รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ป.เอก ปีการศึกษา 2555

Page 1

รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ปีการศึกษา 2555

หลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

ปีการศึกษา 2555

คำนำ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ให้ความสาคัญกับคุณภาพของ การจั ด การศึ ก ษา ได้ ใช้ กลไกของการประกัน คุ ณภาพการศึก ษาเพื่ อพั ฒ นาคุณ ภาพตามภารกิ จหลั กของ มหาวิทยาลัยและตามปณิธานที่ว่า “เป็นแหล่งวิทยาการ มาตรฐานการศึกษา งานวิจัยก้าวหน้า ศูนย์รวมภูมิ ปัญญา พัฒ นาท้องถิ่น และวัฒ นธรรม” โดยเฉพาะการพัฒ นาคุณภาพตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้ตามกลุ่ ม สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปะและวัฒนธรรม ในบริบทของท้องถิ่นให้มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ นั้น เป็นสิ่งทีส่ าขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา ครุศาสตร์ตระหนักและร่วมดาเนินการ เงื่อนไขข้างต้นเป็นสิ่งที่ท้าทายของ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา ครุศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สุ ริ น ทร์ บุ ค ลากรและคณะกรรมการด าเนิ น การประกั น คุ ณ ภาพภายใน สาขาวิ ช า เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ได้ร่วมดาเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพ และมีการประเมินตนเองเพื่อนาไปสู่สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพ สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ และพร้อมรับคายืนยันหรือชี้แนะจากมุมมองภายนอก สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ขอขอบคุณในความร่วมมือของ บุคลากรทุกระดับที่เกี่ยวข้องในระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็นองค์ประกอบสาคัญที่ทาให้ระบบ การประกันคุณภาพการศึกษาดาเนิ นไปได้ และที่สาคัญยิ่ง มีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่มีระบบการประเมิน คุณภาพภายในที่มีประสิทธิภาพ ซึ่ง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ พร้อมรับคายืนยันหรือชี้แนะจากมุมมองจากคณะกรรมการตรวจประเมินฯ เพื่อเป็นประโยชน์ในการพัฒนา คุณภาพการศึกษาต่อไป (ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร. ประชิต อินทะกนก) ประธานหลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา

คณะครุศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

ปีการศึกษา 2555

สารบัญ หน้า คำนำ............................................................................................................................................. สำรบัญ. ........................................................................................................................................ ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา......................

1

ปรัชญำ…………………..................................................................................................................... ประวัติควำมเป็นมำของสำขำวิชำเทคโนโลยีสำรสนเทศและสื่อสำรกำรศึกษำ ............................ คณะกรรมกำรประจำสำขำวิชำเทคโนโลยีสำรสนเทศและสื่อสำรกำรศึกษำ ............................... บุคลำกรสำขำวิชำเทคโนโลยีสำรสนเทศและสื่อสำรกำรศึกษำ .................................................... อำคำรสถำนที่ในควำมรับผิดชอบของสำขำวิชำเทคโนโลยีสำรสนเทศและสื่อสำรกำรศึกษำ ...... จำนวนนักศึกษำภำคปกติ ............................................................................................................. งบประมำณ .................................................................................................................................. คณะกรรมกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำของสำขำวิชำ ............................................................... หลักสูตรและสำขำวิชำที่เปิดสอน ................................................................................................. เอกลักษณ์หรือวัฒนธรรมของหน่วยงำน ...................................................................................... ผลกำรปรับปรุงตำมข้อเสนอแนะของผลกำรปรับที่ผำ่ นมำ ..........................................................

2 2 3 3 5 5 5 6 6 6 6

ส่วนที่ 2 รายงานผลการดาเนินงาน ......................................................................................

7

ตัวบ่งชี้ 2.1 ระบบและกลไกในกำรพัฒนำและบริหำรหลักสูตร ................................................... ตัวบ่งชี้ 2.6 ระบบและกลไกกำรจัดกำรเรียนกำรสอน ................................................................. ตัวบ่งชี้ 2.7 ระบบและกลไกกำรพัฒนำสัมฤทธิผลกำรเรียนตำมคุณลักษณะของบัณฑิต ............ ตัวบ่งชี้ 2.9 (สมศ.1) บัณฑิตปริญญำตรีที่ได้งำนทำหรือประกอบอำชีพอิสระภำยใน 1 ปี ....... ตัวบ่งชี้ 2.10 (สมศ.2) คุณภำพของบัณฑิตปริญญำตรี โท และเอก ตำมกรอบมำตรฐำนคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษำ แห่งชำติ .......................................................................................................................... ตัวบ่งชี้ 2.11 (สมศ.3) ผลงำนของผู้สำเร็จกำรศึกษำระดับปริญญำโททีไ่ ด้รับกำรตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ตัวบ่งชี้ 2.12 (สมศ.4) ผลงำนของผู้สำเร็จกำรศึกษำระดับปริญญำเอกที่ได้รับกำรตีพิมพ์ ........ ตัวบ่งชี้ 7.2 กำรพัฒนำสถำบันสู่สถำบันเรียนรู้ ............................................................................ ตัวบ่งชี้ 9.1 ระบบและกลไกกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำภำยใน .............................................. ตัวบ่งชี้ 9.2 (สมศ.15) ผลประเมินกำรประกันคุณภำพภำยในรับรองโดยต้นสังกัด ..................... ตัวบ่งชี้ 16.1 ผลกำรบริหำรสถำบันให้เกิดอัตลักษณ์ ...................................................................

7 10 13 15

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

16 16 19 21 23 26 27


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

ปีการศึกษา 2555

ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน ปรัชญา ปณิธานมหาวิทยาลัย

:

แหล่งวิทยาการ มาตรฐานการศึกษา งานวิจัยก้าวหน้า ศูนย์รวมภูมิปัญญา พัฒนาท้องถิ่นและวัฒนธรรม ปรัชญาคณะครุศาสตร์ : ผลิตและพัฒนาครูดี มีความรู้ คู่คุณธรรม ปรัชญา สาขาวิชา : มุ่งที่จะผลิตนักเทคโนโลยีการศึกษา และนักเทคโนโลยี การฝึกอบรมให้มีความรู้กว้าง รู้ลึก รู้ทฤษฎีควบคู่ไปกับการปฏิบัติ มีคุณธรรม จริยธรรม ศรัทธาในวิชาชีพ มีวิสัยทัศน์ในวิทยาการสมัยใหม่ และสามารถประยุกต์ความรู้ไปใช้ในการพัฒนาและออกแบบระบบการเรียนรู้ การฝึกอบรมและการพัฒนาท้องถิ่นให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและการพัฒนาประเทศที่ เป็นส่วนหนึ่งของสังคมโลก

ประวัติความเป็นมาของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา เป็นส่วนราชการในสถาบันราชภัฏสุรินทร์ เปิดการเรียน

การสอนเป็นครั้งแรกเมื่อปี 2545 และได้ดาเนินการปรับปรุงหลักสูตรใหม่โดยปรับเปลี่ยนชื่อสาขาวิชาใหม่ชื่อเดิม “สาขาวิ ช าเทคโนโลยี แ ละสื่ อ สารการศึ ก ษา ” ชื่ อ ใหม่ “สาขาวิ ช าเทคโนโลยี ส ารสนเทศและสื่ อ สารการศึ ก ษา ” และดาเนินการสอนเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน

สถานที่ตั้ง เดิมสานักงานสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา ตั้งอยู่ที่ อาคารศูนย์วิชาการชั้น 2 ต่อมาได้ ย้ายเข้าสังกัดคณะครุศาสตร์ ที่อาคาร 28 ชั้น จนถึงปัจจุบัน ด้านการจัดการเรียนการสอน สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มีพันธ กิจในการผลิตบุคลากรในสาขาการศึกษา ตั้งแต่ได้เริ่มเปิดการเรียนการสอนในปี 2545 ได้จัดการศึกษา ได้เปิด สอนในระดับหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิตในสาขาการบริหารการศึกษา และต่อมาปี พ.ศ. 2555 ได้พัฒนา หลักสูตรครุศาสตดุษฎีบัณฑิต ซึ่งเป็นหลักสูตรใหม่ ปี พ.ศ. 2555 ขณะนี้อยู่ในระหว่างดาเนินการขออนุมัติ จาก สกอ. ในการเปิดหลักสูตร

คณะกรรมการประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา ตามความในมาตรา 41 วรรคสองแห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 และตาม ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ว่าด้วยคณะกรรมการประจาคณะ พ.ศ. 2547 ข้อ 5 วรรคสอง จึงมีการ แต่งตั้งคณะกรรมการประจา สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา เพื่อทาหน้าที่กลั่นกรองงานที่ คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา

2


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

ปีการศึกษา 2555

3

เกี่ยวข้องกับสภาวิชาการ สภามหาวิทยาลัย และอื่นๆที่เห็นว่าเป็นประโยชน์ต่อคณะและมหาวิทยาลัย ดัง รายนามต่อไปนี้ 1. ดร.อุดม หอมคา 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประชิต อินทะกนก รอง 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เชาวเลิศ เลิศชโลฬาร 4. ดร.ขจรศักดิ์ สงวนสัตย์ 5. ดร.นุชจรี บุญเกต

ประธานกรรมการ/อาจารย์ประจา หลักสูตร/ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ประธานกรรมการ/อาจารย์ประจาหลักสูตร/ ผู้รับผิดชอบหลักสูตร กรรมการ/อาจารย์ประจาหลักสูตร/ ผู้รับผิดชอบหลักสูตร กรรมการ/อาจารย์ประจาหลักสูตร กรรมการและเลขานุการ/อาจารย์ประจา หลักสูตร

บุคคลากรคณะสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา คณาจารย์ ในปีการศึกษา 2554 คณาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษามีทั้งหมด 5 คน สามารถจาแนกตามเพศ วุฒิการศึกษา ตาแหน่งทางวิชาการ และโปรแกรมวิชา ได้ดังนี้ ตารางที่ 1.1 จานวนอาจารย์ จาแนกตามเพศ วุฒิการศึกษา ตาแหน่งทางวิชาการ จานวน จาแนกตามวุฒิ จาแนกตามตาแหน่ง สถานภาพ ชาย หญิง ตรี โท เอก อาจารย์ ผศ. รศ. 1. ผู้ปฏิบัติงาน 4 1 5 3 2 2. ไปช่วยราชการ 3. ลาศึกษาต่อ 2 รวม 4 1 5 3 2 -

ตารางที่ 1.2 รายชื่ออาจารย์ปีการศึกษา 2555 ที่ ชื่อ- นามสกุล 1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประชิต อินทะ กนก 2

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เชาวเลิศ เลิศชโลฬาร

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

ปริญญาตรี กศ.บ. (เทคโนโลยี และการสื่อสาร การศึกษา) ค.บ. (จุฬาฯ) อ.บ. (ภาษาอังกฤษ)

ระดับการศึกษา ปริญญาโท ปริญญาเอก กศ.ม. (เทคโนโลยี ค.ด. (เทคโนโลยีและการ และการสื่อสาร สื่อสารการศึกษา) การศึกษา) ค.ม. ( เทคโนโลยีเพื่อ Ph.D (Educational การศึกษา) Communications and Technology)

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) 3

อาจารย์ ดร.อุดม หอมคา

คบ. (ประถมศึกษา)

4

อาจารย์ ดร.ขจรศักดิ์ สงวนสัตย์

5

อาจารย์ ดร.นุชจรี บุญเกต

ว.บ(วารสารศาสตร บัณฑิต) ศ.บ(ศึกษาศาสตร บัณฑิต)

ปีการศึกษา 2555 คม. (การ ประถมศึกษา) นศ.บ(นิเทศศาสตร บัณฑิต) ค.บ(ครุศาสตรมหา บัณฑิต)

ค.ด. (เทคโนโลยีและการ สื่อสารการศึกษา) ค.ด. (เทคโนโลยีและการ สื่อสารการศึกษา) ค.ด. (เทคโนโลยีและการ สื่อสารการศึกษา)

ลูกจ้างชั่วคราว ตารางที่ 1.3 จานวนลูกจ้างชั่วคราวสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา ระดับการศึกษา เพศ รวม ต่ากว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ชาย 1 1 หญิ ง รวม 1 1 ตารางที่ 1.4 รายชื่อเจ้าหน้าที่ ที่ 1

ชื่อ - สกุล นายสาเร็จ สาคเรศ

วุฒิการศึกษา

ตาแหน่ง นักวิชาการศึกษา 3

ปริญญาตรี วท.บ. (เทคโนโลยี อุตสาหกรรม)

ปริญญาโท กาลังศึกษาต่อ

อาคารสถานที่ในความรับผิดชอบของคณะครุศาสตร์ อาคารเรียน สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษาในปัจจุบันยังไม่มีอาคารเรียนเป็นของตนเอง แต่ ใช้อาคารเรียนคณะครุศาสตร์ใช้เป็นสานักงาน คือ อาคารเรียนรวม (อาคาร 28 ) และ ชั้น 6 ห้องปฏิบัติการและห้องสานักงาน ห้องสานักงาน

1

ห้อง

จานวนนักศึกษา จานวนนักศึกษาทีสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา ประจาปีการศึกษา 2554 มี ดังนี้ ตารางที่ 1.5 จานวนนักศึกษา ปีการศึกษา 2555 ที่

ระดับ

สาขาวิชา

ชั้นปีที่ 1

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

ชั้นปีที่ 2

ชั้นปีที่ 3

4

ชั้นปีที่ 4 ชั้นปีที่ 5

รวมทั้งสิ้น

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

1

ค.ด.

