมติ จานวน.....เสียง (มติที่ประชุมเป็นเอกฉันท์) ได้แจ้งการสมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิก “ฐานทรัพยากรท้องถิ่น” ให้ที่ประชุมได้ทราบกันทั่วทุกท่านแล้วมีมติ ดังนี้


ค.-11

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก 1. ( ) เห็นชอบ ( ) ไม่เห็นชอบ 2. ( ) พร้อม ( ) ยังไม่พร้อม 2.1 ( ) ผู้บริหารพร้อมที่จะสนับสนุนการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น 2.2 ( )ผู้บริหารพร้อมที่จะประสานกับหน่วยงานเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น 2.3 ( ) ผู้บริหารพร้อมที่จะเข้าประชุมในโอกาสต่าง ๆ ในงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ตัวอย่าง แบบบันทึกรายชื่อ ลายมือชื่อผู้เข้าร่วมการประชุม

ที่

ชือ่ -สกุล

ตำแหน่ง

ลำยมือชือ่

ระเบียบวาระที่ 3 : เรื่องอื่น ๆ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................... เลิกประชุม เวลา..................น. (ลายมือชื่อ) (.......................................) (ผู้จดรายงานการประชุม) (ลายมือชื่อ) (........................................) (ผู้ตรวจรายงานการประชุม)


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก ง.-1

ขั้นตอนการจัดส่งเอกสารการสมัครเข้าร่วมสนองพระราชดาริ โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริฯ งานฐานทรัพยากรท้องถิน่ และงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (สาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ) เอกสารประกอบการสมัครเข้าร่วม สนองพระราชดาริโครงการ อพ.สธ.

ขั้นตอนการสมัครเข้าร่วม โครงการ อพ.สธ.

งานฐานทรัพยากรท้องถิน่

อปท. จัดเตรียมเอกสารประกอบการสมัคร ให้ครบถ้วนแล้วให้นาส่ง สถอ.

1. หนังสือเรียน ผอ.โครงการ อพ.สธ. (หนังสือนาส่ง) 2. รายงานการประชุมองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น (ผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ ผู้นาชุมชน ตัวแทนชุมชน และหน่วยงานภาครัฐในตาบล) 3. ข้อมูลพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น 4. แบบสอบถามเพื่อประเมินความพร้อมของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5. แผนที่โดยสังเขปขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น (ระบุขอบเขตชัดเจน) งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 1. ใบสมัคร 2. จดหมายขอสมัครเป็นสมาชิก "สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน” 3. แบบสอบถามเพื่อประเมินความพร้อมฯ 4. สารวจรายชื่อพรรณไม้เบื้องต้นใน สถานศึกษา 5. แผนที่ประกอบการเดินทาง 6. สาเนาเอกสารกรรมสิทธิ์ในการถือครอง ที่ดิน 7. สาเนารายชื่อครู-อาจารย์ ที่เข้าร่วมประชุม พิจารณาในการสนองพระราชดาริ

สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ อาเภอ ตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วน ก่อนส่งให้ สถจ. สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ จังหวัด

- สถจ. รวบรวมเอกสารการสมัครนาเรียน ผวจ. ในฐานะประธานฯ (ผ่ า นหั ว หน้ า สานักงานจังหวัดในฐานะเลขานุการฯ) - ผวจ. พิ จ ารณาลงนามประสานส่ ง ชุ ด เอกสารการสมัครของ อปท. (ทั้งหมดในแต่ ละวงรอบ) มายัง ผอ.โครงการ อพ.สธ. ผอ.โครงการ อพ.สธ. โครงการ อพ.สธ. พิจ ารณาผลการสมัค ร และแจ้ ง เลขสมาชิ ก ของ อปท. กลั บ ไปยั ง ผวจ. สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ จังหวัด

สถจ. สรุปรายงานผลให้ สถ. ทราบ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่

