HIP MAGAZINE ISSUE 100 : FEBRUARY 2013 (SECTION B)

Page 1




editorial: Vol.09 No.100 February 2013

ในความรักมีเสรีภาพ ฉบับทีแ่ ล ้ว สวัสดีปีใหม่ กันไป มาถึงฉบับนี้ ก็เลยเอ่ยสวัสดีเทศกาลแห่งความรักกันสักหน่อย เผือ่ โลกจะกลายเป็ นสีชมพูวววว์กบั เขาบ้าง พูดถึงเรื่องความรัก มักมีการเปรียบเปรยเอาไว้วา่ ทัง้ ขม และหวาน บ้างก็วา่ น�ำมาทัง้ ความสุข และความเศร้า อะไรๆ ก็เกิดขึ้น และดับไปได้ ด้วยความรักเป็ นเหตุ และเจ้าความรักตัวดีน่อี กี เหมือนกัน ทีอ่ ยู่เบื้องหลังการขับเคลือ่ นของทุกกิจกรรมบนพื้นโลก - โลกหมุนด้วยความรัก เมือ่ มีความรักเกิดขึ้นแล ้ว ขัว้ ตรงข้ามของรัก ก็น่าจะเป็ นความเกลียด ความเกลียดชัง น�ำพามาซึง่ สิง่ ต่างๆ และมีอำ� นาจท�ำลายล ้าง ได้เหมือนกับความรักเป๊ ะ! น่าสงสัยใช่มยั้ คะว่า เหตุใดขัว้ ตรงข้ามความรูส้ กึ ทีเ่ ปรียบเหมือนขาวกับด�ำนี้ จึงมีผลของปฏิบตั กิ ารเหมือนกัน เหล่านี้เราเห็นว่ามีทม่ี าจากความรูส้ กึ ล ้วนๆ ค่ะ ตราบใดทีเ่ รายังใช้อารมณ์อยู่เหนือเหตุผล ไม่วา่ จะรักหรือเกลียดก็ทำ� ให้ตาบอดได้ทงั้ นัน้ เมือ่ ตาบอดแล ้ว เราก็จะมองไม่เห็นสิง่ ใด จากนัน้ จินตนาการจะมีบทบาทมากกว่าความรูข้ ้นึ มาทันที โดยมากมนุษย์เรา มักจะมีความเห็นเข้าข้างความเชื่อของตัวเองอยู่แล ้ว เชื่ออย่างไร ก็อยากจะให้ความจริงมุง่ ไปทางนัน้ โดยลืมมององค์ประกอบรายรอบ ว่าโลกมีหลายมุม กระจกมีหลายด้าน ความคิดเห็นอันแตกต่าง จึงมักได้รบั การปฏิเสธ เมือ่ คิดว่าไม่ใช่ ก็คอื ผิด เมือ่ ผิดแล ้ว ก็อยากจะท�ำให้ถกู ต้อง อย่างทีใ่ จตัวเองคิด ฟังดูเป็ นความสัมพันธ์อนั ซับซ้อนนะคะ แต่จริงๆ แล ้วเรื่องนี้แก้งา่ ยมาก ด้วยการเปิ ดใจค่ะ ในเมือ่ เรามีความคิด ความเชื่อแบบหนึ่งได้ หมายความว่าคนอืน่ มีสทิ ธิ์ทจ่ี ะคิดและเห็นแบบเราได้เช่นกัน แม้จะเห็นต่างกันไปอย่างสุดขัว้ แต่เขาก็มสี ทิ ธิ์ได้เท่าๆ กับเรามี ทุกความรักมีเสรีภาพ และในเสรีภาพควรมีความเคารพเป็ นองค์ประกอบ เคยมีใครบอกว่า หากก�ำทรายไว้ในมือแน่นไป ในทีส่ ุดเม็ดทรายก็จะเล็ดลอดออกจนหมด ไม่สามารถเก็บก�ำไว้ได้เลย แต่ถา้ ถือไว้ในมือเฉยๆ ไม่บบี รัด ปล่อยให้อยู่อย่างนัน้ ไปแบบสบาย-สบาย ทรายก็จะยังคงอยู่ในมือไปอีกนานค่ะ ชลธิดา พระเมเด หัวหน้ากองบรรณาธิการ ปล. เดือนนี้มกี ิจกรรมน่ าสนใจมาน�ำเสนอกันเพียบเลยค่ะ ทัง้ เทศกาลภาพยนตร์ และงานศิลปะดีๆ ให้ไปเสพกัน และข่าวดีสำ� หรับ คุณพ่อคุณแม่ รวมทัง้ หนู ๆ วัยเยาว์ให้ไปร่วมสนุกกับการกลับมาของเทศกาลนิทานในสวน (ดูรายละเอียดได้ทห่ี น้าถัดไปนะคะ)

Contents: Report 06 Special 08 Siam Music 18 Music 20 Classic Album 22 Music Scoop 26 Movie 27 Japan Film 30 Art 32

08 special

NO SIGNAL INPUT 10 ปีบนเส้นทางดนตรีอิสระ ในวาระครบ 10 ปีของกลุ่มนักดนตรีอิสระแห่งตำ�บลสุเทพ อย่าง No Signal Input เราจึงจัดบทสัมภาษณ์พวกเขาชุดใหญ่ ถึงความพิเศษในวาระครบรอบ และก้าวต่อไปของพวกเขา



REPORT


พาไปมันกันให้สุดกับ Jive Garden Super 7 เข้าสู่ปีใหม่เมือ่ ใด หลายคนเป็ นต้องถามกันว่าปี น้ ีไป Jive Garden มัย้ ? งานมันๆ ประจ�าปีแบบนี้จะพลาดได้ไง ถามมาได้!!! ไปชัวร์อยูแ่ ล ้ว ยิง่ ใกล ้วันยิง่ ตืน่ เต้น จัดการเรื่องบัตรเข้างานพร้อมสรรพ ก็เหลือแต่ท่พี กั ละทีน้ ี แต่อนั ที่จริงนาทีนนั้ เรือ่ งนอนไม่ใช่ปญั หา เพราะงานนี้เขาว่ากันยันสว่าง แถมเพือ่ นฝูงคนรูจั้ กก็ไปกันให้เพียบ ถึงไม่มที ซ่ี ุกหัวนอนเป็ นของตัวเองจริงๆ เพือ่ นกันคงไม่ใจร้ายให้เรานอนกลางดิน กินกลางทรายหรอกน่า ว่าแล ้วก็เก็บกระเป๋ าโลด!!! ระหว่างทางไปปายนัน้ ก็สุดแสนชิลล์เช่นเคย แวะพักรถกันตรงไหน เป็ นต้อง เจอคนรูจ้ กั บ้างก็ขบั รถยนต์ไป บ้างก็ขม่ี อเตอร์ไซค์ ทัง้ บิก๊ ไบค์ ทัง้ เวสป้ า มากันอย่าง คึกคัก บางคนไม่เห็นหน้ากันมานานก็มาเจอกันในงานนี้ละ่ เจอคนรูจ้ กั มากๆ เข้า ก็รสึู ้ กเหมือนวันรวมญาติ เพียงแต่ไม่ใช่ญาติพน่ี อ้ งร่วมสายเลือด แต่เป็นญาติทางรสนิยม ชืน่ ชอบความสนุกเหมือนกัน งานนี้เลยไม่มคี า� ว่าเหงา มาถึงปายแล ้วเอาข้าวของไปแปะไว้กบั เพือ่ นทีเ่ ขามีหอ้ งก่อน แล ้วก็มงุ่ หน้าไป ร่ ว มรณรงค์ข บั ขี่ป ลอดภัย สวมใส่ ห มวกกัน น็ อ คแบบเมาไม่ ข บั กับ ชาวแก็ ง ค์ มอเตอร์ไซค์ท่ีมากันทัง้ เวสป้ า, ไทรอัมพ์ เกือบร้อยคันที่พร้อมใจขี่ข้ ึนมาปาย เพือ่ ร่วมงาน Jive โดยเฉพาะ ต่อด้วยไปปลูกต้นนางพญาเสือโคร่งทีว่ ดั ป่ าเมืองปาย ก่อนจะพบความสนุกของค�า่ คืนนี้ทบ่ี รุ ะล�าปาย รีสอร์ท และแล ว้ ช่ ว งเวลาที่ทุก คนรอคอยก็ ม าถึง โดยงานนี้ ไ ด้ร บั เกี ย รติจ าก ผูว้ า่ ราชการจังหวัดแม่ฮ่องสอน มาเป็ นประธานเปิ ดงาน เสร็จพิธที างการก็ได้เวลา ระเบิดความมัน ได้ยนิ ว่างานนี้มผี ูเ้ ข้าชมกว่า 8 พัน คน ความหนาแน่นขนาดนี้ทา� ให้ บรรยากาศที่คิดว่าหนาวเหน็ บกลับอุ่นขึ้นมาทันที บนเวที Warmup Stage เริ่มต้นความสนุกกับวงสามบาทห้าสิบ ทีง่ านนี้ทงั้ มันและฮาแบบเต็มที่ อุ่นเครื่องกัน

แล ้วก็ได้กรีด๊ กันต่อกับเพลงมันๆ และสีสนั จาก DJ เหน่งน้อย งานนี้พเ่ี ขามาเต็ม! กับชุดยอดมนุษย์พร้อมลูกสมุนทีม่ าเสิรฟ์ ความสนุกให้ผู ้ชมเพิม่ ระดับความมันขึน้ ไปอีก ระหว่างก�าลังสนุ กอยู่กบั เพลงตื้ดๆ ของดีเจเหน่งน้อยอยู่นนั้ มีอนั ต้องรีบ วิง่ ไปเวที Warmup on the Rock Stage เพราะศิลปิ นขวัญใจอย่าง Greasy Cafe ก�าลังขึ้น กว่าจะฝ่ าฝูงคนหลายพันมาถึงหน้าเวทีก็หอบแฮ่ก แต่คุม้ ! เพราะพีเ่ ล็ก เขาจัดเพลงฮิตมาก�านัลแฟนๆ เกือบสิบเพลง ดูจบว่าจะกลับเข้าเวทีใหญ่ไปจองแถวหน้า เหมือนเดิม แต่ดว้ ยความแน่นขนัดของผูค้ นที่กา� ลังสนุ กกับเพลงของแสตมป์ อยู่ เราเลยได้แค่ยนื ดูอยู่ไกลๆ อาศัยมองภาพหลังจอมอนิเตอร์ของช่างเครื่องแก้ขดั ไปก่อน จบการแสดงของแสตมป์ แลว้ ก็ลองโฉบไปทางโซนแดนซ์กนั บ้าง กับเวที Lounge Stage เหล่าดีเจก�าลังผลัดกันขึ้นให้ความบันเทิงกับขาแดนซ์ได้เต้น กัน สุ ด เหวี่ย ง ทางด้า นนี้ ส่ ว นมากจะเป็ น นัก ท่ อ งเที่ย วต่ า งชาติม าจับ จองพื้น ที่ วาดลวดลายกัน รวมทัง้ กลุ่มนักท่ องเที่ยวชาวไทยที่ไม่อยากถือแก้วให้เ มื่อย เพราะเขาจัดโต๊ะให้วางขวดวางถังน�า้ แข็งกันอย่างสะดวก ด้วยความทีง่ านในปี น้ มี ถี งึ 3 เวที เลยต้องพึง่ พาแฮนด์บคุ๊ ทีไ่ ด้รบั แจกตัง้ แต่ ก่อนงานเริ่มมาเป็ นไกด์นา� เทีย่ ว อยากดูวงไหนบ้างก็ตอ้ งมาร์คเอาไว้เลย แต่ทส่ี า� คัญ กว่านัน้ คือต้องรีบวิ่งไปให้ทนั ด้วยนะ ถ้าไม่อยากพลาดความสนุ กกับวงที่ชอบ แม้จะเหนื่อยจากการต้องวิง่ ไปวิง่ มาหลายเวที แต่ก็ไม่ได้ทา� ให้ความสนุ กของงาน Jive Garden ลดลงจากเดิม เพราะขณะก�าลังติดลมกับเสียงดนตรีจากดีเจเวที Lounge Stage อยู่นนั้ งานเลี้ยงก็มอี นั ต้องเลิกรา เพราะตีสามกว่าเข้าให้แลว้ จนได้แต่บอกตัวเองว่าปี หน้ายังมี แต่ถ ้ารอไม่ไหว Warm Up ก็ยงั มีความสนุกแบบนี้ ให้เสพกันทุกคืนน่า...


