Thai version

Page 1



บทวิเคราะห์

สถานการณ์ทางการตลาด

กลุ่มประเทศลุ่มนํ้าโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา


บทน�ำ บทวิเคราะห์ 1 สถานการณ์เศรษฐกิจการผลิตและการลงทุน ประเทศลาว 2 โอกาสของธุรกิจค้าปลีกและสินค้าส�ำหรับโรงแรมและร้านอาหารในประเทศลาว 3 ลู่ทางของธุรกิจค้าวัสดุก่อสร้าง ในประเทศลาว 4 ประเทศลาวกับการท�ำธุรกิจท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ (ECO-Tourism) 5 ตลาดผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวเนื่องในประเทศจีน 6 โอกาสธุรกิจค้าปลีก-ค้าส่งในกวางเจา 7 โอกาสของธุรกิจไทยในประเทศจีน ธุรกิจสิ่งทองและเครื่องนุ่งห่ม 8 กวางโจวเทรดแฟร์กับโอกาสการค้าขายสินค้าอาหารของไทย 9 โอกาสทางธุรกิจของอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ในจีนตอนใต้ 10 สภาพตลาดค้าส่งในเมืองกวางโจว สาธารณรัฐประชาชนจีน 11 ลักษณะการบริโภค และทัศนคติต่อสินค้าไทยของชาวเวียดนาม 12 ตลาดสินค้าอาหารส�ำเร็จรูปไทย ในประเทศเวียดนาม 13 โอกาสทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับรถจักรยานยนต์ในเวียดนาม 14 โอกาสของผู้ประกอบการไทยในตลาดค้าปลีกกัมพูชา 15 ธุรกิจที่เชื่อมโยงกับการท่องเที่ยวในกัมพูชาแนวโน้มสดใส 16 โอกาสของธุรกิจสถานีบริการนํ้ามันในกัมพูชา ขอบคุณ


สารบัญ หน้า 7

11 19 27 35 41 49 57 67 73 79 87 95 101 107 115 123 130



บทน�ำ คณะนักวิจยั ได้ลงพืน้ ทีไ่ ปศึกษาข้อมูลเชิงลึกในกลุม่ ประเทศ ลุม่ น�ำ้ โขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา โดยได้ ท� ำ การวางแผนลงพื้ น ที่ เ ก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ตั้ ง แต่ เดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2555 เพื่อศึกษาสถานการณ์การค้า การลงทุน การผลิต และศักยภาพการแข่งขันของสินค้าไทย และ พืน้ ทีท่ นี่ กั วิจยั ได้ทำ� การเลือกลงเก็บข้อมูลนัน้ เป็นเมืองหลักทีส่ ำ� คัญ ในด้านการค้าและการลงทุน ท�ำให้สามารถชีใ้ ห้เห็นถึงสถานการณ์ ที่แท้จริงของโอกาสและอุปสรรคในตลาดกลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง

รูปที่ 1.1 แสดงพื้นที่ที่คณะนักวิจัยเดินทางไปศึกษาข้อมูล


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

8

ตารางที่ 1.1 แสดงแผนการเดินทางศึกษาข้อมูลในกลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง สถานที่

ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล

จ�ำนวนนักวิจัย

1. ลาว

เวียงจันทน์

18-21 มีนาคม 2555

3 คน

2. จีน

กวางเจา และเซินเจิ้น

26 เมษายน – 2 พฤษภาคม 2555

10 คน

3. เวียดนาม

โฮจิมินห์

15 – 18 พฤษภาคม 2555

3 คน

4. กัมพูชา

พนมเปญ

27 – 30 พฤษภาคม 2555

3 คน

ประเทศ

การศึกษาในพื้นที่จริงใช้วิธีการส�ำรวจแบบการสังเกตและสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง (Key Information) ได้แก่ การส�ำรวจสภาพตลาด การเข้าไปศึกษาดูงานใน งานกวางโจวเทรดแฟร์ การสัมผัสกับวิถชี วี ติ ของประชาชนในแต่ละประเทศ และสัมภาษณ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการค้าและการลงทุน แล้วจึงน�ำผลการส�ำรวจมาท�ำการวิเคราะห์และ สั ง เคราะห์ โดยน� ำ เสนอเป็น บทวิเคราะห์ท่ีเกี่ยวข้ อ งกั บโอกาสของสิ นค้ าไทยใน ต่างประเทศ ทั้งหมด 16 บทความ ซึ่งบทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาดนีไ้ ด้สะท้อน มุมมองธุรกิจที่หลากหลาย ชีใ้ ห้เห็นถึงความสามารถในการแข่งขันสินค้าและบริการของ ไทย และโอกาสในการเข้าไปลงทุนค้าขาย ตลอดจน คณะนักวิจัยยังให้ข้อเสนอแนะในบท วิเคราะห์ที่เกี่ยวกับการลงทุน เพื่อผู้ประกอบการจะได้มีข้อมูลที่มากพอต่อการตัดสินใจ ท�ำการค้า และเป็นการลดความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ ภายหลัง การลงทุนด้วย ซึง่ บทวิเคราะห์ มีรายละเอียดดังนี้


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

ตารางที่ 1.2 แสดงบทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาดที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ประเทศ

ลาว

จีน

เวียดนาม

กัมพูชา

ชื่อบทวิเคราะห์ 1. สถานการณ์เศรษฐกิจการผลิตและการลงทุน ประเทศลาว 2. โอกาสของธุรกิจค้าปลีกและสินค้าส�ำหรับโรงแรมและร้านอาหาร ในประเทศลาว 3. ลู่ทางของธุรกิจค้าวัสดุก่อสร้าง ในประเทศลาว 4. ประเทศลาวกับการท�ำธุรกิจท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ (ECO-Tourism) 5. ตลาดผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวเนื่องในประเทศจีน 6. โอกาสธุรกิจค้าปลีก-ค้าส่งในกวางเจา 7. โอกาสของธุรกิจไทยในประเทศจีน ธุรกิจสิ่งทองและเครื่องนุ่งห่ม 8. กวางโจวเทรดแฟร์กับโอกาสการค้าขายสินค้าอาหารของไทย 9. โอกาสทางธุรกิจของอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ในจีนตอนใต้ 10. สภาพตลาดค้าส่งในเมืองกวางโจว สาธารณรัฐประชาชนจีน 11. ลักษณะการบริโภค และทัศนคติต่อสินค้าไทยของชาวเวียดนาม 12. ตลาดสินค้าอาหารส�ำเร็จรูปไทย ในประเทศเวียดนาม 13. โอกาสทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับรถจักรยานยนต์ในเวียดนาม 14. โอกาสของผู้ประกอบการไทยในตลาดค้าปลีกกัมพูชา 15. ธุรกิจที่เชื่อมโยงกับการท่องเที่ยวในกัมพูชาแนวโน้มสดใส 16. โอกาสของธุรกิจสถานีบริการน�้ำมันในกัมพูชา

9



1 สถานการณ์เศรษฐกิจ การผลิต และการลงทุน ประเทศลาว

นายศุภกร ศิริสุนทร เมษายน 2555


12

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

สปป. ลาว มีข้อจ�ำกัดของตลาดขนาดเล็ก มีประชากรไม่ถึง 10 ล้านคนและส่วน ใหญ่อยูใ่ นภาคเกษตรรวมทั้งท�ำเลที่ตั้งซึ่งไม่มีทางออกทะเลโดยตรง ท�ำให้มีการลงทุน จากต่างประเทศ(FDI) มีไม่มากนัก มูลค่า FDI ใน สปป.ลาว มีมูลค่ารวม 1,137 ล้านเหรียญ สรอ. เป็นเงินลงทุนจากจีนมากที่สุดจ�ำนวน 496 ล้านเหรียญ สรอ. (สัดส่วนร้อยละ 43.6 ของเงินลงทุน FDI ทั้งหมด) รองลงไป คือ การลงทุนของเวียดนาม (ร้อยละ 13.7) และไทย (ร้อยละ 8.16) อุตสาหกรรมเป้าหมายของลาว ได้แก่ สินค้าแฟชั่นประเภทเสื้อผ้าส�ำเร็จรูป รองเท้า อาหารแปรรูป กิจการไม้แปรรูป วัสดุก่อสร้าง ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ขนส่ง เครื่องจักรทางการเกษตร จากข้อมูลการลงทุนของต่างประเทศในสปป.ลาว ในปี 2007 พบว่ามีการลงทุน ในธุรกิจพลังงานมากที่สุด ส่วนใหญ่เป็นโครงการขนาดใหญ่ในการผลิตกระแสไฟฟ้า จากพลังงานน�้ำ และเขื่อน ล�ำดับถัดมา เป็นการลงทุนในภาคการเกษตร เช่นยางพารา มันส�ำปะหลัง ใบชา ไม้อุตสาหกรรม ธุรกิจการเกษตร ที่เป็นลักษณะเกษตรพันธะสัญญา นอกจากนี้ยังมีการลงทุนในด้านอื่นๆ ได้แก่ ภาคบริการ ประกอบด้วย ธุรกิจโรงแรม ท่อง เที่ยว ศูนย์บันเทิงครบวงจร ศูนย์กระจายสินค้า การศึกษา และการพัฒนาเทคโนโลยี การ ท�ำเหมืองแร่ (เช่น แร่เหล็ก ทองแดง ทองค�ำ)


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

มาตรการส่งเสริมการลงทุนของรัฐบาลลาวได้แก่ การยกเว้นภาษีนำ� เข้าเครือ่ งจักร และอุปกรณ์ชิ้นส่วนหรือยาพาหนะและวัตถุดิบทีใ่ ช้ในการผลิต และการยกเว้นภาษีสินค้า ขาออกส�ำหรับผลิตภัณฑ์ส่งออก โดยสิทธิประโยชน์ภาษีก�ำไรมีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับ แหล่งที่ตั้งของกิจการ กล่าวคือ เขตธุรกันดาร (ยกเว้นภาษีก�ำไร 7 ปี หลังจากนั้นเสียภาษี อัตราร้อยละ 10) เขตทีม่ รี ะบบสาธารณูปโภคพืน้ ฐานจ�ำกัด (ยกเว้นภาษีกำ� ไร 5 ปีแรก 3 ปี ต่อไปเสียร้อยละ 7.5 หลังจากนั้นเสียอัตราร้อยละ 15) เขตที่มีระบบสาธารณูปโภคครบครัน (ยกเว้นภาษีกำ� ไร 2 ปีแรก และเสียอัตราร้อยละ 10 ใน 2 ปีถดั มา หลังจากนัน้ เสียอัตราร้อยละ 20) การท�ำการเกษตรในรูปแบบเกษตรพันธสัญญาในลาวเริ่มมีมากขึ้น จากการมี พื้นที่ท�ำการเกษตรมาก ท�ำให้เพื่อนบ้านทั้งไทย เวียดนามและจีน เข้ามาท�ำการเกษตร พันธสัญญา เป็นจ�ำนวนมาก นอกจากการท�ำเกษตรในรูปแบบที่ต้องการผลผลิตเป็น จ�ำนวนมากแล้ว ตลาดเฉพาะเช่น สินค้าอินทรีย์ก็เริ่มเข้ามาท�ำการผลิตในลาวเช่นกัน ประเทศที่เข้าไปลงทุนเกษตรพันธะสัญญาในลาวได้แก่ ไทย ลาว จีน ฯลฯ สินค้าเกษตรที่ลาวน�ำเข้า 10 ล�ำดับต้น ได้แก่ กลุ่มสินค้ายางและผลิตภัณฑ์ รหัส 40 กลุ่มฝ้ายรหัส 52 กลุ่มแป้งและธัญพืช รหัส 19 กลุ่มน�้ำตาลและผลิตภัณฑ์ รหัส 17 กลุม่ ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ รหัส 04 กลุม่ เศษวัสดุจากอุตสาหกรรมอาหาร รหัส 23 กลุม่ ผลไม้ รหัส 08 กลุม่ แป้งและสตาร์ช รหัส 11 กลุม่ ธัญพืช รหัส 10 และกลุม่ ยาสูบรหัส 24

13


14

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

การใช้จ่ายภาคครัวเรือน ของประชากรในประเทศลาว เมื่อได้ไปส�ำรวจการใช้ชีวิตของประชาชนชาวลาว ในนครหลวงเวียงจันทน์ พบว่า วิถีชีวิตของประชาชนมีความเป็นคนเมืองอยู่มาก มีการรับประทานอาหารนอกบ้านจับจ่าย ซื้อเสื้อผ้าแฟชั่น ทั้งนี้ส่วนหนึ่งอาจมาจากอิทธิพลของสื่อไทย ทั้งโทรทัศน์ วิทยุและสิ่งพิมพ์ ที่ชาวลาวสามารถเข้าถึงได้ง่าย การใช้จ่ายเงินเพื่อบริโภคด้านต่างๆ ของประชากรลาว จึงมีความน่าสนใจ และอาจท�ำให้เห็นโอกาสในการเข้าไปด�ำเนินธุรกิจในประเทศลาวได้

รูปที่ 1.2 แสดงมูลค่าจีดีพีภาคค้าปลีก-ค้าส่ง และการเติบโต

มูลค่าตลาดค้าปลีกค้าส่งในประเทศลาว มีการเติบโตพอสมควร โดยในปี พ.ศ. 2553 มีมูลค่าอยู่ที่ 44,000 ล้านบาท ในนครหลวงเวียงจันทน์ยังไม่มีศูนย์การค้าขนาดใหญ่ แต่ ก� ำ ลั งมีโครงการก่ อ สร้าง เช่น โครงการ “รีกัลเมกะมอลล์ ” บริ เวณตอนเหนื อ ของเวียงจันทน์ โดยกลุ่ม รีกัลโกลบอลอินเวสท์เม้นท์ (Regal Global Investment Development) ซึ่งเป็นทุนจากประเทศจีนและสิงคโปร์ คาดว่าจะแล้วเสร็จประมาณ ปี 2556 นอกจากนี้ บิ๊กซีซูเปอร์เซ็นเตอร์จ�ำกัด (มหาชน) ก็ได้รับใบอนุญาตการลงทุน จากกระทรวงแผนการและการลงทุนลาว กลางปี 2554 ส�ำหรับโครงการมูลค่าราว 5 ล้านดอลลาร์ บริเวณศูนย์การค้าตลาดเช้า ด้วยสัญญาเช่า 30 ปี


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

เมื่อพิจารณาจากข้อมูลด้านประชากรลาว (Demographic Information) โดย World Bank พบว่า ร้อยละ 40 ของประชากรอาศัยอยู่ตามเมืองใหญ่ และ ในปี 2551 คนกลุ่มนี้ มีวิถีชีวิตในการอุปโภคบริโภค สินค้า 6 กลุ่มหลัก ได้แก่ อาหาร, การขนส่งและการสื่อสาร, เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย,การแพทย์, การสันทนาการ และ ที่อยู่อาศัย ดังนี้ ตารางที่ 1.3 แสดงกลุ่มสินค้าหลักในการอุปโภคบริโภคของประชากรลาว กลุ่มสินค้าหลัก

สัดส่วน ร้อยละ

กีบ/เดือน/ครอบครัว บาท/เดือน/ครอบครัว

อาหาร

30

887,000

3,420

การขนส่งและการสื่อสาร

20

582,300

2,245

ที่อยู่อาศัย

17

507,000

1,956

สันทนาการ

7

193,600

746

เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย

2

59,000

227

การแพทย์

2

54,000

208

ที่มา : World Bank

เป็นทีน่ า่ แปลกใจ ทีก่ ารใช้จา่ ยครัวเรือน ต่อการขนส่งและสือ่ สาร สูงกว่าค่าใช้จา่ ย ส�ำหรับที่อยู่อาศัย ซึ่งสอดคล้องกับอัตราการใช้โทรศัพท์มือถือในประเทศลาว ที่เพิ่มขึ้น ในอัตรา ก้าวกระโดด โดยในปี 2548 มีอัตราการใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อประชากร 100 คน เพิ่มขึ้นจากปี 2547 มากกว่า 3 เท่า โดยในปี 2553 ใน 100 คนมีประชากรทีใ่ ช้ โทรศัพท์มือถือถึง 64.5 คน (65%) ส่วนอัตราการใช้อินเตอร์เน็ต แม้ว่าจะมีอัตราเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง แต่เมื่อคิดเป็นจ�ำนวนประชากรแล้ว ถือว่ามีขนาดตลาดที่เล็กมาก กล่าวคือ ในปี 2553 ประชากร 100 คน เข้าถึงอินเตอร์เน็ตเพียง 7 คนเท่านั้น ทั้งนี้อาจมาจาก ค่าบริการอินเตอร์เน็ตในลาว มีราคาสูงมาก โดยบรอดแบนด์อนิ เตอร์เน็ต (7 MB) มีราคา ค่าบริการถึง 268 เหรียญสหรัฐฯ ต่อเดือน หรือประมาณ 8,000 บาทเลยทีเดียว ทั้งนี้ อาจเนื่องจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ตในประเทศลาว ก้าวกระโดดจากแบบผ่านสายเคเบิล เป็นแบบไร้สายผ่านโทรศัพท์มือถือ

15


16

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

รูปที่ 1.3 อัตราส่วนของผูใ้ ช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่และอินเตอร์เน็ต ต่อ 100 คน

จากข้อมูลข้างต้น ชีใ้ ห้เห็นว่าตลาดโทรศัพท์มอื ถือในประเทศลาวยังคงเติบโตได้ดี ดังเห็นได้จาก ในปี 2549 บริษัท ลาวเทเลคอมมิวนิเคชั่น จ�ำกัด (กลุ่มชินคอร์ป ถือหุ้น 49%) ได้เปิดให้บริการโทรศัพท์ ระบบ 3G ในประเทศลาว หลังจากนั้นไม่กี่ปี ในปี 2554 บริษัทพลาเน็ตคอมพิวเตอร์ (Planet Computer) ได้เปิดให้บริการอินเตอร์เน็ตระบบ 4G โดยใช้เทคโนโลยี WiMAX เมื่อเป็นเช่นนี้ ร้านขายโทรศัพท์มือถือ ร้านซ่อมโทรศัพท์ และ ร้านจ�ำหน่ายอุปกรณ์โทรศัพท์ ย่อมได้รับอานิสงส์กับการขยายตัวของตลาดแน่นอน นอกจากตลาดโทรคมนาคมแล้ว สินค้าประเภทอาหาร หรือร้านอาหารก็นา่ สนใจ ไม่แพ้กัน ดังเห็นได้จากตัวเลขการใช้จ่ายภาคครัวเรือน เป็นการใช้จ่ายส�ำหรับซื้ออาหารถึง ร้อยละ 30 คิดเป็นเงินบาทประมาณ 3,400 บาทต่อเดือนต่อครอบครัว ซึ่งหากเป็น ร้านอาหารรับประทานนอกบ้าน ก็สอดคล้องกับพฤติกรรมที่ผู้บริโภคลาวมีการใช้จ่าย เพื่อการสันทนาการมากขึ้น หรืออาจเป็นอาหารประเภทพร้อมปรุง ซึ่งตอบสนองวิถีชีวิต ที่เป็นคนเมืองมากขึ้น พฤติกรรมการท�ำอาหารรับประทานเองที่บ้านลดลง เป็นต้น จะเห็นได้ชัดว่า โลกของการสื่อสารและอินเตอร์เน็ทที่รวดเร็ว ท�ำให้วิถีชีวิตของ ประชาชนในประเทศลาว โดยเฉพาะตามตัวเมืองนัน้ จะมีความเป็นคนเมืองสมัยใหม่มากขึน้ ธุรกิจต่างๆ ที่จะมารองรับรูปแบบการด�ำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไปดังกล่าว ทั้งศูนย์การค้า ร้านอาหาร ธุรกิจแฟรนไชส์ต่าง ๆ รวมทั้งการพัฒนาคอนเทนท์ หรือ Application ต่างๆ บนโทรศัพท์มือถือที่เกี่ยวกับไลฟ์สไตล์ชาวลาว ก็ยังมีความน่าสนใจ และยังไม่มี ผู้ที่เข้าไปด�ำเนินธุรกิจลักษณะนี้มากนัก กระแสของต่างชาติที่ชาวลาวได้รับรู้และปรับตัวได้ รวดเร็วนั้น หากนักลงทุนสามารถมองเห็นการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ ก็ถือเป็นโอกาสที่จะพบ ช่องทางในการท�ำธุรกิจในประเทศลาวไม่ยาก

17



2

โอกาสของธุรกิจค้าปลีก-ค้าส่ง และ สินค้าส�ำหรับโรงแรมและ ร้านอาหาร (HORECA) ในประเทศลาว