ติดต่อประสานงาน กรมส่งเสริมเสริมการปกครองท้องถิน่

ติดต่อประสานงาน : กองพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องถิ่น ส่วนส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ คุณภาพชีวิต โทรศัพท์ : 02–2419000 ต่อ 4104, 4132 โทรสาร : 02-2416930-1 E–mail : pcd2555@hotmail.com

อพ.สธ. (งานฐานทรัพยากรท้องถิ่น

และงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน) ติดต่อประสานงาน : โทรศัพท์ : 02–2808710, 02–2817999, 02-2818422 ต่อ 2219, 2220-22 โทรสาร : ต่อ 2221 มือถือ : 081-6277601, 081-9078050 ดาวน์โหลดเอกสารการสมัครสมาชิกได้ที่ Website : http://www.rspg.or.th/ domestic/files/ pdf/8_014.pdf


ง.-2

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก

สมัครสมาชิก “ฐานทรัพยากรท้องถิ่น” สาหรับเทศบาล และองค์การบริหารส่วนตาบล(อบต.) 1. จัดประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1.1 กาหนดระเบียบวาระการประชุม เรื่อง การสมัครสมาชิกฐานทรัพยากรท้องถิ่น 1.2 รายงานการประชุม 1.2.1 ผู้เข้าร่วมการประชุม ดังนี้ - ฝ่ า ยบริ ห าร คือ นายกฯ รองนายกฯ ปลั ด สมาชิ ก หั ว หน้ า ฝ่า ย ผู้ อ านวยการเขต ผู้ช่วยผู้อานวยการเขต และคณะเจ้าหน้าที่ - ฝ่ายนิติบัญญัติ คือ ประธานสภาฯ รองประธานสภาฯ เลขาประธานสภา และสมาชิกสภา - ผู้ น าท้ อ งถิ่ น คื อ ก านั น ผู้ ใ หญ่ บ้ า น ผู้ น าชุ ม ชน ผู้ น าศาสนา ผู้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษา ปราชญ์ชาวบ้าน กลุ่มอนุรักษ์ และตัวแทนชุมชน 1.2.2 บันทึกรายงานการประชุม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1.2.3 มติที่ประชุม เห็นชอบและพร้อมดาเนินการสมัครสมาชิกฐานทรัพยากรท้องถิ่น (มติเห็นชอบเป็นเอกฉันท์) 1.2.4 หลักฐานรายชื่อ ลายมือชื่อผู้เข้าร่วมการประชุม และลงนามรับรองสาเนาถูกต้อง 2. จัดเอกสารประกอบการสมัคร เอกสารหมายเลข 1 หนังสือราชการขอสมัครเป็นสมาชิก “ฐานทรัพยากรท้องถิ่น” เอกสารหมายเลข 2 แบบสอบถามข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อประเมินความพร้อมขององค์กร เอกสารหมายเลข 3 แผนที่แสดงขอบเขต ภูมิศาสตร์ และมาตราส่วน เอกสารหมายเลข 4 รายงานการประชุมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3. จัดส่งใบสมัครสมาชิก “ฐานทรัพยากรท้องถิ่น” ผ่านอาเภอ ไปยังจังหวัด (สานักงานส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่นจังหวัด สอบถามรายละเอี ยดเพิ่มเติ มได้ที่ โครงการอนุรั กษ์พันธุกรรมพืชอั นเนื่อ งมาจากพระราชดาริ ฯ พระราชวังดุสิต สวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2280-8710, 0-2281-7999, 0-2281-8422 ต่อ 2219, 2220-22 มือถือ 081-6277601, 081-9078050 โทรสาร 0-2280-8710, 0-2281-7999, 0-2281-8422 ต่อ 2221 สามารถดาวน์โหลดเอกสารสมัครสมาชิก ได้ที่ Website http://www.rspg.or.th/domestic/files/pdf/8_014.pdf