ปีการศึกษา 2555

(55)

(56)

(57)

(58)

(59)

เทคโนโลยีสารสนเทศ และสื่อสารการศึกษา

11

-

-

-

-

11

รวม

11

-

-

-

-

11

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ข้อมูล ณ วันที่ 22 กรกฎาคม 2555

งบประมาณ ในปี ง บประมาณ 2554 สาขาวิช าเทคโนโลยีส ารสนเทศและสื่ อสารการศึกษา งบประมาณและดาเนินการ สรุป ดังตารางดังนี้

ตารางที่ 1.6 งบประมาณรายรับและรายจ่ายแยกตามประเภทของแหล่งงบประมาณ งบประมาณสานักงานคณะครุศาสตร์ ประเภท งบแผ่นดิน บกศ. กศ.บป. รายรับ 745,140 -

ได้รับจั ดสรร

รวม 745,140

รายจ่าย บุคลากร

349,620

-

-

349,620

ดาเนินการ

375,520

-

-

375,520

งบลงทุน รวมรายจ่าย คงเหลือ

20,000 745,140 -

-

-

745,140

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาของสาขา 1.ดร.อุดม หอมคา 2.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประชิต อินทะกนก 3.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เชาวเลิศ เลิศชโลฬาร

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา

5


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) 4.ดร.ขจรศักดิ์ สงวนสัตย์ 5.ดร.นุชจรี บุญเกต

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

ปีการศึกษา 2555 กรรมการ กรรมการและเลขานุการ

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา

6


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

องค์ประกอบที่ 2 ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ชนิดของตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1

ปีการศึกษา 2555

7

การผลิตบัณฑิต (สกอ.) ระบบและกลไกในการพัฒนาและบริหารหลักสูตร กระบวนการ เกณฑ์ทั่วไป คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2 ข้อ มีการดาเนินการ 3 ข้อ มีการดาเนินการ 4 ข้อ มีการดาเนินการ 5 ข้อ

ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์มาตรฐาน

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน

 1 มีระบบและกลไกการเปิดหลักสูตรใหม่ และปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทาง ปฏิบัติที่กาหนดโดยคณะกรรมการการ อุดมศึกษา และดาเนินการตามระบบที่ กาหนด

มีระบบและกลไกการเปิดหลักสูตรใหม่และ ปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่ กาหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และดาเนินการตามระบบที่กาหนด โดย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์มีหลักสูตรที่เปิดสอนจานวน 1 หลักสูตรวิชาเทคโนโลยีและการสื่อสาร การศึกษา โดยหลักสูตรทั้งหมดได้ผา่ น กระบวนการพัฒนาและบริหารหลักสูตร อย่างเป็นระบบและผ่านการรับรองจาก สกอ.เป็นที่เรียบร้อยแล้ว และนอกจากนี้ จากการวิเคราะห์โครงสร้างหลักสูตร พบว่าสอดคล้องตามเกณฑ์การรับรองของ คุรุสภา

ไอซีที.2.1-1-1 คู่มือการ พัฒนาหลักสูตรที่ได้ กาหนดกระบวนการ ขั้นตอน และเงื่อนไข ต่างๆ ชัดเจน ไอซีที.2.1-1-2 เอกสาร หลักสูตรที่ผ่านการอนุมัติ จากสภามหาวิทยาลัย ไอซีที.2.1-1-3 เอกสาร กลไลการเปิดปิดหลักสูตร

 2 มีระบบและกลไกการปิดหลักสูตรตาม แนวทางปฏิบัตทิ ี่กาหนดโดย คณะกรรมการการอุดมศึกษา และ ดาเนินการตามระบบที่กาหนด

มีระบบและกลไกการปิดหลักสูตรตาม ไอซีที.2.1-2-1 เอกสาร แนวทางปฏิบัตทิ ี่กาหนดโดยคณะกรรมการ คู่มือการพัฒนาและ การอุดมศึกษา และดาเนินการตามระบบที่ บริหารหลักสูตร กาหนด

 3 ทุกหลักสูตรมีการดาเนินงานให้เป็นไป ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา และกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (การ ดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หมายถึง ต้องมีการประเมินผลตาม “ตัวบ่งชีผ้ ล การดาเนินงานตามประกาศมาตรฐาน คุณวุฒิสาขาหรือสาขาวิชา เพื่อการ ประกันคุณภาพหลักสูตรและการเรียน การสอน” กรณีที่หลักสูตรใดยังไม่มี

มีการดาเนินการบริหารจัดการให้เป็นไป ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วย เกณฑ์มาตรฐานและแนวทางการบริหารตาม เกณฑ์มาตรฐานและ/หรือตามตัวบ่งชี้ ความสาเร็จตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา

มีการจัดทา มคอ.2 และ มคอ.3 ในแต่ละ รายวิชาประกอบการสอน มีการจัดประชุมคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรทาการศึกษาอย่างละเอียดและ รอบคอบเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และรายละเอียด

ไอซีที.2.1-3-1 เอกสาร หลักสูตร คาสั่งแต่งตั้ง อาจารย์ผู้รับผิดชอบ ไอซีที.2.1-3-2 เอกสาร มคอ.2 มคอ. 3 ไอซีที.2.1-3-3บันทึกการ ประชุมอาจารย์ประจา หลักสูตร


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

มี ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

ปีการศึกษา 2555

ผลดาเนินงาน

8

หลักฐาน

ประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือ ของการรับรองหลักสูตร สาขาวิชาให้ประเมินตามตัวบ่งชีก้ ลาง ที่กาหนดในภาคผนวก ก ) สาหรับ หลักสูตรสาขาวิชาชีพต้องได้รบั การ รับรองหลักสูตรจากสภาหรือองค์กร วิชาชีพที่เกี่ยวข้องด้วย  4 มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุม กากับให้มีการดาเนินการได้ครบถ้วน ทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3 ข้างต้น ตลอดเวลาที่จัดการศึกษา และมีการ ประเมินหลักสูตรทุกหลักสูตรอย่าง น้อยตามกรอบเวลาที่กาหนดในเกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตรฯ กรณีหลักสูตรที่ ดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ จะต้อง ควบคุมกากับให้การดาเนินงานตามตัว บ่งชี้ในข้อ 3 ผ่านเกณฑ์การประเมิน 5 ข้อแรกและอย่างน้อยร้อยละ 80 ของ ตัวบ่งชีท้ ี่กาหนดในแต่ละปี ทุก หลักสูตร

มีการแต่งตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบ ควบคุมกากับให้มีการดาเนินการได้ครบถ้วน ทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ3 ข้างต้นตลอดเวลาที่ จัดการศึกษา และมีการประเมินหลักสูตรทุก หลักสูตรอย่างน้อยตามกรอบเวลาที่กาหนดใน เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรฯ

ไอซีที.2.1-4-1 คาสั่ง

 5 มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุม

-

-

แต่งตั้ง คณะกรรมการ รับผิดชอบกากับและ ประเมินการบริหารจัดการ หลักสูตรของมหาวิทยาลัย ไอซีที.2.1-4-2 บันทึกการ ประชุมของคณะกรรมการ

กากับให้มี การดาเนินการได้ครบถ้วน ทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3 ข้างต้น ตลอดเวลาที่จัดการศึกษา และมีการ พัฒนาหลักสูตรทุกหลักสูตรตามผล การประเมินในข้อ 4 กรณีหลักสูตรที่ ดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ จะต้อง ควบคุมกากับให้การดาเนินงานตามตัว บ่งชี้ใน ข้อ 3 ผ่านเกณฑ์การประเมิน ครบ ทุกตัวบ่งชี้และทุกหลักสูตร

สรุปผลการดาเนินงาน สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา สังกัดคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์มีหลักสูตรที่เปิดสอนจานวน 1 หลักสูตร หลักสูตรวิชาเทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษา โดย หลักสูตรได้ผ่านกระบวนการพัฒนาและบริหารหลักสูตรอย่างเป็นระบบและผ่านการรับรองจาก สกอ.เป็นที่ เรียบร้อยแล้ว และนอกจากนี้จากการวิเคราะห์โครงสร้างหลักสูตร พบว่าสอดคล้องตามเกณฑ์การรับรองของ คุรุสภา คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

ปีการศึกษา 2555

ผลการประเมินตนเอง เป้าหมาย 4 ข้อ

ผลดาเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง 4 ข้อ

4 คะแนน

บรรลุเป้าหมาย (,)

