รายงาน

Page 1

รายงาน เรือ่ ง อินเตอร์เน็ต (

Internet )

เสนอ อาจารย์ส ุธิดา

ชูเกียรติ

จัดทาโดย

นางสาวพรรณิภา

กิจสมุทร

รหัสนักศึกษา 524143018

นางสาวส ุปราณี

มณีจนั ทร์

รหัสนักศึกษา 524143026

นางสาวส ุภาพร

แซ่เจ็ง

รหัสนักศึกษา 524143027

นางสาวโสรยา

วรเลข

รหัสนักศึกษา 524143030

คบ 4 คณิตศาสตร์

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับคร ู ( PC 9203 )

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555

มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบึง


คานา รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับครู ( PC 9203) จัดทาขึ้นเพื่อต้องการ ศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับ อินเตอร์ เน็ต ( Internet) ว่าเป็ นอย่างไร ซึ่ งประกอบไปด้วยเนื้อหาประวัติความเป็ นมา , ความหมาย , ความสาคัญ , ระบบเครื อข่ายของอินเตอร์ เน็ต , การใช้อินเตอร์ เน็ต และ ประโยชน์/ โทษ ของ อินเตอร์เน็ต ซึ่ งได้รวบรวมเนื้อหาไว้ในรายงานเล่มนี้ แล้ว ข้าพเจ้าหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็ นประโยชน์ต่อผูท้ ี่สนใจในเนื้ อหาเกี่ยวกับอินเตอร์ เน็ตเป็ นอย่างยิง่

ผูจ้ ดั ทา นางสาวพรรณิภา

กิจสมุทร

นางสาวสุปราณี

มณีจนั ทร์

นางสาวสุภาพร

แซ่เจ็ง

นางสาวโสรยา

วรเลข


Internet ความหมายของ Internet อินเทอร์ เน็ต (Internet) มาจากคาว่า Inter Connection Network หมายถึ ง เครื อข่ายของเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ ระบบต่าง ๆ ที่เชื่อมโยงกัน ลักษณะของระบบอินเทอร์ เน็ต เป็ นเสมือนใยแมงมุม ที่ครอบคลุม ทัว่ โลก ในแต่ละจุดที่เชื่ อมต่ออินเทอร์ เน็ตนั้น สามารถสื่ อสารกันได้หลายเส้นทาง โดยไม่กาหนดตายตัว และไม่จาเป็ นต้องไปตามเส้นทางโดยตรง อาจจะผ่านจุดอื่น ๆ หรื อ เลือกไปเส้นทางอื่นได้หลาย ๆ เส้นทาง ดังรู ป

อินเทอร์ เน็ต(Internet) คืออะไร อินเทอร์ เน็ต(Internet)คือ เครื อข่ายนานาชาติ ที่เกิดจากเครื อข่ายเล็ก ๆ มากมาย รวมเป็ นเครื อข่าย เดียวกันทั้ง โลก หรื อทั้งจักรวาล อินเทอร์ เน็ต(Internet)คือ เครื อข่ายสื่ อสาร ซึ่ งเชื่อมโยงกันระหว่างคอมพิวเตอร์ ท้ งั หมด ที่ตอ้ งการเข้ามา ใน เครื อข่าย อินเทอร์ เน็ต(Internet)คือ การเชื่ อมต่อกันระหว่างเครื อข่าย อินเทอร์ เน็ต(Internet)คือ เครื อข่ายของเครื อข่าย (A network of network) สาหรับคาว่า internet หากแยกศัพท์จะได้ออกมา 2 คา คือ คาว่า Inter และคาว่า net ซึ่ง Inter หมายถึงระหว่าง หรื อท่ามกลาง และคาว่า Net มาจากคาว่า Network หรื อเครื อข่าย เมื่อนาความหมาย ของทั้ง 2 คามารวมกัน จึงแปลได้วา่ การเชื่อมต่อกันระหว่างเครื อข่าย


ประวัติความเป็ นมา อินเทอร์ เน็ตในปั จจุบนั ถูกพัฒนามาจากโครงการวิจยั ทางการทหารของกระทรวงกลาโหมของ ประเทศ สหรัฐอเมริ กา คือAdvanced Research Projects Agency (ARPA) ในปี 1969 โครงการนี้ เป็ นการวิจยั เครื อข่ายเพื่อการสื่ อสารของการทหารในกองทัพอเมริ กา หรื ออาจเรี ยกสั้นๆ ได้วา่ ARPA Net ในปี ค.ศ. 1970 ARPA Net ได้มีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้ นโดยการเชื่ อมโยงเครื อข่ายร่ วมกับมหาวิทยาลัยชั้นนาของ อเมริ กา คือ มหาวิทยาลัยยูทาห์ มหาวิทยาลัยแคลิ ฟอร์ เ นี ยที่ซานตาบาบารา มหาวิทยาลัยแคลิ ฟอร์ เนี ย ที่ ลอสแองเจลิ ส และสถาบัน วิ จ ัย ของมหาวิ ท ยาลัย สแตนฟอร์ ด และหลัง จากนั้น เป็ นต้น มาก็ มี ก ารใช้ อินเทอร์ เน็ตกันอย่างแพร่ หลายมากขึ้น สาหรั บในประเทศไทย อิ นเทอร์ เน็ ตเริ่ มมี การใช้ครั้ งแรกในปี พ.ศ. 2530 ที่มหาวิยาลัยสงขลา นคริ นทร์ โดยได้รับความช่ วยเหลื อจากโครงการ IDP (The International Development Plan) เพื่อให้ มหาวิทยาลัยสามารถติต่อสื่ อสารทางอีเมลล์กบั มหาวิทยาลัยเมลเบิร์นในออสเตรเลียได้ ได้มีการติดตั้งระบบ อีเมลขึ้นครั้งแรก โดยผ่านระบบโทรศัพท์ ความเร็ วของโมเด็มที่ใช้ในขณะนั้นมีความเร็ ว 2,400 บิต/วินาที จนกระทัง่ วันที่ 2 มิ ถุนายน พ.ศ. 2531 ได้มีก ารส่ งอี เมลล์ฉบับแรกที่ ติดต่ อระหว่า งประเทศไทยกับ มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ จึงเปรี ยบเสมือนประตูทางผ่าน (Gateway) ของไทยที่ เชื่อมต่อไปยังออสเตรเลียในขณะนั้น