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก ง.-3 สมัครสมาชิก “สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน” สถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) 1. จัดประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา 1.1 กาหนดระเบียบวาระการประชุม เรื่อง การสมัครสมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 1.2 รายงานการประชุม 1.2.1 ผู้เข้าร่วมการประชุม ดังนี้ - คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา คณะครูทั้งหมดในสถานศึกษา 1.2.2 บันทึกการประชุม 1.2.3 มติ ที่ประชุม เห็ นชอบและพร้อ มดาเนินการการสมัค รสมาชิกสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน (เห็นชอบเป็นเอกฉันท์) 1.2.4 หลักฐานรายชื่อ ลายมือชื่อผู้เข้าร่วมการประชุม และลงนามรับรองสาเนาถูกต้อง 2. จัดเอกสารประกอบการสมัคร เอกสารหมายเลข 1 หนังสือราชการขอสมัครเป็นสมาชิก “สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน” เอกสารหมายเลข 2 แบบสอบถามข้อมูลสถานศึกษา เพื่อประเมินความพร้อมของสถานศึกษาที่จะร่วม สนองพระราชดาริ เอกสารหมายเลข 3 บันทึกข้อมูลการสารวจพรรณไม้เบื้องต้นในสถานศึกษา เอกสารหมายเลข 4 สาเนาเอกสารกรรมสิทธิ์ในการถือครองที่ดิน หรือหนังสืออนุญาตให้ใช้ที่ดิน ตั้งสถานศึกษา เอกสารหมายเลข 5 รายงานการประชุมของสถานศึกษา 3. จัดส่งใบสมัครสมาชิก “สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน” ผ่านอาเภอไปยังจังหวัด (สานักงานศึกษาธิการจังหวัด) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ พระราชวังดุสิต สวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2280-8710, 0-2281-7999, 0-2281-8422 ต่อ 2219, 2220-22 มือถือ 081-6277601, 081-9078050 โทรสาร 0-2281-7999 ต่อ 2221 สามารถดาวน์โหลดเอกสารสมัครสมาชิก ได้ที่ Website http://www.rspg.or.th/botanical_school/school_bot_2.htm


จ.-1

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก

ร่างคาสัง่ คณะกรรมการดาเนินโครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริฯ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ....(อพ.สธ.-อปท.)

คาสั่งองค์การบริหารส่วนตาบล.............. ที่ ............/............. เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น....(อพ.สธ.-อปท.) ----------------------------------ตามที่ อ งค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบล............ ได้ ร่ ว มสนองพระราชด าริ ใ นโครงการอนุ รั ก ษ์ พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อดาเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ ในกิจกรรมงานทรัพยากรท้องถิ่น 3 ฐาน ทรัพยากร ได้แก่ ทรัพยากรกายภาพ ทรัพยากรชีวภาพ และทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา เพื่อให้การดาเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุ มารี องค์ ปกครองส่ วนท้ องถิ่ น ......เป็น ไปด้ วยความเรี ยบร้ อ ย และบรรลุวั ตถุป ระสงค์ จึ ง แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการดาเนิน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น....(อพ.สธ.-อปท.) โดยมีองค์ประกอบและอานาจหน้าที่ ดังนี้ 1. คณะกรรมการด้านการบริหารและการจัดการ ประกอบด้วย (1) ......................... ที่ปรึกษา (2) ......................... นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประธาน (3) .......................... รองนายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รองประธาน (4) .......................... เลขานุการนายกฯ กรรมการ