นายศุภกร ศิริสุนทร พฤษภาคม 2555


20

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

สิ่งหนึ่งทีไ่ ด้พบจากการศึกษาวิถีชีวิตของประชาชนลาวในนครหลวงเวียงจันทน์ คือ ค่าครองชีพในนครหลวงเวียงจันทน์ค่อนข้างสูงเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศไทย โดย ตัวชี้วัด ค่าครองชีพอย่างหนึ่งคือ เฝอ โดยเฝอ 1 ชาม มีราคาเริ่มต้นอยู่ที่ 60 บาท ไปจนถึง 100 บาทเลยทีเดียวในขณะที่รายได้ของคนลาวนั้นค่อนข้างต�่ำ เช่น พนักงานของ รัฐระดับปฏิบัติการ ได้รับเงินเดือนเพียง 1,500 บาทเท่านั้น เหตุที่ราคาเฝอสูงเช่นนี้ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะวัตถุดิบในการประกอบอาหารบางอย่างต้องน�ำเข้ามาจากประเทศไทย เป็นสาเหตุให้ประชากรวัยท�ำงานชาวลาว นิยมน�ำอาหารกลางวันจากบ้านมารับประทานเอง มากกว่าไปรับประทานตามร้านหรือศูนย์อาหารต่าง ๆ ในนครหลวงเวียงจันทน์ ยังไม่มีห้างค้าปลีกสินค้าอุปโภคบริโภคขนาดใหญ่ หรือ ไฮเปอร์มาร์เก็ต มีแต่ตลาดสดและร้านค้ารายย่อยเท่านั้น นอกจากนี้ จากการสัมภาษณ์ ผู้ประกอบการ ชาวไทย ทีไ่ ปประกอบกิจการร้านอาหารในนครหลวงเวียงจันทน์พบว่า นอกเหนือจากอาหารสดแล้ว ผู้ประกอบการวัตถุดิบในการประกอบอาหารหลายอย่าง ไม่สามารถหาซือ้ ได้จากร้านค้าท้องถิน่ แต่จะมีผปู้ ระกอบการค้าปลีก-ค้าส่งในจังหวัดหนองคาย รับสั่งซื้อและน�ำไปส่งในฝั่งเวียงจันทร์ ซึ่งมีราคาค่อนข้างสูง เพราะรวมค่าขนส่งส่งผลให้ อาหารมีราคาสูงตามไปด้วย

รูปที่ 1.4 แสดงจีดีพีภาคค้าปลีกค้าส่งและรายรับจากภาคการท่องเที่ยวในนครเวียงจันทน์


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

ในปี 2553 มูลค่าตลาดค้าปลีกค้า ส่งในประเทศลาว มีมูลค่าอยู่ที่ 44,000 ล้านบาท และมีแนวโน้มเติบโตขึ้นเรื่อยๆ ทั้งนี้ สาเหตุ ห นึ่ ง อาจมาจากภาคการท่ อ งเที่ ย ว และบริการทีข่ ยายตัวอย่างต่อเนือ่ ง โดยข้อมูล จากส�ำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ (Thai Trade Center) ณ นครหลวงเวียงจันทน์ ระบุว่า ธุรกิจบริการที่มีศักยภาพ และน่าลงทุน ได้แก่ โรงแรมและกาพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว, สปา, ร้านอาหาร และ แฟรนไชส์ โดยเฉพาะ ธุ รกิจโรงแรมและการท่ อ งเที่ย ว จะได้รับ การสนับสนุนเป็นพิเศษจากรัฐบาล

21


22

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

สปป.ลาว มีรายได้จากภาคการท่องเที่ยว ประมาณ 9 พันล้านบาทในปี 2553 โดย เพิ่มขึ้นเกือบเท่าตัว ภายในเวลา 5 ปี ซึ่งถือว่ามีการเติบโตสูง ทั้งนี้เนื่องจากรัฐบาลลาว ให้การสนับสนุนภาคการท่องเที่ยวเป็นอย่างมาก และในหลายภูมิภาคของลาวก็ยัง มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ และวัฒนธรรมที่เป็นที่นิยมในหมู่นักท่องเที่ยวหลายแห่ง แน่นอนเมื่อธุรกิจการท่องเที่ยวและร้านอาหารมีการขยายตัว สิ่งที่ตามมาก็คือ ความ ต้องการสินค้าโดยเฉพาะอาหาร เพื่อซัพพลายแก่ธุรกิจเหล่านี้ จึงเป็นโอกาสส�ำหรับทั้ง ธุรกิจค้าปลีก-ค้าส่ง และ ธุรกิจจ�ำหน่ายสินค้าให้แก่ โรงแรม รีสอร์ท และภัตตาคาร (Hotel Restaurant Café Supply, HORECA) รูปที่ 1.5 แสดงการเปรียบเทียบจ�ำนวนโรงแรม ในหลวงพระบางกับนครเวียงจันทร์

ที่มา : Lao National Tourism Administration


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

รูปที่ 1.6 แสดงการเปรียบเทียบจ�ำนวนรีสอร์ท, เกสต์เฮ้าส์ ในหลวงพระบางกับนครเวียงจันทร์

ที่มา : Lao National Tourism Administration

23


24

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

จ�ำนวนโรงแรมในเมืองท่องเที่ยวหลัก เช่น นครหลวงเวียงจันทน์ และหลวงพระบาง มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยในระยะ 5 ปี ตั้งแต่ ปี 2548-2552 มีการเติบโตเฉลี่ยปีละประมาณ 50% รวมทั้งยังมีรีสอร์ต และเกสท์เฮ้าส์ส�ำหรับนัก ท่องเที่ยวอีกกว่า 400 แห่ง และ ภัตตาคารร้าน อาหารต่างๆ อีกกว่า 200 แห่ง ท�ำให้ต้องน�ำเข้าสินค้าต่างๆจาประเทศไทย โดยเฉพาะอาหารส�ำเร็จรูป อาหารแปรรูปต่างๆ เพือ่ ให้บริการแก่นกั ท่องเทีย่ ว อย่างไรก็ดี ปัจจัยส�ำคัญที่ผู้ประกอบการที่สนใจจะประกอบธุรกิจ ค้าปลีก-ค้าส่งในประเทศลาวจ�ำเป็นต้องพิจารณา คือ ต้นทุนและราคาขาย เพราะหากมีขอ้ ได้เปรียบทางด้านราคาเมือ่ เปรียบเทียบกับผูป้ ระกอบการท้องถิน่ รวมทั้งผู้ประกอบการจากจังหวัดใกล้เคียง เช่น หนองคาย และอุดรธานี เนื่องจากลูกค้าโดยเฉพาะลูกค้าที่เป็นผู้ประกอบการต่างๆ ก็จะเลือกใช้ช่อง ทางซื้อสินค้าจากผู้ประกอบการรายใหญ่ เพื่อลดต้นทุนทั้งด้านราคาและ ค่ า ขนส่ ง ส่ ว นลู ก ค้ า ภาคครัวเรือ น ก็จะได้ซื้อสิน ค้าในราคาที่ ถูกลง เพื่อลดค่าครองชีพอีกด้วย




3

ลู่ทางของธุรกิจค้าวัสดุก่อสร้าง ในประเทศลาว

นายศุภกร ศิริสุนทร พฤษภาคม 2555


28

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

ประเทศลาว ก�ำลังมีการพัฒนาในหลาย ๆ ด้าน

ทั้งที่เป็นโครงการของรัฐ อย่างเช่น การสร้างเขื่อน ผลิตไฟฟ้าหลายแห่งทั่วประเทศ เพือ่ เป็น “แบตเตอรี่ แห่งเอเชีย” และการสร้างนิคมอุตสาหกรรมและเขต ส่งเสริมการลงทุนต่าง ๆ จึงท�ำให้มีโครงการก่อสร้าง รวมทั้ ง การพั ฒ นาระบบสาธารณู ป โภคต่ า งๆ เป็นจ�ำนวนมากตามมา สิง่ ทีไ่ ด้พบอีกสิง่ หนึง่ เมือ่ ได้ไป ส�ำรวจ นครหลวงเวียงจันทน์ คือ ไม่ค่อยมีร้านค้า ที่จ�ำหน่ายวัสดุก่อสร้างให้เห็น

ทั้งนี้อาจมีสาเหตุ

มาจากผูร้ บั เหมาน�ำสินค้าและวัสดุกอ่ สร้างจากเมืองไทย เข้าไปใช้ก่อสร้างโครงการในประเทศลาว ซึ่งแน่นอน ราคาวัสดุก่อสร้างรวมกับค่าขนส่งและภาษีต่างๆ ย่อมท�ำให้วสั ดุกอ่ สร้างมีราคาสูงขึ้นไปอีก


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

รูปที่ 1.7 แสดงจีดีพี ภาคการก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ ประเทศลาว

ที่มา : World Bank (ฐานข้อมูล CEIC, ข้อมูล ณ วันที่ 10 เมษายน 2555)

เมื่อพิจารณาจาก GDP ภาคการก่อสร้างของประเทศลาว พบว่ามีมูลค่าสูงถึง 1.1 หมืน่ ล้านบาท ในปี 2553 ซึง่ มีแนวโน้มทีเ่ ติบโตขึน้ เรือ่ ยๆ สอดคล้องกับภาคอสังหาริมทรัพย์ ที่มีการเติบโตเช่นเดียวกัน โดยมีมูลค่าถึง 6,296 ล้านบาท ในปี 2553 แม้ตัวเลขอาจดู ไม่สูงนักเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศไทย เนื่องจากความเจริญในประเทศลาวยังอยูใ่ นเฉพาะ เมืองหลวง และประเทศลาวยังมีภมู ภิ าคทีต่ อ้ งการการพัฒนาอีกมาก แต่อย่างไรก็ตาม นโยบายต่างๆ ที่ก�ำลังเกิดขึ้น ทั้งเส้นทาง East-West Economic Corridor, GMS และ AEC ล้วนแล้วแต่นำ� เอาความเจริญและการลงทุนต่าง ๆ เข้ามายังประเทศลาว เหล่านี้ ล้วนแล้วแต่เป็นเหตุผลทีท่ ำ� ให้ ภาคการก่อสร้างในประเทศลาว มีโอกาสทีจ่ ะเติบโตได้อกี มาก ส�ำหรับตลาดอสังหาริมทรัพย์ โดยเฉพาะที่อยู่อาศัยในประเทศลาว ในอดีต ประเทศลาว ยังไม่มโี ครงการบ้านจัดสรรหรือคอนโดมิเนียมของเอกชน เนื่องจากยังไม่มี กฎหมายรองรับ มีเพียงโครงการบ้านจัดสรรของรัฐบาลไม่กโี่ ครงการ แต่ปัจจุบันเริ่มมี โครงการบ้านจัดสรร ที่พัฒนาโครงการโดยเอกชนลาว และให้ประชาชนลาวถือครอง กรรมสิทธิไ์ ด้ เนื่องจากประเทศลาวยังไม่มีกรมที่ดิน ดังนั้นการท�ำธุรกรรมเกี่ยวกับที่ดิน จึงต้องผ่านกระบวนการศาลทั้งหมด

29


30

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

รูปที่ 1.8 แสดงป้ายโฆษณาสี ยี่ห้อหนึ่ง ในนครเวียงจันทน์


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

รูปที่ 1.9 แสดงร้านหนองคายวิศิษฏ์ ร้านจ�ำหน่ายวัสดุก่อสร้าง ที่มีบริการจัดส่งสินค้าไปยัง ประเทศลาว (ปัจจุบันมีสาขาในเวียงจันทน์ และสะหวันเขต) ที่มา: nvs4u.com

31


32

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

เมื่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการก่อสร้างมีการเติบโต แน่นอนสิ่งที่ตามมาคือ โอกาสส�ำหรับธุรกิจวัสดุก่อสร้างต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบันการท�ำธุรกิจประเภทนี้ เป็นเพียงร้าน ขนาดเล็กขายสินค้าไม่หลากหลายมากนัก กระจายอยูใ่ นหลาย ๆ แห่งส่วนร้านขนาดใหญ่ ที่สุดคือร้านสุวันนีก่อสร้าง โดยมีส่วนแบ่งการตลาดประมาณร้อยละ 60 ที่เหลือเป็น ร้านขนาดกลางและขนาดเล็ก ซึง่ ร้านสุวนั นีมโี ครงการจะขยายร้านให้มขี นาดใหญ่คล้ายกับ โฮมโปรในประทศไทย โดยสินค้าทีจ่ ำ� หน่ายในร้านส่วนใหญ่นำ� เข้ามาจากประเทศไทยและจีน นอกจากนี้ยังมีผู้ประกอบการในจังหวัดหนองคาย ทีใ่ ห้บริการขายวัสดุก่อสร้างและจัดส่ง ไปยังประเทศลาวด้วย ส�ำหรับผู้ผลิตซีเมนต์ท้องถิ่นของประเทศลาว มีทั้งหมด 5 โรงงาน ได้แก่ ปูนซีเมนต์ วังเวียง, ปูนกระทิง, ปูนสิงห์, ปูนมังกร และ ปูนช้างค�ำ ข้อมูลจากส�ำนัก งานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (Thai Trade Center) ณ เวียงจันทน์ ระบุว่า ปี 2554 ประเทศลาว สามารถผลิตปูนซีเมนต์ได้ 1.8 ล้านตันต่อปี จะเห็นได้ว่า การเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ รวมทั้งภาคการก่อสร้างและ อสังหาริมทรัพย์ในประเทศลาว เป็นโอกาสที่ดี ส�ำหรับนักธุรกิจในการที่จะเข้าไปด�ำเนิน ธุรกิจร้านค้าวัสดุกอ่ สร้างในประเทศลาว ทัง้ นี้ ข้อมูลจากผลการศึกษาทัศนคติของผูบ้ ริโภค ชาวลาวต่อแหล่งที่มาของสินค้าอุปโภคบริโภค โดยว่าที่ร้อยโทศรัณย์ อมาตยกุล ระบุว่า ชาวลาวมีทัศนคติต่อสินค้าไทย ว่าเป็นสินค้าที่มีคุณภาพดี (ดีกว่าสินค้าที่ผลิตในประเทศ และที่น�ำเข้าจากจีน) และสามารถรับสื่อโฆษณาของประเทศไทยได้ จึงท�ำให้สินค้าไทยมี อิทธิพลในประเทศลาวมาก อย่างไรก็ดี การเข้าไปด�ำเนินธุรกิจในลักษณะนี้ สิ่งที่น่าจะเป็น กลยุทธ์ในการแข่งขัน น่าจะเป็นกลยุทธ์ด้านราคา เนื่องจากคู่แข่งขายสินค้าในราคา ค่อนข้างสูง เพราะไม่มีคู่แข่งรายอื่นมากนัก นอกจากนี้ควรวางแผนเรื่องของสินค้าคงคลัง และโควตาการน�ำเข้าให้รดั กุม เนือ่ งจากอาจประสบปัญหาไม่สามารถน�ำเข้าสินค้าได้ในปริมาณ ทีเ่ พียงพอกับความต้องการในบางช่วง หากผูป้ ระกอบการค�ำนึงถึงปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ ย่อม ช่วยให้ผู้ประกอบการได้เปรียบทางการแข่งขันได้




4 ประเทศลาว กับการท�ำธุรกิจท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ (ECO-Tourism)

นายศุภกร ศิริสุนทร พฤษภาคม 2555


36

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

เป็นทีท่ ราบกันดี ว่าประเทศลาว เป็นประเทศทีม่ ที รัพยากรธรรมชาติทอี่ ดุ มสมบูรณ์ รวมทั้งยังมีศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ทีไ่ ด้รับการอนุรักษ์ จึงท�ำให้นักท่องเที่ยวจากหลาย ประเทศ นิยมเดินทางไปท่องเที่ยวในประเทศลาว เพื่อชมธรรมชาติ และศิลปวัฒนธรรม ที่งดงาม ในแง่ของการลงทุน รัฐบาลลาว และธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (ADB) ได้ทำ� การศึกษาและวางกรอบ การพัฒนาการท่องเทีย่ วในประเทศลาวร่วมกันโดยวางแผน ให้ประเทศลาว เป็นสวรรค์แห่ง การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ หรือการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

รูปที่ 1.10 แสดงสถิติจ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เข้ามายังประเทศลาว

ตั้งแต่ปี 2550 ประเทศลาวมีนักท่องเที่ยว ต่างชาติ เข้าไปท่องเที่ยวมากกว่า 1 ล้านคน ต่อปี และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งนี้เนื่องจากกระแสของการท่องเที่ยว ในเชิงอนุรักษ์ ทั้งที่เป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และสถานที่ทางศิลปวัฒนธรรม ได้รับความนิยม เมืองที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญๆ ได้แก่ เวียงจันทน์, หลวงพระบาง, วังเวียง, หลวงน�้ำทา, เป็นต้น ที่มา: World Bank


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

โดยในปี 2553 ประเทศลาวมีรายได้จากภาคการท่องเทีย่ วกว่า 380 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 12,000 ล้านบาท และในระยะ 5 ปี ตัง้ แต่ปี 2549-2553 มีการลงทุนในด้าน การโรงแรมและการท่องเที่ยวจากต่างประเทศ เข้ามาลงทุนในลาว เป็นเม็ดเงินรวมมูลค่า กว่า 5,200 ล้านบาท และสร้างโรงแรมต่าง ๆ เฉลีย่ ปีละ มากกว่า 10 แห่ง ในหลายๆ พืน้ ที่ และก็ยังมีผู้ประกอบการจากประเทศไทยหลายรายที่สนใจเข้าไปลงทุนท�ำธุรกิจประเภทนี้ เช่น คุณวิมล กิจบ�ำรุง ที่เข้าไปพัฒนาโครงการ “อุทยานบาเจียง” (น�้ำตกผาส่วม) ในแขวง จ�ำปาสัก ตั้งแต่ปี 2542 โดยพัฒนาเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ท่ามกลางธรรมชาติ และหมู่บ้านของ 11 ชนเผ่า จนกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่มีชื่อเสียง และได้รับ การสนับสนุนต่างๆ จากรัฐบาลของประเทศลาว ภาพบรรยากาศของอุทยานบาเจียง

ที่มา: เฟซบุ๊คอุทยานบาเจียง (Uttayan Bajiang Ecological Resort)

รูปที่ 1.12 แสดงรายรับจากภาคการท่องเที่ยวของประเทศลาว

ที่มา : World Bank

37


38

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

ประเทศลาว มีรายได้จากการท่องเทีย่ วทัง้ ประเทศ ถึง 12,000 ล้านบาทในปี 2553 ซึง่ เติบโตขึน้ เกือบ 3 เท่า จากปี 2548 โดยเป็นนักท่องเทีย่ วจากภูมภิ าคเอเชียถึงร้อยละ 90 ของนักท่องเที่ยวที่มายังประเทศลาวทั้งหมด (World Bank; 2553) ทั้งนี้ ผู้ประกอบการ ที่สนใจเข้าไปท�ำธุรกิจการท่องเที่ยว โดยเฉพาะการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในประเทศลาว จะได้รับสิทธิประโยชน์ทางด้านภาษี ตามแต่เขตพื้นที่ที่เข้าไปพัฒนา ดังนี้ เขต

ระยะเวลาการลงทุน

สิทธิประโยชน์ทางภาษี

เขตที่ 1 พื้นที่ห่างไกลทุรกันดาร โครงสร้างพื้นฐานไม่สะดวก

0-7 ปี ตั้งแต่ปีที่ 8

0% (ยกเว้นอากรก�ำไร) 10%

เขตที่ 2 พื้นที่ที่มีสาธารณูปโภคพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจบางส่วน

0-5 ปี ปีที่ 6-8 ตั้งแต่ปีที่ 8

0% (ยกเว้นอากรก�ำไร) 7.5% 15%

เขตที่ 3 เขตเมืองใหญ่ มีสาธารณูปโภคพื้นฐานพร้อม

0-2 ปี ปีที่ 3-4 ตั้งแต่ปีที่ 4

0% (ยกเว้นอากรก�ำไร) 10% 20%

ที่มา : ส�ำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ สถานทูตไทย ณ นครหลวงเวียงจันทน์

จากข้อมูลข้างต้น จะเห็นว่า รัฐบาลลาว พยายามสนับสนุนให้มีการเข้าไปพัฒนา การท่องเที่ยวในพื้นที่ห่างไกล ทั้งนี้เพื่อการพัฒนาสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน รวมทั้ง การสร้างงานและกระจายรายได้แต่คนท้องถิ่น หรือชนเผ่าพื้นเมืองต่างๆ ท�ำให้ ประชากรมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยรัฐบาลลาว ได้ท�ำการศึกษา และก�ำหนดกรอบแนวทางการพัฒนาการท่องเทีย่ ว ให้เป็นการท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ ร่วมกับ ธนาคารเพือ่ การพัฒนาเอเชีย ดังนัน้ อุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ในประเทศลาว มีแนวโน้มที่ดี เนื่องจากประเทศลาวยังมีทรัพยากร ธรรมชาติที่สวยงามอีกมาก รวมทั้ง ศิลปวัฒนธรรมทีย่ งั คงรักษาขนบธรรมเนียมดัง้ เดิมไว้อย่างเหนียวแน่น ประกอบกับกระแส ความนิยมการท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ หรือ Eco-Tourism ทีก่ ำ� ลังได้รบั ความสนใจจากนัก ท่องเที่ยวรุ่นใหม่ ก็ถือเป็นโอกาสท�ำให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศลาวมี ความน่าสนใจและดึงดูดนักลงทุนมากขึ้น


