กระบวนการสนับสนุน

Page 1


คำ�นำ� คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน ฉบับนี้ กรมการพัฒนาชุมชนได้ ดำ�เนินการทบทวนและปรับปรุงให้สอดคล้องกับพันธกิจ วิสยั ทัศน์ และยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ปี ๒๕๕๕-๒๕๕๙ ตามหลักเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) หมวด ๖ การจัดการกระบวนการ เนื้อหาภายในเล่มประกอบด้วยกระบวนการสนับสนุน จำ�นวน ๑๐ กระบวนการ ตามประกาศกรมการพัฒนาชุมชน เรือ่ ง การกำ�หนดกระบวนการทีส่ ร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมการพัฒนาชุมชน ลงวันที่ ๑๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๕ ดังนี้ ๑. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ ๒. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล ๓. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการจัดการองค์ความรู้ ๔. คูม่ อื การปฏิบตั งิ านกระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร และระบบข้อมูลสารสนเทศ ๕. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการกำ�กับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการ ๖. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ๗. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการบริหารงบประมาณ ๘. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการพัฒนาระบบราชการ ๙. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการประชาสัมพันธ์ ๑๐. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการพัฒนาอาคารสถานที่ คณะทำ�งานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐรายหมวด ประจำ�ปี ๒๕๕๕ และ คณะทำ�งานจัดทำ�คูม่ อื มาตรฐานการปฏิบตั งิ านกระบวนการทีส่ ร้างคุณค่า กระบวนการสนับสนุน และจัดทำ�แผนสำ�รองฉุกเฉิน ประจำ�ปี ๒๕๕๕ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน กระบวนการที่สร้างคุณค่า จะเป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานสำ�หรับผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้งบุคคลทั่วไปที่สนใจ และเนื่องจากคู่มือฉบับนี้ได้จัดทำ�เป็นแบบรวมเล่มกระบวนการที่ สร้างคุณค่าขึ้นเป็นครั้งแรก เพื่อให้สะดวกต่อการใช้อ้างอิงสำ�หรับการปฏิบัติงาน คณะทำ�งานฯ ต้องขออภัยในความบกพร่องต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น และขอขอบคุณผู้ที่ให้ความอนุเคราะห์ให้ คำ�ปรึกษาหารือ ข้อเสนอแนะต่างๆ รวมทั้งผู้ที่สนับสนุนในการจัดทำ�คู่มือจนเสร็จเรียบร้อยมา ณ โอกาสนี้ คณะทำ�งาน PMQA หมวด ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๕


สารบัญ คำ�นำ� สารบัญ ๑. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ ๒. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล ๓. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการจัดการองค์ความรู้ ๔. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และระบบข้อมูลสารสนเทศ ๕. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการกำ�กับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการ ๖. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ๗. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการบริหารงบประมาณ ๘. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการพัฒนาระบบราชการ ๙. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการประชาสัมพันธ์ ๑๐. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการพัฒนาอาคารสถานที่

หน้า ๑ ๔๕ ๗๓ ๙๗ ๑๕๑ ๑๙๓ ๒๒๑ ๒๗๑ ๓๑๙ ๓๗๑


คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการ วางแผนยุทธศาสตร์


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

บทสรุปสำ�หรับผู้บริหาร

2

คู่มือการปฏิบัติงานการวางแผนยุทธศาสตร์ ฉบับปรับปรุงเล่มนี้ เป็นคู่มือปฏิบัติงาน ในกระบวนการสนับสนุน โดยได้แสดงขั้นตอน วิธีการ กรอบแนวคิด ระยะเวลา และมาตรฐาน คุณภาพงาน ของกระบวนการทั้งหมดในการดำ�เนินงาน ซึ่งการวางแผนยุทธศาสตร์เป็นงานที่ มีความสำ�คัญในองค์การทุกด้าน บุคคลสำ�คัญในกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย คณะกรรมการบริหารยุทธศาสตร์ คณะทำ�งานพัฒนาระบบบริหารยุทธศาสตร์ กองแผนงาน และหน่วยงานที่นำ�แผนยุทธศาสตร์ไปขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ หรือการควบคุมยุทธศาสตร์ ซึ่ ง กระบวนการวางแผนยุ ท ธศาสตร์ นี้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของระบบการบริ ห ารยุ ท ธศาสตร์ ที่ มี ๓ กระบวนการ ได้แก่ การวางแผนยุทธศาสตร์ การขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ และการควบคุมยุทธศาสตร์ เพราะความสำ�คัญและมีรายละเอียดที่ครอบคลุมระบบการบริหารยุทธศาสตร์ทั้งระบบดังกล่าว จึงต้องแยกกระบวนการบริหารยุทธศาสตร์แต่ละส่วนออกจากกันเพื่อให้เกิดความเข้าใจง่ายใน การศึกษาเรียนรู้ กระบวนการย่อยของการวางแผนยุทธศาสตร์ในเอกสารเล่มนี้ ประกอบด้วย ๗ กระบวนการดังต่อไปนี้ ๑. การวิเคราะห์ศักยภาพขององค์กร ๒. การกำ�หนดทิศทางและยุทธศาสตร์องค์กร ๓. การจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์ ๔. การจัดทำ�แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ๕. การจัดทำ�แผนปฏิบัติราชการประจำ�ปี ๖. กระบวนการย่อยการจัดทำ�คำ�รับรองการปฏิบตั ริ าชการภายในระดับหน่วยงาน (IPA) ๗. การทบทวนยุทธศาสตร์ นอกจากนี้ การวางแผนยุทธศาสตร์ยังประกอบด้วยขั้นตอนของกระบวนการบริหาร งบประมาณ และขั้นตอนของกระบวนการกำ�กับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการ ซึ่ง มีรายละเอียดจำ�นวนมากจึงได้แยกออกไปจัดทำ�เป็นคู่มือการปฏิบัติงานแต่ละกระบวนการเพิ่ม เติมอีก ๒ เล่ม สำ�หรับกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ของกรมการพัฒนาชุมชน ได้เน้นเกี่ยวกับ กระบวนการกำ �หนดแผนยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด แผนปฏิบัติราชการ การจัดทำ�คำ�รับรองการปฏิบัติราชการภายในระดับหน่วยงาน (IPA) และ การทบทวนแผนให้มคี วามสอดคล้องกับสถานการณ์ปจั จุบนั ให้เกิดความชัดเจนในการนำ�ไปประยุกต์ ใช้ในการปฏิบตั งิ านและควบคุมการดำ�เนินงานตามการวางแผนให้เป็นรูปธรรม การดำ�เนินงานมี ผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของพัฒนากร และหน่วยงานในส่วนภูมิภาคในการรับรู้ เข้าใจ และ ประยุกต์ใช้ในการปฏิบตั งิ าน จึงได้จดั ทำ�คูม่ อื นีข้ นึ้ โดยแสดงให้เห็นจุดเริม่ ต้นและจุดสิน้ สุดของงาน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานได้ใช้อ้างอิง ไม่ให้เกิดความผิดพลาดในการทำ�งาน และสร้างความเข้าใจ ก่อให้เกิดความพึงพอใจของผู้ปฏิบัตินำ�ไปสู่การบรรลุเป้าหมายขององค์กรร่วมกัน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๑

การวางแผนยุทธศาสตร์

3


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๑

การวางแผนยุทธศาสตร์ ความเป็นมาและความสำ�คัญในการจัดทำ�คู่มือ

4

กรมการพัฒนาชุมชนได้ออกแบบระบบการบริหารยุทธศาสตร์ ออกเป็น ๓ ขั้นตอน ได้แก่ การวางแผนยุทธศาสตร์ (Strategic Formulation) การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ (Strategic Execution) และการควบคุมยุทธศาสตร์ (Strategic Control) ในกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ ของกรมการพัฒนาชุมชน มีผลผลิตสำ�คัญประกอบด้วย แผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕–๒๕๕๙ เป็นเครื่องมือในการกำ�หนดทิศทางการทำ�งานและการขับเคลื่อนแผนไปสู่ การปฏิบัติ โดยจัดทำ�แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘) แผนปฏิบัติราชการประจำ�ปี คำ�รับรองการปฏิบัติราชการประจำ�ปี (PA) การจัดทำ�คำ�รับรองการปฏิบัติราชการภายใน (IPA) และการติดตามและการประเมินผล ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ ลงวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๕๒ ให้กรมการพัฒนาชุมชนมีภารกิจเกีย่ วกับ การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ การมีส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากให้มีความมั่นคงและ เสถียรภาพ โดยสนับสนุนให้มีการจัดทำ�และใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย จัดทำ�ยุทธศาสตร์ชุมชน ตลอดจนการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวกับการพัฒนาชุมชน ให้เป็นชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน ซึ่งภารกิจของกรมการพัฒนาชุมชนดังกล่าวนั้น ทำ�ให้แผน ยุทธศาสตร์ของกรมการพัฒนาชุมชนบางส่วนไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ปจั จุบนั จึงได้ด�ำ เนินการ ทบทวนแผนยุทธศาสตร์ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน พร้อมกับจัดทำ�แผนปฏิบัติราชการ ประจำ�ปี ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม การวางแผนยุ ท ธศาสตร์ เป็ น ระบบหนึ่ ง ของระบบการบริ ห ารยุ ท ธศาสตร์ ข อง กรมการพัฒนาชุมชน ซึง่ เป็นกระบวนการตัดสินใจภายใต้สภาพแวดล้อมทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร เพื่อกำ�หนดทิศทางอนาคตองค์กร เป้าหมายองค์กร กำ�หนดแนวทางในการบรรลุสภาพการณ์ที่ กำ�หนดบนพืน้ ฐาน ข้อมูลทีม่ อี ยูร่ อบด้านอย่างเป็นระบบ กระบวนการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ทดี่ ี ควรครอบคลุมขั้นตอน การวิเคราะห์ทางยุทธศาสตร์ การกำ�หนดทิศทางขององค์กร การกำ�หนด


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ยุทธศาสตร์ และการนำ�ยุทธศาสตร์ไปสูก่ ารปฏิบตั ิ (สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำ�นักงาน ก.พ.ร.). ๒๕๕๒ : ๑๐๘) โดยการวิเคราะห์ทางยุทธศาสตร์ เป็นการวิเคราะห์ปัจจัย ภายใน ปัจจัยภายนอกที่สำ�คัญ และสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป นำ�มากำ�หนด วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ตามความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การกำ�หนด ทิศทางขององค์กร เป็นการกำ�หนดเป้าหมายองค์กร ทิศทางขององค์กรที่ต้องการไปสู่เป้าหมายนั้น การกำ�หนดยุทธศาสตร์ เป็นการกำ�หนดประเด็นยุทธศาสตร์หรือยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน ที่สามารถทำ�ให้เป้าหมายขององค์กรบรรลุได้ โดยมีการกำ�หนดกลยุทธ์ โครงการ กิจกรรมภายใต้ แต่ละประเด็นยุทธศาสตร์หรือยุทธศาสตร์ การนำ�ยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ เป็นการกำ�หนด แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี แผนปฏิบัติราชการประจำ�ปี แนวทางการดำ�เนินงานตามยุทธศาสตร์ การสื่อสารยุทธศาสตร์ การถ่ายทอดเป้าหมายองค์กรสู่ระดับบุคคล กรมการพัฒนาชุมชนจึงได้วิเคราะห์ความเชื่อมโยงภาริกจตามกฎกระทรวงแบ่ง ส่วนราชการกับกระบวนการสร้างคุณค่าเพือ่ ขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน และได้จดั ทำ� คู่มือกระบวนการสนับสนุนเป็นคู่มือการปฏิบัติงาน เพื่อกำ�หนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน ซึ่งเป็น ส่วนหนึ่งของการนำ�กระบวนการไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้บรรลุตามข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ โดยแสดง ให้เห็นจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของงาน ผู้ปฏิบัติงานได้ใช้อ้างอิง ไม่ให้เกิดความผิดพลาดในการ ทำ�งาน และสร้างความเข้าใจ ความพึงพอใจ ของบุคลากร ซึง่ คูม่ อื การปฏิบตั งิ านการวางแผนยุทธศาสตร์ เล่มนี้ ประกอบด้วย แผนผังกระบวนการ และมาตรฐานคุณภาพงาน ซึ่งเป็นข้อกำ�หนดในการ ปฏิบัติงานทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ

วัตถุประสงค์ การจัดทำ�คู่มือการปฏิบัติงานการวางแผนยุทธศาสตร์ ฉบับปรับปรุง เล่มนี้ จัดทำ�ขึ้น ตามกระบวนการสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑. เพื่อเป็นเครื่องมือสร้างความรู้ความเข้าใจให้บุคลากรของกรมการพัฒนาชุมชน ที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำ�และวางแผนยุทธศาสตร์ การควบคุมยุทธศาสตร์ และสามารถนำ� ยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ที่ชัดเจน ๒. เพือ่ ใช้เป็นหลักฐานในการดำ�เนินงานทีเ่ กีย่ วกับกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ให้ มีความเป็นระบบและมีมาตรฐานเดียวกันทั้งองค์กร

5


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ขอบเขตของคู่มือ

6

คู่มือการปฏิบัติงานวางแผนยุทธศาสตร์ ฉบับปรับปรุงเล่มนี้ มีรายละเอียดเนื้อหา ครอบคลุมถึงการวิเคราะห์ศักยภาพองค์กร ให้ทราบกระบวนงานการวิเคราะห์ศักยภาพของ องค์กรในด้านจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคขององค์กร การกำ�หนดทิศทางและยุทธศาสตร์ องค์กร ทำ�ให้องค์กรสามารถกำ�หนด วิสยั ทัศน์ เป้าหมาย พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และ โครงการ ให้มคี วามสอดคล้องกับความต้องการของผูร้ บั บริการและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย การจัดทำ�แผน ปฏิบตั ริ าชการ ๔ ปี เพือ่ ให้แผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชนมีความเป็นรูปธรรมวัดผลได้อย่าง เป็นขัน้ ตอน การสือ่ สารยุทธศาสตร์เพือ่ ให้บคุ ลากรของกรมการพัฒนาชุมชน ผูร้ บั บริการ และผูม้ ี ส่วนได้สว่ นเสีย เข้าใจทิศทางการทำ�งานของกรมการพัฒนาชุมชนทีช่ ดั เจน การจัดทำ�แผนปฏิบตั ิ ราชการประจำ�ปี เพื่อนำ�โครงการกิจกรรมที่อยู่ในแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี มากำ�หนดช่วงระยะ เวลาของการปฏิบัติงานในปีงบประมาณหนึ่งๆ ให้สามารถนำ�ไปปฏิบัติได้ชัดเจนและควบคุมการ ดำ�เนินงานโครงการกิจกรรมได้ การจัดทำ�แผนบริหารความเสี่ยง เพื่อวิเคราะห์ระดับความเสี่ยง ของโครงการกิจกรรมทีอ่ าจเกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำ�เนินงานทำ�ให้สามารถควบคุมความ เสีย่ งให้หมดไปหรือลดลงอยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ การถ่ายทอดเป้าหมายเพือ่ กระจายภารกิจหน้าที่ และการดำ�เนินงานสูร่ ะดับหน่วยงานและระดับบุคคลให้บคุ ลากรทุกคนได้มบี ทบาทหน้าทีใ่ นการ ดำ�เนินงานขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชนให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน การถ่ายทอดตัว ชี้วัดและค่าเป้าหมายขององค์กรสู่ระดับบุคคล เพื่อให้เป้าหมายขององค์กรสามารถขับเคลื่อน ไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม และการทบทวนยุทธศาสตร์เพื่อให้ให้กรมการพัฒนาชุมชน มีแผนยุทธศาสตร์ที่มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ตอบสนองความต้องการของผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างแท้จริง สำ�หรับในส่วนของกระบวนการบริหารงบประมาณ สามารถศึกษาได้จากคูม่ อื การปฏิบตั งิ านการบริหารงบประมาณ และกระบวนการตรวจสอบและ ติดตามประเมินผล สามารถศึกษาได้จากคูม่ อื การปฏิบตั งิ านการตรวจสอบและติดตามประเมินผล ที่ได้จัดทำ�ขึ้นพร้อมกันนี้

กรอบแนวคิด กระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ กองแผนงานได้ศกึ ษาและรวบรวมกระบวนการปฏิบตั งิ าน ของกลุ่มงานนโยบายและยุทธศาสตร์ กลุ่มงานวิเคราะห์งบประมาณ กลุ่มงานวิเทศสัมพันธ์ กลุ่มงานประเมินผล ที่สอดคล้องกับการวางแผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน จึงกำ�หนด เป็นกรอบแนวคิด ดังภาพประกอบ ๑


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

7

ภาพประกอบ ๑ กรอบแนวคิดในการจัดทำ�คู่มือปฏิบัติงานการวางแผนยุทธศาสตร์


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ ชื่อ กระบวนงาน ๑. กระบวนงาน การวิเคราะห์ศักยภาพ องค์กร ๒. กระบวนงาน การกำ�หนดทิศทางและ ยุทธศาสตร์องค์กร ๓. กระบวนงาน การกำ�หนดแผน ยุทธศาสตร์ ๔. กระบวนงาน การจัดทำ�แผน 8 ปฏิบัติราชการ ๔ ปี

ที่สำ�คัญ ข้อกำ�หนด มีข้อสรุปการวิเคราะห์ SWOT ขององค์กร

ตัวชี้วัดของ ข้อกำ�หนด นำ�ข้อสรุปการวิเคราะห์ SWOT ขององค์กร ไปใช้กำ�หนดทิศทางและ ยุทธศาสตร์องค์กร มีวิสัยทัศน์และประเด็น มีวิสัยทัศน์และประเด็น ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์สามารถนำ� ไปกำ�หนดกลยุทธ์การขับ เคลื่อนยุทธศาสตร์ได้ มี Template ของแผนที่มี ผู้ปฏิบัติงานสามารถนำ� กระบวนงานและแผนงาน แผนไปสู่การปฏิบัติได้ อย่างเป็นรูปธรรม โครงการที่ชัดเจน มีแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี มีแผนงาน/โครงการ/ กิจกรรมที่เป็นภาพรวม และแยกเป็นรายปี

๕. กระบวนงาน การจัดทำ�แผน ปฏิบัติ ราชการประจำ�ปี

มีแผนปฏิบัติราชการ ประจำ�ปี

๖. กระบวนการ บริหาร งบประมาณ

เป็นไปตามคู่มือการ ปฏิบัติงานการ บริหารงบ ประมาณ เป็นไปตามคู่มือการปฏิบัติ งานการ กำ�กับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ ตัวชี้วัและค่าเป้าหมายของ องค์กรถึงระดับบุคคล

๗. กระบวนการ กำ�กับ ติดตาม และประเมินผล การปฏิบัติราชการ ๘. กระบวนงานการจัด ทำ�คำ�รับรองการปฏิบัติ ราชการภายในระดับ หน่วยงาน (IPA) ๙. กระบวนงาน การทบทวนยุทธศาสตร์

มีผลการทบทวน ยุทธศาสตร์ให้สอดคล้อง กับภารกิจขององค์กรและ ความต้องการของผู้รับ บริการ

แผนปฏิบัติราชการประจำ� ปีมีกำ�หนดการของช่วง เวลาดำ�เนินการและงบ ประมาณ เป็นไปตามคู่มือการ ปฏิบัติงานการ บริหารงบ ประมาณ เป็นไปตามคู่มือการปฏิบัติ งานการกำ�กับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ บุคลากรสามารถขับ เคลื่อนค่าเป้าหมายและ ตัวชี้วัดองค์กรได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ผลการทบทวนยุทธศาสตร์ สามารถนำ�ไปกำ�หนดแผน งานโครงการตามแผน ยุทธศาสตร์

ตัวชี้วัดของ กระบวนงาน บุคลากรทุกระดับ เข้ามามีส่วนร่วม ทิศทางและยุทธศาสตร์ ครอบคลุมบทบาทภารกิจ กรมฯ นโยบาย และกรอบ การประเมิน ๔ มิติ แผนยุทธศาสตร์ทำ�ให้ ประเด็นยุทธศาสตร์บรรลุ เป้าหมาย หน่วยงานที่จัดทำ�แผน ปฏิบตั กิ ารสามารถนำ�ไปใช้ เป็นคู่มือวางแผนงานของ องค์กรได้เป็นรูปธรรม ผู้ปฏิบัติการสามารถนำ�ไป ใช้เป็นคู่มือในการทำ�งาน ให้บรรลุ เป้าหมาย เป็นไปตามคู่มือการ ปฏิบัติงานการบริหารงบ ประมาณ เป็นไปตามคู่มือการปฏิบัติ งานการกำ�กับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ เป็นแนวทางในการริเริ่ม โครงการสร้างสรรค์เพื่อให้ บรรลุค่าเป้าและตัวชี้วัด ขององค์การ นำ�ไปเป็นแนวทางในการ จัดทำ�แผนยุทธศาสตร์ครั้ง ต่อไป


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

คำ�จำ�กัดความ คำ�หรือประโยคที่ใช้ในคู่มือเล่มนี้เป็นการกล่าวถึงส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกรมการ พัฒนาชุมชน ซึ่งมีคำ�หรือประโยคที่จำ�กัดความไว้ ดังนี้ กิจกรรม หมายถึง กระบวนการนำ�ส่งผลผลิต กิจกรรมสนับสนุน หมายถึง กิจกรรมอำ�นวยการในองค์การ ให้สามารถขับเคลื่อน กิจกรรมหลักไปสู่ผู้รับบริการได้ กิจกรรมหลัก หมายถึง กิจกรรมทีส่ มั พันธ์กบั กลยุทธ์อย่างเป็นขัน้ ตอนการดำ�เนินทีส่ �ำ คัญ และจำ�เป็นที่จะดำ�เนินการให้เกิดกิจกรรม โดยสามารถวัดความก้าวหน้าในการดำ�เนินงานได้ ตัวชี้วัดผลผลิต หมายถึง ตัวบ่งชี้ความสำ�เร็จของการดำ�เนินงานให้บรรลุเป้าหมายใน ระดับผลผลิตใน ๔ มิติ ได้แก่ ๑. ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ เป็นการแสดงเป้าหมายผลผลิตที่ต้องการให้เกิดขึ้นในเชิง ปริมาณตามที่กำ�หนดไว้ก่อนดำ�เนินการกิจกรรม โดยมีการวัดผลเป็นช่วง ๒. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ เป็นการแสดงเป้าหมายผลผลิตที่ต้องการให้เกิดขึ้นในเชิง คุณภาพตามที่กำ�หนดไว้ก่อนดำ�เนินการกิจกรรม โดยมีการวัดผลเป็นภาพรวม ๓. ตัวชี้วัดเชิงเวลา เป็นการแสดงสภาพความสำ�เร็จของผลผลิตที่เกิดขึ้นภายใน ระยะเวลาตามทีก่ �ำ หนดไว้กอ่ นดำ�เนินการกิจกรรม โดยอาจมีการวัดผลเป็นช่วงหรือภาพรวมก็ได้ ๔. ตัวชีว้ ดั เชิงค่าใช้จา่ ย เป็นการแสดงสภาพความสำ�เร็จของผลผลิตทีเ่ กิดขึน้ ภายใน โดยพิจารณาค่าใช้จา่ ยต่อผลผลิต ค่าใช้จา่ ยต่อหน่วยการผลิต ค่าใช้จา่ ยต่อกิจกรรม ตามทีก่ �ำ หนด ไว้ก่อนดำ�เนินการกิจกรรม โดยมีการวัดผลเป็นภาพรวม ปฏิทินการพัฒนาชุมชน หมายถึง แผนการทำ�งานตามโครงการกิจกรรมที่กำ�หนด ไว้ในแผนปฏิบัติราชการประจำ�ปี แผนการรายงานผลการดำ�เนินงานตามโครงการกิจกรรมใน แต่ละเดือนตลอดปี และการปฏิบัติงานของบุคลากรรายบุคคลเพื่อขับเคลื่อนโครงการกิจกรรม การพัฒนาชุมชน ผลกระทบ หมายถึง ผลทีเ่ กิดขึน้ หลังจากการดำ�เนินการโครงการกิจกรรมเสร็จสิน้ แล้ว ทำ�ให้ผู้รับบริการเกิดการเปลี่ยนไป ผลผลิต หมายถึง ผลการดำ�เนินงานตามกิจกรรมที่เกิดขึ้น จากการบริหารของ กรมการพัฒนาชุมชนไปสู่ผู้รับบริการโดยมีตัวชี้วัดผลผลิตเป็นเป้าหมาย

9


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

คำ�อธิบายสัญลักษณ์ที่ใช้ การเขียนแผนผังของกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ ฉบับปรับปรุงฉบับนี้ ผู้จัดทำ� ได้กำ�หนดให้มีสัญลักษณ์ที่ใช้มีคำ�อธิบายสัญลักษณ์ที่ใช้ ดังต่อไปนี้

10


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

หน้าที่ความรับผิดชอบ

คู่มือปฏิบัติงานการวางแผนยุทธศาสตร์ ฉบับปรับปรุงเล่มนี้ มีการใช้คำ�ย่อดังต่อไปนี้ ชื่อย่อ อพช. รอง อพช. สำ�นัก สถาบัน ศูนย์ กอง สพจ. สพอ. พจ. พอ. พก.

ชื่อเต็ม อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน หน่วยงานในสังกัดส่วนกลางของกรมการพัฒนาชุมชน ทุกหน่วยงาน สำ�นังานพัฒนาชุมชนจังหวัด สำ�นักงานพัฒนาชุมชนอำ�เภอ พัฒนาการจังหวัด พัฒนาการอำ�เภอ พัฒนากร หรือ นักวิชาการพัฒนาชุมชน

กระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ มีหน่วยงานและผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องทีเ่ ป็นหน่วยรับผิดชอบ การวางแผนการพัฒนา จัดทำ�แนวทางการดำ�เนินงาน การดำ�เนินงาน การติดตามประเมินผลและ รายงานผล โดยมีหน่วยรับผิดชอบสำ�คัญ ดังนี้ หน่วยงานรับผิดชอบ ความรับผิดชอบ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ๑. อนุมัติแผนงานโครงการกิจกรรม และประเด็นการเห็น ชอบจากคณะกรรมการบริหารยุทธศาสตร์และคณะทำ�งาน บริหารยุทธศาสตร์ ๒. แต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำ�งานตามที่เห็น สมควร ๓. มอบแนวทางการดำ�เนินงาน แนวนโยบายการปฏิบัติ ราชการ ๔. ประกาศใช้ผลการเห็นชอบตามมติคณะกรรมการ บริหารยุทธศาสตร์

11


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

12

หน่วยงานรับผิดชอบ ความรับผิดชอบ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ๑. สื่อสารสร้างความเข้าใจแก่บุคลากร ๒. ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการขับเคลื่อนกิจกรรมตาม แผนยุทธศาสตร์ ๓. เป็นหัวหน้าคณะทำ�งานในการขับเคลื่อนแผน ยุทธศาสตร์ ๔. ปฏิบัติหน้าที่บริหารยุทธศาสตร์ตามที่อธิบดีมอบหมาย ๑. กำ�หนดนโยบาย กรอบแนวทาง และทิศทางการ คณะกรรมการบริหาร ยุทธศาสตร์ ดำ�เนินงาน ๒. ส่งเสริมสนับสนุนและให้คำ�ปรึกษาแนะนำ�ในเรื่อง ต่างๆ ให้แก่คณะทำ�งาน ๓. กำ�กับ ดูแลติดตาม เร่งรัดให้การดำ�เนินกิจกรรม ตามยุทธศาสตร์ การจัดทำ�คำ�รับรอง การบริหารความเสี่ยง การบริหารงบประมาณ ๔. พิจารณาให้การเห็นชอบการแต่งตั้งคณะกรรมการฯ คณะทำ�งานเพื่อช่วยเหลือการดำ�เนินงานตามที่เห็นสมควร คณะทำ�งานพัฒนาระบบ ๑. พัฒนารูปแบบและองค์ความรู้ในการบริหาร บริหารยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ทั่วทั้งองค์กร ๒. กำ�หนดแผนกลยุทธ์ เป้าหมายการทำ�งาน แนวทาง นำ�แผนไปสู่การปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม ๓. พัฒนาและบริหารระบบวัดผลการดำ�เนินงานอย่าง สมดุลทั้งระดับองค์การและระดับบุคคล ๔. พิจารณากลั่นกรอง แผนงาน/โครงการ ตัวชี้วัดค่า เป้าหมาย แผนปฏิบัติการแผนการใช้จ่ายงบประมาณรวมถึง การจัดทำ�คำ�ของบประมาณ ๕. ติดตามประเมินและรายงานผลการดำ�เนินงานต่อ คณะกรรมการบริหารยุทธศาสตร์ทราบ ๖. แต่งตั้งคณะทำ�งานเพื่อช่วยเหลือการดำ�เนินงาน ตามที่เห็นสมควร


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

หน่วยงานรับผิดชอบ สำ�นัก สถาบัน ศูนย์ กอง พัฒนาการจังหวัด/ พัฒนาการอำ�เภอ

นักวิชาการ/ พัฒนากร

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ผู้รับบริการ

ความรับผิดชอบ ดำ�เนินการตามที่คณะกรรมการบริหารยุทธศาสตร์หรือ คณะทำ�งานพัฒนาระบบบริหารยุทธศาสตร์มอบหมายให้ ดำ�เนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง ๑. รายงานผลการดำ�เนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ๒. เสนอปัญหาอุปสรรคในการดำ�เนินงาน ๓. เสนอข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ในการบริหาร ยุทธศาสตร์ ๔. สื่อสารยุทธศาสตร์ของกรมการพัฒนาชุมชนไปสู่ บุคลากรในสังกัดให้เข้าใจกันอย่างทั่วถึง ๑. รายงานผลการดำ�เนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ๒. เสนอปัญหาอุปสรรคในการดำ�เนินงาน ๓. เข้าร่วมกิจกรรมที่ผู้บริหารได้มอบหมาย ๑. เสนอปัญหาและความต้องการที่หน่วยงานต้องการ ให้กรมการพัฒนาชุมชนมีส่วนดำ�เนินการ ๒. ร่วมขับเคลื่อนกิจกรรมตามยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ในส่วนที่เกี่ยวข้องตามความเหมาะสม ๑. เสนอปัญหาและความต้องการที่ผู้รับบริการต้องการ จากกรมการพัฒนาชุมชนดำ�เนินการ และความคาดหวังให้ เกิดผลสำ�เร็จ ๒. ร่วมติดตามสนับสนุนการปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมาย ตามแผน

13


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๒

14

ผังของกระบวนการ วางแผนยุทธศาสตร์


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

กระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์

15


16

๑ กระบวนการย่อยการวิเคราะห์ศักยภาพขององค์กร

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


๒ กระบวนการย่อยการกำ�หนดทิศทางและยุทธศาสตร์องค์กร

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

17


18

๓ กระบวนการย่อยการจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


๔ กระบวนการย่อยการจัดทำ�แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

19


20 ๕ กระบวนการย่อยการจัดทำ�แผนปฏิบัติราชการประจำ�ปี

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


๖ กระบวนการย่อยการจัดทำ�คำ�รับรองการปฏิบัติราชการภายในระดับหน่วยงาน (IPA)

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

21


22

๖ กระบวนการย่อยการทบทวนยุทธศาสตร์

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๓

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน มาตรฐานคุณภาพงาน และการติดตามการประเมินผล

23


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

24


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

25


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

26


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

27


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

28


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

29


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

30


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

31


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

32


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

33


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

34


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

35


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

36


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

37


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

38


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

39


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

40


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

เอกสารบันทึก เอกสารบันทึกประกอบคู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์

41


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

เอกสารอ้างอิง

42

กรมการพัฒนาชุมชน. กลยุทธ์การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๓– ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ : กองแผนงาน กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๓. กรมการพัฒนาชุมชน. แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๕–๒๕๕๘). กรุงเทพฯ : บริษัท วงศ์สว่าง พับลิชซิ่ง แอนด์ พริ๊นติ้ง จำ�กัด. ๒๕๕๕. กรมการพัฒนาชุมชน. แผนปฏิบัติราชการประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ กรมการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ : บริษัท บีทีเอส เพรส จำ�กัด. ๒๕๕๒. กรมการพัฒนาชุมชน. แผนปฏิบัติราชการประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ กรมการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ : บริษัท กรทอง การพิมพ์ จำ�กัด. ๒๕๕๓. กรมการพัฒนาชุมชน. แผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙. กรุงเทพฯ : กองแผนงาน กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๔. กองแผนงาน กรมการพัฒนาชุมชน. เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการบริหาร ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชนและคณะทำ�งานพัฒนาระบบบริหารยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน. เอกสารอัดสำ�เนาประกอบการประชุมคณะกรรมการบริหาร ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชนและคณะทำ�งานพัฒนาระบบบริหารยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน ครั้งที่ ๑ - ๓ ณ ห้องประชุมใหญ่ กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๓. กองแผนงาน กรมการพัฒนาชุมชน. เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำ�แผน ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙. เอกสารอัดสำ�เนาประกอบ การประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๘ - ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ณ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ กรุงเทพฯ. ๒๕๕๓. กองแผนงาน กรมการพัฒนาชุมชน. เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการยกร่างแผน ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๘. เอกสารอัดสำ�เนาประกอบ การประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารยกร่างแผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๒๘ - ๓๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ณ สยามบีช รีสอร์ท จังหวัดตราด. ๒๕๕๓. กองแผนงาน กรมการพัฒนาชุมชน. แนวทางการดำ�เนินงานคำ�รับรองการปฏิบตั ริ าชการภายใน ระดับหน่วยงาน (IPA) กรมการพัฒนาชุมชน ประจำ�ปี ๒๕๕๔. กองแผนงาน กรมการ พัฒนาชุมชน. สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำ�นักงาน ก.พ.ร.). คู่มือคำ�อธิบายตัวชี้วัดการ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ สำ�หรับ ส่วนราชการระดับกรม. กรุงเทพฯ : สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำ�นักงาน ก.พ.ร.). ๒๕๕๒.


