internet computer

Page 1

รายงาน

เรื่อง อินเตอร์ เน็ต เสนอ อาจารย์ สุธิดา ชูเกียรติ


จัดทำาโดย

นางสาววริยา สร้ อยสำ าราญ รหัสนักศึกษา 544188048 นางสาวหทัยชนก บัวเพชร รหัสนักศึกษา 544188049 นางสาวดวงกมล นิลเพ็ชร รหัสนักศึกษา 544188053 นางสาวกุลกาญจน์ ศรีคาำ รหัสนักศึกษา 544188069 หมูเรียนที่2 สาขาการประถมศึกษา คณะครุ ศาสตร์ ภาคเรียนที่2 ปี การศึกษา 2555 มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง


ความหมายของอินเตอร์ เน็ต เครื อข่ายของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ทวั่ โลกเข้าด้วยกัน โดยอาศัยเครื อข่ายโทรคมนาคมเป็ นตัว เชื่อมเครื อข่าย ภายใต้มาตรฐานการเชื่อมโยงด้วยโปรโตคอลเดียวกันคือ TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol) เพื่อ ให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องในอินเทอร์เน็ตสามารถสื่ อสารระหว่างกันได้ นับว่าเป็ นเครื อข่ายที่กว้างขวางที่สุดในปัจจุบนั เนื่องจากมีผนู ้ ิยมใช้ โปรโตคอลอินเทอร์เน็ตจากทัว่ โลกมากที่สุด


ความเป็ นมาของอินเตอร์ เน็ต อินเทอร์เน็ตเป็ นเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถือกำาเนิดเมื่อประมาณ 30 ปี ที่แล้ว ถือกำาเนิดขึ้นครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริ กา เมื่อ พ.ศ. 2512 โดยองค์กรทางทหารของสหรัฐอเมริ กา ชื่อว่า ยู.เอส.ดีเฟนซ์ ดีพาร์ทเมนท์ ( U.S. Defence Department ) เป็ นผูค้ ิดค้นระบบขึ้นมา มี วัตถุประสงค์ คือ เพื่อให้มีระบบเครื อข่ายที่ไม่มีวนั ตายแม้จะมีสงคราม ระบบการสื่ อสารถูกทำาลาย หรื อตัดขาด แต่ระบบเครื อข่ายแบบนี้ยงั ทำางานได้ ซึ่ งระบบดังกล่าวจะใช้วิธีการส่ งข้อมูลในรู ปของคลื่น ไมโครเวฟ ฝ่ ายวิจยั ขององค์กรจึงได้จดั ตั้งระบบเน็ตเวิร์กขึ้นมา เรี ยกว่า ARPAnet ย่อมาจากคำาว่า Advance Research Project Agency net ซึ่ ง ประสบความสำาเร็ จและได้รับความนิยมในหมู่ของหน่วยงานทหาร องค์กร รัฐบาล และสถาบันการศึกษาต่างๆ เป็ นอย่างมาก


ความสำ าคัญของอินเตอร์ เน็ต

อินเตอร์เน็ตมีความสำาคัญกับวิถีชีวิตของคนเราในปั จจุบนั เป็ นอย่างมาก ในทุก ๆ ด้าน ไม่วา่ จะเป็ นบุคคลที่อยูใ่ นวงการธุรกิจ การศึกษา ต่างก็ได้รับ ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตด้วยกันทั้งนั้น 1. ด้ านการศึกษา อินเทอร์ เน็ตมีความสำาคัญ ดังนี้ 1. สามารถใช้เป็ นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูล ไม่วา่ จะเป็ นข้อมูลทาง วิชาการ ข้อมูลด้านการบันเทิง ด้านการแพทย์ และอื่น ๆ ที่น่าสนใจ 2. ระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต จะทำาหน้าที่เปรี ยบเสมือนเป็ นห้องสมุด ขนาดใหญ่ 3. นักเรี ยนนักศึกษาสามารถใช้อินเทอร์ เน็ตติดต่อกับมหาวิทยาลัยหรื อ โรงเรี ยนอื่น ๆ เพื่อค้นหาข้อมูลที่กาำ ลังศึกษาอยูไ่ ด้ ทั้งที่ขอ้ มูลที่เป็ นข้อความ เสี ยง ภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ


ด้ านธุรกิจและการพาณิชย์ อินเทอร์ เน็ตมีความสำาคัญดังนี ้ 1. ค้ นหาข้ อมูลต่าง ๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจทางธุรกิจ 2. สามารถซื ้อขายสินค้ า ทำาธุรกรรมผ่านระบบเครื อข่าย 3. เป็ นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ โฆษณาสินค้ า ติดต่อสือ ่ สารทาง ธุรกิจ 4. ผู้ใช้ ที่เป็ นบริ ษัท หรื อองค์กรต่าง ๆ ก็สามารถเปิ ดให้ บริ การ และ สนับสนุนลูกค้ าของตนผ่านระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้ 3. ด้ านการบันเทิง อินเทอร์ เน็ตมีความสำาคัญดังนี ้ 1. การพักผ่อนหย่อนใจ สันทนาการ 2. สามารถฟั งวิทยุหรื อดูรายการโทรทัศน์ผา่ นระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ได้ 3. สามารถดึงข้ อมูล (Download) ภาพยนตร์ มาดูได้ 2.


ประโยชน์ ของอินเทอร์ เน็ต 1. ค้ นคว้ าข้ อมูลในลักษณะต่างๆ เช่น งานวิจย ั บทความในหนังสือพิมพ์ 2. ติดตามความเคลื่อนไหวต่างๆ ทัว่ โลกได้ อย่างรวดเร็ วจากการรายงาน

ข่าวของสำานักข่าวต่างๆ 3. รับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ทวั่ โลกได้ อย่างรวดเร็ ว 4. สนทนากับผู้อื่นที่อยูห ่ ่างไกลได้ ทงในลั ั ้ กษณะการพิมพ์ข้อความและ เสียง 5. ร่ วมกลุม ่ อภิปรายหรื อกลุม่ ข่าวเพื่อแสดงความคิดเห็นกับผู้ที่สนใจใน เรื่ องเดียวกัน 6. ถ่ายโอนแฟ้มข้ อความ ภาพ และเสียงจากที่อื่นๆ รวมทังโปรแกรมต่ ้ างๆ ได้ จากแหล่งที่มีผ้ ใู ห้ บริ การ


7. ตรวจดูราคาสินค้ าและสัง่ ซื ้อสินค้ ารวมทังบริ ้ การต่างๆ ได้ โดยไม่ต้องเสีย

เวลาเดินทางไปห้ างสรรพสินค้ า 8. ให้ ความบันเทิงหลายรูปแบบ เช่น การฟั งเพลง รายการวิทยุ การชม รายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์ รวมไปถึงการแข่งขันเกมกับผู้อื่นได้ ทวั่ โลก 9. ติดประกาศข้ อความที่ต้องการให้ ผ้ อ ู ื่นทราบได้ อย่างทัว่ ถึง 10. ให้ เสรี ภาพในการสื่อสารทุกรู ปแบบแก่บค ุ คลทุกคน