เป้าหมาย ปีถัดไป

4 ข้อ

จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง ควรมีการ จัดทาคาสัง่ แต่งตั้ง อย่างเป็นระบบและครอบคลุม และควรมีการประเมินหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง

ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ หรือ 3 ข้อ 4 ข้อ หรือ 5 ข้อ ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์มาตรฐาน

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 6 ข้อ

ผลดาเนินงาน

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ

หลักฐาน

 1 มีระบบและกลไกการประกัน

1. มีการดาเนินการตามระบบกลไก ไอซีท.ี 2.6-1-1 คุณภาพ การจัดการเรียนการ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. มีการกาหนด ไอซีท.ี 2.6-1-2 สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญทุก ขั้นตอนและจัดทาคู่มือการจัดการเรียน ไอซีท.ี 2.6-1-3 หลักสูตร การสอน 2. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ บริหารหลักสูตรให้มีหน้าที่ในการประกัน คุณภาพการจัดการเรียนการสอน 3. มีการจัดทาแนวการสอน/มคอ.3 ที่กาหนดวิธีการสอนในรายวิชาให้มีการ สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ

 2 ทุกรายวิชามีรายละเอียดของ รายวิชาและของประสบการณ์ ภาคสนาม(ถ้ามี) ก่อนการเปิด สอนในแต่ละภาคการศึกษา

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

ก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา ไอซีท.ี 2.6-2-1 ตามที่กาหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ไอซีท.ี 2.6-2-2 ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติโดยจัดทาเป็น สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา

9


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

มี ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

ปีการศึกษา 2555

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน

ตามที่กาหนดในกรอบมาตรฐาน เอกสารแนวการสอน/มคอ. 3/มคอ 4 คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

 3 ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่ส่งเสริม โดยมีรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการ ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง และ เรียนรู้ด้วยตนเองซึ่งกาหนดในแนวการ การให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการ สอนในรายวิชานั้น (ไอซีท.ี 2.6-3-1)

ไอซีท.ี 2.6-3-1

ปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียน หรือจากการทาวิจัย

 4 มีการให้ผู้มีประสบการณ์ทาง

มีการเชิญผู้มีประสบการณ์ทาง ไอซีท.ี 2.6-4-1 วิชาการหรือวิชาชีพจาก วิชาการหรือวิชาชีพจากภายนอกมามี ไอซีท.ี 2.6-4-2 หน่วยงานหรือชุมชนภายนอกเข้า ส่วนร่วมเป็นผู้ร่วมปรับปรุงพัฒนา มามีส่วนร่วมในกระบวนการ หลักสูตรหรือเป็นผู้วิพากษ์หลักสูตร เรียนการสอนทุกหลักสูตร หรือเชิญเป็นผู้บรรยายหรือมีส่วนร่วมใน การสอน

 5 มีการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาจาก โดยจัดทาโครงการวิจัยในชั้นเรียน ด้วย การวิจัย หรือจากกระบวนการ การส่งเสริมให้มีการจัดทาวิจัยชั้นเรียน จัดการความรู้เพื่อพัฒนาการ และจัดโครงการการเขียนบทความวิจัย เรียนการสอน และนวัตกรรมใหม่ในแวดวงการศึกษา

ไอซีท.ี 2.6-5-1 ไอซีท.ี 2.6-5-2 ไอซีท.ี 2.6-5-3

 6 มีการประเมินความพึงพอใจของ ประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อ ไอซีท.ี 2.6-6-1 ผู้เรียนที่มีต่อคุณภาพการจัดการ คุณภาพการจัดการเรียนการสอนและสิ่ง ไอซีท.ี 2.6-6-2 เรียนการสอนและสิง่ สนับสนุน สนับสนุนการเรียนรู้ทุกรายวิชาทุกภาค การเรียนรู้ทุกรายวิชา ทุกภาค การศึกษาด้วยแบบประเมินความคิดเห็น การศึกษา โดยผลการประเมิน ของผู้เรียนต่อคุณภาพการจัดการเรียน ความพึงพอใจแต่ละรายวิชาต้อง การสอนโดยผลการประเมินความพึง ไม่ต่ากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม พอใจแต่ละรายวิชาต้องไม่ต่ากว่า 3.51 5 จากคะแนนเต็ม 5 (ไอซีท.ี 2.6-6-1) นามา วิเคราะห์และจัดทาเป็นรายงานผลการ ประเมินความคิดเห็นของผู้เรียนต่อ คุณภาพการจัดการเรียนการสอน (ไอซีท.ี 2.6-6-2)  7 มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการ จัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การ สอนหรือการประเมินผลการ

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

-

-

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา

10


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

มี ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

ปีการศึกษา 2555

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน

เรียนรู้ ทุกรายวิชา ตามผลการ ประเมินรายวิชา การประเมินตนเอง เป้าหมาย 6 ข้อ

ผลดาเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง 6 ข้อ

4 คะแนน

บรรลุเป้าหมาย(,)

เป้าหมายปีถัดไป

7 ข้อ

รายการหลักฐานอ้างอิง ไอซีท.ี 2.6-1-1 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ไอซีท.ี 2.6-1-2 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ไอซีท.ี 2.6-1-3 แนวการสอน/มคอ.3/กิจกรรมการเรียนการสอน ไอซีท.ี 2.6-2-1 แนวการสอน/มคอ.3 ไอซีท.ี 2.6-2-2 ผลการประเมินการเรียนการสอน ไอซีท.ี 2.6-3-1 แนวการสอน ไอซีท.ี 2.6-4-1 หนังสือเชิญผู้ทรงคุณวุฒิและวิทยากร–พัฒนา/ปรับปรุง/วิพากษ์หลักสูตร ไอซีท.ี 2.6-4-2 หนังสือเชิญวิทยากร ไอซีท.ี 2.6-5-1 โครงการวิจัยในชั้นเรียน–แนวการสอน ไอซีท.ี 2.6-5-2 งานวิจัยในชั้นเรียน ไอซีท.ี 2.6-5-3 การจัดประชุมวิชาการ / สัมมนาทางวิชาการ ไอซีท.ี 2.6-6-1 แบบประเมินความคิดเห็นของผู้เรียนต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอน ไอซีท.ี 2.6-6-2 รายงานผลการประเมินความคิดเห็นของผู้เรียนต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอน

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา

11


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

ปีการศึกษา 2555

ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ทั่วไป คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์มาตรฐาน

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน

 1 มีการสารวจคุณลักษณะของบัณฑิต ที่พึงประสงค์ตามความต้องการของ ผู้ใช้บัณฑิต อย่างน้อยสาหรับทุก หลักสูตรระดับปริญญาตรี ทุกรอบ ระยะเวลาตามแผนกาหนดการศึกษา ของหลักสูตร

 2 มีการนาผลจากข้อ 1 มาใช้ในการ ปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียน การสอน การวัดผลการศึกษาและ สัมฤทธิผลทางการเรียนทีส่ ่งเสริม ทักษะอาชีพและคุณลักษณะของ บัณฑิตที่พงึ ประสงค์ ตามความ ต้องการของผู้ใช้บัณฑิต