:8


NO10 ปSIGNAL INPUT บนเสนทางดนตรีอิสระ เรื่อง: ªล¸ิ´Ò ÀÒ¾: ªÑย¾Ã/ÀÕ¤เดª

10 ปีสา� หรับบางคนอาจเห็นว่านาน แต่สา� หรับสิง่ ทีร่ กั ราวกับเพิง่ เกิดขึน้ เมือ่ วาน การคงอยูข่ อง No Signal Input น่าจะสะท้อนถึงสิง่ เหล่านีไ้ ด้ดี กลุม่ นักดนตรีตา� บลสุเทพ (พวกเขาเรียกตัวเองว่าอย่างนัน้ !!!) เหล่านี้ คงคุน้ หน้า คุน้ ตา และคุน้ หูผอู้ า่ น HIP กันดีอยูแ่ ล้ว ฉะนัน้ เราคงจะไม่เท้าความถึงความเป็นมาของกลุม่ นีใ้ ห้มากความ (ใครอยากรู้ ประวัตแิ บบละเอียดเข้าไปติดตามในเฟซบุค พวกเขาได้ facebook.com/nosignalinput) แต่ เ หตุ ข องการสัม ภาษณ์ ค รั้ง นี้ มี อ ยู่ ว่ า No Signal Input มีอายุครบ 10 ปีพอดี และในเดือนนี้ พวกเขาก�าลังจะมีคอนเสิรต์ ใหญ่ ในวันที่ 17 ก.พ. ณ หอศิลป์ มช. ไม่ใช่เรื่องง่ายทีใ่ ครจะท�าอะไรมานานถึง 10 ปี โดยยังคงสนุกกับสิง่ นัน้ อยู่ ถ้าคุณไม่รกั มันเข้าจริงๆ และ No Signal Input เป็ นแบบนัน้ พวกเขารักที่จะเล่นดนตรี และรักที่จะอยู่กนั เป็ นกลุม่ ก้อนแบบนี้ แม้ศิลปิ นบางวงจะออกจากกลุม่ ไปเติบโตด้วยตัวเอง หรือแม้แต่ไปเติบโตกับคนอื่น แต่มติ รภาพระหว่างเพือ่ นทีร่ กั ในสิง่ เดียวกันยังคงอยู่ และเราจะได้ส ัม ผัส ถึ ง ความผู ก พัน ของ No Signal Input ได้ในคอนเสิรต์ ใหญ่ของพวกเขา ที่แอบได้ยินมาว่ามีถึงสิบกว่าวง รวมกันมา

ตัง้ แต่รุ่นแรกจนถึงรุ่นปัจจุบนั อะไรท�า ให้ก ลุ่ ม ก้อ นดนตรี ก ลุ่ ม นี้ อยู่ ก ัน อย่างเหนียวแน่นขนาดนี้ อะไรทีท่ า� ให้พวกเขาเติบโตมาจนสู่ปีท่ี 10 และ ทิศทางต่อไปของกลุ่มดนตรีอิสระที่หลายคนบอกว่า เป็ นความหวังของวงการดนตรีอนิ ดี้เมืองไทย ผู ้ทีน่ ่าจะตอบได้ดีทส่ี ดุ คงจะเป็ น สุเมธ ยอดแก้ว ด้านหนึ่งเขาคือมือกีตาร์วง Migrate to the Ocean และท�าเพลงของตัวเองในชือ่ Etaba Majaros ซึง่ นับเป็ น สมาชิกรุ่น 2 ของ No Signal Input แต่ในอีกด้านหนึ่ง สุเมธ อยู่ในฐานะหัวเรือใหญ่ ของกลุม่ ฯ ผู ม้ ี บ ทบาทส�า คัญ ในการทั้ง ผลัก และดัน ให้ No Signal Input เดินมาจนถึงจุดนี้ :9


สุเมธ ยอดแก้ว มือกีตาร์วง Migrate to the Ocean / Etaba Majaros และหัวเรือใหญ่ของกลุ่ม No Signal Input

แค่รา่ งทรงร่างหนึ่ ง ในสายตาหลายคน อาจมองว่าเขาคือผูก้ มุ หางเสือเรือดนตรีลำ� นี้ แต่สำ� หรับ สุเมธ เขามองว่าตนเองเป็ นเพียง ‘ร่างทรง’ เพราะก่อนหน้าทีเ่ ขาจะเข้ามาร่วมด้วย ใน No Signal Input 2 เมือ่ 5 ปี ทแ่ี ล ้ว กลุม่ ดนตรีน้ ไี ด้เกิดขึ้นอยู่ก่อนแล ้ว และ สมาชิก ในตอนนัน้ หลายคนก็ ย งั คงมาร่ ว มท�ำ เพลงกัน ในอัล บัม้ ต่ อ ๆ มาของ No Signal Input ด้วยจุดเริ่มต้นของไอเดียเดียวกัน คือ สร้างพื้นทีใ่ ห้นกั ดนตรีใน เชียงใหม่ได้นำ� เสนอดนตรีของตัวเองอย่างอิสระ บวกกับเหตุผลที่ เด๋อ (เด๋อด๋ามิสยู) บอกว่า No Signal Input ไม่ใช่ของใคร แต่เป็ นของทุกคน ชือ่ นี้จงึ กลายเป็ นตัวแทน ของกลุม่ นักดนตรีอสิ ระ ประจ�ำต�ำบลสุเทพมาตัง้ แต่ตอนนัน้ โดยมี สุเมธ รับหน้าที่ เป็ นผูด้ ูแล “ก็เหมือนขึ้นหลังเสือน่ะ คือเราสร้างมาอย่างนี้ แล ้วโนฯ สอง ก็โอเคระดับนึง โนฯ สาม กลุม่ ก็ขยายกว้างขึ้น ถ้าจะปล่อยให้นอ้ งๆ ท�ำกันเอง หนึ่งนะก็จะกลายว่า เป็ นห่วง ว่าทีพ่ วกกูทำ� มาตัง้ นานจะเป็ นยังไงว่ะ จะมาเสียเพราะพวกมึงรึเปล่า (ฮ่าๆ) สุดท้ายก็ตอ้ งเข้ามาดูหน่อยนึง ดูไปสักพัก ก็กลายเป็ นว่าต้องเข้ามาดูอกี ตอนแรก เคยคิดว่าห่างไปเลยแล ้วให้นอ้ งพวกโนฯ สามเป็ นเฮดเลย แต่ดูๆ แล ้ว ก็มานึกย้อน ตอนเราท�ำโนฯ สองเราก็อายุ 25-26 ตอนนี้เด็กอายุ 21-22-23 ซึง่ บางทีวุฒภิ าวะ อาจจะยังไม่พอในการจัดการ ผมก็เลยต้องมาช่วยดู แต่กลายเป็ นว่ากูตอ้ งมาเหนื่อย กับพวกมึงอีก (ฮ่าๆ) แลว้ ท�ำท�ำไมก็ยงั ถามตัวเอง สุดท้ายก็ตอบได้อย่างเดียวว่า หนึ่งก็ชอบอยู่แลว้ เข้าประเด็นเดิมก็คอื อยากให้นอ้ งๆ ได้เล่นดนตรี สองคือกลัว เสียชื่อ (ฮ่าๆ) สามคือเมือ่ ไปท�ำแล ้วเรารูจ้ กั คนเยอะขึ้น แล ้วมันสนุก พอเราได้เจอ พวกน้องๆ บางทีกไ็ ด้มุมมองอะไรใหม่ๆ เยอะ ในเมือ่ เรามีโอกาสท�ำ เรายังแฮปปี้กนั อยู่ เราก็ทำ� ไป” “เพราะจริงๆ แล ้ว โนฯ ไม่ใช่ของใครคนใดคนหนึ่ง เป็ นการรวมของคนทีค่ ดิ ทีช่ อบเหมือนกันมากกว่า เพราะถ้าคิดว่าจะหาเงินตัง้ แต่แรก ท�ำมาถึงตอนนี้กค็ งรวย ไปแล ้วล่ะ แต่พวกเราดันไม่คดิ ว่าจะต้องเงินจากการเล่นดนตรีตงั้ แต่แรกไง แล ้วให้ กลับไปคิดเรื่องนัน้ ตอนนี้ ก็ไม่ได้แล ้ว เพราะว่าเสน่หม์ าจากตรงนัน้ ก็เลยไปเปลีย่ น :10