ในปี พ.ศ. 2533 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิ กส์ และคอมพิวเตอร์ แห่ งชาติ (NECTEC) ได้เชื่ อมต่อ คอมพิวเตอร์ ของสถาบันการศึกษาของรัฐ โดยมีชื่อว่า เครื อข่ายไทยสาร (Thai Social/Scientific Academic and Research Network : ThaiSARN) ประกอบด้วย มหาวิยาลัยสงขลานคริ นทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีแห่ งเอเชี ย (AIT) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อให้บริ การ อินเทอร์เน็ตภายในประเทศ เพื่อการศึกษาและวิจยั ในปี พ.ศ. 2538 ได้มีก ารบริ การอิ นเทอร์ เน็ ตเชิ งพาณิ ชย์ข้ ึ น เพื่ อให้บ ริ ก ารแก่ ป ระชาชน และ ภาคเอกชนต่างๆ ที่ตอ้ งการเชื่ อมต่ออินเทอร์ เน็ต โดยมีบริ ษทั อินเทอร์ เน็ตไทยแลนด์ (Internet Thailand) เป็ นผูใ้ ห้บริ การอินเทอร์ เน็ต (Internet Service Provider: ISP) เป็ นบริ ษทั แรก เมื่อมีคนนิยมใช้อินเทอร์ เน็ต เพิม่ มากขึ้น บริ ษทั ที่ให้บริ การอินเทอร์ เน็ตจึงได้ก่อตั้งเพิม่ ขึ้นอีกมากมาย ความสาคัญของอินเทอร์ เน็ต ในปั จจุบนั อินเทอร์ เน็ตมีบทบาทและมีความสาคัญต่อชีวิตประจาวันของคนเราเป็ นอย่างมาก เพราะ ทาให้วถิ ีชีวติ เราทันสมัยและทันเหตุการณ์อยูเ่ สมอ เนื่องจากอินเทอร์ เน็ตจะมีการเสนอข้อมูลข่าว ปัจจุบนั และสิ่ งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นให้ผใู ้ ช้ทราบเปลี่ยนแปลงไปทุกวัน สารสนเทศที่เสนอในอินเทอร์เน็ตจะมี มากมายหลายรู ปแบบเพื่อสนองความสนใจและความต้องการของผูใ้ ช้ทุกกลุ่ม อินเทอร์ เน็ตจึงเป็ นแหล่ง สารสนเทศสาคัญสาหรับทุกคนเพราะสามารถค้นหาสิ่ งที่ตนสนใจได้ในทันทีโดยไม่ตอ้ งเสี ยเวลาเดินทางไป ค้นคว้าในห้องสมุด หรื อแม้แต่การรับรู ้ข่าวสารทัว่ โลกก็สามารถอ่านได้ในอินเทอร์ เน็ตจากเว็บไซต์ต่าง ๆ ของหนังสื อพิมพ์ ดังนั้นอินเทอร์ เน็ตจึงมีความสาคัญกับวิถีชีวติ ของคนเราในปั จจุบนั เป็ นอย่างมากในทุก ๆ ด้าน ไม่วา่ จะเป็ นบุคคลที่อยูใ่ นวงการธุ รกิจ การศึกษา ต่างก็ได้รับประโยชน์จากอินเทอร์ เน็ตด้วยกันทั้งนั้น 1. ด้ านการศึกษา อินเทอร์ เน็ตมีความสาคัญ ดังนี้ 1. สามารถใช้เป็ นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูล ไม่วา่ จะเป็ นข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลด้านการ บันเทิง ด้านการแพทย์ และอื่น ๆ ที่น่าสนใจ 2. ระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต จะทาหน้าที่เปรี ยบเสมือนเป็ นห้องสมุดขนาดใหญ่ 3. นักเรี ยนนักศึกษาสามารถใช้อินเทอร์ เน็ตติดต่อกับมหาวิทยาลัยหรื อโรงเรี ยนอื่น ๆ เพื่อ ค้นหาข้อมูลที่กาลังศึกษาอยูไ่ ด้ ทั้งที่ขอ้ มูลที่เป็ นข้อความเสี ยง ภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ 2. ด้ านธุรกิจและการพาณิชย์ อินเทอร์ เน็ตมีความสาคัญดังนี้ 1. ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ เพื่อช่วยในการตัดสิ นใจทางธุ รกิจ 2. สามารถซื้ อขายสิ นค้า ทาธุ รกรรมผ่านระบบเครื อข่าย 3. เป็ นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ โฆษณาสิ นค้า ติดต่อสื่ อสารทางธุ รกิจ


4. ผูใ้ ช้ที่เป็ นบริ ษทั หรื อองค์กรต่าง ๆ ก็สามารถเปิ ดให้บริ การ และสนับสนุนลูกค้าของตน ผ่านระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้ เช่น การให้คาแนะนา สอบถามปั ญหาต่าง ๆ ให้แก่ลูกค้า แจกจ่ายตัว โปรแกรมทดลองใช้ (Shareware) โปรแกรมแจกฟรี (Freeware) 3. ด้ านการบันเทิง อินเทอร์ เน็ตมีความสาคัญดังนี้ 1. การพักผ่อนหย่อนใจ สันทนาการ เช่น การค้นหาวารสารต่าง ๆ ผ่านระบบเครื อข่าย อินเทอร์ เน็ต ที่เรี ยกว่า Magazine Online รวมทั้งหนังสื อพิมพ์และข่าวสารอื่น ๆ โดยมีภาพประกอบที่ จอคอมพิวเตอร์ เหมือนกับวารสารตามร้านหนังสื อทัว่ ๆ ไป 2. สามารถฟังวิทยุหรื อดูรายการโทรทัศน์ผา่ นระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้ 3. สามารถดึงข้อมูล (Download) ภาพยนตร์มาดูได้

ระบบเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ตของประเทศไทย ช่ องสั ญญาณการเชื่อมต่ อภายในประเทศ ผูใ้ ห้บริ การอินเทอร์ เน็ ตสามารถเลื อกเช่ าช่ องสัญญาณได้โดยเสรี ทั้งจากองค์การโทรศัพท์แห่ ง ประเทศไทย (ทศท.) การสื่ อสารแห่ งประเทศไทย หรื อ กสท. (Communication Authority of Thailand: CAT) เทเลคอมเอเชี ย (TelecomAsia) และ ดาต้าเน็ต (DataNet) โดยวงจรของทุกราย จะเชื่ อมต่อกับจุด แลกเปลี่ ยนสัญญาณภายในประเทศ เพื่อความรวดเร็ วในการแลกเปลี่ ยนข้อมูล นัน่ คื อ การติดต่อสื่ อสาร ระหว่างคู่สื่อสารในประเทศไทย สามารถทาได้สะดวก ไม่ว่าคู่สื่อสารนั้น จะใช้บริ การของ ISP รายใดก็ตาม ทั้งนี้ จุดแลกเปลี่ ยนในปั จจุ บนั ได้แก่ IIR (Internet Information Research) ของเนคเทคและ NIX (National Internet Exchange)ขอการสื่ อสารแห่งประเทศไทย ช่ องสั ญญาณการเชื่อมต่ อระหว่างประเทศ การให้บ ริ ก ารอิ นเทอร์ เน็ ตจะต้องผ่า นการสื่ อสารแห่ ง ประเทศไทยเท่ า นั้น เนื่ องจากกฎหมาย ปั จจุบนั ยังไม่อนุญาตให้ทาการส่ งข้อมูล เข้า-ออก ของประเทศไทยโดยปราศจากการควบคุมของ กสท.โดย ISP จะเชื่อมสัญญาณเข้ากับ IIG (International Internet Gateway) การทางานของอินเทอร์ เน็ต การสื่ อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ จะมีโปรโตคอล (Protocol) ซึ่ งเป็ นระเบียบวิธีการสื่ อสารที่เป็ น มาตรฐานของการเชื่ อมต่อก าหนดไว้ โปรโตคอลที่ เป็ นมาตรฐานส าหรั บ การเชื่ อมต่ ออิ นเทอร์ เน็ ต คื อ TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เครื่ องคอมพิวเตอร์ ทุกเครื่ องที่เชื่ อมต่อเข้ากับเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตจะต้องมีหมายเลขประจาเครื่ อง ที่เรี ยกว่า IP Address เพื่อเอาไว้อา้ งอิงหรื อติดต่อกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ อื่นๆ ในเครื อข่าย ซึ่ ง IP ในที่น้ ี ก็คือ Internet Protocol ตัวเดียวกับใน TCP/IP นัน่ เอง IP address ถูกจัดเป็ นตัวเลขชุดหนึ่งขนาด 32 บิต ใน 1 ชุ ดนี้


