กฏแห่งกรรมและวิธีใช้หนี้พ่อแม่

Page 1


รวมธรรมคำสอน

๑. กฎแห่งกรรม ๒. อานิสงส์ของการสวดพระพุทธคุณ ๓. วิธีใช้หนี้พ่อแม่ ของ... พระธรรมสิงหบุราจารย์ (หลวงพ่อจรัญ ิตธมฺโม)

พุทธธรรมคำสอนพร้อมคำสวด สำหรับดับทุกข์กายทุกข์ใจ สร้างความสุขสดใสให้ชีวิต ไพยนต์ กาสี น.ธ.เอก, ป.ธ.๖, พธ.บ., น.บ. รวบรวมเสริมสารธรรมในนามคณาจารย์สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง ภาพประกอบ : สมควร กองศิลา บรรณาธิการ : ศักดิ์สิทธิ์ พันธุ์สัตย์ ศิลปกรรม : อรทัย จิตงาม, อุดมศักดิ์ พักธีรศักดิ ์ ออกแบบปก : อนุชิต คำซองเมือง


ÃÇÁ¸ÃÃÁ¤ÓÊ͹¾ÃŒÍÁ¤ÓÊÇ´àÅ‹Á¹Õé ÁÕ´ÕÍ‹ҧäà ?

หนังสือเล่มนี้รวมคำสอนของพระเดชพระคุณพระธรรมสิงหบุราจารย์ (หลวงพ่ อ จรั ญ ิ ต ธมฺ โ ม) วั ด อั ม พวั น อำเภอพรหมบุ รี จั ง หวั ด สิ ง ห์ บุ รี ที่ ผู้รวบรวม ได้คัดสรรธรรมบรรยายหลายเรื่องของหลวงพ่อจรัญมาไว้ในเล่มเดียว กัน เพื่อสนองความต้องการของผู้อ่านที่มีความเลื่อมใสในหลวงพ่อ จักได้นำไป ประพฤติปฏิบัติตาม โดยในเล่มประกอบด้วยเนื้อหาดังต่อไปนี้

àÃ×èͧ·Õè˹Öè§ ¡®áË‹§¡ÃÃÁ เป็นคำสอนที่หลวงพ่อทุ่มเทแรงกาย-ใจ สั่งสอนมาเป็นเวลาช้านาน เพื่อให้ทุกคนมุ่งมั่นทำแต่กรรมดี หลีกหนีกรรมชั่ว ดั งความตอนหนึ่งว่า “คำว่า ก®แห่งกรรม แปลว่าอะไร ก® แปลว่า ดันและผลัก, กรรม แปลว่า การกระทำ แต่ละรายแต่ละรูปไม่เหมือนกัน ทำดีกçดันไป ทางดี ทำªั่วกçดันไปทางªั่ว”

àÃ×èͧ·ÕèÊͧ ÍÒ¹ÔÊ§Ê ¢Í§¡ÒÃÊÇ´¾Ãоط¸¤Ø³ ที่หลวงพ่อท่าน สอนผลดีที่เกิดจากการสวดมนต์อยู่เป็นประจำสม่ำเสมอไว้ว่า “การสวดมนต์ เป็ น นิ จ นี้ มุ่ ง ให้ จิ ต แนบสนิ ท ติ ด ในคุ ³ ของ พระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสง¦์ จิตใจจะสงบเยือกเยçนเป็นบั³±ิต มี ค วามคิ ด สู ง ทิ ฐิ ม านะทั้ ง หลายกç จ ะคลายหายไปได้ เราจะได้ รั บ อานิ สงส์เป็นผลของตนเองอย่างนี้”

àÃ×èͧ·ÕèÊÒÁ ÇÔ¸Õ㪌˹Õ龋ÍáÁ‹ เป็นหลักธรรมที่หลวงพ่อท่านมุ่งสอน ให้ลูกหลานไทยได้ยึดมั่นในความกตัญูกตเวทิตาธรรม ดังคำที่ท่านกล่าวไว้ว่า


“พ่อแม่เป็นพระอรหันต์ของลูก ไม่ต้องไปตามพระอรหันต์ที่ ไหน หรอก เหลียวดูพ่อแม่ ในบ้านบ้าง แล้วท่านจะรู้สึกว่า ได้ทำดีตั้งแต่วันนี้แล้ว การสนองพระเดªพระคุ³บิดามารดาไม่ยาก สร้างความดี ให้ มากอย่าให้พ่อแม่ผิดหวัง”

สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ โดยผู้รวบรวม ได้จัดหัวข้อ ย่อย ซอยย่อหน้า ใส่ภาพประกอบ คำอธิบายเพิ่มเติมให้อ่านง่ายขึ้น และเสริม ด้วยสารธรรมคำสอนของพระมหาเถรานุเถระที่ท่านกล่าวสอนในเรื่องเดียวกัน เพื ่อหนุนนำให้ผู้อ่านได้เข้าใจง่ายขึ้น นำไปใช้ได้ทันทีในชีวิตประจำวัน

ผู้รวบรวม สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง ในนามของศิษยานุศิษย์ ตลอดถึง พุทธศาสนิกชน ขอกราบนมัสการขอบพระคุณ พระเดชพระคุณพระธรรมสิงห- บุราจารย์ (หลวงพ่อจรัญ ิตธมฺโม) ที่ได้มีเมตตาจิตเทศนาสั่งสอนพุทธศาสนิกชน ให้ยึดมั่นอยู่ในหลักธรรมของบวรพระพุทธศาสนา ขออำนาจคุณพระศรีรัตนตรัย โปรดอภิบาลคุ้มครองพระเดชพระคุณหลวงพ่อ ให้มีสุขภาพพลานามัยดีมาก มี อายุมั่นขวัญยืนอยู่เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรให้พุทธศาสนิกชนได้พึ่งพาอาศัยร่มเงาบุญ และบารมีธรรมตลอดกาลนาน และขออำนวยพรแด่ทุกท่านที่ร่วมสนับสนุนการ จัดพิมพ์ให้ประสบความสุข ความเจริญในชีวิตทุกประการด้วยเทอญ. (น.ธ.เอก, ป.ธ.๖, พธ.บ., น.บ.) รวบรวมในนามคณาจารย์ สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

â»Ã´ãªŒàÅ‹Á¹Õé ãËŒ¤ØŒÁÊØ´¤ØŒÁ & Í‹Ò¹áÅŒÇ -> ẋ§¡Ñ¹Í‹Ò¹ËÅÒ·‹Ò¹¹Ð¨ Ð Í‹Ò¹ÊÔºÃͺ ÃдÁÊÁͧ¤Ô´ÊԺ˹ ½ƒ¡½¹»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¡ÒûÃÐÂØ¡µ 㪌 㹪ÕÇÔµ»ÃШÓÇѹ

(¹.¸.àÍ¡, ¨Ô».¸.ö, µÃٌ෋ҷѾ¸.º., ¹àÊÃþÊÔ Ôµ¨Ñ¡Ê¹ØÇ¡ ->ÊØ¢ ẋ ʧº§¡ÑàÂ繹͋ҹËÅÒ·‹Ò¹¹Ð¨ Ð â»Ã´ãªŒ Å‹Á¹Õ¹.º.) é è§ãËŒ©ÅҴ㪌 ¤ÃǺÃÇÁã¹¹ÒÁ ØŒÁÊØ´à©ÅÕ ¤ØŒÁÂǤÔ&´ Í‹ªÕÒǹáÅŒ ¤³Ò¨ÒàÊÓ¹Ñ ¡ ¾Ô Á ¾ à ÅÕ Â è §àªÕ  § à¾Õ  Ãà¾× Í è ¾Ø · ¸ÈÒʹ ÊÓ¹Ñ Á ¾ à ÅÕ Â è §àªÕ  § à¾Õ  Ãà¾× Í è ¾Ø · ¸ÈÒʹ »ÃÒö¹ÒãËŒ · ¡ Ø ¤Ãͺ¤ÃÑ Ç ÁÕ ¤ ÇÒÁÊØ ¢ ¡µµ 㪌 㹪ÕÇÔµ»ÃШÓÇѹ Í‹Ò¹ÊÔºÃͺ ÃдÁÊÁͧ¤Ô´ÊԺ˹ ½ƒ¡½¹»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¡ÒûÃÐÂØ

¨ÔµÃٌ෋ҷѹÊÃþÊÔè§ ©ÅҴ㪌 à©ÅÕÂǤԴ ªÕÇÔµ¨Ñ¡Ê¹Ø¡ ÊØ¢ ʧº àÂç¹

è§àªÕ à¾ÕÂÃà¾×: ÍÃ·Ñ è;Ø·¸ÈÒʹ ºÃóҸԡÒà : ÈÑ¡´ÔìÊÔ·ÊÓ¹Ñ ¸Ôì ¾Ñ¹¡¸Ø¾Ô ÊѵÁ ¾ ËÑàÅÕÇ˹Œ Ò½†Ò ÂÈԧŻ¡ÃÃÁ ¨Ôµ§ÒÁ, ͹ػÃÒö¹ÒãËŒ ªÔµ ¤Ó«Í§àÁ׷ͧء¤Ãͺ¤ÃÑÇÁÕ¤ÇÒÁÊØ¢ ÀÒ¾»ÃСͺ, Í͡Ẻ»¡, ¨Ñ´ÃÙ»àÅ‹Á : ÊÁªÒ ÈÃÕ¤Ó¢ÅÔº


