วิธีใช้ Virtual DJ v5.1Pro แบบคร่าวๆครับ

Page 1

ดูตามภาพเลยนะครับ 1.คิวเพลงที่จะเล่นในโปรแกรมเหมือนกับวินแอมอะครับ 2.เพลงตามโฟลเดอร์ต่างๆที่เราจะโยนไปใส่ในคิวเพลงได้เลยครับ 3.เอาไว้ค้นหาพื้นที่ที่เราเก็บเพลงไว้ในเครื่องเราออกมาแล้วเพลงจะโชว์มาที่หมายเลขสอง 4.แสดงเพลงที่เล่นอยู่ว่าเป็นเพลงอะไร 5.ปรับแต่งเสียงทุ่มแหลมตามที่เราต้องการได้เลยครับ 6.ปุ่มที่ใช้กดเข้าไปปรับตั้งโปรแกรมและเปลี่ยนเลือกสกินใหม่ๆได้จากปุ่มนี้ครับ 7.กดปุ่มนี้ให้เป็นสีเขียวเพื่อให้เล่นเพลงอัตโนมัติไม่หยุดจนกว่าจะหมดลิสเพลงที่เราเลือกไว้อะครับ 8.ท่านสามารถพิมพ์ชื่อเพลงที่เคยเล่นไปแล้วหรือในโฟล์เด้อที่ท่านเคยเลือกแล้วชื่อจะขึ้นแบบรวดเร็วครับ 9.กดให้เป็นรูปกุญแจล๊อกตามรูปแล้วช่องคิวเพลงจะค้างอยู่ถ้ากดอีกครั้งช่องคิวเพลงจะซ่อนทันที


การใช้งาน Virtual DJ ผมเป็นคนหนึ่งที่เริ่มต้นใช้งาน Virtual DJ ครับ ก็เลยมีปัญหาการใช้งาน และคิดว่าหลาย ๆ คนก็มีปัญหา เหมือนๆ กัน ผมเลยได้ แปลและแนะนาการใช้งาน Virtual DJ เผื่อจะเป็นประโยชน์บ้างแก่เพื่อนๆผู้เริ่มใช้งาน Virtual DJ นะครับ ผมใช้ Virtual DJ 4.x เป็นตัวอย่างในครั้งนี้นะครับ (Virtual DJ Version อื่น ๆ ก็ใช้งานร่วมได้นะครับ อาจ แตกต่างกันบ้างเล็กน้อย) ผมใช้ Skin Upkajuy Thai Fixed 4.1r2 Internal Mixer เป็นภาพประกอบนะครับ ต้องขอขอบคุณมานะที่นี้ ด้วยนะครับ เริ่มต้นการใช้งานแบบกานันงรัดนะครับ การแนะนาการใช้งาน Virtual DJ อย่างกานันงรัดนี้ เพื่อนๆ สามารถเริ่มใช้งานได้แบบแบบรวดเร็ว เป็นขั้น พื้นฐานในการใช้งาน เพื่อที่จะนาเข้าสู่หลักการใช้งานที่ละเอียดมากขั้นต่อไปนะครับ 1. ขั้นแรกเลือกเพลงที่ต้องการจะมิกซ์ โดยการคลิกที่เพลงที่ต้องการ (ตามตัวอย่าง ) แล้วลากไปไว้ที่ Turntable ตัวที่ 1 ด้านซ้ายมือ (ต่อไปนี้จะเรียกว่า DECK 1) (ดูรูป VDJ 01) 2. คลิกปุ่ม เพื่อเล่นเพลง Play (Stutter) (ควรรอให้Virtual Dj โหลดเพลงให้เสร็จก่อนนะครับ) (ดูรูป VDJ 02) 3. โหลดเพลงที่ต้องการจะเล่นต่อไปที่ Turntable ตัวที่ 2 ด้ายขวามือ (ต่อไปนี้จะเรียกว่า DECK 2) (ดูรูป VDJ 03) 4. ลองกดปุ่ม Play (Stutter) ที่ Deck 2 เพื่อให้เพลงทั้งสองเพลงมาเชื่อมต่อกัน จะเห็นได้ว่าเพลงที่สองยังไม่เข้ากัน ทั้งจังหวะ(Rhythms)และความเร็วเพลง(BPM : Beat Per Minute)ยังไม่ เข้ากัน 5. ทดลองโดยการคลิกขวาที่ปุ่ม Sync (Virtual DJ Version อื่นอาจเรียกว่า Beat Lock นะครับ)ที่ Dcek2 จะ เห็นได้ว่า จังหวะได้เข้ากัน (ดูรูป VDJ 04) (สังเกตุโดยจะเห็นได้ว่าเส้นคลื่นเสียง(Waveform)บอกจังหวะบน Rhythm Window ผสานกันเป็นเส้นเดียว)