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

39



5

ตลาดผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ และผลิตภัณฑ์ ที่เกี่ยวเนือ่ งในประเทศจีน

นายเฉลิมชัย ตรีสุวรรณวัฒน์ มิถุนายน 2555


42

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์และผลิตภัณฑ์ทเี่ กีย่ วเนือ่ ง ยกตัวอย่างเช่น อุปกรณ์หรือ เครือ่ งมือจ�ำพวกโลหะหรือพลาสติกทีใ่ ช้ในการช่วยพยุงตัวของผูป้ ว่ ยหลังจากประสบอุบตั เิ หตุ หรืออุปกรณ์ทใี่ ช้อ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ป่วย เช่น รถเข็น (Wheel Chair) เป็นต้น ผลิตภัณฑ์ที่กล่าวมานี้ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผู้ประกอบการในประเทศจีนเน้นขายสินค้าใน ตลาดภายในประเทศเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากการใช้งานภายในประเทศมีความต้องการ ในอัตราทีส่ งู เพราะประเทศจีนเป็นประเทศทีม่ ปี ระชากรมากทีส่ ดุ ของโลก ดังนัน้ ความต้องการ ผลิตภัณฑ์ประเภทนี้ จึงมีความต้องการในอัตราทีส่ งู เพราะความเจ็บป่วยเป็นสิง่ ทีห่ ลีกเลีย่ ง ไม่ได้ จึงท�ำให้มกี ารคิดค้นนวัตกรรมหรืออุปกรณ์ตา่ งๆทีจ่ ะน�ำมาใช้กบั ผูป้ ว่ ย เพือ่ ท�ำให้ผปู้ ว่ ย ฟื้นฟูสภาพร่างกายหลังเจ็บป่วย อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวเนื่องของจีน จะเน้นตลาดส่วนใหญ่ที่เป็นตลาดภายในประเทศ แต่ยังมีบางส่วนที่ถูกส่งออกไปยังตลาด ในต่างประเทศซึ่งผลิตภัณฑ์ในกลุ่มสินค้าดังกล่าวที่ส่งออกส่วนใหญ่เป็นผลิตภัณฑ์ที่ ผู้ผลิตมีความสามารถในการท�ำตลาดมาก่อน และเป็นผลิตภัณฑ์ทใี่ ช้งานควบคู่กับอุปกรณ์ ชนิดอื่น โดยจากข้อมูลการน�ำเข้า-ส่งออกของ International Trade Centre (www.trademap.org [11/05/55]) พบว่ามีการส่งออกผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ และอุปกรณ์อื่นๆไปยังตลาดทั่วโลก โดยในปี 2009-2010 มีมูลค่าการส่งออกสูง ถึง 38,914 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ และ 52,110 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ ตาม ล�ำดับ ซึ่งผลิตภัณฑ์ 3 อันดับแรก ในกลุ่มสินค้าที่เกี่ยวเนื่องทางการแพทย์ที่มีการส่งออก มากที่สุด ได้แก่ จอ LCD เครื่องกระตุ้นกระแสไฟฟ้า และเส้นใยแก้วน�ำแสง เป็นต้น ดัง ปรากฏข้อมูลในตารางที่ 3.5 และภาพที่ 3.13 รูปที่ 1.13 แสดงผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวเนื่อง (เครื่องกระตุ้น กระแสไฟฟ้า)

ที่มา : www.cooben.com [12/05/55]


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

ตารางที่ 1.5 แสดงมูลค่าการส่งออกของผลิตภัณฑ์ในกลุ่มสินค้าที่เกี่ยวเนื่องทางการแพทย์ 10 อันดับแรก (หน่วย : ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ) อันดับ

ผลิตภัณฑ์

มูลค่าการส่งออก พ.ศ. 2552

มูลค่าการส่งออก พ.ศ. 2553

1

จอ LCD

20,335

27,853

2

เครื่องกระตุ้นไฟฟ้า

2,712

3,293

3

เส้นใยแก้วน�ำแสง

1,972

2,756

4

เครื่องควบคุมการท�ำงานแบบอัตโนมัติ

1,515

2,139

5

แว่นตา (แว่นสายตา แว่นกันลม)

1,279

1,793

6

เลนส์ ปรึซึม และกระจก

1,346

1,745

7

เครื่องบ�ำบัดกล้ามเนื้อหรือส่วนอื่นๆ

1,194

1,413

8

เครื่องตรวจสอบสถานะ(น�้ำหนัก)

710

1,029

9

ส่วนประกอบในเครื่อง X-Ray

790

967

10

เครื่องแสดงคลื่นกระแสไฟฟ้า

568

948

ที่มา : International Trade Centre

รูปที่ 1.14 แสดงมูลค่าการส่งออกของผลิตภัณฑ์ในกลุ่มสินค้า ที่เกี่ยวเนื่องทางการแพทย์ 3 อันดับแรก (หน่วย: ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ)

ที่มา : International Trade Centre

43


44

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

หากมองในมุมผูป้ ระกอบไทยทีจ่ ะเข้าไปแข่งขันในตลาดกลุม่ ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ และผลิตภัณฑ์ทเี่ กีย่ วเนือ่ งในประเทศจีนจ�ำเป็นต้องใช้ความพยายามเป็นอย่างมาก เนือ่ งจาก มีปจั จัยหลายอย่างทีเ่ ป็นอุปสรรคต่อการท�ำการค้า ประการแรก คือ ประเทศไทยยังต้อง พึ่งพาการน�ำเข้าผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวเนื่องจากต่างประเทศ โดย มีประเทศจีนเป็นประเทศคู่ค้าอันดับสาม รองจากญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริกา ตามล�ำดับ และ มีการน�ำเข้าสินค้าจากประเทศจีนคิดเป็นมูลค่า 454 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ เมือ่ เป็นเช่นนี้ จึงท�ำให้มตี น้ ทุนในการผลิตสินค้าทีส่ งู ส่งผลให้การน�ำผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งเข้ าไปขายในประเทศจี นไม่ ส ามารถแข่ ง ขั น ด้ า นราคากั บ ผู ้ ป ระกอบการในจี นได้ เนื่องจากผู้ป ระกอบการไทย มี ต ้ นทุ นในการผลิ ต ที่ สู ง กว่ า ผู้ประกอบการจีน เช่น ต้นทุนทางด้านวัตถุดิบและแรงงาน เป็นต้น


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

ประการที่สอง คือ ปัจจัยด้านนโยบายของรัฐบาลไทยในการสนับสนุนและส่งเสริม ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ทเี่ กีย่ วข้องทางการแพทย์ ยังไม่พบว่ามีนโยบายในการ ผลักดันให้ผู้ประกอบการของไทยเข้าไปแข่งขันในตลาดจีนได้ เนื่องจากรัฐบาลไทยมุ่งเน้น ในการส่งเสริมผูป้ ระกอบการของอุตสาหกรรมประเภทอืน่ เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์และ ชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ มากกว่าผูป้ ระกอบการทีผ่ ลิตอุปกรณ์ทางการแพทย์ ประกอบกับ นโยบายของรัฐบาลไทยมุ่งหวังที่จะให้ประเทศไทยเป็ น ศู น ย์ ก ลางการผลิ ต รถยนต์ ทใี่ หญ่ ที่สุดในทวีปเอเชีย

45


46

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

ดังนั้น ด้วยปัจจัยเหล่านี้จึงเป็นการยากที่ผู้ประกอบการไทยจะเข้าไปท�ำตลาด ในประเทศจีน แต่ทั้งนี้ถึงจะมีปัจจัยที่เป็นอุปสรรคหลายด้าน ตลาดจีนยังคงชืน่ ชอบใน ผลงานการผลิตสินค้าของผูป้ ระกอบการไทย เนื่องจากแรงงานไทยมีฝีมือเป็นที่ยอมรับ จึง ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ที่ส่งออกจากประเทศไทยมีคณ ุ ภาพ และมีการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ น�ำสมัย ประกอบกับมีการใช้เทคโนโลยีทที่ นั สมัยเพือ่ ช่วยในการผลิต เมื่อเป็นเช่นนี้ จึงท�ำให้ ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพและเป็นที่ต้องการของตลาด ถ้าหากต้องการน�ำสินค้าเข้าไปสร้าง ตลาดในประเทศจีน ผูป้ ระกอบการไทย ควรทีจ่ ะน�ำเสนอสินค้าให้แก่ลูกค้าในด้านคุณภาพ ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีในการผลิต เพื่อท�ำให้เกิดความได้เปรียบทางการแข่งขันมากกว่า การไปแข่งขันทางด้านราคา เนือ่ งจากผูป้ ระกอบการไม่สามารถไปแข่งขันทางด้านราคากับ ผู้ประกอบการจีนได้ ดังนั้น ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวเนื่องทางการแพทย์ที่มีความเป็นไปได้ใน การเข้าไปท�ำตลาดในจีน คือ อุปกรณ์ทางการแพทย์ทที่ ำ� จากยางพารา เช่น ถุงมือยาง ไม้


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

เท้าพยุงตัว เป็นต้น เนือ่ งจากประเทศไทย เป็นศูนย์กลางในการผลิตยางพาราของโลก และ มีความเชีย่ วชาญในการผลิตสินค้าทีแ่ ปรรูปมาจากยางพารา ดังนัน้ ผูป้ ระกอบการของไทย จึง ต้องหมัน่ ศึกษาและพัฒนาสินค้าของตนเองให้มคี วามโดดเด่น เพือ่ ท�ำให้สนิ ค้าได้รบั การยอมรับ และสร้างโอกาสในการขยายฐานการส่งออกไปยังเมืองอืน่ ๆในจีน อย่างไรก็ดี ถ้าหากผู้ประกอบการไทย ไม่สามารถรับมือกับการแข่งขันทางด้าน ราคากับผูป้ ระกอบการจีนได้ ผูป้ ระกอบการไทยควรทีจ่ ะพลิกรูปแบบการท�ำธุรกิจกล่าวคือ อาจจะต้องน�ำเข้าผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์และผลิตภัณฑ์ทเี่ กีย่ วเนือ่ งจากจีน เพือ่ น�ำเข้ามา จ�ำหน่ายและท�ำตลาดในประเทศ เนือ่ งจากสินค้าทีน่ ำ� เข้าจากจีนมีราคาถูกแต่ควรค�ำนึงถึง ภาษีศุลกากร และค่าขนส่งจากการน�ำเข้า ในทางกลับกัน ถ้าหากผู้ประกอบการไทย มีความประสงค์ในการทีจ่ ะส่งออกสินค้าไปจีน ผูป้ ระกอบการไทย ควรแข่งขันกับผูป้ ระกอบจีน ในด้านคุณภาพของสินค้า และน�ำเสนอสินค้าให้มีความโดดเด่นกว่าผู้ประกอบการจีน เนื่องจากไม่สามารถแข่งขันทางด้านราคาได้

47



6

โอกาสของธุรกิจค้าปลีก–ค้าส่ง ในกวางเจา (ประเภทสินค้าของที่ระลึก, กิฟ๊ ช็อป)

นางสาวศุทธีญา นพวิญญูวงศ์ มิถุนายน 2555


50

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

กวางเจาได้รับฉายาว่าเป็นเมืองแห่งการค้าขายของจีน มีตลาดค้าส่งสินค้าต่างๆ จ�ำนวนมาก ซึ่งงานแสดงสินค้าของจีนซึ่งเป็นที่รู้จักของคนทั่วโลกก็คือ งานแสดงสินค้า น�ำเข้าและส่งออกของจีน หรือที่รู้จักในนาม Canton Fair ภายในงานมีทั้งส่วนที่เป็น พื้นทีโ่ ชว์รูม และห้องเจรจาการค้าของร้านค้าส่งต่างๆ ร้านค้าจะถูกจัดแบ่งเป็นโซนๆ เช่น โซนของที่ระลึก โซนของกิ๊ฟช็อป โซนเครื่องประดับ โซนนาฬิกา โซนหมวกกระเป๋า โซน อุปกรณ์ตกแต่งบ้าน โซนเสื้อผ้า รวมถึงโซนเครื่องใช้ไฟฟ้าและเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ ต่างๆ ปัจจุบนั ค่าความนิยมด้านแฟชัน่ มีการเปลีย่ นแปลงไปตามยุคสมัยและสินค้ากิฟ๊ ช็อป ก็เป็นสิ่งหนึ่งที่ ยังคงมีความต้องการอยู่ตลอดเวลาในกลุ่มผู้บริโภคที่มีความรักสวย รักงาม และตามกระแสแฟชั่น ซึ่งจากในงาน Canton Fair เมื่อสอบถามด้านราคา จะเห็นว่า หากน�ำเข้าสินค้ากิ๊ฟช็อปและของที่ระลึกมาจากจีน จะได้ราคาถูกกว่าสินค้าทีไ่ ทย ผลิตเอง กิ๊ฟช็อปจึงเป็นสินค้าที่มโี อกาสน่าสนในการลงทุน

รูปที่ 1.15 แสดงบริเวณห้างสรรพสินค้า ในเมืองกว่างโจว


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

รูปที่ 1.16 แสดงตัวอย่างสินค้ากิ๊ฟช็อป

ภายในงานนอกจากมีสินค้าหลากหลายชนิดให้ได้เลือกสรรแล้ว เรายังมีโอกาส ได้พบกับนักธุรกิจและบายเออร์ต่างชาติมากมาย การน�ำเสนอสินค้าจะแบ่งเป็นประเภท ตามสินค้าแต่ละอุตสาหกรรมและสินค้าที่เป็นนวัตกรรมใหม่ๆ โดยสินค้าที่มีดไี ซน์ใหม่ๆ จะ ได้รับความสนใจเป็นพิเศษ อาทิเช่น ร่ม หมอนหนุน นาฬิกา ถุงผ้า อีกทั้งเครื่องประดับ ก็ถอื เป็นสินค้าทีม่ ใี ห้เลือกชมมากมายหลายร้านพอสมควร ซึง่ รูปแบบของสินค้าในแต่ละร้าน ก็จะไม่แตกต่างกันมากนัก ขึ้นอยู่กับปริมาณและราคาทีไ่ ด้มีการต่อรองกัน และได้มโี อกาส สอบถามถึงโรงงานทีผ่ ลิตสินค้า พบว่า โรงงานทีผ่ ลิตสินค้าประเภทของเล่น กิฟ๊ ช็อป จะผลิต ที่เมืองอี้อูเป็นส่วนใหญ่

51


52

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

อี้อูเป็นส่วนหนึ่งของมณฑลเจ้อเจียง และเป็นเมืองค้าส่งทีใ่ หญ่ที่สุดของจีน ในปัจจุบัน และถูกขนานนามว่าซุปเปอร์มาร์เก็ตของโลก ขึ้นชื่อในทางการผลิตและขายส่ง สินค้าเบ็ดเตล็ด สินค้าเบ็ดเตล็ด ของเมืองนี้มีความหลากหลายมากและมีราคาถูก ยอด ปริมาณการซือ้ ขายของตลาดอีอ้ ถู กู จัดอยูอ่ นั ดับต้นของจีนต่อเนือ่ งกัน โดยสินค้าจากเมืองนี้ ได้ส่งออกไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลกวันละกว่า 1,000 คอนเทนเนอร์ นอกจากนี้อี้อู ยังมีการจัดงานแสดงสินค้าระดับสากลทุกปี โดยมีมูลค่าการซื้อขายถึง 2,807 ล้านหยวน (www.thai.cri.cn) ปัจจุบันนี้ตลาดแห่งนี้ยังเป็นศูนย์หมุนเวียนสินค้าอุปโภคบริโภค ประจ�ำวันที่มีขนาดใหญ่ สุดของโลก และเป็นฐานการส่งออกสินค้าที่ส�ำคัญของจีนด้วย อีกทั้งจากการสอบถามในแต่ละร้านที่ขายสินค้าแบบเดียวกัน ส่วนใหญ่พบว่าจะผลิตที่ เมืองๆ เดียวกัน ข้อมูลจาก Thaibizchina กล่าวว่า วิธีการท�ำธุรกิจของคนเจ้อเจียง เมื่อ พวกเขาเริ่มธุรกิจอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ก็จะคิดสร้างสรรค์ ปรับปรุง และพัฒนาไปเรื่อยๆ ท�ำให้แต่ละอ�ำเภอจะผลิตสินค้าเหมือนๆ กันแต่มาแข่งขันที่คุณภาพ สีสัน และรูปแบบ แต่ การติดต่อค้าขายที่นี่ จะต้องซื้อสินค้าเป็นหลายร้อยโหลหรือหลายพันชิ้น จนถึงเป็น ตู้คอนเทรนเนอร์ และมีตัวแทนจากประเทศต่าง ๆ รวมทั้งประเทศไทยคอยให้บริการ เรื่องการขนส่งสินค้ากลับประเทศ


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

เป็นที่ทราบกันแล้วว่าสินค้าของจีนมีราคาถูก โดยเฉพาะของเล่น กิ๊ฟช้อป นาฬิกา ปากกา ของที่ระลึกต่างๆ ในความคิดของคนส่วนหนึ่งสินค้าจีนราคาถูกมักมี คุณภาพต�่ำ แต่ความจริงแล้วสินค้าของจีนมีหลายเกรด ข้อมูลจากไกด์ท้องถิ่นชาวจีน กล่าวว่า สินค้าทีม่ รี าคาแพงและมีคณ ุ ภาพ ส่วนใหญ่ผลิตในโรงงานใหญ่ทมี่ มี าตรฐาน และ ส่งไปขายยังตลาดอเมริกาและตลาดยุโรป ส่วนสินค้าเกรดสอง ที่เข้ามาขายในตลาดเอเชีย ยิ่งโรงงานทีไ่ ม่ได้มาตรฐาน ผลิตสินค้าด้อยคุณภาพ สามารถเข้ามายังตลาดเอเชีย รวม ทั้งไทยได้ง่ายเพราะพ่อค้าคนกลางต่างนิยมที่จะอยากน�ำสินค้าเหล่านี้เข้ามาขาย เนื่องจาก ต้นทุนต�่ำ ผู้ประกอบการของไทยจึงปรับกลยุทธ์โดยน�ำเข้าสินค้าจากจีนมาจ�ำหน่ายในราคา ที่ต�่ำกว่าคู่แข่ง เนื่องจากสินค้าที่น�ำเข้าจากจีนมีราคาถูกกว่าสินค้าที่รับมาจากร้านขายส่ง ย่านประตูนำ�้ , โบ๊เบ๊, ส�ำเพ็ง ทัง้ นีร้ า้ นขายส่งของไทย มีตน้ ทุนสินค้าในประเทศปรับตัวสูงขึน้ โดยเฉพาะค่าแรง ค่าวัตถุดิบ และราคาน�้ำมัน จึงเป็นสาเหตุหนึ่งที่ท�ำให้ผู้ประกอบการ ของไทยหันไปน�ำเข้าสินค้าจากประเทศจีนได้ในราคาย่อมเยา มีการดีไซน์และมีแฟชั่นใหม่ๆ ออกมาเรือ่ ย เช่น เคสไอโฟน ซือ้ จากจีน โดยเฉลีย่ ได้ในราคาอันละ 150 บาท แล้วแต่รปู แบบ การดีไซน์ของแต่ละอัน หากซื้อจ�ำนวนมาก ก็จะได้ในราคาส่ง ซึ่งผู้ประกอบการในไทย น�ำ มาจ�ำหน่ายโดยเฉลี่ยอันละ 300 บาทขึ้นไป รวมค่าขนส่งแล้วก็ยังถือว่าผู้ประกอบการ ไทยยังได้ก�ำไร 100%

53


54

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

ดังนั้นเป็นโอกาสที่ดีส�ำหรับนักธุรกิจไทย ที่จะน�ำเข้าสินค้าจากจีนมาจ�ำหน่าย โดยไม่ตอ้ งผ่านพ่อค้าทีส่ ำ� เพ็ง โบ๊เบ๊ เพือ่ ได้สนิ ค้าราคาถูกมาจ�ำหน่ายในไทย ซึง่ จะมีตน้ ทุนส่วนเพิม่ จากค่าขนส่ง ภาษี และข้อจ�ำกัดเรื่องจ�ำนวนสินค้า ที่ต้องสั่งในปริมาณมาก แต่อย่างไรก็ตาม ต้นทุนส่วนเพิม่ นี้ ยังเป็นราคาที่รับได้ ของผู้ประกอบการในไทย