ไม่ได้ อย่างพีข่ ลุย่ (นักร้องน�ำวง Migrate to the Ocean) ยังถามเราว่า เมธท�ำไม มึงไม่ทำ� โนฯ เป็ นค่ายวะ หาตังค์ได้ดว้ ยนะเว้ย ผมก็บอกว่า ไม่ได้พ่ี คุยกันกับเด๋อ ตัง้ แต่แรกตอนจะใช้ช่อื แล ้วว่าโนฯ ไม่ใช่ของใคร ก็ตอ้ งคิดแบบนี้ไปเรื่อยๆ แหละ พีข่ ลุย่ ก็บอก เชี่ย! ขอบคุณมากเลย กูได้ยนิ แบบนี้กส็ บายใจแล ้ว แล ้วแกก็เดินไป (ฮ่าๆ) แล ้วพีจ่ ะถามผมท�ำไมเนี่ย ลองใจผมเหรอ” No Signal คือสนามทดลอง No Signal ในสายตาของนักดนตรีแต่ละรุ่นทีเ่ ข้าร่วมเป็ นสมาชิก คือ สนาม ฝึ กฝี มอื ด้วยศักยภาพของความเป็ นกลุม่ ก้อนทางดนตรีอนั เป็ นทีร่ ูจ้ กั บวกกับการ ผลักดันให้นกั ดนตรีเหล่านี้ได้ออกโชว์ตวั อยูเ่ สมอ จึงกลายเป็ นแรงดึงดูดให้คนมีของ มารวมตัวกัน เพือ่ ปลดปล่อยความคิดและตัวตนผ่านบทเพลง ในขณะเดียวกัน การได้อยู่กบั กลุม่ คนทีค่ ดิ และเชื่อเหมือนกัน ก�ำลังใจจึงมาเต็มร้อย ด้วยศักยภาพ ของกลุ่มที่น่าจะไปสู่จุดของการเป็ นค่ายเพลงได้ ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องของนักดนตรี ในสังกัด หรือแม้กระทัง่ การเป็ นทีร่ ูจ้ กั แต่ สุเมธ ยังคงยืนยันค�ำเดิมว่า No Signal Input ไม่ใช่ค่ายเพลง เขาบอกว่าองค์กรเล็กๆ นี้ขบั เคลือ่ นด้วยความรัก และความฝัน ของคนทีช่ ่นื ชอบในการเล่นดนตรี ฉะนัน้ เล่นแล ้วได้เงินหรือไม่นนั้ ไม่ใช่เรื่องส�ำคัญ เท่ากับ การได้เล่นอย่างทีต่ วั เองอยากเล่น “โนฯ ไม่มที างเป็ นค่ายเด็ดขาด มีนอ้ งหลายคนมาถามว่า พี่ โนฯ มาขนาดนี้แล ้ว ไม่ทำ� เป็ นค่ ายเลยละ เราก็บอกว่า ไม่ละ ถ้าเป็ นค่ ายแลว้ เนี่ย เราจะไม่มเี พื่อน พวกมึงก็จะไม่ใช่เพือ่ นกู พวกมึงก็จะเป็ นแค่ลูกค้ากู ทีก่ ูสร้างขึ้นมาเพือ่ ทีจ่ ะเอาตังค์ แต่ว่าพอมีวงเข้ามาอยู่รวมกันเยอะขึ้น ระบบการจัดการก็ตอ้ งพัฒนา อาจจะเอา ระบบค่ายมาใช้ในบางเรื่อง สมมติเขาจ้างไปเล่นได้เงิน วงนัน้ ก็เอาเงินไปสิ ไม่เกี่ยว กับโนฯ การรักษาจุดยืนของเราในเรื่องนี้ ไม่ยากเลย อันดับแรกคือจ�ำค�ำเดิม สองคือไม่แคร์ ไม่ได้โลภมาก เพราะแค่ น้ ีก็มคี วามสุขแลว้ แลว้ ท�ำไมจะต้องไป หาความสุขข้างหน้าเหรอ อยากให้ค่อยๆ โตไปตามสิง่ ทีค่ วรจะเป็ น ผมเชื่อว่าถ้าเรา


ท�ำในสิ่งที่รกั แลว้ ไปให้สุดนะ ยังไงก็ตอ้ งมีทางทีจ่ ะท�ำให้นกั ดนตรีสามารถอยู่ได้ และท�ำสิง่ ทีต่ วั เองรักได้ด้วย” “เพราะเอาเข้าจริงพอถึงจุดนึงชีวติ ก็ตอ้ งเลือก คืออย่างโนฯ รุ่นเก่าๆ ก็ตอ้ ง ท�ำงาน เพราะว่าก็พสิ ูจน์แล ้วว่าเพลงแบบทีก่ ูทำ� แบบทีก่ ูเล่นเนี่ย มันหาเงินให้กูไม่ได้ แต่ถ ้ายังชอบทีจ่ ะเล่นแบบนี้อยู่ ก็ตอ้ งหารายได้สว่ นอืน่ มาซับพอร์ตกับสิง่ ทีม่ งึ อยากท�ำ แค่นนั้ เอง แต่ถา้ อยากอยู่กบั ดนตรีจริงๆ ก็มนี อ้ งๆ หลายคนทีบ่ อกว่าผมต้องกิน ต้องอยู่พ่ี ก็ไปเล่นตามร้านเป็ นนักดนตรีทวั ่ ไป แล ้วกลางวันก็กลับมาท�ำเพลงตัวเอง บางคนก็จะมีวตั ถุประสงค์เช่นผมต้องออกอัลบัม้ กับค่ายใหญ่ มึงก็ทำ� ไปสิ มึงก็ แต่งเพลงให้มนั ดีจนได้เข้าไปอยู่ค่ายใหญ่ ก็แค่นนั้ ซึ่งโนฯ ไม่ได้มแี ผนอย่างนี้ ไม่ได้การันตีวา่ มึงมาอยู่แล ้วมึงมีกนิ มีใช้ ซึง่ ทุกคนก็เข้าใจอยู่แล ้วว่าเป็ นแค่ทฝ่ี ึ กซ้อม เป็ นสนามเด็กเล่นให้ทกุ คนท�ำเพลงทีต่ วั เองชอบ คือถ้ามึงชอบจริง แล ้วมึงจะเอาจริง มึงก็ตอ้ งพัฒนาเพลงมึงให้ขายได้แค่นนั้ เอง แต่กบั โนฯ จะจบตรงทีก่ ารท�ำเพลงตัวเอง ฝึ กฝนฝี มอื ตัวเอง พัฒนาเพลงให้เป็ นตัวเองทีส่ ดุ แค่นนั้ เองครับ ผมจะย�ำ้ อยูต่ ลอดว่า ถึงแม้จุดมุ่งหมายของการท�ำเพลงคือการไปสู่ตลาดที่กว้างกว่านี้ ก็ตอ้ งเป็ นเพลง แบบของตัวเอง” ไม่คดิ ไม่ฝนั การที่ No Signal Input เดินมาจนถึง 10 ปี สุเมธ บอกว่าเป็ นเรื่องเกินฝัน หลังได้เงินจากการท�ำซีดไี ปขายงาน Fat Fest. แบบสนุกๆ เขากับเพือ่ นนักดนตรี ก็ พ บหนทางที่จ ะท�ำ ให้ฝ ัน วัย รุ่ น เป็ น จริ ง คื อ การตระเวนเล่ น ดนตรี ต ามร้า น ปาร์ต้ ยี ่อมๆ ของนักดนตรีคอเดียวกัน มาร่วมเล่น ร่วมฟัง ร่วมสนับสนุน บวกการ ให้โอกาสจากห้างร้านผูย้ นิ ดีให้พวกเขาได้มที ท่ี างแสดงออก น�ำพาให้กลุม่ นักดนตรี อิสระกลุม่ นี้มาสูจ่ ดุ ของการได้ชอ่ื ว่าเป็ นผูจ้ ดุ กระแสให้วงการดนตรีอสิ ระในเชียงใหม่ กลับมาเฟื่ องฟูอกี ครัง้ “สิ่ง ที่เ ราท�ำ ในตอนนี้ ม นั เลยฝัน ไปแล ว้ ความฝัน ตอนแรกแค่ ท ำ� ซีดีไ ง อย่างครัง้ ล่าสุด เราได้ไปจัดคอนเสิรต์ ของโนฯ ทีร่ า้ นริเวอร์ไซด์ ไอ้ดอน (มือกลอง Sustainer) มาเล่าให้ฟงั ว่า พีเ่ มธตอนโนฯ เล่นริเวอร์ไซด์ ผมไปฉี่ แล ้วมีนอ้ งคนนึง ใครไม่รูไ้ ม่รูจ้ กั เลย พูดว่าไอ้เชี่ยแม่งโคตรมันเลยว่ะ ถ้าคอนเสิรต์ 10 ปี จะมัน ขนาดไหนวะ ดอนแบบแทบหยุดฉี่แล ้วมาเล่าให้ฟัง (ฮ่าๆ) ซึง่ อันนัน้ เป็ นผลพลอยได้ไง ประเด็นที่เราคิดที่สุดกับโนฯ คืออยากให้เล่นดนตรีแบบของตัวเอง แลว้ ก็เป็ น นักดนตรีทด่ี ี นักดนตรีทด่ี กี ค็ อื มึงไม่ตอ้ งแข่งกับคนอืน่ มึงไปแข่งกับวงมึงนัน้ แหละ เอาวงอืน่ มาเป็ นแรงบันดาลใจ ซึง่ การทีเ่ ราเล่นแล ้วมีคนดูกเ็ ป็ นผลมาจากการวางแผน ว่าจะต้องมีอะไรให้คนฟังแค่นนั้ เอง ไม่ได้คาดหวังเลยว่าศิลปิ นเราจะต้องไปอยู่ค่าย หรือว่าคนจะต้องอยากมาอยู่โนฯ หรือคนต้องมาดู คอนเสิรต์ โนฯ อะไรแบบนี้ อย่ างคอนเสิรต์ โนฯ 10 ปี ก็ไม่ได้คาดหวังอะไรขนาดนัน้ คือก็บอกไว้แลว้ ว่า ถ้าไม่มตี งั ค์ก็จดั จัดแบบโง่ๆ ของเราไป ให้คนข้างในแฮปปี้ ถ้าข้างในแฮปปี้ แลว้ ใครหลงเข้าไปคงรักตาย (ฮ่าๆ) เราต้องสุขมาจากข้างในก่อน “การที่โนฯ มาอยู่ตรงนี้ได้ผมว่าเป็ นเพราะมีอย่างอื่นรอบๆ โนฯ อีกเยอะ ทีช่ ่วยๆ กันผลักดัน เพียงแต่วา่ มีโนฯ เป็ นเหมือนเป็ นแก่นเท่านัน้ ถ้าไม่มคี นรอบข้าง คอยช่วย โนฯ ก็คงจบแค่ขายซีดที แ่ี ฟตคราวโน้นแล ้ว หรือถ้าพีโ่ หน่ง (สมชาย ขันอาษา) ไม่ดึงไปไปเล่นที่รา้ นขันอาษา แลว้ หลังจากนัน้ คนมาดู คอนเสิรต์ ที่รา้ นพี่โหน่ ง เขาไม่อยากดูอกี นักดนตรีก็ไม่อยากเล่นแลว้ ทุกอย่างก็คงจบ คือทุกสิ่งเดินไป ด้วยกันหมด ทัง้ คนดู คนเล่น คนจัดงาน อย่างวันนัน้ ทีร่ เิ วอร์ไซด์ เจอค�ำถามพิธกี ร บนเวทีอยูข่ ้อนึง ซึง่ ตอนตอบก็คดิ ไม่นานนะ แต่มนั ถามได้กวนตีนมากเลย ค�ำถามคือ โนฯ มีอยู่สองอย่างที่ไม่เหมือนคนอื่น พี่เมธมาตอบให้หน่ อย ผมก็บอกไปว่า หนึ่งเรื่องทัศนคติเลย ทุกคนไปได้ดหี รือไม่ดยี งั ไง ทุกคนในโนฯ ช่วยซับพอร์ตหมด สองคือเรื่องมิตรภาพ แค่นนั้ เอง ทัศนคติท่ดี ขี องนักดนตรีกบั เรื่องของมิตรภาพ เราว่าทุกอย่างของโนฯ ก็อยูใ่ นนัน้ หมดเลย เพราะนักดนตรีทกุ คนฝี มอื ก็โอเคอยูแ่ ล ้ว ก้าวต่อไปของ No Signal แม้ สุเมธ จะบอกว่า No Signal ไม่ใช่ค่ายเพลง และไม่ได้มนี โยบายปัน้ ศิลปิ น เพือ่ น�ำไปเสนอค่ายใหญ่ แต่ถ ้าใครรักทีจ่ ะท�ำเพลง และมีศกั ยภาพพอทีจ่ ะขาย เขาก็ยนิ ดี ทีจ่ ะสนับสนุน สุเมธ เล่าถึงไอเดียนี้ให้ฟงั ว่า รูปแบบการจัดการนี้จะอยู่ภายใต้ช่อื Minimal Studio เป็ นการลงทุนในลักษณะของสหกรณ์ ศิลปิ นวงใดทีอ่ ยากท�ำเพลง และเขาเห็นความเป็ นไปได้ทางการตลาด จะได้รบั ทุนก้อนหนึ่งเพือ่ เป็ นค่าใช้จ่าย ในการท�ำอัลบัม้ เต็มออกมาขาย โดยมีเงือ่ นไขในตอนคืนเงิน นอกจากเงินต้นแลว้ วงดนตรีจะต้องให้ดอกเบี้ยจ�ำนวนหนึ่งด้วย เพือ่ เก็บไว้เป็ นทุนส�ำหรับวงอืน่ ๆ ต่อไป