Rhythm Window 01 คลื่นเสียงที่ยังไม่เข้ากัน (ดูรูป Rhythm Window 01) Rhythm Window 02 คลื่นเสียงที่เข้ากัน (ดูรูป Rhythm Window 02) แต่ว่าคลื่นเสียงเข้ากันได้แต่ไม่นานก็แยกกันอีกครั้ง นั้นเป็นเพราะว่า ความเร็วของเพลง(BPM)ยังไม่เข้ากัน นะครับ (สังเกตุบนแถบข้อมูลที่แสดง BPM ว่า ทั้งสองเพลงมีความเร็วของเพลงที่ไม่เหมือนกัน) ู(ดูรูป VDJ 05) 6. คลิกซ้ายที่ปุ่ม Sync ที่ Deck 2 สังเกตุดูว่าตอนนี้ ความเร็วของเพลงทั้งสองได้เข้ากันแล้ว (ความเร็วเพลงของDeck ที่เรากดปุ่ม Sync จะอ้างอิงความเร็วเพลงของอีก Deck หนึ่งเสมอ เช่น เมื่อ Deck 1 มีความเร็วเพลงที่เล่นอยู่ เท่ากับ 136 BPM เมื่อกดปุ่ม Sync ที่ Deck 2 ไม่ว่าความเร็วเพลงต้นฉบับจะเป็น เท่าใดก็แล้วแต่ จะถูกปรับให้เหมือนกับความเร็วของอีก Deck หนึ่งเสมอ นั้นก็คือ 136 BPM) คงเข้าใจกัน นะครับ ฮิฮิ (ข้อควรจาอีกอย่างนั้นนะครับ การคลิกซ้ายที่ปุ่ม Sync ก็คือการทาให้ Beat ตรงกัน ส่วนการกดปุ่มขวาที่ปุ่ม Sync ก็คือการทาให้ เสียงเข้ากันนะครับ ทั้งสองจะมีความแตกต่างกันอยู่นะครับ ความสาคัญของการคลิก ขวาหลัก ๆ ก็คือ เอาใช้ไว้เวลาที่ Beat ใหล หรือว่ากดปุ่ม Play ช้าไปหรือเร็วไป มันจะทาให้ เสียงมา ประสานกันทาให้การมิกซ์เพลงนั้นง่ายขึ้นละเนียนขึ้นละครับ) 7. จากนั้นก็ลองเลื่อน Crossfader ไปทางหรือขวาเพื่อเลือกฟังหรือค่อย ๆลดเพลงลง ให้มันเนียนๆ ฮะครับ ลองดูกันนะครับไม่รู้ว่าจะเข้าใจกันมากน้อยแค่ใหน ผมกาลังเตรียมที่จะแนะนาการใช้งานอื่นๆต่อไป ยังไงก็ ลองดู Feedback กันก่อนละกันครับ แล้วเพื่อน ๆที่ยังไม่รู้เรื่อง BPM , การนับจังหวะ, หรือว่าศาสตร์และ ศิลป์ในการมิกซ์เพลงก็ลองหาอ่านดูในบอร์ดนะครับ ที่ปักหมุดนั้นละครับมีรุ่นพี่และก็เพื่อน ๆ ให้ คาแนะนากันมากครับ





Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.