7

โอกาสของธุรกิจไทยในประเทศจีน : ธุรกิจสิง่ ทอและเครื่องนุ่งห่ม

นางสาวณาตยา สีหานาม มิถุนายน 2555


58

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

เมือ่ วันที่ 26 เมษายน – 2 พฤษภาคม 2555 ทีผ่ า่ นมา ผูเ้ ขียนมีโอกาสได้เดินทาง ไปศึกษาดูงาน China Import and Export Fair ครัง้ ที่ 111 ณ เมืองกวางโจว มณฑล กวางตุง้ สาธาณรัฐประชาชนจีน ซึง่ งานดังกล่าวมีผปู้ ระกอบการเข้าร่วมแสดงสินค้ากว่า 10,000 ร้านค้า ในทีน่ ขี้ อหยิบยกธุรกิจทีน่ า่ สนใจและน่าจะเป็นโอกาสของนักธุรกิจหรือ ผูป้ ระกอบการไทยมาเล่าสูก่ นั ฟัง นัน่ คือ ผลิตภัณฑ์เครือ่ งนุง่ หุม่ เสือ้ ผ้าส�ำเร็จรูป โดยเมือ่ ศึกษาจากรายงานของศูนย์ขอ้ มูลสิง่ ทอเชิงลึก สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิง่ ทอ พบว่า ตัง้ แต่ปี 2006 – 2009 ประเทศจีนครองอันดับ 1 ในการเป็นประเทศผูน้ ำ� ในการส่งออกสิง่ ทอและเครือ่ งนุง่ ห่มของโลก มาตลอด ดังภาพที่ 1 และ 2 รูปที่ 1.17 แสดงล�ำดับของประเทศ ในการส่งออกเครื่องนุ่งห่มของโลก

ที่มา http://www.thaitextile.org/th/textile_intel/ สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2555


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

รูปที่ 1.18 แสดงล�ำดับของประเทศ ในการส่งออกสิ่งทอของโลก

ที่มา http://www.thaitextile.org/th/textile_intel/ สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2555

การศึกษาดูงานกวางเจาเทรดแฟร์ ในส่วน Garment& Textile เมือ่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2555 พบว่า ตลาดเสือ้ ผ้าของจีนมีความหลากหลายในด้านวัสดุรปู แบบ ประเภท ของเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มที่สามารถใช้ในโอกาสที่แตกต่างไปตามกาลเทศะ เช่น ชุดท�ำงาน ชุดกีฬา ชุดแต่งงาน ชุดดับเพลิง ชุดเสือ้ ผ้ากันไฟ เครือ่ งแบบ และชุดในรูปแบบสีสนั ทีแ่ ปลกตา ส�ำหรับใช้สวมใส่ในโอกาสพิเศษ ดังภาพที่ 3 และ 4 และจากการสัมภาษณ์คนท้องถิ่น ชาวจีน ท�ำให้ทราบว่าตลาดสินค้าสิง่ ทอและเครือ่ งนุง่ ห่มของจีนมีขนาดใหญ่มาก เนือ่ งจาก มีประชากรมาก และอยูใ่ นประเภทของอุตสาหกรรมทีร่ ฐั บาลจีนไม่ได้เข้ามาควบคุม เหมือนธุรกิจ พลังงาน การท่องเทีย่ ว แร่ธาตุ ฯลฯ รัฐบาลเปิดให้แข่งขันกันได้อย่างเสรี จึงท�ำให้มผี ปู้ ระกอบการ ในธุรกิจนีท้ งั้ นักธุรกิจเดิมและกลุม่ ธุรกิจใหม่อยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก

59


60

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

ปัจจุบันแบรนด์สินค้าจีนทีไ่ ด้รับความนิยมของประชาชนในประเทศจีนเอง ได้แก่ ยีห่ อ้ ซันไชน์, อายิเหลียน, ซิว ฉัว่ อี เหยิน, 361o และมีบางยีห่ อ้ ทีส่ ง่ ออกไปยังต่างประเทศ และได้รบั ความนิยมสูง คือ ยีห่ อ้ เป้า สี่ เหนียง และ ชี ผี่ หลัน ซึง่ มีโรงงานผลิตขนาดใหญ่มาก และเป็นทีร่ จู้ กั ของนักท่องเทีย่ ว ในขณะที่อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มของจีนก�ำลังพัฒนาและมีแนวโน้ม ขับเคลื่อนไปแบบโจนทะยานนี้ ผู้เขียนเอง คิดว่าโอกาสของธุรกิจนีใ้ นจีนของนักธุรกิจไทย น่าจะมี 2 รูปแบบคือ รูปแบบที่ 1 การส่งออกวัสดุประกอบการผลิต เช่น ยางพลาสติก หรือ วัสดุทใี่ ช้เป็นส่วนประกอบในการผลิต และ รูปแบบที่ 2 ตลาดเครือ่ งนุง่ ห่มในกลุม่ ชนชัน้ กลาง รายละเอียดดังนี้

รูปที่ 1.19 แสดงบริเวณแสดงสินค้า ประเภทเครื่องนุ่งห่ม (1)


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

รูปที่ 1.20 แสดงบริเวณแสดงสินค้า ประเภทเครื่องนุ่งห่ม (2)

รูปแบบที่ 1 การส่งออกวัสดุประกอบการผลิต เช่น ยางพลาสติก เม็ดกระดุมและ ซิป เพื่อใช้ส�ำหรับการตกแต่งเสื้อผ้าประเภทต่างๆ จากรายงานของส�ำนักข่าวซินหัว เมื่อ เดือนธันวาคม 2554 พบว่าประเทศจีนเป็นผู้น�ำเข้ายางธรรมชาติ ประเภท ยางพารา รายใหญ่ที่สุดของโลก และภายใต้ความต้องการของตลาดเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มนี้ หากไทย สามารถจัดหาและส่งออกวัสดุประกอบจะนับว่าเป็นโอกาสทางการตลาดที่มีศักยภาพ

61


62

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

เพราะด้วยความละเอียด ปราณีตของช่างฝีมอื คนไทยรวมทัง้ คุณภาพการผลิตทีผ่ บู้ ริโภคให้ การยอมรับ และความสะดวกในการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศทีม่ คี วามพร้อม คาดว่าจะ เป็นช่องทางทีด่ ขี องนักธุรกิจไทย ทีก่ ารผลิตถ้าผลิตสินค้าประเภทเดียวกัน วัสดุ การผลิต แบบเดียวกัน อาจมีความสามารถแข่งขันได้นอ้ ยกว่า “ยกตัวอย่างเช่นเดียวกับนักธุรกิจไทย รายหนึง่ ทีผ่ ลิตชิน้ ส่วนพลาสติกซึง่ ใช้รองเพือ่ กันเปิด/กันกระแทกในอาหารส�ำเร็จรูปชาวไทย ทีส่ ง่ ออกวัสดุประเภทนีไ้ ปยังประเทศจีนมานานกว่าสิบปี การขนส่งออกได้รบั การตอบรับและ มีคคู่ า้ ในประเทศจีนมานานและมีความต้องการเป็นจ�ำนวนมากมาอย่างต่อเนือ่ ง แต่มอี ปุ สรรค ในการขนส่งไปยังประเทศจีนซึง่ ใช้เวลานานและบางครัง้ ไม่ตอบสนองต่อความต้องการซือ้ ได้ ปัจจุบันผู้ประกอบการรายนั้นจึงได้ริเริ่มตั้งโรงงานผลิตในประเทศจีนและธุรกิจนี้มโี อกาส ในการเติบโตและผลประกอบการทีด่ มี ากทีเดียว” (สัมภาษณ์ ส�ำนักงานส่งเสริมการค้าใน ต่างประเทศ ณ เมืองกวางโจว เมือ่ วันที่ 27 เมษายน 2555) ดังนัน้ การผลิตส่วนประกอบ ของเครือ่ งนุง่ ห่มหรือเสือ้ ผ้าน่าจะตอบสนองต่อความต้องการในการผลิตเพือ่ ส่งออกของจีนได้ รูปแบบที2่ เสื้อผ้าส�ำเร็จรูปยี่ห้อไทยยังได้รับความนิยมในกลุ่มคนชั้นกลางอยู่ เพราะถึงแม้วา่ ประเทศจีนจะเป็นอันดับ 1 ในการส่งออกสินค้าในตลาดโลกมานานกว่า 5 ปี ก็ตามที แต่เมือ่ พิจารณาแล้ว ความต้องการสินค้าสิง่ ทอและเครือ่ งนุง่ ห่มของไทยของประชาชน ชาวจันยังมี จะเห็นได้จาก ข้อมูลรายงานสถานการณ์อตุ สาหกรรมสิง่ ทอไทย มกราคม 2554 ข้อมูลการส่งออกของไทยพบว่าตลาดส่งออกของไทยไปยังตลาดโลก ใน 5 อันดับแรก ของตลาดส่งออก มีจนี อยูใ่ นล�ำดับที่ 5 แสดงให้เห็นว่าจีนยังคงเป็นตลาดส่งออกทีส่ ำ� คัญของ ไทยโดยการส่งออกสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มของไทยไปยังตลาดจีนตั้งแต่ มกราคมพฤศจิกายน 2553 มีมูลค่าการส่งออกอยู่ที่ 354.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือมีระดับ การขยายตัวร้อยละ 50.6 เมือ่ เทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีกอ่ นหน้า ทัง้ นีค้ ดิ เป็นมูลค่า ผลิตภัณฑ์ สิ่งทอ 325.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และผลิตภัณฑ์ เครื่องนุ่งห่ม 29.3 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ ผลิตภัณฑ์ทงั้ สองหมวดขยายตัวเพิม่ ขึน้ จากช่วงเวลาเดียวกันของปีกอ่ นที่ ร้อยละ 53.2 และ 26.3 ตามล�ำดับ ผลิตภัณฑ์ สิง่ ทอ ทีท่ างจีนน�ำเข้าจากไทยมากทีส่ ดุ คือ เส้น ด้าย มีมลู ค่าการน�ำเข้า 93.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ มีอตั ราการขยายตัวเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 83.3 ส่วน ทางด้านผลิตภัณฑ์ทไี่ ทยส่งออกไปยังจีนมากทีส่ ดุ คือ เสือ้ ผ้าส�ำเร็จรูป มีมลู ค่าการส่งออก 25.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือมีอตั ราการขยายตัวเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 21.7 ดังรูปที่ 3.21


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

รูปที่ 1.21 แสดงมูลค่าการส่งออกสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มของไทยไปยังตลาดส�ำคัญ

ที่มา http://www.thaitextile.org/th/textile_intel/) สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2555

จากข้อมูลโครงสร้างสินค้าส่งออกของไทยไปยังประเทศจีนและฮ่องกง ในหมวด อุตสาหกรรมสิง่ ทอ ที่ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ ดังตารางแนบได้น�ำเสนอไว้ พบว่าในหมวดสิ้นค้าอุตสาหกรรม ประเภทเครื่องนุ่มห่ม โดยเฉพาะ เสื้อผ้าส�ำเร็จรูปมีอัตราการขยายตัวในปี 2552 จาก -2.20 ใน ปี 2553 ขยับเป็น 14.94 และในปี 2554 พุ่งขึ้นถึงร้อยละ 41.63 จากข้อมูลประกอบ ทัง้ สองส่วน ทัง้ รายงานสถานการณ์สง่ ออกไทยเมือ่ ปี 2554 กอรปกับข้อมูลโครงสร้างการ ส่งออกสินค้าของไทย ช่วยเน้นย�้ำให้เห็นว่าแม้ตลาดเสื้อผ้าส�ำเร็จรูปของประเทศจีนจะมี ขนาดใหญ่และมีปริมาณการส่งออกมากเพียงใด แต่ประเทศจีนยังให้ความสนใจ และมีกลุม่ ผู้บริโภคที่นิยมเสื้อผ้าส�ำเร็จรูปจากประเทศไทยอยู่ ซึ่งหมายความว่า ไทยยังมีโอกาสใน การผลิตเพือ่ ส่งออกในหมวดสินค้าสิง่ ทอประเภทเครือ่ งนุง่ ห่ม โดยเฉพาะเสือ้ ผ้าส�ำเร็จรูปอยู่ เช่นเดียวกัน เพราะด้วยความได้เปรียบทางด้านภาพลักษณ์สนิ ค้า และฝีมอื การตัดเย็บ ท�ำให้ มีผบู้ ริโภคบางกลุม่ โดยเฉพาะกลุม่ ชนชัน้ กลางทีม่ กี ำ� ลังซือ้ และมีการรับรูใ้ นเชิงบวกต่อสินค้า ไทยว่ามีความละเอียดและฝีมอื ในการตัดเย็บทีด่ แี ละปราณีต รูปแบบสวยงาม ผูบ้ ริโภคชาวจีน มักจะให้ความสนใจและนิยมใช้ผลิตภัณฑ์เสือ้ ผ้าส�ำเร็จรูปจากเมืองไทย (สัมภาษณ์ ส�ำนักงาน ส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เมืองกวางโจว ประเทศจีน เมือ่ วันที่ 27 เมษายน 2555)

63


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

64

ตารางที่ 1.6 แสดงโครงสร้างสินค้าส่งออกไทยไปยังประเทศจีนและฮ่องกง

ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์

การเปิดเสรีทางการค้าภายใต้กรอบของอาเซียนในปี 2558 ก็จะเป็นแรงขับเคลือ่ น

ในการส่งออกของไทยไปยังจีน ด้วยขนาดของตลาดที่มีความยิ่งใหญ่ด้วยประชากรกว่า 1,300 ล้านคน อ�ำนาจการซือ้ และศักยภาพด้านการน�ำเข้าและส่งออกของจีน หากธุรกิจไทย เล็งเป้าหมายไว้ที่ตลาดจีน คาดว่าตลาดจีนก็จะเป็นเป้าหมายหลักของนักลงทุนทั่วโลก เช่นกัน ดังนัน้ ธุรกิจไทยควรจะต้องอาศัยความได้เปรียบทีม่ ใี นเรือ่ งของภาพลักษณ์ความนิยม เข้าช่วงชิงส่วนแบ่งการตลาดดังรูปแบบทีว่ า่ มาก็นา่ จะมีโอกาสเช่นกัน




8

กว่างโจวเทรดแฟร์กับโอกาสการค้า ขายสินค้าอาหารของไทย

นางสาวกีรติ ทวีทรัพย์ มิถุนายน 2555


68

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

กว่ า งโจว เมืองท่าเศรษฐกิจที่ส�ำคัญของประเทศจีน กว่างโจว หรือ กวางเจา (Guangzhou) เป็นเมืองเอกของมล ทลกวางตุ้งและถือเป็นเมืองทีใ่ หญ่ที่สุดทางภาคใต้ของประเทศจีน ตั้งอยู่ ปากแม่น�้ำจูเจียง (สายน�้ำเดียวกันกับแม่น�้ำโขงของไทย) กว่างโจวมี ประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 2,800 ปี ในครั้งอดีตกว่างโจวเป็นเมืองท่าเสรี แห่ ง แรกและแห่ ง เดี ย วที่ เ ปิ ด ต้ อ นรั บ ชาวตะวั น ตกเข้ า มาติ ด ต่ อ ค้ า ขาย ปัจจุบนั กว่างโจวเป็นเมืองในเขตเศรษฐกิจทีม่ คี วามเจริญรุง่ เรืองด้วยผลิตภัณฑ์ มวลรวม (GDP) ที่มากที่สุดในตอนใต้ของจีน และเป็นหนึ่งในสามเมืองท่าที่ ส�ำคัญที่สุดของจีน นอกจากนี้ เมืองกว่างโจว ยังมีการคมนาคมขนส่งที่สะดวก ทันสมัย ระบบไฟฟ้าครอบคลุมเมืองชั้นใน ภูมิอากาศ และการด�ำรงชีวิต ความเป็นอยู่ โดยรวม คล้ายคลึงกับในประเทศไทย

ที่มา: th.wikipedia.org

รูปที่ 1.22 แสดงบรรยากาศเมืองกว่างโจว


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

ส่วนงานแสดงสินค้านานาชาติ กว่างโจวเทรดแฟร์ (Canton Fair) ซึง่ จัด ในช่วงเดือนเมษายนและช่วงเดือนตุลาคมของทุกปี ก็เป็นงานทีไ่ ด้รับการยอมรับจาก นักลงทุนทั่วโลก ที่ต่างเข้ามามองหาคู่ค้าของตนในประเทศจีน นอกจากนี้ยังถือเป็นโอกาส ในการเข้ามาท�ำความรู้จักกับนักธุรกิจจีน ประเทศจีน วัฒนธรรมจีน ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีวา่ การท�ำธุรกิจกับชาวจีนนัน้ ไม่ใช่เรือ่ งทีจ่ ะเข้าถึงได้งา่ ยๆ ทีต่ อ้ งเป็นเมืองกว่างโจว ก็เพราะ เมืองกว่างโจวโดดเด่นด้านการท�ำมาค้าขายเป็นอันดับ 1 ของจีน จึงถือเป็นงานใหญ่ ที่ผู้ค้าผู้ขายและผู้ที่สนใจ ไม่ควรพลาดชมและศึกษากันให้ถี่ถ้วน งานกว่างโจวเทรดแฟร์ เป็นงานที่รวมสินค้าหนักเบาทุกประเภท อาทิ สินค้าเทคโนโลยี สินค้าเกษตร อาหาร การท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมหนัก-เบา มากกว่า 100 หมวดหมู่ เป็นงานแสดงสินค้า ที่ดีที่สุดเป็นอันดับ 1 ในประเทศจีน โดยได้รับรางวัล China’s No.1 Fair อย่างต่อเนื่อง ในช่วงระหว่างเดือนเมษายนถึงพฤษภาคมปี 2555 นี้จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 111 จัดแสดงสินค้าที่ China Inport and Export Fair (Pazhou) Complex ซึ่งถือเป็นการปรับตัวของ เจ้าภาพในการหาสถานที่จัดงานที่รองรับคู่ค้าที่มีจ�ำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ

ธุรกิจอาหารในกว่างโจวและประเทศจีน กับโอกาสการค้าขายของไทย ว่ากันว่าวัฒนธรรมการรับประทานอาหารของชาวจีนที่รับประทานอาหารโดย ใช้ตะเกียบ เป็นเอกลักษณ์ทถี่ กู เผยแพร่ไปอย่างกว้างขวางทัว่ โลก อาหารจีนนั้นขึ้นชื่อว่าเป็น อาหารที่ดีที่สุดในโลก เพราะมีกรรมวิธีที่ซับซ้อน ละเอียดอ่อน มีรสชาติที่เป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัว ตามแต่ละท้องถิ่นที่แตกต่างกันไปตามสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศใน ประเทศจีน1 โดยทั่วไปชาวจีนนิยมรับประทานอาหารจานผักและธัญพืชเป็นหลัก ซึ่งทางผู้เขียนได้มโี อกาสติดตามคณะวิจัยศึกษาตลาดการค้าจีนตอนใต้เป็น เวลา 1 สัปดาห์ ช่วง 26 เมษายนถึง 2 พฤษภาคม 2555 ที่ผ่านมานั้น ซึ่งเป็นช่วงที่มี การจัดแสดงสินค้าจ�ำพวกอาหาร เครื่องดื่มและสินค้าอาหารแปรรูปของจีนภายในงาน Guangzhou Trade Fair สินค้าทีโ่ ดดเด่นและเห็นได้มากในงาน ได้แก่ ชา ไวน์ เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ส่วนอาหารอื่นๆ เช่น ผลิตภัณฑ์จากเนื้อ นม ไข่ ผัก ผลไม้ ธัญพืช ทัง้ ทีแ่ ปรรูปและไม่ได้แปรรูปฯลฯ ไม่ได้เป็นทีจ่ ดจ�ำหรือประทับใจในสายตาคณะวิจยั เท่าใดนัก เนื่องจากยากที่จะหาเอกลักษณ์และความโดดเด่นได้ ผิดกับอาหารไทย ทั้งข้าว ผัก ปลา ผลไม้ เนื้อสัตว์ อาหารทะเล สมุนไพร วัตถุดิบและอาหารต่างๆ ล้วนมีความหลากหลาย

69


70

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

ดังนั้น ในภาพรวมแล้ว ไม่ว่าในงานกว่างโจวแฟร์และอาหารในแต่ละโต๊ะที่เราได้ชิมได้ สัมผัส หรือแม้แต่ทไี่ ด้เห็นได้สังเกตตามข้างทาง พบว่า อาหารจีนไม่ได้มีความหลากหลาย หรือโดดเด่น เท่าใดนัก ทัง้ หน้าตา ความหลากหลายและศิลปะในอาหาร แม้วา่ ความต้องการ และก�ำลังซื้อสูง ตลาดมีขนาดใหญ่ จน Macdonald ในเมืองกว่างโจวเปิดตลอด 24 ชั่วโมงและร้านค้าร้านขายปิดดึกกว่าบ้านเราประมาณ 1-2 ชั่วโมง แต่การตอบโจทย์ ลูกค้ายังไม่คอ่ ยลงตัวนัก กล่าวได้วา่ น่าจะถือเป็นโอกาสทีเ่ หมาะเจาะอย่างยิง่ ส�ำหรับนักธุรกิจ ไทยที่จะไปวางต�ำแหน่งของตนลงในช่องว่างที่ยังเปิดกว้างอยู่ เพราะอาหารไทยขึ้นชื่อ ไปทั่วโลกในด้านความหลากหลาย รสชาติที่อร่อยลงตัว ภาพลักษณ์ที่เป็นครัวของโลก ยัง คงโดดเด่นในสายตาคนทัง้ โลก รวมทัง้ คนจีนเองทีม่ องว่าอาหารไทยนัน้ เป็นอาหารชัน้ หนึง่ ที่มีราคาแพง มีคุณภาพมาตรฐานสูง เหมาะกับผู้ที่มีรายได้มาก และจากการสอบถามไกด์ ท้องถิ่น ทราบมาว่าในเมืองกว่างโจวมีร้านอาหารไทยอยู่ทั้งหมดไม่เกิน 10 ร้านแค่นั้นเอง