จะมีตวั เลขถูกแบ่งออกเป็ น 4 ส่ วน ส่ วนละ 8 บิตเท่าๆ กัน เวลาเขียนก็แปลงให้เป็ นเลขฐานสิ บก่อนเพื่อ ความง่ า ยแล้วเขี ย นโดยคัน่ แต่ ล ะส่ วนด้วยจุ ด (.) ดัง นั้นในตัวเลขแต่ ล ะส่ วนนี้ จึง มี ค่ าได้ไ ม่เกิ น 256 คือ ตั้งแต่ 0 จนถึ ง 255 เท่านั้น เช่ น IP address ของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ของสถาบันราชภัฎสวนดุสิต คือ 203.183.233.6 ซึ่ง IP Address ชุดนี้จะใช้เป็ นที่อยูเ่ พื่อติดต่อกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ อื่นๆ ในเครื อข่าย โดเมนเนม (Domain name system :DNS) เนื่ องจากการติดต่อสื่ อสารกันกันในระบบอินเทอร์ เน็ตใช้โปรโตคอล TCP/IP เพื่อสื่ อสารกัน โดย จะต้องมี IP address ในการอ้างอิงเสมอ แต่ IP address นี้ ถึงแม้จะจัดแบ่งเป็ นส่ วนๆ แล้วก็ยงั มีอุปสรรคใน การที่ตอ้ งจดจา ถ้าเครื่ องที่อยูใ่ นเครื อข่ายมีจานวนมากขึ้น การจดจาหมายเลข IP ดูจะเป็ นเรื่ องยาก และอาจ สับสนจาผิดได้ แนวทางแก้ปัญหาคือการ ตั้ง ชื่ อ หรื อ ตัว อัก ษรขึ้ น มาแทนที่ IP address ซึ่ งสะดวกในการจดจ ามากกว่า เช่ น IP address คือ 203.183.233.6 แทนที่ดว้ ยชื่อ dusit.ac.th ผูใ้ ช้งานสามารถ จดจาชื่อ dusit.ac.th ได้ง่ายกว่า การจาตัวเลข โดเมนที่ได้รับความนิยมกันทัว่ โลก ที่ถือว่าเป็ นโดเมนสากล มีดงั นี้ คือ .com ย่อมาจาก commercial สาหรับธุ รกิจ .edu ย่อมาจาก education สาหรับการศึกษา .int ย่อมาจาก International Organization สาหรับองค์กรนานาชาติ .org ย่อมาจาก Organization สาหรับหน่วยงานที่ไม่แสวงหากาไร .net ย่อมาจาก Network สาหรับหน่วยงานที่มีเครื อข่ายของ ตนเองและทาธุ รกิจด้านเครื อข่าย การขอจดทะเบียนโดเมน การขอจดทะเบียนโดเมนต้องเข้าไปจะทะเบียนกับหน่วยงานที่รับผิดชอบ ชื่ อโดเมนที่ขอจดนั้นไม่ สามารถซ้ ากับชื่อที่มีอยูเ่ ดิม เราสามารถตรวจสอบได้วา่ มีชื่อโดเมนนั้นๆ หรื อยังได้จากหน่วยงานที่เราจะเข้า ไปจดทะเบียน การขอจดทะเบียนโดเมน มี 2 วิธี ด้วยกัน คือ 1. การขอจดะเบียนให้เป็ นโดเมนสากล (.com .edu .int .org .net ) ต้องขอจดทะเบียนกับ www.networksolution.com ซึ่งเดิม คือ www.internic.net 2. การขอทดทะเบียนที่ลงท้ายด้วย .th (Thailand)ต้องจดทะเบียนกับ www.thnic.net โดเมนเนมทีล่ งท้าย ด้ วย .th ประกอบด้ วย .ac.th ย่อมาจาก Academic Thailand สาหรับสถานศึกษาในประเทศไทย .co.th ย่อมาจาก Company Thailand สาหรับบริ ษทั ที่ทาธุ รกิจในประเทศไทย .go.th ย่อมาจาก Government Thailand สาหรับหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาล .net.th ย่อมาจาก Network Thailand สาหรับบริ ษทั ที่ทาธุ รกิจด้านเครื อข่าย .or.th ย่อมาจาก Organization Thailand สาหรับหน่วยงานที่ไม่แสวงหากาไร .in.th ย่อมาจาก Individual Thailand สาหรับของบุคคลทัว่ ๆ ไป


การเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ตแบบใช้ สาย (Wire Internet) 1. การเชื่ อมต่ ออินเทอร์ เน็ตรายบุคคล (Individual Connection) การเชื่ อมต่ออินเทอร์ เน็ตรายบุคคล คือ การเชื่ อมต่ออินเทอร์ เน็ตจากที่บา้ น (Home user) ซึ่ งยังต้อง อาศัยคู่สายโทรศัพท์ในการเข้าสู่ เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ผูใ้ ช้ตอ้ งสมัครเป็ นสมาชิ กกับผูใ้ ห้บริ การอินเทอร์ เน็ต ก่ อน จากนั้นจะได้เบอร์ โทรศัพท์ของผูใ้ ห้บริ การอิ นเทอร์ เน็ ต รหัส ผูใ้ ช้ (User name) และรหัส ผ่า น (Password) ผูใ้ ช้จะเข้าสู่ ระบบอินเทอร์ เน็ตได้โดยใช้โมเด็มที่เชื่ อมต่อกับคอมพิวเตอร์ ของผูใ้ ช้หมุนไปยัง หมายเลขโทรศัพท์ของผูใ้ ห้บริ การอินเทอร์ เน็ต จากนั้นจึงสามารถใช้ งานอินเทอร์ เน็ตได้ ดังรู ป