 3 มีการส่งเสริมสนับสนุนทรัพยากรทั้ง มีการส่งเสริมสนับสนุนทรัพยากรทั้งด้าน ไอซีท.ี 2.7-3-1 ด้านบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ บุคลากรเทคโนโลยีสารสนเทศและ ไอซีท.ี 2.7-3-2 และงบประมาณที่เอื้อต่อการพัฒนา งบประมาณที่เอื้อต่อการพัฒนา คุณลักษณะของบัณฑิต คุณลักษณะของบัณฑิตโดยมีการจัดทา โครงการส่งเสริมสนับสนุนทรัพยากรทั้ง ด้านบุคลากเทคโนโลยีสารสนเทศ  4 มีระบบและกลไกการส่งเสริมให้

มีระบบและกลไกการส่งเสริมให้นักศึกษา ไอซีท.ี 2.7-4-1 นักศึกษาระดับปริญญาตรีและ ระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาเข้า ไอซีท.ี 2.7-4-2 บัณฑิตศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการ ร่วมกิจกรรมการประชุมวิชาการหรือ ประชุมวิชาการหรือนาเสนอผลงาน นาเสนอผลงานทางวิชาการในที่ประชุม ทางวิชาการในที่ประชุมระหว่าง ระหว่างสถาบันหรือที่ประชุมระดับชาติ สถาบัน หรือที่ประชุมระดับชาติหรือ หรือนานาชาติโดยมีการจัดสรรบ นานาชาติ ประมาณ (ไอซีท.ี 2.7-4-1) และมีการ

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา

12


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

มี ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

ปีการศึกษา 2555

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน

เผยแพร่ประชาสัมพันธ์งานประชุม วิชาการ (ไอซีท.ี 2.7-4-2)  5 มีกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมให้แก่นักศึกษาระดับ ปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาที่จดั โดยสถาบัน

มีกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม ไอซีท.ี 2.7-5-1 ให้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี แ ละ บัณฑิตศึกษาที่จัดโดยสถาบันโดยการจัด กิ จ กรรมเสริ ม สร้ า งคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม ได้ แ ก่ โ ครงการค่ า ยจริ ย ธรรมโครงการ พั ฒ น า คุ ณ ธ ร ร ม จ ริ ย ธ ร ร ม ส า ห รั บ นักศึกษา

ผลการประเมินตนเอง เป้าหมาย

ผลดาเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเป้าหมาย(,) เป้าหมายปีถัดไป

4 ข้อ

4 ข้อ

4 คะแนน

4 ข้อ

รายการหลักฐานอ้างอิง ไอซีท.ี 2.7-1-1 ไอซีท.ี 2.7-1-2 ไอซีท.ี 2.7-2-1 ไอซีท.ี 2.7-3-1 การเข้าร่วมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การดาเนินกิจกรรมบนระบบเครือข่าย สารสนเทศและพัฒนาการศึกษา ครั้งที่ 26” (WUNCA26TH & CIT2013&UniNOM2013) ไอซีท.ี 2.7-3-2 เว็บไซต์อีเลิร์นนิ่ง ICT e-Learning SRRU ไอซีท.ี 2.7-4-2 แผ่นพับประชาสัมพันธ์,เอกสารไอยราโพสต์,แฟนเพจและเว็บไซต์สาขา ไอซีท.ี 2.7-5-1 โครงการเสริมสร้างกิจกรรมคุณธรรมจริยธรรมให้แก่นักศึกษา เช่น โครงการไหว้ครู ไอซีที

ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านคุณภาพบัณฑิต (สมศ.) ตัวบ่งชี้ที่ 2.9(สมศ.1) ชนิดของตัวบ่งชี้ เกณฑ์การให้คะแนน ผลการดาเนินงาน

บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี ผลลัพธ์ ใช้บัญญัตไิ ตรยางศ์เทียบ กาหนดร้อยละ 100 เท่ากับ 5 คะแนน

ข้อมูลที่ต้องการ 1. จานวนผู้ตอบแบบสารวจ ทั้งหมด (ฉบับ) 2. จานวนผู้สาเร็จการศึกษาทั้งหมด (คน) -ภาคปกติ

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

จานวน

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา

13


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

ปีการศึกษา 2555

-ภาคพิเศษ (ภาคนอกเวลาราชการ) 3. จานวนผู้สาเร็จการศึกษาที่ได้งานทา 4. จานวนผู้สาเร็จการศึกษาประกอบอาชีพอิสระ 5. จานวนบัณฑิตที่มีงานทาก่อนเข้าศึกษา 6. จานวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 7. เงินเดือนหรือรายได้ต่อเดือน ของผู้สาเร็จการศึกษา ที่ได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระ คานวณได้ดังนี้

จานวนบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

x 100

จานวนบัณฑิตที่ตอบแบบสารวจทัง้ หมด

ร้อยละของบัณฑิตที่มีงานทา หรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี ในภาพรวมของมหาวิทยาลัย = =

(??)  100 (???) 100

= ค่าคะแนนถ่วงน้าหนัก

=

5

=

หลักฐาน การประเมินตนเองปีนี้ เป้าหมายปีนี้ ผลดาเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเป้าหมาย (,) ร้อยละ 80

ร้อยละ..

คะแนน ...

เป้าหมายปีถัดไป ร้อยละ ...

จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม (ถ้ามี) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา

14


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

ตัวบ่งชี้ที่ 2.10 (สมศ.2)

ปีการศึกษา 2555

คุ ณ ภาพของบั ณ ฑิ ต ปริ ญ ญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ ผลลัพธ์ ใช้ค่าเฉลี่ยคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5)

ชนิดของตัวบ่งชี้ เกณฑ์การให้คะแนน ผลการดาเนินงาน มหาวิทยาลัยโดยคณะต่างๆ ได้ดาเนินการเก็บข้อมูลจากบัณฑิตในระดับปริญญาตรีและปริญญาโทที่จบ การศึกษาในปีการศึกษา ............ ได้ข้อมูลดังนี้ ข้อมูลบัณฑิตระดับปริญญาตรี ข้อมูล

จานวน

รวม

จานวนผู้ทสี่ าเร็จการศึกษา จานวนบัณฑิตทีไ่ ด้รับการประเมิน ร้อยละของบัณฑิตทีไ่ ด้รับการประเมิน

ผลการประเมินคุณภาพของบัณฑิตระดับปริญญาตรี ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ ข้อมูล  1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์ตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี รวม

S.D.

ข้อมูลบัณฑิตระดับปริญญาโท ข้อมูล

จานวน

รวม

จานวนผู้ทสี่ าเร็จการศึกษา จานวนบัณฑิตทีไ่ ด้รับการประเมิน ร้อยละของบัณฑิตทีไ่ ด้รับการประเมิน ผลการประเมินคุณภาพของบัณฑิตระดับปริญญาโท ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ ข้อมูล 

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

S.D.

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา

15


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

ปีการศึกษา 2555

1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์ตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี รวม ข้อมูลบัณฑิตระดับปริญญาตรี และโท ข้อมูล

จานวน

รวม

จานวนผู้ทสี่ าเร็จการศึกษา จานวนบัณฑิตทีไ่ ด้รับการประเมิน ร้อยละของบัณฑิตทีไ่ ด้รับการประเมิน ผลการประเมินคุณภาพของบัณฑิตระดับปริญญาตรี และโท ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ ข้อมูล S.D.  1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์ตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี รวม ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (ระดับปริญญาตรีและปริญญาโท) = หลักฐาน การประเมินตนเองปีนี้ เป้าหมายปีนี้ ผลดาเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเป้าหมาย (,) ค่าเฉลี่ย 4.35

ค่าเฉลี่ย ..