รูปที่ 1.23 แสดงบรรยากาศการแสดงสินค้าอาหารที่ส�ำคัญของจีน


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

ปัจจุบนั รัฐบาลจีนให้ความส�ำคัญกับตลาดการบริโภคในประเทศมากขึน้ ถือเป็นโอกาส ที่ส�ำคัญของธุรกิจไทยที่จะเข้าไปเพิ่มมูลค่าสินค้าภาคบริการ กว่างโจว ซึ่งเป็นเมืองเอก ของมณฑลกวางตุ้ง ถือเป็นเมืองที่มีความน่าสนใจในการลงทุน เพราะเป็น 1 ใน 3 เมืองที่มี ร้านอาหารมากที่สุดในประเทศจีน (รองจากไป่จิง ชั่งไห่ ในปี 25472) แต่ยังมีสัดส่วน ของร้านอาหารไทยค่อนข้างน้อย (ในปี 2547 พบว่า มีร้านอาหารไทยในประเทศจีนอยู่ เพียง 50 แห่ง3) หากพิจารณาเฉพาะในมลฑลกวางตุ้ง ก็พบว่ามูลค่าการผลิตสินค้า อุปโภคบริโภคเพิ่มขึ้นจาก 9 พันล้านหยวนในปี 1978 เป็น 2.02 ล้านล้านหยวนในปี 2011 เติบโตประมาณร้อยละ 19 ต่อปีในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา มียอดการค้าปลีกของสินค้าอุปโภค บริโภคสูงทีส่ ดุ เมือ่ เทียบกับมณฑลอืน่ ๆ ในประเทศ4 จึงสรุปได้วา่ เมืองกว่างโจวและประเทศจีน ยังมีช่องว่างของความหลากหลายด้านอาหาร สมควรที่ผู้ประกอบการไทยที่มีความพร้อม จะเข้าไปเจาะตลาด ท�ำมาค้าขาย ทั้งการส่งออก น�ำเข้า หรือแม้แต่ไปเปิดกิจการร้าน อาหารที่เมืองจีน เพราะเป็นการเพิ่มมูลค่าสินค้าและแทรกซึมวัฒนธรรมของไทยเข้าไปใน จีน เผยแพร่ให้เขาเห็นว่า อาหารไทยเรานี่ ที่หนึ่งจริงๆ

อ้างอิง 1 2

3 4

http://www.oknation.net/blog/print.php?id=32170 เอกสารออนไลน์,โอกาสร้านอาหารไทยในจีน, จากงานเสวนาเรื่อง “โอกาสและลู่ทางการลงทุนร้านอาหาร ในจีน” จัดโดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,2007, สืบค้นเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2555. ธนาคารเพื่อการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทย, เรื่องน่ารู้ก่อนเปิดร้านอาหารไทยในจีน, มีนาคม 2548 เศรษฐกิจกวางตุ้งกับโอกาสธุรกิจไทย, ส�ำนักงานส่งเสริมกาค้าในต่างประเทศ ณ เมืองกวางโจว, มีนาคม 2555.

71



9

โอกาสทางธุรกิจของอุตสาหกรรม เฟอร์นเิ จอร์ในจีนตอนใต้

นางสาวศิริพรรณ ยศปัญญา มิถุนายน 2555


74

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

เมืองกว่างโจว

เมืองกว่างโจวเป็นเมืองเอกของมณฑลกวางตุ้ง เป็นเมืองเศรษฐกิจการค้าที่มี การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 3 (ผลิตภัณฑ์มวลรวม 163 พันล้านดอลล่าร์ สหรัฐ ในปี 2553) ของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งได้รับการขนานนามว่าเป็น ประตูด้านใต้ของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนอีกด้วย และยังเป็นหนึ่งใน 3 เมืองท่า ที่ส�ำคัญที่สุดของจีน (ที่มา: http://en.wikipedia.org/ wiki/Guangzhou) ในปี 2554 เมืองกว่างโจวได้รับการจัดอันดับ “ฟอร์บ” ว่าเป็นเมืองที่มีสภาพ เหมาะสมและเป็ น มิ ต รต่ อ การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ มากที่ สุ ดในจี น เนื่ อ งจากเมื อ งกว่ า งโจวมี ความโดดเด่นในด้านระบบการขนส่งผู้คนและสินค้าที่ดี มีต้นทุนในการด�ำเนินธุรกิจที่ต�่ำ เมื่อเทียบกับกรุงปักกิ่งและนครเซี่ยงไฮ้ และยังติด 10 อันดับเมืองที่มีสมรรถนะทาง การแข่งขันสูงสุดของจีนอีกด้วย (ที่มา: ThaiBizchina.com)

ที่มา : thai.cri.cn

รูปที่ 1.24 แสดงบรรยากาศยามค�่ำคืนของเมืองกว่างโจว


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

โอกาสทางธุรกิจ ของอุตสาหกรรมเฟอร์นเิ จอร์

มณฑลกวางตุง้ นับเป็นมณฑลทีเ่ ป็นฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของจีน ซึ่งจะเห็นได้จากมีบริษัทชั้นน�ำจากต่างชาติเข้ามาลงทุนเพื่อใช้เป็นฐานการผลิตอยู่ ในประเทศจีนเพิม่ มากขึน้ ทุกปี เนือ่ งจากมีความได้เปรียบจากค่าแรงทีม่ รี าคาถูก และไม่จำ� เป็น ต้องใช้แรงงานที่มีทักษะสูงในการผลิตสินค้าในปี 2554 มณฑลกวางตุ้งมีมูลค่าการส่งออก เฟอร์นิเจอร์รวม 14,929 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยมูลค่าการส่งออกทั่วทั้งประเทศ กว่า 40% มาจากมณฑลกวางตุ้ง โดยมีบริษัทที่ด�ำเนินธุรกิจเฟอร์นิเจอร์ที่ส�ำคัญอยูใ่ น มณฑลกวางตุ้งประมาณ 6,000 ราย หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 12 ของจ�ำนวนผู้ผลิต เฟอร์นิเจอร์ทั้งหมดของประเทศจีน (ที่มา: ThaiBizchina.com) จากการศึกษาดูงานในงานแสดงสินค้าเทรดแฟร์ (Canton Fair) ครั้งที่ 111 ระหว่างวันที่ 27 เมษายน – 2 พฤษภาคม 2555 ณ เมืองกว่างโจว พบว่า เฟอร์นิเจอร์ ของตกแต่งบ้านประเภทไม้ สไตล์วนิ เทจ เป็นสินค้าทีไ่ ด้รบั ความสนใจจากชาวต่างชาติ และเป็น กระแสทีไ่ ด้รบั ความนิยมมากอยูใ่ นขณะนี้ แต่จากการสังเกตุสไตล์ของเฟอร์นเิ จอร์สว่ นใหญ่ จะเป็นการลอกเลียนแบบผลิตภัณฑ์จากยุโรปและอเมริกา ซึ่งเป็นจุดอ่อนอีกประการหนึ่ง ของจีน รองลงมาจะเป็นสินค้าประเภทเฟอร์นิเจอร์ตกแต่งในส�ำนักงาน และเฟอร์นิเจอร์ ตกแต่งธุรกิจโรงแรม เป็นต้น ถึงแม้ว่าจีนยังไม่สามารถหาจุดเด่นหรือสไตล์การออกแบบ เฟอร์นเิ จอร์ของตนเองได้ แต่จนี ก็ยงั มีจดุ เด่นในเรือ่ งของราคาของสินค้าทีม่ รี าคาไม่สงู มากนัก แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีธุรกิจเฟอร์นิเจอร์ไม้ยางพาราที่จัดเป็นสินค้าที่ส�ำคัญอีกประเภทหนึ่ง ของจีน สามารถน�ำมาดัดแปลงเป็นผลิตภัณฑ์อื่นได้หลากหลาย เช่น เครื่องใช้ภายในครัว วัสดุก่อสร้าง ชุดโต๊ะรับแขก เป็นต้น อาจกล่าวได้ว่า ประเทศจีนมีปัญหาด้านคุณภาพการผลิต ปัญหาส�ำคัญรองลงมา ได้แก่ การสร้างตรายีห่ อ้ ทีผ่ บู้ ริโภคให้ความเชือ่ ถือ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ธุรกิจผลิตเฟอร์นเิ จอร์ ที่มีขนาดกลางและขนาดเล็ก ทั้งนี้เนื่องจากธุรกิจท้องถิ่นจีนขาดแคลนแหล่งเงินทุน ส่งผลให้ตรายีห่ อ้ เฟอร์นเิ จอร์ของจีนไม่คอ่ ยเป็นทีร่ จู้ กั อย่างแพร่หลายเมือ่ เทียบกับตรายีห่ อ้ ระดับโลก

75


76

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

รูปที่ 1.25 แสดงสินค้าเฟอร์นเิ จอร์ประเภท ไม้สไตล์วนิ เทจ เฟอร์นเิ จอร์โลหะและเฟอร์นเิ จอร์ไม้ยางพารา

ตลาดผู้บริโภคในประเทศจีน ในความคิดของผู้บริโภคจีนแล้ว “สินค้าน�ำเข้าย่อมดีกว่าสินค้าที่ผลิตในประเทศ ไม่ว่าสินค้านั้นจะผลิตมาจากยุโรปหรือไทยหรือเวียดนามก็ตาม จึงเห็นได้ว่าสินค้าไทยใน สายตาชาวจีนถือเป็นสินค้าทีไ่ ด้มาตรฐานและน่าเชื่อถือกว่าสินค้าที่ผลิตในประเทศตัว เอง” (ที่มา : ThaiBizchina.com) กล่าวได้วา่ เศรษฐกิจภายในประเทศของจีนในปัจจุบนั มีการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม และรสนิยมมากขึ้น ชาวจีนรุ่นใหม่ที่มีรายได้มากขึ้น เริ่มมีการตัดสินใจซื้อ โดยพิจารณา จากตรายีห่ อ้ เป็นส�ำคัญ คนจีนรุน่ ใหม่จงึ นิยมบริโภคสินค้าทีม่ แี บรนด์มากขึน้ มีความทันสมัย และเปิดรับต่อการเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลก ท�ำให้การเจาะตลาดสินค้ากลุ่มนีใ้ น ประเทศจีนจะต้องอาศัยความแตกต่างของสินค้าในหลายๆ ด้าน เช่น คุณภาพการออกแบบ และการใช้วตั ถุดบิ ทีห่ ลากหลาย จึงจะท�ำให้สนิ ค้าประเภทเฟอร์นเิ จอร์และของใช้ตกแต่งบ้าน ของไทยน่าจะยังมีโอกาสในตลาดจีน




10

ตลาดค้าส่ง อีเต๋อลู่ เมืองกวางเจา สาธารณรัฐประชาชนจีน

อาจารย์พงษ์สุทธิ พื้นเสน มิถุนายน 2555


80

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

กวางเจาเป็นเมืองเอกของมณฑลกวางตุง้ กวางเจาเป็นเมืองใหญ่ทสี่ ดุ ทางตอนใต้ ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ตัง้ อยูใ่ กล้กบั ไห่หนาน (ไหหล�ำ) มาเก๊าและฮ่องกง อีกทัง้ เป็น เมืองยุทธศาสตร์ส�ำคัญของเศรษฐกิจลุ่มน�้ำจูเจียง (จูซันเจี่ยว) ปัจจุบันถือเป็นประตูการค้า การคมนาคมทีส่ ำ� คัญของจีนตอนใต้ และเป็นเมืองแรกทีไ่ ด้รบั จัดตัง้ เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ของจีน เมืองกวางเจาเป็นเขเศรษฐกิจพิเศษของจีนจึงเป็น เมื อ งที่ มี ก ารพั ฒ นาทางด้ า นเศรษฐกิ จ อย่ า งรวดเร็ ว ที่ มาพร้อมกับความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ โดยในปี พ.ศ.2554 ส�ำนักวิจัยเศรษฐกิจชั้นน�ำของโลก EIU (Economist Intelligence Unit) ได้ระบุในรายงาน Hot spots Benchmarking global city competitiveness ซึ่ ง เปรี ย บเที ย บอั น ดั บ ความได้ เ ปรี ย บเชิ ง เปรี ย บเที ย บ (competitive advantage) ของความสามารถ ในการแข่งขันของเมืองชั้นน�ำต่างๆ ทั่วโลกจ�ำนวน 120 เมือง ในมิติ 8 ด้าน โดยเฉพาะทางด้านความเข้มเข็งทางเศรษฐกิจ เมืองกวางเจา (Guangzhou) ได้รับการจัดอันดับให้มี ความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจเป็น อันดับ 6 ของโลกและ มีความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจเป็นอันดับ 4 ของสาธารณรัฐ ประชาชนจีน อีกทั้งเมืองกวางเจายังขึ้นชื่อว่าเป็นเมือง ที่มา : EIU Global City Competitiveness Index แห่งการขายส่ง ท่านสามารถหาสินค้าไปขายได้ทุกชนิด (Economic Strength) ในเมืองนี้ตั้งแต่สินค้าขนาดใหญ่เช่นชิ้นส่วนรถยนต์ จนถึง รูปที่ 1.26 แสดงการจัดล�ำดับ ความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ สินค้าที่เป็นของตกแต่กระจุกกระจิกเช่นของตกแต่งมือถือ ของเมืองชั้นน�ำต่างๆ ทั่วโลก ที่คาดผม เป็นต้น ดั้งนั้นสถานที่ขายสินค้าในกวางเจาจึงมี อยู่อย่างหลากหลายทั้งที่เป็นแบบย่านหรือถนนที่รวบรวม ร้านค้าจนถึงทีเ่ ป็นแบบห้างสรรพสินค้า ทัง้ นีย้ า่ นการค้าทีเ่ กีย่ วข้องกับสินค้ากระจุกกระจิก ของเล่น ของตกแต่ง ฯลฯ เป็นอีกย่านหนึ่งทีไ่ ด้รับความสนใจจากคนไทยมากพอสมควร ทั้งที่ต้องการซื้อเพื่อน�ำมาขายต่อ(ขายส่ง) หรือซื้อเพื่อใช้เอง(ขายปลีก) ย่านแห่งนี้คือถนน YIDE LU


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

รูปที่ 1.27 แสดงถนน YIDE LU (

)

ถนน YIDE LU หรือ อีเต๋อหลู่ เป็นที่รู้จักกันดีส�ำหรับคนท้องถิ่นท้องถิ่นโดยทั่วไป จนถึงชาวต่างชาติที่อาศัยอยูใ่ นกวางเจา รวมถึงชาวต่างชาติที่ต้องการหาสินค้าราคาถูก ไปขายยังประเทศของตนรวมถึงนักธุรกิจจากประเทศไทยเช่นกันโดยเฉพาะสินค้าประเภท Gift Shop หรือของตกแต่งแบบกระจุกกระจิกเช่น ที่คาดผม ที่ติดผม กรอบมือถือ ของ เล่น ปากกาและเครื่องเขียน, เครื่องประดับดอกไม้ เป็นต้น แถบถนน YIDE LU เป็น แหล่งรวมร้านขายสินค้าประเภทของตกแต่งกระจุกกระจิก ของช�่ำรวย และของเล่นต่างๆ มากมาย ท่านสามารถซื้อสินค้าได้ทั้งแบบขายส่ง และแบบขายปลีก แต่เดิมนั้น แถบถนน YIDE LU เป็นตลาดเก่าส�ำหรับของเล่นและของขวัญ ที่มี ความวุ่นวายเหมือนตลาดขายส่งสินค้าในเมืองไทย (เช่น ตลาดจตุจักร, เยาวราช เป็นต้น) แต่ในทศวรรษที่ผ่านมาพื้นที่ถนน YIDE LU มีการเปลี่ยนแปลงไปมากจากอดีตตามสภาพ เศรษฐกิจและสังคมของประเทศจีนที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง วันนี้พื้นที่ที่นี่มีห้างสรรพ สินค้าขายส่งที่ครอบคลุมหลายพันตารางเมตรนับสิบแห่ง และขายสินค้าที่หลากหลาย แตกต่างจากอดีต นับตั้งแต่รองเท้า เสื้อผ้าไปจนถึงของตกแต่งบ้าน รวมทั้งแม้แต่สินค้า น�ำเข้า ทั้งนี้สินค้าที่เป็นจุดเด่นของถนน YIDE LU คือของขวัญ ของเล่นและของตกแต่ง ต่างๆ

81


82

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

ร้านค้าแถบถนน YIDE LU ร้านค้าแถบถนน YIDE LU มีทงั้ ทีเ่ ป็นร้านค้าทีอ่ ยูต่ ามห้องแถวข้างถนนทีอ่ ยูท่ วั่ ไป โดยส่วนใหญ่ร้านค้าที่ตั้งอยู่ติดถนนจะเป็นร้านขายปลีก ส่วนใหญ่เป็นร้านค้าที่มีแบรนด์ สินค้าเป็นของตัวเองเช่นร้าน Giordano, 360 รวมถึงร้านขายอาหารจานด่วนทั้งที่ร้าน จากต่างประเทศ เช่น McDonald หรือ Pizza hut และที่เป็นร้านของคนจีน เช่น Kung Fu ร้านบะหมี่ อาหารจีนต่างๆ (อาหารจีนแถบนี้รสจืดพอสมควรและมันมาก) นอกจากนั้น ยังมีร้านลูกชิ้นปิ้ง ปลาหมึกย่าง ไข่ต้ม ฯลฯ อยูโ่ ดยทั่วไป

รูปที่ 1.28 แสดงร้านค้าริมถนน YIDE LU

นอกจากจะมีรา้ นทีอ่ ยูร่ มิ ถนนแล้วแถบนีย้ งั มีรา้ นค้าทีเ่ ข้าไปอยูใ่ นพืน้ ทีใ่ ห้เช่าทีแ่ บ่ง เป็นห้องเล็กแบบสยามเซ็นเตอร์ หรือประตูนำ�้ ขอนแก่น โดยมีการแบ่งเป็นสินค้าประเภทต่างๆ ทั้งที่เป็นเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ของเล่น ข้าวของเครื่องใช้ต่าง ร้านที่อยูใ่ นแถบนี้สามารถที่ ซื้อได้ทั้งแบบขายปลีกและขายส่งเช่นกัน ห้างสรรพสินค้าทีอ่ ยูใ่ นแถบนีม้ อี ยูห่ ลายแห่งด้วยกันแต่หา้ งสรรพสินค้าทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในแถบนี้น่าจะเป็นหว่านหลิง (One Link International Plaza) ตลาดขายส่ง ของกระจุกกระจิกต่างๆ “หว่านหลิง” ตั้งอยู่ตรงถนน “อีเต๋อลู่” เป็นอาคารขนาดใหญ่มีถึง 6 ชั้นด้วยกัน แต่ละชั้นจะแบ่งกันเป็นแต่ละประเภทได้อย่างชัดเจน โดยชั้นใต้ดินนั้นจะเป็น พวกตุ๊กตา ของเด็กเล่น พวกกุญแจ เป็นต้น ชั้นที่ 1, 2 และ 3 นั้นจะเป็นพวกของกิ๊ปช๊อป ของตกแต่งประดับร่างกาย สินค้าแปลก เช่น นาฬิกาที่ท�ำจากกระดาษ หรือสินค้า


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

ที่สามารถใช้เป็นของที่ระลึกเช่น พวงกุญแจ ไฟฉาย ที่บันทึกข้อมูลแบบพกพา เป็นต้น ชั้นที่ 4, 5 และ 6 นั้นจะเป็นพวกของแต่งบ้าน เฟอร์นิเจอร์ ดอกไม้ปลอม ของสะสมต่างๆ เป็นต้น ร้านค้าส่วนใหญ่จะเป็นหน้าร้านของแต่ละโรงงานมาเปิดกัน และ เน้นขายส่งกัน เป็นส่วนมาก เรียกได้วา่ รับตรงจากโรงงานเลย ดังนัน้ ราคาจึงถูกมาก แต่ทงั้ นีต้ อ้ งขึน้ อยูก่ บั ความสามารถในการต่อรองราคากับคนขายและปริมาณของสินค้าที่ต้องการสั่งด้วย