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ภาคผนวก 43


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

44


คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการ บริหารทรัพยากรบุคคล


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

46


๔. กระบวนการจัดทำ�ทะเบียนประวัติ > ๔.๒ กระบวนการย่อยการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรบุคคล

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

47


48

๔. กระบวนการจัดทำ�ทะเบียนประวัติ > ๔.๒ กระบวนการย่อยการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรบุคคล (ต่อ)

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


๕. กระบวนการรักษาบุคคลากรไว้ในองค์การ > ๕.๓ กระบวนการเสริมสร้างความผาสุกของบุคลากร

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

49


50

๕. กระบวนการรักษาบุคคลากรไว้ในองค์การ > 5.3 กระบวนการเสริมสร้างความผาสุกของบุคลากร (ต่อ)

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


๕. กระบวนการรักษาบุคคลากรไว้ในองค์การ > ๕.๔ กระบวนการย่อยการจัดสวัสดิการ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

51


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๓

52

ขั้นตอนการปฏิบัติ มาตรฐานคุณภาพงาน และการติดตามประเมินผล


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

กระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล ประกอบด้วยกระบวนการต่างๆ ดังนี้

53


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

54


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

55


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

56


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

57


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

58


กระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล กระบวนการที่ ๑ กระบวนการวางระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ ระบบบริหารทรัพยากรบุคคลสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ขององค์กรและแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล

ตารางการออกแบบกระบวนการโดยคำ�นึงถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้อง

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

59


60

กระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล กระบวนการที่ ๒ กระบวนการพัฒนาระบบสรรหา เลือกสรร ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ ๑. พัฒนาระบบสรรหาตามหนังสือเวียน กฎ ระเบียบ ก.พ. หลักเกณฑ์การสรรหา คัดเลือก ๒. ความพึงพอใจของบุคลากร

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


กระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล กระบวนการที่ ๓ กระบวนการบรรจุ แต่งตั้ง ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ ๑. ดำ�เนินการตามหนังสือเวียน กฎ ระเบียบ ก.พ. และหลักเกณฑ์การบรรจุ แจ่งตั้ง ๒. ความพึงพอใจของบุคลากร

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

61


62

กระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล กระบวนการที่ ๔ กระบวนการจัดทำ�ทะเบียนประวัติ ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ การจัดทำ�ทะเบียนประวัติและฐานข้อมูลบุคลากร สามารถสนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคลได้อย่างถูกต้อง

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


กระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล กระบวนการที่ ๕ กระบวนการรักษาบุคลากรไว้ในองค์การ ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ ๑. ดำ�เนินการบริหารทรัพยากรบุคคลตามหนังสือเวียน กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ ก.พ. ๒. มีการจัดทำ�เส้นทางความก้าวหน้าในอาชีพที่ชัดเจนและประกาศให้ทราบทั่วกัน ๓. ความผาสุกของบุคลากร

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

63


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

64


กระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล กระบวนการที่ ๖ กระบวนการออกจากราชการ ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ ดำ�เนินการตามหนังสือเวียน กฎ ระเบียบ ก.พ. เกี่ยวกับการให้ออก ปลดออก ไล่ออก

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

65


กระบวนการที่ ๑ ตัวชี้วัดกระบวนการ

66

กระบวนการวางระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเป็นระบบที่มีประสิทธิภาพ

กระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล

ตารางวิเคราะห์ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ (กระบวนการสนับสนุน)

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


กระบวนการที่ ๒ ตัวชี้วัดกระบวนการ

กระบวนการพัฒนาระบบการสรรหาและเลือกสรร การสรรหาและเลือกสรรสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

67


กระบวนการบรรจุแต่งตั้ง การบรรจุแต่งตั้งสอดคล้องกับแผนการสรรหาบุคลากร

68

กระบวนการที่ ๓ ตัวชี้วัดกระบวนการ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


กระบวนการที่ ๔ ตัวชี้วัดกระบวนการ

กระบวนการจัดทำ�ทะเบียนประวัติ ๑. ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรบุคคล มีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย ๒. การบันทึก ก.พ.๗ มีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

69


กระบวนการรักษาบุคลากรไว้ในองค์การ กระบวนการรักษาบุคลากรไว้ในองค์การทำ�ให้บุคลากรพึงพอใจ

70

กระบวนการที่ ๕ ตัวชี้วัดกระบวนการ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


กระบวนการที่ ๖ ตัวชี้วัดกระบวนการ

กระบวนการออกจากราชการ กระบวนการออกจากราชการยึดหลักความยุติธรรม

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

71


72

กระบวนการ.....กระบวนการให้บริการงานห้องประชุม..... ตัวชี้วัดกระบวนการ ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ

(ตัวอย่าง) การวิเคราะห์ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการ จัดการองค์ความรู้


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

บทสรุปสำ�หรับผู้บริหาร

74

กระบวนการจัดการองค์ความรู้ เป็นกระบวนงานหนึ่งของกรมการพัฒนาชุมชน ที่มี ส่วนสำ�คัญในการสนับสนุนกระบวนงานทีส่ ร้างคุณค่าให้กบั งานตามภารกิจของกรมการพัฒนาชุมชน โดยมีกระบวนการย่อยตามลำ�ดับ ดังนี้ ๑ กระบวนการจัดการความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน ๒ กระบวนการวิจัยด้านการพัฒนาชุมชน คู่มือการปฏิบัติงานเล่มนี้ จัดทำ�ขึ้นเพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานและผู้เกี่ยวข้องใช้ประโยชน์ เป็นแนวทางการดำ�เนินงานตามกระบวนงานดังกล่าว ซึ่งจะทำ�ให้ผู้ปฏิบัติงานมองเห็นภาพรวม ของงานจากจุดเริ่มต้นจนสิ้นสุดกระบวนงาน เนื้อหาสาระของคู่มือ ประกอบด้วย ขั้นตอน วิธีการดำ�เนินงาน รายละเอียดของงาน มาตรฐานคุณภาพงาน การติดตาม ประเมินผล ตลอดจน ผู้รับผิดชอบและเอกสารอ้างอิงต่างๆ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๑

การจัดการองค์ความรู้ ความเป็นมาและความสำ�คัญในการจัดทำ�คู่มือ

ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ระบุให้ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ ให้มีลักษณะองค์กรแห่งการ เรียนรู้ และสำ�นักงาน ก.พ.ร. กำ�หนดให้การจัดการความรู้ เป็นตัวชี้วัดระดับความสำ�เร็จของการ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ในมิติที่ ๔ ด้านการพัฒนาองค์กร การจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management : KM) เป็นเครือ่ งมือทีจ่ ะนำ�องค์กร ไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยมีจุดประสงค์ คือ การพัฒนาบุคลากรและพัฒนางานให้มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น มีกระบวนการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนาและสร้างองค์ความรู้ เพื่อใช้ใน งานพัฒนาชุมชน ดังนัน้ กระบวนการแลกเปลีย่ นความรูใ้ นรูปแบบต่างๆ ในองค์กรจึงมีความสำ�คัญ ซึ่งจะนำ�ไปสู่การเรียนรู้ทั่วทั้งองค์กร คนเก่งขึ้น งานดีขึ้น ส่งผลต่อการปฏิบัติงานขององค์กรให้มี ประสิทธิผลและมีสมรรถนะสูงขึ้น โดยมุ่งเน้นให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในองค์ความรู้ที่สำ�คัญ ที่จะมีผลต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์อย่างต่อเนื่อง และการก้าวไปสู่องค์กร แห่งการเรียนรู้ต่อไป กรมการพัฒนาชุมชนจึงได้จดั ทำ�คูม่ อื การปฏิบตั งิ าน เพือ่ กำ�หนดมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของการนำ�กระบวนการไปปฏิบตั เิ พือ่ ให้บรรลุตามข้อกำ�หนดทีส่ �ำ คัญ โดยแสดงให้ เห็นจุดเริม่ ต้นและจุดสิน้ สุดของงาน เพือ่ ให้ผปู้ ฏิบตั งิ านได้ใช้อา้ งอิง มิให้เกิดความผิดพลาดในการ ทำ�งาน และสร้างความเข้าใจ ก่อให้เกิดความพึงพอใจ ซึง่ คูม่ อื การปฏิบตั งิ าน ประกอบด้วยแผนผัง กระบวนการ และมาตรฐานคุณภาพงาน ซึง่ เป็นข้อกำ�หนดในการปฏิบตั งิ านทัง้ ในเชิงคุณภาพและ ปริมาณ

75


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

วัตถุประสงค์

๑. เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงาน ผู้เกี่ยวข้องและผู้สนใจ มีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการ จั ด การองค์ ค วามรู้ ของกรมการพั ฒ นาชุ ม ชน ซึ่ ง จะส่ ง ผลให้ ก ารจั ด การองค์ ค วามรู้ ข อง กรมการพัฒนาชุมชน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมาย ๒. เพือ่ ทบทวนและปรับปรุงมาตรฐานการปฏิบตั งิ านในแต่ละขัน้ ตอนของกระบวนการ จัดการองค์ความรู้ ให้สามารถสนับสนุนกระบวนการสร้างคุณค่าของกรมการพัฒนาชุมชนได้อย่าง เหมาะสม ๓. เพือ่ เป็นแนวทางปรับปรุงกระบวนงานด้านการจัดการองค์ความรูข้ องกรมการพัฒนาชุมชน ให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

76

ขอบเขตของกระบวนการ

กระบวนการจัดการองค์ความรู้ของกรมการพัฒนาชุมชน เริ่มต้นจากการที่สถาบันการพัฒนาชุมชน เป็นหน่วยงานหลักในการทบทวน วิเคราะห์ผลการดำ�เนินงานด้านการจัดการ องค์ความรูใ้ นปีทผี่ า่ นมา การพัฒนาทักษะและสร้างเครือข่ายนักจัดการองค์ความรู้ การแสวงหาและ สะสมความรู้ การจัดความรู้ให้เป็นระบบ การประมวลและกลั่นกรองความรู้ มีการถ่ายทอดความรู้ เพื่อการเข้าถึงองค์ความรู้ที่สะดวก รวดเร็ว มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การนำ�ความรู้ ไปใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อการเรียนรู้และการต่อยอดองค์ความรู้ มีกระบวนการศึกษา วิเคราะห์ วิจยั พัฒนาและสร้างองค์ความรู้ เพือ่ ใช้ในงานพัฒนาชุมชนอย่างต่อเนือ่ ง โดยกระบวนการจัดการ องค์ความรูม้ กี ระบวนการย่อย ๒ กระบวนการ คือ ๑) กระบวนการจัดการความรูด้ า้ นการพัฒนาชุมชน และ ๒) กระบวนการวิจัยด้านการพัฒนาชุมชน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

การจัดทำ�คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการจัดการองค์ความรู้

การจัดทำ�คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการจัดการองค์ความรู้ มีกรอบแนวคิด ดังนี้

กระบวนการจัดการองค์ความรู้

กระบวนการวิจัย

กระบวนการจัดการความรู้

77 การพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน

การพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญของกระบวนการ

กรมการพัฒนาชุมชน ได้กำ�หนดข้อกำ�หนดทีส่ ำ�คัญของกระบวนการจัดการองค์ความรู้ ประกอบด้วย ๒ กระบวนการ คือ ๑) กระบวนการจัดการความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน และ ๒) กระบวนการวิจัยด้านการพัฒนาชุมชน ดังนี้

ตารางการวิเคราะห์ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ : แยกตามกระบวนการกระบวนการจัดการองค์ความรู้

๑. กระบวนการ จัดการความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน ตัวชี้วัดกระบวนการ จำ�นวนองค์ความรู้

78


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ตารางการวิเคราะห์ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ : แยกตามกระบวนการ

๒. กระบวนการ การวิจัยด้านการพัฒนาชุมชน ตัวชี้วัดกระบวนการ จำ�นวนองค์ความรู้

79


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

คำ�จำ�กัดความ องค์ความรู้ (Knowledge) หมายถึง สิง่ ทีเ่ ราสามารถเชือ่ มโยง ต่อยอดเป็นความรูใ้ หม่สกู่ ารปฏิบตั ิ ซึง่ ได้แก่ สัจธรรม หลักการ ข้อมูล สารสนเทศ ทีส่ ว่ นใหญ่จะเกีย่ วข้องกับการงานของเรา หรือการ ดำ�เนินการให้บรรลุพันธกิจ วัตถุประสงค์ การจัดการความรู้ (Knowledge Management) หมายถึง กระบวนการอย่างเป็นระบบที่เอื้อ และก่อให้เกิดการถ่ายโอน แลกเปลี่ยน และเรียนรู้ระหว่างข้อมูล สารสนเทศและคน ได้ทันเวลา ตรงความต้องการ ก่อให้เกิดการสร้างคุณค่า โดยการรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร พัฒนาระบบจากข้อมูลไปสู่สารสนเทศ เพื่อให้เกิดความรู้ และ ปัญญาในที่สุด

80

การจัดการความรูใ้ นองค์กร หมายถึง การรวบรวมองค์ความรูท้ มี่ อี ยูใ่ นองค์กร ซึง่ กระจัดกระจาย อยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมี ความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด การวิจัย (Research) หมายถึง กระบวนการแสวงหาคำ�ตอบอย่างเป็นระบบ มีความเชื่อถือได้ เพื่อสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ที่เกิดประโยชน์ต่อการฏิบัติงาน

หน้าที่ความรับผิดชอบ กระบวนการจัดการองค์ความรู้ มีหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบหลัก คือ สถาบันการ พัฒนาชุมชน มีอำ�นาจหน้าที่เกี่ยวกับการดำ�เนินการเกี่ยวกับการฝึกอบรมและพัฒนาข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องของกรมการพัฒนาชุมชน รวมทั้งการให้บริการทางวิชาการด้านการ พัฒนาชุมชนแก่หน่วยงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ ศึกษา วิเคราะห์ เพื่อเผยแพร่และใช้ ประโยชน์ในการพัฒนางานพัฒนาชุมชน ดำ�เนินการพัฒนาศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพื่อให้ บริการความรูด้ า้ นการพัฒนาชุมชนทีเ่ หมาะสมและสอดคล้องกับสภาพพืน้ ทีแ่ ก่ขา้ ราชการในส่วน ภูมภิ าค ผูน้ �ำ ชุมชน ผูบ้ ริหารและข้าราชการท้องถิน่ รวมทัง้ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ดำ�เนินการ เกี่ยวกับการจัดการความรู้ในงานพัฒนาชุมชนและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ปฏิบัติงานร่วมกับหรือ สนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย โดยมีการแบ่งงาน ภายในสถาบันการพัฒนาชุมชน ประกอบด้วย


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๑) กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคล มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงาน ระบบข้อมูลสารสนเทศการพัฒนาทรัพยากรบุคคล งานยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคล และงบประมาณ งานการเรียนรูต้ ามแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan: IDP) งานการลาศึกษาต่อและทุนการศึกษา งานประสานศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชน งานลูกค้าสัมพันธ์ และปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย ๒) กลุ่มงานส่งเสริมมาตรฐานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ งานพัฒนาและส่งเสริมมาตรฐานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล งานวัดผลการฝึกอบรม งานรับรอง หลักสูตร งานพัฒนาผูป้ ฏิบตั งิ านพัฒนาบุคลากรและปฏิบตั งิ านอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ๓) กลุ่มงานจัดการความรู้ มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานบริการวิชาการ งานจัดการ ความรู้ งานผลิตและบริการสื่อ งานห้องสมุด งานเรียนรู้ทางไกลผ่านสื่อเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) และปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย ๔) กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานวิจัยและพัฒนา งานวิจัย หลักสูตร งานให้คำ�ปรึกษาและปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย ๕) วิทยาลัยการพัฒนาชุมชน มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการดำ�เนินงานของโรงเรียน นักบริหารงานพัฒนาชุมชน โรงเรียนนักพัฒนาชุมชน ศูนย์ส่งเสริมความเป็นเลิศ (หลักสูตรเสริม สมรรถนะและหลักสูตรพิเศษ) และปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย ๖) ศูนย์วิทยบริการ มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานฝึกอบรมผู้นำ� อาสาสมัครและ บุคลากรภายนอก งานฝึกอบรมหลักสูตรต่างประเทศ งานประชาสัมพันธ์หลักสูตรเพื่อส่งเสริม การตลาด และปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย ๗) ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน มีหน้าที่รับผิดชอบในเขตพื้นที่การให้บริการตามที่ กรมการพัฒนาชุมชนกำ�หนดเกี่ยวกับงานวิจัยและพัฒนา และการบริการให้คำ�ปรึกษาด้านการ พัฒนาชุมชน งานฝึกอบรมและให้บริการด้านการฝึกอบรม งานสนับสนุนการจัดการความรู้ งานพัฒนา ความเป็นเลิศทางวิชาการเฉพาะทาง และปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย ๘) ฝ่ายอำ�นวยการ มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบเกีย่ วกับการปฏิบตั งิ านบริหารทัว่ ไป งานสารบรรณ งานการเจ้าหน้าที่ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุของสถาบันและปฏิบตั งิ านอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องตามที่ ได้รับมอบหมาย

81


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๒

แผนผังของกระบวนการจัดการองค์ความรู้ แผนผังของกระบวนการจัดการองค์ความรู้ ประกอบด้วยกระบวนการย่อย ดังนี้ ๑. กระบวนการจัดการความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน ๒. กระบวนการวิจัยด้านการพัฒนาชุมชน สำ�หรับรายละเอียดของกระบวนการในแต่ละกระบวนการย่อยนั้น ต้องใช้ระยะเวลา ดำ�เนินการ และจำ�นวนคนเท่าไร แต่ละกระบวนการย่อยมีหน่วยงานไหน หรือใครเกี่ยวข้องบ้าง มีเอกสาร/รายงานอะไร กระบวนการย่อยใดมีการตัดสินใจเข้ามาเกี่ยวข้อง สามารถศึกษาได้จาก แผนผังกระบวนงานในหน้าต่อไป 82


กระบวนการจัดการองค์ความรู้ : กระบวนการย่อยการจัดการความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

83


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

84


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

85


86

กระบวนการจัดการองค์ความรู้ : กระบวนการย่อยการวิจัยด้านการพัฒนาชุมชน

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๓

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน มาตรฐานงาน และ การติดตามประเมินผล จากแผนผังของกระบวนการจัดการองค์ความรู้ สามารถระบุรายละเอียดของงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ระบบติดตามประเมินผล ผู้รับผิดชอบ แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน เอกสารอ้างอิง ตามลำ�ดับของกระบวนการย่อย ดังนี้

87


88

กระบวนการจัดการองค์ความรู้ : กระบวนการย่อยการจัดการความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

89


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

90


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

91


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

92


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

93


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

94


กระบวนการจัดการองค์ความรู้ : กระบวนการย่อยการวิจัยด้านการพัฒนาชุมชน

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

95


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

เอกสารอ้างอิง สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ๒๕๕๒ คู่มือคำ�อธิบายตัวชี้วัดการ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ สำ�หรับหน่วยงานระดับกรม กรุงเทพฯ สำ�นักงาน ก.พ.ร. และสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ๒๕๔๘ คู่มือการจัดทำ�แผนการ จัดการความรู้ : จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ กรุงเทพฯ กรมการพัฒนาชุมชน ๒๕๕๔ แผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ กรุงเทพฯ

96


คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร และระบบข้อมูล สารสนเทศ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

บทสรุปของผู้บริหาร

98

คูม่ อื การปฏิบตั งิ าน : กระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร และระบบข้อมูลสารสนเทศ เป็นหนึง่ ในกระบวนงานทีช่ ว่ ยสนับสนุนให้กระบวนการสร้างคุณค่า ของกรมการพัฒนาชุมชนมีประสิทธิภาพมากขึน้ โดยเป็นการแสดง แผนผัง ขัน้ ตอน วิธกี าร กรอบ ระยะเวลา และมาตรฐานคุณภาพงาน ของกระบวนการฯ ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดการดำ�เนินงาน มีองค์ประกอบสำ�คัญ 3 กระบวนการย่อย คือ 1) การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information & Communication Technology : ICT) ประกอบด้วย การวางแผนพัฒนาและบริหารระบบ ICT การ กำ�หนดมาตรฐานด้าน ICT การออกแบบและพัฒนาระบบ ICT และการส่งเสริมและสนับสนุน การใช้ ICT 2) การพัฒนาระบบเครือข่าย ประกอบด้วย การออกแบบและพัฒนาระบบเครือข่าย การบริหารจัดการระบบคอมพิวเตอร์แม่ขา่ ย การบริหารจัดการการเชือ่ มโยงเครือข่ายสือ่ สัญญาณ เพื่อการสื่อสารภายในและอินเตอร์เน็ต การออกแบบ พัฒนาและบริหารจัดการระบบการรักษา ความปลอดภัยบนระบบเครือข่ายและบนคอมพิวเตอร์แม่ขา่ ยของกรมการพัฒนาชุมชน และ การ ติดตามประเมินผลระบบเครือข่าย 3) การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ ประกอบด้วย การวิเคราะห์และออกแบบระบบ การพัฒนาระบบงานและฐานข้อมูล การนำ�เข้าข้อมูล การประมวล และรายงานผลการนำ�เสนอ เผยแพร่และใช้ประโยชน์ และการดูแลระบบ ทั้งนี้ กระบวนการการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและระบบ ข้อมูลสารสนเทศ ทั้ง 3 กระบวนการย่อย จะเป็นเครื่องมือสำ�คัญที่ทำ�ให้ กรมการพัฒนาชุมชน มีระบบข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศสำ�หรับสนับสนุนการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพ ในการส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน และก้าวไปสู่ การเป็นองค์กรที่มี ขีดสมรรถนะสูง เก่ง และ ดี (High Performance Organization : HPO) ประชาชนในชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับประโยชน์ และมีความพึงพอใจในคุณค่าและการให้บริการของ กรมการพัฒนาชุมชนอย่างสูงสุด


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๑

การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร และระบบข้อมูลสารสนเทศ ความเป็นมาและความสำ�คัญในการจัดทำ�คู่มือ

การดำ�เนินงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA) หมวดที่ ๖ การจัดการกระบวนการ ในปี ๒๕๕๕ ได้กำ�หนดให้ ส่วนราชการวิเคราะห์กระบวนการสำ�คัญทีช่ ว่ ยสร้างคุณค่าแก่ผรู้ บั บริการ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียและ การบรรลุพนั ธกิจของส่วนราชการตลอดจนกระบวนการสนับสนุนทีส่ �ำ คัญ เพือ่ ส่งมอบคุณค่าของ กรมการพัฒนาชุมชน (ชุมชนมีการบริหารจัดการทีเ่ ข้มแข็งและยัง่ ยืน) ให้กบั ผูร้ บั บริการประสบความ สำ�เร็จอย่างมีประสิทธิภาพ กรมการพั ฒ นาชุ ม ชนได้ วิ เ คราะห์ ก ระบวนการดั ง กล่ า วเพื่ อ นำ � มาจั ด ทำ � คู่ มื อ การปฏิบัติงาน (Work Manual) จำ�นวน ๑๖ กระบวนการ จำ�แนกเป็นกระบวนการ สร้างคุณค่า ๖ กระบวนการ และกระบวนการสนับสนุน ๑๐ กระบวนการ ดังนี้ ๑. กระบวนการสร้างคุณค่า ได้แก่ ๑) พัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชน ๒) ส่งเสริม ระบบการบริหารจัดการชุมชน ๓) ส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ๔) เสริมสร้างการบริหาร จัดการทุนชุมชน ๕) พัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน และ ๖) ส่งเสริมองค์ความรูด้ ้านการ พัฒนาชุมชน ๒. กระบวนการสนับสนุน ได้แก่ ๑) วางแผนยุทธศาสตร์ ๒) บริหารทรัพยากรบุคคล ๓) จัดการองค์ความรู้ ๔) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และระบบข้อมูล สารสนเทศ ๕) กำ�กับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการ ๖) พัฒนาทรัพยากรบุคคล ๗) บริหารงบประมาณ ๘) พัฒนาระบบราชการ ๙) ประชาสัมพันธ์ และ ๑๐) พัฒนาอาคารสถานที่ ทั้งนี้ “กระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และระบบ ข้อมูลสารสนเทศชุมชน” เป็นกระบวนงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการออกแบบ การพัฒนาและการบริหาร ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งด้านฮาร์ดแวร์ ซอร์ฟแวร์ เครือข่าย ระบบรักษาความปลอดภัย ตลอดจนระบบข้อมูล ระบบสารสนเทศ และการพัฒนาบุคลากร ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อ ให้การปฏิบัติงานดังกล่าวเป็นเครื่องมือสนับสนุนให้กรมการพัฒนาชุมชนก้าวไปสู่องค์กรที่มีขีด

99


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

สมรรถนะสูง เก่ง และ ดี (High Performance Organization : HPO) ประชาชนในชุมชนและผู้มี ส่วนได้สว่ นเสียได้รบั ประโยชน์และ มีความพึงพอใจในคุณค่าและการให้บริการของกรมการพัฒนา ชุมชนอย่างสูงสุด

วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติงานกระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารและระบบข้อมูลสารสนเทศในบริบทของกรมการพัฒนาชุมชน

ขอบเขตของกระบวนการ

100

“คู่มือการปฏิบัติงาน : กระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารและระบบข้อมูลสารสนเทศ” ฉบับนี้ มีเนื้อหาครอบคลุมการพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร และระบบข้อมูลสารสนเทศ ซึ่งศูนย์สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน ได้รับการมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบจากกรมการพัฒนาชุมชน ดังนี้ ๑) การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information & Communication Technology : ICT) ประกอบด้วย การวางแผนพัฒนาและบริหารระบบ ICT การ กำ�หนดมาตรฐานด้าน ICT การออกแบบและพัฒนาระบบ ICT และการส่งเสริมและสนับสนุน การใช้ ICT ๒) การพัฒนาระบบเครือข่าย ประกอบด้วย การออกแบบและพัฒนาระบบเครือข่าย การบริหารจัดการระบบคอมพิวเตอร์แม่ขา่ ย การบริหารจัดการการเชือ่ มโยงเครือข่ายสือ่ สัญญาณ เพื่อการสื่อสารภายในและอินเตอร์เน็ต การออกแบบ พัฒนาและบริหารจัดการระบบการรักษา ความปลอดภัยบนระบบเครือข่ายและบนคอมพิวเตอร์แม่ขา่ ยของกรมการพัฒนาชุมชน และการ ติดตามประเมินผลระบบเครือข่าย ๓) การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ ประกอบด้วย การวิเคราะห์และออกแบบระบบ การพัฒนาระบบงานและฐานข้อมูล การนำ�เข้าข้อมูล การประมวลและรายงานผล การนำ�เสนอ เผยแพร่และใช้ประโยชน์ และการดูแลระบบ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ กระบวนการ พัฒนาระบบ เทคโนโลยี สารสนเทศและ การสื่อสาร และ ระบบข้อมูล สารสนเทศ

พัฒนาระบบ เทคโนโลยี สารสนเทศและ การสื่อสาร และ ระบบข้อมูล สารสนเทศ

ข้อกำ�หนดสำ�คัญ

ตัวชี้วัดข้อกำ�หนด

ตัวชี้วัดกระบวนการ

๑. มีแผนแม่บท ICT กรมการพัฒนาชุมชน

๑.๑ มีการปรับปรุง/ทบทวน แผนแม่บท ICT ให้ทันสมัย อยู่เสมอ (ทุกปี) ๑.๒ มีการเผยแพร่แผน แม่บท ICT กรมการพัฒนาชุมชนในทุกระดับ

๑. ความพึงพอใจ ของข้าราชการ กรมการพัฒนาชุมชน ที่มีต่อระบบโครงข่าย ICTของกรมฯ ๒. ความพึงพอใจของ ผู้รับบริการที่มีต่อ ระบบสารสนเทศ

๒. มีการส่งเสริม วัฒนธรรมการใช้ ICT ที่ดี

๒.๑ มีระบบรักษาความ ปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ ๒.๒ มีมาตรการการรักษา ความปลอดภัยในการใช้ คอมพิวเตอร์ (ข้อบังคับ/ กฎ/ระเบียบ)

๓. มีโครงข่าย เทคโนโลยี สารสนเทศที่ทัน สมัย สามารถ รองรับเทคโนโลยี ใหม่ ๆ ได้ ๔. มีระบบ สารสนเทศเพื่อ การตัดสินใจของ ผู้บริหาร

๓.๑ มีระบบเครือข่าย ครอบคลุมทุกระดับ ๓.๒ มีระบบโครงข่ายที่ ทันสมัยสามารถรองรับ เทคโนโลยีใหม่ ๆ ได้ ๔.๑ มีฐานข้อมูลกลางงาน กรมการพัฒนาชุมชนที่ ถูกต้อง ครบถ้วนทันสมัย ๔.๒ มีระบบ BI เพื่อการ ตัดสินใจของผู้บริหาร

101


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

คำ�จำ�กัดความ

102

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หมายถึง การใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ มาปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาระบบโครงข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมการพัฒนาชุมชน ระบบโครงข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หมายถึง ระบบฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ และเครือข่ายของระบบคอมพิวเตอร์ การวางแผนพัฒนาและบริหารระบบ ICT หมายถึง การจัดทำ�แผนแม่บทเทคโนโลยี และการสื่อสาร กรมการพัฒนาชุมชน ให้สอดคล้องกับแผนแม่บทเทคโนโลยีและการสื่อสารของ ประเทศไทย และกระทรวงมหาดไทย เพื่อนำ�มาพัฒนาและบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ของกรมการพัฒนาชุมชนให้ตอบสนองต่อภารกิจและยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน มาตรฐานด้าน ICT หมายถึง แนวทาง กรอบ กติกาและการจัดการเพื่อใช้อ้างอิง ในงานทีเ่ กีย่ วข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศในกรมการพัฒนาชุมชนทัง้ ทางด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ เครือข่ายและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ทิศทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กรเป็นไปใน แนวทางเดียวกัน นำ�ไปสูก่ ารลดต้นทุน ลดความซับซ้อนและซ�้ำ ซ้อนในการใช้งาน รวมทัง้ ก่อให้เกิด ความต่อเนื่องของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กรและเชื่อมโยงกับหน่วยงานในระดับชาติ การออกแบบและพัฒนาระบบ ICT หมายถึง การดำ�เนินการออกแบบและพัฒนา ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใช้ประโยชน์ในราชการของกรมการพัฒนาชุมชน ตามความ จำ�เป็นและความต้องการของหน่วยงานในสังกัดกรมการพัฒนาชุมชน ได้แก่ ๑) การจัดทำ�เว็บไซต์ ต่าง ๆ ๒) การพัฒนาระบบ e – service เช่น e – mail คลังวิดีโอ ๓) การพัฒนาระบบซอฟแวร์ เช่น ระบบสำ�นักงานอัตโนมัติ ระบบการประชุมทางไกลและการถ่ายทอดสือ่ มัลติมเี ดียผ่านระบบ เครือข่าย Internet ตู้คอมพิวเตอร์อัจฉริยะแบบจอสัมผัส เป็นต้น การสร้างวัฒนธรรมการใช้ ICT หมายถึง การเผยแพร่และสร้างบรรยากาศรวมทั้ง พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชนให้ เหมาะสม ถูกต้อง เป็นไปตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำ�ผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ และกรอบนโยบายการพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย การพัฒนาบุคลากรด้าน ICT หมายถึง การดำ�เนินการจัดทำ�องค์ความรูแ้ ละสร้างการ เรียนรู้ เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้กับข้าราชการ กรมการพัฒนาชุมชนและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง โดยการฝึกอบรม การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การ ประชุมทางไกลและการถ่ายทอดสื่อมัลติมีเดียผ่านระบบเครือข่าย Internet ระบบ e- learning ระบบสำ�นักงานอัตโนมัติ คลังวิดีโอ เป็นต้น


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึง การนำ�เครือ่ งคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสารข้อมูลอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น สายเคเบิล สายโทรศัพท์ คลื่นวิทยุ คลื่นอินฟราเรด หรือสัญญาณดาวเทียม ทำ�ให้เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละ เครื่องในเครือข่ายนั้นสามารถติดต่อ และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการใช้ทรัพยากรของระบบร่วมกัน (Shared Resource) ในเครือข่ายนั้น คอมพิวเตอร์แม่ข่าย หมายถึง คอมพิวเตอร์ ที่ทำ�หน้าที่เป็นผู้ให้บริการทรัพยากร (Resources) ต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจำ� หน่วยความจำ�สำ�รอง ฐานข้อมูล และโปรแกรมต่าง ๆ เป็นต้น ระบบเครือข่ายแบบ LAN หมายถึง ระบบเครือข่ายเฉพาะบริเวณ เป็นระบบเครือข่าย ส่วนตัว องค์กรทีต่ อ้ งการใช้งานเครือข่ายแบบนี้ จะต้องทำ�การสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทเี่ ชือ่ ม ต่อกันเป็นระบบเครือข่ายในระยะใกล้ ๆ อินเตอร์เน็ต (Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์นานาชาติ ทีม่ สี ายตรงเชือ่ ม ต่อไปยังสถาบันหรือหน่วยงานต่าง ๆ เพื่ออำ�นวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ทั่วโลก ผู้ใช้เครือข่ายนี้ สามารถสือ่ สารถึงกันได้ทางอีเมล์ สามารถสืบค้นข้อมูลและสารสนเทศ รวมทัง้ คัดลอกแฟ้มข้อมูล และโปรแกรมมาใช้ได้ อินทราเน็ต (Intranet) หมายถึง ระบบเครือข่ายภายในองค์กร เป็นบริการและการ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหมือนกับอินเทอร์เน็ต แต่จะเปิดให้ใช้เฉพาะสมาชิกในองค์กรเท่านั้น การเชือ่ มโยงเครือข่าย หมายถึง การสร้างเส้นทางการสือ่ สารเพือ่ ส่งข้อมูลจากอุปกรณ์ หนึ่งไปยังอีกอุปกรณ์หนึ่ง ผู้ดูแลระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึง ผู้ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา ให้มีหน้าที่รับผิดชอบ ดูแล รักษา ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และสามารถเข้าถึงโปรแกรมรวม ทั้งอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อการบริหารจัดการ การรักษาความปลอดภัย หมายถึง มาตรการที่ใช้ในการปกป้องทรัพยากรจากภัย คุกคามทางกายภาพ และระบบ ทั้งโดยเจตนาและไม่เจตนา เป็นวิธีการที่ช่วยลดความเสี่ยงด้าน ความปลอดภัย โดยการจำ�กัดให้เฉพาะผู้ที่จำ�เป็นต้องใช้งาน ระบบสารสนเทศ (Information System หรือ IS) หมายถึง ระบบพื้นฐานของการ ทำ�งาน เพื่อช่วยการตัดสินใจ และการควบคุมในองค์กร ในการทำ�งานของระบบสารสนเทศ ประกอบไปด้วยกิจกรรม ๓ อย่าง คือ การนำ�ข้อมูลเข้าสูร่ ะบบ (Input) การประมวลผล (Processing) และการนำ�เสนอผลลัพธ์ (Output)