คะแนน …

เป้าหมายปีถัดไป ค่าเฉลี่ย …

จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา

16


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

ปีการศึกษา 2555

วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม (ถ้ามี) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ตัวบ่งชี้ที่ 2.11 (สมศ.3) ชนิดของตัวบ่งชี้ เกณฑ์การให้คะแนน ผลการดาเนินงาน

ผลงานของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ผลลัพธ์ ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ กาหนดร้อยละ 50 เท่ากับ 5 คะแนน ทุกกลุ่มสาขาวิชา ข้อมูลพื้นฐาน

ค่าคะแนน ถ่วงน้าหนัก

จานวนผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททั้งหมด (คน) จานวนผลงานของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่มีการเผยแพร่สู่สาธารณะในลักษณะใด ลักษณะหนึ่ง (เรื่อง) (0.25) ได้แก่ -ระบุชื่อเจ้าของบทความ ชื่อวิทยานิพนธ์ หรือสารนิพนธ์ ปีทตี่ ีพิมพ์ ชื่อวารสาร หรือรายงาน สืบเนื่องจากการประชุมวิชาการที่ตีพิมพ์ จานวนผลงานของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททีไ่ ด้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจาก การประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceeding) (เรื่อง) (0.50) ) ได้แก่ -ระบุชื่อเจ้าของบทความ ชื่อวิทยานิพนธ์ หรือสารนิพนธ์ ปีทตี่ ีพิมพ์ ชื่อวารสาร หรือรายงาน สืบเนื่องจากการประชุมวิชาการที่ตีพิมพ์ จานวนผลงานของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททีไ่ ด้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจาก การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceeding) หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ ระดับชาติทไี่ ด้รับ (เรื่อง) (0.75) -ระบุชื่อเจ้าของบทความ ชื่อวิทยานิพนธ์ หรือสารนิพนธ์ ปีทตี่ ีพิมพ์ ชื่อวารสาร หรือรายงาน สืบเนื่องจากการประชุมวิชาการที่ตีพิมพ์ จานวนผลงานของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททีไ่ ด้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการรับ นานาชาติ (เรื่อง) (1.00) -ระบุชื่อเจ้าของบทความ ชื่อวิทยานิพนธ์ หรือสารนิพนธ์ ปีทตี่ ีพิมพ์ ชื่อวารสาร หรือรายงาน สืบเนื่องจากการประชุมวิชาการที่ตีพิมพ์ ผลรวมค่าคะแนนถ่วงน้าหนัก

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา

17


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

ปีการศึกษา 2555

หลักฐาน การประเมินตนเองปีนี้ เป้าหมาย

ผลดาเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเป้าหมาย(,) เป้าหมายปีถัดไป

คะแนน 5 ... คะแนน ... .. คะแนน จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม (ถ้ามี) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ตัวบ่งชี้ที่ 2.12 (สมศ.4) ชนิดของตัวบ่งชี้ เกณฑ์การให้คะแนน

ผลงานของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทีไ่ ด้รบั การตีพิมพ์ (ดาเนินการในปี 2554) ผลลัพธ์ ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ กาหนดร้อยละ 50 เท่ากับ 5 คะแนน

ผลการดาเนินงาน ผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานที่ตพี ิมพ์ของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก x 100

คานวณได้ดังนี้

จานวนผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทั้งหมด

=??? หลักฐาน การประเมินตนเองปีนี้ เป้าหมาย ค่าเฉลี่ย.....

ผลดาเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเป้าหมาย(,) เป้าหมายปีถัดไป ค่าเฉลี่ย.....

.....คะแนน

ค่าเฉลี่ย.....

จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง ................................................................................................................................................................... จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง ........................................................................................................................................................................ วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม (ถ้ามี) ...............................................................................................................................................................

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา

18


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

ปีการศึกษา 2555

ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ทั่วไป คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2 ข้อ มีการดาเนินการ 3 ข้อ มีการดาเนินการ 4 ข้อ มีการดาเนินการ 5 ข้อ ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

 1 มีการกาหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสถาบัน อย่างน้อยครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัย  2 กาหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัยอย่าง ชัดเจนตามประเด็นความรู้ที่กาหนดในข้อ 1  3 มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) เพื่อ ค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีตามประเด็นความรู้ที่กาหนดในข้อ 1 และเผยแพร่ไปสู่บุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่กาหนด  4 มีการรวบรวมความรู้ตามประเด็นความรู้ที่กาหนดในข้อ 1 ทั้งทีม่ ีอยู่ในตัวบุคคลและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ที่ เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็นระบบโดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร (explicit knowledge)  5 มีการนาความรู้ทไี่ ด้จากการจัดการความรู้ในปีการศึกษาปัจจุบนั หรือปีการศึกษาที่ผ่านมา ที่เป็นลายลักษณ์ อักษร (explicit knowledge) และจากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) ที่เป็น แนวปฏิบัตทิ ี่ดีมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง

สรุปผลการดาเนินงาน สาขาวิชาได้มีการกาหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกล ยุทธ์ของมหาวิทยาลัยอย่างน้อยครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัย และจัดทาแผนการ จัดการความรู้ในทุกส่วน ทั้งในเรื่องของแนวทางการพัฒนาคณะสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยใช้ประโยชน์จาก ฐานข้อมูลของคณะและการบริหารจัดการ การสื่อสารที่รวดเร็วผ่านระบบเครือข่าย เน้นการพิจารณาร่วมของ ทุกฝ่ายในการกาหนดและจัดทาแผน ในการพัฒนาสาขาวิชา แผนการพัฒนานักศึกษา ตลอดจนแผนในการ ให้บริหารชุมชนต่างๆ มีการกากับดูแลการดาเนินตามแผนงานโครงการให้ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพใน รูปแบบของคณะกรรมการดูแลการรายงานผลการปฏิบัติงานโครงการให้เป็นไปตามระบบตลอดจนทาผลการ ประเมินงานมาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาสาขาวิชาในลาดับต่อไป ผลการประเมินตนเอง เป้าหมาย 2 ข้อ

ผลดาเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเป้าหมาย(,) เป้าหมายปีถัดไป 1 ข้อ

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

1 คะแนน

5 ข้อ

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา

19


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

ปีการศึกษา 2555

รายการหลักฐานอ้างอิง ไอซีท.ี 7.2.1.1 ไอซีท.ี 7.2.2.1 ไอซีท.ี 7.2.3.1 เว็บไซต์การดาเนินการด้าน KM ของสาขาวิชา ไอซีท.ี 7.2.3.1 คู่มือการใช้ระบบอีเลิร์นนิ่ง (Moodle) สาขาวิชา

องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ (สกอ.) ตัวบ่งชี้ที่ 9.1

ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

ชนิดของตัวบ่งชี้

กระบวนการ

เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ หรือ 3 ข้อ

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

คะแนน 3 คะแนน 4 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 4 ข้อ หรือ 5 ข้อ หรือ 7 หรือ 8 ข้อ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 9 ข้อ

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา

20


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์มาตรฐาน  1 มีระบบและกลไกการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในที่ เหมาะสม และสอดคล้องกับพันธ กิจและพัฒนาการของสถาบัน ตั้งแต่ระดับภาควิชา หรือ หน่วยงานเทียบเท่า และ ดาเนินการตามระบบที่กาหนด