รูปที่ 1.29 แสดงห้างสรรพสินค้าบนถนน YIDE LU

อย่างไรก็ตามสินค้าที่หวานหลิ่งจะมีราคาถูกมากก็ต่อเมื่อเป็นการซื้อแบบขายส่ง และต้องมีปริมาณมากพอสมควรจึงจะได้ราคาที่ถูกกว่าการซื้อสินค้าประเภทเดียวกันที่ ประเทศไทย เพราะฉะนั้นถ้าท่านต้องการไปซื้อสินค้ามาขายต่อที่ประเทศไทย ท่านต้อง ตรวจสอบราคาของสิ น ค้ าให้ ดี ว ่ า ท่ า นได้ ซื้ อ สิ น ค้ า ราคาถู ก พอที่ จ ะไปขายต่ อ หรื อไม่ อีกประการหนึ่งหลายท่านเมื่อเข้ามาในห้างแล้วส่วนใหญ่จะเสียเวลาส่วนมากที่ชั้นที่หนึ่ง เนื่องจากหลายท่านคิดว่ามีสินค้าให้เลือกมากกว่าชั้นอื่น หรือเหนื่อยเกินกว่าจะเดินทุกชั้น แต่เท่าที่สังเกต สินค้าที่มีขายอยู่ที่ชั้นที่หนึ่งก็จะมีขายอยูใ่ นชั้นที่สูงขึ้นไปเช่นกัน และสินค้า บางประเภทอยู่ที่ชั้นบนจะมีราคาที่ถูกกว่าสินค้าประเภทเดียวกันที่ชั้นหนึ่งอีกด้วย

83


84

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

รูปที่ 1.30 แสดงหน้าห้างสรรพสินค้า Debao

ห้างสรรพสินค้า Debao เป็นห้างสรรพสินค้าที่อยู่ถัดจากห้างหว่านหลิ่ง แต่ ห้าง Debao จะเป็นแหล่งรวมสินค้าประเภทตกแต่งตามงานเทศกาลต่าง เช่น ไฟประดับ โคมประดับ รวมถึงต้นไม้ปลอมและของตกแต่งบ้าน เป็นต้น จากบทความข้างต้นถนน YIDE LU เมืองกวางเจายังเป็นโอกาสของนักลงทุน โดยเฉพาะธุรกิจSME ที่เป็นลักษณะซื้อมาขายไป หรือธุรกิจขายส่งในเมืองไทยเพียงแต่ ก่อนท่านมาซื้อสินค้าที่ถนน YIDE LU ท่านต้องมีการเตรียมพร้อมมาอย่างดีทั้งเรื่องราคา และรูปแบบของสินค้าที่ท่านต้องการซื้อ รวมถึงข้อมูลในการเปรียบเทียบเพื่อให้ได้รับสินค้า ที่ดีและราคาถูก รวมถึงจ�ำนวนหรือปริมาณสินค้าที่ต้องการ เนื่องจากจ�ำนวนสินค้าที่ ท�ำการซื้อขายมีผลต่อราคาของสินค้าคือถ้ามีการสั่งปริมาณที่มากจะท�ำให้ได้รับราคา ที่ถูกกว่า นอกจากนี้ท่านยังต้องค�ำนึงถึงวิธีหรือกระบวนการขนส่งสินค้ากลับประเทศไทย และกระบวนการเสียภาษีอีกเช่นกัน สุดท้ายหากท่านเตรียมตัวมาพร้อมแล้วสิ่งสุดท้าย ที่ท่านต้องเตรียมคือ ความพร้อมของร่างกายเนื่องจากถนน YIDE LU มีพื้นที่ ที่กว้าง ขวางพอสมควร และอุปกรณ์ในการช็อปปิ้งต่างๆ เช่น กระเป๋าลาก เครื่องคิดเลข สมุด จดราคา นามบัตร ฯลฯ การเตรียมพร้อมเหล่านี้จะช่วยให้ท่านสามารถใช้เวลาในการท�ำ ธุรกิจได้อย่างคุ้มค่าและท�ำให้ท่านได้รับสินค้าตรงตามความต้องการในราคาที่เหมาะสม




11

ลักษณะการบริโภค และ ทัศนคติต่อสินค้าไทย ของชาวเวียดนาม

นายศุภกร ศิริสุนทร มิถุนายน 2555


88

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

การทีเ่ วียดนามเปิดประเทศได้ทำ� ให้ผปู้ ระกอบการจากต่างชาติเข้ามาลงทุนค้าขาย ในเวียดนามเป็นจ�ำนวนมาก อย่างไรก็ตามจากการลงพื้นที่ส�ำรวจวิถีชีวิตและพฤติกรรม การบริโภคของชาวเวียดนาม กลับพบว่า แม้สภาพสังคมสิ่งแวดล้อมในเมืองใหญ่ๆ อย่าง เช่น โฮจิมินห์ ซิตี้ หรือฮานอย จะมีความทันสมัยมากขึ้น แต่ก็ยังมีชาวเวียดนามจ�ำนวนมาก ก็ยังมีวิถีชีวิตและคงวัฒนธรรมดั้งเดิมอยู่ เช่น วัฒนธรรมการกิน ที่ยังพบเห็นร้านน�้ำชา กาแฟ เรียงรายเป็นจ�ำนวนมากตามสองข้างทาง ทั้งในย่านชุมชนเมืองหรือแม้แต่ออกไป ในชนบท ร้านอาหารต่างชาติในเมือง ก็มใี ห้เห็นไม่มากนัก เพราะผูค้ นยังคงนิยมรับประทานอาหาร ตามร้านอาหารดั้งเดิม เหตุผลอาจเป็นเพราะสถาบันครอบครัวของชาวเวียดนามมี ความแข็งแกร่ง ส่งผลให้ผบู้ ริโภคทีเ่ ป็นคนรุน่ ใหม่ ทีแ่ ม้จะได้รบั การศึกษาและหน้าทีก่ ารงาน ที่ดี มีรายได้มั่นคงก็ตาม แต่กไ็ ม่ได้ละทิ้งวิถีชีวิตแบบเดิม ดังนั้น พฤติกรรมการบริโภค ของกลุ่มนี้จึงมีความน่าสนใจอย่างยิ่ง

รูปที่ 1.31 แสดงจ�ำนวนเลขหมายโทรศัพท์มือถือจดทะเบียน(ล้านเลขหมาย)

ที่มา: ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ เวียดนาม (General Statistics Office)


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

จากการสัมภาษณ์คนท้องถิ่น ท�ำให้ได้ทราบว่า ผู้คนชาวเวียดนามมักใช้สิ่งของ 2 อย่าง ในการแสดงสถานะ ได้แก่ รถจักรยานยนต์ และ โทรศัพท์มอื ถือ ส�ำหรับจักรยานยนต์ เฉพาะในนครโฮจิมินห์ ซึ่งมีประชากรประมาณ 9 ล้านคน ก็มีรถจักรยานยนต์ ที่วิ่งขวักไขว่ อยูก่ ว่า 4 ล้านคันเลยทีเดียว ส่วนโทรศัพท์มอื ถือนัน้ เป็นสินค้าเทคโนโลยี ทีม่ อี ตั ราการเติบโต สูงมาก ร้านจ�ำหน่ายโทรศัพท์มือถือ มีให้เห็นได้ทุกแห่ง จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นว่า ณ สิน้ ปี 2547 ประเทศเวียดนามมีผใู้ ช้โทรศัพท์มอื ถือเพียง 4 ล้านเลขหมาย และเพิม่ ขึน้ เป็น 65 ล้านเลขหมาย ภายในเวลา 4 ปี โดยเมือ่ สิน้ ปี 2554 ประเทศเวียดนามมีผใู้ ช้โทรศัพท์มอื ถือ กว่า 117.6 ล้านเลขหมาย (ลดลงจากปี 2553 เล็กน้อย ทัง้ นีอ้ าจมีสาเหตุมาจากภาวะ เศรษฐกิจชะลอตัวในเวียดนามที่ส่งผลต่อการบริโภค) มากกว่าจ�ำนวนประชากรในประเทศ ที่มีอยู่ 91.5 ล้านคน สินค้าไทยหลายชนิดในประเทศเวียดนาม ได้รับความนิยมสูง ส่วนหนึ่งอาจจะ เป็นเพราะสินค้าเหล่านี้ ได้เข้ามาท�ำการตลาดในประเทศเวียดนามเป็นเวลายาวนานแล้ว สินค้าบางยี่ห้อเข้ามาจ�ำหน่ายในประเทศเวียดนามมากกว่า 20 ปี ตั้งแต่เวียดนามยังไม่ เปิดประเทศ สินค้าเหล่านี้จึงติดตลาด จนสินค้าที่ผลิตในประเทศเวียดนามเอง หรือสิน ค้าเฮ้าส์แบรนด์ของซูเปอร์มาร์เก็ตท้องถิน่ ยังพยายามออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์เลียนแบบให้ คล้ายกับสินค้าไทย เช่น สินค้าประเภทปลากระป๋อง จากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการไทย ในเวียดนาม รวมทั้งชาวเวียดนามท้องถิ่น ได้ข้อมูลว่า ทัศนคติของคนเวียดนามต่อสินค้า ไทยเป็นไปในทิศทางที่ดี ชาวเวียดนามยอมรับสินค้าไทยในฐานะสินค้าที่มีคุณภาพดี โดย ให้การยอมรับมากกว่าสินค้าจากประเทศจีน หรือแม้แต่สินค้าที่ผลิตในประเทศเวียดนาม เอง รวมทั้งการที่เข้ามาท�ำตลาดเป็นเวลานานแล้ว ท�ำให้ชาวเวียดนามคุ้นเคยกับสินค้า ไทย ทั้งนี้สินค้าไทย โดยเฉพาะสินค้าประเภทอาหาร วางต�ำแหน่งอยูใ่ นระดับเดียวกันกับ สินค้าเวียดนาม โดยมีราคาสูงกว่าสินค้าเวียดนามเพียงเล็กน้อย ส่วนสินค้าจากประเทศ อื่น ๆ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และไต้หวัน จะมีภาพลักษณ์เป็นสินค้าพรีเมี่ยมกว่า และมี ราคาสูงกว่าบางส่วนน�ำเข้าจากประเทศไทย แม้จะมีราคาสูงกว่าทีผ่ ลิตในประเทศหรือทีน่ ำ� เข้าจากจีน แต่กม็ ชี าวเวียดนามยินดีซื้อ เนื่องจากความเชื่อมั่นด้านคุณภาพจักรยานยนต์

89


90

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

รูปที่ 1.32 แสดงสภาพการจราจรในช่วงเลิกงาน ที่ถนนเต็มไปด้วยรถจักรยานยนต์


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

รูปที่ 1.33 แสดงห้างสรรพสินค้าหรู ใจกลางนครโฮจิมินห์ ภายในจ�ำหน่าย สินค้าแบรนด์เนม และสินค้าน�ำเข้า จากต่างประเทศ โดยลูกค้าหลักเป็น กลุ่มนักท่องเที่ยว นักธุรกิจ และ ชาวเวียดนามที่มีรายได้สูง

91


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

92

แม้เวียดนามจะเป็นตลาดที่มีศักยภาพ มีขนาดตลาดใหญ่และมีก�ำลังซื้อ รวมทั้ง

การที่สินค้าไทยมีภาพลักษณ์ที่ดีต่อชาวเวียดนาม ซึ่งท�ำให้เป็นโอกาสที่ดีส�ำหรับสินค้า และธุรกิจไทยในตลาดเวียดนาม แต่พฤติกรรมการบริโภคของชาวเวียดนามถือว่าค่อนข้าง ซับซ้อน เพราะยังคงมีการผสมผสานระหว่างวิถีชีวิตการบริโภคแบบดั้งเดิมและรูปแบบ การบริโภคตามแบบสมัยใหม่ ดังนั้น การส�ำรวจตลาด และการท�ำวิจัยผู้บริโภค จึงมี ความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อผู้ประกอบการไทย ที่จะเข้าไปด�ำเนินธุรกิจในเวียดนาม ข้อมูลจาก ส�ำนักงานส่งเสริมการค้าต่างประเทศ (Thai Trade Center) ณ นครโฮจิมินห์ ระบุว่า มีธุรกิจจากประเทศไทยเป็นจ�ำนวนหนึ่งที่ล้มเหลวในการท�ำการตลาดสินค้าของตนใน ประเทศเวียดนาม ทั้งนี้เนื่องมาจากการท�ำส�ำรวจและวิจัยตลาดเพียงผิวเผิน โดยธุรกิจ ที่ประสบความส�ำเร็จในประเทศเวียดนาม จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาตลาดอย่างลึกซึ้ง รวมทั้งอดทนและใช้เวลาอย่างมาก ก่อนที่จะเข้ามาประกอบธุรกิจจริง ซึ่งอาจต้องใช้เวลา มากกว่า 1 ปีในการส�ำรวจและวิเคราะห์ตลาด เพื่อให้เข้าใจถึงพฤติกรรมและความต้องการ ที่แท้จริงของชาวเวียดนาม จึงจะสามารถท�ำให้สินค้าเป็นที่ยอมรับในตลาดได้

การเข้าไปด�ำเนินธุรกิจในต่างประเทศ สิ่งหนึ่งที่ผู้ประกอบการต้องค�ำนึงถึงและ

ให้ความส�ำคัญคือการท�ำการวิจัยตลาด เนื่องด้วยในแต่ละประเทศ ผู้บริโภคมีพฤติกรรม ในการบริโภคแตกต่างกัน แม้ว่าปัจจุบันความเจริญต่างๆ จะส่งผลต่อการหันมาบริโภค ตามอย่างสากลมากขึ้น แต่อย่างประเทศเวียดนาม ที่แม้ว่าจะมีการพัฒนาทางด้านสังคม และเศรษฐกิจอย่างมาก แต่ประชากรส่วนหนึ่งก็ยังคงบริโภคตามแบบดั้งเดิม นี่เอง ถ้าหาก ผู้ประกอบการศึกษาตลาดจนเข้าใจสภาพตลาดต่างประเทศอย่างถ่องแท้แล้ว จะท�ำให้เห็น ช่องทางที่เป็นโอกาสส�ำหรับการท�ำธุรกิจ และมีโอกาสที่จะประสบความส�ำเร็จมากขึ้นด้วย




12 ตลาดสินค้าอาหารส�ำเร็จรูปไทย ในประเทศเวียดนาม

นายศุภกร ศิริสุนทร มิถุนายน 2555


96

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

จากการส�ำรวจตลาดและซูเปอร์มาร์เก็ตในประเทศเวียดนาม สิ่งที่พบอย่างหนึ่ง คือ สินค้าไทยโดยเฉพาะประเภทอาหาร มีให้พบเห็นอยู่ทั่วไปบนชั้นวางสินค้า และอยูใ่ น หมวดของสินค้ายอดนิยมของคนท้องถิ่น ตรงกับข้อมูลจากส�ำนักงานส่งเสริมการค้า ต่างประเทศ (Thai Trade Center) ณ นครโฮจิมินห์ ที่ว่า สินค้าไทย โดยเฉพาะสินค้า ประเภทอาหารส�ำเร็จรูป เช่น ปลากระป๋อง, ขนมขบเคี้ยว, อาหารว่าง ได้เข้ามาท�ำตลาด ในเวียดนามมากกว่า 10 ปีแล้ว โดยสินค้าเป็นที่รู้จักโดยทั่วไป และได้รับความนิยมสูง

รูปที่ 1.34 แสดงมูลค่าการน�ำเข้าอาหาร และสัดส่วนต่อการน�ำเข้าทั้งหมด

ทีม่ า : ส�ำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ เวียดนาม (General Statistics Office) และ World Bank (ข้อมูล ณ วันที่ 30 ก.ย. 2554)

จากข้อมูลข้างต้น พบว่า ในปี พ.ศ. 2552 ประเทศเวียดนามมีการน�ำเข้าสินค้า ประเภทอาหารจากต่างประเทศ สูงถึง 2,127 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 63,000 ล้านบาทต่อปี โดยภายในระยะเวลา 5 ปี มีอตั ราการเติบโตเฉลีย่ ถึง 24% ต่อปี และมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่า ในปีเดียวกัน การน�ำเข้าสินค้าประเภทอาหาร มีสัดส่วนถึง 7.9% ของมูลค่าการน�ำเข้าทัง้ หมด ท�ำให้เห็นว่า ตลาดสินค้าอาหารในเวียดนามมีความน่าสนใจ ส�ำหรับผู้ประกอบการไทย ในประเทศเวียดนาม สินค้าไทยโดยเฉพาะอาหารส�ำเร็จรูป มักจะพบได้ตามร้านค้า รายย่ อ ยในตลาด เช่ น ตลาดบิน เตย (Binh Tay Market) ในนครโฮจิ มิ นห์ ที่เป็นที่รู้จักว่า เป็นแหล่งค้าปลีกและค้าส่งสินค้าจากประเทศไทย ซึ่งจากการสอบถาม


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

คนในพืน้ ที่ได้ทราบข้อมูลว่าคนทัว่ ไปนิยมจับจ่ายซือ้ สินค้าทัง้ อาหารและสินค้าอุปโภคบริโภค จากตลาด ในขณะที่ซูเปอร์มาร์เก็ต หรือไฮเปอร์มาร์เก็ตขนาดใหญ่ จะมีเฉพาะในเมืองใหญ่ๆ เช่น ฮานอย, โฮจิมินห์ ซิตี้ และ ไฮฟอง ส่วนเมืองอื่นๆ ผู้คนยังคงจับจ่ายในตลาดเป็นหลัก ร้านค้าสะดวกซื้อมีให้เห็นค่อนข้างน้อย แม้กระทั่งในเมืองใหญ่อย่างโฮจิมินห์ ซิตี้ เนื่องด้วย คนเวียดนามมีพฤติกรรมการจับจ่ายทีค่ อ่ นข้างมัธยัสถ์ การจับจ่ายสินค้าจากร้านสะดวกซือ้ ที่มีราคาสูงกว่า จึงเลือกกลุ่มลูกค้าเป้าหมายหลักที่เป็นนักท่องเที่ยวมากกว่าคนท้องถิ่น รูปที่ 1.35 แสดงตัวอย่างขนมจากประเทศไทย ในตลาดบินเตย ภาพแสดง CO-OP Mart ซูเปอร์มาร์เก็ต

สินค้าประเภทอาหารของไทยที่ส่งออกไปจ�ำหน่ายในเวียดนาม ต้องแข่งขันกับ สินค้าจากประเทศอื่น เช่นประเทศจีน เกาหลีใต้ และสินค้าจากเวียดนามเอง อย่างไรก็ดี สินค้าไทยค่อนข้างได้เปรียบ เพราะสินค้าไทยมีภาพลักษณ์ในด้านคุณภาพดีกว่าสินค้าจาก จีน หรือแม้แต่สินค้าที่ผลิตในประเทศเวียดนาม ยกตัวอย่างเช่น ปลากระป๋องตราสามแม่ ครัว ซึ่งเข้ามาจ�ำหน่ายในเวียดนามเป็นเวลายาวนาน มีพื้นที่ขายบนชั้นวางในซูเปอร์มาร์เก็ต มากกว่าสินค้าประเภทเดียวกันยี่ห้ออื่นๆ แม้ว่าใกล้กันจะมีสินค้าเฮ้าส์แบรนด์ของซูเปอร์ มาร์เก็ตนั้นวางขายอยู่ที่ถึงแม้จะมีราคาถูกกว่า แต่กไ็ ม่ได้รับความนิยมเท่าสินค้าไทย

97


98

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

จากปัจจัยที่กล่าวมาแล้วนี้เอง ท�ำให้ราคาขายจึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลอย่างมาก ต่อการก�ำหนดต�ำแหน่งทางการตลาด (Market Positioning) จากการส�ำรวจพบว่า สินค้าไทย โดยเฉพาะหมวดอาหาร มักจะวางตัวอยูใ่ นระดับกลาง และจับกลุ่มตลาดหลัก (Mass Market) โดยสามารถก�ำหนดราคาสูงกว่าสินค้าจากประเทศเวียดนามได้เล็กน้อย อีกปัจจัยหนึง่ คือช่องทางการกระจายสินค้า (Distribution Channel) การน�ำสินค้าไทย เข้ามาจ�ำหน่ายในเวียดนาม มักผ่านผู้กระจายสินค้าที่เน้นกระจายสินค้าลงไปสู่ร้านค้าส่ง ตามตลาด และร้านค้าปลีกรายย่อย มากกว่าการเน้นกระจายสินค้าแก่ผู้ประกอบการ ห้ า งค้ า ปลี ก -ค้ า ส่ งสมัยใหม่ (Modern-Trade) เพื่ อให้ ส อดคล้ อ งกั บ พฤติ ก รรม การบริโภคของคนในพืน้ ที่ ซึง่ แตกต่างจากการจัดจ�ำหน่ายสินค้าโดยเฉพาะอาหารส�ำเร็จรูป ที่อยูใ่ นประเทศไทย ที่เน้นจัดจ�ำหน่ายโดยกระจายสินค้าไปยังห้างค้าปลีก-ค้าส่งสมัยใหม่ และร้านค้าสะดวกซื้อ แม้วา่ ตลาดเวียดนาม จะมีความน่าสนใจส�ำหรับสินค้าประเภทอาหารทัง้ ในแง่ของ ขนาดตลาด และทัศนคติที่มีต่อสินค้าไทย แต่ข้อมูลจากส�ำนักงานส่งเสริมการค้า ต่างประเทศ (Thai Trade Center) ณ นครโฮจิมินห์ ระบุว่า สิ่งที่ผู้ประกอบการต้อง ค�ำนึงถึงอย่างมาก ในการที่จะน�ำสินค้าเข้ามาจ�ำหน่ายยังประเทศเวียดนาม ประการแรก ก็คือ พฤติกรรมการบริโภคในแต่ละภูมิภาคของเวียดนามมีความแตกต่างกันพอสมควร รวมไปถึงพฤติกรรมของคนเมืองและคนที่อยูใ่ นชนบท เช่น คนเมืองมีพฤติกรรมการจับจ่าย สินค้าตามซูเปอร์มาร์เก็ตมากขึ้น เนื่องจากกระแสการใส่ใจเรื่องความสะอาดและสุขภาพ อนามัย ในขณะทีค่ นในชนบท ยังคงนิยมซือ้ สินค้าจากตลาดสดหรือตลาดนัด ผูป้ ระกอบการ ควรท�ำวิจัยตลาดเพื่อทดสอบสินค้าในหลายๆ พื้นที่ ก่อนน�ำสินค้าเข้ามาท�ำตลาดจริง เพื่อ ให้ทราบถึงความต้องการที่แท้จริงในแต่ละพื้นที่ ประการที่สองคือ ต้องหาผู้แทนจ�ำหน่าย หรือผู้กระจายสินค้าที่มีศักยภาพ น่าเชื่อถือ เพื่อจัดจ�ำหน่ายสินค้าได้ตรงกับความสะดวก และพฤติกรรมการจับจ่ายของผู้บริโภค และประการสุดท้ายคือ ค่าเงินด่อง ของเวียดนาม ค่อนข้างผันผวน ขาดเสถียรภาพ อาจก่อให้เกิดปัญหาในการน�ำเข้า-ส่งออกสินค้าได้ ควรมี เครื่องมือในการป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนด้วย