“Minimal Studio ท�ำมาเพื่อซัพพอร์ตโนฯ เป็ นโมเดลที่เราเพิ่งเริ่มท�ำ กับเด๋อด๋ามิสยูเป็ นวงแรก รูปแบบการจัดการจะเหมือนสหกรณ์ เหมือนกับมินมิ อล มีเงินก้อนให้ก่อน วงไหนอยากท�ำอัลบัม้ เต็มของตัวเอง ก็เอาเงินกองกลางจาก มินมิ อลไป ขายซีดไี ด้แล ้วก็รเี ทิรน์ กลับมา แต่ตอนคืนต้องเพิม่ เงินให้ด้วยนะ เช่นมีเงิน ให้ไปสองหมืน่ เอาไปท�ำซีดี สมมติขายแผ่นสองร้อย ขายร้อยแผ่นก็ได้เงินสองหมืน่ ตอนคืนก็เอามาสองหมืน่ ห้า และหลังจากนัน้ ผมก็จะดูวา่ มีวงไหนทีพ่ อจะมีศกั ยภาพ ในการท�ำอัลบัม้ อีก ถ้าอ๊ะ...วงนี้ ผมพร้อมครับพี่ ไม่มเี งินใช่มยั้ เอาเงินไป ขายเสร็จ ก็รเี ทิรน์ กลับมา เงินกองกลางก็จะเพิม่ ขึ้นเรื่อยๆ ก็จะเพิม่ โอกาสให้นกั ดนตรีทอ่ี ยาก มีอลั บัม้ ของตัวเองแต่ไม่อยากไปอยู่ค่าย หรือว่าไม่มเี งินทุน จะได้มโี อกาสท�ำเพลง ของตัวเอง แลว้ จะได้อยู่ได้ดว้ ย ตอนนี้กำ� ลังลองโมเดลนี้อยู่ ถ้าเวิรค์ อีกหน่อย นักดนตรีร่นุ น้องๆ ก็ไม่ตอ้ งห่วงแล ้ว เรือ่ งทีพ่ วกผมเคยห่วงเมือ่ ก่อน ทีว่ า่ จะท�ำอัลบัม้ กันทีก็ไม่มเี งินทุน เพราะเดีย๋ วนี้มสี หกรณ์ให้แลว้ ใครเอาไปก็รบั ผิดชอบด้วยการ รีเทิรน์ กลับมาตามเงือ่ นไข ส่วนที่เหลือจากนัน้ วงก็เอาไปจัดการกันเอง เพราะว่า มึงได้ตงั ค์ทำ� อัลบัม้ เสร็จ มึงต้องรับผิดชอบด้วยการหางานเล่น เพือ่ ซีดจี ะได้ขาย เพือ่ เอาเงินมารีเทิรน์ กลับ ก็คอื เป็ นการแอ็คทีฟศิลปิ นด้วย แต่ถา้ มึงไม่ได้กไ็ ม่เป็ นไร แต่ต่อไปโนฯ ก็ไม่มใี ครได้ทำ� อัลบัม้ แล ้วนะ เพราะว่าเงินหมดแล ้วนะ มึงต้องช่วยกัน รักษาเงินก้อนนี้ ทัง้ วงต้องช่วยกันหามาให้ได้ โมเดลนี้กจ็ ะกลายเป็ นอีกขัน้ นึงของโนฯ”

“สิ่ ง ที่ เ ราท� ำ ในตอนนี้ มั น เลยฝั น ไปแล้ ว ความฝันตอนแรกแค่ทำ� ซีดไี ง อย่างครัง้ ล่าสุด เราได้ ไ ปจั ด คอนเสิ ร ์ ต ของโนฯ ที่ ร ้ า น ริเวอร์ไซด์ ไอ้ดอน (มือกลอง Sustainer) มาเล่าให้ฟงั ว่า พีเ่ มธตอนโนฯ เล่นริเวอร์ไซด์ ผมไปฉี่ แล้วมีน้องคนนึง ใครไม่รู้ไม่รู้จักเลย พูดว่าไอ้เชีย่ แม่งโคตรมันเลยว่ะ ถ้าคอนเสิรต์ 10 ปีจะมันขนาดไหนวะ”

คอนเสิรต์ 10 ปี ครบรอบ 10 ปี ทงั้ ที งานนี้ตอ้ งพิเศษกว่าทุก ครัง้ นอกจากจะจัดเต็ม ความสนุกถึง 2 เวทีแล ้ว สุเมธ บอกว่าคอนเสิรต์ ใหญ่คราวนี้เหมือนการ Reunion เพราะเป็ นการรวมตัวกันเล่นของวงดนตรีตงั้ แต่ No Signal รุ่นแรกจนถึงรุ่นปัจจุบนั พร้อมด้วยแขกรับเชิญ รวมถึงการท�ำงานเพลงอัลบัม้ พิเศษมาขายในงานนี้ดว้ ย “คอนเสิรต์ ครัง้ นี้จะพิเศษกว่าทุกครัง้ ทีเ่ คยจัดมา อย่างคอนเสิรต์ โนฯ สอง ก็จะมีอยู่เจ็ดวง หรือโนฯ สามก็จะมีอยู่เจ็ดวงเหมือนกัน แต่คราวนี้คอื โนฯ สิบปี ก็จะมีสบิ กว่าวง มีโนฯ สอง โนฯ สาม ไม่พอ มีโนฯ หนึ่งมาด้วย และมีสเปเชี่ยล อีกวงนึง ซึง่ เป็ นวงทีไ่ ม่ได้อยูใ่ นโนฯ แต่เลียบๆ เคียงๆ กับโนฯ มาตลอด นอกจากนี้ ยังมีอลั บัม้ พิเศษ โนฯ สิบปี ดว้ ย แต่ละวงก็ทำ� เพลงใหม่ มีทงั้ หมดสิบเพลง ซึง่ จะมี ขายด้วยในงาน แต่ถา้ ถามว่าจะกลับมารวมกันอีกมัย้ คงไม่แล ้วล่ะ เพราะว่าทุกคน น่ าจะต้องดู แลตัวเองแลว้ คุณจบจากโรงเรียนแลว้ จะกลับมาเรียนซ�ำ้ อีกเหรอ คุณก็น่าจะหางานข้างหน้าท�ำ โดยอาศัยประสบการณ์ทผ่ี ่านมากับโนฯ เป็ นตัวช่วย ให้ไปต่อ “สิ่ง ที่ท �ำ ให้โ นฯ ดู แ รงเป็ น เพราะเซลฟ์ ข องศิ ล ปิ น แต่ ล ะคนมากกว่ า เลยท�ำให้ดูเข้าถึงยาก ถ้าเราถอดรหัสเพลงออกมา ก็คอื เพลงป๊ อปดีๆ นี่เอง เพียงแต่ การเรียบเรียงเพลงไม่ได้ตามใจตลาด แต่ตามใจนักดนตรีมากกว่า เพราะฉะนัน้ ง่ายๆ เลย คือถ้าลองตัง้ ใจฟังดีๆ ก็ฟงั ได้นะครับ แต่ละเพลงก็ไม่ได้มชี นั้ เชิงอะไรขนาดนัน้ เพราะทุกคนมีฐานมาจากเพลงป๊ อปอยู่แล ้ว เพราะฉะนัน้ เข้าใจได้ ฟังได้สบายมาก แต่ ก็ไม่ได้แมสขนาดเพลงป๊ อป ด้วยอัตตาที่นกั ดนตรีแต่ ละคนใส่เข้าไปเต็มที่ ถ้าไปอยู่ค่ายเพลงคงจะท�ำอย่างนี้ได้ยาก ก็อยากให้ลองมาดูกนั ครับ ส�ำหรับคนที่ อยากเสพดนตรี เสพบรรยากาศ เราว่าน่าจะสนุ กสนาน ได้ข่าวว่ามีสองเวทีดว้ ย ถ้ามีตงั ค์นะ (ฮ่าๆ)” :11


10 ปีที่ผ่านมา และก้าวต่อไปของ No Signal จากหลากหลายความเห็นของ 10 วงดนตรีสมาชิก Harmonica Sunrise

ไอ้ควรจะเป็ นยังไงนี่ ไม่รูจ้ ริงๆ แต่คดิ ว่า ก็ต ้องต่อยอดไปมากกว่านี้แน่นอน เพราะตอนนี้ ก็มี Minimal Record คือ เริ่มมีศิลปิ นทีเ่ ป็ น แบบลักษณะคล ้ายๆ ค่ายเพลงขึ้นมา คือช่วย หางาน ช่วยนัน่ ช่วยนี้ ก็อาจต่อยอดไปเรื่อยๆ แต่ เ มธก็ บ อกแล ว้ ว่ า No Signal Input ไม่เป็ นค่ าย ดังนัน้ ใครจะมาสนุ ก ก็มาสนุ ก ด้วยกัน ส่วนใครจะต่อยอดไปไหนต่อ ก็แล ้วแต่ ในขณะทีโ่ นฯ เดินทางมาถึงตรงนี้ วงการดนตรี ทัง้ หมด ไม่ใช่แค่ในเชียงใหม่ก็มอี ะไรเกิดขึ้น มากมาย ก็มกี ารเปลีย่ นแปลง พัฒนาเรื่อยๆ ซึง่ ก็ดนี ะ ในโลกยุคนี้ ท�ำให้เกิดความหลากหลาย เกิดไอเดียใหม่ๆ ทีน่ ่าสนใจ ก็เลยมองว่าโนฯ น่ า จะเป็ นอะไรที่ ห ลากหมายกว่ า นี้ ไ ด้อี ก อาจจะมี ว งไหนเอาซึ ง มาท�ำ เป็ นซาวน์ ด อิเล็กทรอนิกส์ หรือในรุ่นต่อๆไป อาจจะเป็ น คัฟเวอร์แดนซ์ไปเลยก็ได้ ใครจะไปรู ้

เด๋อด๋ามิสยู

ตอนที่ทำ� ก็ไม่ได้คิดหรอกว่าโนฯ จะต้อง ไปถึงจุดไหน ก็เป็ นไปตามเทคโนโลยี คือดนตรี ไม่ถกู ผูกขาดโดยห้องอัดแล ้ว ใครสามารถอัดเพลง ท�ำเพลงได้ ก็เลยช่วยๆ ท�ำกันมา ก็คดิ ว่าในอนาคต การท�ำเพลงอาจจะง่ายกว่านี้ จนไม่ตอ้ งมีโนฯ ก็ได้ เพราะทุกคนอัดในมือถือกันหมด ก็เป็ นเรื่องของ พัฒนาการ ทีท่ ำ� ให้เติบโตกันมา แต่ละวงในกลุม่ เขา ก็ชดั เจนขึ้นเรื่อยๆ เหมือนใครอยากจะกินอะไร ก็ปรุงแบบนัน้ เอง แล ้วท�ำให้มที กั ษะหรือฝี มอื ขึ้นมา ซึง่ อาจจะไม่ใช่ในทางดนตรี แต่อาจเป็ นทางความคิด สร้างสรรค์ ซึง่ ก็ชดั เจนขึ้นตามปี ช่วงเวลา ช่วงวัย คิด ว่า โนฯ ก็ น่ า จะเป็ น ไปประมาณปัจ จุบ นั นี้ ล่ะ ก�ำลังดี ไม่แข็ง ไม่น่ิมไปกว่านี้ น่ าจะดีถา้ ปล่อย มันโตไปเรื่อยๆ เพราะโมเดลของโนฯ เองไม่ได้เป็ น ตัวหารายได้ เพราะฉะนัน้ มันเป็ นอาชีพให้ใครไม่ได้ แต่วา่ เป็ นทางผ่านให้ทกุ คน เป็ นทางทีจ่ ะส่งต่อไปหา อะไรบางอย่างให้กบั ทุกคนได้