103


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

104

ข้อมูลสารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลทีผ่ า่ นการประมวลผลแล้วมีความหมาย มีคณ ุ ค่า และ เป็นประโยชน์ตอ่ ผูใ้ ช้ สามารถนำ�ไปใช้ในการดำ�เนินงานหรือการตัดสินใจได้ทนั ที สารสนเทศทีไ่ ด้ อาจจะเป็นตัวเลข ตัวหนังสือ สัญลักษณ์ ภาพ หรือเสียงก็ได้ การนำ�เข้าข้อมูล (Input data) หมายถึง กระบวนการบันทึกข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ เพื่อการสร้างฐานข้อมูลที่ละเอียด ถูกต้อง การวิเคราะห์และการออกแบบระบบ (System Analysis and Design) หมายถึง วิธกี าร ทีใ่ ช้ในการสร้างระบบสารสนเทศขึน้ มาใหม่ เพือ่ ช่วยในการแก้ไขระบบสารสนเทศเดิมทีม่ อี ยูแ่ ล้ว ให้ดีขึ้น การวิเคราะห์ระบบ คือ การหาความต้องการ (Requirements) ของระบบสารสนเทศ ว่าคืออะไร หรือต้องการเพิ่มเติมอะไรเข้ามาในระบบ การออกแบบระบบ คือ การนำ�เอาความต้องการของระบบมาเป็นแบบแผน หรือเรียกว่า พิมพ์เขียวในการสร้างระบบสารสนเทศนั้นให้ใช้งานได้จริง การประมวลผลข้อมูล (Data processing) หมายถึง วิธีการจัดการกับข้อมูล ซึ่งอาจ เป็นการบวก ลบ คูณ หาร หรือการคำ�นวณ และเปรียบเทียบลักษณะต่างๆ ที่กำ�หนดไว้ เพื่อให้ ข้อมูลนั้นๆ อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ หรือตรงตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช้งาน การรายงานผล หมายถึง ขั้นตอนการดำ�เนินการเพื่อสรุปความสำ�คัญของข้อมูล สารสนเทศ ให้ตรงสภาพที่เป็นจริง ตรงตามวัตถุประสงค์ ก่อนที่จะนำ�ข้อมูลมาใช้


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

หน้าที่ความรับผิดชอบ

105


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

106


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๓

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน มาตรฐานคุณภาพงาน และการติดตามประเมินผล

กรมการพัฒนาชุมชน จัดทำ�กระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สือ่ สาร และระบบข้อมูลสารสนเทศ เพือ่ สนับสนุนการปฏิบตั งิ านให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการ ส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน ประกอบด้วย ๓ กระบวนการย่อย ดังนี้ ๑. การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประกอบด้วย ๑.๑ การวางแผนการพัฒนาและบริหารระบบเทคโนโลยีและการสื่อสาร ๑.๒ การกำ�หนดและพัฒนามาตรฐานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ๑.๓ การออกแบบและพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ๑.๔ การส่งเสริมและสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ๒. การพัฒนาระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วย ๒.๑ การศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบระบบเครือข่าย ๒.๒ การบริหารจัดการระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ๒.๓ การบริหารจัดการ การเชื่อมโยงเครือข่าย Intranet Internet ๒.๔ การศึกษา ออกแบบ พัฒนาและบริหารจัดการระบบการรักษาความปลอดภัย ๒.๕ การติดตามประเมินผล ๓. การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ ๓.๑ การวิเคราะห์และออกแบบระบบข้อมูลสารสนเทศ ๓.๒ การพัฒนาระบบงานและฐานข้อมูล ๓.๓ การนำ�เข้าข้อมูล ๓.๔ การประมวลและรายงานผล ๓.๕ การนำ�เสนอ เผยแพร่ และใช้ประโยชน์ ๓.๖ การดูแลระบบ ทั้งนี้ ในแต่ละกระบวนการมีขั้นตอนการปฏิบัติงาน มาตรฐานคุณภาพงาน และการ ติดตามประเมินผล ดังนี้

107


108 ๑.๑ กระบวนการย่อยการวางแผนพัฒนาและบริหารระบบ ICT

๑. กระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

109


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

110


๑.๒ กระบวนการย่อยการกำ�หนดและพัฒนามาตรฐาน ICT

๑. กระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

111


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

112


๑.๓ กระบวนการย่อยการออกแบบและพัฒนาระบบ ICT

๑. กระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

113


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

114


๑.๓.๑ กระบวนการย่อยการออกแบบและพัฒนาระบบ ICT (กรณีดำ�เนินการเอง)

๑. กระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

115


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

116


๑.๓.๒ กระบวนการย่อยการออกแบบและพัฒนาระบบ ICT (กรณีจ้างพัฒนาระบบ)

๑. กระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

117


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

118


๑.๔ กระบวนการย่อยส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ระบบ ICT

๑. กระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

119


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

120


๑.๔.๑ กระบวนการย่อยการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ระบบ ICT : การส่งเสริมวัฒนธรรมการใช้ ICT

๑. กระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

121


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

122


๑.๔.๒ กระบวนการย่อยการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ระบบ ICT : การพัฒนาบุคลากรด้าน ICT

๑. กระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

123


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

124


๒.๑ : กระบวนการศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ ระบบเครือข่าย

๒. กระบวนการพัฒนาระบบเครือข่าย เทคโนโลยีสารสนเทศ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

125


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

126


๒.๑ : กระบวนการบริหารจัดการระบบเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย

๒. กระบวนการพัฒนาระบบเครือข่าย เทคโนโลยีสารสนเทศ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

127


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

128


๒.๓ : กระบวนการบริหารจัดการการเชื่อมโยงเครือข่าย (Intranet Internet)

๒. กระบวนการพัฒนาระบบเครือข่าย เทคโนโลยีสารสนเทศ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

129


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

130


๒.๔ : การศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนาและบริหารจัดการระบบรักษาความปลอดภัยของระบบเครือข่าย

๒. กระบวนการพัฒนาระบบเครือข่าย เทคโนโลยีสารสนเทศ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

131


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

132


๓.๑ : กระบวนการย่อยการวิเคราะห์และออกแบบระบบ

๓. กระบวนการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

133


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

134


๓.๒ : กระบวนการย่อยการพัฒนาระบบงานและฐานข้อมูล

๓. กระบวนการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

135


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

136


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

137


138 ๓.๓ : กระบวนการย่อยการนำ�เข้าข้อมูล

๓. กระบวนการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

139


140 ๓.๔ : กระบวนการย่อยการประมวลและรายงานผล

๓. กระบวนการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

141


142 ๓.๕ : กระบวนการย่อยการนำ�เสนอ เผยแพร่ ใช้ประโยชน์

๓. กระบวนการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

143


144 ๓.๖ : กระบวนการย่อยการดูแลระบบ

๓. กระบวนการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

145


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

เอกสารบันทึก

146


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

147


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

148


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

149



คู่มือปฏิบัติงาน “กระบวนการกำ�กับ ติดตาม และ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ”


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

152

บทสรุปสำ�หรับผู้บริหาร

กระบวนการกำ�กับ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ เป็นกระบวนการ สนับสนุนกระบวนการสร้างคุณค่าที่สำ�คัญ สอดคล้องกับการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA) หมวด ๖ การจัดการ กระบวนการซึง่ กรมการพัฒนาชุมชน ใช้เป็นเครือ่ งมือสำ�คัญในการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ ภารกิจ และการปฏิบตั ริ าชการตามคำ�รับรองการปฏิบตั ริ าชการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และ บรรลุเป้าหมาย การดำ�เนินงานตามกระบวนการกำ�กับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการ กรมการพัฒนาชุมชน มอบหมายให้ส�ำ นักตรวจราชการ กองแผนงาน และหน่วยตรวจสอบภายใน วางรูปแบบและแนวทางในการกำ�กับ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการที่เหมาะสมโดย บูรณาการการดำ�เนินการร่วมกันระหว่างภารกิจที่เกี่ยวข้องของแต่ละหน่วย คือ ๑. การตรวจราชการ เป็นการดำ�เนินการภายใต้ ระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การตรวจราชการ ปี ๒๕๔๘ โดยให้กระทรวง กรม จัดทำ�แผนการตรวจราชการตามปีงบประมาณ ซึ่งหัวหน้าของหน่วยงานและผู้ตรวจราชการร่วมกันจัดทำ�ให้แล้วเสร็จภายในเดือนตุลาคม ปีงบประมาณนั้น และระเบียบกรมการพัฒนาชุมชนว่าด้วยการตรวจราชการของผูต้ รวจราชการ กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยกำ�หนดแผนงานโครงการ ตามการวิเคราะห์ประเด็นสำ�คัญ ของการตรวจราชการ ๑.๑) การวิเคราะห์ความเสีย่ งตามหลักธรรมาภิบาลด้วยข้อมูล แผนงาน/โครงการ สำ�คัญ ร่วมกันระหว่างผูแ้ ทนกองแผนงาน/ผูแ้ ทนสำ�นัก กอง ศูนย์ ด้านการประสานแผนและข้อมูล และทีมสนับสนุนการตรวจราชการ ๑.๒) เสนอหัวข้อเรื่องการตรวจราชการประกอบด้วย นโยบายของรัฐบาลตาม ยุทธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ และผลการวิเคราะห์ความเสี่ยง ๑.๓) การตรวจราชการยึดหลักการบริหารความเสีย่ งเชิงยุทธศาสตร์อย่างเชือ่ มโยง กับความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) เนื่องจากการบริหารรัฐกิจสมัยใหม่ (NPM) มีเป้าหมายให้เกิดธรรมาภิบาลทั้งในกระบวนการและผลลัพธ์ ๑.๔) การลดความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ย่อมรับประกัน ผลประโยชน์สาธารณะ (Public Interest) ในขณะที่การลดความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล ย่อมทำ�ให้ประชาชนไว้วางใจ (Public Trust)


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๒. การติดตามประเมินผล เป็นการดำ�เนินการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๙ (๓) กำ�หนดให้ “ส่วนราชการต้อง จัดให้มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการ” และมาตรา ๒๒ กำ�หนดให้ “ส่วนราชการมีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐ เพื่อรายงานคณะรัฐมนตรี และเป็นแนวทางในการพิจารณาว่าภารกิจของส่วนราชการใดสมควรดำ�เนินการต่อหรือยุบเลิก เพือ่ ประโยชน์ในการจัดตัง้ งบประมาณของส่วนราชการในปีตอ่ ไป” รวมทัง้ การดำ�เนินการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA หมวด ๑ “การนำ�องค์กร” : LD ๔ กำ�หนดให้ “ส่วนราชการ/ ผูบ้ ริหารต้องกำ�หนดตัวชีว้ ดั ทีส่ �ำ คัญ และกำ�หนดให้มรี ะบบการติดตามและประเมินผลการปฏิบตั ิ ราชการ สำ�หรับใช้ในการทบทวนผลการปฏิบัติงานและนำ�ผลการทบทวนดังกล่าวมาจัดลำ�ดับ ความสำ�คัญ เพื่อนำ�ไปใช้ในการปรับปรุงการดำ�เนินงานของส่วนราชการให้ดีขึ้น” ๓. การตรวจสอบการดำ�เนินงาน เป็นการดำ�เนินการตามแนวทางการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายใน กระทรวงหาดไทย ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕

153


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๑

กระบวนการกำ�กับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการ ความเป็นมาและความสำ�คัญ

154

กรมการพัฒนาชุมชน มีการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการกำ�กับ ติดตาม และประเมิน ผลการปฏิบัติราชการ แบบบูรณาการโดยมีหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบ และร่วมดำ�เนินการ ดังนี้ ๑. การตรวจราชการ : เป็นการดำ�เนินการภายใต้ ระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วย การตรวจราชการ ปี ๒๕๔๘ โดยให้กระทรวง กรม จัดทำ�แผนการตรวจราชการตามปีงบประมาณ ซึ่งหัวหน้าของหน่วยงานและผู้ตรวจราชการร่วมกันจัดทำ�ให้แล้วเสร็จภายในเดือนตุลาคม ปีงบประมาณนั้น และระเบียบกรมการพัฒนาชุมชนว่าด้วยการตรวจราชการของผูต้ รวจราชการ กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยกำ�หนดแผนงานโครงการ ตามการวิเคราะห์ประเด็นสำ�คัญ ของการตรวจราชการ ๑.๑) การวิเคราะห์ความเสีย่ งตามหลักธรรมาภิบาลด้วยข้อมูล แผนงาน/โครงการ ที่สำ�คัญ ร่วมกันระหว่างผู้แทนกองแผนงาน/ผู้แทนสำ�นัก กอง ศูนย์ ด้านการประสานแผนและ ข้อมูล และทีมสนับสนุนการตรวจราชการ ๑.๒) เสนอหัวข้อเรื่องการตรวจราชการ ประกอบด้วย นโยบายของรัฐบาลตาม ยุทธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ และผลการวิเคราะห์ความเสี่ยง ๑.๓) การตรวจราชการยึดหลักการบริหารความเสีย่ งเชิงยุทธศาสตร์อย่างเชือ่ มโยง กับความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) เนื่องจากการบริหารรัฐกิจสมัยใหม่ (NPM) มีเป้าหมายให้เกิดธรรมาภิบาลทั้งในกระบวนการและผลลัพธ์ ๑.๔) การลดความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ย่อมรับประกัน ผลประโยชน์สาธารณะ (Public Interest) ในขณะที่การลดความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล ย่อมทำ�ให้ประชาชนไว้วางใจ (Public Trust)


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๒. การติดตามประเมินผล : เป็นการดำ�เนินการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๙ (๓) กำ�หนดให้ “ส่วนราชการต้อง จัดให้มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการ” และมาตรา ๒๒ กำ�หนดให้ “ส่วนราชการมีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐ เพื่อรายงานคณะรัฐมนตรี และเป็นแนวทางในการพิจารณาว่าภารกิจของส่วนราชการใดสมควรดำ�เนินการต่อหรือยุบเลิก เพือ่ ประโยชน์ในการจัดตัง้ งบประมาณของส่วนราชการในปีตอ่ ไป” รวมทัง้ การดำ�เนินการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA หมวด ๑ “การนำ�องค์กร” : LD ๔ กำ�หนดให้ “ส่วนราชการ/ ผูบ้ ริหารต้องกำ�หนดตัวชีว้ ดั ทีส่ �ำ คัญ และกำ�หนดให้มรี ะบบการติดตามและประเมินผลการปฏิบตั ิ ราชการ สำ�หรับใช้ในการทบทวนผลการปฏิบัติงานและนำ�ผลการทบทวนดังกล่าวมาจัดลำ�ดับ ความสำ�คัญ เพื่อนำ�ไปใช้ในการปรับปรุงการดำ�เนินงานของส่วนราชการให้ดีขึ้น” ๓. การตรวจสอบการดำ�เนินงาน เป็นการดำ�เนินการตามแนวทางการปฏิบตั งิ านตรวจ สอบภายใน กระทรวงหาดไทย ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ กรมการพัฒนาชุมชน ได้กำ�หนดให้กระบวนการกำ�กับ ติดตามและประเมินผลองค์กร เป็นแผนงานหนึ่งในกลยุทธ์การพัฒนาองค์กรที่เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลง : องค์กรแห่งการพัฒนา เครือข่ายการพัฒนาชุมชน ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การเสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง ซึ่งกรมการพัฒนาชุมชน จะต้องดำ�เนินการให้บรรลุตามเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ที่กำ�หนดคือ “องค์กรมีสมรรถนะสูงเกิดประโยชน์สุขต่อประชาชน”

สำ�นักตรวจราชการ สำ�นักตรวจราชการเป็นหน่วยงานภายใน ขึ้นตรงต่ออธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน มีโครงสร้างการแบ่งงาน หน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ภายในสำ�นักตรวจราชการ ประกอบด้วย ผูต้ รวจ ราชการกรม และสำ�นักงานเลขานุการผู้ตรวจราชการกรม ผูต้ รวจราชการกรม มีหน้าทีค่ วามรับผิดชอบในการจัดทำ�แผนการตรวจราชการประจำ�ปี ตรวจ แนะนำ� ชี้แจงนโยบายและการปฏิบัติราชการ ติดตามความก้าวหน้า ความสำ�เร็จ อุปสรรค ในการทำ�งาน และรายงานผลการตรวจราชการประจำ�ปี ต่ออธิบดีกรม การพัฒนาชุมชน กอร์ปกับ ระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการตรวจราชการ ฉบับ พ.ศ. ๒๕๔๘ กำ�หนดให้ผตู้ รวจราชการกรม รับผิดชอบและมีอำ�นาจหน้าที่ในการตรวจราชการของหน่วยงานของรัฐ และเจ้าหน้าที่ของรัฐ เฉพาะในขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของกรม ในฐานะผู้สอดส่องแทนอธิบดี

155


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

กองแผนงาน โดยกลุ่มงานประเมินผล

กลุ่มงานประเมินผล เป็นหน่วยงานในสังกัดกองแผนงาน ซึ่งตามกฎกระทรวงแบ่ง ส่วนราชการ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๘ เมษายน ๒๕๕๒ ได้มอบหมายงานและกำ�หนดให้กลุม่ งานประเมินผลมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบเกีย่ วกับ การออกแบบและพัฒนาตัวชีว้ ดั ความสำ�เร็จและฐานข้อมูลของกรม ประเมินผลสำ�เร็จการดำ�เนิน งานตามนโยบายรัฐบาล กระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน ประเมินความคุ้มค่าการ ดำ�เนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจำ�ปีและปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตาม ที่ได้รับมอบหมาย

กลุ่มตรวจสอบภายใน

156

กลุม่ ตรวจสอบภายใน เป็นหน่วยงานขึน้ ตรงต่ออธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ทำ�หน้าทีห่ ลัก ในการตรวจสอบการดำ�เนินงานภายในกรม และสนับสนุนการปฏิบตั งิ านของกรม โดย ตรวจสอบ ด้านการบริหาร การเงิน และการบัญชีของกรม และปฏิบตั งิ านร่วมกับ หรือสนับสนุน การปฏิบตั งิ าน ของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือได้รับมอบหมาย

วัตถุประสงค์ของการจัดทำ�คู่มือการปฏิบัติงาน

เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าหน่วยดำ�เนินการของกรม ได้ปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขและแนวทาง การดำ�เนินงาน ระเบียบ ข้อกฎหมาย และสามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ภารกิจ และการปฏิบัติราชการตามคำ� รับรองการปฏิบตั ริ าชการ กรมการพัฒนาชุมชน อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้อง กับนโยบายและ วัตถุประสงค์ขององค์การ

ขอบเขตของกระบวนการกำ�กับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการ การจัดทำ�คู่มือกระบวนการกำ�กับ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการมีเนื้อหา ครอบคลุม รูปแบบ วิธีการ และขั้นตอนในการกำ�กับ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตั้งแต่เริ่มต้นจนจบกระบวนการ โดยเริ่มจากการทบทวนผลการดำ�เนินงานในรอบปีที่ผ่านมา


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในระบบการตรวจราชการ การทบทวนวิเคราะห์กระบวนการ ติดตามประเมินผล การกำ�หนดตัวชี้วัดที่สำ�คัญของหน่วยงานประจำ�ปี การพิจารณาคัดเลือก โครงการที่สำ�คัญ การจัดทำ�ประเด็นการตรวจราชการ การตรวจติดตามซึ่งจำ�แนกเป็น ๓ รอบ ได้แก่ รอบที่ ๑ การสอบทานความเสี่ยงของการดำ�เนินงานตามโครงการ (Project Review) รอบที่ ๒ การติดตามความก้าวหน้า (Progress Review) รอบที่ ๓ การติดตามและประเมินผล (Monitoring and Evaluation) รวมถึงการรายงานผลการกับกับ ดูแล (การตรวจราชการ) ต่ออธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน และการปรับปรุง แก้ไขเพิ่มเติมหรือประสานให้ สำ�นัก กอง ศูนย์ ที่เกี่ยวข้องทราบและดำ�เนินงานตามข้อสั่งการต่อไป

คำ�จำ�กัดความ

กระบวนการกำ�กับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการ หมายถึง กระบวนงาน หรือ ขัน้ ตอนในการกำ�กับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการของหน่วยปฏิบตั กิ าร (สำ�นักงาน พัฒนาชุมชนจังหวัด/อำ�เภอ) ซึง่ กรมการพัฒนาชุมชน มอบหมายให้หน่วยงานทีม่ โี ครงสร้าง และ ภารกิจในการตรวจ ติดตาม กำ�กับดูแล การปฏิบตั ริ าชการตามยุทธศาสตร์ ภารกิจและการปฏิบตั ิ ราชการตามคำ�รับรองการปฏิบัติราชการ ประจำ�ปีของกรมการพัฒนาชุมชน การตรวจราชการ หมายถึง การตรวจ ติดตามผล เร่งรัด แนะนำ� สืบสวน สอบสวน สอบข้อเท็จจริง รับฟังเหตุการณ์ เสนอแนะ ประสานงาน ตรวจเยี่ยม หรือดำ�เนินการอื่นใด เพื่อ ให้การปฏิบัติงานของหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ได้สมประโยชน์ต่อทางราชการ หน่วยรับตรวจ หมายถึง หน่วยงานของรัฐและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งปฏิบัติหน้าที่อยู่ใน ส่วนภูมิภาค การตรวจราชการแบบบูรณาการเพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์ตามนโยบายรัฐบาล หมายถึง การตรวจราชการร่วมกับผูต้ รวจราชการสำ�นักนายกรัฐมนตรี ผูต้ รวจราชการกระทรวงมหาดไทย และผู้ตรวจราชการกรม โดยเน้นการประสานงานระหว่างส่วนราชการ โดยผู้ตรวจราชการ กรมการพัฒนาชุมชนแต่ละเขตจะรับผิดชอบติดตามผลการดำ�เนินงานและปัญหาอุปสรรคในภาพรวม ของโครงการและนำ�เสนอต่อผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย การตรวจราชการกรณีปกติ หมายถึง การตรวจติดตามมุ่งเน้นผลสำ�เร็จของตัวชี้วัด ตามทีก่ �ำ หนดในแผนการตรวจราชการประจำ�ปี ซึง่ เป็นผลงานเชิงปริมาณและคุณภาพโดยจะต้อง วิเคราะห์เพื่อให้ทราบถึงกลยุทธ์/ปัจจัยที่ทำ�ให้ผลงานสำ�เร็จ หรือสาเหตุของปัญหา/ปัจจัยความ เสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการดำ�เนินงานไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำ�หนด นำ�เสนอสภาพปัญหาของ แต่ละงาน พร้อมทั้งการดำ�เนินการแก้ไขปัญหาที่สอดคล้อง และเหมาะสมกับสภาพปัญหาของ พื้นที่นั้น ๆ ตลอดจนติดตามผลงานตามตัวชี้วัดที่กำ�หนดไว้ในคำ�รับรองการปฏิบัติราชการของ กรมการพัฒนาชุมชน

157


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

158

การตรวจราชการกรณีพิเศษ หมายถึง การตรวจราชการในกรณีต่อไปนี้ ๑) เรื่องที่ได้รับการร้องขอจากหน่วยงานให้ช่วยเหลือสนับสนุนหรือประสานการ ปฏิบัติงานตามนโยบาย แผนงาน และโครงการที่ดำ�เนินการอยู่ แต่มีปัญหาขัดข้องซึ่งไม่สามารถ แก้ไขหรือดำ�เนินการให้แล้วเสร็จได้ตามขั้นตอนปกติ สมควรได้รับการแก้ไขหรือสนับสนุนจาก หน่วยงานบังคับบัญชาที่สูงกว่า ๒) เรื่องที่ราษฎรร้องเรียน/ร้องทุกข์ขอความเป็นธรรมหรือขอความช่วยเหลือเพื่อ คลี่คลายหรือแก้ไขความทุกข์ยากเดือดร้อน ๓) เรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับสภาพการณ์ หรือเหตุการณ์ส�ำ คัญ จำ�เป็น ทีร่ ฐั บาลหรือหน่วยงาน ต้องเข้าไปดำ�เนินการช่วยเหลือและแก้ไขให้ทันการณ์ ๔) เรื่องอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากอธิบดีฯ การบริหารงบประมาณและการบริหารกิจกรรม (โครงการ) แบบมุ่งเน้นผลงาน ด้วย Budget and Project Management Program (BPM) หมายถึง กระบวนการติดตาม ประเมินผลการบริหารงบประมาณและการบริหารกิจกรรม (โครงการ) แบบมุ่งเน้นผลงาน ประกอบด้วย การติดตามค่าใช้จา่ ยรายการบริหาร การติดตามการใช้จา่ ยงบประมาณตามผลผลิต การติดตามความก้าวหน้ากิจกรรม (โครงการ) การประเมินผลกิจกรรม (โครงการ) การประมวล ผลการดำ�เนินการ การประมวลผลสำ�เร็จตามตัวชี้วัด การประมวลผลโครงการที่ใช้งบประมาณ จากแหล่งอื่น การประมวลผลโครงการที่ไม่ใช้งบประมาณ การติดตาม หมายถึง การเก็บรวบรวมและประมวลผลข้อมูลความก้าวหน้าระหว่าง การปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ แล้วนำ�ข้อมูลมาประมวลวิเคราะห์ข้อมูลว่าเป็นไปตามแผนงาน ที่กำ�หนดไว้หรือไม่ มีปัญหาหรืออุปสรรคอย่างไรบ้าง โดยมีการจัดทำ�รายงานหรือเสนอผลการ ติดตามเป็นสารสนเทศเพื่อให้ผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องได้น�ำ ไปใช้ในการบริหารผลการปฏิบัติงาน ให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่กำ�หนด การประเมินผล หมายถึง กระบวนการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลผลการปฏิบัติงาน การใช้ทรัพยากร เปรียบเทียบกับเป้าหมายที่คาดหวัง เพื่อตัดสินคุณค่าของงาน หรือแผนงาน หรือโครงการ ว่ามี บรรลุวัตถุประสงค์ เป็นไปตามขั้นตอนที่กำ�หนดไว้หรือไม่ มีประสิทธิภาพ/ ประสิทธิผล หรือก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง/การพัฒนาเพียงใด ห้วงเวลาการประเมินผลอาจ กำ�หนดได้ทั้งระหว่างการปฏิบัติงาน (ประเมินผลผลิต) หรือภายหลังการดำ�เนินงาน (ประเมิน ผลลัพธ์และผลกระทบ) การประเมินความคุ้มค่า หมายถึง การประเมินผลการดำ�เนินภารกิจของภาครัฐว่า สามารถสร้างผลผลิตและผลลัพธ์ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ทกี่ �ำ หนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพเพียงใด และมีผลประโยชน์ทสี่ มดุลกับทรัพยากรทีใ่ ช้หรือไม่ ทัง้ นี้ ผลลัพธ์ทเี่ กิดขึน้ อาจเป็นได้ทงั้ ผลสำ�เร็จ ทีพ่ งึ ประสงค์ และผลกระทบในทางลบทีเ่ กิดขึน้ แก่ประชาชนและสังคม ทัง้ ทีส่ ามารถคำ�นวณเป็น ตัวเงินได้และไม่สามารถคำ�นวณเป็นเงินได้


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ตัวชีว้ ดั ทีส่ �ำ คัญ หมายถึง ตัวชีว้ ดั ทีส่ ง่ ผลกระทบสูงต่อความสำ�เร็จขององค์การ ซึง่ ผูบ้ ริหาร ต้องให้ความสำ�คัญเป็นพิเศษ ตัวชี้วัดที่สำ�คัญต้องครอบคลุม ๓ ประเภทตัวชี้วัด คือ ตัวชี้วัดใน การติดตามประเมินผลการดำ�เนินงานตามยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดในการบรรลุพันธกิจหลัก ตัวชี้วัด ของแผนงาน/โครงการ โครงการที่สำ�คัญ หมายถึง โครงการที่ส่งผลต่อความสำ�เร็จตามประเด็นยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน ที่ต้องผ่านกระบวนการวิเคราะห์และประเมินค่าตามเกณฑ์ที่หน่วยงาน กำ�หนด (ความสอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ งบประมาณทีไ่ ด้รบั ลักษณะโครงการ ผลกระทบ ของโครงการต่อผู้รับบริการ ประเภทของโครงการ) ว่าเป็นโครงการที่มีความจำ�เป็นต้องบริหาร จัดการความเสี่ยง เพื่อสร้างความมั่นใจว่าโครงการจะสามารถดำ�เนินการตามขั้นตอนและบรรลุ เป้าหมายตามที่กำ�หนดไว้ได้ กระดาษทำ�การ หมายถึง เอกสารที่ผู้ตรวจสอบจัดทำ�ขึ้น เพื่อบันทึกข้อมูล หลักฐาน ที่เป็นข้อเท็จจริงต่าง ๆ ไม่มีรูปแบบแน่นอน ขึ้นอยู่กับลักษณะงานและสถานการณ์ ของงานที่ ดำ�เนินการตรวจสอบ ซึง่ ผูต้ รวจสอบจะต้องจัดทำ�กระดาษทำ�การให้สามารถเก็บข้อมูลได้ครบถ้วน ตรงความต้องการ ในแต่ละประเด็น และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ หรือ เป็นแบบฟอร์มที่ผู้ตรวจสอบสร้างขึ้น เพื่อเก็บข้อมูลเฉพาะเรื่องซึ่งมีหลากหลายรูปแบบ เช่น แบบสอบถาม/สัมภาษณ์ แบบสังเกตการณ์ การตรวจสอบการดำ�เนินงาน หมายถึง การทบทวนการปฏิบตั งิ านขององค์กร เพือ่ ประเมิน ความประหยัด ความมีประสิทธิภาพ และความมีประสิทธิผล รวมถึงการบริหารจัดการ การบริหาร ความเสี่ยง การใช้ทรัพยากร และการปฏิบัติตามกฎหมาย การปรับปรุงและพัฒนาระบบงาน หมายถึง การวิเคราะห์อย่างเป็นระบบถึงปัจจัยทีม่ ี ผลต่อการทำ�งาน เพื่อให้ขั้นตอนและวิธีการทำ�งานถูกต้องเหมาะสม ตลอดจนลดจำ�นวนวัตถุดิบ ที่ใช้ ลดสิ่งอำ�นวยความสะดวกต่าง ๆ เพื่อทำ�ให้การใช้เงิน เวลา และกำ�ลังคน มีผลตอบแทนที่ เป็นไปตามเป้าหมาย ส่งผลทำ�ให้การทำ�งานมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น

159


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญของกระบวนการ

160


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

161


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

หน้าที่ความรับผิดชอบ

162


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

163


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

164


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

165


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

166


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๒

แผนผังภาพรวมกระบวนการกำ�กับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการ

167


กระบวนการกำ�กับ ติดตามและประเมินผลการปฎิบัติราชการ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

168


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

169


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

170


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

171


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

172


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๓

กรอบการตรวจราชการ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน มาตรฐานคุณภาพงานและติดตามประเมินผล กรอบการกำ�กับ ติดตามและประเมินผล

กระบวนการกำ�กับ ติดตามและประเมินผลตรวจราชการ กรมการพัฒนาชุมชน ประกอบด้วย ๑. การกำ�กับ ติดตาม โดยระบบการตรวจราชการ ซึง่ มีการตรวจราชการ ๓ ลักษณะ คือ ๑.๑ การตรวจราชการแบบบูรณาการเพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์ ตามนโยบายของรัฐบาล ซึ่งในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ กระทรวงมหาดไทยและสำ�นักนายกรัฐมนตรี ได้คัดเลือก โครงการทีส่ �ำ คัญ ของกรมการพัฒนาชุมชน จำ�นวน ๑ โครงการ เพือ่ บรรจุไว้ในแผน การตรวจราชการ แบบบู ร ณาการ เพื่ อ มุ่ ง ผลสั ม ฤทธิ์ ต ามนโยบายของรั ฐ บาล ได้ แ ก่ โครงการส่ ง เสริ ม และ พัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ๑.๒ การตรวจราชการกรณีปกติ (ตามแผนการตรวจราชการประจำ�ปี) ของ กรมพัฒนาชุมชนซึง่ เน้นการบริหารจัดการความเสีย่ ง เพือ่ ไม่ให้สง่ ผลกระทบต่อการดำ�เนินงานอืน่ ๆ คือ ๑) แผนงาน/โครงการทีเ่ ป็นภารกิจหลักและมีความสำ�คัญ ของกรมการพัฒนา ชุมชน ในความรับผิดชอบของ สำ�นัก กอง ศูนย์สารสนเทศฯ สถาบันการพัฒนาชุมชน ๒) แผนงาน/โครงการตามยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ซึง่ ไม่ซ�้ำ ซ้อน กับ แผนงานโครงการของการตรวจราชการแบบบูรณาการเพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์ ๓) แผนงาน/โครงการตามแผนพัฒนาจังหวัด/แผนปฏิบัติราชการประจำ�ปี ของจังหวัดเฉพาะทีห่ น่วยงานสำ�นักพัฒนาชุมชนจังหวัดเป็นเจ้าภาพหลักซึง่ จะต้องเป็นแผนงาน/ โครงการที่ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ๑.๓ การตรวจราชการกรณีพิเศษ ประกอบด้วย ๑) เรือ่ งทีไ่ ด้รบั การร้องขอจากหน่วยงานให้ชว่ ยเหลือสนับสนุนหรือประสาน การปฏิบตั งิ านตามนโยบาย แผนงาน และโครงการทีด่ �ำ เนินการอยู่ แต่มปี ญ ั หาขัดข้อง ซึง่ ไม่สามารถ แก้ไขหรือดำ�เนินการให้แล้วเสร็จได้ตามขั้นตอนปกติ สมควรได้รับการแก้ไขหรือสนับสนุนจาก หน่วยงานบังคับบัญชาที่สูงกว่า