การใช้ อนิ เตอร์ เน็ต

อินเทอร์ เน็ตเป็ นช่องทางของการส่งข้ อมูลผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทวั่ ทังโลก ้ เราต่างก้ าวผ่านยุคแห่งสังคมข่าวสารแล้ วซึง่ ทำาให้ ประจักษ์ ได้ วา่ ข่าวสารต่างๆนันจะ ้ เป็ นประโยชน์การพัฒนาประเทศทังด้ ้ าน เศรษฐกิจ สังคม และอื่นๆได้ นนต้ ั ้ องอาศัย ความรู้ในการจัดการอย่างยิ่งการใช้ อินเตอร์ เน็ตเพื่อการศึกษามีความหมายครอบคลุม กิจกรรมด้ านการศึกษาที่ถกู วางรูปแบบโดยครูผ้ ทู ำาหน้ าที่ถ่ายทอดความรู้ผา่ นทาง อินเตอร์ เน็ตเนื่องจากรูปแบบการสื่อสารและการควบคุมนักเรี ยนทางไกลแบบ Online มีลกั ษณะพิเศษที่แตกต่างจากการเรี ยนการสอนในห้ องเรี ยนซึง่ ทำากันเป็ น ปกติดงนั ั ้ นเป ้ ้ าหมายของการศึกษาผ่านอินเตอร์ เน็ต จึงประกอบด้ วยวัตถุประสงค์หลัก 3 ประการ 1. การสร้ างกิจกรรมการเรี ยนการสอนผ่านเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตให้ เหมาะสมกับ ระดับผู้เรียน 2. การเสริ มทักษะและความรู้เพื่อให้ ครูสามารถดำาเนินการเรี ยนการสอนผ่านเครื อ ข่ายอินเตอร์ เน็ตได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 3. การกำาหนดเป้าหมายการศึกษาเพื่อสนับสนุนการเรี ยนผ่านอินเตอร์ เน็ต


ระบบเครือข่ ายอินเตอร์ เน็ต เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ หรื อ คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก (อังกฤษ: computer network; ศัพท์บญ ั ญัติวา่ ข่ ายงานคอมพิวเตอร์ ) คือระบบการสื่ อสาร ระหว่างคอมพิวเตอร์จาำ นวนตั้งแต่สองเครื่ องขึ้นไป การที่ระบบเครื อข่ายมีบทบาทสำาคัญมากขึ้นในปัจจุบนั เพราะมีการใช้ งานคอมพิวเตอร์อย่างแพร่ หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกัน เพื่อเพิ่มความสามารถของระบบให้สูงขึ้น และ ลดต้นทุนของระบบโดยรวมลง การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันในเครื อข่าย ทำาให้ระบบมีขีดความ สามารถเพิ่มมากขึ้น การแบ่งการใช้ทรัพยากร เช่น หน่วยประมวลผล, หน่วยความจำา, หน่วยจัดเก็บข้อมูล, โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีราคาแพงและไม่สามารถจัดหามาให้ทุกคนได้ เช่น เครื่ องพิมพ์ เครื่ องกราดภาพ (scanner) ทำาให้ลดต้นทุนของระบบลงได้


ภาพระบบเครือข่ ายอินเตอร์ เน็ต


องค์ ประกอบของระบบเครือข่ าย 1. Back Bone หรื อกระดูกสันหลัง ได้แก่ อุปกรณ์ต่อเชื่อมและควบคุมการก

ระจายสัญญาณ เปรี ยบเสมือนระบบควบคุมประสาทในร่ างกายมนุษย์ ได้แก่ เราต์เตอร์ (Routher) กล่องรวมสาย (Hub) กล่องแยกสลับสัญญาณ (Switching) และเครื่ องแม่ข่ายซึ่ งเป็ นเสมือนหัวใจหลัก ใน Back Bone 2. สายสัญญาณ (Cabling) เปรี ยบกับร่ างกายมนุษย์กเ็ หมือนเส้นเลือดที่นาำ เอาเลือดไปหล่อเลี้ยงส่ วน ต่างๆ ของร่ างกาย ในระบบเครื อข่าย สายสัญญาณ จะนำาสัญญาณระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ลกู ข่ายและแม่ข่ายหรื อระหว่างลูก ข่ายด้วยกันมาต่อเชื่อมกัน 3. การ์ ดเครื อข่าย (Network Interface Card) ทำาหน้าที่เป็ นวงจรล่าม คอย ส่ งและแปลสัญญาณ โดยเป็ นไปตามข้อกำาหนดหรื อข้อตกลงร่ วมกัน เรี ยกว่า โปรโตคอล การ์ดเครื อข่ายที่มีความสามารถมากๆ จะทำาหน้าที่แยกแยะและ ควบคุมการส่ งสัญญาณได้อย่างเที่ยงตรงและมีประสิ ทธิภาพด้วย