13

โอกาสทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับ จักรยานยนต์ในเวียดนาม

อาจารย์ ดร. สุทนิ เวียนวิวัฒน์ มิถุนายน 2555


102

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

ประเทศเวียดนาม มีประชากรกว่า 91.5 ล้านคน (พ.ศ. 2555) โดยมีจกั รยานยนต์ ในตลาดประมาณ 24 ล้านคัน ในปี พ.ศ. 2553 เฉพาะนครโฮจิมินห์เมืองเดียวมีจักรยานยนต์ มากกว่า 4 ล้านคัน โดยตลาดรถจักรยานยนต์ในประเทศเวียดนามมีอัตราการขยายตัว เฉพาะรถจักรยานยนต์ใหม่ปีละประมาณ 1 ล้านคัน ซึ่งคาดการณ์ว่าในปี 2558 จ�ำนวน จักรยานยนต์จะเพิ่มขึ้นเป็น 29 ล้านคัน (ที่มา:http://122.155.9.68/talad/index. php/vietnam/sector/motorcycle-parts ค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2555) จากข้อมูลข้างต้น ท�ำให้ธรุ กิจต่อเนือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับจักรยานยนต์ในประเทศเวียดนาม มีความน่าสนใจและศักยภาพในการท�ำธุรกิจอย่างมาก เนื่องจากมีอัตราการขยายตัว รถจักรยานยนต์ค่อนข้างสูง ดังนั้นผลิตภัณฑ์ที่ควรน�ำเสนอในตลาดเวียดนาม คือ หมวดอุปกรณ์ชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ส�ำหรับการเป็นอะไหล่ทดแทนและหมวดอุปกรณ์ ตกแต่งรถจักรยานยนต์ ทั้งนี้ควรน�ำเสนอสินค้าที่มีคุณภาพเป็นหลัก โดยคุณภาพที่ น�ำเสนอควรเป็นคุณภาพระดับกลางถึงบน เพราะจักรยานยนต์ส�ำหรับคนเวียดนามแล้ว เป็นสิง่ ทีแ่ สดงถึงฐานะ จนมีคำ� กล่าวติดตลกในเวียดนามว่า “No motorbike no wife” (ถ้าไม่มีมอเตอร์ไซด์ก็หาภรรยาไม่ได้)

ที่มา : Tuoi Tre

รูปที่ 1.36 แสดงการจราจรในนครโฮจิมินห์ซึ่งมีผใู้ ช้จักรยานยนต์เป็นจ�ำนวนมาก


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

103

ด้วยศักยภาพของนครโฮจิมนิ ห์ โดยเฉพาะความโดดเด่นเรือ่ งปริมาณรถจักรยานยนต์ ที่มากที่สุดในประเทศ และเป็นเมืองที่มีวัฒนธรรมในการยอมรับสินค้าใหม่ๆได้ดี ประชากร มีรายได้สูงทั้งจากรายได้ประจ�ำ และเงินทีไ่ ด้รับจากญาติในต่างประเทศ ท�ำให้ไม่เป็น อุปสรรค ต่อการ เสนอราคาขาย ท�ำให้ผู้ประกอบการสามารถสร้างผลก�ำไรได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้ผู้บริโภคกลุ่มนีใ้ นเวียดนามยังต้องการสร้างความมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง และนิยมแข่งขันอวดความหรูหราของจักรยานยนต์ ดังนั้นจึงเป็นเมืองที่มโี อกาสสูง ในกรณี นครโฮจิมนิ ห์ซงึ่ ฝนตกบ่อยเหมือนภาคใต้ของเมืองไทย ดังนัน้ อุปกรณ์เสริม ป้องกันฝน จึงเป็นสินค้าที่น่าสนใจและมีศักยภาพในการท�ำธุรกิจ ซึ่งในปัจจุบันอุปกรณ์ ส�ำหรับกันฝน เช่น หลังคากันฝนส�ำหรับรถจักรยานยนต์ยังไม่เป็นที่รู้จักในตลาดเวียดนาม ส่วนใหญ่ผู้ขี่จักรยานยนต์ในเวียดนามมักจะใส่ชุดกันฝนเวลาฝนตก ซึ่งในประเทศไทย บริษทั พีพเี อสรีฟอร์มงิ่ จ�ำกัด เป็นเจ้าเดียวทีจ่ ดั จ�ำหน่ายหลังคากันฝนส�ำหรับรถจักรยานยนต์ โดยเริ่มเปิดตัวสินค้าเมื่อ เมษายน 2553โดยใช้ชื่อแบรนด์ Wonder Roof สนนราคา อยูท่ ปี่ ระมาณ 3,600 บาทเท่านัน้ ดังนัน้ การเข้าไปลงทุนท�ำธุรกิจอาจเริม่ จากการจัดจ�ำหน่าย หลังคากันฝนส�ำหรับรถจักรยานยนต์ในนครโฮจิมนิ ห์กอ่ น หลังจากทีไ่ ด้รบั การตอบรับจาก ตลาดแล้วจึงวางแผนการผลิตสินค้าดังกล่าวในประเทศเวียดนามในขั้นต่อไป

ที่มา : http://www.wonderroof.com ค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2555

รูปที่ 1.37 แสดงตัวอย่างหลังคากันฝนส�ำหรับรถจักรยานยนต์


104

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

นอกจากนี้ยังมีธุรกิจที่น่าสนใจอีกอย่างก็คือ ธุรกิจให้บริการซ่อม บ�ำรุง ตกแต่ง และรักษาความสะอาดของรถจักรยานยนต์รูปแบบทันสมัย เนื่องจากธุรกิจบริการด้านนี้ ในนครโฮจิมนิ ห์ยงั ไม่มมี าตรฐานและความทันสมัย ดังนัน้ การน�ำเสนอการให้บริการแบบใหม่ท่ี น�ำเอาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการให้บริการอย่างมีมาตรฐานจึงเป็น กลยุทธ์ทางด้านผลิตภัณฑ์ ที่จะน�ำไปสู่ความส�ำเร็จของธุรกิจได้ เช่นในกรณี ร้านทีใ่ ห้บริการล้างรถเพียงอย่างเดียว ควรเป็นรูปแบบการล้างรถทีใ่ ช้เทคโนโลยี สมัยใหม่แบบทีใ่ ช้ในประเทศไทย อาทิ ปั้มน�้ำ เครื่องฉีดน�้ำแรงดันสูง เครื่องพ่นโฟม และปั้มลม เป็นต้น หรือในกรณีร้านให้บริการ ล้างและดูแลรักษารถ พร้อมบริการดูแลรักษาเครื่องยนต์ เปลี่ยนถ่ายน�้ำมันเครื่อง ตกแต่งรูปลักษณ์ พร้อมบริการเสริมอื่นๆ ส�ำหรับเจ้าของรถจักรยานยนต์ อาทิ ร้านกาแฟ ร้านสะดวกซื้อ ห้องพักรับรองระหว่างรอรับบริการ เป็นต้น ในการตั้งราคา เนื่องจากเป็นบริการที่ยังไม่มใี นเวียดนาม ดังนั้นอัตราการให้ บริการสามารถตั้งได้ใหม่ โดยอาจตั้งราคาที่สูงกว่าการให้บริการของร้านท้องถิ่นเล็กน้อย เพื่อดึงดูดให้มีลูกค้าเข้ามาใช้บริการมากยิ่งขึ้น การเลือกท�ำเลทีต่ งั้ หากสามารถหาได้ในเขตใจกลางเมืองก็จะเข้าถึงลูกค้าได้มาก แต่ปัญหาคือราคาที่ดินจะแพงมาก ดังนั้นหากเลือกท�ำเลที่ห่างจากตัวเมืองออกมาก็จะได้ พื้นที่ที่ถูกกว่า และกว้างขวางกว่า ซึ่งจะสามารถน�ำเสนอบริการที่หลากหลายกว่าได้ แต่ ท�ำเลนั้นต้องอยูใ่ นเส้นทางการเดินทางเข้าเมืองทีใ่ กล้แหล่งชุมชน ด้วยข้อมูลทีน่ ำ� เสนอข้างต้นสรุปได้วา่ หนึง่ ในธุรกิจทีม่ ศี กั ยภาพและโอกาสส�ำหรับ นักธุรกิจไทยในการเข้าไปท�ำธุรกิจในเวียดนาม ก็คอื ธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจรถจักรยานยนต์ อาทิ อุปกรณ์เสริมตกแต่งรถจักรยานยนต์เพือ่ ความสวยงามหรือประโยชน์ใช้สอย และธุรกิจ การให้บริการดูแลรถจักรยานยนต์แบบทันสมัย ซึ่งนครโฮจิมินห์เป็นเมืองที่เหมาะที่สุด ส�ำหรับการเข้าไปบุกเบิกธุรกิจประเภทนี้ ก่อนที่จะขยายตัวไปยังเมืองอื่นๆ




14

โอกาสของผู้ประกอบการไทย ในตลาดค้าปลีกกัมพูชา

นายศุภกร ศิริสุนทร กรกฎาคม 2555


108

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

กรุงพนมเปญในปัจจุบัน เริ่มมีโครงการอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่เกิดขึ้น หลายโครงการ ทั้งทีเ่ ป็นโรงแรม และคาสิโน อย่างเช่น Naga World, อาคาร Canadia Tower และอาคาร Vattanac Capital ซึง่ โครงการนี้ เป็นอาคารแบบ Mixed Use ทีม่ ที ั้งศูนย์การค้า อาคารส�ำนักงาน และอพาร์ทเม้นท์ ในย่านส�ำนักงาน ใจกลางกรุงพนมเปญ แสดงให้เห็นถึงการขยายตัวของเศรษฐกิจ และธุรกิจในประเทศกัมพูชา จึงเริ่มมีการก่อสร้างอาคาร เพื่อรองรับความต้องการทีเ่ พิม่ ขึ้น ทั้งพื้นทีส่ �ำนักงานทีอ่ ยู่อาศัย และพื้นทีค่ ้าปลีก จากรายงานของ ซีบี ริชาร์ด เอลลิส ส�ำนักงานกรุงพนมเปญ พบว่า ส�ำหรับอุปทาน พื้นที่อาคารส�ำนักงานนั้น มีการเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และคาดว่าจะมีพื้นที่ส�ำนักงาน กว่า 2 แสนตารางเมตร ในปี 2556 ซึ่งเป็นสองเท่าของพื้นที่ของพื้นที่ส�ำนักงานปี 2553 ส่วนค่าเช่าก็เพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า ภายในระยะเวลา 5 ปีที่ผ่านมา ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า ในช่วงที่ผ่านมาเศรษฐกิจและการลงทุนในกัมพูชามีการเจริญเติบโตส่งผลไปยังธุรกิจอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยธุรกิจหนึ่งที่คาดว่าจะได้รับผลดีและมีแนวโน้มเติบโตในอนาคตก็คือ ธุรกิจค้าปลีก ซึ่งนอกเหนือจากร้านค้าปลีก และตลาด ที่มใี ห้เห็นอยู่ทั่วไปในกรุงพนมเปญ ยังพบว่า มีโครงการก่อสร้างศูนย์การค้าแห่งใหม่เกิดขึ้นด้วยโดยล่าสุดกลุ่มฮ่องกงแลนด์ และ อีออนกรุ๊ป (Aeon) ได้ซื้อที่ดินกว่า 160 ไร่ ใกล้กับโรงแรมโซฟิเทล โภคีธรา เพื่อพัฒนา เป็นศูนย์การค้าอีออนมอลล์ ซึ่งอยู่ระหว่างการก่อสร้าง


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

109

ปัจจุบัน ศูนย์การค้าทีไ่ ด้รับความนิยมสูงสุดในพนมเปญคือ ห้างโสรยา (Sorya Shopping Centre) ซึ่งตั้งอยูใ่ กล้กับเซ็นทรัล มาร์เก็ต แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ แห่งหนึ่งของพนมเปญ โดยห้างโสรยา มีทั้งหมด 6 ชั้น พื้นที่ 27,000 ตารางเมตร จาก การส�ำรวจพื้นที่พบว่า มีอัตราการเช่าเกือบ 100% ภายในห้างโสรยามีศูนย์อาหาร โรง ภาพยนตร์ ซูเปอร์มาร์เก็ต และร้านค้าร้านอาหารมากมาย โดยร้านอาหารจ�ำนวนหนึ่ง เป็นร้านอาหารสมัยใหม่ หรือร้านประเภท แฟรนไชส์ทั้งจากต่างประเทศ และของกัมพูชาเอง เช่น ร้านพิซซ่า, ร้านไก่ทอด, ร้านไอศกรีม และได้รับความนิยมจากชาวกัมพูชา โดยทัว่ ไป โดยเฉพาะร้านอาหารแฟรนไชส์ตา่ งๆ ทีจ่ ะพบเห็นชาวกัมพูชาใช้บริการอย่างหนาแน่น อย่างไรก็ดี ปัจจุบันกรุงพนมเปญยังไม่ไฮเปอร์มาร์เก็ตขนาดใหญ่ อย่าง เทสโก้ หรือ บิ๊กซี รวมทั้งยังไม่มีร้านค้าสะดวกซื้อสมัยใหม่ มีเพียงแต่ซูเปอร์มาร์เก็ต และร้านค้าแบบดั้งเดิม เท่านั้น

ที่มา: skyscrapercity.com

รูปที่ 1.38 แสดงห้างโสรยา


110

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

รูปที่ 1.39 แสดง Vattanac Capital

ที่มา: CBRE

ข้อมูลตัวเลขเศรษฐกิจกัมพูชา จากรายงานของส�ำนักงานส่งเสริมการค้า ในต่างประเทศ ณ กรุงพนมเปญ ระบุว่า ธุรกิจภาคบริการ ซึ่งรวมถึงการค้าปลีก-ค้าส่ง, โรงแรมและร้านอาหาร มีสัดส่วนถึง 38% ของจีดีพีปี 2011 และมีแนวโน้มเติบโตขึ้นเรื่อยๆ โดยสถาบันพัฒนาเศรษฐกิจและการค้ากัมพูชาคาดว่า ในปี 2554 ภาคบริการทั้งหมด จะเติบโต 6.9% และ 6.5% ในปี 2555 โดยเป็นการเติบโตของธุรกิจการค้า 7.1% และ 11.2% ส�ำหรับธุรกิจการโรงแรมและร้านอาหาร


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

ตารางที่ 3.7 แสดงแนวโน้มการเติบโตของภาคธุรกิจบริการ ภาคธุรกิจ บริการ

พ.ศ. 2550

พ.ศ. 2551

พ.ศ. 2552

พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 E1 E1

พ.ศ. 2555 E1

คมนาคมและโทรคมนาคม

7.2%

7.1%

3.9%

8.0%

9.1%

7.9%

การค้า

9.5%

9.4%

4.2%

7.1%

6.1%

7.1%

โรงแรมและร้านอาหาร

10.3%

9.8%

1.8%

11.2%

11.6%

11.2%

การเงิน

22.2%

19.3%

8.0%

12.7%

18.1%

12.7%

การบริหารจัดการ

0.1%

4.5%

1.0%

11.5%

3.6%

2.9%

อสังหาริมทรัพย์

10.8%

5.0%

-2.5%

-9.9%

1.3%

5.6%

อื่นๆ

12.1%

12.0%

2.9%

3.9%

5.6%

4.9%

E = estimate หมายถึง การประมาณการ ที่มา: ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ และสถาบันพัฒนาเศรษฐกิจกัมพูชา (เรียบเรียงโดย ส�ำนักงานส่งเสริมการค้า ในต่างประเทศกรุงพนมเปญ)

จากการส�ำรวจตลาดในกรุงพนมเปญ พบว่า สินค้าทั้งอาหารส�ำเร็จรูปและสินค้า ในชีวิตประจ�ำวัน (Fast Moving Consumer Goods) ส่วนใหญ่ยังคงน�ำเข้าจาก ต่างประเทศ โดยเฉพาะจากไทย ดังจะเห็นได้จากซูเปอร์มาร์เก็ตและร้านค้าต่างๆจ�ำหน่าย สินค้าจากประเทศไทย และมีฉลากเป็นภาษาไทย โดยจะมีชั้นวางส�ำหรับจ�ำหน่ายสินค้าที่ มีแหล่งผลิตในกัมพูชาโดยเฉพาะซึ่งมีประเภทและจ�ำนวนสินค้าน้อยมาก นั่นแสดงให้เห็น ถึงการยอมรับสินค้าจากประเทศไทย โดยสินค้าไทยหลายประเภทถือได้ว่าเป็นเจ้าตลาดใน กัมพูชาเลยทีเดียว นอกจากนี้ ชาวกัมพูชายังมีการรับสือ่ ไทย เช่น รายการโทรทัศน์และละคร ส่งผลให้ชาวกัมพูชาสมัยใหม่ ชื่นชอบและเอาอย่างการบริโภคจากประเทศไทย

111


112

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

โดยสรุปแล้ว การด�ำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการน�ำ

สินค้าเข้าไปจ�ำหน่ายยังประเทศกัมพูชานัน้ มีปจั จัยหลายประการทีถ่ อื ได้วา่ เป็นโอกาสทีด่ ยี งิ่ ประการแรก

การขยายตัวของธุรกิจในกัมพูชาและการเพิ่มขึ้นของพื้นที่เชิงพาณิชย์

(Retail Space) จากการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์และศูนย์การค้าแห่งใหม่ ในกรุงพนมเปญ ประการที่สอง ตัวเลขการขยายตัวของภาคบริการในกัมพูชาซึ่งคาดการณ์ ว่าจะขยายตัวถึง 6.5% ในปี 2555 โดยเฉพาะธุรกิจการค้าที่คาดว่าจะขยายตัว 7.1% และ ธุรกิจการโรงแรมและร้านอาหาร ที่คาดว่าจะขยายตัวถึง 11.2% และประการสุดท้ายคือ ชาวกัมพูชามีความคุน้ เคยและให้การยอมรับสินค้าไทยมาก รวมทัง้ ไลฟ์สไตล์ของชาวกัมพูชา รุ่นใหม่ที่นิยมบริโภคอย่างชาวไทย อย่างไรก็ดี นอกจากปัจจัยด้านการเมือง ซึ่งแม้ว่า ประเทศกัมพูชาถือว่ามีการเมืองที่มีเสถียรภาพมาก แต่สิ่งที่ผู้ประกอบการควรระมัดระวัง ก็คือ ความเสี่ยงด้านการส่งสินค้าออกไปจ�ำหน่าย รวมถึงช่องทางในการขนส่งสินค้า ไปจ�ำหน่าย ทั้งนี้ เนื่องจากประเทศไทยและกัมพูชา ยังมีความขัดแย้งต่อกันในทางการเมือง และพรมแดนอยู่ จึงอาจส่งผลกระทบต่อการส่งสินค้าไปจ�ำหน่ายตามช่องทางต่างๆ ได้