173


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๒) เรือ่ งทีร่ าษฎรร้องเรียน/ร้องทุกข์ขอความเป็นธรรมหรือขอความช่วยเหลือ เพื่อคลี่คลายหรือแก้ไขความทุกข์ยากเดือดร้อน ๓) เรื่องที่เกี่ยวกับสภาพการณ์ หรือเหตุการณ์สำ�คัญ จำ�เป็น ที่รัฐบาลหรือ หน่วยงาน ต้องเข้าไปดำ�เนินการช่วยเหลือและแก้ไขให้ทันการณ์ ๔) เรื่องอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน

การกำ�กับ ติดตามและประเมินผล โดยระบบการตรวจราชการ

174

การกำ�กับ ติดตาม โดยระบบการตรวจราชการ มีระยะเวลาการตรวจราชการตั้งแต่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ - ๓๐ กันยายน ๒๕๕๕ แบ่งห้วงระยะเวลาในการตรวจราชการ เป็น ๓ ระยะหรือ ๒ รอบ คือ รอบที่ ๑ (๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ - ๓๑ มกราคม ๒๕๕๕ : Project Review) เพื่อพิสูจน์ สอบทานความเสี่ยงที่ได้วิเคราะห์ค่าดัชนีความเสี่ยงไว้ในกิจกรรมของแผนงาน/โครงการ รอบที่ ๒ (๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ - ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๕) เป็นการตรวจติดตามความ ก้าวหน้าของหน่วยรับตรวจ (Progress Review) ในเรือ่ งของการนำ�ข้อเสนอแนะจากการตรวจที่ ให้ไว้ในรอบแรกไปสู่การปฏิบัติจริงและประเมินความเสี่ยงเพิ่ม (ถ้ามี) โดยให้ข้อเสนอแนะในการ เพิ่มขีดสมรรถนะเพิ่มเติม รอบที่ ๓ (๑ มิถนุ ายน ๒๕๕๕ - ๓๐ กันยายน ๒๕๕๕) เป็นการตรวจติดตามและประเมิน ผลความสำ�เร็จ (Monitoring and Evaluation) สรุปผลสัมฤทธิ์และประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามเป้าหมายที่กำ�หนดไว้

การกำ�กับ ติดตามและประเมินผล โดยระบบการตรวจสอบการดำ�เนินงาน การกำ�กับ ติดตามโดยระบบการตรวจสอบการดำ�เนินงาน เป็นกระบวนการตรวจสอบ เพื่อให้ทราบปัญหา อุปสรรคในการปฏิบัติงานที่ทำ�ให้ไม่บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายของ โครงการ และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหา การตรวจสอบการดำ�เนินงานจะดำ�เนินการ ตรวจสอบในไตรมาสที่ ๓ - ๔ และสรุปรายงานผลให้แล้วเสร็จภายใน ๒ เดือน เมื่อเสร็จสิ้นการ ตรวจสอบในพื้นที่


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

การติดตาม ประเมินผล โดยระบบรายงาน การติดตาม ประเมินผล โดยระบบรายงาน แบ่งออกเป็น ๓ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ การรายงานโดยเอกสาร ส่วนที่ ๒ การรายงานข้อมูลแบบ Online Real Time ด้วย Budget and Project Management Program (BPM) เป็นกระบวนการติดตามประเมินผลการบริหารงบประมาณ และการบริหารกิจกรรม (โครงการ) แบบมุ่งเน้นผลงาน ส่วนที่ ๓ การรายงานโดยผู้บริหาร (เสนอต่อที่ประชุม)

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน เพื่อให้กระบวนการกำ�กับ ติดตามและประเมินผล กรมการพัฒนาชุมชน เป็นเครื่องมือ หรือกระบวนการสนับสนุนทีส่ �ำ คัญ และสามารถผลักดันให้หน่วยปฏิบตั กิ าร ขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ ภารกิจ และการปฏิบัติราชการตามคำ�รับรองการปฏิบัติราชการ กรมการพัฒนาชุมชนได้ตาม เงือ่ นไข แนวทางการดำ�เนินงาน ระเบียบ ข้อกฎหมาย อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้อง กับนโยบาย วัตถุประสงค์ขององค์การ และบรรลุทุกตัวชี้วัด หน่วยงานที่ได้รับมอบหมาย ทั้ง ๓ หน่วยงาน (สำ�นักตรวจราชการ กลุ่มตรวจสอบภายใน และกองแผนงาน) จึงกำ�หนดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ร่วมกัน ดังนี้ ขั้นตอนที่ ๑ ประมวลแผนงาน/โครงการ เป้าหมายตัวชี้วัด ขั้นตอนที่ ๒ ทบทวน/วิเคราะห์ กระบวนการติดตามและประเมินผล ขั้นตอนที่ ๓ กำ�หนดตัวชีว้ ดั ทีส่ �ำ คัญและโครงการทีส่ �ำ คัญตามของหน่วยงานประจำ�ปี ขั้นตอนที่ ๔ ผูบ้ ริหารพิจารณาตัวชีว้ ดั ทีส่ �ำ คัญและโครงการทีส่ �ำ คัญตามแผนบริหาร ความเสี่ยงของหน่วยงานประจำ�ปี ขั้นตอนที่ ๕ จัดทำ�แผนและประเด็นการกำ�กับติดตามและประเมินผล ขั้นตอนที่ ๖ การตรวจราชการ ๖.๑ จัดทำ�แผนการตรวจราชการประจำ�ปี ๖.๒ การเตรียมความพร้อมก่อนออกตรวจราชการในระดับพื้นที่ ๖.๓ สร้างเครื่องมือการตรวจราชการ ๖.๔ การตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการในพื้นที่

175


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๖.๕ การจัดทำ�รายงานผลการตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการ และการให้ข้อเสนอแนะ ๖.๖ การจัดทำ�รายงานผลการตรวจราชการ ขั้นตอนที่ ๗ จัดทำ�แผนการตรวจสอบการดำ�เนินการ ขั้นตอนที่ ๘ จัดทำ�แผนการติดตามประเมินผล ขั้นตอนที่ ๙ จัดทำ�เครื่องมือการประเมิน บันทึกข้อมูลโครงการใน BPM ขั้นตอนที่ ๑๐ ตรวจสอบข้อมูลโครงการใน BPM ขั้นตอนที่ ๑๑ ติดตามผลโครงการใน BPM ขั้นตอนที่ ๑๒ รวบรวม / ประมวลผลรายงาน ขั้นตอนที่ ๑๓ จัดทำ�แผนการปรับปรุงและพัฒนาระบบงาน

176


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

มาตรฐานคุณภาพการปฏิบัติงาน

177


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

178


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

179


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

180


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

181


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

182


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

183


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

184


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

185


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

186


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

187


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

188


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

189


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

190


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

191


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

เอกสารอ้างอิง กองแผนงาน กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๒. กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๒. เอกสารอัดสำ�เนา กองแผนงาน กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๓. การติดตามและประเมินผล. กรุงเทพฯ สำ�นักตรวจราชการ กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๓. แผนการตรวจราชการ กรมการพัฒนาชุมชน ประจำ�ปี ๒๕๕๓. เอกสารอัดสำ�เนา. กรุงเทพฯ

192


คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย พ.ศ.๒๕๕๕


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

บทสรุปสำ�หรับผู้บริหาร

194

คู่มือการปฏิบัติงาน “การส่งเสริมความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน” จัดทำ�ขึ้นเพื่อแสดง ขัน้ ตอน วิธกี าร กรอบระยะเวลา และมาตรฐานคุณภาพงานของกระบวนการส่งเสริมความรูด้ า้ น การพัฒนาชุมชน เพือ่ ให้การส่งเสริมความรูด้ า้ นการพัฒนาชุมชนของกรมการพัฒนาชุมชนเป็นระบบ และมีมาตรฐานเดียวกัน และเพือ่ ให้บคุ ลากรกรมการพัฒนาชุมชน สามารถเลือกกำ�หนดแนวทาง และวิธีการในการเรียนรู้ และการพัฒนาตนเองได้อย่างถูกต้อง ประกอบด้วย ๖ กระบวนการ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ๑. การผลิตเครือ่ งมือสนับสนุนการเรียนรูต้ ามอัธยาศัย เน้นทีก่ ารเรียนรูด้ ว้ ยตนเองตาม ความต้องการและความสนใจของผู้เรียน ประกอบด้วย การวิเคราะห์สมรรถนะและการจัดทำ� แผนพัฒนาตนเอง (IDP) การจัดทำ�นโยบายการเรียนรู้ตามอัธยาศัย การสนับสนุนการเรียนรู้ตาม อัธยาศัย การติดตามจัดทำ�ทะเบียน และการส่งมอบผลการเรียนรูเ้ พือ่ ใช้ประโยชน์ในการบริหารงาน บุคคลต่อไป ๒. การฝึกอบรมหลักสูตรภายนอก การฝึกอบรมโดยหน่วยงานภายนอกเป็นผูด้ ำ�เนินการ ฝึกอบรม ประกอบด้วย การสรรหาหลักสูตร การจัดทำ�ประกาศรับสมัคร การคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย การติดตามจัดทำ�ทะเบียน และการส่งมอบผลการฝึกอบรมเพื่อใช้ประโยชน์ในการบริหารงาน บุคคลต่อไป ๓. การฝึกอบรมหลักสูตรภายใน การฝึกอบรมข้าราชการทีด่ �ำ เนินการโดยกรมการพัฒนาชุมชน ประกอบด้วย การสร้าง พัฒนาหลักสูตร การเตรียมสื่อ/อุปกรณ์/สถานที่ การประสานกลุ่มเป้าหมาย การดำ�เนินการฝึกอบรม การติดตามจัดทำ�ทะเบียน และการส่งมอบผลการฝึกอบรมเพือ่ ใช้ประโยชน์ ในการบริหารงานบุคคลต่อไป ๔. การศึกษาเพิ่มเติม การเพิ่มเติมความรู้ด้วยการเรียนหรือการวิจัยตามหลักสูตรของ สถาบันการศึกษา ประกอบด้วย การสรรหาหลักสูตร การจัดทำ�ประกาศ การส่งเสริมและสนับสนุน การติดตามจัดทำ�ทะเบียน และการส่งมอบผลการศึกษาเพือ่ ใช้ประโยชน์ในการบริหารงานบุคคล ต่อไป ๕. การส่งเสริมการเรียนรูแ้ บบทางเลือก การจัดการเรียนรูท้ มี่ ชี อ่ งทางการเรียนรูท้ ี่เอือ้ ให้ผเู้ รียนสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรูไ้ ด้อย่างสะดวก ประกอบด้วย การสรรหาช่องทาง การออกแบบ เนือ้ หา /วิธกี าร การติดตัง้ ระบบ/เงือ่ นไขการเรียน การดำ�เนินการเรียนรู้ การติดตามจัดทำ�ทะเบียน และการส่งมอบผลการเรียนรู้เพื่อใช้ประโยชน์ในการบริหารงานบุคคลต่อไป ๖. การติดตามประเมินผล การเก็บรวบรวมข้อมูลเพือ่ วัดผลการเรียนรู้ และการดำ�เนิน กิจกรรม ประกอบด้วย การออกแบบเครื่องมือ การจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุป รายงานผล และการนำ�ผลไปใช้ประโยชน์ต่อไป การพัฒนาทรัพยากรบุคคล มุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้สามารถปฏิบัติงาน บนฐานความรู้ มีวฒ ั นธรรมการปฏิบตั งิ านทีม่ งุ่ ผลสัมฤทธิข์ องงานและการส่งมอบบริการทีม่ คี ณ ุ ค่า และคุณภาพให้แก่ประชาชน เพือ่ เป็นพลังสำ�คัญในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งขององค์กร และ สร้างความได้เปรียบสามารถแข่งขันได้


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

การพัฒนาทรัพยากรบุคคล ความเป็นมาและความสำ�คัญ สำ � นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ได้ นำ � เกณฑ์ ก ารพั ฒ นา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) มาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการ การดำ�เนินการของ ส่วนราชการ เพือ่ ยกระดับการบริหารจัดการของส่วนราชการให้มมี าตรฐานสามารถส่งมอบผลผลิต และบริการที่มีคุณค่าให้แก่ผู้รับบริการ กรมการพัฒนาชุมชน มีจุดแข็งด้านบุคลากรที่สามารถทำ�งานใกล้ชิดกับประชาชนใน ทุกพื้นที่ทั่วประเทศ เป็นกลไกสำ�คัญในการผลักดันให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้ มีส่วนร่วมในการ ทำ�งานพัฒนาคุณภาพชีวิต พัฒนาชุมชน ส่งผลต่อการพัฒนาฐานรากของประเทศในด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่องด้วยความมุ่งมั่นในอุดมการณ์ตามหลักปรัชญาการพัฒนาชุมชน ดังนั้นเพื่อให้การ พัฒนาบุคลากรของกรมการพัฒนาชุมชน มีประสิทธิภาพ กรมการพัฒนาชุมชนจึงได้จัดทำ�คู่มือ การปฏิบัติงานการพัฒนาทรัพยากรบุคคลขึ้นเพื่อให้การพัฒนาทรัพยากรบุคคลมีมาตรฐาน เดียวกัน โดยกระบวนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ประกอบด้วย ๖ กระบวนการ คือ ๑) การผลิต เครื่องมือสนับสนุนการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ๒) การฝึกอบรมหลักสูตรภายนอก ๓) การฝึกอบรม หลักสูตรภายใน ๔) การศึกษาเพิ่มเติม ๕) การเรียนรู้แบบทางเลือก และ ๖) การติดตามประเมินผล กรมการพัฒนาชุมชน จึงได้จดั ทำ�คูม่ อื การปฏิบตั งิ านเพือ่ กำ�หนดมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของการนำ�กระบวนการไปปฏิบตั เิ พือ่ ให้บรรลุตามข้อกำ�หนดทีส่ �ำ คัญ โดยแสดงให้ เห็นจุดเริม่ ต้นและจุดสิน้ สุดของงาน เพือ่ ให้ผปู้ ฏิบตั งิ านได้ใช้อา้ งอิง มิให้เกิดความผิดพลาดในการ ทำ�งาน และสร้างความเข้าใจก่อให้เกิดความพึงพอใจ ซึง่ คูม่ อื การปฏิบตั งิ านประกอบด้วย แผนผัง กระบวนการ และมาตรฐานคุณภาพงาน ซึง่ เป็นข้อกำ�หนดในการปฏิบตั งิ านทัง้ ในเชิงคุณภาพและ ปริมาณ

วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงาน ผู้เกี่ยวข้อง และผู้สนใจมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำ� กระบวนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรมการพัฒนาชุมชนไปใช้ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน ซึ่งส่งผล ให้การพัฒนาทรัพยากรบุคคลบรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพ ๒. เพือ่ ให้กระบวนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรมการพัฒนาชุมชนเป็นระบบและ มีมาตรฐานเดียวกัน ๓. เพื่อให้บุคลากรกรมการพัฒนาชุมชน สามารถเลือกกำ�หนดแนวทาง และวิธีการใน การเรียนรู้ และการพัฒนาตนเองได้อย่างถูกต้อง

195


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ขอบเขตของกระบวนการ การจัดกระบวนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ประกอบด้วย ๖ กระบวนการ คือ ๑) การผลิต เครื่องมือสนับสนุนการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ๒) การฝึกอบรมหลักสูตรภายนอก ๓) การฝึกอบรม หลักสูตรภายใน ๔) การศึกษาเพิม่ เติม ๕) การเรียนรูแ้ บบทางเลือก และ ๖) การติดตามประเมินผล โดยมีรายละเอียด ระยะเวลาการปฏิบัติงาน จำ�นวนผู้ปฏิบัติงานที่รับผิดชอบ และเอกสารอ้างอิง ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามข้อกำ�หนดของกระบวนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล

กรอบแนวคิดของกระบวนการ

196

กรอบแนวคิดของการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรมการพัฒนาชุมชน มุ่งเน้นการ พัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรมการพัฒนาชุมชนให้เป็นผู้รอบรู้ รู้ลึก มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ตลอดจนพัฒนา ค้นหา รูปแบบและวิธีการในการพัฒนาบุคลากรที่ เหมาะสม การพัฒนาทรัพยากรบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องในงานพัฒนาชุมชนทัง้ ประชาชน ผูน้ � ำ กลุม่ องค์กร และหน่วยงานภายนอกทั้งในและต่างประเทศ รวมถึงงานด้านการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ใน งานพัฒนาชุมชน กรอบแนวคิดของการพัฒนาทรัพยากรบุคคล การก้าวสู่ความเป็นเลิศขององค์การ ด้วยการพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้สามารถปฏิบตั งิ านบนฐานความรู้ มีวฒ ั นธรรมการปฏิบตั งิ านที่ มุง่ ผลสัมฤทธิข์ องงานและการส่งมอบบริการทีม่ คี ณ ุ ค่าและคุณภาพให้แก่ประชาชน เป็นพลังสำ�คัญ ในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งขององค์กร สร้างความได้เปรียบสามารถแข่งขันได้ การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้เป็นผูร้ อบรู้ รูล้ กึ มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะและพฤติกรรม ทีพ่ งึ ประสงค์ ด้วยการจัดทำ�แผนพัฒนาสมรรถนะทรัพยากรบุคคล แผนพัฒนารายบุคคล การสร้าง แนวร่วมในการจัดการความรู้ด้านการพัฒนาชุมชนที่มุ่งสู่การปฏิบัติจริง การหล่ อ หลอมประสบการณ์ ก ารทำ � งานตามหลั ก การพั ฒ นาชุ ม ชนอั น ยาวนาน มาสร้างสรรค์นวัตกรรมการเรียนรูด้ ว้ ยการพัฒนา ค้นหา รูปแบบและวิธกี ารในการพัฒนาบุคลากร และการจัดการนวัตกรรมสังคมชุมชนที่เหมาะสม การพัฒนาชุมชนทีย่ งั่ ยืนต้องกระทำ�โดยพลังของคนในชุมชน “สร้างพลังชุมชน ใช้พลัง ชุมชน ในการพัฒนาชุมชน”


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญของกระบวนการ กรมการพัฒนาชุมชน ได้กำ�หนดข้อกำ�หนดที่สำ�คัญของกระบวนการพัฒนาทรัพยากร บุคคล ประกอบด้วย ๖ กระบวนการ คือ ๑) การผลิตเครื่องมือสนับสนุนการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ๒) การฝึกอบรมหลักสูตรภายนอก ๓) การฝึกอบรมหลักสูตรภายใน ๔) การศึกษาเพิ่มเติม ๕) การเรียนรู้แบบทางเลือก และ ๖) การติดตามประเมินผล ดังนี้

คำ�จำ�กัดความ มาตรฐานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล หมายถึง เครื่องมือวัดมาตรฐานการทำ�งาน ขององค์กรและผู้ปฏิบัติหน้าที่ในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ประกอบด้วย ๔ มาตรฐาน คือ ๑) มาตรฐานการจัดการองค์กร ๒) มาตรฐานหลักสูตร ๓) มาตรฐานการดำ�เนินการฝึกอบรม ๔) มาตรฐานนักทรัพยากรบุคคล มาตรฐานการจัดการองค์กร หมายถึง ข้อกำ�หนดที่กรมการพัฒนาชุมชนจัดทำ�ขึ้น สำ�หรับการจัดการองค์กรการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ๑๒ แห่ง ได้แก่ สถาบันการพัฒนาชุมชน ส่วนกลาง และศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชน ๑๑ ศูนย์ ซึง่ เป็นองค์กรทีม่ บี ทบาทหน้าทีใ่ นการพัฒนา บุคลากรโดยตรง เพือ่ การสนับสนุนการดำ�เนินงานพัฒนาบุคลากรภายในและภายนอกหน่วยงาน ให้ได้คณ ุ ภาพ อีกทัง้ เป็นข้อกำ�หนดสำ�หรับหน่วยงานในสังกัดกรมการพัฒนาชุมชน และหน่วยงาน ภายนอกทีม่ กี ารดำ�เนินการเกีย่ วกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลได้ใช้สำ�หรับการจัดการองค์กรเพือ่ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลอย่างมีคุณภาพ มาตรฐานหลักสูตร หมายถึง ข้อกำ�หนดที่เกี่ยวกับคุณลักษณะ/หรือเชิงคุณภาพที่ พึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้น ในการสร้างหลักสูตร เพื่อใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสำ�หรับ การส่งเสริมกำ�กับดูแลและตรวจสอบ หลักสูตร หมายถึง การประมวลความรู้ และประสบการณ์ที่สถาบันการพัฒนาชุมชน และศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน ๑๑ ศูนย์ จัดให้บุคลากรในสังกัด บุคลากรหน่วยงานภายนอก ผูน้ �ำ ชุมชนและภาคประชาชน โดยวิธกี ารทีห่ ลากหลาย เช่น การฝึกอบรมในห้องเรียน การฝึกอบรม นอกห้องเรียน

197


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

198

การสร้างและพัฒนาหลักสูตร หมายถึง การกำ�หนดรายละเอียดต่างๆ ของหลักสูตร นับตั้งแต่ มีคณะทำ�งานร่างหลักสูตร การหาความจำ�เป็นในการสร้างหลักสูตร การออกแบบ หลักสูตร มีการพัฒนาหลักสูตร และมีการนำ�เสนอหลักสูตรเพื่อให้คณะกรรมการพิจารณา หลักสูตรเห็นชอบ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดการเรียนรู้ มีทักษะ และเปลี่ยนแปลงทัศนคติ หรือพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร มาตรฐานการดำ�เนินการฝึกอบรม หมายถึง ข้อกำ�หนดในการบริหารจัดการใน โครงการฝึกอบรมที่มีคุณภาพ ตามที่กรมการพัฒนาชุมชนกำ�หนด มาตรฐานนักทรัพยากรบุคคล หมายถึง คุณลักษณะของนักทรัพยากรบุคคล ในด้าน การบริหารจัดการโครงการ เจ้าหน้าที่โครงการ วิทยากรผู้นำ�กระบวนการ และเอกสารวิชาการ การเรียนรูต้ ามอัธยาศัย หมายถึง การเรียนรูด้ ว้ ยตนเองทีเ่ กิดจากความต้องการ ความ สนใจของผู้เรียน โดยผู้เรียนสามารถกำ�หนดสิ่งที่ต้องการเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ รูปแบบการเรียนรู้ และเนือ้ หาการเรียนรูท้ เี่ หมาะสมกับตนเองได้ เช่น การเรียนรูจ้ ากการเข้าร่วมเวทีแลกเปลีย่ น การ อ่านหนังสือ การดูภาพยนตร์ การเรียนรู้จากห้องสมุด การเรียนรู้จาก Internet หรือ การเรียน รู้จากการเยี่ยมชมศูนย์การเรียนรู้ อุทยานการเรียนรู้ และพิพิธภัณฑ์ การเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติ (Learning by Doing) เป็นต้น การฝึกอบรมหลักสูตรภายนอก หมายถึง การฝึกอบรมโดยหน่วยงานภายนอกเป็นผู้ ดำ�เนินการฝึกอบรม ซึง่ เป็นหลักสูตรทีม่ กี ารเทียบเท่ากับหลักสูตรทีด่ ำ�เนินการโดยกรมการพัฒนาชุมชน ได้แก่ หลักสูตรที่เทียบเท่าหลักสูตร นักบริหารงานพัฒนาชุมชนระดับสูง (นพส.) และหลักสูตร นักบริหารงานพัฒนาชุมชนระดับกลาง (นพก.) การฝึกอบรมหลักสูตรภายใน หมายถึง การฝึกอบรมข้าราชการที่ดำ�เนินการโดย กรมการพัฒนาชุมชน ซึ่งเป็นหลักสูตรที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณตามแผนปฏิบัติราชการ กรมการพัฒนาชุมชนประจำ�ปีงบประมาณ การศึกษาเพิม่ เติม หมายถึง การเพิม่ เติมความรูด้ ว้ ยการเรียนหรือการวิจยั ตามหลักสูตร ของสถาบันการศึกษา เพื่อให้ได้มาซึ่งปริญญาบัตรหรือประกาศนียบัตร การเรียนรู้แบบทางเลือก หมายถึง การจัดการเรียนรู้ที่มีช่องทางการเรียนรู้ที่เอื้อให้ผู้ เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้อย่างสะดวก และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่าง ทั่วถึง กว้างขวาง โดยมีการกำ�หนดขอบเขตเนื้อหาของหลักสูตร มีการวัดผลการเรียนรู้ และมีใบ ประกาศนียบัตรรับรองผล เช่น การเรียนรู้ด้วยระบบทางไกล การเรียนรู้ด้วยระบบ E-Learning การสอนแนะงาน (Coaching) ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring System) การเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ (Workplace Learning) เป็นต้น การติดตามประเมินผล หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อวัดผลการเรียนรู้ และ การดำ�เนินกิจกรรม ตลอดจนการพิจารณาผลสัมฤทธิ์ว่ามีมากน้อยเพียงใดเมื่อเปรียบเทียบกับ วัตถุประสงค์ และเกณฑ์ที่กำ�หนดไว้


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

หน้าที่ความรับผิดชอบ กระบวนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล มีหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบหลักคือสถาบัน การพัฒนาชุมชน มีอำ�นาจหน้าที่เกี่ยวกับการดำ �เนินการเกี่ยวกับการฝึกอบรมและพัฒนา ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องของกรมการพัฒนาชุมชน รวมทั้งการให้บริการทางวิชาการ ด้านการพัฒนาชุมชนแก่หน่วยงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ ศึกษา วิเคราะห์ และวิจัย งานพัฒนาชุมชนในภาพรวมและงานพัฒนาชุมชนเฉพาะพื้นที่ เพื่อเผยแพร่และใช้ประโยชน์ใน การพัฒนางานพัฒนาชุมชน ดำ�เนินการพัฒนาศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพื่อให้บริการความ รูด้ า้ นการพัฒนาชุมชนทีเ่ หมาะสมและสอดคล้องกับสภาพพืน้ ทีแ่ ก่ขา้ ราชการในส่วนภูมภิ าค ผูน้ �ำ ชุมชน ผู้บริหารและข้าราชการท้องถิ่น รวมทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ดำ�เนินการเกี่ยวกับ การจัดการความรู้ในงานพัฒนาชุมชนและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการ ปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย โดยมีการแบ่งงานภายในสถาบัน การพัฒนาชุมชน ประกอบด้วย ๑) กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคล มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงาน ระบบข้อมูลสารสนเทศการพัฒนาทรัพยากรบุคคล งานยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคล และงบประมาณ งานการเรียนรูต้ ามแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan: IDP) งานการลาศึกษาต่อและทุนการศึกษา งานประสานศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชน งานลูกค้าสัมพันธ์ และปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย ๒) กลุ่มงานส่งเสริมมาตรฐานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ งานพัฒนาและส่งเสริมมาตรฐานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล งานวัดผลการฝึกอบรม งานรับรอง หลักสูตร งานพัฒนาผูป้ ฏิบตั งิ านพัฒนาบุคลากรและปฏิบตั งิ านอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ๓) กลุ่มงานจัดการความรู้ มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานบริการวิชาการ งานจัดการ ความรู้ งานผลิตและบริการสื่อ งานห้องสมุด งานเรียนรู้ทางไกลผ่านสื่อเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning) และปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย ๔) กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานวิจัยและพัฒนา งานวิจัย หลักสูตร งานให้คำ�ปรึกษาและปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย ๕) วิทยาลัยการพัฒนาชุมชน มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการดำ�เนินงานของโรงเรียน นักบริหารงานพัฒนาชุมชน โรงเรียนนักพัฒนาชุมชน ศูนย์ส่งเสริมความเป็นเลิศ (หลักสูตรเสริม สมรรถนะและหลักสูตรพิเศษ) และปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย

199


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๖) ศูนย์วิทยบริการ มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานฝึกอบรมผู้นำ� อาสาสมัครและ บุคลากรภายนอก งานฝึกอบรมหลักสูตรต่างประเทศ งานประชาสัมพันธ์หลักสูตรเพื่อส่งเสริม การตลาด และปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย ๗) ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน มีหน้าที่รับผิดชอบในเขตพื้นที่การให้บริการตามที่ กรมการพัฒนาชุมชนกำ�หนดเกี่ยวกับงานวิจัยและพัฒนา และการบริการให้คำ�ปรึกษาด้าน การพัฒนาชุมชน งานฝึกอบรมและให้บริการด้านการฝึกอบรม งานสนับสนุนการจัดการความรู้ งานพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการเฉพาะทาง และปฏิบตั งิ านอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ๘) ฝ่ายอำ�นวยการ มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบเกีย่ วกับการปฏิบตั งิ านบริหารทัว่ ไป งานสารบรรณ งานการเจ้าหน้าที่ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุของสถาบันและปฏิบตั งิ านอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องตามที่ ได้รับมอบหมาย

200


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

201


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

202


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

203


204

กระบวนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล : กระบวนการย่อย การผลิตเครื่องมือสนับสนุนการเรียนรู้ตามอัธยาศัย

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


กระบวนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล : กระบวนการย่อย การผลิตเครื่องมือสนับสนุนการเรียนรู้ตามอัธยาศัย

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

205


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

206


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

207


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

208


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

209


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

210


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

211


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๓

ตารางการวิเคราะห์ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ : แยกตามกระบวนการ แบ่งประเด็นการวิเคราะห์ เป็น ๗ ประเด็น ดังนี้

212

๑. ความต้องการของผู้รับบริการ ๒. ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ๓. ระเบียบ/ข้อกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง ๔. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ๕. การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ๖. การสื่อสารสร้างความเข้าใจ ๗. ความคุ้มค่าและการลงทุน


กระบวนการผลิตเครื่องมือการเรียนรู้ ตัวชี้วัดกระบวนการ

ตารางการวิเคราะห์ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ : แยกตามกระบวนการ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

213


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

214


กระบวนการฝึกอบรมหลักสูตรภายนอก ตัวชี้วัดกระบวนการ

ตารางการวิเคราะห์ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ : แยกตามกระบวนการ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

215


216

กระบวนการฝึกอบรมหลักสูตรภายใน ตัวชี้วัดกระบวนการ

ตารางการวิเคราะห์ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ : แยกตามกระบวนการ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


กระบวนการศึกษาเพิ่มเติม ตัวชี้วัดกระบวนการ

ตารางการวิเคราะห์ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ : แยกตามกระบวนการ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

217


กระบวนการเรียนรู้แบบทางเลือก ตัวชี้วัดกระบวนการ

218

ตารางการวิเคราะห์ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ : แยกตามกระบวนการ คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


กระบวนการติดตามประเมินผล ตัวชี้วัดกระบวนการ

ตารางการวิเคราะห์ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ : แยกตามกระบวนการ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

219


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

เอกสารอ้างอิง กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๒. มาตรฐานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เล่มที่ ๓: คู่มือการขอ รับรองมาตรฐานหลักสูตร. กรุงเทพ ฯ: พิมพ์ครั้งที่ ๑. ๒๗ หน้า กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๒. มาตรฐานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เล่มที่ ๔: คู่มือการขอ รับรองมาตรฐานการดำ�เนินการฝึกอบรม. กรุงเทพ ฯ: พิมพ์ครั้งที่ ๑. ๔๖ หน้า

220


คู่มือการปฎิบัติงาน กระบวนการบริหารงบประมาณ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๑

การบริหารงบประมาณ ความเป็นมาและความสำ�คัญในการจัดทำ�คู่มือ

222

กรมการพัฒนาชุมชน ได้ดำ�เนินงานเกี่ยวกับกระบวนการงบประมาณโดยเริ่มจากการ จัดทำ�งบประมาณเพื่อขออนุมัติงบประมาณรายจ่ายต่อรัฐบาล ตามแผนงานที่ต้องสอดคล้องกับ แผนบริหารราชการแผ่นดิน เป้าหมายการให้บริการของกระทรวงมหาดไทย และเป้าหมายการ ให้บริการของกรมการพัฒนาชุมชน และใช้ผลผลิตเป็นหน่วยกำ�กับการใช้งบประมาณตามระบบ งบประมาณแบบมุง่ เน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ตงั้ แต่ปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๔๙ สำ�นักงบประมาณ ได้ก�ำ หนดระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๘ ขึน้ บังคับใช้ เพือ่ บริหารงบประมาณ แผ่นดิน ซึ่งมีสาระสำ�คัญในส่วนที่มีการมอบอำ�นาจความรับผิดชอบในการบริหารงบประมาณ รายจ่ายไปที่ส่วนราชการมากขึ้น พร้อมทั้งใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือในการจัดทำ� งบประมาณ ปรับวิธีการในการจัดสรรงบประมาณให้กับส่วนราชการเป็นไปด้วยความรวดเร็ว เพื่อให้สามารถใช้จ่ายงบประมาณได้ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณและใช้ในการติดตามและประเมินผล โดยแบ่งกระบวนการงบประมาณไว้ ๔ ขั้นตอน คือ l ขั้นตอนที่ ๑ การจัดทำ�งบประมาณ l ขั้นตอนที่ ๒ การอนุมัติงบประมาณ l ขั้นตอนที่ ๓ การบริหารงบประมาณ l ขั้นตอนที่ ๔ การติดตามและประเมินผล กระบวนการงบประมาณ ทัง้ ๔ ขัน้ ตอนนัน้ ขัน้ ตอนการบริหารงบประมาณเป็นขัน้ ตอน ที่สำ�คัญ ขั้นตอนหนึ่ง กล่าวคือ ส่วนราชการจะต้องกำ�หนดแนวทางในการบริหารงบประมาณ โดยต้องนำ�งบประมาณที่ได้รับอนุมัติไปใช้จ่าย และการใช้งบประมาณรายจ่ายประจำ�ปีของ ส่วนราชการ จะต้องใช้ตามรายการประมาณการรายจ่ายทีส่ ว่ นราชการได้ระบุไว้ในเอกสารประกอบ พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม หรือ ที่ได้รับจากการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายงบกลางที่ระบุตามแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่าย งบประมาณประจำ�ปี เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายผลผลิต ภายใต้แผนงานที่ได้อนุมัติ งบประมาณรายจ่ายจากรัฐสภาอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับวิธกี ารจัดการงบประมาณแบบ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