องค์ประกอบของการใช้อินเทอร์ เน็ตรายบุคคล 1. โทรศัพท์ 2. เครื่ องคอมพิวเตอร์ 3. ผูใ้ ห้บริ การอินเทอร์ เน็ต ซึ่ งจะให้เบอร์ โทรศัพท์ รหัสผูใ้ ช้และรหัสผ่าน 4. โมเด็ม (Modem) โมเด็ม คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการแปลงสัญญาณ เนื่องจากสัญญาณในคอมพิวเตอร์ เป็ นสัญญาณดิจิทลั (Digital) แต่ สั ญ ญาณเสี ย งในระบบโทรศัพ ท์เ ป็ นสั ญ ญาณอนาล็ อ ก (Analog) ดัง นั้น เมื่ อ ต้อ งการเข้า สู่ ร ะบบ อินเทอร์ เน็ตจึงต้องใช้โมเด็มเพื่อเป็ นอุปกรณ์ ในการแปลงสัญญาณดิ จิทลั จากเครื่ องคอมพิวเตอร์ ให้เป็ น สั ญ ญาณอนาล็ อ กตามสายโทรศัพ ท์ และแปลงกลับ จากสั ญ ญาณอนาล็ อ กเป็ นสั ญ ญาณดิ จิ ท ัล เมื่ อ ถึ ง ปลายทาง ความเร็ วของโมเด็มมีหน่วยเป็ น บิตต่อวินาที (bit per second : bps) หมายความว่า ในหนึ่ งวินาที จะมีขอ้ มูลถูกส่ งออกไป หรื อรับเข้ามากี่บิต เช่น โมเด็มที่มีความเร็ ว 56 Kpbs จะสามารถ รับ-ส่ งข้อมูลได้ 56 กิโลบิตในหนึ่งวินาที


โมเด็มสามารถแบ่ งได้ 3 ประเภท คือ 1. โมเด็มแบบติดตั้งภายนอก (External modem) เป็ นโมเด็มที่ ติดตั้งกับคอมพิวเตอร์ ภายนอก สามารถเคลื่ อนย้ายได้สะดวก เพราะในปั จจุบนั การ เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ จะผ่าน USB พอร์ ต (Universal Serial Bus) ซึ่ งเป็ นพอร์ ตที่นิยมใช้กนั มาก ราคาของ โมเด็มภายนอกไม่สูงมากนัก แต่จะยังมีราคาสู งกว่าโมเด็มแบบติดตั้งภายใน แสดงโมเด็มภายนอก

2. โมเด็มแบบติดตั้งภายใน (Internal modem) เป็ นโมเด็มที่เป็ นการ์ ดคอมพิวเตอร์ ที่ตอ้ งติดตั้งเข้าไปกับแผงวงจรหลักหรื อเมนบอร์ ด (main board) ของเครื่ องคอมพิวเตอร์ โมเด็มประเภทนี้ จะมีราคาถูกว่าโมเด็มแบบติดตั้งภายนอก เวลาติดตั้งต้องอาศัยความ ชานาญในการเปิ ดเครื่ องคอมพิวเตอร์ และติดตั้งไปกับแผงวงจรหลัก

3. โมเด็มสาหรับเครื่ องคอมพิวเตอร์ โน้ตบุก๊ (Note Book Computer) อาจเรี ยกสั้นๆว่า PCMCIA modem


2. การเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ตแบบองค์ กร (Corporate Connection) การเชื่ อมต่ออินเทอร์ เน็ตแบบองค์กรนี้ จะพบได้ทวั่ ไปตามหน่ วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน หน่วยงานต่างๆ เหล่านี้จะมีเครื อข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN) เป็ นของตัวเอง ซึ่ งเครื อข่าย LAN นี้ เชื่ อมต่ออินเทอร์ เน็ตตลอดเวลา ผ่านสายเช่ า (Leased line) ดังนั้น บุคลากรในหน่ วยงานจึงสามารถใช้ อินเทอร์ เน็ตได้ตลอดเวลา การใช้อินเทอร์ เน็ตผ่านระบบ LAN ไม่มีการสร้ างการเชื่ อมต่อ (Connection) เหมือนผูใ้ ช้รายบุคคลที่ยงั ต้องอาศัยคู่สายโทรศัพท์ในการเข้าสู่ เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต

การเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ตแบบไร้ สาย (Wireless Internet) 1. การเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ตแบบไร้ สายผ่านเครื่องโทรศัพท์บ้านเคลือ่ นที่ PCT เป็ นการเชื่ อมต่ออินเทอร์ เน็ตผ่านคอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ก (Note book) และคอมพิวเตอร์ แบบพกพา (Pocket PC) ผูใ้ ช้จะต้องมี โมเด็ม ชนิด PCMCIA ของ PCT ซึ่ งทาให้ผใู้ ช้สามารถใช้อินเทอร์ เน็ตไร้ได้ ใน เขตกรุ งเทพ และปริ มณฑลได้ 2. การใช้ งานอินเทอร์ เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือโดยตรง (Mobile Internet) 1. WAP (Wireless Application Protocol) เป็ นโปรโตคอลมาตรฐานของอุปกรณ์ไร้สายที่ใช้งานบน อินเทอร์ เน็ต ใช้ภาษา WML (Wireless Markup Language) ในการพัฒนาขึ้นมา แทนการใช้ภาษา HTML (Hypertext markup Language) ที่พบใน www โทรศัพท์มือถือปั จจุบนั หลายๆยี่ห้อ จะสนับสนุนการใช้ WAP เพื่อท่องอินเทอร์ เน็ต ซึ่ งมีความเร็ วในการรับส่ งข้อมูลที่ 9.6 kbps และการใช้ WAP ท่องอินเทอร์ เน็ต นั้น จะมีการคิดอัตราค่าบริ การเป็ นนาทีซ่ ึ งยังมีราคาแพง


2. GPRS (General Packet Radio Service) เป็ นเทคโนโลยีที่พฒั นาขึ้นเพื่อให้โทรศัพท์มือถื อ สามารถเชื่ อ มต่ อ กับ อิ น เทอร์ เ น็ ต ด้ว ยความเร็ ว สู ง และสามารถส่ ง ข้อ มู ล ได้ใ นรู ป แบบของมัล ติ มี เ ดี ย ซึ่ งประกอบด้วย ข้อความ ภาพกราฟิ ก เสี ยง และวีดิโอ ความเร็ วในการรับส่ งข้อมูลด้วยโทรศัพท์ที่สนับสนุ น GPRS อยูท่ ี่ 40 kbps ซึ่ งใกล้เคียงกับโมเด็มมาตรฐานซึ่ งมีความเร็ ว 56 kbps อัตราค่าใช้บริ การคิดตามปริ มาณ ข้อมูลที่รับ-ส่ ง ตามจริ ง ดังนั้นจึงทาให้ประหยัดกว่าการใช้ WAP และยังสื่ อสารได้รวดเร็ วขึ้นด้วย 3. โทรศัพท์ระบบ CDMA (Code Division Multiple Access) ระบบ CDMA นั้น สามารถรองรับการ สื่ อสารไร้สายความเร็ วสู งได้เป็ นอย่างดี โดยสามารถทาการรับส่ งข้อมูลได้สูงสุ ด 153 Kbps ซึ่ งมากกว่า โมเด็มที่ใช้กบั โทรศัพท์ตามบ้านที่เชื่ อมต่ออินเทอร์ เน็ตได้เพียง 56 kbps นอกจากนี้ ระบบ CDMA ยัง สนับสนุนการส่ งข้อมูลระบบมัลติมีเดียได้ดว้ ย 4. เทคโนโลยี บลูทูธ (Bluetooth Technology) เทคโนโลยีบลูทูธ ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้กบั การ สื่ อสารแบบไร้สาย โดยใช้หลักการการส่ งคลื่นวิทยุ ที่อยูใ่ นย่านความถี่ระหว่าง 2.4 - 2.4 GHz ในปั จจุบนั นี้ ได้มีการผลิ ตผลิตภัณฑ์ต่างๆที่ใช้เทคโนโลยีไร้ สายบลูธูทเพื่อใช้ใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ หลายๆชนิ ด เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ คอมพิวเตอร์ โน้ตบุค๊ คอมพิวเตอร์ พอ็ คเก็ตพีซี 3. การเชื่ อมต่ ออินเทอร์ เน็ตด้ วยโน้ ตบุ๊ก(Note book) และ เครื่องปาล์ม (Palm) ผ่าน โทรศัพท์มือถือที่ สนับสนุนระบบ GPRS โทรศัพท์มือถือที่สนับสนุน GPRS จะทาหน้าที่เสมือนเป็ นโมเด็มให้กบั อุปกรณ์ที่นามาพ่วงต่อ ไม่ ว่าจะเป็ น Note Book หรื อ Palm และในปั จจุบนั บริ ษทั ที่ให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้มีการผลิต SIM card ที่เป็ น Internet SIM สาหรับโทรศัพท์มือถือเพื่อให้สามารถติดต่อกับอินเทอร์ เน็ตได้สะดวกและรวดเร็ วมาก ขึ้น