͹ØâÁ·¹Ò·Ò¹¡¶Ò ทาน แปลว่า การให้ ท่านว่า การให้เปนยารัก ตระหนี่นักเปนยาชัง แล้วยังว่า ความรักมาเพราะน้ำใจมี ความรักหนีเพราะน้ำใจหมด ความรักหด เพราะน้ำใจแห้ง ท่านทั้งหลาย... ดินทุกก้อนที่เป็นแผ่นนั้น เพราะมีน้ำเปนเครื่องประสานไว้ หาไม่ก็จะเป็นฝุนโดยไม่ต้องสงสัย คนเราก็เหมือนกันที่จะสามัคคีกันได้ ก็เพราะความเปนผู้มีน้ำใจ รู้จักให้แก่กันคอยประสานไว้ ไม่ว่าจะเป็นการให้วัตถุสิ่งของ ให้ความรัก ให้อภัยต่อผู้อื่น แต่ยังมีการให้อีกอย่างหนึ่งที่ผู้รับไม่มีวันใช้หมดนั่นคือ ธรรมทาน การให้ ธรรมะเป็นทาน เช่น การพิมพ์หนังสือสวดมนต์บ้าง พิมพ์หนังสือธรรมะแจก กันบ้าง เพราะธรรมทาน เปนการให้ความรู้ในทางที่ถูกต้อง ชักนำให้รู้สึกอยาก เว้นชั่ว ประพฤติชอบ และประกอบจิตไว้ในคุณความดี อานิสงส์การพิมพ์หนังสือ ธรรมะ จะได้ไปเกิดเปนผู้มีปญญาในภพชาติต่อไป จึงขออนุโมทนา ต่อท่านผู้มี จิตเป็นกุศลในการให้ธรรมะเป็นทานครั้งนี้ ขอคุณพระศรีรัตนตรัย และบุญกุศลที่ทุกท่านได้บำเพ็ญมาทุกประการ จงประสาทพรชัยให้ท่านประสบแต่ความสุขสันต์นิรันดร เจริญด้วยจตุรพิธพรชัย มีอายุยืนนาน มีผิวพรรณผ่องใส มีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์ดี โรคภัยไข้เจ็บที่มีก็ โปรดหายไป ความปรารถนาทั้งหลายที่คิดโดยชอบประกอบด้วยธรรมแล้ว ขอให้ สำเร็จตามเจตจำนงทุกประการ ด้วยกันทุกท่านเทอญ.

ขออำนวยพร พระธรรมสิงหบุราจารย์ (หลวงพ่อจรัญ ิตธมฺโม)


ñ. ¡®áË‹§¡ÃÃÁ แง

เวลาทำไม่คิด พอกรรมตามสนอง กçร้องไห้¿ูม¿าย...

แง

àÃÕ¹ÃÙŒ... ¤ÓÊ͹ : àµ×͹µ¹ãËŒÃÙŒ·Ñ¹¡®áË‹§¡ÃÃÁ ໚¹à˵عӵ¹ãËŒ¾Œ¹¨Ò¡ÍºÒÂÀÙÁÔ โดย... พระธรรมสิงหบุราจารย (หลวงพอจรัญ ิตธมฺโม) พระวิปสสนาจารยที่ไดรับการยอมรับวา เปนสุดยอดในการสอนวิปสสนาแกกรรม ¤Ô´¶Ö§¹ŒÍ§ æ 㹪¹º·¨Ñ§àÅ ¨ÐÁÕâÍ¡ÒÊ䴌͋ҹáÅл¯ÔºÑµÔµÒÁ ·ÕèËÅǧ¾‹ÍÊ͹äÇŒã¹àÅ‹Á¹ÕéäËÁË¹Í ÁÒËÇÁÊ‹§ºØÞãËŒ¹ŒÍ§ æ ¡Ñ¹à¶ÍÐ


6

กฎแห่งกรรม และวิธีใช้หนี้พ่อแม่ หลวงพ่อจรัญ €ิตธมฺโม

¡ÃÃÁ ค×อ กฎธรรมชาµิ คำว่า กฎแห่งกรรม แปลว่าอะไร ? กฎ แปลว่า ดัน และผลัก, กรรม แปลว่า การกระทำ แต่ละรายแต่ละรูปไม่เหมือนกัน ทำดีก็ดันไปทางดี ทำชั่วก็ดันไปทางชั่ว กฎ ตัวนี้ คือ กฎแห่งธรรมชาติ กฎ แปลว่า กดลงไป และดันขึ้นมา

ถ้าหากว่าเรามีคุณธรรม ได้อบรมมาดีแล้ว มันจะดันและผลักไป ในทางดี ให้มีปัญญา ถ้าการกระทำของเรา ไม่สมส่วนควรกัน ไม่สมเนื้อสมน้ำ เพราะจิตใจที่อบรมมาไม่ดี มันจะดันไปในทางที่ไม่ดี และกดให้จมให้ลงต่ำไปโผล่ไม่ขึ้น

ทำดี ดี ทำªั่ว ªั่ว ªัวร์ที่สุด

อาตมาประสบมามากมายหลายคน บางคนไม่ใส่ใจในเรื่องกรรมดี กรรม ชั่ว ต้องการอายุมั่นขวัญยืน ต้องการให้มีความสวยงามผิวพรรณผ่องใส ต้องการ ให้สุขภาพอนามัยดี และต้องการให้กิจการสำเร็จตามเปาหมาย แต่เขาไม่ได้สร้างเหตุดีที่จะส่งผลให้อายุยืน กลับไปทำเหตุให้อายุสั้น ไปฆ่าสัตว์ตัดชีวิต เบียดเบียนชีวิตเขา อาฆาตเคียดแค้นพยาบาทริษยาเขา รับรอง ผู้นั้นจะอายุสั้นพลันตายตั้งแต่อายุยังน้อย


สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

7

àกิด໚นมนุÉÂ์ สุดแสน¨ะÂาก

พระท่านสอนไว้ว่า

ขอให้ลูกแม่ “กิจฺโฉ มนุสฺสปฺปฏิลาโภ” มีอวัยวะสมบูร³์ ด้วยเ¶ิด (กิด-โฉ,มะ-นุด-สับ-ปะ-ติ-ลา-โพ) “การเกิดเปนมนุษย์แสนจะยาก” ลำบากเหลือเกินที่จะเกิดมาโสภาภาคย์ มีหน้าตาดียิ่งหายากที่สุด ท่านต้องมีญาณมา มีปญญามา มีวิชชามา มีความรู้ของมนุษย์ คือ มีคุณสมบัติของมนุษย์ครบ คือ คุณธรรม มีศีล ๕ ครบ จึงจะเกิดเปนมนุษย์ที่โสภาได้ บางคนมีศีลมาไม่ครบ มีคุณสมบัติไม่ครบ เกิดมาขี้ริ้วขี้เหร่ บางคนเกิดมา ง่อยเปลี้ยเสียขา บางคนตาบอดหูหนวก บางคนแถมยังปัญญาอ่อนอีก บางคน แก่ชราเป็นอัมพาต บางคนมี ท านดีม าแต่ ช าติ ก่ อ น ก็ ม าเกิ ด เป็ น ลู ก มหาเศรษฐี มั่ งมี ศ รีสุ ข แต่เมื่อชาติก่อนเขาได้ทำการเบียดเบียนสัตว์มา ชาตินี้จึงสามวันดีสี่วันไข้ เข้า โรงพยาบาลไม่พัก มีเงินก็ช่วยไม่ได้ บางคนไม่ได้สร้างเหตุแห่งปัญญามา ถึงเกิดเป็นลูกเศรษฐี เงินก็ช่วยซื้อ วิชาไม่ได้ เงินก็ช่วยให้ลูกเรียนเป็นดอกเตอร์ไม่ได้ เพราะเหตุใด เพราะทำบุญมา ไม่ครบ บางคนบ้านใหญ่โตราวกับวัง แต่กินข้าวกับน้ำตาไม่เว้นแต่ละวัน


8

กฎแห่งกรรม และวิธีใช้หนี้พ่อแม่ หลวงพ่อจรัญ €ิตธมฺโม

àกิด໚นมนุÉÂ์ทÑ้งที µ้องทำความดีäว้໚นµรา

ท่านทั้งหลายโปรดทราบ เรื่องสังข์ทองเป็นปริศนาธรรม หกเขย คือ หน้าโง่ โง่ทางอายตนะ ตาโง่ไม่มีกำหนดเห็นหนอ เห็นด้วยโง่ ๆ ไม่เห็นลึกซึ้ง ไม่ เห็นนิสัยใจคอคน ดูคนไม่เป็น ดังโบราณว่า ดูคนให้ดูหน้า ดูผ้าให้ดูเนื้อ ดูเสื่อ ให้ดูลาย ดูชายให้ดูพ่อ จะได้ไม่ย่อท้อใจ ! ท่านทั้งหลายเพิ่งเริ่มเข้ามาปฏิบัติไม่กี่ชั่วโมงจึงอาจจะไม่ลึกซึ้งถึงขั้นที่ ดูหน้าดูตาก็จะรู้ได้ ดูคนให้ดูหน้า ดูโหงวเฮ้ง การแนะแนวไม่ใช่มาถึงวัดสอนบุญ บาป ทำบุญไปสวรรค์ ทำบาปไปนรก เท่านั้น ต้องสอนแนะแนวถึงกรรมฐานแก้กรรมได้อย่างไร ใครเอาไปใช้ปฏิบัติเป็น ประจำจะแก้กรรมได้จริง ๆ ถ้าใช้ไม่จริงก็เหมือนถ้วยชา เขาให้มาแล้วเอาไปใส่ตู้ไว้ ไม่ค่อยใช้ให้เป็นประโยชน์เลย ตัวเรานี้มีประโยชน์มาก แต่ใช้ตัวไม่เป็น ไปใช้ในเรื่องไร้สาระเสียมาก ไม่ ใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อตัวเอง เกิดมาเสียชาติเกิดไม่ประเสริฐล้ำเลิศ เªิญนั่งครับ

ขอบคุ³ ค่ะ

ไหน ๆ จะตายจากโลกไป ก็จะต้องมีความดีติดไปด้วย และทิ้งความดีไว้ในโลกมนุษย์ คือ มีความดีเป็นตรา ถ้าใครทำกรรมฐานได้ลึกซึ้ง จะรู้เหตุผลของชีวิตได้อย่างดีที่สุด เป็นประโยชน์แก่ชีวิตประจำวัน แก้ไขปัญหาเกิดขึ้นเฉพาะหน้าได้


สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

9

อÑนµรา = ¼Åของกรรม ได้ดิบได้ดีขนาดนี้ เพราะประจบสอพลอ ความสามาร¶น่ะเหรอ ไม่มีหรอก Î่า æ æ

ปัจจุบัน บางคนเริ่มสงสัย ในเรื่องกฎแห่งกรรม บางคนก็ไม่ยอมเชื่อเรื่องนี้ ถึงกับมีคนเขียนเป็นคำกลอนว่า “คนทำดีได้ดีมีที่ไหน คนทำชั่วได้ดีมีถมไป”

ในเรื่องกฎแห่งกรรม ได้กล่าวถึงอันตรายที่เกิดแก่สัตว์โลก ๕ อย่าง คือ ๑. กิเลสันตราย อันตรายที่เกิดจากกิเลส เช่น มีความโลภ ความโกรธ ความหลง ตายตามถนนหนทางมีมากมาย ตายอย่างน่าเสียดาย ๒. กัมมันตราย อันตรายที่เกิดจากความชั่วที่ทำไว้ในปจจุบัน คือ เกิด อันตรายในปัจจุบันไม่ต้องไปเอาในชาติหน้า เห็นทันตาเลยกลางถนนหนทางนี้ ๓. วิปากันตราย อันตรายที่เกิดจากวิบาก คือ ผลของกรรมที่ทำในอดีต ออกมาประสบในขณะนี้ในปัจจุบันนี้เอง ๔. ทิฏฐิอันตราย อันตรายที่เกิดจากทิฐิที่ผิด คือ คิดผิด คิดไม่ถูกต้อง ทำอะไรไม่มีตามคลองธรรม เป็นมิจฉาชีพ ไม่เป็นสัมมาทิฏฐิแต่ประการใด เกิด อันตรายในปัจจุบันนี้ ๕. อริยูปวาทันตราย อันตรายที่เกิดจากการจ้วงจาบผู้มีบุญคุณ ผู้ทรงศีล ทรงธรรม พระอริยเจ้า เช่น กล่าวจ้วงจาบพระสงฆ์องค์เจ้า หรือครูบาอาจารย์ ที่สอนหนังสือ เป็นอันตรายในปัจจุบันนี้ จ้วงจาบกับคุณพ่อคุณแม่เป็นอันตราย ในปัจจุบันนี้แน่นอน


10

กฎแห่งกรรม และวิธีใช้หนี้พ่อแม่ หลวงพ่อจรัญ €ิตธมฺโม

ทำกรรมชÑèวร้าÂ ระวÑง»ระสºอÑนµราÂในชาµินี้

ท่านพี่น้องที่รัก อย่าคิดว่าจะไปเอาในชาติหน้า ทำบุญแล้วก็จะได้บุญใน ชาติหน้า ทำบาปแล้วจะได้บาปในชาติหน้า ชาตินี้เห็นทันตา แน่นอนที่สุด ยกตัวอย่างให้เห็น ที่วิทยาลัยครูเทพสตรี ซึ่งตอนนี้เปลี่ยนชื่อเป็นสถาบัน ราชภัฏเทพสตรี จังหวัดลพบุรี เมื่อป ๒๕๐๙ – ๒๕๑๐ จำไม่ได้ละเอียด มีการมา อบรมที่วัดอัมพวัน มาอยู่ที่วัดแล้วก็มาเล่นกองไฟ กินเหล้าเมายากัน นี่ปริญญาครุศาสตร์ เกิดต่อยปากครู ลงไปชกปากครูเลย ดูสิ อย่างนี้จะมี อริยูปวาทันตรายเกิดขึ้นไหม ครูก็ใจดี ครูก็เป็นมหาเปรียญ ๖ ประโยค ตอนบวช เณร แล้วก็ไปเรียนวิชาความรู้วิชาครูแล้วมาบรรจุที่วิทยาลัยครูเทพสตรี ไม่ต้อง กล่าวนาม เดี๋ยวนี้ปลดเกษียณไปแล้ว “ผมไมโกรธเขาแลวครับ เขาตอยปากผมไมเปนไร เขาเมา” เราก็เรียกเด็กมา “หนู เปนบาปไปแลว นี่อริยูปวาทันตราย เธอไปขอ อโหสิกรรมกับครูเสีย” ไม่ยอมไปขอ เปลี่ยนพฤติกรรมไปทางเมา เมาแล้วก็เปลี่ยน พฤติกรรม เปลี่ยนชีวิตกลายเป็นคนเหลวไหล นี่มันเปลี่ยนพฤติกรรมได้ เพราะ หลักกรรมอันนี้ ออกมานี่ชัดเจนมาก ขอเจริญพรนะ... เªื่อแล้วว่า กรรมมีจริง อยู่มาไม่ถึง ๗ วัน ขับมอเตอร์ไซค์ที่ท่าวุ้ง ถูกรถสิบล้อขยี้ รถมอเตอร์ไซค์พังหมด เขาหัวเละตายคาที่เลย นี่แหละ หละ อริยูปวาทันตราย อันตรายเกิดจากที่จ้วงจาบผู้มีบุญคุณ


สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

11

ดวงดี ดวงร้า ใคร໚น¼Ù้กำหนด

บางคนชอบไปหาหมอดู หมอดูบอกว่าต้องสอบได้ที่หนึ่งแต่ปรากฏว่า สอบตก หมอดู ว่าสอบตกกลับสอบได้เพราะเราขยัน ทำงานได้ดีมาก งานออกมาดีจริง æ

เราต้องสร้างความดีให้กับดวง หาใช่ดวงทำให้เราดีไม่ ต้องสร้าง อยู่เฉย ๆ ดีได้อย่างไร มันต้องเกิดจากการกระทำ คือ กฎแห่งกรรม นั่นเอง

การสร้างความดีให้กับดวง ก็คือสร้าง ศีล สมาธิ ปญญา ญาให้เกิดขึ้นแก่ตัวเรา แล้วเราจะอบอวลทวนลม ผู้ที่ มีสมาธิจะเป็นคนขยันหมั่นเพียร และเป็นผู้มีปัญญา คนที่มีปัญญาแหลมลึก แหลมหลัก ต้องมีสามคม คมกริบ ไว้ภายในจิตไม่บอกใคร แสดงออกในเมื่อมีความจำเป็นจะต้องใช้ คมคาย มันยังเป็นหลุมเป็นบ่อไม่เสมอ ก็เอาบุ้งมาแทงอย่างนี้เป็นต้น คมสัน มันต้องใช้ขวานตอกย้ำลงไป จึงจะเข้าเรียบร้อยดี นี่มันมีในลักษณะศีล สมาธิ ปญญาครบ ศีล คือ สถาปนิก ออกรูปแบบพื้นฐานให้คนชอบ สมาธิ คือ วิศวกร รู้วาระจิต รู้จักน้ำหนัก รู้จักชั่งตวงวัด รู้จักวาระจิตของคนในฐานะเช่นไร ควรทำกับเขาอย่างไร รู้กาลเทศะ รู้จักบาป รู้จักบุญ รู้จักคุณ รู้จักโทษ รู้จักสิ่งที่เป็นประโยชน์และไม่เป็นประโยชน์ ปญญา คือ นายช่าง ลงมือทำหน้าที่ มิได้รอรีแต่ประการใด ถ้ า ใครเป็ น ทั้ ง สถาปนิ ก วิ ศ วกร และนายช่ า งแล้ ว รั บ รองคนนั้ น เอาตัวรอดปลอดภัยในอนาคต


12

กฎแห่งกรรม และวิธีใช้หนี้พ่อแม่ หลวงพ่อจรัญ €ิตธมฺโม

ดี-ชÑèว อÂÙ่ทีèµÑวทำ เจ้าประคู้น...ขอให้ สอบติดทีเ¶ อะ ลูกจะเอาหัวหมู มา¶วายอีกรอบ

สำหรับศาสนาพุทธของเรานั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสไว้ชัดเจน บุคคลจะได้ดีหรือชั่ว ได้รับสุขหรือทุกข์ ก็เพราะกรรม จะเปลี่ยนพฤติกรรม หรือเปลี่ยนแปลงชีวิตนี้ มันอยู่ที่หลักกรรม จากการกระทำนั้นแน่นอนที่สุด ขอเจริญพรอย่างนั้น นี่แหละพระพุทธเจ้าตรัสไว้ชัดเจนมาก

พระพุทธศาสนาสอนว่า “บุคคลจะได้ดีหรือªั่ว ได้รับสุขหรือทุกข์ กçเพราะกรรม คือการกระทำของตนเองทั้งสิ้น” หากเราไม่ดำเนินตามทางที่พระพุทธองค์ทรงสอนไว้ แม้จะสวดมนต์หรือ วิ ง วอนขอร้ อ งพระเจ้ า หรื อ ไปบนกั บ ผี ไปดี กั บ พระ ที่ โ ยมไปหาผี เ ข้ า ทรงมา อ้อนวอนให้ผีช่วย เสียใจด้วยนะ ต้องช่วยตัวเองสิ อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ (อัด-ตา,หิ,อัด-ตะ-โน,นา-โถ) แปลว่า ตนแลเปนที่พึ่งของตน นี่กลับไปให้ผีช่วย ผี ช่ ว ยได้ ห รื อ ไปวั ด นี่ ถื อ ดอกไม้ ธู ป เที ย น เอาไปให้ พ ระช่ ว ย แต่ เ สี ย ใจด้ ว ย ตนต้องเป็นที่พึ่งของตน ๑. ตนต้องช่วยตนเองได้ ๒. ต้องพึ่งตนเองได้ ๓. ต้องสอนตัวเองได้ ถ้าสามหลักนี้ไม่มีกับโยมคนใด คนนั้นจะเปนที่พึ่งไม่ได้ พระท่านจะช่วย เราได้อย่างไร พระพุทธองค์ก็ไม่อาจจะช่วยให้เราพบความดีและความสุขได้


สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

ÈรÑทธากѺกฎแห่งกรรม

13

ความดี ทำได้ง่าย ไม่ต้องรอเดีëยว ตามคำสอนในพระพุทธศาสนา ชาวพุทธควรมีศรัทธา ๔ อย่าง คือ ๑. ตถาคตโพธิสัทธา (ตะ-ถา-คะ-ตะ-โพ-ทิ-สัด-ทา) เชื่อในการตรัสรู้ของ พระพุทธเจ้า คือ เชื่อว่าพระพุทธเจ้าได้ตรัสรู้จริง เป็นผู้ประกอบด้วยพระปัญญา คุณ พระวิสุทธิคุณ และพระมหากรุณาธิคุณ จริง ๆ ๒. กัมมสัทธา (กำ-มะ-สัด-ทา) เชื่อเรื่องกรรม คือ เชื่อว่ากรรมมีจริง หลักกรรมที่เราทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่วมีจริง ๓. วิปากสัทธา (วิ-ปา-กะ-สัด-ทา) เชื่อเรื่องผลของกรรม คือ เชื่อว่ากรรม ที่บุคคลทำไม่ว่าดีหรือชั่วย่อมให้ผลเสมอ จึงจะเปลี่ยนกิจกรรมความเปลี่ยนแปลง ของชีวิตไปในทางที่เชื่อถือ และถูกต้องได้ ๔. กัมมัสสกตาสัทธา (กำ-มัด-สะ-กะ-ตา-สัด-ทา) เชื่อว่าสัตว์มีกรรมเปน ของตน คือ เชื่อว่าผลที่เราได้รับเป็นผลแห่งการกระทำของเราเอง ซึ่งอาจจะเป็น กรรมที่ทำในปัจจุบันหรืออดีตชาติ หรือจะทำในภพใด จะเห็นได้ว่า ความเชื่อ หรือศรัทธา ๔ อย่างนั้น เป็นความเชื่อในเรื่อง เกี่ยวกับกรรมถึง ๓ ประการ


14

กฎแห่งกรรม และวิธีใช้หนี้พ่อแม่ หลวงพ่อจรัญ €ิตธมฺโม

กฎแห่ง¡ÃÃÁ หÅÑกธรรมสำคÑÞ ในพระพุทธÈาสนา

กฎแห่งกรรม เปนคำสอนสำคัญในพระพุทธศาสนา ผู้เป็นชาวพุทธ ทุกคนจึงควรเชื่อในเรื่องกฎแห่งกรรม ควรพยายามศึกษาทำความเข้าใจเรื่อง กฎแห่งกรรม ชาวพุทธที่ไม่เชื่อกฎแห่งกรรม หาใช่ชาวพุทธที่แท้จริงไม่ เขาเป็นเพียง ชาวพุทธแต่เพียงในนาม ศาสนาพุทธมีประโยชน์แก่เขาเพียงใช้กรอกแบบฟอร์ม เพื่อไม่ให้ถูกว่าเป็นคนไม่มีศาสนาเท่านั้นเอง คนที่เชื่อในเรื่องกรรม ย่อมได้เปรียบกว่าคนที่ไม่เชื่อ คนที่เชื่อในเรื่องกรรมย่อมสามารถอดทน รับความทุกข์ยากลำบาก ความผิดหวัง ความขมขื่น และเคราะห์ร้ายที่เกิดแก่ตนได้ เพราะถือว่าเป็นกรรมที่ทำมาแต่อดีต ªาวพุทธแท้ æ ไม่ตีโพยตีพายว่าโลกนี้ไม่มีความยุติธรรม ต้องเªื่อก®แห่งกรรม ตนไม่ได้รับความเป็นธรรม ทำดีแล้วไม่ได้ดี คนที่เชื่อในเรื่องกรรม จะยึดมั่นอยู่ในการทำความดีต่อไป จะเปนผู้ สามารถให้อภัยแก่ผู้อื่น และจะเป็นผู้มีหิริโอตตัปปะ๑ คนส่วนมากเข้าใจว่า กรรม คือ การกระทำ ความเข้าใจนี้ก็ไม่ผิด แต่เป็น ความเข้าใจที่ยังไม่รัดกุม และถูกต้องทั้งหมด เพราะมีการกระทำบางอย่างที่ไม่นับ ว่าเป็นกรรม ๑หิริ หมายถึง ความละอายใจในการทำชั่ว, โอตตัปปะ หมายถึง ความเกรงกลัวต่อผลที่จะได้รับจากการทำชั่วนั้น เสริมคำอธิบายโดย ไพยนต์ กาสี คณาจารย์สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง


สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

ਵนา มี ¡ÃÃÁ มา ਵนา äม่มา ¡ÃÃÁ äม่มี

15

กรรมที่แท้จะต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์ ๒ ประการ คือ หลักเกณฑ์ข้อที่ ๑ ผู้ทำมีเจตนา มีหลักการที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ ในนิพเพธิกสูตร ฉักกนิบาต อังคุตตรนิกาย ว่า เจตนาหํ ภิกฺขเว กมฺมํ วทามิ (เจ-ตะ-นา-หัง,พิก-ขะ-เว,กำ-มัง,วะ-ทา-มิ) แปลว่า ภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวว่า เจตนาเปนกรรม เจตนา ได้แก่ ความตั้งใจหรือความรับรู้ ซึ่งแบ่งได้เป็น ๓ อย่าง คือ ๑. บุพเจตนา เจตนาก่อนทำ ๒. มุญจนเจตนา เจตนาในเวลาทำ ๓. อปราปรเจตนา เจตนาเมื่อได้ทำไปแล้ว การกระทำโดยมีเจตนาเกิดขึ้นในตอนใดตอนหนึ่งถือว่าเปนกรรมทั้งสิ้น ส่วนการกระทำที่ไม่มีเจตนา คือใจไม่ได้สั่งให้ทำไม่จัดว่าเป็นกรรม เช่น คนเจ็บ ซึ่งมีไข้สูง เกิดเพ้อคลั่ง แม้จะพูดคำหยาบออกมา เอามือหรือเท้าไปถูกใครเข้าก็ไม่ เป็นกรรม ในทางวินัยก็ยกเว้นให้พระที่วิกลจริตซึ่งล่วงเกินสิกขาวินัยไม่ต้องอาบัติ ทั้งนี้ก็โดยหลักที่ว่าถ้าผู้ทำไม่มีเจตนา การกระทำนั้นก็ไม่เป็นกรรม ส่วนหลักเกณฑ์ข้อที่ ๒ การกระทำนั้นจะต้องให้ผลเปนบุญหรือบาป ก็ เพื่ อ แยกการกระทำของพระอรหั น ต์ อ อกจากการกระทำของปุ ถุ ช น เนื่ อ งจาก พระอรหันต์ เป็นผู้หลุดพ้นจากกิเลสอาสวะ ไม่มีความยึดถือในตัวตน การกระทำ เรียกว่า อัพยากฤต ไม่นับว่าเป็นกรรมดีหรือชั่ว บุญและบาปไม่มี การกระทำของ พระอรหันต์ จึงไม่เรียกว่า กรรม แต่เรียกว่า กิริยา ส่วนปุถุชน ยังมีความยึดมั่นถือมั่นในตัวตนอยู่ จะทำอะไรก็ยังยึดถือว่าตนเป็นผู้กระทำ การกระทำของปุถุชน จึงเปนกรรม ย่อมจะก่อให้เกิดวิบากหรือผลเสมอ กรรมดีก็ก่อให้เกิดบุญ ส่วนกรรมชั่วก็ก่อให้เกิดบาป


16

กฎแห่งกรรม และวิธีใช้หนี้พ่อแม่ หลวงพ่อจรัญ €ิตธมฺโม

กรรมมีทÑ้งดีแÅะชÑèว

กรรมªั่วทำง่าย กรรมดีทำยาก

คนบางคนเข้าใจว่า กรรม หมายถึง สิ่งไม่ดีคู่กับเวรหรือบาป เช่นที่เรียกว่า เวรกรรม หรือบาปกรรม ตรงกันข้ามกับฝายข้างดี ซึ่งเรียกว่า บุญ

ทั้งนี้ เพราะเราได้ใช้คำว่ากรรมในความหมายไม่ดี เช่น เมื่อเห็นใครต้อง ประสบเคราะห์ร้าย และถูกลงโทษ เราก็พูดว่า มันเป็นเวรกรรมของเขา หรือเขา ต้องรับบาปที่เขาทำไว้ แต่ความจริง คำว่า กรรมเปนคำกลาง ๆ หมายถึง การ กระทำตามที่กล่าวมาแล้วจะมุ่งไปในทางดีก็ได้ทางชั่วก็ได้ ถ้าเป็นกรรมดี เราเรียก ว่า กุศลกรรม ถ้าเป็นกรรมชั่ว เราก็เรียกว่า อกุศลกรรม ในกรรมบถ ๑๐ แบ่งกรรมที่เป็นฝายอกุศลและฝายกุศลออกเป็นการ กระทำทางกาย ทางวาจา และทางใจ ดังนี้ ๑. กายกรรม คือ กรรมทางกาย แบ่งเป็นฝายละ ๓ คือ ฝายอกุศล ได้แก่ ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ และผิดประเวณี ฝายกุศล ได้แก่ เว้นจากการฆ่าสัตว์ เว้นจากการลักทรัพย์ และเว้นจากการผิดประเวณี ๒. วจีกรรม คือ กรรมทางวาจา แบ่งเป็นฝายละ ๔ คือ ฝายอกุศล ได้แก่ พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดคำหยาบ และพูดเพ้อเจ้อ ฝายกุศล ได้แก่ เว้นจากการพูดเท็จ เว้นจากการพูดส่อเสียด เว้นจากการพูดคำหยาบ และเว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ ๓. มโนกรรม คือ กรรมทางใจ แบ่งเป็นฝายละ ๓ คือ ฝายอกุศล ได้แก่ เพ่งเล็งทรัพย์ผู้อื่น ปองร้าย และเห็นผิดจากคลองธรรม ฝายกุศล ได้แก่ ไม่เพ่งเล็งทรัพย์ผู้อื่น ไม่ปองร้าย และเห็นชอบตามคลองธรรม


สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

คิดäม่ดีกçมีâทÉ

17

ตามที่กล่าวมาในข้อมโนกรรม จะเห็นได้ว่า แม้แต่การนึกคิดก็จัดว่าเป็น กรรมแล้ว เช่น เราคิดจะลักทรัพย์ หรือทำร้ายคนอื่น แม้จะยังไม่ได้ลงมือทำก็ถือ ว่าเป็นกรรมชั่ว ซึ่งจะต้องมีผลตอบแทนแล้ว ผิดกับการลงโทษตามกฎหมายอาญา ซึ่งจะลงโทษได้ก็ต่อเมื่อผู้กระทำ ได้เตรียมการหรือลงมือกระทำแล้วเท่านั้น ลำพังความคิดที่จะกระทำความผิด ยังหามีโทษไม่ การที่กฎหมายอาญาไม่เอาโทษการคิดที่จะกระทำความผิด ก็เพราะเปน การยากที่จะพิสูจน์ความนึกคิดของบุคคล และเห็นว่ายังไม่มีความเสียหายเกิดขึ้น ต้อง©กเอามา แต่หลักของกรรม เป็นของเราให้ ได้ ถือความคิดชั่วเปนความผิด ก็เนื่องจากว่า แม้ว่าคนอื่นยังไม่เสียหาย ผู้คิดเองก็เสียหาย ฉะนั้น จึงต้องมีวิบากติดตามมา จะเห็นได้ว่า การสนองผลของกรรม มีขอบเขตกว้างขวาง เพียงแค่คิดผิด ªีวิตกçมี โทษ กว่าการลงโทษ ของกฎหมายบ้านเมืองมาก หนังสือส่งเสริมการอ่าน เพื่อสร้างสรรค์สังคมให้สงบสุข ยามสำนึกผิดคิด¶ึงกรรมªั่วที่เคยหลวมตัวทำ หนังสือเล่มนี้ª่วยท่านได้

}

ยามอยากแนะนำให้ผู้อื่นทำกรรมดี อ่านแล้วอย่าลืมสั่งสมบุญ เพิ่มบุญเพื่อลดกรรมร้ายขยายกรรมดี


18

กฎแห่งกรรม และวิธีใช้หนี้พ่อแม่ หลวงพ่อจรัญ €ิตธมฺโม

กรรมของµน âอนäม่äด้

คนที่ประกอบกรรมทำชั่วทางกาย วาจา ใจ ส่วนใหญ่เป็นคนไม่เชื่อเรื่อง กรรม ไม่เชื่อเรื่องบุญและบาป ไม่เชื่อเรื่องตายแล้วเกิดคนพวกนี้เกิดมาจึงมุ่ง แสวงหาทรัพย์สมบัติ ความสุขสบายให้แก่ตัว โดยไม่คำนึงว่าทรัพย์สมบัติ หรือ ความสนุกที่ตนได้มาถูกหรือผิด ทำให้คนอื่นได้รับความเดือดร้อนหรือไม่ ไปขโมยของเพื่อนทำไม สัตว์ทั้งหลาย ลูกทำผิดแม่ต้องลงโทษ มีกรรมเป็นของตน กรรมนั้นเปนของเราโดยเฉพาะ เราจะเปนผู้รับผลของกรรมนั้น เหçนผล ทันตาเลยเรา จะโอนให้ผู้อื่นไม่ได้ เช่น เราทำกรรมชั่วอย่างหนึ่ง เราจะต้องรับผลของกรรมชั่วนั้น จะลบล้างหรือโอนไปให้ผู้อื่นไม่ได้ แม้ผู้นั้นจะยินดีรับโอนกรรมชั่วของเราก็ตาม กรรมให้ผลยุ ติธรรมเสมอ กรรมดีก็เช่นเดียวกัน ผู้ใดทำกรรมดี กรรมดีย่อมเป็นของผู้กระทำ โดย เฉพาะ จะจ้างหรือวานให้ทำแทนกันหาได้ไม่ เช่น เราจะเอาเงินจ้างผู้อื่นให้ประกอบ กรรมดี แล้วขอให้โอนกรรมดีที่ผู้นั้นทำมาให้แก่เราย่อมไม่ได้ หากเราต้องการ กรรมดีเป็นของเรา เราก็ต้องประกอบกรรมดีเอง เหมือนกับการรับประทานอาหาร ผู้ใดรับประทาน ผู้นั้นก็เป็นผู้อิ่ม â»Ã´ãªŒàÅ‹Á¹Õé ãËŒ¤ØŒÁÊØ´¤ØŒÁ & Í‹Ò¹áÅŒÇ -> ẋ§¡Ñ¹Í‹Ò¹ËÅÒ·‹Ò¹¹Ð¨ Ð Í‹Ò¹ÊÔºÃͺ ÃдÁÊÁͧ¤Ô´ÊԺ˹ ½ƒ¡½¹»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¡ÒûÃÐÂØ¡µ 㪌 㹪ÕÇÔµ»ÃШÓÇѹ ¨ÔµÃٌ෋ҷѹÊÃþÊÔè§ ©ÅҴ㪌 à©ÅÕÂǤԴ ªÕÇÔµ¨Ñ¡Ê¹Ø¡ ÊØ¢ ʧº àÂç¹ Êӹѡ¾ÔÁ¾ àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ »ÃÒö¹ÒãËŒ·Ø¡¤Ãͺ¤ÃÑÇÁÕ¤ÇÒÁÊØ¢


สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

¡ÃÃÁ ชÑèว-ดี มี¼Å ๒ ชÑ้น

19

มีคนบางคนที่ทำกรรมชั่ว แต่กลับเป็นคนร่ำรวย มีอำนาจวาสนา มีคน เคารพยกย่อง บางคนทำงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ขยันขันแข็ง กลับมีชีวิตอยู่ ด้วยความยากลำบาก เหตุต่าง ๆ เหล่านี้ จึงทำให้คนคิดไปว่า กฎแห่งกรรมไม่มีจริง คำสั่งสอน ที่ว่า กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ (กันละ-ยา-นะ-กา-รี,กันละ-ยา-นัง, ปา-ปะ-กา-รี,จะ,ปา-ปะ-กัง) ซึ่งแปลว่า ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว คงจะไม่เป็นความจริง เสียแล้ว การที่บางคนเห็นว่า ทำดีไม่ได้ดี ทำชั่วไม่ได้ชั่ว เนื่องจากความไม่เข้าใจ สองประการ คือ ประการแรก ไม่เข้าใจการให้ผลของกรรม ประการสอง ไม่เข้าใจความหมายของคำว่า ได้ดีและได้ชั่ว การให้ผลของกรรมมี ๒ ชั้น คือ การให้ผลของกรรมในชั้นธรรมดา และ การให้ผลของกรรมในชั้นศีลธรรม การให้ผลของกรรมในชั้นธรรมดา เป็นการให้ผลโดยไม่คำนึงถึงว่าถูก หลักความชอบธรรมหรือไม่ เช่น นาย ก. โกงเงินหลวง หรือขโมยทรัพย์มา นาย ก. ก็จะได้เงินนั้นมา และถ้านาย ก. ใช้เงินซื้อบ้าน นาย ก. ก็จะได้อยู่บ้านนั้น นี่เป็นการให้ผลของกรรมชั้นธรรมดา ธรรมดา แต่การให้ผลของกรรม ขายยาบ้าเนี่ย รวยไม่รู้เรื่องเลย หาได้หยุดให้ผลแต่เพียงเท่านั้นไม่ ไม เวรกงเวรกรรมมีที่ ไหน กรรมที่ทำลงไปยังจะให้ผล ในชั้นศีลธรรมอีก คือ ถ้าทำดีจะต้อง ได้รับผลดีอย่างแน่นอน และถ้าทำชั่วก็จะต้อง ได้รับผลชั่วอย่างหลีกไม่พ้น กรรมªั่วยังไม่ ให้ผล คนกçมักมองว่าดี


20

กฎแห่งกรรม และวิธีใช้หนี้พ่อแม่ หลวงพ่อจรัญ €ิตธมฺโม

คนäม่àช×èอกฎแห่งกรรม àพราะมองàพีÂง¼ÅในชÑ้นธรรมดา

คนที่ไม่เชื่อในเรื่องกรรม มักจะมองผลของกรรมชั้นธรรมดา เป็นผู้มี สายตามืดมัว มองไม่เห็นการให้ผลของกรรมชั้นศีลธรรม บุคคลเหล่านี้มักจะเป็นคน ไม่เชื่อในเรื่องตายแล้วเกิด คิดว่าคนเราเกิดมาเพียงชาตินี้ ชาติเดียวก็สิ้นสุดลง คนพวกนี้ เมื่อทำความชั่ว และความชั่วยังไม่ให้ผล ก็คิดว่าตนเป็นคนฉลาด ดูถูกพวกที่เชื่อเรื่องกรรม ว่าเป็นคนโง่งมงาย

กรรมจŽา... ปล่อย©ันไปเ¶อะ ©ันจะให้ ñð ล้าน แง... แง...