มุง่ เน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน จึงได้จดั ทำ�คูม่ อื การปฏิบตั งิ านกระบวนการ บริหารงบประมาณ เพือ่ กำ�หนดมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของการนำ�กระบวนการ ไปปฏิบัติเพื่อให้บรรลุตามข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ โดยแสดงให้เห็นจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของงาน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานได้ใช้อ้างอิง มิให้เกิดความผิดพลาดในการทำ�งาน และสร้างความเข้าใจก่อให้ เกิดความพึงพอใจ ซึง่ คูม่ อื การปฏิบตั งิ านประกอบด้วยแผนผังกระบวนการ และมาตรฐานคุณภาพงาน ซึ่งเป็นข้อกำ�หนดในการปฏิบัติงานทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ

วัตถุประสงค์ การจัดทำ�เอกสารคู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการบริหารงบประมาณฉบับนี้ เพื่อช่วย เสริมสร้างความเข้าใจให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่จัดการงบประมาณของ กรมการพัฒนาชุมชน ใช้เป็นแนวทางในการบริหารงบประมาณรายจ่ายที่ได้รับจัดสรรตาม พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปีให้เกิดประโยชน์สูงสุด และคุ้มค่ามากขึ้น

ขอบเขต คู่มือปฏิบัติงาน “กระบวนการบริหารงบประมาณ” ฉบับนี้ จะครอบคลุมเนื้อหาการ จัดทำ�แผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณของกรมการพัฒนาชุมชน เพื่อให้เป็นไป ตามข้อตกลงกับสำ�นักงบประมาณ คือ การใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามแผนการปฏิบัติงาน และแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำ�ปี ตั้งแต่การเตรียมความพร้อมในการบริหารงบประมาณ การจัดทำ�แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำ�ปี การจัดทำ�แนวทางการ ดำ�เนินกิจกรรมตามยุทธศาสตร์ภายใต้ผลผลิตของกรมการพัฒนาชุมชน การจัดสรรงบประมาณให้ หน่วยดำ�เนินการภายในกรมการพัฒนาชุมชน รวมถึงการให้หน่วยงานอืน่ เบิกงบประมาณแทนและ การเบิกงบประมาณแทนหน่วยงานอืน่ และการบริหารงบประมาณเหลือจ่าย ตลอดจนการแสดง ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านทีม่ หี น่วยงานหลักนำ�ส่งผลผลิต ประกอบด้วย สำ�นักส่งเสริมภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ และวิสาหกิจชุมชน สำ�นักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน และศูนย์สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน หน่วยงานสนับสนุน ประกอบด้วย สำ�นักตรวจราชการ สถาบันการพัฒนาชุมชน กองคลัง กองแผนงาน กองการเจ้าหน้าที่ กองประชาสัมพันธ์ สำ�นักเลขานุการกรม กลุ่มตรวจสอบภายใน และกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร และหน่วยงานนำ�ส่งผลผลิตในระดับพื้นที่ คือ จังหวัดและอำ�เภอ

223


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

กรอบแนวคิด กรอบแนวคิ ด พิ จ ารณาจากความเป็ น มาและความสำ � คั ญ ในการจั ด ทำ � คู่ มื อ ซึ่ ง กระบวนการงบประมาณกำ�หนดไว้ ๔ ขั้นตอน คือ l ขั้นตอนที่ ๑ การจัดทำ�งบประมาณ l ขั้นตอนที่ ๒ การอนุมัติงบประมาณ l ขั้นตอนที่ ๓ การบริหารงบประมาณ l ขั้นตอนที่ ๔ การติดตามและประเมินผล

ขั้นตอนที่ ๒ การจัดทำ�งบประมาณ 224

ขั้นตอนการจัดทำ�งบประมาณ รัฐบาลจะกำ�หนดนโยบายงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี ให้ส่วนราชการใช้เป็นนโยบายในการจัดทำ�คำ�ของบประมาณ ส่งให้สำ�นักงบประมาณจัดทำ�ร่าง พระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจำ�ปี เสนอให้คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ นำ�เข้าสูก่ ระบวนการ อนุมัติงบประมาณของสภาผู้แทนราษฎร

ขั้นตอนที่ ๒ การอนุมัติงบประมาณ ขัน้ ตอนการอนุมตั งิ บประมาณเป็นขัน้ ตอนทีร่ ฐั สภา (กรรมาธิการและวุฒสิ ภา) พิจารณา ให้ความเห็นชอบ และอนุมัติร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปีตามวาระที่ ๑ – ๓

ขั้นตอนที่ ๓ การบริหารงบประมาณ

ขัน้ ตอนการบริหารงบประมาณเป็นขัน้ ตอนทีส่ ว่ นราชการจะต้องนำ�งบประมาณรายจ่าย ประจำ�ปีไปใช้จ่าย โดยจัดทำ�แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำ�ปี และใช้ จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามแผนปฏิบตั งิ าน และแผนการใช้จา่ ยงบประมาณประจำ�ปี ภายใต้ผลผลิต ทีส่ อดคล้องกับเป้าหมายการให้บริการกระทรวงมหาดไทย และต้องรายงานผลการปฏิบตั งิ านและ การใช้จ่ายงบประมาณต่อสำ�นักงบประมาณ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ขั้นตอนที่ ๔ การติดตามและประเมินผล

ขัน้ ตอนการติดตามและประเมินผล เป็นขัน้ ตอนทีร่ ฐั บาลต้องการติดตามผลการใช้จา่ ย งบประมาณของทุกหน่วยงานที่ได้รับงบประมาณตามร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำ�ปี ทุกส่วนราชการจะต้องรายงานผลการปฏิบตั งิ านตามแผนการปฏิบตั แิ ละแผนการใช้จา่ ย งบประมาณต่อสำ�นักงบประมาณ ตามแบบรายงานของสำ�นักงบประมาณกำ�หนด (รายงาน สงป.) เป็นรายไตรมาส

ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ การบริหารงบประมาณเป็นขัน้ ตอนทีส่ �ำ คัญทีก่ รมการพัฒนาชุมชนจะต้องนำ�งบประมาณ รายจ่ายประจำ�ปีไปใช้จา่ ยตามทีร่ ฐั สภา ได้เห็นชอบและอนุมตั ใิ นวาระที่ ๑ – ๓ โดยกรมการพัฒนาชุมชน ต้องจัดทำ�แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำ�ปี และใช้จ่ายงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนปฏิบตั งิ าน และแผนการใช้จา่ ยงบประมาณประจำ�ปี ทีก่ �ำ หนดไว้ภายใต้ผลผลิต ที่สอดคล้องกับเป้าหมายการให้บริการกระทรวงมหาดไทย และต้องรายงานผลการปฏิบัติงาน และการใช้จา่ ยงบประมาณต่อสำ�นักงบประมาณ ทัง้ นีใ้ ห้ถอื ปฏิบตั ติ ามระเบียบว่าด้วยการบริหาร งบประมาณที่ สำ�นักงบประมาณกำ�หนด (ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ และระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๑ ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๒ และ ฉบับที่ ๔ พ.ศ.๒๕๕๔)

คำ�จำ�กัดความ แผนการปฏิบตั งิ าน และแผนการใช้จา่ ยงบประมาณ หมายถึง แผนแสดงรายละเอียด การปฏิบตั งิ าน และแสดงรายละเอียดการใช้จา่ ยงบประมาณรายจ่ายตามแผนการปฏิบตั งิ านของ ส่วนราชการในรอบปีงบประมาณ การใช้จา่ ยงบประมาณ หมายถึง การใช้จา่ ยงบประมาณรายจ่ายของส่วนราชการ เพือ่ ดำ�เนินงานตามแผนการปฏิบัติงานในรอบปี ปฏิทินการทำ�งานตามไตรมาส หมายถึง การกำ�หนดช่วงระยะเวลา การปฏิบัติงาน ตามแผนการปฏิบัติงาน และแผนการใช้งบประมาณประจำ�ปี แบ่งเป็นรายไตรมาส ผลผลิต หมายถึง ผลการดำ�เนินงานตามกิจกรรมที่เกิดขึ้น เป็นบริการของหน่วยงาน ให้ประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย โดยมีตัวชี้วัดผลสำ�เร็จในเชิงปริมาณ คุณภาพ เวลา และค่าใช้จ่าย

225


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

226

ตัวชี้วัดผลผลิต หมายถึง บริการของหน่วยงานที่กลุ่มเป้าหมาย (ประชาชน) ได้รับ แสดงตัวบ่งชี้สภาพความสำ�เร็จหรือการบรรลุเป้าหมายในระดับผลผลิตที่เกิดขึ้นใน ๔ มิติ ดังนี้ l เชิงปริมาณ ให้แสดงเป้าหมายในระดับผลผลิตที่เกิดขึ้นหรือที่ต้องการ ส่งมอบ ในเชิงปริมาณตามที่กำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี ฉบับที่ ๑๓ (เล่มคาดแดง) ทุกเดือน l เชิงคุณภาพ ให้แสดงตัวบ่งชีส้ ภาพความสำ�เร็จหรือการบรรลุเป้าหมายในระดับ ผลผลิตที่เกิดขึ้นในเชิงคุณภาพตามที่กำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี ฉบับที่ ๓ (เล่มคาดแดง) ในภาพรวมทั้งปี l เชิงเวลา ให้แสดงตัวบ่งชี้สภาพความสำ�เร็จหรือการบรรลุเป้าหมายในระดับ ผลผลิตที่เกิดขึ้นในเชิงระยะเวลาตามที่กำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี ฉบับที่ ๓ (เล่มคาดแดง) ในภาพรวมทั้งปี l เชิงค่าใช้จา่ ย ให้แสดงตัวบ่งชีส้ ภาพความสำ�เร็จหรือการบรรลุเป้าหมายในระดับ ผลผลิตที่เกิดขึ้นในเชิงค่าใช้จ่าย โดยอาจเป็นค่าใช้จ่ายต่อผลผลิต ค่าใช้จ่ายต่อหน่วยการผลิต ค่าใช้จา่ ยต่อกิจกรรม ตามทีก่ �ำ หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี ฉบับที่ ๓ (เล่มคาดแดง) ในภาพรวมทั้งปี l กิจกรรม หมายถึง กระบวนการนำ�ส่งผลผลิต l กิจกรรมหลัก หมายถึง กิจกรรมทีส่ มั พันธ์กบั กลยุทธ์หน่วยงาน เป็นขัน้ ตอนการ ดำ�เนินงานที่สำ�คัญและจำ�เป็นที่จะดำ�เนินการเพื่อให้ได้ผลผลิต (กระบวนการนำ�ส่งผลผลิต) ทั้งนี้ กิจกรรมหลักที่กำ�หนดต้องสามารถวัดความก้าวหน้าในการดำ�เนินงานได้ กิจกรรมสนับสนุน หมายถึง กิจกรรมการอำ�นวยการภายในองค์การให้สามารถจัดทำ� และส่งผลผลิต/บริการ โดยตรงแก่ผู้รับบริการภายนอก แนวทางการดำ�เนินกิจกรรมตามยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน หมายถึง คูม่ อื ใน การปฏิบตั งิ านของเจ้าหน้าทีพ่ ฒ ั นาชุมชนในการดำ�เนินกิจกรรมทีส่ อดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ ของกรมการพัฒนาชุมชนภายใต้ผลผลิตที่ได้รับงบประมาณในรอบปี งบบุคลากร หมายถีง รายจ่ายที่กำ�หนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ได้แก่ รายจ่ายทีจ่ า่ ยในลักษณะเงินเดือน ค่าจ้างประจำ� ค่าตอบแทนพนักงานราชการ และเงินทีจ่ า่ ยควบ กับเงินเดือน และค่าจ้างประจำ� งบดำ�เนินงาน หมายถึง รายจ่ายทีก่ �ำ หนดให้จา่ ยเพือ่ การบริหารงานประจำ� ได้แก่ รายจ่าย ที่จ่ายในลักษณะค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ ค่าสาธารณูปโค งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่กำ�หนดให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายใน ลักษณะ ค่าครุภัณฑ์ ค่าที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

งบเงินอุดหนุน หมายถึง รายจ่ายที่กำ�หนดให้จ่ายเป็นค่าบำ�รุง หรือเพื่อช่วยเหลือ สนับสนุนการดำ�เนินงานของหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูธ หรือหน่วยงานของรัฐซึ่งมิใช่ ส่วนราชการส่วนกลางตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน หน่วยงานในกำ�กับของรัฐ องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สภาตำ�บล องค์การระหว่างประเทศ นิติบุคคล เอกชนหรือกิจการอันเป็นสาธารณประโยชน์ รวมถึงเงินอุดหนุนงบพระมหากษัตริย์ เงินอุดหนุนการศาสนา และรายจ่ายที่สำ�นักงบประมาณกำ�หนดให้จ่ายในงบรายจ่ายนี้ งบรายจ่ายอืน่ หมายถึง รายจ่ายทีไ่ ม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใดงบรายจ่ายหนึง่ หรือรายจ่ายที่สำ�นักงบประมาณกำ�หนดให้ใช้จ่ายในงบรายจ่ายนี้ เช่น (๑) เงินราชการลับ (๒) เงินค่าปรับที่จ่ายคืนให้แก่ผู้ขายหรือผู้รับจ้าง (๓) ค่าจ้างทีป่ รึกษาเพือ่ ศึกษา วิจยั ประเมินผลหรือพัฒนาระบบต่าง ๆ ซึง่ มิใช่เพือ่ การจัดหา หรือปรับปรุงครุภัณฑ์ ที่ดินหรือสิ่งก่อสร้าง (๔) ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว (๕) ค่าใช้จ่ายสำ�หรับหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ (ส่วนราชการ) (๖) ค่าใช้จ่ายสำ�หรับกองทุน หรือเงินทุนหมุนเวียน (๗) รายจ่ายเพื่อชำ�ระหนี้เงินกู้ เงินงบประมาณที่กันไว้เบิกเหลื่อมปี หมายถึง เงินงบประมาณที่กระทรวงการคลัง อนุมัติให้กันไว้เบิกเหลื่อมปี การโอนจัดสรรงบประมาณ หมายถึง การโอนจัดสรรงบประมาณรายจ่ายจากสำ�นัก เบิกส่วนกลาง ไปยังสำ�นักเบิกส่วนภูมิภาคโดยสอดคล้องกับแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้ จ่ายงบประมาณ การโอนเปลีย่ นแปลงงบประมาณรายจ่าย หมายถึง การโอนงบประมาณรายจ่ายทีไ่ ด้ รับจากการจัดสรรงบประมาณของผลผลิตหรือโครงการใดไปผลผลิตหรือโครงการอื่นภายในงบ รายจ่ายเดียวกันหรือการโอนเงินต่างงบในผลผลิตหรือโครงการเดียวกันภายใต้แผนงานเดียวกัน งบประมาณเบิกแทน หมายถึง งบประมาณรายจ่ายทีส่ ว่ นราชการทีไ่ ด้รบั งบประมาณ (หน่วยงานเจ้าของเรือ่ ง) ไม่สามารถดำ�เนินการเองได้ และจะเปลีย่ นแปลงการดำ�เนินการ โดยมอบ ให้ส่วนราชการอื่น (หน่วยงานผู้เบิกแทน) เข้ามาดำ�เนินการและเบิกจ่ายเงินแทนกัน งบประมาณเหลือจ่าย หมายถึง จำ�นวนเงินที่เหลือจ่าย จากการที่หน่วยงานได้รับการ จัดสรรงบประมาณได้ด�ำ เนินงานตามแผนการปฏิบตั งิ าน และแผนการใช้จา่ ยงบประมาณประจำ�ปี แล้วเสร็จและบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำ�หนดแล้ว รายงาน สงป. หมายถึง รายงานผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณตาม ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘

227


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

หน้าที่ความรับผิดชอบ

228

l อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน เป็นผู้อนุมัติแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่าย งบประมาณประจำ�ปีของกรมการพัฒนาชุมชน ทุกสำ�นัก กอง ศูนย์ฯ / ข้าราชการ ทุกคน รับทราบ และถือปฏิบัติ l สำ�นัก กอง ศูนย์ฯ ซึ่งเป็นหน่วยนำ�ส่งผลผลิต จะต้องจัดทำ�แนวทางการดำ�เนิน กิจกรรมตามยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ทีไ่ ด้รบั งบประมาณประจำ�ปี เจ้าหน้าทีพ่ ฒ ั นาชุมชน ในระดับจังหวัดและอำ�เภอ ถือปฏิบัติตามแนวทางการดำ�เนินงานข้างต้น l อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน โดยกองแผนงานกำ�หนดมาตรการเพื่อถือปฏิบัติตาม ปฏิทินการทำ�งานตามไตรมาส ทุกสำ�นัก กอง ศูนย์ฯ/ ข้าราชการทุกคนรับทราบและถือปฏิบัติ l อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนโดยกองคลังกำ�หนดหลักเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณ งบดำ�เนินงาน เพื่อการบริหารงานประจำ� (ค่าใช้จ่ายในการบริหาร) l กองแผนงานกำ�กับ ดูแล การบริหารงบประมาณ งบดำ�เนินงานรายการกิจกรรม ตามยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน l กองคลังกำ�กับ ดูแล การบริหารงบประมาณ งบบุคลากร งบดำ�เนินงานรายการ ค่าใช้จ่ายในการบริหารงบลงทุนและภาพรวมงบประมาณของกรมการพัฒนาชุมชน l สำ�นัก กอง ศูนย์ สำ�นักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และสำ�นักงานพัฒนาชุมชนอำ�เภอ บริหารงบประมาณทีไ่ ด้รบั อนุมตั ติ ามแผนปฏิบตั งิ านและแผนการใช้จา่ ยงบประมาณประจำ�ปีของ กรมการพัฒนาชุมชน หรือตามที่ได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ให้ปรับแผนการ ปฏิบตั งิ านฯ โดยถือตามระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ และระเบียบว่าด้วย การบริหารงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๕๑, พ.ศ.๒๕๕๒ และพ.ศ.๒๕๕๔


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๒

กระบวนการบริหารงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี แผนผังของกระบวนการบริหารงบประมาณ

229


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

230


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

231


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

232


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

233


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

234


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

235


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

236


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

237


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

238


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๓

กระบวนการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี ขั้นตอนการปฏิบัติงาน มาตรฐานคุณภาพ และการติดตามประเมินผล

239


240

กระบวนการบริหารงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

241


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

242


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

243


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

244


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

245


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

246


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

247


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

248


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

249


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

250


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

251


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

252


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

253


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

254


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

255


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

256


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

257


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

258


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

259


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

260


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

หลักเกณฑ์และวิธีจัดทำ�แผนรายงานผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ ตามระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๘ สำ�หรับใช้ในการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๙ เป็นต้นไป แบบรายงานประกอบด้วย

๑. แบบ สงป. ๓๐๑ ๒. แบบ สงป. ๓๐๒ ๓. แบบ สงป. ๓๐๒/๑ ๔. แบบ สงป. ๓๐๒/๒ ๕. แบบ สงป. ๓๐๒/๓

แบบจัดทำ�แผน/รายงานผลการปฏิบตั งิ านและการใช้จา่ ยงบประมาณ ประจำ � ปี ง บประมาณ พ.ศ. .... เป็ น แบบรายงานที่ แ สดงความ เชื่อมโยงแผน/ผลการปฏิ บั ติ ง านและการใช้ จ่ า ยงบประมาณของ ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ กับผลผลิต/โครงการเป้าหมายการให้บริการ หน่วยงาน เป้าหมายการให้บริการของกระทรวง แผนงบประมาณ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ และประเด็นยุทธศาสตร์ ตามลำ�ดับ โดยให้บันทึกข้อมูลเป็นรายเดือนและจัดทำ�รายงานเป็นรายไตรมาส เพื่อให้สามารถติดตามความก้าวหน้าได้ แบบจั ด ทำ � แผน/รายงานผลการใช้ จ่ า ยงบประมาณตามผลผลิ ต / โครงการ จำ�แนกตามงบรายจ่าย เป็นแบบรายงานให้ส่วนราชการ/ รัฐวิสาหกิจ รายงานรายละเอียดของงบประมาณจำ�แนกตามแผน งบประมาณ งบรายจ่าย และรายการ โดยให้บนั ทึกข้อมูลเป็นรายเดือน และจัดทำ�รายงานเป็นรายไตรมาส แบบรายงานแผน/ผลการจัดซื้อจัดจ้างครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ที่จัดสรรงบประมาณในงบลงทุน เป็นแบบรายงานให้ส่วนราชการ/ รัฐวิสาหกิจ รายงานสถานภาพการจัดซือ้ จัดจ้าง วงเงินทีล่ งนามสัญญา และการใช้จา่ ยงบประมาณ สำ�หรับรายการครุภณ ั ฑ์ ทีด่ นิ และสิง่ ก่อสร้าง ที่จัดสรรงบประมาณในงบลงทุน แบบรายงานแผน/ผลการจัดซื้อจัดจ้างครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ทีจ่ ดั สรรงบประมาณในงบเงินอุดหนุน เป็นแบบรายงานให้สว่ นราชการ/ รัฐวิสาหกิจ รายงานสถานภาพการจัดซือ้ จัดจ้าง วงเงินทีล่ งนามสัญญา และการใช้จา่ ยงบประมาณ สำ�หรับรายการครุภณ ั ฑ์ ทีด่ นิ และสิง่ ก่อสร้าง ที่จัดสรรงบประมาณในงบเงินอุดหนุน แบบรายงานแผน/ผลการจัดซื้อจัดจ้างครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ทีจ่ ดั สรรงบประมาณในงบรายจ่ายอืน่ เป็นแบบรายงานให้สว่ นราชการ/ รัฐวิสาหกิจ รายงานสถานภาพของการจัดซือ้ จัดจ้าง วงเงินทีล่ งนามสัญญา และการใช้จา่ ยงบประมาณ สำ�หรับรายการครุภณ ั ฑ์ ทีด่ นิ และสิง่ ก่อสร้าง ที่จัดสรรงบประมาณในงบรายจ่ายอื่น *************************

261


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

แบบจัดทำ�แผน/รายงานผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ (แบบ สงป. ๓๐๑) ๑. หลักการ เพือ่ ให้มกี ารบริหารและการติดตามการใช้จา่ ยงบประมาณของส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ มีประสิทธิภาพ จึงได้กำ�หนดให้มีการจัดทำ�แผนและรายงานผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่าย งบประมาณ เพื่อให้สามารถติดตามความก้าวหน้าของการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ ซึง่ สอดคล้องกับระบบงบประมาณแบบมุง่ เน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ทีใ่ ห้ความสำ�คัญกับผลสำ�เร็จ ตามยุทธศาสตร์ (Strategic Performance) ในระดับต่าง ๆและเพือ่ ใช้ประโยชน์จากการรายงาน ทีเ่ ป็นรูปธรรมชัดเจน รวมทัง้ ใช้ประกอบในการจัดทำ�งบประมาณรายจ่ายประจำ�ปีในปีตอ่ ไปด้วย

262

๒. วัตถุประสงค์ ๒.๑ เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการงบประมาณของส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ ให้บรรลุผลสำ�เร็จตามประเด็นยุทธศาสตร์ แผนงบประมาณ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ เป้าหมาย การให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการ ตัวชีว้ ดั และกิจกรรม ต่าง ๆ ตามที่ได้วางแผนไว้ และเป็นการรายงาน ผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ เพื่อให้สอดคล้องกับการติดตาม ประเมินผล และการรายงานผล ตามที่กำ�หนดไว้ในระเบียบ ว่าด้วยการบริหารงบประมาณ ๒.๒ ให้สว่ นราชการ/รัฐวิสาหกิจมีความรับผิดชอบต่อผลสำ�เร็จในการบริหารจัดการ งบประมาณมากขึ้น และมีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ซึ่งสอดคล้องกับระบบงบประมาณแบบ มุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ๒.๓ ใช้เป็นเอกสารประกอบการพิจารณาจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำ �ปี ให้หน่วยงานของส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ ซึ่งเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ๒.๔ ใช้ สำ � หรั บ การติ ด ตามผลการปฏิ บั ติ ง านและการใช้ จ่ า ยงบประมาณตลอด ปีงบประมาณ เพือ่ ร่วมกันแก้ไขปัญหาอุปสรรคให้บรรลุเป้าหมายในระดับส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ รวมทั้งเพื่อประโยชน์ในการจัดทำ�งบประมาณรายจ่ายในปีต่อไป ๒.๕ เพือ่ ใช้เป็นเครือ่ งมือให้หน่วยงานในระดับจังหวัดใช้ในการรายงานผลการปฏิบตั ิ งานและการใช้จ่ายงบประมาณต่อส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจต้นสังกัดในส่วนกลาง


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๓. การรายงาน ๓.๑ แบบรายงานจำ�แนกตามโครงสร้างผลผลิต/โครงการ ซึ่งกำ�หนดไว้ในเอกสาร งบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี ฉบับที่ ๓ (เล่มคาดแดง) เพื่อให้ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจใช้แบบ รายงานดังกล่าวรายงานไปยังสำ�นักงบประมาณ ๓.๒ แบบรายงานนีใ้ ช้ส�ำ หรับการจัดทำ�แผน/รายงานผลการปฏิบตั งิ านและการใช้จา่ ย งบประมาณ รวมทั้งเงินงบประมาณที่กันไว้เบิกเหลื่อมปีที่ผ่านมา และเงินนอกงบประมาณด้วย ๓.๓ จัดทำ�รายงานทุกผลผลิต/โครงการ โดยใช้แบบรายงาน สงป. ๓๐๑ ซึ่งแสดง ความเชือ่ มโยงงบประมาณตามประเด็นยุทธศาสตร์ แผนงบประมาณ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการ ตัวชีว้ ดั กิจกรรม โดยเชื่อมโยงงบประมาณเป็นชั้นๆ ตามที่กำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำ �ปี ฉบับที่ ๓ (เล่มคาดแดง) ๓.๔ การจัดทำ�แผนปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ หลังจากพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี ผ่านการพิจารณาของรัฐสภาในวาระที่ ๓ แล้ว ให้บันทึกแผนตาม แบบรายงานลงในระบบสารสนเทศการงบประมาณ (BIS ; Budget Information System) ของสำ�นักงบประมาณจำ�แนกเป็น รายเดือน ให้เสร็จสิน้ ก่อนเริม่ ปีงบประมาณ ไม่นอ้ ยกว่า ๑๕ วัน (๑๕ กันยายน) เพื่อให้สำ�นักงบประมาณพิจารณาให้ความเห็นชอบ ก่อนการจัดสรรงบประมาณ ทางระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ต่อไป ๓.๕ การรายงานผลการปฏิบตั งิ านและการใช้จา่ ยงบประมาณ ให้บนั ทึกการรายงาน ผลทางระบบ GFMIS เป็นรายเดือนทุกเดือน แล้วให้ทำ�การประมวลผลรายงานเป็นรายไตรมาส โดยจัดส่งสำ�นักงบประมาณ ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันสิ้นไตรมาส ๓.๖ การจัดทำ�แผนและการรายงานผล ที่บันทึกเข้าระบบ GFMIS และได้ประมวลผลแล้ว ขอให้จัดส่งรายงานทั้งแผนและผลของแต่ละไตรมาส เป็นเอกสาร จัดส่งให้สำ�นักงบประมาณ อีกทางหนึ่งด้วย ๔. การจัดทำ�แบบรายงาน ๔.๑ แบบรายงาน สงป. ๓๐๑ ๔.๑.๑ กระทรวง หมายถึง ชื่อกระทรวงที่ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจสังกัด ให้ระบุรหัสกระทรวงที่กำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายฉบับที่ ๗ คู่มือรหัสงบประมาณ รายจ่ายประจำ�ปี ๔.๑.๒ ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ หมายถึง ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงาน อืน่ ของรัฐทีม่ ฐี านะเทียบเท่ากรม ให้ระบุรหัสหน่วยงานทีก่ ำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่าย ฉบับที่ ๗

263


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

264

๔.๑.๓ กรณีเป็นการรายงานการจัดทำ�แผนปฏิบตั งิ านและการใช้จา่ ยงบประมาณ ให้ใส่เครื่องหมาย 3 ในช่อง จัดทำ�แผน (กรณีพิมพ์ข้อมูลเป็นกระดาษ) กรณีเป็นการรายงานผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ ให้ใส่เครือ่ งหมาย 3 ในช่อง รายงานผล (กรณีพมิ พ์ขอ้ มูลเป็นกระดาษ) โดยให้ระบุวา่ เป็นการ รายงานในไตรมาสใด ของปีงบประมาณที่รายงานด้วย ๔.๑.๔ ประเด็นยุทธศาสตร์ หมายถึง ยุทธศาสตร์ระดับชาติทเี่ ป็นยุทธศาสตร์ ของรัฐบาลที่ได้กำ�หนดไว้ ตามเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี ฉบับที่ ๓ (เล่มคาดแดง) ให้ระบุเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมายการให้บริการกระทรวง โดยไม่ต้องแสดงรายละเอียด ของแผน/ผลงบประมาณ จำ�แนกตามไตรมาส (ระบบจะประมวลผลงบประมาณให้) ๔.๑.๕ แผนงบประมาณ หมายถึง แผนงบประมาณของส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ ที่กำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี ฉบับที่ ๓ (เล่มคาดแดง) โดยไม่ต้องแสดง รายละเอียดของแผน/ผลงบประมาณ จำ�แนกตามไตรมาส (ระบบจะประมวลผลให้) ๔.๑.๖ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ หมายถึง เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจที่กำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำ �ปี ฉบับที่ ๓ (เล่มคาดแดง) โดยไม่ตอ้ งแสดงรายละเอียดของแผน/ผลงบประมาณ จำ�แนกตามไตรมาส (ระบบ จะประมวลผลให้) ๔.๑.๗ เป้าหมายการให้บริการกระทรวง หมายถึง เป้าหมายการให้บริการ กระทรวงของส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจที่กำ �หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำ �ปี ฉบับที่ ๓ (เล่มคาดแดง) โดยไม่ต้องแสดงรายละเอียดของแผน/ผล จำ�แนกตามไตรมาส (ระบบ จะประมวลผลให้) - ตัวชี้วัด ให้แสดงเป้าหมายการให้บริการกระทรวงที่เกิดขึ้นหรือที่ ต้องการส่งมอบในเชิงปริมาณตามที่กำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี ฉบับที่ ๓ (เล่มคาดแดง) ๔.๑.๘ เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน หมายถึง เป้าหมายการให้บริการ หน่วยงานที่กำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี ฉบับที่ ๓ (เล่มคาดแดง) โดยระบุ เฉพาะกลยุทธ์ทอี่ ยูภ่ ายใต้เป้าหมายการให้บริการของกระทรวง ข้อนัน้ ๆ และเรียงตามลำ�ดับของ แต่ละกลยุทธ์ โดยไม่ต้องแสดงรายละเอียดของแผน/ผลงบประมาณ จำ�แนกตามไตรมาส (ระบบ จะประมวลผลให้) - ตัวชี้วัด ให้แสดงเป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ที่เกิดขึ้นหรือ ที่ต้องการส่งมอบในเชิงปริมาณและคุณภาพตามที่กำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่าย ประจำ�ปี ฉบับที่ ๓