Migrate to the Ocean

:12

ส�ำหรับ No Signal ดนตรีไม่ใช่อนั ดับหนึ่งนะ พูดแลว้ ก็เขินๆ นะ เป็ นเรื่องของมิตรภาพมากกว่า คนทีม่ เี คมีตรงกัน เข้ากันได้ ก็เหมือนการรวมกลุม่ ไปเตะบอล หรือว่ารวมกลุม่ ไปอะไรก็ตาม แต่บงั เอิญ เราชอบดนตรีเฉยๆ เพราะในพาร์ทของดนตรีของ ไมเกรทฯ นี่จะค่อนข้างไม่ได้มกี ารคาดหวังอะไรมาก แต่พอมารวมกันแล ้วก็คน้ พบว่ารูสึ้ กรักใคร่ชอบพอกัน อย่างคอนเสิรต์ ทีผ่ า่ นมา (Boomtown’s Tune) เวลา มีปญั หาเกิดขึ้น เราเข้าใจเลยว่า เฮ้ย…นีแ่ หละ เวลาเรา เสียใจไปกับเขา หัวใจสลายไปกับเขา คิดว่านี่แหละ ครอบครัวของเรา อวัยวะของเรา ก็รูส้ ึกดีในแง่ ของมิตรภาพมากกว่า


Sustainer

No Signal Input เป็ นทีแ่ ค่ให้มาจอย ให้มาพบปะสังสรรค์ แลว้ เราก็รวมกลุ่มไปหา ทีเ่ ล่นดนตรี มีทใ่ี ห้แสดงออกแค่นนั้ เอง เหมือน กลุม่ ปล่อยของมากกว่าท�ำมาหากินครับ แต่ถา้ มัน ต่ อ ยอดไปได้ จนกระทัง่ เริ่ ม โตมากขึ้น แลว้ ทีน้ ีก็จะเริ่มมีผลตอบรับกลับมา ท�ำให้เรา สามารถไปเล่นตามงาน เล่นงานโชว์ทม่ี คี ่าจ้างได้ หรือถ้าลูกค้าร้านต่างๆ เขาก็เริ่มเห็น และเข้าใจ ในสิง่ ทีพ่ วกเราท�ำ ทีน้ รี า้ นหรือผับต่างๆ เขาก็จะ เริ่มโอเคขึ้นกับการทีเ่ อาพวกเราไปเล่น อาจจะ ไม่ตอ้ งเล่นเพลงคัฟเวอร์เลย แต่เล่นเพลงตัวเอง ทัง้ หมด ซึง่ ถ้าทุกร้านเข้าใจเราอย่างนี้ ทีน้ วี งการ เพลงในเชียงใหม่ก็จะเริ่มเปลีย่ น พอมีคนรูจ้ กั และเริ่มติดตาม ทีน้ ีก็จะพัฒนากันไปทัง้ คนดู ทัง้ เจ้าของร้าน ทัง้ นักดนตรี เชียงใหม่กอ็ าจจะ มีอะไรใหม่ๆ เกิดขึ้นมาอีก เผลอๆ อาจจะไปถึง ระดับประเทศก็ได้

ไอ้แค้น

ท�ำไมเด็กเชียงใหม่ตอ้ งไปอยูก่ รุงเทพฯ ต้องท�ำเพลงทีก่ รุงเทพฯ ด้วย ในเมือ่ เชียงใหม่เอง ก็มศี กั ยภาพ คุณแต่งเพลงทีน่ ้ ดี ว้ ยซ�ำ้ แล ้วคุณ ถึงไปอยู่โน่น ถ้าเกิดอยู่ดๆี มีนายทุนมาอ่าน ฮิพเล่มนี้ ก็อยากจะบอกว่าบางทีถา้ คุณอยาก บริหารเงินในราคาถูก เพือ่ จะสร้างค่ายเพลง มาค่ ายหนึ่ง No Signal ท�ำได้นะ เราท�ำ ทุกอย่างทีน่ ้ ไี ด้ แค่คณ ุ ท�ำให้เพลงของเราไปใน ระดับทีค่ วรจะเป็ น ไม่จำ� เป็ นต้องรอให้ค่ายดังๆ ในกรุงเทพฯ มาดึงพวกเราไปหรอก พวกเรา พร้อมจะอยูต่ รงนี้ แล ้วถ้ามีงานเล่นก็เดินทางไป เราว่ามันเป็ นไปได้ ขอแค่เงินมา ก็คอื องค์กร จะขยับได้ตอ้ งใช้ฟนั เฟื อง อยากได้ฟนั เฟื องนัน้ มาใส่ให้หมุนได้ต่อมากกว่า :13


Tender Routine

รู ส้ ึก ว่ า No Signal Input มีเสน่หส์ กั อย่างทีบ่ อกไม่ถกู แต่อยูแ่ ล ้ว เรารู ส้ ึกอบอุ่น มีความเป็ นกลุ่มก้อน ความเป็ นเพือ่ นพ้อง คืออยูด่ ว้ ยกันแล ้ว มีค วามสุ ข พอเข้า มาแล ว้ ก็ รู ส้ ึ ก ว่ า เพลงของเรามีการเติบโตขึ้น มีแนวคิด ที่เพิ่มเข้ามาอีก จากตอนแรกเป็ นแค่ มุมเล็กๆ ความคิดเล็กๆ แค่ ดา้ นนึง ตอนนี้กไ็ ด้ความคิดอีกหลายๆ ด้านของ คนอื่น เข้า มาช่ ว ยให้เ ราคิ ด เยอะขึ้น มีอะไรทีแ่ ตกต่างไปกว่าเดิม คิดว่าโนฯ เป็นแบบนี้กด็ อี ยูแ่ ล ้วนะ อยากให้มีโนฯ สี่ โนฯ ห้าไปเรื่อยๆ กลุ่มก็จะได้เติบโต ไปกว้างกว่านี้ แล ้ววันนึงก็อาจไม่ตอ้ งไป กรุงเทพฯ แล ้ว เพราะมีดนตรีดๆี อยูท่ น่ี ่ี

Polycat

ระหว่างค่ายใหญ่ กับค่ายเล็กมีความ แตกต่ า งกัน อยู่ แ ล ว้ ในแง่ ข องการน�ำ เสนอ เพราะว่าถ้าไปอยู่ค่ายใหญ่ สารทีเ่ ราจะน�ำเสนอ อาจต้องเปลีย่ นไป ยกตัวอย่างเนื้อเพลงก็ตอ้ ง พูดถึงความรัก ไม่งนั้ ขายไม่ออก ก็อยู่ท่ีว่า แต่ละวงถ้าอยากไปอยู่ค่ายใหญ่ จะรับตรงนี้ ได้รึเปล่ากับเงือ่ นไขนี้ แต่จากทีพ่ วกเราเห็นกันมา คิดว่าไม่จำ� เป็ นเลยที่วงในโนฯ จะต้องเข้าไป สู่ระบบอะไรแบบนัน้ แค่ทำ� ต่อไป แล ้วก็รกั ษา ระดับ ผลงานให้ดี ข้ ึน เรื่ อ ยๆ ก็ น่ า จะโอเค มีคำ� นึงที่พ่ีรุ่ ง (ผู บ้ ริหารค่ าย Smallroom) ถ้าเกิดตรงไหนเจ๋ง คนเจ๋งๆ ก็อยากจะเข้ามา ซึง่ มองว่าโนฯ ตอนนี้ เป็ นแบบนัน้ อยู่

:14

The Rooster

ทิศทางของโนฯ ในอนาคตก็คงต้องโตขึน้ สเกลอาจจะใหญ่ ม ากขึ้น แต่ ว่า ไดเร็ ก ชัน่ ต้อ งเหมือ นเดิม คือ ยัง เป็ น แบบเพื่อ นอยู่ เพราะจริงๆ แลว้ โนฯ ดีอยู่แลว้ เรื่องระบบ เราเป็ น ครอบครัว ไม่ไ ด้ซีเ รีย สเป็ น ธุ ร กิจ เหมือนกับค่ายเพลง โนฯ ก็เป็ นเหมือนกลุม่ นักดนตรีท่มี ารวมกัน เหมือนรวมไม้อ่อนๆ เข้าด้วยกันก็จะท�ำให้ได้ไม้ทีแ่ ข็งขึน้ เท่าทีพ่ วกเรา หวังกันคือ อยากให้คนเชียงใหม่ได้ฟงั เพลง ก่อนเลย แทนทีจ่ ะต้องไปดังทีก่ รุงเทพฯ ก่อน แล ว้ ถึง จะได้ก ลับ มาเล่น ให้ค นบ้า นเราฟัง เพราะว่าเราก็ยงั อยากเล่นดนตรีอยู่ทน่ี ่ี


สภาพสุภาพ

ตอนนี้ ก ลุ่ม ที่รู จ้ กั โนฯ จะเป็ น กลุม่ นักดนตรีด ้วยกันเอง และกลุม่ คนที่ ชอบอะไรทีแ่ ตกต่าง แต่คดิ ว่ายังไม่มากพอ อยากให้ไ ปไกลกว่ า นี้ อี ก ไปให้ถึ ง กรุงเทพ ไปให้ทวประเทศเลย ั่ ก็พยายาม ท�ำกันอยู่ ไม่ว่าจะเป็ นการปล่อยเพลง ตามสื่อ ต่ า งๆ ท�ำ เอ็ม วีป ล่อ ยในยู ทู ป คนก็ เ ริ่ ม รู จ้ กั เยอะแล ว้ ก็ ถือ ว่ า เป็ น ทิศทางที่ดี แต่ ทุกอย่ างก็ตอ้ งใช้เวลา เชื่อว่าถ้าเราออกมาท�ำเพลงอย่างที่ไม่ เหมือนใคร แล ้วท�ำให้คนประทับใจได้ใน การฟังครัง้ แรก กับสิง่ ทีเ่ ขาไม่เคยได้ยนิ ได้ฟงั มาก่อน อีกไม่นานก็คงมีกลุม่ คนฟัง เยอะขึ้น