อินเทอร์ เน็ตความเร็วสู ง 1. บริการอินเทอร์ เน็ตผ่าน ISDN (Integrated Service Digital Network) เป็ นการเชื่ อ มต่ อ สายโทรศัพ ท์ ร ะบบใหม่ ที่ รั บ ส่ ง สั ญ ญาณเป็ นดิ จิ ท ัล ทั้ง หมด อุ ป กรณ์ แ ละ ชุมสายโทรศัพท์จะเป็ นอุปกรณ์ที่สนับสนุ นระบบของ ISDN โดยเฉพาะ ไม่วา่ จะเป็ นเครื่ องโทรศัพท์ และ โมเด็มสาหรับ ISDN องค์ประกอบของการต่ออินเทอร์ เน็ตด้วยระบบโทรศัพท์ ISDN 1. Network Terminal (NT) เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ต่อจากชุ มสาย ISDN เข้ากับอุปกรณ์ดิจิทลั ของ ISDN โดยเฉพาะ เช่น เครื่ องโทรศัพท์ดิจิทลั เครื่ องแฟกซ์ดิจิทลั 2. Terminal adapter (TA) เป็ นอุปกรณ์แปลงสัญญาณเพื่อใช้ต่อ NT เข้ากับอุปกรณ์ที่ใช้กบั โทรศัพท์ บ้านระบบเดิม และทาหน้าที่เป็ น ISDN modem ที่ความเร็ ว 64-128 Kbps 3. ISDN card เป็ นการ์ ดที่ตอ้ งเสี ยบในแผงวงจรหลักในคอมพิวเตอร์ เพื่อต่อกับ NTโดยตรง ในกรณี ที่ไม่ใช้ Terminal adapter


4. ผูใ้ ห้บริ การอินเทอร์ เน็ตผ่านคู่สาย ISDN (ISDN ISP) เช่น KSC, Internet Thailand, Lox Info, JINet ฯลฯ ซึ่ งผูใ้ ห้บริ การอินเทอร์ เน็ตเหล่านี้ จะทาการเช่าคู่สาย ISDN กับองค์การโทรศัพท์ (บริ ษทั ทศท. คอร์ ปอเรชัน่ จากัด มหาชน ) 2. บริการอินเทอร์ เน็ตผ่านเคเบิลโมเด็ม (Cable Modem) เป็ นการเชื่ อมต่ อ อิ นเทอร์ เน็ ตด้วยความเร็ วสู ง โดยไม่ ใ ช้ส ายโทรศัพ ท์ แต่ อาศัย เครื อข่ า ยของผู ้ ให้บริ การเคเบิลทีวี ความเร็ วของการใช้เคเบิลโมเด็มในการเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตจะทาให้ความเร็ วสู งถึง 2/10 Mbps นั้น คือ ความเร็ วในการอัพโหลด ที่ 2 Mbps และความเร็ วในการ ดาวน์โหลด ที่ 10 Mbps แต่ปัจจุบนั ยังเปิ ดให้บริ การอยูท่ ี่ 64/256 Kbps องค์ประกอบของการเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตด้วยเคเบิลโมเด็ม 1. ต้องมีการเดินสายเคเบิลจากผูใ้ ห้บริ การเคเบิล มาถึงบ้าน ซึ่งเป็ นสายโคแอกเชียล (Coaxial ) 2. ตัวแยกสัญญาณ (Splitter) ทาหน้าที่แยกสัญญาณคอมพิวเตอร์ ผา่ นเคเบิลโมเด็ม 3. Cable modem ทาหน้าที่แปลงสัญญาณ 4. ผูใ้ ห้บริ การอินเทอร์ เน็ตผ่านเคเบิลโมเด็ม ในปั จจุบนั มีเพียงบริ ษทั เดียว คือ บริ ษทั เอเชีย มัลติมีเดีย ในเครื อเดียวกับบริ ษทั เทเลคอมเอเชีย ผูใ้ ห้บริ การ Asia Net 3. บริการอินเทอร์ เน็ตผ่านระบบโทรศัพท์ ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Loop) ADSL เป็ นการเชื่ อมต่ออินเทอร์ เน็ ตผ่านสายโทรศัพท์แบบเดิ ม แต่ใช้การส่ งด้วยความถี่ สูงกว่า ระบบโทรศัพท์แบบเดิ ม ชุ มสายโทรศัพท์ที่ให้บริ การหมายเลข ADSL จะมี การติ ดตั้งอุ ปกรณ์ คื อ DSL Access Module เพื่อทาการแยกสัญญาณความถี่ สูงนี้ ออกจากระบบโทรศัพท์เดิ ม และลัดเข้าเชื่ อมต่อกับ อินเทอร์ เน็ตโดยตรง ส่ วนผูใ้ ช้บริ การอินเทอร์ เน็ตจะต้องมี ADSL Modem ที่เชื่ อมต่อกับคอมพิวเตอร์ ความเร็ วในการเชื่ อมต่ออินเทอร์ เน็ตผ่าน ADSL จะมีความเร็ วที่ 64/128 Kbps (อัพโหลด ที่ 64 Kbps และ ดาวน์โหลด ที่ 128 Kbps) และที่ 128/256 Kbps (อัพโหลด ที่ 128 Kbps และ ดาวน์โหลด ที่ 256 Kbps) ทั้งนี้ ขึ้นอยูก่ บั การเลือกใช้บริ การ องค์ประกอบของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตด้วย ADSL 1. ADSL modem ทาหน้าที่ในการแปลงสัญญาณ 2. Splitter ทาหน้าที่แยกสัญญาณความถี่สูงของ ADSL จากสัญญาณโทรศัพท์แบบธรรมดา 3. ผูใ้ ห้บริ การอินเทอร์ เน็ตผ่าน ADSL ประกอบด้วย Asia Net, Loxinfo, KSC, CS Internet, Anet, Samart, JI-Net 4. บริการอินเตอร์ เนตผ่านดาวเทียม (Satellite Internet) เป็ นบริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู งอีกประเภทหนึ่ ง ซึ่ งในปั จจุบนั ใช้การส่ งผ่านดาวเทียมแบบทาง เดียว (One way) คือ จะมีการส่ งสัญญาณมายังผูใ้ ช้ (download) ด้วยความเร็ วสู งในระดับเมกะบิตต่อวินาที แต่การส่ งสัญญาณกลับไปหรื อการอัพโหลด จะทาได้โดยผ่านโทรศัพท์แบบธรรมดา ซึ่ งจะได้ความเร็ วที่ 56 Kbps การใช้บริ การอินเทอร์ เน็ตผ่านดาวเทียมอาจได้รับการรบกวนจากสภาพอากาศได้ง่าย