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก จ.-2 (5) .................. ประธานสภาฯ กรรมการ (6) .................. สมาชิกสภาฯ กรรมการ (7) .................. ผู้บริหารสถานศึกษา กรรมการ (8) .................. กานัน กรรมการ (9) .................. ผู้ใหญ่บ้าน กรรมการ (10) ................. ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรรมการ/เลขานุการ (11) ................ เจ้าหน้าที่ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ผู้ช่วยเลขานุการ อานาจหน้าที่ (1) จัดประชุมคณะกรรมการดาเนินโครงการ อพ.สธ.-อปท. อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง (2) กาหนดกรอบแนวทางการดาเนินงานของหน่วยงานให้สอดคล้องกับแผนแม่บท อพ.สธ. (3) ดาเนินงานและติดตามงานให้เป็นไปตามกรอบแนวทางการปฏิบัติงานและสอดคล้องกับแนว ทางการดาเนินงานตามแผนแม่บท อพ.สธ. (4) สนับสนุนให้มีการฝึกอบรมและศึกษาด้านพันธุกรรมพืช (5) แต่งตั้งคณะทางานหรืออนุกรรมการเฉพาะกิจเพื่อดาเนินงานตามแนวทางการดาเนินงาน อพ.สธ. 2. คณะกรรมการด้านการดาเนินงาน ประกอบด้วย 2.1 คณะทางานฝ่ายปกปักทรัพยากรท้องถิ่น ประกอบด้วย (1) ..............กานัน หัวหน้าคณะทางาน (2) ..............ผู้ใหญ่บ้าน คณะทางาน (3) ..............สมาชิกสภาฯ คณะทางาน (4) ..............ผู้แทนสถานศึกษา คณะทางาน (5) ..............อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก คณะทางาน (6) ..............ผู้แทนนักเรียน/นักศึกษา คณะทางาน (7) ..............ปราชญ์ชาวบ้าน คณะทางาน (8) ..............เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คณะทางาน (9) ..............ผู้อานวยการกองช่าง คณะทางาน/เลขานุการ (10) .............เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ผู้ช่วยเลขานุการ