ปีการศึกษา 2555

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน

สาขาวิชาให้ความสาคัญกับการประกัน คุณภาพภายในคณะ โดยได้ดาเนินการพัฒนา ระบบการประกัน คุณ ภาพการศึกษาภายใน คณะมาอย่างต่อเนื่อง มีการตั้งคณะกรรมการ ดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มี การประชุ ม คณะกรรมการด าเนิ น งานเพื่ อ พัฒนางานประกันคุณภาพภายในคณะอย่าง ต่อเนื่อง ประชุมทีมบริหารงานขอสาขาวิชา และประชุ ม คณะกรรมการประจ าสาขาเพื่ อ พิจารณางานการประกันคุณภาพ

ไอซีที.9.1-1-1 คาสั่งแต่งตัง้

 2 มี ก ารก าหนดนโยบายและให้ มีการกาหนดนโยบายด้านการประกัน ความส าคั ญ เรื่ อ งการประกั น คุณภาพ โดยกาหนดไว้ในแผนยุทธศาสตร์ ให้ คุณภาพการศึกษาภายใน โดย สอดคล้องกับยุทธศาสตร์คณะปี 2554-2558 คณะกรรมการระดั บ นโยบาย และผู้บริหารสูงสุดของสถาบัน

มี ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

คณะกรรม การดาเนินงาน พัฒนาคุณภาพและเขียน รายงานการประกัน คุณภาพการศึกษา ปีการ ศึกษา 2554 ไอซีที.9.1-1-2 ระบบและ แนวทางการประกันคุณภาพ ฯ สาขาวิชา ไอซีที.9.1-2-1 แผน ยุทธศาสตร์คณะปี 25542558 ไอซีที.9.1-2-2 บันทึกการ ประชุมเตรียมการรับการ ตรวจประเมินคุณภาพ การศึกษาภายใน

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน

 3 มี ก ารก าหนดตั ว บ่ ง ชี้ เ พิ่ ม เติ ม ตามอัตลักษณ์ของสถาบัน

-

 4 มีการดาเนินงานด้านการประกัน คุ ณ ภา พ กา ร ศึ ก ษ าภ า ยใ น ที่ ครบถ้วน ประกอบด้วย1) การ ควบคุม ติดตามการดาเนินงาน และประเมินคุณภาพ 2) การ จั ด ท ารายงานประจ าปี ที่ เ ป็ น รายงานประเมินคุณภาพเสนอต่อ ส ภ า ส ถ า บั น แ ล ะ ส า นั ก ง า น คณะกรรมการการอุดมศึกษาตาม กาหนดเวลา โดยเป็นรายงานที่มี ข้อมู ล ครบถ้ ว นตามที่ ส านั ก งาน คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา กาหนดใน CHE QA Online

ไอซีที.9.1-4-1 หน้า

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

21

สาขาวิชามีการดาเนินการด้านการ ประกันคุณภาพตามนโยบายของมหาวิทยาลัย โดยเข้าร่วมการจัดทาแผนพัฒนาและปรับปรุง คุณภาพการศึกษาปี พ.ศ. 2554 ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรนิ ทร์ มีการกาหนดแนวทางการการดาเนินการ ประกันคุณภาพการศึกษา โดยมี คณะกรรมการฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา เป็นผู้กากับติดตาม รวมทั้งมีการกาหนดผู้ กากับตัวบ่งชี้เพื่อรวบรวมหลักฐานการ ดาเนินงานของแต่ละองค์ประกอบและมีการ ดาเนินการจัดทารายงานประเมินคุณภาพทั้ง ในระดับคณะและระดับสาขา และเผยแพร่

เว็บไซต์งานประกัน คุณภาพการศึกษาระดับ สาขาวิชา ไอซีที.9.1-4-2 การเข้าร่วม ประชุมการพัฒนาระบบฐาน ข้อมูล ไอซีที.9.1-4-3 คู่มือ

รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับสาขา

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

ปีการศึกษา 2555

22

และ 3) การนาผลการประเมิน เปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชน คุ ณ ภาพไปท าแผนการพั ฒ นา คุณภาพการศึกษาของสถาบัน  5 มีการน าผลการประกัน คุณ ภาพ การศึกษาภายในมาปรับปรุงการ ทางาน และส่งผลให้มีการพัฒนา ผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของ แผนกลยุทธ์ทุกตัวบ่งชี้

มีการนาผลการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมาพิจารณาโดยร่วมกับมหาวิ ทยาลั ย จัดทา แผนปรับปรุงคุณภาพการศึกษาปี พ.ศ. 2554 และนาข้อมูลที่ได้มาปรับปรุงการ ดาเนินร่วมกับคณะ

ไอซีที.9.1-5-1 คู่มือ/แนว ทางการดาเนินงานประกัน คุณภาพการศึกษา สาขาวิชา ปีการศึกษา 2554 ไอซีที.9.1-5-2 บันทึกการ ประชุมณะกรรมการประกัน คุณภาพฯ

 6 มี ร ะบบสารสนเทศที่ ใ ห้ ข้ อ มู ล มี การน าระบบสารสนเทศตามแนวทาง สนั บ สนุ น การประกั น คุ ณ ภาพ ของมหาวิทยาลัยได้แก่ ระบบที่นามาใช้ในการ การศึกษาภายในครบทั้ง สนั บ สนุ น การท าประกัน คุณ ภาพการศึ กษา 9 องค์ประกอบคุณภาพ รวมถึงมีการใช้ระบบCHE QA ตามรูปแบบ ของคณะกรรมการการอุดมศึกษา ตลอดจน การใช้เว็บ ไซต์ของคณะฯเพื่อเผยแพร่ข้อมู ล ด้านการประกันคุณภาพ

ไอซีที.9.1-6-1 ระบบ CHE

 7 มีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการประกันคุณภาพการศึกษา โดยเฉพาะนักศึกษา ผู้ใช้บัณฑิต และผู้ ใช้ บริการตามพัน ธกิจของ สถาบัน

ไอซีที.9.1-7-1 คาสั่ง แต่งตั้งคณะกรรมการ

มีการแต่งตั้งคณะ กรรมการด้านการ ประกันคุณภาพโดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมใน การรับการตรวจประเมินภายในของคณะและ ร่วมสังเกตการประเมินคุณภาพในระดับ สาขาวิชา

QA Online ไอซีที.9.1-6-2 เว็บไซต์

สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศและสื่อสาร การศึกษา

ดาเนินงานพัฒนาคุณภาพ และเขียนรายงานการ ประกันคุณภาพการศึกษา ปีการ ศึกษา 2555

 8

มีเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการจัดทาโครงการเครือข่ายการประกัน ด้านการประกันคุณภาพ คุณภาพ ด้านหลักสูตร ระหว่างนักศึกษาคณะ การศึกษาระหว่างสถาบันและมี ศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กิจกรรมร่วมกัน

 9 มีแนวปฏิบัติที่ดีหรืองานวิจัยด้าน การประกัน คุณ ภาพการศึกษาที่ หน่วยงานพัฒนาขึ้น และเผยแพร่ ให้หน่วยงานอื่นสามารถนาไปใช้ ประโยชน์

-

ไอซีที.9.1-8-1 การเข้าร่วม อบรมการใช้งานระบบ ฐานข้อมูลด้านประกัน คุณภาพ ด้านหลักสูตร -