องค์ ประกอบของการเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ตด้ วยดาวเทียม 1. จานดาวเทียมขนาดเล็ก 2. อุปกรณ์รับสัญญาณจากดาวเทียมเพื่อแปลงเข้าสู่ คอมพิวเตอร์ 3. โมเด็มธรรมดา พร้อมสายโทรศัพท์ 1 คู่สาย เพื่อส่ งสัญญาณกลับ (Upload) 4. ผูใ้ ห้บริ การอินเทอร์ เน็ตผ่านดาวเทียม ในปั จจุบนั มีเพียงรายเดียว คือ CS Internet ในเครื่ อชินคอร์ ปอเรชัน่

บริการต่ างๆ บนอินเทอร์ เน็ต 1. เวิลด์ ไวด์ เว็บ (WWW) เวิลด์ไวด์เว็บ หรื อเครื อข่ายใยแมงมุ ม เหตุ ที่เรี ยกชื่ อนี้ เพราะว่าเป็ น ลักษณะของการเชื่อมโยงข้อมูล จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งเรื่ อยๆ เวิลด์ไวด์เว็บ เป็ นบริ การที่ได้รับความนิยม มากที่สุด ในการเรี ยกดูเว็บไซต์ตอ้ งอาศัยโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ (web browser) ในการดูขอ้ มูล เว็บ เบราว์เซอร์ ที่ได้รับความนิยมใช้ในปั จจุบนั เช่น โปรแกรม Internet Explorer (IE) , Netscape Navigator 2 จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail) การติ ดต่อสื่ อสารโดยใช้อีเมลสามารถทาได้ โดยสะดวก และประหยัดเวลา หลักการทางานของอีเมลก็คล้ายกับการส่ งจดหมายธรรมดา นั้นคือ จะต้องมี ที่อยูท่ ี่ระบุชดั เจน ก็คือ อีเมลแอดเดรส (E-mail address) องค์ประกอบของ e-mail address ประกอบด้วย 1. ชื่อผูใ้ ช้ (User name) 2. ชื่อโดเมน Username@domain_name การใช้งานอีเมล สามารถแบ่งได้ดงั นี้ คือ 1. Corporate e-mail คือ อีเมล ที่หน่วยงานต่างๆสร้างขึ้นให้กบั พนักงานหรื อบุคลากรในองค์กรนั้น เช่น u47202000@dusit.ac.th คือ e-mail ของนักศึกษาของสถาบันราชภัฏสวนดุสิต เป็ นต้น 2. Free e-mail คือ อีเมล ที่สามารถสมัครได้ฟรี ตาม web mail ต่างๆ เช่น Hotmail, Yahoo Mail, Thai Mail และ Chaiyo Mail 3. บริการโอนย้ ายไฟล์ (File Transfer Protocol) เป็ นบริ การที่เกี่ ยวข้องกับการโอนย้ายไฟล์ผ่านระบบ อินเทอร์ เน็ต การโอนย้ายไฟล์สามารถแบ่งได้ดงั นี้ คือ 1. การดาวน์โหลดไฟล์ (Download File ) การดาวน์โหลดไฟล์ คือ การรับข้อมูลเข้ามายังเครื่ อง คอมพิ ว เตอร์ ข องผู ้ใ ช้ ในปั จ จุ บ ัน มี ห ลายเว็ บ ไซต์ ที่ จ ัด ให้ มี ก ารดาวน์ โ หลดโปรแกรมได้ ฟ รี เช่ น www.download.com 2. การอัพโหลดไฟล์ (Upload File) การอัพโหลดไฟล์คือการนาไฟล์ขอ้ มูลจากเครื่ องของผูใ้ ช้ไป เก็บไว้ในเครื่ องที่ให้บริ การ (Server) ผ่านระบบอินเทอร์ เน็ต เช่น กรณี ที่ทาการสร้ างเว็บไซต์ จะมีการอัพ โหลดไฟล์ไปเก็บไว้ในเครื่ องบริ การเว็บไซต์ (Web server ) ที่เราขอใช้บริ การพื้นที่ (web server) โปรแกรม ที่ช่วยในการอัพโหลดไฟล์เช่น FTP Commander


4 .บริการสนทนาบนอินเทอร์ เน็ต (Instant Message) การสนทนาบนอินเทอร์ เน็ตคือ การส่ งข้อความถึงกัน โดยทันทีทนั ใด นอกจากนี้ ยงั สามารถส่ งสัญลักษณ์ ต่างๆ อาทิ รู ปภาพ ไฟล์ขอ้ มูลได้ดว้ ย การสนทนาบน อินเทอร์ เน็ตเป็ นโปรแกรมที่กาลังได้รับความนิ ยมในปั จจุบนั โปรแกรมประเภทนี้ เช่ น โปรแกรม ICQ (I seek you) MSN Messenger, Yahoo Messenger เป็ นต้น 5. บริการค้ นหาข้ อมูลบนอินเทอร์ เน็ต 1. Web directory คือ การค้นหาโดยการเลือก Directory ที่ จดั เตรี ยมและแยกหมวดหมู่ไว้ให้ เรี ยบร้อยแล้ว website ที่ให้บริ การ web directory เช่น www.yahoo.com, www.sanook.com 2. Search Engine คือ การค้นหาข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Search โดยการเอาคาที่เราต้องการค้นหาไป เทียบกับเว็บไซต์ต่างๆ ว่ามีเว็บไซต์ใดบ้างที่มีคาที่เราต้องการค้นหา website ที่ให้บริ การ search engine เช่น www.yahoo.com, www.sanook.com, www.google.co.th, www.sansarn.com 3. Metasearch คือ การค้นหาข้อมูลแบบ Search engine แต่จะทาการส่ งคาที่ตอ้ งการไปค้นหาใน เว็บไซต์ที่ใ ห้บริ การสื บ ค้นข้อมูลอื่ นๆ อี ก ถ้าข้อมูลที่ ได้มีซ้ ากัน ก็จะแสดงเพียงรายการเดี ย ว เว็บไซต์ที่ ให้บริ การ Metasearch เช่น www.search.com, www.thaifind.com 6. บริการกระดานข่ าวหรือ เวบบอร์ ด (Web board)เว็บบอร์ด เป็ นศูนย์กลางในการแสดงความคิดเห็น มีการ ตั้งกระทู ้ ถาม-ตอบ ในหัวข้อที่สนใจ เว็บบอร์ ดของไทยที่เป็ นที่นิยมและมีคนเข้าไปแสดงความคิดเห็ น มากมาย คือ เว็บบอร์ดของพันธ์ทิพย์ (www.pantip.com) 7. ห้ องสนทนา (Chat Room)ห้องสนทนา คือ การสนทนาออนไลน์อีกประเภทหนึ่ ง ที่มีการส่ งข้อความ สั้นๆ ถึงกัน การเข้าไปสนทนาจาเป็ นต้องเข้าไปในเว็บไซต์ที่ให้บริ การห้องสนทนาเช่น www.sanook.com www.pantip.com