4. ซอฟต์แวร์ สนับสนุนระบบเครื อข่าย ทำาหน้าที่ในการ เชื่อมโยงทั้งสามภาค

ข้างบนที่กล่าวมานั้น ให้ทาำ งานร่ วมกันเป็ นระบบเครื อข่ายได้ ซึ่ ง ซอฟต์แวร์น้ นั จะดำาเนินการควบคุมในระดับพื้นฐานคือฮาร์ดแวร์ ตลอด ไปจนถึงระบบซอฟต์แวร์และแอปปลิเคชัน่ ต่างๆ ที่จะส่ งข้อมูลถึงกันและ กัน ซึ่งการทำางานในขั้นตอนดังกล่าวนั้น เป็ นไปตามระดับชั้นของข้อตกลง ที่เรี ยกว่าโปรโตคอล


ภาพองค์ ประกอบของระบบเครือข่ าย


การเชื่อมต่ อเครื่องคอมพิวเตอร์ เข้ าสู่ ระบบเครือข่ าย อินเตอร์ เน็ต ผูใ้ ช้บริ การอินเทอร์เน็ตหลายคนอาจเข้าสู่ อินเทอร์เน็ตโดยผ่านทาง ระบบเครื อข่ายของสำานักงาน บริ ษทั หรื อสถานศึกษาของตน ซึ่ งตามปกติ แล้วหากเป็ นหน่วยงานหรื อสำานักงานใหญ่ๆ จะต่อคอมพิวเตอร์เป็ นระบบ ภายในองค์กร (LAN) ซึ่งมักจะเชื่อมต่อกับผู ้ให้บริ การ (ISP) ผ่านสายนำา สัญญาณความเร็ วสูง (High-Speed Leased Line) แทนที่จะเชื่อมต่อผ่าน โมเด็ม (Modem) แต่ถา้ หากว่าคอมพิวเตอร์ที่ใช้อยูใ่ นวง LAN ที่ไม่โตมาก นักก็อาจใช้เชื่อมต่อผ่านโมเด็มก็ได้ เพราะจะทำาให้ลดค่าใช้จ่ายในการเชื่อม ต่อระบบ แต่อาจจะมีปัญหาในเรื่ องความเร็ ว ในการเข้าสู่ อินเทอร์เน็ตบ้าง เล็กน้อย


การเชื่อมต่ อระบบอินเตอร์ เน็ตผ่านทางผู้ให้ บริการ

ผูใ้ ห้บริ การเชื่อมต่อเข้าระบบอินเทอร์เน็ต เรี ยกว่า ISP (Internet

Service Provider)

หรื อที่เรี ยกกันว่า ไอเอสพี จะเป็ นองค์กรที่ทาำ การติดตั้งและดูแลเครื่ องให้ บริ การ (Server) ที่ต่อตรงเข้ากับระบบ อินเตอร์เน็ต ซึ่งอนุญาตให้ผทู ้ ี่สมัคร เป็ นสมาชิกขององค์กรนำาระบบของตนเองเข้าไปเชื่อมต่อได้ ดังนั้น ISP ก็ เปรี ยบเสมือนช่องทางผ่านเข้าสู่ ระบบอินเตอร์เน็ต ซึ่งหลังจากที่เราเชื่อมต่อ เข้ากับอินเตอร์เน็ตได้แล้ว เราก็สามารถเข้าไปยัง ส่ วนใด ๆ ก็ได้ในระบบ อินเตอร์เน็ต


สิ้นการนำาเสนอ สวัสดีค่ะ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.