เมื่อกรรมสนอง เงินทองกç ไร้ความหมาย

คนพวกนี้เหมือนคนกินขนมเจือยาพิษ ตราบใดที่ยาพิษยังไม่ให้ผล ก็คิด ว่าขนมนั้นเอร็ดอร่อย ดังพุทธภาษิตที่ว่า “มธุวา มฺติ พาโล ยาว ปาป น มุจฺจติ (มะ-ทุ-วา,มัน-ยะ-ติ,พา-โล,ยา-วะ,ปา-ปัง,นะ,มุด-จะ-ติ) แปลว่า คนโง่ย่อมจะเห็น บาปว่าเปนน้ำผึ้ง ตราบเท่าที่บาปยังไม่ให้ผล” การให้ผลของกรรม แบ่งเป็นการให้ผลทางจิตใจ และการให้ผลทางวัตถุ การให้ผลทางจิตใจ เป็นเรื่องเกี่ยวกับผู้ทำโดยเฉพาะ ไม่เกี่ยวข้องกับ คนอื่น เมื่อทำไปแล้วก็ได้ผลทันที คือ เมื่อทำกรรมดีก็จะได้รับความสุข ความปติ แต่ถ้าทำกรรมชั่วก็จะทำให้จิตใจเศร้าหมองเป็นทุกข์ ส่วนการให้ผลทางวัตถุ เป็นเรื่องที่ต้องเกี่ยวเนื่องกับผู้อื่น จะทำให้ได้ดี ยากมาก


สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

µ่าง¡ÃÃÁ µ่างให้¼Å µ่างวาระ

21

กรรมบางอย่างอาจให้ผลในชาตินี้ เรียกว่า ทิฏฐธัมมเวทนียกรรม กรรมบางอย่างอาจให้ผลในชาติหน้า เรียกว่า อุปปชชเวทนียกรรม กรรมบางอย่างอาจให้ผลในชาติต่อ ๆ ไป เรียกว่า อปราปริยเวทนียกรรม ต้นกล้าคุ³ธรรม คือ การปลูกพืชหรือต้นไม้ ½ƒกจิต ให้คิดใ½†ดี ไม่ใช่พอหว่านเมล็ดลงไปในดิน พืชหรือต้นไม้นั้น จะโตขึ้นหรือให้ผลทันที พืชบางอย่างก็ให้ผลเร็ว พืชบางอย่างก็ให้ผลช้าเปนป ๆ ป‚กç ได้กิน เช่น ข้าว เพียง ๔-๕ เดือน ก็ให้ผล ó ผลแล้ ว แต่ต้นมะพร้าวหรือทุเรียน กว่าจะให้ผลก็ใช้เวลาถึง ๕ ป กรรมกçเหมือนต้นไม้ ให้ผลª้าเรçวต่างกัน การที่คนทำชั่วยังได้ดีมีสุขอยู่ จึงเป็นเพราะกรรมชั่วยังไม่ให้ผล กรรมดีที่ เขาเคยทำยังเป็นอุปัตถัมภกกรรม๑ คอยสนับสนุนอยู่ เมื่อใดที่กรรมดีอ่อนกำลังลง กรรมชั่วก็จะมาเป็นอุปฆาตกกรรม๒ ทำให้ผู้นั้นต้องเปลี่ยนสภาพไปอย่างพลิกหน้า มือเป็นหลังมือ เช่น เศรษฐีอาจจะต้องเป็นยาจก เคยเป็นผู้ยิ่งใหญ่มีอำนาจวาสนา อาจจะถูกฟองร้องต้องโทษจำคุก หรือต้องเที่ยวหลบหนีเร่ร่อนไม่มีแผ่นดินจะอยู่ ๑อุปัตถัมภกกรรม อ่านว่า อุ-ปัด-ถำ-พะ-กะ-กำ หมายถึง กรรมที่ให้การสนับสนุน ๒อุปฆาตกกรรม อ่านว่า อุ-ปะ-คา-ตะ-กะ-กำ หมายถึง กรรมที่เข้าไปทำลาย


22

กฎแห่งกรรม และวิธีใช้หนี้พ่อแม่ หลวงพ่อจรัญ €ิตธมฺโม

ทำดี äด้ดี µ้องทำให้¶Öงดี

คนทำดีจะให้ได้ดีทางวัตถุ ต้องประกอบด้วยหลัก ๔ ประการ คือ ๑. คติสมบัติ ทำดีให้ถูกสถานที่ ๒. อุปธิสมบัติ ทำดีให้ถูกตัวบุคคล ๓. กาลสมบัติ ทำดีให้ถูกเวลา ๔. ปโยคสมบัติ ต้องทำดีให้ติดต่อกันไปเรื่อย ๆ การที่คนทำกรรมดี และหวังผลในทางวัตถุ เช่น หวังลาภ ยศ และ สรรเสริญ แต่ไม่ได้รับผลดีตามต้องการ อาจเพราะไม่เข้าตามหลัก ๔ ประการ ข้างต้น คือ ไปทำความดีกับบุคคลที่ไม่มีความดี เช่น เราทำงานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต แต่เจ้านายของเราเป็นคนคอร์รัปชั่น การทำความดีของเราย่อมไม่เป็นที่ ชื่นชมของเจ้านาย การทำความดีกับบุคคลเหล่านี้ก็ไม่ต่างอะไรกับเอาเมล็ดพืช ทิ้งลงไปบนหินหรือพื้นดินแห้งแล้ง ฉะนั้น การทำความดีเราควรจะหวังผลในทาง จิตใจมากกว่าวัตถุ บริษัทขาดสภาพคล่อง บางคน อาจจะทำความดีจริง เรายินดีทำงานล่วงเวลา ไม่คิดโอทีกç ได้¶ือว่าª่วย æ กัน แต่อาจจะทำไม่ถึงดี คือ ทำดีเพียงเล็กน้อย แล้วก็หวังผลแห่งความดีนั้น เมื่อไม่ได้รับผลตอบแทน ก็หมดกำลังใจ แล้วก็บอกว่าทำดีไม่เห็นได้ดี ทำงานเพื่องาน สำราญจิต คนพวกนี้ก็เหมือนคนปลูกพืช ทำงานหงุดหงิด เพราะคิดแต่... รดน้ำพรวนดินนิดหน่อย เงิน เงิน เงิน ก็หวังที่จะให้พืชได้ผล


สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

สÀาพ¨ิµà»šนàคร×èองวÑด¼Åกรรม

23

ความหมายของคำว่า ได้ดีและได้ชั่ว ในทางโลกกับในทางธรรม มีความ หมายแตกต่างกัน ในทางโลก มักจะมองเห็นการได้ดี และได้ชั่วเป็นเรื่องทางวัตถุเมื่อกล่าว ว่า คนนั้นได้ดี ก็มักจะหมายถึงว่า ผู้นั้นได้ลาภและยศ เช่น ได้ทรัพย์สมบัติ ได้อำนาจวาสนา หรือได้ตำแหน่งหน้าที่การงานดีขึ้น เมื่อไม่ได้สิ่งเหล่านั้นก็เข้าใจว่า ไม่ได้ดี ในทางธรรม การได้ดีหรือได้ชั่ว เป็นเรื่องของจิตใจ การได้ดี หมายถึง การทำให้จิตใจดีขึ้น ทำให้ธาตุแห่งความดีในตัวของเรา มีมากขึ้น ทำให้จิตใจของเราสะอาด สว่าง สงบยิ่งขึ้น การได้ชั่ว หมายถึง การทำให้จิตใจต่ำลง เลวลง ทำให้จิตใจมืดมัวยิ่งขึ้น เÎ้อ...เสรçจสักที ฉะนั้น ในทางศีลธรรม คำว่า ได้ดี จึงหมายถึง ความดี และคำว่า ได้ชั่ว จึงหมายถึง ความชั ความชั่ว หากเราจะพูดว่า ทำดีได้ความดี ทำดีจิต ดี ทำª ทำชั่วได้ความชั่ว ั่วจิตªั่ว ก็จะทำให้เข้าใจ ในเรื่องได้ดีและได้ชั่วดีขึ้น ดังนั้น บุคคลที่ทำกรรมอะไรลงไป ย่อมจะได้รับผลในทางจิตใจทันที เมื่อทำกรรมดี เช่น ทำบุญตักบาตร ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้อื่น ก็จะทำให้จิตใจดีขึ้น มีความปติ และความสุขในกรรมดีที่ตนทำ ในเมื่อกรรมที่ทำเป็นกุศลกรรมจริง ๆ คือทำด้วยจิตใจที่เป็นกุศล ทำด้วยความบริสุทธิ์ใจ ไม่ใช่ทำด้วยความโลภ หรือ ด้วยอกุศลเจตนา หรือหวังผลตอบแทน


24

กฎแห่งกรรม และวิธีใช้หนี้พ่อแม่ หลวงพ่อจรัญ €ิตธมฺโม

à¨ริÞกรรม°านด้วÂสµิ»˜¯°าน ô » ดอºาÂÀÙมิäด้

ญาติโยมเอย โปรดทราบไว้เถอะว่า บุญกรรมนั้นมีจริง บาปกรรมมีจริง ยมบาลจดนั้นไม่มี จิตนี้เปนผู้จด จดทุกวันคืออารมณ์ เรื่องจริงแน่ จดทุกกระเบียดนิ้ว บาปบุญคุณโทษบันทึกเข้าไว้ ทำดีบันทึกใส่จิต ªีวิตเป็นสุขร่มเยçน ถ้าเราทำกรรมดี ก็ไปบังเกิดในสวรรค์ ทำชั่วก็ลงนรกไป วันนี้ อาตมาขออนุโมทนาสาธุการส่วนกุศลที่ท่านทั้งหลายมาบำเพ็ญกุศล เจริญวิปัสสนากรรมฐานให้แก่ตนเอง โดยเฉพาะด้วยการเจริญสติปัฏฐาน ๔ เจริญ กาย เวทนา จิต ธรรม พิจารณาโดยปัญญาตลอดกระทั่งยืน เดิน นั่ง นอน จะคู้ เหยียดขาทุกประการก็มีสติครบ รับรองได้เลยว่า ถ้าโยมทำถึงขั้น ปดประตูอบาย ได้เลย เพราะเหตุใด เพราะกิเลสทั้งหลายโลภะ โทสะ โมหะเกิดขึ้น โยมก็กำหนด ขณะมีโลภะก็กำหนดโลภะ โลภะก็หายไป จิตวิญญาณตายขณะมีโลภะ ตายไปเป็น เปรต กำลังมีโทสะตายไปขณะนั้นลงนรก มีโมหะรวบรวมอยู่ในจิตใจไว้มากตายไป เกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน แต่ถ้ามีสติปัฏฐาน ๔ มีสติสัมปชัญญะดี อบายภูมิก็ไม่ต้อง ไป ปดนรก เปรต อสุรกาย สัตว์เดรัจฉาน ทางอายตนะ ธาตุ อินทรีย์ดังที่กล่าวมา แล้วนี้ทุกประการ ขอกุศลที่ญาติโยมได้บำเพ็ญไว้แล้ว จงเป็นพลวปัจจัยย้อนกลับเป็นบุญ กุศลให้แก่ญาติโยมทั้งหลายประสบความสุขสันต์นิรันดรทุกท่าน และจงพยายาม ก้าวหน้าผ่านเกาะแก่งทุรกันดารผ่านอุปสรรคถึงฝังฟากคือพระนิพพาน โดยทั่วหน้า กัน ณ โอกาสบัดนี้เทอญ.


สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

25

ò. ÍÒ¹ÔÊ§Ê ¢Í§ ¡ÒÃÊÇ´¾Ãоط¸¤Ø³

àÃÕ¹ÃÙŒ... ¤ÓÊ͹ : ¤ÇÒÁ໚¹ÁҢͧ¾ÃÐ¤Ò¶Ò ¾ÒËا... ÁËÒ¡Ò... ÇÔ¸Õ»¯ÔºÑµÔÇÔ»˜ÊʹҡÃÃÁ°Ò¹à¾×èÍá¡Œ¡ÃÃÁ ¤ÓÊÇ´ : àÊ¡¨ÔµãËŒ¡ŒÒÇ¢Öé¹ÊÙ‹¤ÇÒÁ´Õ ´ŒÇºÒÃÁÕáË‹§¾Ãоط¸¤Ø³ โดย... พระธรรมสิงหบุราจารย

(หลวงพอจรัญ ิตธมฺโม)

¤‹‹Í æ Í‹Ò¹ ¤‹ÍÂ æ ¤Ô´¾Ô¨ÒÃ³Ò ¤ÃÒ¤Ô´µÔ´¢Ñ´ ËÂØ´¾Ñ¡ÊÑ¡¹Ô´ ·Ó¨Ôµãˌʧº ¨Ñ¡¾ºáʧÊÇ‹Ò§·Ò§»˜ÞÞÒ


26

กฎแห่งกรรม และวิธีใช้หนี้พ่อแม่ หลวงพ่อจรัญ €ิตธมฺโม

µÓ¹Ò¹¤Ò¶Ò¾ÒËا ÁËÒ¡Ò นิมิตเห็นสมเด็จพระพนรัตน์ วัดปาแกว

คืนวันหนึ่ง อาตมานอนหลับแล้วฝันไปว่า อาตมาได้เดินไปในสถานที่ แห่งหนึ่ง พบพระสงฆ์รูปหนึ่งครองจีวรคร่ำคร่า สมณสารูปเรียบร้อย น่าเลื่อมใส อาตมาเห็นว่าท่านเป็นพระอาวุโสผู้รู้รัตตัญู จึงน้อมนมัสการท่าน ท่านหยุดยืนอยู่ ตรงหน้าของอาตมา แล้วกล่าวกับอาตมาว่า... “©ันคือสมเดçจพระพนรัตน์ วัดป†าแก้ว แห่งกรุงÈรีอยุธยา ©ันต้องการให้เธอได้ ไปที่วัดใหญ่ªัยมงคล เพื่อดูจารึกที่©ันได้จารึก¶วายพระเกียรติ แก่สมเดçจพระนเรÈวรมหาราªผู้เป็นเจ้า เนื่องในวาระที่สร้างเจดีย์©ลองªัยªนะ เหนือพระมหาอุปราªาแห่งพม่า และประกาÈความเป็นอิสระของประเทÈไทย ÊÁà´ç¨¾Ãо¹Ãѵ¹ ÇÑ´»†Òá¡ŒÇ จากกรุงหงสาวดีเป็นครั้งแรก เธอไปดูไว้แล้วจดจำมาเผยแพร่ออกไป ¶ึงเวลาที่เธอจะได้รับรู้แล้ว” ในฝั น อาตมารั บ ปากท่ า น ท่ า นก็ บ อกตำแหน่ ง ให้แ ล้ ว ก็ ต กใจตื่ น นอน ตอนใกล้รุ่ง อาตมาก็ทบทวนความฝัน ก็นึกอยู่ในใจว่า เราเองนั้น กำหนดจิตด้วย กรรมฐาน มีสติอยู่เสมอ เรื่องฝันฟุงซ่านเป็นไม่มี อาตมาก็ได้ข่าวในวันนั้นแหละว่า กรมศิลปากรทำการบูรณปฏิสังขรณ์ พระเจดีย์ใหญ่ในวัดใหญ่ชัยมงคล และจะทำการบรรจุบัวยอดพระเจดีย์ อันเป็น นิมิตหมายการสิ้นสุดการบูรณะแล้วจะรื้อนั่งร้านทั้งหมดออกเป็นการเสร็จพิธี


สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

พบจารึกพาหุง มหากา

27

อาตมาจึงได้ขอร้อง ดร.กิ่งแก้ว อัตถากร ให้เลื่อนการปดยอดบัวไปอีกวัน หนึ่ง เพื่อที่จะได้นำพระซุ้มเสมาชัย ซุ้มเสมาขอ ที่อาตมาได้สร้างขึ้นตามแบบ ดั้งเดิมที่พบในเจดีย์ใหญ่ใกล้กับวัดอัมพวันซึ่งพังลงน้ำ กงเหล็งเป็นคนรวบรวม เอามาให้อาตมา ตั้งแต่เมื่อเริ่มพัฒนาวัดใหม่ ๆ แต่แตกหักผุพังทั้งนั้น หลายสิบปบ อาตมาได้ปนเอามาสร้างเป็นองค์พระใหม่ไปร่วมบรรจุไว้ที่ยอดพระเจดีย์ วันนั้น อาตมาเดินทางไปถึง ก็ได้เดินขึ้นไปบนเจดีย์ตอนที่สุดบันไดแล้ว มองเห็นโพรงที่ทางเขาทำไว้สำหรับลงไปด้านล่าง มีร้านไม้ พอไต่ลงไปภายใน ตั้งใจ เด็ดเดี่ยวว่าลงไปคราวนี้ ถ้าพลาดตกลงไปจากนั่งร้านม้าก็ยอมตาย คนที่ร่วม เดินทางมาด้วยเขามัวแต่ไปบนลานชั้นบน อาตมาก็ดิ่งลงไปชั้นล่าง มีไฟฉาย ดวงหนึ่ง เวลานั้นประมาณ ๐๙.๐๐ น. อาตมาลงไปแล้วก็พบนิมิต ดังที่สมเด็จ พระพนรัตน์ได้บอกไว้จริง ๆ อาตมาจึงได้พบว่าแท้ที่จริงแล้ว สิ่งที่สมเด็จพระ- พนรัตน์ วั ด ปาแก้ ว ท่า นได้ จารึก ถวายพระพร ก็ คื อ บทสวดที่เ รีย กว่า พาหุง มหาการุณิโก ท้ายของนิมิตนั้นระบุว่า “เรา สมเดçจพระพนรัตน์ วัดป†าแก้ว ÈรีอโยธเยÈ คือ ผู้จารึกนิมิตรจนาเอาไว้¶วายพระพรแด่พระมหาบพิตร เจ้าสมเดçจพระนเรÈวรมหาราª” พาหุง มหากาฯ ก็คือ บทสวดสรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ แล้วก็พรพาหุงฯ อันเริ่มด้วย พาหุงสะหัสสะ... ไปจนถึง ทุคคาหะทิฏฐิ... แล้วเรื่อยไปจนถึง มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ... และจบลงด้วย ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง สัพพะพุทธา... สัพพะธัมมา... สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต อาตมารวมเรียกกันว่า พาหุง มหากา


28

กฎแห่งกรรม และวิธีใช้หนี้พ่อแม่ หลวงพ่อจรัญ €ิตธมฺโม

พาหุง มหากา พระคาถากูแผ่นดิน อาตมาจึงเข้าใจในบัดนั้นเองว่า

“บทพาหุงนี้ คือบทสวดมนต์ ที่สมเด็จพระพนรัตน์ วัดปาแก้ว ได้ถวายให้พระบาทสมเด็จ พระนเรศวรมหาราช ไว้สวดเป็นประจำ เวลาอยู่กับพระมหาราชวัง และในระหว่างศึกสงคราม” จึงปรากฏว่า พระบาทสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเจ้าทรงรบ ณ ที่ใด ทรง มีชัยชนะอยู่ตลอดมา มิได้ทรงเพลี่ยงพล้ำเลย แม้จะเพียงลำพังสองพระองค์กับ สมเด็ จ พระอนุ ช าธิ ร าชเจ้ า (สมเด็ จ พระเอกาทศรถ) ท่ า มกลางกองทั พ พม่ า จำนวนนับแสนคน ก็ทรงมีชัยชนะเหนือกองทัพพม่าด้วยการกระทำยุทธหัตถี มีชัยชนะเหนือพระมหาอุปราชา ณ ดอนเจดีย์ปูชนียสถาน แม้ข้าศึกจะยิงปนไฟ เข้าใส่พระองค์ในตอนเข้ากันพระศพของพระมหาอุปราชาแต่ก็มิได้ต้องพระองค์ ด้วยเดชะพาหุง มหากาฯ ที่ทรงเจริญอยู่เป็นประจำนั่นเอง อาตมาพบนิมิตแล้วก็ไต่ขึ้นมาด้วยความสบายใจ ถึงปากปล่องที่ลงไป ใช้เวลาเกือบสามชั่วโมง เนื้อตัวมีแต่หยากไย่ เดินลงมาแม่ชีเห็นเข้ายังร้องว่า “หลวงพอเขาไปในโพรงนั้นมาหรือ ?” แต่อาตมาไม่ตอบ


สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

29

พระคาถาพิชิตศัตรูหมู่มารราย

ตั้งแต่นั้นมาอาตมาจึงสอนการสวดพาหุงมหากาให้แก่ญาติโยมเป็นต้นมา เพราะอะไร เพราะพาหุงมหากานั้นเป็นบทสวดมนต์ที่มีค่าที่สุด มีผลดีที่สุด และ เป็นชัยชนะอย่างสูงสุดของพระบรมศาสดาจากพญาวสวัตดีมาร จากอาฬวกยักษ์ จากช้ า งนาฬาคิ รี จากองคุ ลิ ม าล จากนางจิ ญ จมาณวิ ก า จากสั จ จกนิ ค รนถ์ จากพญานันโทปนันทนาคราช และจากท่านท้าวพกพรหม เป็นชัยชนะที่พระพุทธองค์ทรงได้มาด้วยอิทธิปาฏิหาริย์ และด้วยอำนาจ แห่งบารมีธรรมโดยแท้ ผู้ใดได้สวดไว้เปนประจำทุกวัน จะมีชัยชนะ มีความเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน มีสติระลึกได้ จะตายก็ไปสู่สุคติภูมิ ªีวิตนี้สั้นนัก อย่าผัดวันทำกรรมดี พิมพ์เล่มนี้แจกเป็นธรรมทาน ได้บุญคุ้มครองตนและคนรัก กรรมดีต้องขยาย กรรมร้ายต้องละวาง (ยิ่งพิมพ์มากยิ่ง¶ูกมาก)


30

กฎแห่งกรรม และวิธีใช้หนี้พ่อแม่ หลวงพ่อจรัญ €ิตธมฺโม

อยุธยาไม่สิ้นคนดี ไม่ใช่แต่พระบาทสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเท่านั้น ที่พบความมหัศจรรย์ ของบทพาหุงมหากา แม้แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ก็ทรงพบเช่นกัน โดยมีบันทึกโบราณบอกไว้ดังนี้ “เมื่อพระเจาตากสินมหาราช ตีเมืองจันทบุรีไดแลว ก็ทรงเห็นวาสงครามกูชาติตอจากนี้ไป จะตองหนักหนาและยืดยาว จึงทรงโปรดเกลาฯ ใหสรางพระยอดธงแบบศรีอยุธยาขึ้น แลวนิมนตพระเถระทั้งหลาย มาสวดบทพาหุงมหากา บรรจุไวในองคพระ และพระองคเองก็ทรงเจริญรอยตาม พระบาทสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ดวยการเจริญพาหุงมหากาจึงบันดาลใหทรงกูชาติสำเร็จ”

ขอให้ญาติโยมสวดพาหุงมหากากันให้ทั่วหน้า นอกจากจะคุ้มตัวแล้ว ยังคุ้มครอบครัวให้อยู่ดีมีสุข หากได้สวดกันมาก ๆ เข้า สวดกันทั้งประเทศ ก็ทำให้ ประเทศมีแต่ความรุ่งเรือง พวกคนพาลสันดานหยาบก็แพ้ภัยไปอย่างถ้วนหน้า สวดพาหุงมหากากันให้ได้ทุกบ้าน สวดให้ได้มาก จะมีแต่ความเจริญรุ่งเรือง สวดพาหุงมหากานั่นแหละ เปนมงคลในชีวิต


สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

31

อานิสงส์ของการสวดพระพุทธคุณ

พระเดชพระคุณหลวงพ่อจรัญ กล่าวอานิสงส์การสวดพระพุทธคุณไว้ว่า

การสวดมนต์ไหว้พระ เปนธรรมประจำชีวิต เปนข้อคิดประจำชีวิต เกิดผลผลิตเพื่อความงอกงาม สร้างความดีให้แก่ตน ผลกำไรเปนความดีเพื่อมอบให้ แก่เพื่อนร่วมชาติ ร่วมโลก น ได้อยู่ด้วยความโชคดีทุก ๆ ท่าน ขอให้ท่านพร้อมสมาชิกในครอบครัว ได้สวดมนต์กันทุกคน ทุกครอบครัว เพื่อเป็นมรดกในชีวิต จะเกิดฐานะดี มีปัญญา จะได้มีความสุขความเจริญยิ่ง ๆ ขึ้นไปในชีวิต ขอให้ท่านชวนลูกหลานทุก ๆ คน สวดมนต์ก่อนนอน ถ้าท่านทั้งหลายมี ความตั้งใจ ศรัทธา และเชื่อมั่น ลูกหลานได้สวดมนต์ตามหนังสือนี้แล้ว จะได้รับ ผลดังนี้ ๑. ลูกหลานจะมีระเบียบวินัยที่ดี ๒. ลูกหลานจะไม่เถียง จะเคารพเชื่อฟงพ่อแม่ เขาจะรู้ว่าเขาเป็นเด็ก หรือผู้ใหญ่ จะวางตัวได้เหมาะสม ๓. เมื่อเจริญวัยเปนหนุ่มสาว ก็จะเปนลูกหลานที่ดีของพ่อแม่ เป็นคน พลเมืองที่ดีของสังคม และประเทศชาติ ๔. จะเจริญรุ่งเรืองวัฒนาสถาพร จะรวย จะสวย จะดีมีปญญา จะสม ประสงค์ในสิ่งที่ดีงาม ตลอดไปทุกประการ


32

กฎแห่งกรรม และวิธีใช้หนี้พ่อแม่ หลวงพ่อจรัญ €ิตธมฺโม

ÅӴѺ¡ÒÃÊÇ´Á¹µ

อานิสงส์ของการสวดพระพุทธคุณ๑ ๑. บทบูชาพระรัตนตรัย ๒. บทกราบพระรัตนตรัย ๓. บทนอบน้อมพระพุทธเจ้า ๔. บทขอขมาพระรัตนตรัย ๕. บทไตรสรณคมน์ ๖. บทสรรเสริญพระพุทธคุณ ๗. บทสรรเสริญพระธรรมคุณ ๘. บทสรรเสริญพระสังฆคุณ ๙. บทชัยมงคลคาถา (พาหุง) ๑๐. บทชัยปริตร (มหากา) ๑๑. สัพพมงคลคาถา ๑๒. บทอิติป โส เท่าอายุ ๑๓. บทแผ่เมตตาแก่ตนเอง ๑๔. บทแผ่เมตตาให้สรรพสัตว์ ๑๕. บทแผ่ส่วนกุศล ๑๖. บทอธิษฐานขออโหสิกรรม ๑๗. บทกรวดน้ำให้เจ้ากรรมนายเวร ๑๘. บทอธิษฐานจิต ๑๙. เจริญกรรมฐานหลังการสวดมนต์

ดอกบัวเป็นดอกไม้ที่มหัÈจรรย์ แม้เกิดจากโคลนแต่ ไม่แปดเป„œอนด้วยโคลน เปรียบเหมือนพระพุทธเจ้า ทรงพ้นจากกิเลสแล้ว ไม่แปดเป„œอนด้วยกิเลสอีก

๑อ่านคำอธิบายโดยละเอียด และภาพประกอบที่สวยงามได้ในหนังสือพุทธฤทธิ์ พิชิตมาร ซึ่งนำบทสวดอานิสงส์สวด

พระพุทธคุณของหลวงพ่อจรัญ มาจัดทำนำเสนอใหม่ บูรณาการใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน โดยสำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง


สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์

33

๑. บทบูชาพระรัตนตรัย ไหว้พระ ªำระกิเลสจ้า

ÍÔÁÔ¹Ò ÊÑ¡¡ÒàùР¾Ø·¸Ñ§ ÍÐÀÔ»ÙªÐÂÒÁÔ. ÍÔÁÔ¹Ò ÊÑ¡¡ÒàùР¸ÑÁÁѧ ÍÐÀÔ»ÙªÐÂÒÁÔ. ÍÔÁÔ¹Ò ÊÑ¡¡ÒàùРÊѧ¦Ñ§ ÍÐÀÔ»ÙªÐÂÒÁÔ.

*บูชา แปลว่า การยกย่อง การนับถือ ทำได้ ๒ วิธี คือ ๑. อามิสบูชา คือ การบูชาด้วยวัตถุสิ่งของ ด้วยการปรนนิบัติรับใช้ ๒. ปฏิบัติบูชา คือ การปฏิบัติตามแบบที่ท่านทำ ตามคำที่ท่านสั่งสอน ในบทสวดนี้มุ่งหมายถึงอามิสบูชา ดังคำแปลของบทสวด ที่มีว่า “ขาพเจาขอบูชาอย่างยิ่ง ซึ่งพระพุทธเจา ดวยเครื่องสักการะนี้ ขาพเจาขอบูชาอย่างยิ่ง ซึง่ พระธรรม ดวยเครื่องสักการะนี้ ขาพเจาขอบูชาอย่างยิ่ง ซึง่ พระสงฆ ดวยเครื่องสักการะนี้”

การบูชาพระรัตนตรัยที่นิยมปฏิบัติ คือ ใช้ ธูป ๓ ดอก เป็นเครื่องบูชาพระพุทธคุณ ๓ ประการ ได้แก่ พระบริสุทธิคุณ พระกรุณาคุณ พระปัญญาคุณ, เทียน ๒ เล่ม เป็นเครื่องบูชาพระธรรมและพระวินัย อันเป็นคำสั่งสอน ของพระพุทธเจ้า, ดอกไม้มาลัย เป็นเครื่องบูชาคุณของพระสงฆ์ อานิสงส์การบูชาพระรัตนตรัยทำให้เป็นคนมีเสน่ห์ แคล้วคลาดปลอดภัย จากภยันตรายทั้งปวง *เสริมคำอธิบาย โดย ไพยนต์ กาสี คณาจารย์สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.