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๔.๑.๙ ผลผลิต หมายถึง ผลผลิตที่กำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่าย ประจำ�ปี ฉบับที่ ๓ (เล่มคาดแดง) ซึ่งอยู่ภายใต้เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน และเป้าหมาย การให้บริการของกระทรวงข้างต้น ตามลำ�ดับ ภายใต้แต่ละเป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน และเป้าหมายการให้บริการกระทรวงนัน้ ๆ โดยไม่ตอ้ งแสดงรายละเอียดของแผน/ผลงบประมาณ จำ�แนกตามไตรมาส (ระบบจะประมวลผลให้) ๔.๑.๑๐ แผนการปฏิบัติงาน หมายถึง แผนการปฏิบัติงานที่จะดำ�เนินการใน รอบปีงบประมาณ ๑) ตัวชีว้ ดั ให้แสดงตัวบ่งชีส้ ภาพความสำ�เร็จหรือการบรรลุเป้าหมาย ในระดับผลผลิตที่เกิดขึ้นใน ๔ มิติ ดังนี้ - เชิงปริมาณ ให้แสดงเป้าหมายในระดับผลผลิตที่เกิดขึ้นหรือที่ ต้องการ ส่งมอบในเชิงปริมาณตามที่กำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี ฉบับที่ ๓ (เล่มคาดแดง) ทุกเดือน - เชิงคุณภาพ ให้แสดงตัวบ่งชี้สภาพความสำ�เร็จหรือการบรรลุ เป้าหมายในระดับผลผลิตที่เกิดขึ้นในเชิงคุณภาพตามที่ก�ำ หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่าย ประจำ�ปี ฉบับที่ ๓ (เล่มคาดแดง) ในภาพรวมทั้งปี - เชิงเวลา ให้แสดงตัวบ่งชี้สภาพความสำ �เร็จหรือการบรรลุ เป้าหมายในระดับผลผลิตทีเ่ กิดขึน้ ในเชิงระยะเวลาตามทีก่ ำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่าย ประจำ�ปี ฉบับที่ ๓ (เล่มคาดแดง) ในภาพรวมทั้งปี - เชิงค่าใช้จ่าย ให้แสดงตัวบ่งชี้สภาพความสำ�เร็จหรือการบรรลุ เป้าหมายในระดับผลผลิตที่เกิดขึ้นในเชิงค่าใช้จ่าย โดยอาจเป็นค่าใช้จ่ายต่อผลผลิต ค่าใช้จ่าย ต่อหน่วยการผลิต ค่าใช้จ่ายต่อกิจกรรม ตามที่กำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี ฉบับที่ ๓ (เล่มคาดแดง) ในภาพรวมทั้งปี ๒) กิจกรรมหลัก คือ กิจกรรมหรือขัน้ ตอนการดำ�เนินงานทีส่ �ำ คัญและ จำ�เป็นที่จะดำ�เนินการเพื่อให้ได้ผลผลิต (กระบวนการนำ�ส่งผลผลิต) ทั้งนี้ กิจกรรมหลักที่กำ�หนด ต้องสามารถวัดความก้าวหน้าในการดำ�เนินงานด้านปริมาณ ได้เป็นรายเดือนและรายไตรมาส นอกจากนี้ กิจกรรมแต่ละกิจกรรมต้องมีหน่วยวัดทีช่ ดั เจน และหน่วยวัดกิจกรรมต่างๆ ไม่จำ�เป็น ต้องมีหน่วยวัดเดียวกัน และเมื่อรวมงบประมาณค่าใช้จ่ายของกิจกรรมหลักทั้งหมดแล้ว จะต้อง เท่ากับงบประมาณของผลผลิต นั้น ๔.๑.๑๑ การใช้จา่ ยงบประมาณ แสดงถึงงบประมาณทีใ่ ช้ในรอบปีงบประมาณ ๑) เงินงบประมาณ เงินงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปีที่ได้รับสำ�หรับ การผลิตผลผลิตนั้น (ระบบจะประมวลผลให้)

265


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

266

- กิจกรรมหลัก จะต้องระบุงบประมาณตามที่กำ�หนดไว้ในแต่ละ กิจกรรม ซึ่งจะต้องสอดคล้องกับกิจกรรมหลักในแผนการปฏิบัติงาน (ในข้อ ๔.๑.๑๐(๒)) โดยให้ บันทึกข้อมูลเป็นรายเดือน ๒) เงินงบประมาณที่กันไว้เบิกเหลื่อมปี หมายถึง เงินงบประมาณ รายจ่ายประจำ�ปีของปีที่ผ่านๆ มา ซึ่งได้รับอนุมัติให้กันเงินไว้เบิกจ่ายเหลื่อมปีสำ�หรับผลผลิต/ โครงการนั้น ให้บันทึกข้อมูลเป็นรายเดือน ๓) เงินนอกงบประมาณ เงินทีใ่ ช้ในการดำ�เนินงานตามกิจกรรมต่างๆ เพือ่ ให้ได้ผลผลิต/โครงการ นอกเหนือจากเงินงบประมาณ เช่น เงินรายได้ เงินกู้ เป็นต้น ให้บนั ทึก ข้อมูลเป็นรายเดือน ๔.๑.๑๒ โครงการ หมายถึง โครงการตามที่กำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณ รายจ่ายประจำ�ปี ฉบับที่ ๓ (เล่มคาดแดง) ๔.๑.๑๓ คำ�ชี้แจงเพิ่มเติม เพือ่ ให้การรายงานตามแบบรายงานแผน/ผลการปฏิบตั งิ านและการใช้ จ่ายงบประมาณ สามารถแสดงถึงความก้าวหน้าในการดำ�เนินงานของผลผลิต/โครงการ ตัวชี้วัด และกิจกรรม (ขัน้ ตอนการดำ�เนินงาน) ในแต่ละไตรมาสได้ชดั เจนยิง่ ขึน้ ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ อาจสรุปคำ�ชี้แจงเพิ่มเติมในแต่ละผลผลิต/โครงการ ตัวชี้วัด กิจกรรม เพิ่มขึ้นให้ชัดเจนตามที่ ต้องการ ๔.๑.๑๔ ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข กรณีที่มีปัญหาอุปสรรคในการปฏิ บั ติ ง านและ/หรื อ ในการใช้ จ่ า ย งบประมาณ ซึ่งมีผลกระทบต่อผลการปฏิบัติงานและ/หรือผลการใช้จ่ายงบประมาณ ให้ต่างไป จากแผนทีก่ �ำ หนดหรือกรณีอนื่ ๆ ให้ระบุรายละเอียดโดยสรุป รวมทัง้ อาจให้ขอ้ เสนอแนะ แนวทาง ในการแก้ไขปัญหาด้วย ๔.๑.๑๕ ผู้รายงาน ให้หวั หน้าส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจลงนามในแบบรายงาน รวมทัง้ ระบุ ตำ�แหน่ง ผู้รายงาน วัน/เดือน/ปี ที่รายงาน และหมายเลขโทรศัพท์ของผู้รายงานด้วย (ลงนาม กำ�กับในเอกสารที่พิมพ์จากระบบอิเล็กทรอนิกส์) ๔.๑.๑๖ การพิจารณาของสำ�นักงบประมาณ สำ�นักงบประมาณจะพิจารณาแผนการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบ ประมาณ รวมทั้งติดตามผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณในแต่ละไตรมาส พร้อมทั้ง ให้ความเห็นหรือข้อสังเกต (ถ้ามี) และร่วมกันพิจารณาหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาอุปสรรค เพื่อให้การดำ�เนินงานบรรลุผลสำ�เร็จตามเป้าหมายที่กำ�หนดไว้ **************************************


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

แบบจัดทำ�แผน/รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณ ตามผลผลิต/โครงการ จำ�แนกตามงบรายจ่าย (แบบรายงาน สงป. ๓๐๒) ๑. หลักการ ๑.๑ เพื่อให้มีการจัดทำ�แผน/รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณ ของส่วนราชการ/ รัฐวิสาหกิจ ประจำ�ปีงบประมาณ ตามโครงสร้างแผนงบประมาณ ผลผลิต/โครงการ งบรายจ่าย และรายการต่าง ๆ ตามทีก่ �ำ หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี ฉบับที่ ๓ (เล่มคาดแดง) สำ�หรับเป็นข้อมูลสารสนเทศและเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการงบประมาณ และเร่งรัดการ ปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณตามนโยบายรัฐบาล ๑.๒ เพือ่ ให้สว่ นราชการ/รัฐวิสาหกิจ กำ�หนดแผนในการใช้จา่ ยงบประมาณ ให้สามารถ ใช้จา่ ยงบประมาณได้ตามช่วงเวลา และบรรลุผลสัมฤทธิต์ ามเป้าหมายทีก่ �ำ หนดไว้ในระดับต่าง ๆ ๑.๓ การจัดทำ�แบบจัดทำ�แผน/รายงานผลการใช้จา่ ยงบประมาณดังกล่าว ให้ด�ำ เนิน การจัดส่งพร้อมกับแบบรายงาน สงป. ๓๐๑ ๒. การจัดทำ�แบบรายงาน ๒.๑ กระทรวง หมายถึง กระทรวงทีส่ ว่ นราชการ/รัฐวิสาหกิจสังกัด ให้ระบุรหัสกระทรวง ที่กำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายฉบับที่ ๗ คู่มือรหัสงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี ๒.๒ ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ หมายถึง ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่น ของรัฐทีม่ ฐี านะเทียบเท่ากรม ตามรหัสหน่วยงานทีก่ �ำ หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่าย ฉบับที่ ๗ คู่มือรหัสงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี ๒.๓ แผนงบประมาณ หมายถึง แผนงบประมาณตามเอกสารงบประมาณ พร้อมให้ระบุ รหัส ที่กำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่าย ฉบับที่ ๗ คู่มือรหัสงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี ๒.๔ เป้าหมายการให้บริการกระทรวง หมายถึง เป้าหมายการให้บริการกระทรวง ตามเอกสารงบประมาณ พร้อมทั้งระบุรหัสที่กำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่าย ฉบับที่ ๗ คู่มือรหัสงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี ๒.๕ ผลผลิต/โครงการ หมายถึง ผลผลิต/โครงการตามเอกสารงบประมาณ หรือ ผลผลิต/โครงการที่กำ�หนดขึ้นใหม่ในระหว่างปีงบประมาณ ตามรหัสผลผลิต/โครงการที่กำ�หนด ไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่าย ฉบับที่ ๗ คูม่ อื รหัสงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี หรือทีก่ ำ�หนด ขึ้นใหม่ในระหว่างปีงบประมาณ

267


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

268

๒.๖ ประเภทรายจ่าย รายการ หมายถึง รายการงบประมาณที่กำ�หนดไว้ในเอกสาร งบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี ฉบับที่ ๓ (เล่มคาดแดง) โดยสำ�นักงบประมาณจะถ่ายโอนข้อมูล ระดับรายการทุกรายการ จากระบบ BIS ไปไว้ในยอดรวมทัง้ สิน้ ของแบบรายงาน ให้สว่ นราชการ/ รัฐวิสาหกิจนำ�วงเงินงบประมาณรวมของแต่ละรายการ แยกเป็นรายเดือนตามกำ�หนดแผนการ เบิกจ่าย ว่าจะเบิกจ่ายในเดือนไหน เป็นจำ�นวนเท่าใด เพื่อบันทึกข้อมูลงบประมาณดังกล่าวลง ในระบบ เป็นรายเดือน สำ�หรับรายการครุภัณฑ์ ทีดินและสิ่งก่อสร้าง ทั้งที่อยู่ในงบลงทุน งบเงินอุดหนุน หรือ งบรายจ่ายอื่น ระบบจะประมวลผลข้อมูลมาจากข้อมูลที่บันทึกในแบบรายงาน สงป. ๓๐๒/๑, สงป. ๓๐๒/๒ หรือ สงป. ๓๐๒/๓ ตามลำ�ดับ ๒.๗ เงินงบประมาณทีก่ นั ไว้เบิกเหลือ่ มปีทผี่ า่ นมา หมายถึง เงินงบประมาณปีกอ่ น ที่กระทรวงการคลังอนุมัติให้กันไว้เบิกเหลื่อมปี ให้นำ�มาบันทึกในการจัดทำ�แผน โดยใช้วงเงินกัน ของแต่ละผลผลิต/โครงการ มาบันทึกในช่องรวมทัง้ สิน้ และแบ่งเงินกันดังกล่าวเป็นรายเดือนเพือ่ บันทึกตามแผนที่จะเบิกจ่าย ๒.๘ เงินนอกงบประมาณ หมายถึง เงินนอกงบประมาณที่ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ กำ�หนดแผนจะนำ�มาใช้ ให้จดั ทำ�แผนตามวงเงินทีก่ ำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี ฉบับที่ ๓ (เล่มคาดแดง) โดยสำ�นักงบประมาณจะถ่ายโอนข้อมูลในระบบ BIS ไปไว้ในยอดรวม ทัง้ สิน้ ของแบบรายงาน ให้สว่ นราชการ/รัฐวิสาหกิจนำ�วงเงินงบประมาณดังกล่าว แยกเป็นรายเดือน ตามกำ�หนดแผนการเบิกจ่าย ว่าจะเบิกจ่ายในเดือนไหน เป็นจำ�นวนเท่าใด เพือ่ บันทึกข้อมูลงบประมาณ ดังกล่าวลงในระบบ เป็นรายเดือน ๒.๙ ผู้รายงาน ให้ลงนามผู้รายงาน ตำ�แหน่งของผู้รายงาน พร้อมทั้งระบุ วัน/เดือน/ปี และหมายเลขโทรศัพท์ที่ติดต่อได้ (ลงนามกำ�กับในเอกสารที่พิมพ์จากระบบอิเล็กทรอนิกส์) *********************************


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

แบบจัดทำ�แผน/รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ที่จัดสรรงบประมาณในงบต่าง ๆ (แบบรายงาน สงป. ๓๐๒/๑ สงป. ๓๐๒/๒ และ สงป. ๓๐๒/๓) ๑. หลักการ ๑.๑ เพื่อให้มีการจัดทำ�แผน/ผลของการจัดซื้อจัดจ้างและการเบิกจ่ายงบประมาณ ของส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ ประจำ�ปีงบประมาณ ในระดับผลผลิต/โครงการ และรายการสำ�หรับ เป็นข้อมูลสารสนเทศและเป็นเครือ่ งมือในการกำ�กับการบริหารจัดการงบประมาณ เพือ่ ให้เกิดการ เร่งรัดการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณตามนโยบายรัฐบาล ๑.๒ เพื่อให้ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ กำ�หนดแผนการจัดซื้อจัดจ้างให้สามารถทำ� สัญญาก่อหนีผ้ กู พันได้ ตัง้ แต่ตน้ ปีงบประมาณ หรือภายในไตรมาสที่ ๒ ของปีงบประมาณ รวมทัง้ เพือ่ ให้ผลการใช้จา่ ยงบประมาณรายจ่ายลงทุนเข้าสูร่ ะบบเศรษฐกิจของประเทศเป็นไปตามเป้าหมายที่ คณะรัฐมนตรีกำ�หนด ๑.๓ การจัดทำ�แบบจัดทำ�แผน/รายงานผลการจัดซือ้ จัดจ้างครุภณ ั ฑ์ ทีด่ นิ และสิง่ ก่อสร้าง ดังกล่าว ให้ดำ�เนินการพร้อมกับการจัดส่งแบบรายงาน สงป. ๓๐๑ และ สงป. ๓๐๒ ๒. การจัดทำ�แบบรายงาน ๒.๑ กระทรวง หมายถึงกระทรวงที่ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจสังกัดอยู่ พร้อมให้ระบุ รหัสกระทรวงที่กำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายฉบับที่ ๗ คู่มือรหัสงบประมาณรายจ่าย ประจำ�ปี ๒.๒ ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ หมายถึง ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอืน่ ของรัฐทีม่ ฐี านะเทียบเท่ากรม ทีไ่ ด้รบั งบประมาณทีม่ รี ายการครุภณ ั ฑ์ รายการทีด่ นิ และรายการ สิง่ ก่อสร้างไม่วา่ จะกำ�หนดไว้ในงบรายจ่ายใด โดยจัดทำ�แยกเป็นผลผลิต/โครงการ ตามรหัสหน่วย งานที่กำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายฉบับที่ ๗ คู่มือรหัสงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี ๒.๓ แผนงบประมาณ หมายถึง แผนงบประมาณตามเอกสารงบประมาณ พร้อมให้ ระบุรหัส ที่กำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่าย ฉบับที่ ๗ คู่มือรหัส งบประมาณรายจ่าย ประจำ�ปี ๒.๔ เป้าหมายการให้บริการกระทรวง หมายถึง เป้าหมายการให้บริการกระทรวง ตามเอกสารงบประมาณ พร้อมให้ระบุรหัสที่กำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่าย ฉบับที่ ๗ คู่มือรหัส งบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี

269


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

270

๒.๕ ผลผลิต/โครงการ หมายถึง ผลผลิต/โครงการตามเอกสารงบประมาณ หรือ ผลผลิต/โครงการที่กำ�หนดขึ้นใหม่ในระหว่างปีงบประมาณ ตามรหัสผลผลิต/โครงการที่กำ�หนด ไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่าย ฉบับที่ ๗ คูม่ อื รหัสงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี หรือทีก่ ำ�หนด ขึ้นใหม่ในระหว่างปีงบประมาณ ๒.๖ หน่วยนับ หมายถึง หน่วยนับของรายการครุภัณฑ์ รายการที่ดิน และรายการ สิง่ ก่อสร้างทีจ่ ะดำ�เนินการจัดซือ้ จัดจ้าง และใช้จา่ ยงบประมาณภายในปีงบประมาณ ตามหน่วยนับ ที่กำ�หนดไว้ในเอกสารงบประมาณ เช่น เครื่อง แห่ง กิโลเมตร ไร่ เป็นต้น ๒.๗ ประเภทรายจ่าย รายการ หมายถึง รายการครุภณ ั ฑ์ รายการทีด่ นิ และรายการ สิง่ ก่อสร้าง ทุกรายการไม่วา่ จะจัดสรรงบประมาณไว้ในงบรายจ่ายใด ตามเอกสารงบประมาณราย จ่ายประจำ�ปีหรือ ที่กำ�หนดขึ้นใหม่ระหว่างปีงบประมาณ โดยไม่จำ�กัดวงเงินงบประมาณ ๒.๘ งบประมาณ หมายถึง เงินงบประมาณของรายการครุภัณฑ์ รายการที่ดิน และ รายการสิ่งก่อสร้าง ตามเอกสารงบประมาณประมาณรายจ่ายประจำ�ปี หรือที่กำ�หนดขึ้นใหม่ ระหว่างปีงบประมาณ ๒.๙ สถานภาพการจัดซื้อจัดจ้าง หมายถึง การดำ�เนินการในกระบวนการจัดซื้อจัด จ้าง และการเบิกจ่ายงบประมาณของแต่ละรายการ ตามแผน/ผลที่ได้รายงานในแต่ละเดือน ๑) การลงนามสัญญา หมายถึง กำ�หนดการทำ�สัญญาก่อหนีผ้ กู พัน เพือ่ การจัด ซือ้ จัดจ้าง ให้บนั ทึกวงเงินงบประมาณของรายการครุภณ ั ฑ์ รายการทีด่ นิ หรือรายการสิง่ ก่อสร้าง แล้วแต่กรณีลงในช่องเดือนที่จะลงนามในสัญญา - การจัดทำ�แผน ให้ระบุวงเงินงบประมาณตามที่ได้รับจัดสรรทั้งจำ�นวน - การรายงานผล ให้ระบุผลการใช้จา่ ยจริง ซึง่ เกิดจากการจัดซือ้ จัดจ้างใน รายการนั้น ๆ ๒) การใช้จ่าย หมายถึง การใช้จ่ายงบประมาณ ให้บันทึกงบประมาณที่จะ เบิกจ่าย ในช่องเดือนใด ๆ ของรายการครุภัณฑ์ รายการที่ดิน หรือรายการสิ่งก่อสร้างที่ลงนาม ในสัญญาข้างต้น - การจัดทำ�แผน ให้ระบุวงเงินงบประมาณตามที่ได้รับจัดสรร ว่าจะเบิก จ่ายเดือนไหน จำ�นวนเท่าใด - การรายงานผล ให้ระบุผลการใช้จา่ ยจริง ซึง่ เกิดจากการจัดซือ้ จัดจ้างใน รายการนั้น ๆ ๒.๑๐ ผู้รายงาน ให้ลงนามผู้รายงาน ตำ�แหน่งของผู้รายงาน พร้อมทั้งระบุ วัน/เดือน/ปี และหมายเลขโทรศัพท์ที่ติดต่อได้ (ลงนามกำ�กับในเอกสารที่พิมพ์จากระบบอิเล็กทรอนิกส์) **************************


คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการ พัฒนาระบบราชการ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

บทสรุปผู้บริหาร

272

กระบวนการพัฒนาระบบราชการ เป็นกระบวนการสนับสนุนที่สำ�คัญสอดคล้องกับ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA) หมวด ๖ การจัดการกระบวนการ ซึ่งกรมการพัฒนาชุมชน ใช้เป็นเครื่องมือสำ�คัญใน การขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ ภารกิจ และการปฏิบตั ริ าชการตามภารกิจกรม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และบรรลุเป้าหมาย การดำ�เนินงานตามกระบวนการพัฒนาระบบราชการ กรมการพัฒนาชุมชนมอบหมาย ให้กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร จัดทำ�กระบวนการพัฒนาระบบราชการ เพื่อให้บุคลากรของ กรมการพัฒนาชุมชนสามารถใช้ประโยชน์จาก “คูม่ อื การปฏิบตั งิ านกระบวนการพัฒนาระบบราชการ” สำ�หรับปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการพัฒนาระบบราชการ จัดทำ�ขึน้ โดยมีเนือ้ หาทีค่ รอบคลุม ๔ กระบวนการย่อย ได้แก่ การจัดทำ�คำ�รับรองการปฏิบัติราชการ (PA) การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) นโยบายการกำ�กับดูแลองค์การทีด่ ี (OG) ค่านิยมองค์การ (Values) โดยทุกกระบวนการย่อย ได้อธิบายรายละเอียดของการดำ�เนินงานแต่ละขัน้ ตอน เพือ่ ให้ผใู้ ช้ประโยชน์จากคูม่ อื ได้มองเห็น ภาพรวมและเส้นทางการปฏิบัติงานจากจุดเริ่มต้นถึงจุดสิ้นสุดของงานได้อย่างชัดเจน จากการพั ฒ นาระบบราชการตามยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาระบบราชการไทย กรมการพัฒนาชุมชน โดยกลุ่มพัฒนาระบบบริหารมีการนำ�คำ�รับรองการปฏิบัติราชการ (PA) มาใช้เป็นเครื่องมือการบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ ที่ช่วยให้ผู้บังคับบัญชา และผู้ใต้บังคับ บัญชาในฐานะเป็นผู้รับผิดชอบการปฏิบัติงาน เกิดความเข้าใจร่วมกันและมีความคาดหวังที่ตรงกัน เกี่ยวกับการดำ�เนินงานและการปรับปรุงการดำ�เนินงานให้ดีขึ้น ประกอบกับมีการนำ�นโยบาย การกำ�กับดูแลองค์การที่ดี เป็นเครื่องมือกำ�กับดูแลองค์กร และนำ�ค่านิยมองค์การมาใช้เป็น เครื่องมือ ในการขับเคลื่อนกิจกรรม / โครงการตามระบบงานโดยจากกระบวนการดำ�เนินงาน ดังกล่าวมีการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบ การปฏิบัติงาน เพื่อให้องค์กรมีการพัฒนานำ�ไปสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง เกิดประโยชน์สุข ต่อประชาชน ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๑

การพัฒนาระบบราชการ ความเป็นมาและความสำ�คัญในการจัดทำ�คู่มือ

๑. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓/๑บัญญัตวิ า่ “การบริหารราชการต้องเป็นไปเพือ่ ประโยชน์สขุ ของประชาชนเกิดผลสัมฤทธิต์ อ่ ภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำ�เป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำ�นาจตัดสินใจ การอำ�นวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของ ประชาชน มีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน การปรับปรุงคุณภาพการให้บริการจึงเป็นแนวทางหนึ่ง ที่จำ�เป็นอย่างยิ่งเพื่อให้การบริหารราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถตอบสนอง ตามความต้องการของประชาชน ในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องส่วนราชการต้องใช้วธิ กี ารบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ค�ำ นึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติราชการ การมีส่วนร่วม ของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติราชการ ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ” ๒. พระราชกฤษฎี ก าว่ า ด้ ว ยหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารบริ ห ารกิ จ การบ้ า นเมื อ งที่ ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๑๒ กำ�หนดว่าเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ก.พ.ร. อาจเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพือ่ กำ�หนดมาตรการกำ�กับการปฏิบตั ริ าชการ โดยวิธกี ารจัดทำ�ความ ตกลงเป็นลายลักษณ์อกั ษร หรือโดยวิธกี ารอืน่ ใด เพือ่ แสดงความรับผิดชอบในการปฏิบตั ริ าชการ และมาตรา ๔๕ กำ�หนดให้ส่วนราชการจัดให้มีคณะผู้ประเมินอิสระดำ�เนินการประเมินผลการ ปฏิบตั ริ าชการของส่วนราชการเกีย่ วกับผลสัมฤทธิข์ องภารกิจ คุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจ ของประชาชนผู้รับบริการ ความคุ้มค่าในภารกิจ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่ ก.พ.ร. กำ�หนด ๓. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. ๒๕๕๑ - พ.ศ. ๒๕๕๕) ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การมุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อมและความ สามารถในการเรียนรู้ คิดริเริ่ม เปลี่ยนแปลง และปรับตัวได้อย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ต่างๆ

273


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

274

โดยมีการปรับปรุงกลไกและระบบการประเมินผลตามคำ�รับรองการปฏิบัติราชการให้เหมาะสม สอดรับกับพันธกิจและลักษณะของหน่วยงานของรัฐ สามารถวัดผลได้ ทั้งในระดับองค์การและ ระดับบุคคล รวมทั้งการพัฒนามาตรการเสริมสร้างแรงจูงใจตามผลงาน ๔. คณะรัฐมนตรีได้มมี ติเมือ่ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๖ มีมติเห็นชอบ ในหลักการ และรายละเอียดของแนวทางและวิธีการในการสร้างแรงจูงใจเพื่อเสริมสร้าง การบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี ที่สำ�นักงาน ก.พ.ร. เสนอโดยกำ�หนดให้ทุกส่วนราชการจะต้องทำ�การพัฒนาการ ปฏิบัติราชการและทำ�ข้อตกลงผลงานกับผู้บังคับบัญชาและคณะกรรมการเจรจาข้อตกลงและ ประเมินผล และจะได้รับสิ่งจูงใจตามระดับของผลงานตามที่ตกลง สำ�หรับในคู่มือนี้ ได้ปรับปรุงมาจากคู่มือกระบวนการพัฒนาองค์กร ฉบับปี พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยปรับปรุงเป็นคู่มือ “กระบวนการพัฒนาระบบราชการ” เพื่อจะนำ�เสนอใน ภาพรวมของกระบวนการทีเ่ กีย่ วกับการพัฒนาระบบราชการ โดยประกอบด้วยกระบวนการย่อย ได้แก่ การจัดทำ�คำ�รับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement : PA) การพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA) นโยบายการกำ�กับดูแลองค์การที่ดี (Organizational Governance : OG) และค่านิยมองค์การ (Values) ดังนั้น เพื่อให้หน่วยงาน มีเครื่องมือสำ�คัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ภารกิจ และการปฏิบัติราชการตามภารกิจกรม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และบรรลุเป้าหมาย กรมการพัฒนาชุมชนจึงได้จัดทำ�คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการพัฒนาระบบราชการซึ่งเป็น ส่วนหนึง่ ของการนำ�กระบวนการไปปฏิบตั เิ พือ่ ให้บรรลุผลตามข้อกำ�หนดทีส่ �ำ คัญ ซึง่ แสดงให้เห็น จุดเริม่ ต้นและจุดสิน้ สุดของงาน เพือ่ ให้ผปู้ ฏิบตั งิ านได้ใช้อา้ งอิงมิให้เกิดข้อผิดพลาดในการทำ�งาน และเป็นการสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติงาน โดยเนื้อหารายละเอียดของคู่มือการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย แผนผังกระบวนการและมาตรฐานคุณภาพงาน ซึง่ เป็นข้อกำ�หนดในการปฏิบตั งิ าน ทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ

วัตถุประสงค์ การจัดทำ�คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการพัฒนาระบบราชการ เล่มนี้ จัดทำ�ขึ้นโดยมี วัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑. เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงาน ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้สนใจ ได้มีความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอน และ วิธีการพัฒนาระบบราชการ ๒. เพือ่ ให้การพัฒนาระบบราชการมีการปฏิบตั ริ าชการทีม่ งุ่ ผลสัมฤทธิแ์ ละประโยชน์สขุ ของประชาชน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ขอบเขตของกระบวนการ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร เป็นผู้รับผิดชอบหลักในกระบวนการพัฒนาระบบราชการ โดยในปี ๒๕๕๕ มีขอบเขตการดำ�เนินงานในกระบวนการย่อย ๔ กระบวนการย่อย ดังนี้ ๑. การจัดทำ�คำ�รับรองการปฏิบัติราชการ ๒. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ๓. นโยบายการกำ�กับดูแลองค์การที่ดี ๔. ค่านิยมองค์การ โดยทุกกระบวนการย่อยได้อธิบายรายละเอียดของการดำ�เนินงานแต่ละขั้นตอน เพื่อให้ ผู้ใช้ประโยชน์จากคู่มือได้มองเห็นภาพรวมและเส้นทางการปฏิบัติงานจากจุดเริ่มต้นถึงจุดสิ้นสุด ของงานได้อย่างชัดเจน

กรอบแนวคิด องค์กรมีขีดสมรรถนะสูงเกิดประโยชน์สุขต่อประชาชน

๑. การจัดทำ�คำ�รับรอง การปฏิบัติราชการ (PA)

๓. นโยบายการกำ�กับ ดูแลองค์การที่ดี (OG)

๒. การพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ (PMQA)

๔. ค่านิยมองค์การ (Values)

กระบวนการพัฒนาระบบราชการ ภาพประกอบ ๑ กรอบแนวคิดในการจัดทำ�คู่มือ

275


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญและตัวชี้วัดกระบวนการ

276

คำ�จำ�กัดความ

คำ � หรื อ ประโยคที่ ใช้ ใ นคู่ มื อ เล่ ม นี้ เ ป็ น การกล่ า วถึ ง ส่ ว นต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ กรมการพัฒนาชุมชน ซึ่งมีคำ�หรือประโยคที่จำ�กัดความไว้ ดังนี้ คำ�รับรองการปฏิบัติราชการ หมายถึง เครื่องมือการบริหารรัฐกิจสมัยใหม่ที่จะช่วยให้ เกิดการบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี (Good Governance) ตามนัยของมาตรา ๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบ บริหารราชแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕ ) พ.ศ.๒๕๔๕ และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี พ.ศ.๒๕๔๖ เช่น ในเรือ่ งของภาระรับผิดชอบ (Accountability) เพือ่ ตอบคำ�ถามหรือให้ข้อมูลแก่ประชาชนเกี่ยวกับการใช้อำ�นาจรัฐและการใช้เงินแผ่นดินว่าก่อให้ เกิดประสิทธิผล ความคุ้มค่า ประสิทธิภาพ และคุณภาพการให้บริการหรือไม่ อย่างไร และเพื่อ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและการติดตามผลการดำ�เนินงานของหน่วยงาน ภาครัฐ ตลอดจนให้บุคลากรทุกระดับในองค์การมีส่วนร่วมและรับผิดชอบต่อการปฏิบัติตาม ยุทธศาสตร์และภารกิจหลัก ตัวชี้วัด (KPI Template) หมายถึง หน่วยวัดความสำ�เร็จของการปฏิบัติงานที่ถูก กำ�หนดขึ้น โดยเป็นหน่วยวัดที่ควรมีผลเป็นตัวเลขที่นับได้จริง และต้องสื่อถึงเป้าหมายในการ ปฏิบตั งิ านสำ�คัญ ทัง้ นีเ้ พือ่ สร้างความชัดเจนในการกำ�หนด ติดตามและประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ในด้านต่างๆ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA) หมายถึง กรอบการบริหารจัดการองค์การ ที่สำ�นักงาน ก.พ.ร. ได้ส่งเสริม และสนับสนุนให้สว่ นราชการนำ�ไปใช้ในการประเมินองค์การด้วยตนเอง ทีค่ รอบคลุมภาพรวมใน ทุกมิติ เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล โดยมุ่งเน้นให้หน่วยงาน ราชการปรับปรุงองค์การอย่างรอบด้านและอย่างต่อเนื่องครอบคลุมทั้ง ๗ ด้าน (หมวด) ดังนี้ หมวด ๑ การนำ�องค์การ เป็นการประเมินการดำ�เนินการของผูบ้ ริหารในเรือ่ งวิสยั ทัศน์ เป้าประสงค์ ค่านิยม ความคาดหวัง ในผลการดำ�เนินการ การให้ความสำ�คัญกับผูร้ บั บริการและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย การกระจายอำ�นาจ 277 การตัดสินใจ การสร้างนวัตกรรมและการเรียนรู้ในส่วนราชการ การกำ�กับดูแลตนเองที่ดี และ ดำ�เนินการเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชน หมวด ๒ การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ เป็นการประเมินวิธีการกำ�หนดและถ่ายทอดประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ กลยุทธ์หลัก และแผนปฏิบตั ริ าชการ เพือ่ นำ�ไปปฏิบตั แิ ละวัดผลความก้าวหน้าของการดำ�เนินการ หมวด ๓ การให้ความสำ�คัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เป็นการประเมินการกำ�หนดความต้องการ ความคาดหวัง และความนิยมชมชอบ การสร้างความ สัมพันธ์ และการกำ�หนดปัจจัยสำ�คัญที่ทำ�ให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความพึงพอใจ หมวด ๔ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ เป็นการประเมินการเลือก รวบรวม วิเคราะห์ จัดการ และปรับปรุงข้อมูลและสารสนเทศ และ การจัดการความรู้ เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการปรับปรุงผลการดำ�เนินการขององค์การ หมวด ๕ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล เป็นการประเมินระบบงาน ระบบการเรียนรู้ การสร้างความผาสุกและแรงจูงใจของบุคลากร เพื่อให้ บุคลากรพัฒนาตนเองและใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่ตามทิศทางองค์การ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

278

หมวด ๖ การจัดการกระบวนการ เป็นการประเมินการจัดการกระบวนการ การให้บริการ และกระบวนการอืน่ ทีช่ ว่ ยสร้างคุณค่าแก่ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และกระบวนการสนับสนุน เพื่อให้บรรลุพันธกิจขององค์การ หมวด ๗ ผลลัพธ์การดำ�เนินการ เป็นการประเมินผลการดำ�เนินการและแนวโน้มของส่วนราชการในมิติด้านประสิทธิผล มิติด้าน คุณภาพการให้บริการ มิติด้านประสิทธิภาพ และมิติด้านการพัฒนาองค์การ นโยบายการกำ�กับดูแลองค์การที่ดี (Organizational Governance : OG) หมายถึง การประกาศเจตนารมณ์ขององค์การ ที่จะมุ่งดำ�เนินการตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน โดยครอบคลุมสาระมุมมองสำ�คัญ 4 ด้าน ประกอบด้วยด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม ด้านผู้รับบริการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านองค์การและด้าน ผูป้ ฏิบตั งิ าน รวมทัง้ กำ�หนดแนวทางปฏิบตั ิ และมาตรการหรือโครงการ เพือ่ ปฏิบตั ใิ ห้บรรลุผลตาม นโยบายขององค์การในแต่ละด้านดังกล่าว ค่านิยมองค์การ (Values) หมายถึง หลักการชีน้ � ำ (Guiding Principle) หรือพฤติกรรม ที่องค์กรหรือคนในองค์กรคาดหวังที่จะปฏิบัติ ค่านิยมจะเป็นตัวสะท้อนหรือ มีอิทธิพลต่อ วัฒนธรรมองค์กรที่คาดหวัง และค่านิยมจะเป็นตัวสนับสนุนหรือชี้นำ� การตัดสินใจของสมาชิก ทุกคนในองค์กร และเป็นตัวช่วยให้องค์กรบรรลุวิสัยทัศน์ พันธกิจขององค์กร

หน้าที่ความรับผิดชอบ

คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการพัฒนาระบบราชการ เล่มนี้ มีการใช้คำ�ย่อ ดังต่อไปนี้


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

คำ�อธิบายสัญลักษณ์ที่ใช้ การเขียนแผนผังของกระบวนงานในคูม่ อื ฉบับนี้ มีสญ ั ลักษณ์ทใี่ ช้มคี �ำ อธิบายสัญลักษณ์ ที่ใช้ ดังต่อไปนี้

279


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

กระบวนการพัฒนาระบบราชการ มีหน่วยงานและผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องทีเ่ ป็นหน่วยรับผิดชอบ สำ�คัญ ดังนี้ หน่วยงานรับผิดชอบ สำ�นักงาน ก.พ.ร.

อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน / รองอธิบดีกรมการพัฒนา ชุมชน 280

ความรับผิดชอบ 1. กำ�หนดหลักเกณฑ์และแนวทางในการดำ�เนินงาน 2. จัดทำ�คู่มือแนวทางการปฏิบัติงาน 3. สร้างความเข้าใจแก่ส่วนราชการ ให้ดำ�เนินการตาม แนวทาง 4. ประเมินผลการดำ�เนินงาน 1. อนุมัติแผนงานโครงการ/กิจกรรม 2. แต่งตั้งคณะทำ�งาน 3. มอบแนวทางการดำ�เนินงาน / นโยบายนำ�ไปสู่การ ปฏิบัติ ให้คำ�ปรึกษา แนะนำ�

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

1. ศึกษาวิเคราะห์แนวทางในการดำ�เนินงาน 2. ประสานหน่วยงานร่วมขับเคลื่อน สร้างความเข้าใจ ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. พัฒนารูปแบบ กลไกการขับเคลื่อนการดำ�เนินงาน ให้เป็นไปตามแนวทาง 4. วิเคราะห์ ติดตามผล รายงานผล

สำ�นัก/สถาบัน/ศูนย์ /กอง

ดำ�เนินการขับเคลื่อนกิจกรรมตามแนวทางการดำ�เนินงาน ร่วมกัน

สำ�นักงานพัฒนาชุมชน จังหวัด

1. ดำ�เนินการขับเคลื่อนตามแนวทาง 2. ประสานงานเกีย่ วกับการพัฒนาชุมชนในระดับจังหวัด 3. กำ�หนด กำ�กับดูแลให้คำ�แนะนำ�แก่สำ�นักงานพัฒนา ชุมชนอำ�เภอ 4. ติดตาม รวบรวมรายงานผล

สำ�นักงานพัฒนาชุมชน อำ�เภอ

1. ประสานงานเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนในระดับอำ�เภอ 2. ร่วมสนับสนุน กิจกรรมการขับเคลื่อนการดำ�เนินงาน 3. ติดตาม ประเมินผล รายงานผล


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๒

แผนผังของกระบวนการ พัฒนาระบบราชการ แผนผังของกระบวนการพัฒนาระบบราชการ ประกอบด้วย 4 กระบวนการย่อย ดังนี้ ๑. การจัดทำ�คำ�รับรองการปฏิบัติราชการ ๒. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ๓. นโยบายการกำ�กับดูแลองค์การที่ดี ๔. ค่านิยมองค์การ สำ�หรับรายละเอียดของกระบวนการในแต่ละกระบวนการย่อยนั้น ต้องใช้ระยะเวลา ดำ�เนินงาน และจำ�นวนคนเท่าไร แต่ละกระบวนการย่อยมีหน่วยงานใดหรือใครเกี่ยวข้องบ้าง มีเอกสาร/รายงานอะไรบ้าง กระบวนการย่อยใดมีการตัดสินใจเข้ามาเกี่ยวข้อง สามารถศึกษาได้ จากแผนผังกระบวนงานในหน้าต่อไป องค์กรมีขีดสมรรถนะสูงเกิดประโยชน์สุขต่อประชาชน

๑. การจัดทำ�คำ�รับรอง การปฏิบัติราชการ (PA)

๓. นโยบายการกำ�กับ ดูแลองค์การที่ดี (OG)

๒. การพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ (PMQA)

๔. ค่านิยมองค์การ (Values)

กระบวนการพัฒนาระบบราชการ

281


282

กระบวนการพัฒนาระบบราชการ : กระบวนกานย่อย การจัดทำ�คำ�รับรองการปฏิบัติราชการ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


กระบวนการพัฒนาระบบราชการ : กระบวนกานย่อย การจัดทำ�คำ�รับรองการปฏิบัติราชการ (ต่อ)

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

283


284

กระบวนการพัฒนาระบบราชการ : กระบวนกานย่อย การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


กระบวนการพัฒนาระบบราชการ : กระบวนกานย่อย การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (ต่อ)

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

285


286

กระบวนการพัฒนาระบบราชการ : กระบวนกานย่อย การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (ต่อ)

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


กระบวนการพัฒนาระบบราชการ : กระบวนกานย่อย การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (ต่อ)

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

287


288

กระบวนการพัฒนาระบบราชการ : กระบวนกานย่อย นโยบายการกำ�กับดูแลองค์การที่ดี

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


กระบวนการพัฒนาระบบราชการ : กระบวนกานย่อย ค่านิยมองค์การ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

289


290

กระบวนการพัฒนาระบบราชการ : กระบวนกานย่อย ค่านิยมองค์การ (ต่อ)

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๓

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน มาตรฐานคุณภาพงาน และการติดตามการประเมินผล

จากแผนผังของกระบวนการพัฒนาระบบราชการ สามารถระบุรายละเอียดของงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ระบบติดตามประเมินผล ผู้รับผิดชอบ แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน เอกสารอ้างอิง ตามลำ�ดับของกระบวนการย่อย ดังนี้ ๑. การจัดทำ�คำ�รับรองการปฏิบัติราชการ ๒. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ๓. นโยบายการกำ�กับดูแลองค์การที่ดี ๔. ค่านิยมองค์การ

รายละเอียดตามตารางแสดงกระบวนการพัฒนาระบบราชการ ในหน้าต่อไป

291


กระบวนการย่อย : ๑. การจัดทำ�คำ�รับรองการปฏิบัติราชการ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

292


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

293


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

294


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

295


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

296


กระบวนการย่อย : ๒. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

297


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

298


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

299


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

300


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

301


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

302


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

303


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

304


กระบวนการย่อย : ๓. นโยบายการกำ�กับดูแลองค์การที่ดี

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

305


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

306


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

307


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

กระบวนการย่อย : ๔. ค่านิยมองค์การ

308


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

309


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

310


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

311


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

312


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

313


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

314


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

315


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

316


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

เอกสารอ้างอิง สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำ�นักงาน ก.พ.ร.). คูม่ อื การประเมินผลการปฏิบตั ิ ราชการตามคำ�รับรองการปฏิบตั ริ าชการของส่วนราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ : สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำ�นักงาน ก.พ.ร.). ๒๕๕๔. สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำ�นักงาน ก.พ.ร.). คู่มือคำ�อธิบายตัวชี้วัดการ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ สำ�หรับ ส่วนราชการระดับกรม. กรุงเทพฯ : สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำ�นักงาน ก.พ.ร.). ๒๕๕๔. สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำ�นักงาน ก.พ.ร.). รางวัลคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award). กรุงเทพฯ : สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำ�นักงาน ก.พ.ร.).๒๕๕๕. สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำ�นักงาน ก.พ.ร.). คู่มือ การประเมินผลการ ปฏิบตั ริ าชการตามคำ�รับรองการปฏิบตั ริ าชการของส่วนราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕. กรุงเทพฯ : สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำ�นักงาน ก.พ.ร.). ๒๕๕๕. กลุม่ พัฒนาระบบบริหาร กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย. รายงานผลการพัฒนาระบบ ราชการ กรมการพัฒนาชุมชน : บริษัท บีทีเอส เพรส จำ�กัด.๒๕๕๓. กรมการพัฒนาชุมชน. นโยบายการกำ�กับดูแลองค์การที่ดี กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวง มหาดไทย : กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร. ๒๕๕๔. กรมการพัฒนาชุมชน. รายงานผลการพัฒนาระบบราชการ กรมการพัฒนาชุมชน : กลุม่ พัฒนา ระบบบริหาร. 2552.

317



คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการ ประชาสัมพันธ์


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๑

กระบวนการประชาสัมพันธ์

320

๑. ความเป็นมาในการจัดทำ�คู่มือกระบวนการประชาสัมพันธ์ การเสริมสร้างภาพลักษณ์และการเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารขององค์กร เป็นกลยุทธ์ส�ำ คัญ ในการประชาสัมพันธ์การดำ�เนินงานของกรมการพัฒนาชุมชนไปสู่ประชาชน ให้มีความรู้ความ เข้าใจทีถ่ กู ต้องเกีย่ วกับการดำ�เนินงานของกรมการพัฒนาชุมชน อันจะนำ�มาซึง่ การมีสว่ นร่วมของ ภาคประชาชน นอกจากนี้ ยังเป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนเป็น ช่องทางในการสื่อสารระหว่างบุคคลากรในองค์กร ๒. วัตถุประสงค์ ๒.๑ เพื่อใช้เป็นคู่มือประกอบการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานด้านการ ประชาสัมพันธ์ ๒.๒ เพื่อเป็นมาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการประชาสัมพันธ์ ๓. ขอบเขตการดำ�เนินงาน ขอบเขตการจัดทำ�คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการเสริมสร้างภาพลักษณ์องค์กร และ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของกรมการพัฒนาชุมชนในครั้งนี้ จะทำ�การรวบรวมความรู้จากการ ปฏิบตั งิ านด้านการผลิตและเผยแพร่สอื่ ประชาสัมพันธ์ ของกองประชาสัมพันธ์ กรมการพัฒนาชุมชน โดยมีกระบวนการวางแผนและกำ�หนดประเด็นเนื้อหาในการผลิตสื่อ การออกแบบจัดทำ�สื่อ การตรวจสอบความถูกต้อง และการเผยแพร่ การกำ�หนด ลำ�ดับ ขั้นตอนในกระบวนการสร้าง ภาพลักษณ์องค์กร ทั้งในส่วนที่ดำ�เนินการเอง และการจ้างเหมาดำ�เนินการ ให้เป็นไปตามระยะ เวลาที่กำ�หนด


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๔. ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญและตัวชี้วัดกระบวนการ

321


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๕. ข้อกำ�หนดการให้บริการสื่อประชาสัมพันธ์ ที่

322

ประเภทสื่อ

หลักเกณฑ์/เงื่อนไข


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๖. คำ�จำ�กัดความ ๖.๑ ภาพลักษณ์ (Image) ภาพลักษณ์ หมายถึง ภาพขององค์กร สถาบัน หรือหน่วยงานในความรู้สึกของ ประชาชนทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ เป็นผลมาจากพฤติกรรมต่างๆ ของหน่วยงานทีป่ ระชาชนได้รบั รูน้ นั้ ๆ โดย การเกิดภาพลักษณ์ตอ้ งใช้ระยะเวลาทีย่ าวนาน ในการจัดทำ�แผนประชาสัมพันธ์ นักประชาสัมพันธ์ ควรศึกษาถึงลักษณะของภาพลักษณ์ การเกิดภาพลักษณ์ และประเภทของภาพลักษณ์ ให้เข้าใจ อย่างถ่องแท้ สามารถกำ�หนดรายละเอียดต่างๆ ในแผนประชาสัมพันธ์ได้อย่างถูกต้อง ๖.๒ การวางแผนประชาสัมพันธ์ (The public relations plan) การวางแผนประชาสัมพันธ์ หมายถึง การกำ�หนดวิธขี ององค์กร สถาบัน หน่วยงาน อย่างมีเหตุมผี ล เพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการดำ�เนินงานประชาสัมพันธ์ การวางแผนนีเ้ ป็นขัน้ ตอนที่ กระทำ�ต่อจากการวิเคราะห์วิจัย ดังนั้น นักประชาสัมพันธ์ควรทราบถึงสาเหตุของปัญหาที่หน่วยงาน ต้องเผชิญอยู่ และท่าทีทศั นคติตา่ งๆของประชาชน กลุม่ เป้าหมาย แล้วจึงนำ�ข้อมูลทีไ่ ด้ ไปกำ�หนด รายละเอียดกิจกรรมต่างๆ ในแผนการประชาสัมพันธ์ ให้สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง และที่ สำ�คัญต้องมีกจิ กรรมทีเ่ ป็นกลยุทธ์ขบั เคลือ่ นตามยุทธศาสตร์ในเรือ่ งการเสริมสร้างภาพลักษณ์องค์กร นั้นๆ ด้วย การวางแผนการประชาสัมพันธ์ จึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่สำ�คัญมากในการทำ�งานด้านการ สื่อสารประชาสัมพันธ์ให้สำ�เร็จตามเป้าหมาย ๖.๓ การประชาสัมพันธ์ (Public Relation) การประชาสั ม พั น ธ์ หรื อ การดำ � เนิ น งานประชาสั ม พั น ธ์ นั้ น ส่ ว นหนึ่ ง มี วัตถุประสงค์เพือ่ ชักจูงประชามติ (Public opinion) ด้วยวิธกี ารติดต่อสือ่ สาร (Communication) เพือ่ ให้กลุม่ ประชาชนเป้าหมาย (Target publics) เกิดมีความรูค้ วามเข้าใจและมีความรูส้ กึ ทีด่ ตี อ่ หน่วยงาน องค์กร หรือสถาบัน การประชาสัมพันธ์จงึ มิใช่เป็นเพียงแค่งานเผยแพร่ (Publicity) แต่ งานประชาสัมพันธ์เป็นงานทัง้ ศาสตร์และศิลป์ในเชิงสร้างสรรค์ ทีก่ อ่ ให้เกิดความรูค้ วามเข้าใจแก่ ประชาชน เป็นงานส่งเสริมความเข้าใจอันดีและสร้างสัมพันธภาพระหว่างหน่วยงานองค์กร หรือ สถาบันกับกลุ่มประชาชนที่เกี่ยวข้อง โดยยึดถือหลักความจริงและประโยชน์ร่วมกันทั้งสองฝ่าย การประชาสัมพันธ์ เป็นงานในระดับนโยบายที่องค์กร สถาบันทุกประเภท ต่างนำ� งานด้านการประชาสัมพันธ์ไปใช้กับองค์กรหรือสถาบันของตนอย่างกว้างขวางแพร่หลาย โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์อันดีระหว่างหน่วยงานของตนกับประชาชน เพื่อป้องกันการเข้าใจผิด ตลอดจนการลดสาเหตุแห่งความขัดแย้งต่างๆ รวมทั้งการใช้การ ประชาสัมพันธ์เพื่อสนับสนุนนโยบายและการดำ�เนินงานขององค์กร สถาบัน เสริมสร้างและ รักษาชื่อเสียง ความนิยมความเชื่อถือศรัทธา และความร่วมมือสนับสนุนจากประชาชนที่พึงมีต่อ หน่วยงานของตน

323


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

324

๖.๔ การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ การเขียนเพือ่ การประชาสัมพันธ์ เป็นการเขียนทีแ่ ตกต่างจากเขียนประเภทอืน่ ๆ เนื่องจากมีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างจากการเขียนทั่วไป การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์นั้นมีจุด มุ่งหมายเพื่อให้ประชาชนเป้าหมายเกิดความรู้ วัตถุประสงค์พื้นฐานมี ๗ ประการ คือ ๑) การเขียนเพื่อบอกกล่าวให้เข้าใจเพื่อให้ได้รับรู้ว่าองค์กรทำ�อะไร ทำ�อย่างไร เมื่อใด เพื่ออะไร เพราะอะไร ที่ไหน เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบ ๒) การเขียนเพื่อให้ประชาชนยอมรับ เป็นการเขียนโน้มน้าวใจ ชักจูงให้ ประชาชนคล้อยตาม โดยยกส่วนดีให้เห็นชัดเจนและใช้ภาษาให้เหมาะสม กับกลุ่มเป้าหมาย ๓) การเขียนเพื่อมิให้เกิดความเข้าใจผิด ๔) การเขียนเพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดี ๕) การแก้ไขเพื่อมิให้เกิดความเข้าใจผิด ๖) การเขียนเพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดี ๗) การเขียนเพื่อสนับสนุนกิจกรรมทางการตลาด รูปแบบของการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ภายในและภายนอกองค์กร มี การเขียน ในลักษณะต่างๆ เช่น การเขียนข่าวแจก การเขียนสุนทรพจน์ในโอกาสต่างๆ การเขียน บทความ การเขียนบรรยายสรุป การเขียนทางวิชาการ การเขียนบทความ การเขียนคำ�บรรยาย ประกอบภาพนิ่ง การเขียนบทภาพยนต์และบทวิทยุโทรทัศน์ - ข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ ข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ หรือเรียกว่า ข่าวแจก เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอด ข้อมูลต่างๆ ของหน่วยงานเผยแพร่ ไปยังกลุ่มประชาชนกลุ่มเป้าหมาย โดยผ่านสื่อหรือช่องทาง ต่างๆ ตามความเหมาะสม จึงอาจเป็นทั้งข่าวที่เผยแพร่ทาง หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุ และ โทรทัศน์และสื่อแขนงอื่นๆได้ทั้งสิ้น - บทความเพื่อการประชาสัมพันธ์ การเขียนบทความมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑. เพือ่ อธิบาย มีลกั ษณะเป็นการให้ขอ้ มูล ให้ภมู หิ ลัง และข้อเท็จจริงอย่างละเอียด เพื่ออธิบายให้ผู้อ่านเข้าใจง่ายในเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่ซับซ้อน ๒. เพื่อรายงานหรือกระตุ้นความสนใจ มีลักษณะคล้ายๆ กับการเขียนเพื่ออธิบาย หรือวิเคราะห์ ซึง่ พิจารณาเห็นว่าเป็นเรือ่ งทีผ่ อู้ า่ นควรรู้ เป็นการรายงาน บอกเล่าเรือ่ งราวทีเ่ กิดขึน้ ๓. เพื่อให้ความรู้ การแสดงความคิดเห็นของบทความนี้ คือ การให้ความรู้ทั้งทาง ตรงและทางอ้อม


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๔. เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขเป็นบทความที่ผู้เขียนมุ่งอธิบายถึงข้อเท็จจริงและที่มา ของปัญหาตลอดจนผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ พร้อมกับเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา ซึง่ อาจมีมากกว่า หนึ่งแนวทางก็ได้ ๕. เพือ่ โน้มน้าวใจ เป็นบทความทีผ่ เู้ ขียนต้องการโน้มน้าวให้เกิดการคล้อยตามความ คิดเห็นในเรื่องที่กำ�ลังนำ�เสนอ ส่วนมากมักเป็นประเด็นเพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือโครงการ รณรงค์ต่างๆ ๖. เพือ่ วิเคราะห์หรือวิจารณ์ การวิเคราะห์เป็นการนำ�เสนอข้อเท็จจริงหรือประเด็น ปัญหา ตามหลักวิชาการ ชี้ให้เห็นข้อดีและข้อเสีย และผลกระทบ โดยอ้างเหตุผลที่น่าเชื่อถือ ประกอบการวิเคราะห์อย่างรอบด้าน ส่วนการวิจารณ์จะเน้นในความคิดเห็นของผู้เขียนเป็นหลัก ซึ่งมาจากความรู้และประสบการณ์ที่มีโดยมองปัญหารอบด้านในทุกมิติเพื่อให้ได้ความคิดเห็นที่ เที่ยงตรง ๗. เพือ่ ความเพลิดเพลิน เป็นการนำ�เสนอเรือ่ งเบาๆ ทีผ่ อ่ นคลาย เพือ่ สร้างอารมณ์ขนั ด้วยลีลาภาษาที่ไม่เป็นทางการ - การเขียนสุนทรพจน์ สุนทรพจน์ หมายถึง คำ�พูดที่ประธานหรือบุคคลสำ�คัญกล่าวในโอกาสพิเศษ ที่มี จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์โดยเฉพาะ โดยใช้ภาษาและถ้อยคำ�ที่งดงาม รัดกุม สละสลวย และ เหมาะสมกับโอกาส - การเขียนประกาศหรือแถลงการณ์ ข้อเขียนชนิดหนึ่งที่อาจเผยแพร่เป็นเอกสารเฉพาะ เช่น แผ่นปลิว (Leaflet) หรือ นิยมเผยแพร่ทางสื่อมวลชนประเภทหนังสือพิมพ์ มุ่งการสร้างความรู้ความเข้าใจอย่างจริงจัง ๓.๓ การผลิตสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์เป็นเครื่องมือและสื่อกลางในการสื่อสารจากองค์กร สู่กลุ่มเป้าหมาย การสร้างความสัมพันธ์อันใกล้ชิดให้เกิดขึ้นระหว่างองค์กรกับกลุ่มเป้าหมาย ในปัจจุบันสื่อในการประชาสัมพันธ์มีมากมายและหลากหลาย อันเป็นผลเนื่องมาจากการพัฒนา ด้านเทคโนโลยีของโลกปัจจุบัน อย่างไรก็ตามได้มีการแบ่งสื่อประชาสัมพันธ์โดยพิจารณาตาม ลักษณะของสื่อ ได้เป็น ๕ ประเภท คือ ๑. สื่อบุคคล หมายถึง ตัวบุคคลที่ทำ�หน้าที่ถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ สู่บุคคลอื่น สือ่ บุคคลจัดได้วา่ เป็นสือ่ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงในการประชาสัมพันธ์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การโน้มน้าว จิตใจเนือ่ งจากติดต่อกับผูร้ บั สารโดยตรง ส่วนใหญ่อาศัยการพูดในลักษณะต่างๆเช่น การสนทนา พบปะพูดคุย การประชุม การสอน การให้สัมภาษณ์ การโต้วาที การอภิปราย การปาฐกถา และ การพูดในโอกาสพิเศษต่างๆ แต่สอื่ บุคคลก็มขี อ้ จำ�กัดคือ ในกรณีทเี่ นือ้ หาเป็นเรือ่ งซับซ้อน การใช้

325


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

326

คำ�พูดอย่างเดียวอาจไม่สามารถสร้างความเข้าใจได้ทันที และเป็นสื่อที่ไม่ถาวร ยากแก่การตรวจ สอบและอ้างอิงนอกจากจะมีผู้บันทึกคำ�พูดนั้นๆ ไว้เป็นลายลักษณ์อักษรหรือบันทึกเสียงเอาไว้ ๒. สือ่ มวลชน จากข้อจำ�กัดของสือ่ บุคคลทีไ่ ม่สามารถใช้เป็นสือ่ กลางถ่ายทอด ข่าวสารเพื่อการประชาสัมพันธ์สู่คนจำ�นวนมากพร้อมกันในเวลาเดียวกันอย่างรวดเร็ว มนุษย์จึง ได้พัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสาร และเกิดเป็นสื่อมวลชนเพื่อมารับใช้ภารกิจดังกล่าว สื่อมวลชน อาจแบ่งประเภทตามคุณลักษณะของสื่อได้เป็น ๕ ประเภท คือ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุ กระจายเสียง วิทยุ โทรทัศน์ และภาพยนตร์ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๓๒) ทั้งนี้ สื่อหนังสือพิมพ์และนิตยสารมีความคงทนถาวร สามารถนำ�ข่าวสารมาอ่านใหม่ได้ซ้ำ�แล้วซ้ำ�อีก แต่มีข้อจำ�กัดสำ�หรับบุคคลที่ตาบอดหรืออ่านหนังสือไม่ออก ส่วนสื่อวิทยุกระจายเสียงเป็นสื่อที่ ส่งไปได้ไกล เพราะใช้คลื่นวิทยุไม่มีข้อจำ�กัดด้านการขนส่งเหมือนหนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร และ สามารถรับฟังในขณะที่ทำ�งานอย่างอื่นไปด้วยได้ แต่มีข้อจำ�กัดคือ ผู้ฟังไม่สามารถย้อนกลับมา ฟังได้ใหม่อีก ดังนั้น หากมิได้ตั้งใจฟังในบางครั้งก็ทำ�ให้ได้ข่าวสารที่ไม่สมบูรณ์ สื่อวิทยุโทรทัศน์ และภาพยนตร์ จัดเป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพในการสื่อสารมากที่สุด เนื่องจากสามารถเห็นภาพ เคลื่อนไหวและได้ยินเสียง ทำ�ให้การรับรู้เป็นไปอย่างชัดเจนและมีประสิทธิภาพยิ่ง แต่มีข้อจำ�กัด คือ ต้องใช้ไฟฟ้าหรือแบตเตอรี่ ทำ�ให้ไม่สามารถเข้าถึงพื้นที่ห่างไกลที่ยังไม่มีไฟฟ้าใช้ ๓. สือ่ สิง่ พิมพ์ เป็นสีอ่ ในการประชาสัมพันธ์ทหี่ น่วยงานเป็นผูผ้ ลิตและเผยแพร่ ไปสู่กลุ่มเป้าหมาย ด้วยวัตถุประสงค์ในการผลิตและรูปแบบแตกต่างกันออกไป เช่น แผ่นปลิว แผ่นพับ โปสเตอร์ จดหมายข่าว วารสาร เอกสารเผยแพร่ หนังสือในโอกาสพิเศษ รายงานประจำ�ปี เป็นต้น ปัจจุบันความนิยมในการใช้สื่อประเภทสิ่งพิมพ์เพื่อการประชาสัมพันธ์นี้มีอยู่มาก และมี รูปแบบที่หลากหลายออกไปอีกมากมาย เช่น ในรูปปฏิทิน รูปลอก สมุดบันทึก ซึ่งล้วนแต่เป็น สื่อที่เข้าถึงประชาชนได้อย่างมีประสิทธ์ภาพ มีอายุการใช้งานนาน แต่มีข้อจำ�กัดในเรื่องการนำ� เสนอเนื้อหาซึ่งต้องให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย เช่น แผ่นพับที่เขียนด้วยภาษาวิชาการ ถ้าส่ง ไปให้ประชาชนในชนบท อาจจะไม่สามารถเข้าใจเนื้อหาที่ต้องการประชาสัมพันธ์ได้เลย ๔. สือ่ โสตทัศน์ เป็นสือ่ ทีผ่ รู้ บั สามารถได้ทงั้ ภาพ และเสียง โดยปกติสอื่ โสตทัศน์ แบ่งได้เป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่เป็นสื่ออุปกรณ์ โดยสื่อวัสดุอาจจะสามารถใช้ได้ด้วยตัวเองโดยตรง เช่น ภาพวาด แบบจำ�ลอง หรือของตัวอย่าง หรืออาจต้องนำ�ไปใช้รว่ มกับสือ่ อุปกรณ์ ได้แก่ เครือ่ ง เล่นวีดีทัศน์ เครื่องฉายภาพยนต์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น ในปัจจุบันนี้ คอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีอิทธิพลอย่างมากในการติดต่อสื่อสาร และในงานประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์โดยใช้สื่อผสม (Multi-media) ได้รับความนิยม อย่างกว้างขวางเพราะเป็นสื่อที่สามารถดึงดูดความสนใจได้เป็นอย่างดี เนื่องจากให้ทั้งภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ที่สมจริงเป็นธรรมชาติ และผู้รับยังสามารถมีส่วนร่วมและตอบสนอง


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ต่อสือ่ ดังกล่าวได้ ส่วนข้อจำ�กัดคือมีความยุง่ ยากในการจัดเตรียมอุปกรณ์ ผูร้ บั ต้องมีความรูใ้ นการ ใช้คอมพิวเตอร์พอสมควรและต้องใช้ไฟฟ้าหรือแบตเตอรี่เป็นแหล่งพลังงาน นอกจากนี้ ในยุคที่โลกไร้พรมแดน การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ผ่านระบบ อินเตอร์เน็ต (Internet) ยิ่งทวีความสำ�คัญขึ้นเรื่อยๆ และจะกลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำ�วัน ของพลโลกในอนาคตอันใกล้นี้ โดยอินเตอร์เน็ตมีข้อดี คือ สามารถเข้าถึงประชาชนทั่วทุกมุมโลก ได้อย่างรวดเร็ว และเป็นการสือ่ สารสองทางทีผ่ รู้ บั สามารถโต้ตอบเพือ่ ซักถามข้อมูลเพิม่ เติม หรือ ข้อูมลที่ไม่เข้าใจได้โดยตรงผ่านทางระบบจดหมาย อิเลคโทรนิกส์ (E-mail) ๕. สือ่ กิจกรรม ปัจจุบนั สือ่ นีม้ คี วามหมายขยายขอบเขตกว้างขวางไปถึงกิจกรรม ที่สามารถสื่อความรู้สึกนึกคิด ความรู้อารมณ์ และเรื่องราวข่าวสารไปสู่กลุ่มเป้าหมายได้ สื่อ ประเภทกิจกรรมมีได้มากมายหลายรูปแบบ เช่น การจัดประชุม สัมมนา ฝึกอบรม การแถลงข่าว การสาธิต การจัดริ้วขบวน การจัดนิทรรศการ การจัดแข่งขันกีฬา การจัดแสดง การจัดกิจกรรม ทางการศึกษา การจัดกิจกรรมเสริมอาชีพ การจัดกิจกรรมการกุศล เป็นต้น สือ่ กิจกรรมนีส้ ามารถ ปรับปรุงดัดแปลงแก้ไขให้ยืดหยุ่น เหมาะสมกับโอกาสและสถานการณ์ได้ง่าย แต่มีข้อจำ�กัดคือ ผู้รับมีจำ�นวนจำ�กัดเฉพาะกลุ่มที่ร่วมกิจกรรมนั้นๆ เท่านั้น ๖. สือ่ สมัยใหม่ (Modern Media) สือ่ สมัยใหม่ เป็นสือ่ นิยมทีใ่ ช้กนั ในยุคสังคม ข่าวสาร หรือยุคสารสนเทศ (Information Age) ทีก่ ระแสโลกาภิวฒ ั น์ (Globalization) ประเภท ของสื่อสมัยใหม่ที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์ ๑. ดาวเทียม (Satellite) หรือ สถานีทวนสัญญาณ ไมโครเวฟที่ลอยอยู่เหนือพื้นโลก ใช้ในการสื่อสารระหว่างประเทศ ๒.อินเทอร์เน็ต (Internet) ปัจจุบันอินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจำ�วันของคนเราเป็นอย่างมากตลอดจนในสังคม และในหน้าที่การทำ�งาน อาชีพต่างๆ แม้แต่การประชาสัมพันธ์ก็นำ�อินเทอร์เน็ตมาใช้เพื่อการ ติดต่อสื่อสารการประชาสัมพันธ์ที่จัดทำ�ขึ้นบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งถือว่าเป็นสื่อสมัยใหม่ที่นำ�มาใช้ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดเช่นเดียวกับสื่ออื่นๆ อินเทอร์เน็ตที่ใช้ทำ�การประชาสัมพันธ์ ส่วนใหญ่ ผ่านทาง E-mail หรือระบบจดหมายอีเลคทรอนิคส์ และระบบข้อมูลจาก World Wide Web (WWW) โดยการจัดทำ�เป็น Website มองแต่ละแห่งให้ผู้เปิดดูเข้าไปดูและติดตามข้อมูลต่างๆได้ ๔. (Term of reference :TOR) หมายถึง รายละเอียดและข้อกำ�หนดสำ�หรับการ จัดจ้าง ซึง่ เป็นไปตามระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และแก้ไขเพิม่ เติม ๕. ผู้รับจ้าง หมายถึง บริษัท ห้างหุ้นส่วน จำ�กัด หรือ ภาคเอกชนที่ผ่านการคัดเลือก ตามระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และแก้ไขเพิ่มเติม และได้ลงนาม ในสัญญาเพื่อรับดำ�เนินการตามข้อกำ�หนดและช่วงเวลาที่กำ�หนด ๖. หน่วยที่/หน้าที่ความรับผิดชอบ กองประชาสัมพันธ์ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

327


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๒

แผนผังกระบวนการประชาสัมพันธ์

328


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๗. Work Flow กระบวนการประชาสัมพันธ์

329


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๘. Work Flow กระบวนการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของกองประชาสัมพันธ์

330


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

331


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

332


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

333


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

334


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

335


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

336


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๓

ขั้นตอนการปฏิบัติ มาตรฐานคุณภาพงาน และการติดตามประเมินผล

337


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

338


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

339


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

340


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

341


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

342


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

343


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

344


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

345


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

346


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

347


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

348


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

349


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

350


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

351


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

352

๙. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ๙.๑ กระบวนการประชาสัมพันธ์ ๙.๑.๑ กองประชาสัมพันธ์ รวบรวมและศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับนโยบายของ รัฐบาล/กระทรวง ยุทธศาสตร์และวิสัยทัศน์ของกรมการพัฒนาชุมชน งบประมาณที่ได้รับการ จัดสรรเพื่อการประชาสัมพันธ์ ๙.๑.๒ ศึกษาและหาข้อมูลเกี่ยวกับสื่อประเภทต่างๆ ๙.๑.๓ วางแผนประชาสัมพันธ์ โดยกำ�หนดความสำ�คัญของภารกิจด้านต่างๆ กลุ่มเป้าหมาย และกำ�หนด ประเภทสื่อ กิจกรรม ระยะเวลา และงบประมาณ ๙.๑.๔ นำ�เสนอแผนประชาสัมพันธ์ตอ่ ผูบ้ ริหารองค์กร เพือ่ ขออนุมตั ดิ �ำ เนินการ ๙.๑.๕ เมือ่ ได้รบั การอนุมตั แิ ผนประชาสัมพันธ์ จึงเริม่ ดำ�เนินการตามแผน ดังนี้ ดำ�เนินการเอง ๑. รวบรวมกิจกรรมของหน่วยงานในสังกัด ๒. กำ�หนดช่องทาง และระยะเวลาที่เหมาะสมกับประเภทกิจกรรมและกลุ่มเป้าหมาย โดยประมวลข้อมูล ตรวจสอบความถูกต้อง ก่อนการดำ�เนินงาน เช่น การแถลงข่าว การให้สัมภาษณ์ การเผยแพร่ข่าวทางวิทยุ โทรทัศน์ การจัดนิทรรศการ การจัดทำ� สื่อกิจกรรม (นำ�เสนอโดยการประชุมคณะทำ�งาน) ๓. ดำ�เนินการผลิตสื่อ และกิจกรรม ๓.๑ วารสาร ๓.๒ สปอตวิทยุ/โทรทัศน์ ๓.๓ บทความหนังสือพิมพ์ ๓.๔ วีดิทัศน์ ๓.๕ เว็ปไซต์ ๓.๖ นิทรรศการ ๓.๗ Press release (ข่าวแจก) จ้างเหมาดำ�เนินการ ๑. กำ�หนดรายละเอียดและข้อกำ�หนด (Term of reference :TOR) ของการจัดจ้าง ผลิตสื่อ ประเภทต่างๆ ได้แก่ โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ ๒. นำ�เสนออนุมัติ ๓. จัดจ้าง ดำ�เนินการตามระเบียบพัสดุฯ โดยฝ่ายพัสดุ กองคลัง - หลังจากได้ผู้รับจ้าง ดำ�เนินตามขั้นตอนที่กำ�หนด - คณะกรรมการตรวจรับฯ ตรวจรับสื่อตามรายละเอียด TOR การตรวจสอบติดตาม โดยวิธีการตรวจติดตามจากงานโดยตรง(ตามผังการออกอากาศ,ผังการเผยแพร่,แบบ ตอบรับการเผยแพร่) /ผลงานที่สรุปมา/แบบสอบถาม การประเมินผล/การรายงาน ประเมินผลการดำ�เนินงานตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน และสรุปรายงานผลให้ผู้บังคับ บัญชาเพือ่ ทราบ เพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการประชาสัมพันธ์เพือ่ สร้างภาพลักษณ์องค์กร ต่อไป


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ภาคผนวก 353


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๑๐. ตัวอย่างงาน ๑๐.๑ Press release (ข่าวแจก) ตัวอย่างข่าวจากกองประชาสัมพันธ์ ส่งให้สื่อมวลชนเพื่อเผยแพร่

354


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๑๐.๒ หน้าเว็ปไซต์ของกองประชาสัมพันธ์กรมการพัฒนาชุมชน http://www.prcdd.cdd.go.th ข่าวประชาสัมพันธ์ผ่านทางเว็ปไซต์กองประชาสัมพันธ์

355


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๑๐.๓ ตัวอย่างการเผยแพร่ข่าว ทางระบบสำ�นักงานอัตโนมัติ ระบบ OA

356


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๑๐.๔ ภาพข่าวที่เราส่งให้สื่อมวลชนและได้รับการเผยแพร่ลงหนังสือพิมพ์

357


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๑๐.๕ ตัวอย่างวารสารพัฒนาชุมชนอิเล็กทรอนิกส์ เผยแพร่ทางเว็ปไซต์กรม/กองประชาสัมพันธ์

358


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๑๐.๕ ตัวอย่างใบติดตามการเผยแพร่

359


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๑๐.๖ ตัวอย่างบทสปอตวิทยุ

๑๐.๖.๑ ตัวอย่างบทสปอตวิทยุ 360


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๑๐.๗ ตัวอย่างบทสปอตวิทยุ

361


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

362


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

363


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

364


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

365


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๑๐.๘ ตัวอย่างบทวีดิทัศน์

366

บท OTOP ภูิภาคจังหวัดเชียงราย


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

367


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๑๐.๙ ตัวอย่างงานออกแบบป้ายประชาสัมพันธ์ ตัวอย่าง โบชัว หน้า/หลัง

368

ขนาด 1.60x0.80 CM.