ผลการประเมินตนเอง เป้าหมาย

ผลดาเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเป้าหมาย(,) เป้าหมายปีถัดไป

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

9 ข้อ

7 ข้อ

4 คะแนน

ปีการศึกษา 2555

9 ข้อ

รายการหลักฐานอ้างอิง คาสั่งแต่งตัง้ คณะกรรม การดาเนินงานพัฒนาคุณภาพและเขียนรายงานการประกันคุณภาพ การศึกษา ปีการ ศึกษา 2554 ไอซีที.9.1-1-2 ระบบและแนวทางการประกันคุณภาพฯ สาขาวิชา ไอซีที. 9.1-2-1 แผนยุทธศาสตร์คณะปี 2554-2558 ไอซีที. 9.1-2-2 บันทึกการประชุมเตรียมการรับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ไอซีที. 9.1-4-1 หน้าเว็บไซต์งานประกันคุณภาพการศึกษาสาขาวิชา ไอซีที. 9.1-4-2 การเข้าร่วมประชุมการพัฒนาระบบฐาน ข้อมูล ไอซีที. 9.1-4-3 คู่มือรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับสาขา ไอซีที.9.1-5-1 คู่มือ/แนวทางการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา สาขาวิชา ปีการศึกษา 2554 ไอซีที.9.1-5-2 บันทึกการประชุมณะกรรมการประกันคุณภาพฯ ไอซีที. 9.1-6-1 ระบบ CHE QA Online ไอซีที. 9.1-6-2 เว็บไซต์สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา ไอซีที. 9.1-7-1 คาสั่งแต่งตัง้ คณะกรรมการดาเนินงานพัฒนาคุณภาพและเขียนรายงานการประกันคุณภาพ การศึกษา ปีการ ศึกษา 2555 ไอซีที. 9.1-8-1 การเข้าร่วมอบรมการใช้งานระบบฐานข้อมูลด้านประกันคุณภาพ ด้านหลักสูตร ไอซีที.9.1-1-1

ตัวบ่งชี้พื้นฐาน ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน (สมศ.) ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 (สมศ. 15)

ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยต้นสังกัด

ชนิดของตัวบ่งชี้ เกณฑ์การให้คะแนน

ผลลัพธ์ ใช้คะแนนประเมินการประกันคุณภาพภายในของปีการศึกษาก่อนหน้าปีที่ ประเมิน (คะแนนเต็ม 5)

ผลการดาเนินงาน ปีการศึกษา 2554 สาขาวิชา มีผลการประกันคุณภาพภายในจากคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ภายใน ตามแบบบันทึกการประเมินระบบและกลไลการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยราช ภัฏสุรินทร์ ประจาปีกาคศึกษา 2554 (รอบที่ 2) ณ วันที่ 26 กรกฏาคม 2555 คณะกรรมการทีม 2 คานวณได้ดังนี้

ผลรวมคะแนนประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโดยต้นสังกัด จานวนปี

ผลการประเมินตนเอง เป้าหมาย

ผลดาเนินงาน

คะแนนการประเมินตนเอง

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

บรรลุเป้าหมาย(,)

เป้าหมายปีถัดไป

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา

23


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

4 คะแนน

-

ปีการศึกษา 2555

-

-

รายการหลักฐานอ้างอิง หมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน ไอซีท.ี สมศ.15- รายงานผลการประกันคุณภาพภายใน สาขาวิชา ประจาปี 2554 (รอบที่ 2) 01

องค์ประกอบที่ 11 อัตลักษณ์และเอกลักษณ์มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ตัวบ่งชี้ที่ 16.1 ผลการบริหารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์ การดาเนินกิจกรรม/โครงการเพือ่ เสริมสร้างคุณธรรมนาความรูส้ ู่สัมมาชีพของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ชนิดของตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 ปฏิบัติได้ 1 ข้อ

ผลลัพธ์ คะแนน 2 ปฏิบัติได้ 2 ข้อ

ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ ประเด็นการพิจารณา

คะแนน 3 ปฏิบัติได้ 3 ข้อ

ผลดาเนินงาน

คะแนน 4 ปฏิบัติได้ 4 ข้อ

คะแนน 5 ปฏิบัติได้ 5 ข้อ

หลักฐาน

 1 มีการกาหนดกลยุทธ์และแผนการ ปฏิบัติงานทีส่ อดคล้องกับอัต ลักษณ์ของสถาบัน โดยได้รับการ เห็นชอบจากสภาสถาบัน  2 มีการสร้างระบบการมีส่วนร่วมของ ผู้เรียนและบุคลากรในการปฏิบตั ิ ตามกลยุทธ์ที่กาหนดอย่างครบถ้วน สมบูรณ์  3 ผลการประเมินความเห็นของ ผู้เรียนและบุคลากรเกี่ยวกับการ ปฏิบัติงานของสถาบันที่สอดคล้อง กับอัตลักษณ์ไม่ตากว่ ่ า 3.51 จาก คะแนนเต็ม 5  4 ผลการดาเนินงานก่อให้เกิด ผลกระทบที่เป็นประโยชน์และ/ หรือสร้างคุณค่าต่อสังคม

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา

24


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

ปีการศึกษา 2555

มี ข้อ

หลักฐาน

ประเด็นการพิจารณา

ผลดาเนินงาน

 5 ผู้เรียน/บุคลากร/คณะ/สถาบัน ได้รับการยกย่องในระดับชาติและ/ หรือนานาชาติ ในประเด็นที่ เกี่ยวกับ อัตลักษณ์

การประเมินตนเองปีนี้ เป้าหมาย

ผลดาเนินงาน

คะแนนการประเมิน ตนเอง

5 ข้อ

... ข้อ

คะแนน ...

บรรลุเป้าหมาย (,)

เป้าหมายปีถัดไป … ข้อ

จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง .................................................................................................................................................................. จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง .................................................................................................................................................................. วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม (ถ้ามี) ..................................................................................................................................................................

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา

25


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

ปีการศึกษา 2554

ส่วนที่ 3 สรุปผลการประเมิน สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ได้ดาเนินงาน ในรอบปีการศึกษา 2554 โดยมีผลการประ เมินตนเองในแต่ละองค์ประกอบตามที่ กล่าวไว้ในส่วนผลการ ดาเนินงาน เมื่อพิจารณาในภาพรวมพบว่า ผลการดาเนินงานตามเกณฑ์การประเมินของ สกอ.อยู่ในระดับดี (คะแนนเฉลี่ย 3.80) จาแนกผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ดังตาราง ตัวบ่งชี้คุณภาพ ตัวบ่งชี้ 2.1 ตัวบ่งชี้ 2.6 ตัวบ่งชี้ 2.7 ตัวบ่งชี้ 2.9 (สมศ.1) ตัวบ่งชี้ 2.10 (สมศ.2) ตัวบ่งชี้ 2.11 (สมศ.3) ตัวบ่งชี้ 2.12 (สมศ.4) ตัวบ่งชี้ 7.2 ตัวบ่งชี้ 9.1 ตัวบ่งชี้ 9.2 (สมศ.15) ตัวบ่งชี้ 16.1

เป้าหมาย

ผลดาเนินงาน

คะแนน การประเมินตนเอง

บรรลุ

4 6 4

4 6 4

4 4 4

/ / /

2 7

1 4

1 4

X /

ผลการประเมิน

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

3.80

สาขาเทคสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา

29


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.