อินธนูและพู่ถุงเท้า

อยากให้มีค วามเป็ น พี่น อ้ งเหมือ นเดิ ม แต่จะเป็ นครอบครัวทีใ่ หญ่กว่า ก้าวหน้าขึ้น ต้องดี ขึ้น เรื่ อ ยๆ อย่ า งที่พ่ีเ มธหรื อ พี่โ บว์ (มือ กี ต าร์ Sustainer) เคยบอกว่าโนฯ 1 ออกมาเป็ นแบบนี้ โนฯ 2 ต้องดีกว่า แล ้วพอโนฯ 3 ก็ตอ้ งดีกว่าโนฯ 2 ก็เลยมีความเชื่อว่า ถ้าจะมีรุ่นใหม่เข้ามาก็ควรจะมี พัฒนาการในทางทีด่ ขี ้นึ เพราะมีบทเรียนในการท�ำ มาหลายปี แ ล ว้ ทุก วัน นี้ เ ราอาจจะสื่อ ไปถึง คน ไม่ทวั ่ ถึงเท่าไร อาจจะท�ำให้ทวั ่ ถึงมากขึ้น อย่าง ปล่อยเอ็มวีในอินเตอร์เน็ต และนอกจากไปเล่น ตามร้านเหลา้ ทัว่ ไป อาจจะไปเล่นตามโรงเรียน พัฒนาเรือ่ งเพลง พัฒนาคุณภาพไม่วา่ การบันทึกเสียง หรือว่าการท�ำอัลบัม้ ให้ดขี ้นึ

:15


FAMILY TREE OF NO SIGNAL INPUT

:16



SIAM MUSIC

ศิลปิ น : รวมศิลปิ น อัลบัม้ : ทองผืนเดียวกัน สังกัด : สหภาพดนตรี

เรามาร้องเพลงกัน เรื่อง: RB

เมื่อดูจากรายชื่อของบรรดาของศิลปินมากหน้าหลายตาที่มาร่วมงาน ใน ทองผืนเดียวกัน ผลงานจาก สหภาพดนตรี แล้ว ถือว่างานเพลงที่ท�ำขึ้นภายใต้ ความมุง่ หมายทีจ่ ะน�ำ ‘พีๆ่ น้องๆ’ (อย่างทีน่ ติ พ ิ งษ์ ห่อนาค หนึง่ ในผูบ้ ริหารของค่าย บอกไว้ ในปกอัลบัม้ ) มาร่วมกันท�ำงานเพลง โดยไม่มเี รือ่ งของค่ายหรือสังกัดเป็นข้อจ�ำกัด จะบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ได้อย่างสวยงามทีเดียว

จะว่าไปแล ้วเรือ่ งค่าย-สังกัดกับวงการเพลงไทยนัน้ ถือเป็ นหนึ่งในเรื่องน่าเสียดายส�ำหรับวงการเพลงไทย (และต่อคนฟังเพลงไทย) อยูไ่ ม่นอ้ ย เพราะแทนทีศ่ ลิ ปิ น ทัง้ หลายจะมาท�ำงานร่วมกันได้โดยเสรี แต่หลายครัง้ ที่ เรากลับพบว่า แม้จะรูจ้ กั คุน้ เคยกันเป็ นอย่างดี แต่ดว้ ย เหตุท่อี ยู่กนั คนละค่ายคนละสังกัด การจะมาท�ำงาน ร่ วมกันจึงกลายเป็ นเรื่องซับซ้อนและยุ่ งยากขึ้นมา ในทัน ใด (ยัง ไม่ ร วมถึง เรื่อ งธุ ร กิ จ ที่แ ทบจะท�ำ ให้ เรื่ อ งดัง กล่ า วจบตัง้ แต่ เ ริ่ ม คิ ด แล ว้ ) ดัง นั้น การที่ สหภาพดนตรี ส ามารถน�ำ ศิ ล ปิ น จากสัง กัด ต่ า งๆ มาร่ วมท�ำงานได้เช่ นนี้ แม้จะยังได้ไม่ครบทุกแห่ ง แต่กระนัน้ ก็ยงั ถือว่าเป็ นจุดเริ่มต้นที่คนฟังเพลงไทย ทัง้ หลายควรจะร่วมดีใจ และสนับสนุ นให้แนวทางนี้ เกิดขึ้นต่อเนื่องไปอีกเรื่อยๆ กลับมาทีง่ านชุดนี้กนั ต่อ ต้องยอมรับว่านอกจาก จะตอบโจทย์เ รื่ อ งการน�ำ ศิ ล ปิ น หลากหลายแนว มาร่วมงานกันได้อย่างสวยงามแลว้ ‘ชื่อ’ ของศิลปิ น แต่ละคนทีม่ าร่วมงานยังเป็ นชือ่ ทีไ่ ว้วางใจได้ ในแง่ของ ฝี ไม้ลายมือ รวมทัง้ ยังเป็ นชื่อทีม่ ผี ูต้ ดิ ตามกันอยู่แลว้ คนละไม่ น อ้ ย ซึ่ง ท�ำ ให้ผ ลงานชุด นี้ มีแ รงหนุ น ที่ดี เป็ นทุนอยู่แล ้ว ไม่วา่ จะเป็ นความเชือ่ มันในแง่ ่ คณ ุ ภาพ หรือความสนอกสนใจของผูฟ้ งั ที่ใครรูว้ ่าเมือ่ ศิลปิ น คนโปรดของตัวเองได้มาร่วมงานกับเพือ่ นศิลปินคนอืน่ ๆ :18

แล ้วบทสรุปทีไ่ ด้จะออกมาในรูปแบบไหน? จากบทเพลงทัง้ 12 เพลงในงานชุดนี้ ‘ทองผืน เดียวกัน’ ‘เพียงความจริง’ และ ‘เหมือนหัวใจได้กลับ บ้าน’ เป็ น 3 เพลงทีเ่ ราเห็นว่าสามารถน�ำเอาจุดเด่นของ ศิลปิ นแต่ละรายมาผสมกันได้อย่างเหมาะเจาะลงตัว อีกทัง้ ยัง ให้ผลลัพธ์ท่ีน่าพึงพอใจ โดยที่ ‘ทองผืน เดียวกัน’ นัน้ หนักแน่ นด้วยภาคดนตรีท่จี ดั จ้านและ ครบเครื่อง ส่วน ‘เพียงความจริง’ แสดงให้เห็นว่า ตุลย์ ไวฑูรเกียรติ (อพาร์ทเมนต์คุณป้ า) สามารถน�ำ ถ้อยค�ำทีม่ เี อกลักษณ์ของเขามาผสมผสานกับเสียงร้อง และดนตรีในแบบเพื่อชีวิตของ สุ รชัย จันทิมาธร และ พงษ์สทิ ธิ์ คัมภีร ์ ได้อย่างน่าฟัง ขณะที่ ‘เหมือน หัวใจได้กลับบ้าน’ การได้ฟงั ไมค์ ภิรมย์พร และ ฝน ธนสุนทร แร็ปร่วมกับ ณัฐวุฒิ ศรีหมอก (กอล์ฟ ฟัก กลิ้ง ฮี โ ร่ ) ก็ ถือ เป็ น ประสบการณ์ ก ารฟัง เพลง ในแง่มมุ ใหม่ๆ ทีน่ ่าประทับใจเช่นเดียวกัน ในทางกลับกัน เพลงอย่าง ‘ถ้าเรารักกันมากพอ’ ‘ทุ ก ฝัน ยัง เป็ น ของเรา’ และ ‘บ้า นเรา...บ้า นพ่ อ ’ ดูจะน่าเสียดายทีย่ งั ไม่สามารถน�ำเสนความโดดเด่นที่ ศิลปิ นแต่ละคนมี (โดยเฉพาะใน ‘ถ้าเรารักกันมากพอ’ ที่ได้นกั ร้องหญิงชัน้ แนวหน้าของวงการหลายๆ คน มาร่ ว มงาน) จนท�ำ ให้ท งั้ 3 เพลง กลายเป็ น งาน ร้อ งเพลงหมู่ท่ีดู จ ะเหมาะกับ การเป็ น เพลงในวาระ

โอกาสพิเ ศษ มากกว่ า ที่จ ะเป็ น เพลงที่เ ต็ ม เปี่ ยม ด้ว ยพลัง และส่ ง ผ่ า นความรู ส้ ึ ก ได้อ ย่ า งลึก ซึ้ ง ด้วยเสียงร้องทีม่ คี ณ ุ ภาพเช่นเดียวกับ ‘ขอเป็ นข้ารองบาท ทุกชาติไป’ ซึ่งถูกวางไว้เป็ นเพลงเปิ ดอัลบัม้ แต่งาน ของอัสนีและวสันต์ โชติกุลกลับยังดู วนเวียนอยู่ใน ทิศทางแบบเดิมๆ โดยทีไ่ ม่เห็นถึงทิศทางของการน�ำ อะไรใหม่ ๆ มาน�ำ เสนอเลยแม้แ ต่ น อ้ ย ซึ่ง ท�ำ ให้ งานเพลงเปิ ดอัลบัม้ ไม่อาจสร้างความคึกคักได้อย่างที่ ควรจะเป็ น (แม้คุณภาพของภาคดนตรีและเนื้อหาจะ ไม่มอี ะไรให้ตกิ ต็ าม) โดยเฉพาะเมือ่ เทียบกับความรูส้ กึ ทีไ่ ด้จากเพลงปิ ดท้ายอย่าง ‘ทองผืนเดียวกัน’ อย่างไรก็ตาม คงเป็ นเรือ่ งปกติทง่ี านในลักษณะ ของการรวมเพลง และการร่วมแจมของศิลปิ นมากหน้า หลายตาจะมีทงั้ งานที่ชวนให้ต่ืนตาตื่นใจ และงานที่ ฟังแลว้ รู ส้ ึกเฉยๆ แต่ ส่ิงที่ส ำ� คัญกว่า ซึ่งงานชุดนี้ สมควรที่จะได้รบั เสียงปรบมือก็คือ การเปิ ดโอกาส ให้ศิ ล ปิ น มากมายได้ส ร้า งสรรค์ง านเพลงร่ ว มกัน และยัง ได้ผ ลลัพ ธ์อ อกมาในระดับ ที่ น่ า พึง พอใจ ซึง่ น่าจะถือเป็ นนิมติ หมายอันดีสำ� หรับศิลปิ นคนอื่นๆ ทีจ่ ะได้กา้ วเดินตามแนวทางนี้กนั ให้มากๆ เพราะอย่ า งน้อ ย การชัก ชวนคนอื่ น มา ร่วมกันเล่น ก็น่าจะสนุ กกว่าการร้องหรือเล่นอยู่คน เดียวเป็ นแน่