จ.-3

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก

อานาจหน้าที่ (1) จัดทาขอบเขตพื้นที่ปกปักทรัพยากร (2) สารวจ ทารหัสประจาต้น ทารหัสพิกัด เพื่อรวบรวมเป็นหลักฐานข้อมูลในพื้นที่ของหน่วยงาน ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานราชการ หรือเอกชน เช่น พื้นที่ป่าที่ชาวบ้านร่วมใจปกปักรักษา พื้นที่บริเวณสานักงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พื้นที่บริเวณสถานศึกษา เป็นต้น (3) สารวจ ทารหัสพิกัด และค่าพิกัดของทรัพยากรกายภาพต่าง ๆ เพื่อรวบรวมเป็นข้อมูลในพื้นที่ ของหน่วยงานต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานราชการ หรือเอกชน (4) ส ารวจเก็ บ ข้ อ มู ล ภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น วั ฒ นธรรมต่ า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ (5) สนับสนุนให้มีอาสาสมัครปกปักทรัพยากรในระดับหมู่บ้าน 2.2 คณะทางานฝ่ายสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากร ประกอบด้วย (1) ..............ผู้ใหญ่บ้าน หัวหน้าคณะทางาน (2) ..............สมาชิกสภาฯ คณะทางาน (3) ..............ผู้แทนสถานศึกษา คณะทางาน (4) ..............อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก คณะทางาน (5) ..............ผู้แทนนักเรียน/นักศึกษา คณะทางาน (6) ..............ปราชญ์ชาวบ้าน คณะทางาน (7) ..............เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คณะทางาน (8) ..............ผู้อานวยการกองการศึกษา คณะทางาน/เลขานุการ (9) ..............เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ผู้ช่วยเลขานุการ อานาจหน้าที่ (1) จัดเก็บข้อมูลทางกายภาพพืช สัตว์ ข้อมูลพื้นฐานในท้องถิ่น ข้อมูลการประกอบอาชีพ ข้อมูล ประวัติหมู่บ้าน วิถีชุมชน จัดทารายงานผลการสารวจและจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น (2) เก็ บ ข้ อ มู ล การใช้ ป ระโยชน์ จ ากพื ช และสั ต ว์ ใ นท้ อ งถิ่ น การท าทะเบี ย นพรรณไม้ และพันธุ์สัตว์ ในชุมชน และการเก็บข้อมูลการใช้ประโยชน์ชีวภาพอื่น ๆ ทะเบียนชีวภาพอื่น ๆ ในชุมชน จัดทารายงาน ผลการสารวจและจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก จ.-4 (3) เก็บรวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น ข้อมูลแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ จัดทารายงานผล การสารวจและจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น (4) การสารวจเก็บรวบรวมตัวอย่างแห้ง และตัวอย่างดองเพื่อเป็นตัวอย่างในการศึกษาหรือเก็บ ในพิพิธภัณฑ์พืช พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา (5) การเก็ บ พันธุ ก รรมทรั พ ยากร ตัวอย่ า งในพื ช มีการเก็บ ในรู ปแบบเมล็ ด ต้นพื ชมีชีวิ ต ชิ้นส่วนพืชที่มีชีวิต รวบรวมภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับพืช สาหรับทรัพยากรอื่น ๆ สามารถเก็บตัวอย่างมาศึกษาได้ เช่น ตัวอย่างของสัตว์ จุลินทรีย์ หิน ดิน น้า ฯลฯ 2.3 คณะทางานฝ่ายปลูกรักษาทรัพยากร ประกอบด้วย (1) ............ ผู้ใหญ่บ้าน หัวหน้าคณะทางาน (2) ............ สมาชิกสภาฯ คณะทางาน (3) ............ ผู้แทนสถานศึกษา คณะทางาน (4) ............ อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก คณะทางาน (5) ............ ผู้แทนนักเรียน/นักศึกษา คณะทางาน (6) ............ ปราชญ์ชาวบ้าน คณะทางาน (7) ............ เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คณะทางาน (8) ............ ผู้อานวยการกองสวัสดิการสังคม คณะทางาน/เลขานุการ (9) ............ เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ผู้ช่วยเลขานุการ อานาจหน้าที่ (1) การเก็ บ รั ก ษาทั้ ง ในรู ป เมล็ ด เพาะเลี้ ย งเนื้ อ เยื่ อ ต้ น พั น ธุ ก รรมพื ช ในแปลงปลู ก และการเก็บรักษาในรูปสารพันธุกรรม (DNA) (2) การตรวจสอบพืชปราศจากโรคก่อนการเก็บรักษาพันธุกรรมพืชในรูปแบบต่าง ๆ (3) การสร้างสวนพฤกษศาสตร์ การปลูกพืชในสถานศึกษา การปลูกพืชในสวนสาธารณะ ต่าง ๆ โดยมีระบบฐานข้อมูลที่สามารถใช้ประโยชน์ในอนาคต (4) งานขยายพันธุ์พืช งานปลูกพันธุกรรมพืชและบันทึกผลการเจริญเติบโต งานจัดทาแผนที่ต้น พันธุกรรมพืช และทาพิกัดต้นพันธุกรรม


จ.-5

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก

2.4 คณะทางานฝ่ายอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากร ประกอบด้วย (1) ......ผู้ใหญ่บ้าน หัวหน้าคณะทางาน (2) ......สมาชิกสภาฯ คณะทางาน (3) ......ผู้แทนสถานศึกษา คณะทางาน (4) ......อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก คณะทางาน (5) ......ผู้แทนนักเรียน/นักศึกษา คณะทางาน (6) ......ปราชญ์ชาวบ้าน คณะทางาน (7) ......เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คณะทางาน (8) ......ผู้อานวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม คณะทางาน/เลขานุการ (9) ......เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ผู้ช่วยเลขานุการ อานาจหน้าที่ (1) อนุรักษ์ รักษาทรัพยากรต่าง ๆ เช่น พรรณพืช พันธุ์สัตว์ ในท้องถิ่นที่มีโอกาสจะสูญพันธุ์ ส่งเสริมให้มีการฟื้นฟูบารุงรักษา ขยายพันธุ์พืชเพิ่มเติม และแจกจ่ายให้ชุมชน สร้างจุดขายท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ (2) มีการศึกษาขยายพันธุ์พืชโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชสาหรับพันธุ์พืชใหม่ ๆ มีการปลูก เลี้ยง และการขยายพันธุ์ 2.5 คณะทางานฝ่ายศูนย์ข้อมูลทรัพยากร ประกอบด้วย (1) ...........ผู้ใหญ่บ้าน หัวหน้าคณะทางาน (2) ...........สมาชิกสภาฯ คณะทางาน (3) ...........ผู้แทนสถานศึกษา คณะทางาน (4) ...........อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก คณะทางาน (5) ...........ผู้แทนนักเรียน/นักศึกษา คณะทางาน (6) ...........ปราชญ์ชาวบ้าน คณะทางาน (7) ...........เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คณะทางาน (8) ...........หัวหน้าสานักปลัดฯ คณะทางาน/เลขานุการ (9) ...........เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ผู้ช่วยเลขานุการ


คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก จ.-6 อานาจหน้าที่ บันทึกรวบรวมข้อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีศูนย์ข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่น เพื่อเป็นที่เก็บ รวบรวมข้อมูลทรัพยากรกายภาพ ทรัพยากรชีวภาพ และทรัพยากรวัฒนธรรมภูมิปัญญาจากคณะทางานต่าง ๆ ได้แ ก่ คณะทางานปกปัก ทรัพ ยากรท้อ งถิ่น คณะทางานสารวจเก็บ รวบรวมทรัพยากรท้อ งถิ่น คณะทางาน กิจกรรมร่วมปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่น และคณะทางานอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรท้องถิ่น 2.6 คณะทางานฝ่ายสนับสนุนการอนุรักษ์ทรัพยากร ประกอบด้วย (1) .........ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หัวหน้าคณะทางาน (2) .........ผู้อานวยการสานัก/กอง คณะทางาน (3) .........เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คณะทางาน (4) .........ผู้อานวยการกองคลัง คณะทางาน/เลขานุการ (5) .........เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ผู้ช่วยเลขานุการ อานาจหน้าที่ (1) ดาเนินกิจกรรม/โครงการ/งานสนับสนุนของคณะทางานชุดที่ 1 - 6 (2) สนับสนุนการดาเนินโครงการ อพ.สธ.-อปท. ในเรื่องการวางแผนงบประมาณรายจ่าย วัสดุ อุปกรณ์การอานวยความสะดวกต่าง ๆ 3. คณะกรรมการด้านติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน ประกอบด้วย (1) ..............รองปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประธาน (2) ..............สมาชิกสภาฯ กรรมการ (3) ..............ผู้แทนสถานศึกษา กรรมการ (4) ..............ผู้ใหญ่บ้าน กรรมการ (5) ..............เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรรมการ (6) ..............หัวหน้าสานักปลัดฯ กรรมการ/เลขานุการ (7) ..............เจ้าหน้าที่ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ผู้ช่วยเลขานุการ


จ.-7

คู่มือการดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นตามโครงการ อพ.สธ. – สถ. ภาคผนวก อานาจหน้าที่ (1) ติดตามและประเมินผลตามเกณฑ์การประเมินป้ายสนองพระราชดาริในงานฐานทรัพยากร

ท้องถิ่น (2) รวบรวมผลการดาเนินงานตลอดจนการจัดทารายงานผลการดาเนินงานฐานทรัพยากร ท้องถิ่น (3) ปรับปรุง วางแผน ติดตามผล การดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพ สร้างสภาพแวดล้อมทั่วไป ให้เป็น ระเบียบและบรรยากาศที่ดีของงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น บุคลากรในการปฏิบัติงานมีคุณธรรมจริยธรรม (4) กากับดูแลการจัดทาหลักสูตรบูรณาการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน หลักสูตรท้องถิ่น เพื่อทาการ สารวจทรัพยากร โดยให้นักเรียนได้เป็นส่วนหนึ่งของชุมชน ในการเรียนรู้ทรัพยากรท้องถิ่น วิถีชีวิต และภูมิปัญญาของชาวบ้าน และได้มีโอกาสเรียนรู้ สัมผัสจริง เพื่อเกิดวิทยาการและปัญญา เป็นนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้ต่อไป


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.