ประโยชน์ ของอินเตอร์ เน็ต อินเตอร์ เน็ตเปรี ยบเสมือนชุ มชนเมืองแห่ งใหม่ของโลก เป็ นชุ มชนของคนทัว่ มุมโลก จึงมีบริ การ ต่างๆเกิดขึ้นใหม่ตลอดเวลา 1.ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ (Electronic mail=E-mail) ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ หรือ E-mail เป็ นการส่ งจดหมายผ่านเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตโดยผูส้ ่ งสารสามารถส่ งข้อความไปยังที่อยูข่ องผูร้ ับใน รู ปแบบของอีเมล์ เมื่อผูส้ ่ งเขียนจดหมาย แล้วส่ งไปยังผูร้ ับ ผูร้ ับจะได้รับจดหมายภายในเวลาไม่กี่วินาที แม้ จะอยูห่ ่างกันคนละซี กโลกก็ตาม นอกจากนี้ยงั สามารถส่ งแฟ้ มข้อมูลหรื อไฟล์แนบไปกับอีเมล์ได้ดว้ ย 2.การขอเข้ าระบบจากระยะไกลหรือเทลเน็ต(Telnet) เป็ นบริ การอินเตอร์ เน็ตรู ปแบบหนึ่ งโดยที่เราสามารถเข้าไปใช้งานคอมพิวเตอร์ อีกเครื่ องหนึ่ งที่อยู่ ไกลๆได้ดว้ ยตนเอง เช่น ถ้าเราอยูท่ ี่โรงเรี ยนทางานโดยใช้อินเตอร์ เน็ตของโรงเรี ยนแล้วกลับไปที่บา้ น เรามี คอมพิวเตอร์ ที่บา้ นและต่ออินเตอร์ เน็ตไว้เราสามารถเรี ยกข้อมูลจากที่โรงเรี ยนมาทาที่บา้ นได้ เสมือนกับเรา ทางานที่โรงเรี ยนนัน่ เอง


3.การโอนถ่ ายข้ อมูล(File Transfer Protocol หรื อ FTP) เป็ นบริ การอีกรู ปแบบหนึ่ งของระบบอินเตอร์ เน็ต เราสามารถค้นหาและเรี ยกข้อมูลจากแหล่งต่างๆ มาเก็บไว้ในเครื่ องของเราได้ ทั้งข้อมูลประเภทตัวหนังสื อ รู ปภาพและเสี ยง 4.การสื บค้ นข้ อมูล(Gopher,Archie,World wide Web) หมายถึง การใช้เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตในการ ค้นหาข่าวสารที่มีอยูม่ ากมายแล้วช่วยจัดเรี ยงข้อมูลข่าวสารหัวข้ออย่างมีระบบ เป็ นเมนู ทาให้เราหา ข้อมูลได้ง่ายหรื อสะดวกมากขึ้น 5.การแลกเปลีย่ นข่ าวสารและความคิดเห็น(Usenet) เป็ นการให้บ ริ ก ารแลกเปลี่ ยนข่า วสารและแสดงความคิ ดเห็ นที่ ผูใ้ ช้บ ริ ก ารอิ นเตอร์ เน็ ตทัว่ โลก สามารถพบปะกั น แสดงความคิ ด เห็ น ของตน โดยมี ก ารจั ด การผู ้ ใ ช้ เ ป็ นกลุ่ ม ข่ า วหรื อนิ ว กรุ๊ ป (Newgroup)แลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น กัน เป็ นหัว ข้อ ต่ า งๆ เช่ น เรื่ อ งหนัง สื อ เรื่ อ งการเลี้ ย งสั ต ว์ ต้น ไม้ คอมพิวเตอร์ และการเมือง เป็ นต้น ปั จจุบนั มี Usenet มากกว่า15,000 กลุ่ม นับเป็ นเวทีขนาดใหญ่ให้ทุกคน จากทัว่ มุมโลกแสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง 6.การสื่ อสารด้ วยข้ อความ(Chat,IRC-Internet Relay chat) เป็ นการพูดคุยกันระหว่างผูใ้ ช้อินเตอร์ เน็ต โดยพิมพ์ขอ้ ความตอบกัน ซึ่ งเป็ นวิธีการสื่ อสารที่ได้รับ ความนิยมมากอีกวิธีหนึ่ง การสนทนากันผ่านอินเตอร์ เน็ตเปรี ยบเสมือนเรานัง่ อยูใ่ นห้องสนทนาเดียวกัน แต่ ละคนก็พิมพ์ขอ้ ความโต้ตอบกันไปมาได้ในเวลาเดียวกัน แม้จะอยูค่ นละประเทศหรื อคนละซี กโลกก็ตาม 7.การซื้อขายสิ นค้ าและบริการ(E-Commerce = Eletronic Commerce) เป็ นการจับจ่ายซื้ อ - สิ นค้าและบริ การ เช่น ขายหนังสื อ คอมพิวเตอร์ การท่องเที่ยว เป็ นต้น ปั จจุบนั มี บ ริ ษ ทั ใช้อินเตอร์ เน็ ตในการท าธุ รกิ จและให้บ ริ ก ารลู ก ค้า ตลอด24ชั่วโมง ในปี 2540 การค้าขายบน อินเตอร์ เน็ตมีมูลค่าสู งถึง1แสนล้านบาท และจะเพิ่มเป็ น1ล้านล้านบาทในอีก5ปี ข้างหน้า ซึ่ งเป็ นโอกาสทาง ธุ ร กิ จ แ บบ ใ ห ม่ ที่ น่ า ส น ใ จ แ ล ะ เ ปิ ด ทา ง ใ ห้ ทุ ก ค นเ ข้ า ม าท า ธุ ร กิ จไ ด้ โ ด ย ใ ช้ ทุ น ไม่ ม าก นั ก 8.การให้ ความบันเทิง(Entertain) ในอิ นเตอร์ เน็ ตมี บริ การด้านความบันเทิ งในทุ กรู ปแบบต่างๆ เช่ น เกมส์ เพลง รายการโทรทัศน์ รายการวิทยุ เป็ นต้น เราสามารถเลือกใช้บริ การเพื่อความบันเทิงได้ตลอด24ชัว่ โมงและจากแหล่งต่างๆทัว่ ทุก มุมโลก ทั้งประเทศไทย อเมริ กา ยุโรปและออสเตรเลีย เป็ นต้น