เสียงจากเมืองเหนือ

เพลงรับลมหนาว

ปกติงานในชื่อ Belters ทัง้ 3 ชุดทีค่ ่าย No More Belts ท�ำออกมานัน้ เป็ นการชวนศิลปิ นในค่ายมาสร้างงานของแต่ละคน ก่อนจะน�ำมารวมเป็ นอัลบัม้ ให้แฟนๆ ได้ซ้อื หาไปฟังกัน แต่ใน Belter 4 Song From The North (No More Belts) นอกจากจะมีช่อื ทีแ่ ฟนๆ ค่ายนี้รูจ้ กั กันดีอย่าง Sleeper1 หรือ ปัจฉิมลิขติ แล ว้ ความพิเ ศษของงานชุด นี้ อ ยู่ ท่ีก ารน�ำ เอาศิ ล ปิ น ในแวดวงดนตรีเ ชีย งใหม่ (น�ำขบวนโดย Harmonica Sunrise ขาประจ�ำทีช่ าว HIP คุน้ เคย) มาร่วมท�ำงาน เพลงบรรจุไว้ในงานชุดนี้อีกด้วย เพื่อให้สมกับการเป็ น ‘เสียงจากเมืองเหนือ’ อย่างทีช่ ่อื อัลบัม้ ว่าไว้อย่างแท้จริง สิ่งที่จะได้ฟงั จากทัง้ 10 เพลงในงานชุดนี้คือดนตรีหลากหลายรู ปแบบ ตามสไตล์ของแต่ละวง (ตัง้ แต่เพลงฟังสนุ กในกลิน่ อายลูกกรุงของ Harmonica Sunrise ไปจนถึงงานอิเล็กทรอนิกส์ป๊อปผสมค�ำเมืองของ 4T) ซึง่ แต่ละวงต่างก็ รับผิดชอบหน้าทีข่ องตัวเองได้เป็ นอย่างดี และไม่มอี ะไรให้ตอ้ งต�ำหนิ เชือ่ ว่านอกจาก แฟนๆ พัน ธุ ์แ ท้จ ะแฮปปี้ กับ การได้เ พิ่ม งานอีก ชุ ด เข้า ไปในคอลเล็ค ชัน่ แล ว้ การติดตามงานของศิลปิ นแต่ละรายทีม่ าร่วมงานในอัลบัม้ นี้ ก็น่าจะเป็ นอีกหนึ่งเรื่อง ที่หลายคนเตรียมจะท�ำหลังจากฟังงานชุดนี้จบลงแลว้ แน่ ๆ (เหมือนที่คนเขียน เตรียมจะหางานของ After Blues Moon และ Cynthia’s Vacation มาฟัง บ้างแล ้วเช่นกัน)

มีช่อื เป็ นหนึ่งในศิลปิ นทีม่ สี ่วนร่วมในอัลบัม้ Belter 4 Song From The North อยู่ แลว้ แต่ ดูท่าว่าอากาศหนาวๆ จะช่ วยให้ Harmonica Sunrise มีแรงบันดาลใจ พวกเขาถึงได้ส่ง New Single (อิสระ) 4 ซิงเกิลใหม่ล่าสุด ซึง่ ประกอบด้วย 17 มีนา 2553, คนยังไง (ถึงท�ำกับหมาอย่างนี้), นิมมานเหมันต์ และเหงา ออกมาให้แฟนๆ ได้ฟงั กัน (แถมยังท�ำเก๋ดว้ ยการแถมผ้าพันคอมาให้ใช้ แก้หนาวด้วยอีกต่างหาก) แม้จะมีมาน้อยแค่ 4 เพลง แต่ ความหลากหลายของดนตรีท่ีพวกเขา สร้างสรรค์ข้นึ ก็เป็ นสิง่ ทีต่ อ้ งชมกัน ไม่วา่ จะเป็ นกลิน่ อายแบบแจ็ซซ์ใน ‘17 มีนา 2553’ ทีม่ าพร้อมกับเนื้อหาทีแ่ อบเศร้าด้วยเล็กน้อย ลูกเล่นในการเล่าเรื่องของ ‘คนอะไร (ถึงท�ำกับหมาอย่างนี้)’ ทีช่ วนให้นึกถึงสไตล์ของเนื้อหาทีแ่ ทรกอารมณ์สนุกๆ กวนๆ ในแบบของเฉลียงหรือ Acappella 7 ความโศกทีอ่ าจท�ำให้คนอกหักต้องสะอื้น กับเสียงเปี ยโนใน ‘เหงา’ และลีลาแบบเพลงลูกกรุงใน ‘นิมมานเหมันต์’ ซึง่ คนทีค่ นุ ้ เคย กับถนนเส้นนี้คงอดยิ้มไม่ได้กบั การน�ำชือ่ สถานยอดนิยมต่างๆ ของชาวนิมมานมาไว้ ในบทเพลงด้วย ซึ่งทัง้ หมดที่ว่ามาช่วยให้งานที่แม้จะมีเพลงน้อยชุดนี้ กลายเป็ น ตัวเลือกในการฟังเพลงยามหน้าหนาวทีไ่ ม่เลวเลย งานชุดนี้คาดว่าคงจะหาไม่ยาก แต่ผ ้าพันคออุน่ ๆ อาจจะหมดไว ดังนัน้ ใครอยากได้ ควรรีบไปสอบถามแต่เนิ่นๆ ที่ facebook.com/harmonica.sunrise จะดีกว่า

SIAM Music Review

Yokee Playboy : Second Sun (Spicydisc) ถึงจะผ่านไปหลายปี แต่โยคี เพลย์บอย ยังคง แสดงให้เ ห็ น ชัด เจน (โดยไม่ โ รยราไปตามอายุ ) ว่าจังหวะจะโคนและท่วงท�ำนองในเพลงของพวกเขา ยัง สนุ ก ถู ก ใจแฟนๆ เสมอ แถมการแซมเปิ ล ใน ‘คอลลาเจน’ และ ‘กังฟู ไฟท์ติง’ ก็ออกมาเข้าท่ า และน่าเอาไปใช้ต่อในงานชุดต่อๆ ไปอีกต่างหาก

Sleeper1 : Self (No More Belts) งานเพลงของ Sleeper1 อาจจะดู ฟ งั ยาก หากพิจารณาจากดนตรีสารพันรูปแบบและคอนเส็ปท์ ของอัลบัม้ ทีว่ า่ ด้วยเรือ่ งของ ‘ตัวตน’ แต่เอาเข้าจริงแล ้ว บทเพลงในงานชุดนี้ไม่ได้ซบั ซ้อนจนเกินรับแต่อย่างใด แถมการท�ำความเข้าใจเนื้อหา และดนตรีในแต่ละเพลง ก็น่าสนุกดีไม่นอ้ ยเช่นกัน

Suburbian : ลูกทุ่งอาร์แอนด์บี (Spicydisc) ขึ้นชื่อเรื่องการท�ำเพลงอาร์แอนด์บคี ุณภาพดี อยู่แลว้ ในงานชุดล่าสุด ซับเบอร์เบี้ยนมาพร้อมกับ เพลงอาร์แอนด์บแี ละโซลเก๋ๆ ที่ซาวด์นในอัลบัม้ นัน้ ดีระดับต้องยกนิ้วให้ ส่วนลีลาการร้อง และเนื้อหา แบบไทยๆ ทีเ่ จ้าของงานภูมใิ จน�ำเสนอนัน้ แม้อาจจะ ฟังดูเชย แต่กเ็ ข้ากันกับดนตรีได้อย่างลงตัว :19


MUSIC

วัยรุ่นมีของ เรื่อง: RB

สิ่งที่ท�ำให้เราอยากแนะน�ำ Jake Bugg ให้ชาว HIP ได้รู้จัก ไม่ใช่เพราะ น�้ำเสียง และสไตล์การร้องของเขาที่ชวนให้นึกถึง Bob Dylan (มีคนให้ฉายาว่า เขาเป็นอีสท์ มิดแลนด์ ดีแลนเสียด้วย) ไม่ใช่เพราะเขาเป็นคนอังกฤษ แต่ทำ� เพลงโฟล์ค ที่ มี ก ลิ่ น อายคั น ทรี่ ร าวกั บ เป็ น คนอเมริ กั น ไม่ ใ ช่ เ พราะนั ก วิ จ ารณ์ จากนิ ต ยสารดนตรี ห ลายฉบั บ ต่ า งชื่ น ชมงานชุ ด แรกในชี วิ ต ของเขาคนนี้ และไม่ใช่เพราะเขาท�ำสิ่งต่างๆ ที่ว่ามาทั้งหมดนี้ โดยที่อายุยังไม่ถึง 20 ด้วยซ�้ำ! แต่ทเ่ี ราอยากแนะน�ำหนุ่มจากน็อตติงแฮมคนนี้ ก็เพราะเรามันใจว่ ่ า คุณจะเสียดายทีหลังหากไม่ได้ลองฟังงานของเขา และถ้าลองติดตามกันดูแล ้ว เราก็เชือ่ ด้วยว่าคุณจะได้ยินได้ฟังอะไรดีๆ จากเขาคนนี้กนั อีกเยอะต่างหาก ในวัย 18 ย่าง 19 (เกิดเดือนกุมภาพันธ์ ปี 1994) แรงบันดาลใจ ทีท่ ำ� ให้ Jake Bugg อยากท�ำงานเพลงของตัวเองประกอบไปด้วยศิลปิ น มากหน้าหลายตา ตัง้ แต่รุ่นเดอะอย่าง Johnny Cash หรือ The Beatles ไปจนถึงคนรุ่นหลังอย่าง Oasis หรือ Arctic Monkeys ซึง่ ก็นบั ว่าแปลก อยู่ไม่นอ้ ยส�ำหรับคนหนุ่มในยุคสมัยนี้ทช่ี น่ื ชอบ และรับอิทธิพลจากศิลปิ น รุ่นใหญ่ มากกว่าศิลปิ นในยุคปัจจุบนั เหมือนคนอื่นๆ เขา อย่างไรก็ตาม ดูท่าว่าอิทธิพลจากสารพัดศิลปิ นคนโปรดจะมีส่วนช่วยให้ Jake Bugg (Mercury) ผลงานชุดแรกของเจ้าตัวนัน้ ออกมาเข้าท่า และน่ าสนใจอยู่ พอสมควรเลยทีเดียว ถ้าจะจัดหมวดหมู่อย่างง่ายๆ งานของ Jake Bugg เคลือ่ นไหว ผ่านท่วงท�ำนองของโฟล์คและคันทรี ควบคู่ไปกับสุม้ เสียงในแบบอะนาล็อก ทีช่ วนให้นึกถึงเพลงยุค 60s แต่ในขณะเดียวในงานของเขาก็มกี ลิน่ อายของ ดนตรีร็อคแอนด์โรลเข้ามาช่วยสร้างสีสนั ท�ำให้บทเพลงในงานชุดนี้มมี ติ ิ ทีห่ ลากหลาย ไม่ได้เรียบนิ่งเหมือนอย่างทีห่ ลายคนมักคิดว่างานเพลงโฟล์ค ส่วนใหญ่เป็ นกัน อีกทัง้ แม้หลายๆ เพลงจะชวนให้นกึ ถึงศิลปิ นทีเ่ จ้าของงาน ระบุวา่ เป็ นแรงบันดาลใจ (อย่าง Test It และ Seen It All ทีช่ วนให้นึกถึง The Beatles อยู่ไม่นอ้ ย) ก็ไม่ได้หมายความว่า Jake Bugg นัน้ ท�ำเพลง เลียนแบบศิลปินทีเ่ ขาชอบแต่อย่างใด ทว่าถือเป็ นความสามารถในการหยิบเอา รายละเอียดต่างๆ ในอดีตมาเลือกใช้ และผสมจนออกมาเป็ นแนวทาง ของตัวเองได้อย่างลงตัวมากกว่า :20

