ThaiTech font

Page 1

รายงานสรุปผลขั้นตอนการดำ�เนินงานการออกแบบ ตัวอักษรอย่างสร้างสรรค์ เสนอ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประชิด ทิณบุตร จัดทำ�โดย

นางสาว กฤติกา โสภาเธียร

รหัส 5311322274 กลุม่ เรียน 102 ศิลปกรรม แขนงวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2555 รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชา การออกแบบกราฟิ กสำ�หรับ บรรจุภณ ั ฑ์ (ARTI3314) มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม


คำ�นำ� ชมรมการจัดพิมพ์อเิ ล็กทรอนิกไทยร่วมกับมูลนิธเิ งินทุนงาน แสดงการพิมพ์แห่งประเทศไทย จัดทำ�โครงการ “แข่งขัน-ประชัน-นัก ออกแบบตัวพิมพ์ รุ่นใหม่” ครั้งที่ 2 จึงได้ เชิญชวนนิสติ นักศึกษา ใน สาขาวิชา lettering design และ typography รวมถึงนักออกแบบกราฟิ ก และบุคคลทั่วไปที่สนใจเรื่องการออกแบบตัวพิมพ์ โดยสามารถส่งผลงาน เข้ าประชันได้ ระหว่างวันที่ 15 พ.ค. – 30 มิ.ย. 2555 ดังนั้นดิฉันจึงได้ จัดทำ�รายงานนี้ขึ้นมาเพื่อสรุปผลขั้นตอนการ ดำ�เนินงานการออกแบบตัวอักษรในรูปแบบที่สร้ างสรรค์ข้นมาเอง ึ และได้ รวบรวมทุกขั้นตอนการทำ�งานอย่างเป็ นระบบไว้ ในรายงานเล่มนี้ด้ วย หาก เกิดข้ อผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้ วยค่ะ

กฤติกา โสภาเธียร


ABOUT MY FONT “ThaiTech” ไทยเทค หมายถึง เทคโนโลยีของไทยที่กำ�ลังพัฒนา ก้ าวหน้ าล้ำ�สมัย ความเหลี่ยมของฟอนต์แสดงถึงความทันสมัย โฉบ เฉี่ยว เป็ นลักษณะของมนุษย์ยุคไซเบอร์ท่มี​ี พัฒนาการที่ไวต่อการเรียน รู้สามารถพัฒนาตนเองได้ โดยไม่ต้องพึ่งผู้อ่นื ฟอนต์อนั ล้ำ�สมัยนี้ยังคง ความเป็ นรูปทรงสี่เหลี่ยม เหมือนกับว่าอยู่ในกรอบ นั่นคือ แม้ คนไทย จะพัฒนาก้ าวไกลเพียงใด ก็ยังคงอยู่ในกรอบของวัฒนธรรมอันดีงาม ไม่ลืมความเป็ นไทย ยังคงซึ่งขนบธรรมเนียมประเพณีท่มี​ี มาแต่ช้านาน ส่วนฟอนต์ภาษาอังกฤษนั้น มีลักษณะเป็ นสามมิติ สื่อถึงความเข้ าถึง ทางด้ านเทคโนโลยีของคนไทยที่ไม่แพ้ ชาติใดในโลก


ขั้นตอนการดำ�เนินงานการออกแบบ font 1. เปิ ดโปรแกรม Adobe Illustrator CS3 ขึ้นมา แล้ วกด New เพื่อสร้ างกระดาษใหม่ส�ำ หรับทำ�งาน

2. ตั้งชื่อไฟล์งานของเรา แล้ วจึงตั้งค่าหน้ ากระดาษให้ เป็ น A3 แนวนอน แล้ วกด OK


3. ไปที่ View แล้ วเลือก Show Grid เพื่อสร้ างเส้ นตารางขึ้นมา ทำ�ให้ ง่ายต่อการวัดขนาดตัวอักษร ให้ มขี นาดเท่าๆกันทุกตัว

4. ใช้ selection tool ลากจากมุมด้ านซ้ ายบนของ Ruler(ไม้บรรทัด) มาถึงมุมซ้ ายบนของหน้ า กระดาษ เพื่อทำ�ให้ ตวั วัดของไม้ บรรทัดนั้นตรงกับขนาดกระดาษพอดี