\


โทษของอินเตอร์ เน็ต 1.โรคติดอินเทอเน็ต(Webaholic) อินเตอร์ เน็ตก็เป็ นสิ่ งเสพติดหรื อ? การเล่นอินเตอร์ เน็ต ทาให้คุณเสี ยงาน ผูใ้ ดเป็ นผูท้ ี่ติดการพนัน การติดการพนันประเภทที่ถอนตัว ไม่ข้ ึ น มี ลกั ษณะคล้า ยคลึ งกับ การติ ดอิ นเตอร์ เน็ ต เพราะทั้งสองอย่าง เกี่ ยวข้องกับการล้ม เหลว ในการ ควบคุ มความต้องการของตนเอง โดยไม่มีส่วนเกี่ ยวข้องกับสารเคมี ใดๆ (อย่างสุ รา หรื อยาเสพติ ด) ผูท้ ี่ มี อาการอย่างน้อย 4 อย่าง เป็ นเวลานานอย่างน้อย 1 ปี ถือได้วา่ มีอาการติดอินเตอร์ เน็ต • รู ้สึกหมกมุ่นกับอินเตอร์ เน็ต แม้ในเวลาที่ไม่ได้ต่อกับอินเตอร์ เน็ต • มีความต้องการใช้อินเตอร์ เน็ตเป็ นเวลานานขึ้น • ไม่สามารถควบคุมการใช้อินเตอร์ เน็ตได้ • รู้สึกหงุดหงิดเมื่อต้องใช้อินเตอร์เน็ตน้อยลงหรื อหยุดใช้ • ใช้อินเตอร์ เน็ตเป็ นวิธีในการหลีกเลี่ยงปั ญหาหรื อคิดว่าการใช้อินเตอร์ เน็ตทาให้ตนเองรู ้สึกดีข้ ึน • หลอกคนในครอบครัวหรื อเพื่อน เรื่ องการใช้อินเตอร์เน็ตของตัวเอง • การใช้อินเตอร์ เน็ ตทาให้เกิ ดการเสี่ ยงต่ อการสู ญเสี ย งาน การเรี ย น และความสัมพันธ์ ยังใช้ อินเตอร์เน็ต ถึงแม้วา่ ต้องเสี ยค่าใช้จ่ายมาก • มีอาการผิดปกติ อย่างเช่น หดหู่ กระวนกระวายเมื่อเลิกใช้อินเตอร์ เน็ต • ใช้เวลาในการใช้อินเตอร์ เน็ตนานกว่าที่ตวั เองได้ต้ งั ใจไว้ มีผลกระทบต่อการเรี ยน อาชี พ สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของคนคนนั้น ถึงแม้วา่ การวิจยั ที่ผา่ น มาได้แสดงให้เห็นว่า การติดเทคโนโลยีอย่างเช่น การติดเล่นเกมส์ ส่ วนใหญ่จะเกิดขึ้นกับเพศชายแต่ผลลัพธ์ ข้างต้น แสดงให้เห็นว่า ผูท้ ี่ติดอินเตอร์ เน็ต ส่ วนใหญ่เป็ นเพศหญิง วัยกลางคนและไม่มีงานทา


2.เรื่องอณาจารผิดศีลธรรม(Pornography/Indecent Content) เรื่ องของข้อมูลต่างๆที่มีเนื้ อหาไปในทางขัดต่อศีลธรรม ลามกอนาจาร หรื อรวมถึงภาพโป๊ เปลื อย ต่างๆนั้นเป็ น เรื่ องที่มีมานานพอสมควรแล้วบนโลกอินเทอร์ เน็ต แต่ไม่โจ่งแจ้งเนื่ องจากสมัยก่อนเป็ นยุคที่ WWW ยังไม่พฒั นา มากนักทาให้ไม่มีภาพออกมา แต่ในปั จจุบนั ภายเหล่านี้ เป็ นที่โจ่งแจ้งบนอินเทอร์ เน็ต และสิ่ งเหล่ า นี้ สามารถเข้าสู่ เด็ก และเยาวชนได้ง่ายโดยผูป้ กครองไม่สามารถที่ จะให้ความดูแลได้เต็มที่ เพราะว่าอินเทอร์ เน็ตนั้นเป็ นโลกที่ไร้พรมแดนและเปิ ดกว้างทาให้สื่อเหล่านี้ สามรถเผยแพร่ ไปได้รวดเร็ วจน เรา ไม่สามารถจับกุมหรื อเอาผิดผูท้ ี่ทาสิ่ งเหล่านี้ข้ ึนมาได้ 3.ไวรัส ม้ าโทรจัน หนอนอินเตอร์ เน็ต และระเบิดเวลา ไวรัส : เป็ นโปรแกรมอิสระ ซึ่ งจะสื บพันธุ์โดยการจาลองตัวเองให้มากขึ้นเรื่ อยๆ เพื่อที่จะทาลายข้อมูล หรื อ อาจท าให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ท างานช้า ลงโดยการแอบใช้สอยหน่ วยความจาหรื อพื้นที่ ว่า งบนดิ ส ก์โดย พลการ ม้าโทรจัน : ม้าโทรจันเป็ นตานานนักรบที่ซ่อนตัวอยูใ่ นม้าไม้ แล้วแอบเข้าไปในเมืองจนกระทัง่ ยึดเมืองได้ ส าเร็ จ โปรแกรมนี้ ก็ ท างานคล้า ยๆกัน คื อโปรแกรมนี้ จ ะท าหน้า ที่ ไ ม่ พึ ง ประสงค์ มันจะซ่ อนตัวอยู่ใ น โปรแกรมที่ไม่ได้รับอนุ ญาต มันมักจะทาในสิ่ งที่เราไม่ตอ้ งการ และสิ่ งที่มนั ทานั้น ไม่มีความจาเป็ นต่อเรา ด้วย หนอนอินเตอร์ เน็ต : ถูกสร้างขึ้นโดย Robert Morris, Jr. จนดังกระฉ่ อนไปทัว่ โลก มันคือโปรแกรมที่จะ สื บพันธุ์ โดยการจาลองตัวเองมากขึ้ นเรื่ อยๆ จากระบบหนึ่ ง ครอบครองทรัพยากรและทาให้ระบบช้าลง ระเบิดเวลา : คือรหัสซึ่ งจะทาหน้าที่เป็ นตัวกระตุน้ รู ปแบบเฉพาะของการโจมตีน้ นั ๆ ทางานเมื่อสภาพการ โจมตีน้ นั ๆมาถึง ยกตัวอย่างเช่น ระเบิดเวลาจะทาลายไฟล์ท้ งั หมดในวันที่ 31 กรกฎาคม 2542


อ้างอิง http://www.thaiall.com/article/internet.htm http://www.krujongrak.com/internet/internet.html http://blog.eduzones.com/banny/3734


สารบัญ บทนา

หน้ า

ความหมายของ Internet

1

ประวัติความเป็ นมา

2

ความสาคัญของ Internet

3

ระบบเครื อข่าย Internet ของประเทศไทย

4

ประโยชน์ของ Internet

12

โทษของ Internet

14

อ้างอิง


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.