15

ธุรกิจที่เชื่ อมโยงกับการท่องเที่ยว ในกัมพูชาแนวโน้มสดใส

อาจารย์ ดร. สุทนิ เวียนวิวัฒน์ กรกฎาคม 2555


116

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

ประเทศกัมพูชามีจ�ำนวนประชากรเกือบ 15 ล้านคนในปี 2554 มีผลิตภัณฑ์ มวลรวม (Gross domestic product: GDP) 12,861 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งเมื่อคิด ต่อหัวจะได้ 852 เหรียญสหรัฐ (ที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Cambodia ค้นเมื่อวันที่ 15 มิ.ย. 2555) ซึ่งคิดเป็นเพียงร้อยละ 16 ของ GDP ต่อหัวของประเทศไทย เท่านั้น อย่างไรก็ตามเศรษฐกิจของกัมพูชาก�ำลังเติบโตในระดับที่น่าทึ่งด้วยอัตราร้อยละ 8 ต่อปีในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา โดยมีภาคการท่องเที่ยวเป็นตัวช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ โดยในช่วงระหว่างปี 2547 –2554 มีนักท่องเที่ยวต่างชาติมาเยือนกัมพูชาเพิ่มขึ้นจาก ประมาณ 1 ล้านคนเป็น 2.88 ล้านคน ท�ำให้มีรายได้จาการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นจาก 673 ล้าน เหรียญสหรัฐ เป็น 1,910 ล้านเหรียญสหรัฐ (ที่มา: ธนาคารโลก) นอกจากนี้เพียงแค่สี่เดือนแรกของปี 2555 มีนักท่องเที่ยวต่างชาติมาเยือนถึง 1.27 ล้านคน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2554 กว่าร้อยละ 27 โดยเป็นนักท่องเที่ยวจากเวียดนาม มากเป็นอันดับ 1 จ�ำนวน 246,000 คน (คิดเป็นร้อยละ 19.4) เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 35 อันดับที่ 2 เป็นนักท่องเที่ยวจากเกาหลีใต้ 181,000 คน (คิดเป็นร้อยละ 14.3) เพิ่มขึ้นร้อยละ 39 และอันดับ 3 เป็นนักท่องเที่ยวจากจีน จ�ำนวนทั้งสิ้น 112,600 คน (คิดเป็นร้อยละ 8.9) เพิ่มขึ้นร้อยละ 32 ซึ่งทางการกัมพูชาตั้งเป้าหมายที่จะเจาะตลาดนักท่องเที่ยวชาวจีนให้ เพิ่มเป็น 5 แสนคนภายในปี 2558 และเพิ่มเป็น 1 ล้านคนภายในปี 2563 ขณะที่อันดับ 4 เป็นนักท่องเทีย่ วชาวไทยทีเ่ ดินทางมาท่องเทีย่ วในกัมพูชาเพิม่ ขึน้ ถึงร้อยละ 87 ที่ 65,200 คน (คิดเป็นร้อยละ 5.1) เนื่องจากความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นระหว่างสองประเทศ (ที่มา: http:// www.mcot.net/cfcustom/cache_page/371797.html ค้นเมือ่ วันที่ 15 มิ.ย. 2555) จึงประเมินได้ว่าปี 2555 นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางมาท่องเที่ยวในกัมพูชา จะมีมากกว่า 3 ล้านคน


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

รูปที่ 1.40 แสดงนครวัด

รูปที่ 1.41 แสดงนครธม ที่มา: Wikipedia

117


118

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

นั ก ท่ อ งเที่ ย วต่ า งชาติ ท่ี ม าเยื อ นกั ม พู ช าประมาณครึ่ ง หนึ่ ง มี จุ ด มุ ่ ง หมายที่ จังหวัดเสียมเรียบเพื่อชม นครวัดและนครธมซึ่งเป็นสิ่งมหัศจรรย์ 1 ใน 7 ของโลก ขณะที่ อีกครึ่งหนึ่งมีจุดมุ่งหมายที่เมืองหลวงกรุงพนมเปญและจังหวัดอื่นๆ เช่น จังหวัดพระสีหนุ ที่ขึ้นชื่อเรื่องชายหาดที่สวยงาม ช่วงฤดูกาลท่องเที่ยวที่คึกคัก (High Season) ของ กัมพูชาจะอยูใ่ นช่วงเดือนตุลาคมถึงมีนาคมซึง่ เป็นช่วงปลอดฝน ขณะทีช่ ว่ งฤดูกาลท่องเทีย่ ว เบาบาง (Low Season) จะอยูใ่ นช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายนซึ่งเป็นช่วงฝนตก คล้ายกับฤดูกาลท่องเที่ยวของประเทศไทย จากศักยภาพและแนวโน้มที่สดใสของภาคการท่องเที่ยวกัมพูชา พร้อมกับ การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวจากรัฐบาลอย่างจริงจัง จึงดึงดูดให้มีนักท่องเที่ยวต่างชาติ เพิ่มขึ้นทุกปี ท�ำให้มีความต้องการห้องพักและร้านอาหารและบริการด้านต่างๆ เพิ่มขึ้น ซึ่งในปี 2554 คณะกรรมการการลงทุนกัมพูชา (Cambodia Investment Board) ได้อนุมัตโิ ครงการด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 6 โครงการ เงินลงทุน 14.5 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งเพิ่มขึ้นอย่างมากจากปี 2553 ซึ่งมีเงินลงทุนด้านการท่องเที่ยว เพียง 3 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โดยเป็นการลงทุนเพื่อธุรกิจพัฒนาศูนย์การท่องที่ยว ศูนย์การค้า โรงแรมระดับ 5 ดาวและที่พักอาศัย ประกอบกับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนในปี 2558 ซึ่งในภาคการท่องเที่ยวจะมีการเปิดเสรีมากขึ้น ดังนั้นจึงเป็นโอกาส ของนักลงทุนไทยที่จะเข้าไปลงทุนในธุรกิจ เช่น ธุรกิจที่พัก ธุรกิจบริการทัวร์และน�ำเที่ยว ธุรกิจบริการร้านอาหาร และธุรกิจฝึกอบรม เป็นต้น ธุรกิจที่พัก ได้แก่ โรงแรม รีสอร์ท เกสเฮาส์ และโฮมสเตย์ ซึ่งเป็นภาคธุรกิจ ทีส่ ดใส ตามการขยายตัวของนักท่องเทีย่ ว มีอตั ราการเข้าพักโรงแรม (Hotel Occupancy) ที่สูงกว่าเมืองไทย ซึ่งนักลงทุนไทย ควรมุ่งเน้นในกลุ่ม โรงแรมขนาดกลาง เกสท์เฮาส์ และโฮมส์สเตย์ เนื่องจากนักท่องเที่ยวต่างชาติส่วนใหญ่เป็นผู้มีรายได้ระดับกลางจาก ภูมภิ าคเอเชียและตลาดยังมีโอกาสของการขยายตัวอย่างไรก็ตามความท้าทายในธุรกิจทีพ่ กั คือ การติดต่อหน่วยงานราชการ ยังมีความยุ่งยากซับซ้อน รวมทั้งราคาที่ดินที่ก�ำลัง ปรับตัวสูงขึ้นจากการขยายตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

ธุรกิจบริการทัวร์และน�ำเที่ยว เนื่องจากการการแข่งขันของธุรกิจน�ำเที่ยวใน ประเทศกัมพูชาค่อนข้างเสรีและแข่งขันสูง ดังนัน้ ควรจดทะเบียนด�ำเนินธุรกิจในประเทศไทย และจัดท�ำทัวร์รว่ มเป็นพันธมิตรกับบริษทั น�ำเทีย่ วในประเทศกัมพูชาเพือ่ รองรับนักท่องเทีย่ ว ที่ ต ้ อ งการท่ อ งเที่ ย วในหลากหลายประเทศในภู มิ ภ าคอาเซี ย นโดยใช้ ป ระเทศไทยเป็ น ศูนย์กลางท่องเที่ยว ซึ่งจะได้ลูกค้าทั้งในลักษณะการจัดทัวร์ไปต่างประเทศ (Outbound) และการจัดทัวร์เข้ามาในประเทศ (Inbound) ธุรกิจร้านอาหาร สามารถลงทุนได้หลากหลายระดับในกรุงพนมเปญและ จั ง หวั ดเสี ย มเรี ย บ โดยอาจเน้น ร้านอาหารไทยซึ่งเป็ นที่ ต อบรั บ ของคนทั่ วโลกหรื อ ร้านอาหารนานาชาติที่ตกแต่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว เพื่อให้สอดคล้องกับนักท่องเที่ยวที่ เดินทางมาจากทัว่ ทุกมุมโลก โดยเฉพาะลูกค้าทีม่ าจากภูมภิ าคเอเชีย นอกจากนี้ ร้านกาแฟ ร้านเบเกอรี่ รวมทั้งอาหารประเภท Fast Food และ Food Court ก็ก�ำลังได้รับ ความนิยมเพิ่มขึ้นจากนักท่องเที่ยวและคนกัมพูชาเช่นกัน ธุรกิจฝึกอบรมด้านการบริการและการท่องเที่ยว เป็นอีกธุรกิจที่มีศักยภาพ ในการลงทุน เนื่องจากแรงงานรวมไปถึงหัวหน้างานในภาคธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ ยังขาดทักษะเกี่ยวกับการให้บริการ ซึ่งผู้ประกอบการของไทยมีความโดดเด่นและถนัด ทางด้านการให้บริการจึงเป็นโอกาสในการท�ำธุรกิจโรงเรียนสอนวิชาชีพด้านการท่องเที่ยว และการโรงแรม

119


120

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

โดยสรุป ธุรกิจด้านบริการ ที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยวในกัมพูชาส�ำหรับ นักลงทุนไทย ถือได้ว่ามีศักยภาพและน่าลงทุน จากการที่ภาคการท่องเที่ยวและบริการ ในกัมพูชาที่ก�ำลังเติบโตอย่างต่อเนื่อง และประเทศไทยถือได้ว่ามีจุดแข็งและโดดเด่นใน อุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ มาอย่างยาวนาน และเป็นศูนย์กลางด้านการท่องเที่ยว ของภูมิภาคอาเซียน อย่างไรก็ตามการลงทุนในกัมพูชา ผู้ประกอบการที่มีฐานะ ทางการเงินที่แข็งแกร่ง รวมทั้งมีเครือข่าย และความสัมพันธ์ที่ดีต่อนักธุรกิจท้องถิ่น รวมทัง้ หน่วยงานภาครัฐในกัมพูชา ย่อมมีความได้เปรียบในการท�ำธุรกิจในกัมพูชามากขึ้น




16

โอกาสของ ธุรกิจสถานีบริการน�้ำมัน ในกัมพูชา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ก่อพงษ์ พลโยราช กรกฎาคม 2555


124

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

ท้องถนนในกรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา คลาคล�่ำไปด้วยยานพาหนะจ�ำนวนมาก ดังเห็นจากภาพที่1 และภาพที่ 2 ที่เป็นเช่นนี้ส่วนหนึ่งเป็นเพราะการขยายตัวทางเศรษฐกิจ อย่างก้าวกระโดด รวมทั้งการเร่งปรับปรุงระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานในประเทศกัมพูชา ท�ำให้การคมนาคมติดต่อระหว่างพื้นที่ต่าง ๆ เป็นไปอย่างสะดวกยิ่งขึ้น

รูปที่ 1.42 รถต่างๆ บนท้องถนน ในกรุงพนมเปญ (1)

รูปที่ 1.43 รถต่างๆ บนท้องถนน ในกรุงพนมเปญ (2)


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

125

รูปที่ 1.44 สถานีบริการน�้ำมัน ในกรุงพนมเปญ (3)

รูปที่ 1.44 สถานีบริการน�้ำมัน ในกรุงพนมเปญ (4)

จากความต้องการยานพาหนะของประเทศกัมพูชานี้ มีความสอดคล้องและส่งผล โดยตรงต่อปริมาณความต้องการเชื้อเพลิงภายในประเทศ ที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ จากข้อมูลการค้าจากสถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงพนมเปญ พบว่าในปี 2553 การส่งออกน�้ำมันเชื้อเพลิง (น�้ำมันเบนซิน น�้ำมันดีเซล น�้ำมันอากาศยาน และน�้ำมันเตา) จากประเทศไทยไปยังประเทศกัมพูชา มีปริมาณ


126

บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

127 การส่งออกรวม 441.5 ล้านลิตร คิดเป็นมูลค่าสูงถึง 281.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดย ในปี 2554 อัตราการขยายตัวของการน�ำเข้าเชื้อเพลิงจากไทยของกัมพูชา สอดคล้องกับ การขยายตัวของการน�ำเข้ารถยนต์ โดยมีอัตราการขยายตัว ร้อยละ 39.24 และในส่วนของ ผูใ้ ช้บริการในตลาดนี้แบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มหลัก คือ กลุ่มตลาดระดับบน เป็นผู้มีรายได้สูง ส่วนใหญ่เป็นผูใ้ ช้รถยนต์ใหม่ นิยมน�ำรถเข้าใช้บริการทีศ่ นู ย์บริการทีม่ คี ณ ุ ภาพและได้มาตรฐาน ส่วนกลุ่มที่สอง คือ กลุ่มตลาดระดับล่าง ซึ่งเป็นผู้ที่มีรายได้ไม่สูงนัก และใช้งานรถยนต์ ที่มีอายุการใช้งานสูง (รถเก่า) หรือรถที่ผ่านการใช้งานมาแล้ว (รถมือสอง) (วัชรัศมิ์ ลีละ วัฒน์,การค้าและการลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้าน ภายใต้กรอบอาเซียน. 2555) นอกจากนี้ จากการส�ำรวจธุรกิจสถานีนำ�้ มันในประเทศกัมพูชานัน้ พบว่าเมือ่ เทียบกับ ประเทศในกลุ่ม CLMV (กัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม) กัมพูชามีจ�ำนวนสถานี เชื้อเพลิงมาตรฐานจ�ำนวนมาก โดยลักษณะของสถานีเชื้อเพลิงในกัมพูชาเช่นในภาพที่ 3 จะเป็นรูปแบบที่มุ่งเน้นการให้บริการด้านการเติมเชื้อเพลิงเป็นหลัก จึงค่อนข้างจะแตกต่าง จากประเทศไทยที่เน้นรูปแบบการให้บริการแบบครบวงจรที่มีการให้บริการอย่างอื่นนอก เหนือจากการเติมเชื้อเพลิง เช่น ร้านอาหารและเครื่องดื่ม ร้านขายของช�ำ อู่ซ่อมรถยนต์ บริการบ�ำรุงรักษารถยนต์ (คาร์แคร์) ร้านกาแฟ เป็นต้น อีกทั้งจากการที่ผู้ประกอบการใน ท้องถิ่นยังขาดความรู้และทักษะด้านการบริหารจัดการธุรกิจแต่มีความพร้อมด้านเงินทุน ดังนัน้ จึงมองว่าเป็นโอกาสอันดีของผูป้ ระกอบการไทยทีม่ คี วามเข้มแข็งด้านการบริหารจัดการ และมีองค์ความรูใ้ นทางธุรกิจด้านพลังงานและยานยนต์ ในการเข้าไปลงทุนพัฒนาธุรกิจ สถานีเชื้อเพลิง ณ ประเทศกัมพูชา ในรูปแบบการให้บริการของสถานีเชื้อเพลิงแบบครบ วงจร ซึง่ นอกจากจะเป็นการรองรับการขยายตัวของความต้องการด้านพลังงานในกัมพูชาแล้ว การตัง้ สถานีบริการแบบครบวงจรนีย้ งั สามารถสร้างมูลค่าเพิม่ จากบริการอืน่ ๆ ทีน่ อกเหนือ จากการให้บริการเติมเชือ้ เพลิงอีกด้วย ซึง่ ในกาเข้าสูธ่ รุ กิจด้านพลังงานในประเทศกัมพูชานัน้ ผู้ประกอบการสามารถใช้กลยุทธ์การร่วมทุน (Joint venture) กับผู้ประกอบการท้องถิ่น หรืออาจใช้การขยายแฟรนไชส์เป็นอีกแนวทางหนึ่งในการลงทุนได้ ทั้งนี้เสนอให้ผู้ประกอบ การมุ่งเน้นสถานีน�้ำมันที่มีบริการอู่ซ่อมรถยนต์ที่มีมาตรฐานที่ดี ด้วยการให้บริการโดย ช่างผูช้ ำ� นาญงานด้านต่าง ๆ พร้อมเครือ่ งมือและอุปกรณ์ซอ่ มแซมทีท่ นั สมัยในอัตราค่าบริการ ที่เหมาะสม เนื่องจากอู่ซ่อมรถยนต์ทั่วไปในกัมพูชา ทั้งขนาดเล็กและขนาดกลาง ยังไม่มี มาตรฐานในการซ่อมและยังขาดช่างฝีมือและช่างเทคนิคผู้ช�ำนาญ ส�ำหรับอู่ซ่อมรถยนต์ ทีไ่ ด้มาตรฐาน มีเครื่องมือที่ทันสมัยและช่างเทคนิคผู้ช�ำนาญการเป็นที่ยอมรับของกลุ่มผูใ้ ช้ รถยนต์ราคาแพงนัน้ ส่วนใหญ่จะมีเฉพาะศูนย์บริการของตัวแทนจ�ำหน่ายรถยนต์ยหี่ อ้ ต่าง ๆ


บทวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด กลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขง ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ และกัมพูชา

128 เช่น Toyota, Mitsubishi, Ford, Honda, Nissan, Isuzu, MercedesBenz, Peugeot และ Jeep Cherokee เป็นต้น ทั้งนี้ ข้อมูลจากส�ำนักงานส่งเสริม การค้าไทยในต่างประเทศ ณ กรุงพนมเปญอู่ซ่อมรถยนต์ส่วนใหญ่อยูใ่ นกรุงพนมเปญ โดยกว่าร้อยละ 60 มีชาวกัมพูชาเป็นเจ้าของและบริหารจัดการ ส่วนอีกร้อยละ 30 เป็นของชาวเวียดนาม ที่เหลือกว่าร้อยละ 10 เป็นชาวต่างชาติอื่น ๆ การลงทุนประกอบกิจการให้บริการด้านอูซ่ อ่ มรถยนต์ในสถานีนำ�้ มันจึงเป็นโอกาส ทางการลงทุน โดยเฉพาะอูซ่ อ่ มรถยนต์ทมี่ มี าตรฐานทีด่ ดี ว้ ยการให้บริการโดยช่างผูช้ ำ� นาญ งานด้านต่าง ๆ พร้อมเครือ่ งมือและอุปกรณ์ซอ่ มแซมทีท่ นั สมัยในอัตราค่าบริการทีเ่ หมาะสม อนึ่ ง ผู ้ ป ระกอบการอาจพิ จ ารณาเลื อ กพื้ น ทีใ่ นการลงทุ น จากจ� ำ นวนการใช้ ร ถยนต์ ใ น แต่ละเมือง หรือพิจารณาที่สถานะทางเศรษฐกิจของแต่ละพื้นที่ ทั้งนี้เสนอให้ลงทุนในพื้นที่ กรุงพนมเปญ จังหวัดรัตนคีรี จังหวัดเสียมเรียบ จังหวัดพระสีหนุ และจังหวัดมณฑลคีรี เนือ่ งจากเป็นเขตทีป่ ระชากรมีรายได้ตอ่ หัวสูง มีอำ� นาจซือ้ สูง และยังมีปริมาณการใช้รถยนต์ และจักรยานยนต์เป็นจ�ำนวนมากอีกด้วย (ข้อมูลจาก ส�ำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม, 2553)



ขอบคุณ • ส�ำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ (Thai Trade Center) ณ นครหลวงเวียงจันทน์ ประเทศลาว • ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายกฎหมายและภาษี บริษัท ไพรซ์ วอเตอร์เฮ้าส์ คูเปอร์ส (ลาว) จ�ำกัด ส�ำนักงานเวียงจันทน์ • Assoc. Prof. Phouphet Kyophilavong, Ph.D. รองผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายวิจยั คณะเศรษฐศาสตร์และการจัดการ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว • คุณพรรณกาญจน์ เจียมสุชน ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานส่งเสริมการค้าต่างประเทศ (Thai Trade Center) ณ นครกวางโจว • คุณธาราบดี ซึ่งอดิชัยวิทย์ ผู้จัดการทั่วไป ธนาคารกรุงเทพ ประเทศเวียดนาม ประจ�ำนครโฮจิมินห์ ซิตี้ • คุณประนอมศรี โสมขันเงิน ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ นครโฮจิมินห์ ประเทศเวียดนาม • คุณอดิศัย ประเสริฐศรี ที่ปรึกษา กิตติมศักดิ์กระทรวงพาณิชย์ด้านการค้า ระหว่างประเทศ ประเทศเวียดนาม • คุณชาติชาย วุฒติ นั ทวีกจิ ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการ บริษทั ยูนไิ ทย (เวียดนาม) จ�ำกัด • คุณ Heng Thy ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายภาษีและการให้ค�ำปรึกษา • คุณ Hang Sophath Molyzana ผูจ้ ดั การอาวุโส บริษทั ไพรซ์ วอเตอร์เฮ้าส์ คูเปอร์ส (กัมพูชา) จ�ำกัด • เจ้าหน้าทีส่ ำ� นักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.