5. สร้ าง layer ใหม่ จากนั้นใช้ Rectangle Tool ในการสร้ างสี่เหลี่ยมขึ้นมา เพื่อกำ�หนดขนาดของตัว อักษร โดยในที่นี้กำ�หนดขนาดด้ วยช่องตาราง ให้ มีความกว้ าง 2.5 ช่องใหญ่และสูง 3 ช่องใหญ่

3

2.5

6. นำ�แบบ sketch เข้ ามาวางไว้ layer ใด layer หนึ่ง จากนั้นใช้ Ellipse Tool สร้ างเส้ นรอบวงล้ อม รอบตัวอักษรที่เราจากคัดลอกจาก sketch ไว้ เพื่อไม่ให้ สบั สนในการคัดลอก จากนั้นจึงใช้ Pen Tool ในการสร้ างตัวอักษร โดยเริ่มจากส่วนล่างก่อน


7. ใช้ Pen Tool ลากตามรูปแบบที่เราต้ องการคัดลอก การลากให้ เป็ นเส้ นตรงนั้นควรกด shift ค้ าง ไปด้ วย โดยความหนาของตัวอักษรในที่นี้ใช้ เส้ นตารางวัดมีขนาด 4 ช่องเล็ก

8. ใช้ Rectangle Tool ในการสร้ างเป็ นขาส่วนสุดท้ ายของ ก โดยให้ มคี วามกว้ าง 4 ช่องเล็กของ ตาราง ในการทำ�ตัวอักษรนี้ ถ้ าไม่อยากให้ แบบ sketch เลื่อนไปมา ควร lock layer ที่มีแบบ sketch ไว้


9. ใช้ direct selection tool(ลูกศรขาว) ในการปรับขาของตัว ก โดยลากขึ้นมาให้ อยู่ในทรงเหลี่ยม เหมือนกับขาของด้ านซ้ าย เป็ นอันเสร็จเรียบร้ อยของตัว ก

10. ทำ�การสร้ าง layer ใหม่ ย้ ายกรอบตัวอักษรมาไว้ ใน layer นี้ จากนั้นใช้ Pen Tool ในการสร้ าง สามเหลี่ยมขึ้นมาเป็ นหัวของตัว ช


11. ใช้ Pen Tool ในการสร้ างแต่ละส่วนของตัว ช เหมือนกับการทำ�ตัว ก เพื่อความรวดเร็ว สามารถ copy บางส่วนที่คล้ ายกันได้ แล้ วนำ�มาต่อหรือดัดแปลงด้ วย direct selection tool สังเกตได้ ว่าตัว ช นั้นจะเล็กกว่าตัวอักษรอื่นๆ จึงมีช่องไฟที่ต่างกับตัวอื่นๆ

12. ทำ�ตามขั้นตอนต่างๆเช่นเดียวกับตัว ก และตัว ช


13. ใช้ Pen Tool และ Rectangle Tool ควบคู่กนั ไปในการสร้ างตัวอักษรอื่นๆ โดยสามารถนำ�รูปร่าง ต่างๆมาต่อกันได้

14. สำ�หรับตัว ด นั้น การสร้ างก็ไม่ยากเลย สามารถ copy ส่วนที่เหมือนกับตัวอื่นมาได้ แล้ วจึงนำ�มา ประกอบให้ เป็ นตัว ด


15. นำ�เทคนิคเช่นเดียวกับที่ใช้ ในการสร้ างอักษรไทยมาใช้ กบั ตัวภาษาอังกฤษ

16. เมื่อได้ ตวั อักษรครบทุกตัวที่ต้ องการแล้ ว จึงนำ�มาย่อ/ขยายจัดเรียงตามแบบ โดยนำ�ภาพตัวอย่าง เข้ ามาเทียบประกอบ สามารถใช้ เส้ น Guide ในการวัดขั้นบรรทัดให้ ตวั อักษรมีขนาดความสูงที่ เท่าๆกันได้


17. เมื่อจัดตัวอักษรทั้งหมดตามแบบแล้ ว จึงใช้ Type Tool พิมพ์ข้อมูลผลงานใส่ลงไป เป็ นอันเสร็จ เรียบร้ อยแล้ วสำ�หรับการออกแบบตัวอักษรเพื่อส่งประกวด ในการ Save สามารถ Save ไฟล์เป็ น Ai และ PDF ด้ วยคำ�สั่ง Save As หากต้ องการ Save เป็ น JPEG ต้ องใช้ ค�ำ สั่ง Export

ผลงานที่เสร็จแล้ วออกมาเป็ นเช่นนี้




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.