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๑๐.๑๐ ตัวอย่างงานออกแบบปกหนังสือ

369


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

๑๐.๑๑ ตัวอย่างโปสเตอร์ ขนาด A3

370

๑๐.๑๒ ตัวอย่างหัวข่าว

๑๑. เอกสารอ้างอิง ๑๑.๑ ระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และแก้ไขเพิ่มเติม ๑๑.๒ ระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทาง ราชการ พ.ศ. ๒๕๒๙ และ พ.ศ. ๒๕๓๓ ๑๑.๓ ตัวอย่างงาน ๑๑.๓.๑ Press release (ข่าวแจก) ๑๑.๓.๒ หน้าเว็ปไซต์ของกองประชาสัมพันธ์กรมการพัฒนาชุมชน http://www.prcdd.cdd.go.th ๑๑.๓.๓ แผนการเผยแพร่เพื่อประกอบการติดตาม


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน กระบวนการพัฒนาอาคารสถานที่ กรมการพัฒนาชุมชน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๑ บทสรุปสำ�หรับผู้บริหาร

372

คูม่ อื มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน กระบวนการพัฒนาอาคารสถานทีก่ รมการพัฒนาชุมชน เล่มนี้เรียบเรียงขึ้นเพื่อแสดงถึงขั้นตอน วิธีการ กรอบระยะเวลา และมาตรฐานคุณภาพงาน ของกระบวนการตั้งแต่เริ่มจนสิ้นสุดการดำ �เนินงานโดยกระบวนการพัฒนาอาคารสถานที่ ประกอบด้วย ๔ กระบวนการ คือ กระบวนงานปรับปรุงซ่อมแซมอาคารส่วนกลาง กระบวนงานการ ใช้ห้องประชุม กระบวนงานของบประมาณการก่อสร้างปรับปรุงซ่อมแซมอาคารส่วนภูมิภาค และกระบวนงานด้ า นยานพาหนะ เพื่ อ เป็ น คู่ มื อ การปฏิ บั ติ ง านพั ฒ นาอาคารสถานที่ ข อง กรมการพัฒนาชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับนโยบายและวัตถุประสงค์ขององค์กร เข้าใจในหลักการหรือแนวทางในการจัดทำ�เอกสารที่จำ�เป็น อีกทั้งยังช่วยในการวิเคราะห์และ ปรับปรุงกระบวนการทำ�งานของตนเองได้ คู่มือการปฏิบัติงานการพัฒนาอาคารสถานที่นี้ครอบคลุมกระบวนงาน ดังนี้ กระบวนงานปรับปรุงซ่อมแซมอาคารส่วนกลาง เน้นอำ�นวยความสะดวกในการขอใช้ สถานทีภ่ ายในอาคารกรมการพัฒนาชุมชน ตรวจสอบข้อมูลการขอปรับปรุงซ่อมแซมบำ�รุงรักษา ของสำ�นัก/กอง/ศูนย์ ต่างๆ ศึกษาวิเคราะห์เอกสารข้อมูลจากพืน้ ทีจ่ ริง แจ้ง ธพส.ดำ�เนินการทาง หนังสือ เสนอรายละเอียดงานที่จะดำ�เนินการปรับปรุงซ่อมแซมให้ผู้มีอ�ำ นาจลงนามอนุมัติการ ดำ�เนินการปรับปรุงซ่อมแซมพร้อมวงเงินเบื้องต้น กระบวนงานการใช้หอ้ งประชุม เน้นอำ�นวยความสะดวกในการขอใช้หอ้ งประชุม การจอง ห้องประชุมล่วงหน้า อนุมตั ิ และแจ้งผูเ้ กีย่ วข้องดำ�เนินการตามหนังสืออนุมตั เิ ห็นชอบตามทีเ่ สนอ กระบวนงานของบประมาณการก่อสร้างปรับปรุงซ่อมแซมอาคารส่วนภูมิภาค เน้น อำ�นวยความสะดวกในการปฏิบัติงานตรวจสอบข้อมูล แบบรูป ประมาณราคา ศูนย์ศึกษาและ พัฒนาชุมชนและสำ�นักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดทีส่ ง่ ข้อมูลมาประสานกับเจ้าหน้าทีข่ องพืน้ ทีแ่ ละ ผูอ้ อกแบบ/เขียนแบบ พิจารณาราคากลางของวัสดุอปุ กรณ์ตามราคากลางของสำ�นักงบประมาณ และของกรมบัญชีกลาง ประสานกลุม่ งานงบประมาณจัดทำ�รายละเอียดเสนออธิบดี และรายงาน ความก้าวหน้าจนกว่างานจะแล้วเสร็จ กระบวนงานด้านยานพาหนะ เน้นอำ�นวยความสะดวกในการให้บริการยานพาหนะ ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เช่น การจัดหายานพาหนะ การซ่อมบำ�รุง การควบคุมและดูแล รักษายานพาหนะรวมทั้งควบคุมการปฏิบัติงานของพนักงานขับรถยนต์ ให้เกิดความพร้อมของ ยานพาหนะและพนักงานขับรถยนต์ เพื่อประโยชน์สูงสุดต่องานราชการ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

วัตถุประสงค์ กรมการพัฒนาชุมชน เป็นหน่วยงานหลักในการส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชนให้ เข้มแข็งอย่างยั่งยืน โดยมีเป้าหมายให้ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนพึ่งตนเองได้ ครอบครัวมีคุณภาพ ชีวิตดีมีความสุข ดังนั้นกรมการพัฒนาชุมชนจึงกำ�หนดกระบวนการที่สำ�คัญในการสร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมการพัฒนาชุมชนให้กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึง่ กระบวนการพัฒนาอาคารสถานทีเ่ ป็นหนึง่ ในกระบวนการสนับสนุนดังกล่าวให้กรมการพัฒนาชุมชน สามารถพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการเพือ่ ให้บรรลุตามยุทธศาสตร์ พันธกิจของกรมการพัฒนาชุมชน ต่อไป

ขอบเขต คูม่ อื การปฏิบตั งิ านกระบวนการพัฒนาอาคารสถานทีป่ ระกอบด้วยกระบวนงานปรับปรุง ซ่อมแซมบำ�รุงรักษาอาคารส่วนกลาง กระบวนงานการใช้หอ้ งประชุม กระบวนงาน ของบประมาณ การก่อสร้างปรับปรุงซ่อมแซมอาคารส่วนภูมภิ าคและกระบวนงานด้านยานพาหนะ ในคูม่ อื เล่มนี้ ได้แสดงให้เห็นกระบวนงานตั้งแต่จุดเริ่มต้นจนถึงจุดสิ้นสุดของงาน เพื่อกำ�หนดเป็นคู่มือในการ ปฏิบัติงาน สนองต่อความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นสำ�คัญ

คำ�จำ�กัดความ อาคารสถานที่ หมายถึง การดำ�เนินการเกี่ยวกับการวางแผน การใช้อาคาร สถานที่ให้ เกิดประโยชน์มากทีส่ ดุ การควบคุมดูแล การบำ�รุงรักษา การพัฒนาอาคารต่าง ๆ การจัดบริเวณให้ อยู่ในสภาพที่สวยงาม เหมาะสมกับสภาพการใช้งานอยู่เสมอ การรักษาความสะอาดความคงทน แข็งแรง ความปลอดภัย และสามารถสนองความต้องการได้อย่างเพียงพอ การบำ�รุงรักษา (Maintenance) หมายถึง การพยายามรักษาสภาพของเครื่องมือ เครื่องจักรต่าง ๆ ให้มีสภาพที่พร้อมจะใช้งานอยู่ตลอดเวลา การซ่อมแซม หมายถึง การซ่อมบำ�รุงรักษาอุปกรณ์ เครือ่ งมือเครือ่ งใช้ทชี่ �ำ รุด เสียหาย ให้มีสภาพเรียบร้อยพร้อมที่จะนำ�มาใช้ต่อไป การควบคุม หมายถึง การวัดการปฏิบัติงานของผู้ไต้บังคับบัญชาและเป็นเครื่องมือ สำ�คัญในการกำ�หนดแผนการดำ�เนินการตามแผนและการประเมินแผนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ กำ�หนดไว้

373


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ธพส. หมายถึง บริษัท ธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์ จำ�กัด ยานพาหนะ หมายถึง วัตถุหรือสิง่ ประดิษฐ์ทไี่ ม่ใช่สงิ่ มีชวี ติ ซึง่ สามารถเคลือ่ นย้ายขนส่ง ไปได้ ยานพาหนะส่วนใหญ่สร้างขึ้นโดยมนุษย์ อาทิ จักรยาน รถยนต์ จักรยานยนต์ รถไฟ เรือ และเครื่องบิน รถส่วนกลาง หมายถึง รถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ที่จัดไว้เพื่อกิจการอันเป็นส่วนรวม ของส่วนราชการ อนุมัติ หมายถึง ให้อำ�นาจกระทำ�การตามระเบียบที่กำ�หนดหรือเห็นชอบตามที่มี ระเบียบ กฎหมาย ระบุไว้ สำ�นัก/กอง/ศูนย์ หมายถึง สำ�นัก/กอง/ศูนย์ ของกรมการพัฒนาชุมชน อพช. หมายถึง อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน รอง อพช. หมายถึง รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน

หน้าที่และความรับผิดชอบ 374

กรมการพัฒนาชุมชน มีกองคลังเป็นหน่วยงานในสังกัดทีผ่ นู้ �ำ ต้นแบบการให้บริการทีด่ ี ด้วยทีมงานทีม่ คี ณ ุ ภาพ เพือ่ ขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชนและอำ�นวยความสะดวก ต่องานบริการด้านต่างๆ รวมทั้งงานพัฒนาอาคารสถานที่ซึ่งระบุอำ�นาจหน้าที่ไว้ดังนี้ กลุ่ม / ฝ่าย กลุ่มงานพัสดุ

อำ�นาจหน้าที่ - จัดซื้อจัดจ้าง จัดหาพัสดุ ตรวจสอบเอกสารของกลุ่มฝ่ายต่างๆ - ซ่อมบำ�รุงรถยนต์ส่วนกลาง - สำ�รวจ ออกแบบ เขียนแบบ ประมาณการงานก่อสร้าง และงาน ปรับปรุงอาคารสถานที่ - การขอใช้อาคารสถานที่ของกรมการพัฒนาชุมชน กับ ธพส. - เบิกจ่ายวัสดุสำ�นักงานกองคลัง - ตรวจสอบพัสดุประจำ�ปี/ตีราคาสินทรัพย์/จำ�หน่ายพัสดุที่ชำ�รุดเสื่อม สภาพ/กำ�หนดรหัสครุภัณฑ์/จัดทำ�ฐานข้อมูลครุภัณฑ์ส่วนกลาง


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

กลุ่ม / ฝ่าย ฝ่ายอำ�นวยการ

กลุ่มงานการเงิน

กลุ่มงานบัญชี

อำ�นาจหน้าที่ - รับ-ส่ง และลงทะเบียนเอกสารด้านระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ขอกลุ่มฝ่ายต่างๆ - ออกเลขที่หนังสือ - จัดส่งจดหมายกองคลัง - ดูและรักษาความสะอาดเรียบร้อยภายในกอง - จัดทำ� website กอง - เสนอหนังสือราชการต่ออธิบดี รองอธิบดี - ตรวจสอบความถูกต้องการเบิกจ่ายเงินเดือนของข้าราชการ เงิน ประจำ�ตำ�แหน่ง เงินค่าครองชีพ เงินสวัสดิการพื้นที่พิเศษ เงิน พ.ร.ส. - การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณประเภทต่างๆ - ตรวจนับเงินทดรองราชการ รับส่งเงินกับธนาคารพาณิชย์ทุกแห่ง - จัดเก็บงบเดือนและใบสำ�คัญ - รับ-นำ�ส่งเงินรายได้แผ่นดิน - จัดทำ�รายงานเงินคงเหลือประจำ�วัน - จัดทำ�รายงานงบการเงินประจำ�ปี ของหน่วยงานส่วนกลาง - จัดทำ�ต้นทุนผลผลิต - ตรวจสอบและจัดทำ�งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารในงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ ไทยเข้มแข็ง - ให้ค�ำ แนะนำ�ปรึกษา การตอบปัญหา การตรวจสอบและการแก้ไขรายการ ปรับปรุงรายการที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานในระบบ GFMIS ทั้งส่วนกลาง และภูมิภาค - ตรวจสอบบัญชีพักสินทรัพย์และทะเบียนทรัพย์สินส่วนกลาง - จัดทำ�ใบสำ�คัญการลงบัญชีและผ่านรายการบัญชีแยกประเภทตามเกณฑ์ คงค้างด้วยมือ - ล้างลูกหนี้เงินยืมในระบบ GFMIS - ตรวจสอบหลักฐานการเบิกจ่ายค่าตอบแทน เงินสวัสดิการค่ารักษา พยาบาล ค่าการศึกษาของบุตร สัญญาเงินยืม ของกลุ่มฝ่ายต่างๆ

375


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ กระบวนการพัฒนาอาคารสถานทีม่ ขี อ้ กำ�หนดทีส่ �ำ คัญ ซึง่ กรมการพัฒนาชุมชนกำ�หนด ขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และเป็นเงื่อนไขที่ นำ�มาออกแบบกระบวนการเพือ่ ให้ตอบสนองต่อความต้องการของผูร้ บั บริการและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ของกระบวนการพัฒนาอาคารสถานที่ ซึ่งข้อกำ�หนดดังกล่าวมีดังต่อไปนี้

376

มาตรฐานงาน กระบวนการพัฒนาอาคารสถานที่ มีมาตรฐานงานของกระบวนการทั้งในเชิงคุณภาพ และในเชิงปริมาณ เป็นวิธีในการปฏิบัติงาน ซึ่งกำ�หนดขึ้นเพื่อให้บุคลากรหรือผู้เกี่ยวข้องนำ�ไป ปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุตามข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ เช่น กระบวนงานพัฒนาปรับปรุง ซ่อมแซมอาคาร สถานที่ส่วนกลาง จะอำ�นวยความสะดวกในการขอใช้สถานที่ภายในกรมการพัฒนาชุมชน การปรับปรุงซ่อมแซมบำ�รุงรักษาสำ�นัก/กอง ต่างๆ ทีข่ อรับการปรับปรุงซ่อมแซมอาคารสำ�นักงาน โดยผูป้ ฏิบตั จิ ะต้องตรวจสอบพืน้ ทีจ่ ริง ศึกษาวิเคราะห์ขอ้ มูลการขอปรับปรุง ซ่อมแซม บำ�รุงรักษานัน้


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

และเสนอรายละเอียดเบื้องต้นที่จะดำ�เนินการปรับปรุงซ่อมแซมบำ�รุงรักษา ให้ผู้มีอำ�นาจลงนาม อนุมัติการขอปรับปรุง ซ่อมแซมบำ�รุงรักษาดังกล่าว ซึ่งการจัดทำ�คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน กระบวนการพัฒนาอาคารสถานที่เล่มนี้ จะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานใช้เป็นคู่มืออ้างอิงในการทำ�งาน เพื่อให้การทำ�งานเป็นระบบมีมาตรฐาน เดียวกัน มิให้เกิดข้อผิดพลาด การทำ�งานซ้ำ� และความสูญเสียจากการดำ�เนินการ

377


378

แผนผังของกระบวนการพัฒนาอาคารสถานที่ (Work Flow)

ส่วนที่ ๒

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


แผนผังแสดง กระบวนการพัฒนาอาคารสถานที่ส่วนกลาง ปี ๒๕๕๕

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

379


380

แผนผังแสดง กระบวนการพัฒนาอาคารสถานที่ส่วนกลาง ที่อยู่ส่วนภูมิภาค ปี ๒๕๕๕

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

381


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

382


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๓

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน มาตรฐานคุณภาพงาน และการติดตามประเมินผล กระบวนการพัฒนาอาคารสถานที่ แบ่งได้ ๒ ส่วนดังนี้

กระบวนงานพัฒนาอาคารสถานที่ส่วนกลาง - งานปรับปรุง ซ่อมแซม บำ�รุงรักษาอาคาร - การใช้ห้องประชุม l กระบวนงานพัฒนาอาคารสถานที่ส่วนภูมิภาค - งานก่อสร้าง ปรับปรุง ซ่อมแซมอาคารสถานที่ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน - งานก่อสร้าง ปรับปรุง ซ่อมแซมอาคารสถานที่สำ�นักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด l

383


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

384


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

385


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

386


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

387


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ส่วนที่ ๔

กระบวนงานและขั้นตอน ด้านยานพาหนะ กระบวนงานพัฒนาด้านยานพาหนะ แบ่งได้ 2 ส่วนดังนี้

388

กระบวนงานด้านยานพาหนะ ส่วนกลาง l กระบวนงานด้านยานพาหนะ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน วิทยาลัยการพัฒนาชุมชน สำ�นักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และสำ�นักงานพัฒนาชุมชนอำ�เภอ l


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

389


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

390


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

391


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

392


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ภาคผนวก 393


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

คณะทำ�งานจัดทำ�กระบวนการสนับสนุนกระบวนการที่สร้างคุณค่าของกรมฯ “ กระบวนการพัฒนาอาคารสถานที่ ” ๑. นายกิจจา กาญจนะวีระ ๒. นางกัลยา มั่งมีธนกุล ๓. นางสาวสุวรรณา รอดเรือง ๔. พ.อ.อ.ทรงพล ฉายแสง ๕. นางสาวอัจฉรา เสือครุฑ ๖. นางปราณี แดงจอหอ ๗. นายมานัส ฉายาวาท ๘. นายเอกลักษณ์ คะเชนทร์ ๙. นายเพิ่มพล ธรรมสุภา ๑๐. นายคำ�นึง อินทรสิทธิ์ 394

ผู้อำ�นวยการกองคลัง นักจัดการงานทั่วไปชำ�นาญการ นักวิชาการพัสดุชำ�นาญการ นักวิชาการพัสดุชำ�นาญการ เจ้าพนักงานพัสดุชำ�นาญงาน เจ้าพนักงานธุรการชำ�นาญงาน พนักงานพัสดุ นายช่างโยธาปฏิบัติงาน(ลูกจ้างชั่วคราว) นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำ�นาญการพิเศษ นายช่างโยธาชำ�นาญงาน

หัวหน้าคณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน/ เลขานุการ คณะทำ�งาน/ ผู้ช่วยเลขานุการ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

395


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

396


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

397


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

398


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

399


คณะทํางานจัดทําคูมือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน

ตามคําสั่งกรมฯ ที่ 439/2555 ลงวันที่ 19 มิถุนายน 2555 ๑. กระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ ๑) น.ส.ชนมณัฐ รอดบุญธรรม ๒) นางรัชตา แย้มพุทธคุณ ๓) นายมรุต ภูมิมี ๔) น.ส.ณัฐวรรณ เทียนสิทธิ์ ๕) น.ส.เตือนใจ เนตรกลัด ๖) นายกิตติทัศน์ นาสรร ๗) น.ส.ถิระรัตน์ เดชคงแก้ว ๘) นางเทียนทอง วงษ์คําหาญ ๙) นายสรฤทธ จันสุข

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชํานาญการพิเศษ (กผ.) นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชํานาญการ (กผ.) นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชํานาญการ (กผ.) นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชํานาญการ (กผ.) นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชํานาญการ (กผ.) นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ (กผ.) นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ (กผ.) เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติการ (กผ.) นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชํานาญการ (กผ.)

๒. กระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล ๑) น.ส.ฉัตรประอร นิยม ๒) นางเพียงจิต บุญโต ๓) นายสามภพ ศิริจันทรางกูล ๔) น.ส.สุขนันทิพย์ ศรีสมวงษ์ ๕) น.ส.พูพิศ ลาวัลย์ ๖) นายปฏิภาณ ชัยลังกา ๗) นายเอกฉัตร กันหอม ๘) นายธนภัทร เป้งทอง ๙) น.ส.เพ็ญนภา วรรณทอง ๑๐) นายเมธาพัฒน์ วงษ์ปา ๑๑) น.ส.เรณุมาศ รอดเนียม

นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการพิเศษ (กจ.) นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ (กจ.) นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ (กจ.) นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ (กจ.) นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ (กจ.) นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ (กจ.) นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ (กจ.) นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ (กจ.) นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ (กจ.) นักจัดการงานทั่วไปชํานาญการ (สล.) นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ (กจ.)

๓. กระบวนการจัดการองค์ความรู้ ๑) นายชอบ ชอบชื่นชม นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการพิเศษ (สพช.) ๒) นางกาญจนา รอดแก้ว นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ (สพช.) ๓) น.ส.ประไพ ศิวะลีราวิลาศ นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ (สพช.) ๔) นางกมลวรรณ ถาวร นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ (สพช.) ๕) น.ส.ปัทมา สนธิทรัพย์ นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ (สพช.) ๖) นายอารีย์ หมัดนุรักษ์ นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ (สพช.) ๗) นายเอนก ง๊ะสตูล เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน (สพช.) ๘) นายพิพัฒน์ จันทรมณีสมบูรณ์ นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ (สพช.)

๔. กระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และระบบข้อมูลสารสนเทศ ๑) นายกิตติพงษ์ เกิดผล นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการพิเศษ (ศสท.) ๒) นายเสนาะ แสงมณี นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ (ศสท.) ๓) นายอดิศร สุทธิเลิศ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชํานาญการ (ศสท.) ๔) น.ส.สุวนิจ พิทักษ์ชาติ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ (ศสท.) ๕) นายยุทธชัย เครือแก้ว นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ (ศสท.) ๖) นายเทพวสันต์ จันพล นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ (ศสท.) ๗) น.ส.นัฐธีรา เกรงผิด นักวิชาการคอมพิวเตอร์ (พนักงานราชการ) ๘) น.ส.จันทวรรณ อินทรไชยา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชํานาญการ (ศสท.)

๕. กระบวนการกํากับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการ ๑) นายทรงพล วิชัยขัทคะ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการพิเศษ (สต.) ๒) น.ส.สุมนา สุดรัก นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชํานาญการพิเศษ (กผ.) ๓) น.ส.กนกวรรณ สัมมาขันธ์ นักวิชาการตรวจสอบภายในชํานาญการ (สตภ.) ๔) น.ส.เปรมจันทร์ รัตนสุวรรณศิริ นักวิชาการตรวจสอบภายในชํานาญการ (สตภ.) ๕) น.ส.พิมพ์ลักษณ์ เฮงสมบูรณ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชํานาญการ (กผ.) ๖) น.ส.ธันยนันท์ ศานติกรวาณิชย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ (กผ.) ๗) นางวนิดา ม่วงศิลปชัย นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ (สต.)

๖. กระบวนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ๑) นายรักษ์พล วงษ์ม่วง ๒) นายโกวิทย์ ยอดวิทยา ๓) น.ส.จิรฐา บางเหลือ ๔) น.ส.การะเกตุ ถาวร ๕) นายมนตรี ประกอบศรี ๖) นายณัฐพล ปาลิวณิช ๗) น.ส.อัญชิษฐา สิงห์สุทัศน์ ๘) นางกชกร ทองไพลิน

นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการพิเศษ (สพช.) นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ (สพช.) นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ (สพช.) นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ (สพช.) นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ (สพช.) นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ (สพช.) เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน (สพช.) นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ (สพช.)

๗. กระบวนการบริหารงบประมาณ ๑) นางกฤษฎา ศรีโยธา ๒) น.ส.นันธิดา นัทธิโพธิ์ ๓) นางสุมาลี ศิริจินดา ๔) น.ส.กาญจนา ดิษฐบุตร ๕) นางรวีวรรณ พัทธรัตน์

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชํานาญการพิเศษ (กผ.) นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชํานาญการ (กผ.) นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ (กค.) นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ (กค.) นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ (กค.)

๘. กระบวนการพัฒนาระบบราชการ ๑) นายโชคชัย แก้วป่อง ๒) น.ส.วรินทร ปพนธนัตถ์ ๓) น.ส.เยาวนิจ กลั่นนุรักษ์ ๔) น.ส.ศศิวิมล ยินดี ๕) นายจักรพงศ์ การีชุม ๖) น.ส.นุจรีย์ ตุ้มคง

ผู้อํานวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ (กพร.) นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ (กพร.) นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ (กพร.) นักวิชาการพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ (กพร.) นักวิชาการพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ (กพร.)

๙. กระบวนการประชาสัมพันธ์ ๑) นายชัยยา ขําสะอาด ๒) นางรักใจ กาญจนะวีระ ๓) น.ส.นวพร พิมพา ๔) นายพีระ คําศรีจันทร์ ๕) น.ส.ยอดขวัญ ว่านเครือ ๖) น.ส.ศิริพร พรหมมา ๗) นายจรูญศักดิ์ เขียวสุคนธ์ ๘) นางสาวชณัทสรณ์โพธิปิ่น

ผู้อํานวยการกองประชาสัมพันธ์ นักประชาสัมพันธ์ชํานาญการ (ปชส.) นักประชาสัมพันธ์ชํานาญการ (ปชส.) นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ (ปชส.) นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ (ปชส.) เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาปฏิบัติงาน (ปชส.) เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาปฏิบัติงาน (ปชส.) นักประชาสัมพันธ์ชํานาญการ (ปชส.)

๑๐. กระบวนการพัฒนาอาคารสถานที่ ๑) นายกิจจา กาญจนนะวีระ ๒) นางกัลยา มั่งมีธนกุล ๓) น.ส.สุวรรณา รอดเรือง ๔) พ.อ.อ.ทรงพล ฉายแสง ๕) น.ส.อัจฉรา เสือครุฑ ๖) นางปราณี แดงจอหอ ๗) นายคํานึง อินทรสิทธิ์ ๘) นายเอกลักษณ์ คะเชนทร์ ๙) นายมนัส ฉายาวาท ๑๐) นายเพิ่มพล ธรรมสุภา

ผู้อํานวยการกองคลัง นักจัดการงานทั่วไปชํานาญการ (กค.) นักวิชาการพัสดุชํานาญการ (กค.) นักวิชาการพัสดุชํานาญการ (กค.) เจ้าพนักงานพัสดุชํานาญงาน (กค.) เจ้าพนักงานธุรการชํานาญงาน (กค.) นายช่างโยธาชํานาญงาน (กค.) นายช่างโยธาปฏิบัติงาน (กค.) พนักงานพัสดุ (กค.) นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการพิเศษ (กค.)


คณะผู้จัดทํา ที่ปรึกษา ๑. นายประภาศ ๒. นางกอบแก้ว ๓. นายพิสันติ์ ๔. นายนิสิต ๕. นางสาวเพ็ญแข ๖. นายชรินทร์ ๗. นายวีระศักดิ์ ๘. นางสาวขนิฏฐา ๙. นางอัจฉราวรรณ ๑๐. นายวสันต์ ๑๑. นายอาจณรงค์ ๑๒. นายกิจจา ๑๓. นายชัยยา ๑๔. นายโชคชัย ๑๕. นางสาวสุวรรณา

บุญยินดี จันทร์ดี ประทานชวโน จันทร์สมวงศ์ ศรีสุทธิกุล อาสาวดีรส ประภาวัฒน์เวช กาญจนรังษีนนท์ มณีขัติย์ ถนอมทรัพย์ สัตยพานิช กาญจนะวีระ ขําสะอาด แก้วป่อง ตรีสิทธิเดช

อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ผู้อํานวยการสถาบันการพัฒนาชุมชน ผู้อํานวยการศูนย์สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน ผู้อํานวยการสํานักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน นักวิชาการพัฒนาชุมชนเชี่ยวชาญ ที่ปรึกษาอธิบดีฯ นักวิชาการพัฒนาชุมชนเชี่ยวชาญ ที่ปรึกษาอธิบดีฯ ผู้อํานวยการกองแผนงาน ผู้อํานวยการกองการเจ้าหน้าที่ ผู้อํานวยการกองคลัง ผู้อํานวยการกองประชาสัมพันธ์ ผู้อํานวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ผู้อํานวยการกลุ่มตรวจสอบภายใน

ทองดี เอ็ม เอ็ม คงตุก สืบบุตร ไชยชนะ อังกุลดี

ผู้อํานวยการกลุ่มงานประสานแผนและข้อมูล นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ

ประสานงานข้อมูล ๑. ว่าที่ พ.ต. สุเนตร ๒. นายเหม ๓. นางสาวจริยา ๔. นายศรีสุวัฒน์ ๕. นายชัยวุฒิ ๖. นางสาวปวิตรี

ข้อมูลทางบรรณานุกรม ผู้เขียน ชื่อหนังสือ สถานที่พิมพ์ ผู้พิมพ์ ครั้งที่พิมพ์ พิมพ์เมื่อ ISBN

: กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย : คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุน : กรุงเทพมหานคร : สํานักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน : พิมพ์ครั้งที่ 1 : กรกฎาคม 2555 : 978-974-423-125-3

พิมพ์ที่ บริษัทอัพทรูยู ครีเอทนิว จํากัด โทรศัพท์ 02-964-8484 โทรสาร 02-964-8384



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.