ศิลปิ น : Jake Bugg อัลบัม้ : Jake Bugg สังกัด : Mercury นอกจากภาคดนตรีจะถือเป็ นส่วนหนึ่งทีโ่ ดดเด่นในงานชุดนี้แล ้ว การท�ำงานในฐานะนักร้องและคนเขียนเพลงของ Jake Bugg ก็เป็ น อีกส่วนหนึ่งทีช่ ่วยเสริมให้งานชุดแรกในชีวติ ออกมากลมกล่อมมากยิง่ ขึ้น ทัง้ จากการจัดวางสไตล์การร้องในแต่ละเพลงได้อย่างพอเหมาะ ไม่วา่ จะเป็น การปล่อยให้เสียงร้องเคลือ่ นไหวไปกับอะคูสติกกีตาร์หรือการส่งอารมณ์ ผ่ า นบทเพลงที่ มี จ ัง หวะเร่ ง เร้า ในแบบร็ อ คแอนด์โ รล ขณะที่ เนื้อหาทีห่ นุม่ วัย 18 คนนี้นำ� มาถ่ายทอดผ่านบทเพลง ในด้านหนึ่งอาจดู เป็ นเพียงเรื่องง่ายๆ ที่ไม่ได้สลักส�ำคัญอะไรนัก แต่การหยิบเอาเรื่อง แวดลอ้ มตัวที่หลายคนมองข้ามมาบอกเล่า และการเลือกใช้คำ� ง่ายๆ แต่ตรงไปตรงมา (อย่างเช่นใน Trouble Town และ Two Fingers) แสดงให้เห็นว่าหนุ่มคนนี้มมี มุ มองทีน่ ่าสนใจไม่เลวเลย แน่นอนว่าในฐานะงานชุดแรก ยังมีร่องรอยหลายอย่างทีแ่ สดง ให้เห็นถึงความไม่สมบูรณ์ลงตัว (อย่างเช่นความอืดเอื่อยในช่วงท้ายๆ ของอัลบัม้ ที่ต่างกับความกระฉับกระเฉงในช่วงเริ่มต้นค่ อนข้างมาก) แต่กบั วัยวุฒแิ ละประสบการณ์ทางดนตรีทม่ี ี ก็คงไม่น่าเกลียดอะไรนัก หากจะบอกว่า นอกจากจะสอบผ่านกับก้าวแรกในฐานะศิลปิน แล ้ว Jake Bugg ยังแสดงให้เห็นด้วยว่า มี ‘แนวโน้ม’ ทีจ่ ะท�ำงานทีน่ ่าสนใจ และน่าติดตาม ได้อกี มาก หากเขายังคงความชัดเจนในทิศทางการท�ำงาน และรักษา มาตรฐานของตัวเองเอาไว้ไม่ให้อ่อนด้อยลง เพราะเรื่ อ งฝี มื อ และพรสวรรค์ น ั้น คงไม่ น่ า สงสัย แล ว้ ที่ เ หลื อ ก็ เ พี ย งแค่ ใ ช้ส องสิ่ ง ที่ ว่ า ให้ฉ ลาด (เหมื อ นที่ ท �ำ ได้แ ล ว้ ในงานชุดแรก) อย่างไรเท่านัน้


Music Review

วันวานก่อนการจากลา สิ่งแรกที่ทำ� ให้ At the BBC (Universal Republic) งานชุดล่าสุดของ Amy Winehouse น่ าหยิบมาลองฟัง ได้แก่ขอ้ เท็จจริงที่ว่าเธอมีผลงาน การบันทึกเสียงในช่วงสุดท้ายของชีวติ ไม่มากเท่าใดนัก (ซึง่ ส่วนหนึ่งก็ถกู รวบรวมมาน�ำเสนอแล ้วใน Lioness : Hidden Treasures ทีอ่ อกมาเมือ่ ปี 2011) ดังนัน้ เมื่อ มีผ ลงานชุด ใหม่ ข องเธอออกมาให้ฟ งั อีก ทัง้ งานชุด นี้ ย งั มีท งั้ ผลงานการบัน ทึก เสีย ง และภาพ จากบันทึกการแสดงสด (รวบรวมจากการปรากฏตัว ในหลายๆ รายการทางบีบซี ตี งั้ แต่ปี 2004 ถึง 2009) ให้ฟงั และดู ได้ตามความพอใจด้วยแลว้ ก็ย่ิงท�ำให้ ความน่าสนใจในผลงานชุดนี้เพิม่ ทวีคูณขึ้นไปอีก แต่ เ รื่ อ งที่ น่ าสนใจมากกว่ า ส� ำ หรั บ เรา และเป็ นเรื่องทีน่ ่าเสียดายในเวลาเดียวกัน ก็คอื ความ

หลากหลายทางดนตรีและสไตล์การร้องที่ปรากฏอยู่ ในงานชุดนี้ ซึง่ นอกจากจะแสดงให้เห็นว่าเครดิตต่างๆ ทีเ่ ธอได้รบั อย่างล ้นหลามในแง่ของคุณภาพในการร้อง และความสร้างสรรค์ในการน�ำดนตรีหลากรู ปแบบ ทีเ่ ป็ นแรงบันดาลใจมาน�ำเสนอในแบบของเธอเองนัน้ จะไม่ใช่เรือ่ งทีก่ ล่าวจนเกินเลยแล ้ว หลายๆ สิง่ ทีไ่ ด้ยนิ ในงานชุดนี้ (อาทิเช่นการดีไซน์เสียงร้องหรือกลิน่ อาย ของแจ็ซซ์และเร็กเก้ทป่ี รากฏให้เห็น) ท�ำให้อดคิดไม่ได้ว่า หากเธอยังคงมีชวี ติ อยู่ เราน่าจะได้เห็นอะไรดีๆ จากเธอ กัน อี ก เยอะ ขณะที่ ก ารแสดงสดซึ่ ง ทั้ง ดี เ ยี่ ย ม เต็มเปี่ ยมไปด้วยชีวติ ชีวาและมีเสน่ห ์ ก็ย่งิ ท�ำให้รูส้ กึ ‘เสียดาย’ ทีค่ นเก่งและมากด้วยฝี มอื เช่นนี้ ต้องจากโลก นี้ไปก่อนเวลาอันควร และด้วยเหตุผลทีไ่ ม่สมควรเลย แม้แต่นอ้ ย

The Script : #3 (Sony Music) ดูเหมือน The Script จะพบทางชัดเจนแล ้วว่า จะเน้นตลาดมากกว่าอินดี้ ซึง่ งานชุดที่ 3 ก็มาในทาง ทีว่ า่ ด้วยเพลงป๊ อปร็อคไม่ซบั ซ้อนและท่วงท�ำนองติดหู แม้ตัวงานอาจไม่คอ่ ยเร้าใจแฟนๆ เพราะไม่มอี ะไรชวนให้ ตืน่ เต้นมากนัก แต่กต็ อ้ งยอมรับว่าเพลงของพวกเขานัน้ ฟังสนุกฟังเพลินดีจริงๆ

Goat : Worlod Music (Rocket) ตัว วงนัน้ มีท่ีม าจากสวีเ ดน แต่ ด นตรีท่ีเ ล่น นอกจากจะไม่เกี่ยวกับบ้านเกิดแลว้ ยังจัดการน�ำเอา ดนตรีโซล ร็อคและสารพัดซาวด์แบบแอฟริกนั เข้าด้วยกัน อีกต่างหาก ในแง่หนึ่งงานฟิ วชัน่ แบบนี้คงไม่ใช่ของ ฟังง่ายสักเท่าไหร่ แต่สำ� หรับคนชอบของแปลกแลว้ ก็ถอื เป็ นความท้าทายทีน่ ่าทดลองอยู่

ราชันย์กรันจ์คืนบัลลังก์ ในอดีต Soundgarden เคยยิ่งใหญ่ ระดับ เป็ นหนึ่งในหัวหอกของดนตรีกรันจ์และซีแอทเติลซาวด์ ร่ ว มกับ วงดนตรีร่ ว มสมัย (และร่ ว มเมือ ง) อย่ า ง Nirvana, Pearl Jam และ Alice in Chains รวมทัง้ กวาดสารพัดความส�ำเร็จ (ไม่ว่าจะเงินหรือกล่อง) จนไม่ มีใ ครสงสัย ในความสามารถกัน จนกระทัง่ สมาชิกทัง้ สี่ตดั สินใจที่จะแยกย้ายกันไปสร้างสรรค์ ผลงานตามทางของแต่ละคน และท�ำให้ชือ่ ของวงค่อยๆ เลือนหายไปจากการรับรูข้ องสาธารณะ หลังจากใช้เวลา 12 ปี ไปกับการสร้างสรรค์ ผลงานส่วนตัวและการร่วมวงดนตรีอกี หลากหลายวง สมาชิกทัง้ หมดกลับมาร่วมงานกันอีกครัง้ พร้อมทัง้ น�ำ

King Animal (Vertico) ผลงานชุดล่าสุดมาให้แฟนๆ ได้ฟงั กับเวลา 12 ปี ทห่ี ่างหาย หลายคนคงอดเป็ นห่วง ไม่ได้วา่ ในยุคสมัยทีค่ นรุ่นหลังอาจไม่ซาบซึ้งว่าดนตรี กรันจ์และอัลเตอร์เนทีฟเคยเขย่าโลกได้อย่างรุนแรง แค่ไหน บางที Soundgarden อาจจะเหลือที่พ้ นื ที่ ในวงการดนตรีไม่มากนัก แต่ถา้ ประเมินจากสิง่ ทีไ่ ด้ฟงั ตลอดเวลากว่า 50 นาทีในงานชุดนี้แล ้ว บางทีพวกเขา คงไม่ จ �ำ เป็ น จะต้อ งใส่ ใ จกับ เรื่ อ งที่ว่ า เสีย ด้ว ยซ�ำ้ เพราะคุณภาพงานของพวกเขาบ่งบอกชัดเจนแลว้ ว่า ถึ ง แม้ว ยั จะเพิ่ ม แต่ ฝี มื อ ของพวกเขาก็ เ ข้ม ข้น และเฉียบขาดยิง่ ขึ้นตามไปด้วย

The Vaccines : Come Of Age (Columbia) เพลงของ The Vaccines นัน้ เป็ นอินดี้ร็อค ทีฟ่ งั สนุกติดหูและเคลือ่ นไหวอย่างมีชวี ติ ชีวา ซึง่ ทางวง ก็ยงั คงสานต่อแนวทางดังกล่าวในงานชุดที่ 2 ด้านหนึ่ง งานชุดใหม่น้มี พี ฒั นาการทีก่ ้าวหน้าในหลายจุด แต่ข ้อด้อย คือพัฒนาการนัน้ ยังไม่ทำ� ให้พวกเขาต่างจากวงอื่นๆ ในแนวเดียวกันมากสักเท่าไหร่ :21


CLASSIC ALBUM ปกหน้า-หลังของ Slowhand: The 35th Anniversary Deluxe Edition

SLOWHAND เชื่องช้า มั่นคง และลงตัว เรื่อง: ลุงทอย

ตามต� ำ นาน ฉายา Slowhand หรื อ ‘มื อ ช้ า ’ เป็ น ฉายาประจ� ำ ตั ว ของเอริค แคลปตันมาตั้งแต่สมัยยังเป็นสมาชิกวง เดอะ ยาร์ดเบิร์ดส์ ซึ่งหาก สืบเสาะต่อว่า มีที่มาจากไหน ก็ต้องเจอค�ำตอบหลากหลายแนวทาง คริส เดรจา มือกีตาร์ริธึมของเดอะ ยาร์ดเบิรด์ ส์บอกว่า เกิดจากตอนที่ สายกีตาร์ของแคลปตันขาดกลางคอนเสิรต์ ท�ำให้เขาต้องเปลีย่ นสายกลางเวที คนดูทย่ี นื รออยูเ่ ลยปรบมือเป็ นจังหวะช้าๆ ทีภ่ าษาอังกฤษใช้คำ� ว่า Slow Handclap ซึง่ คนอังกฤษพูดกันเป็ นวลีวา่ To be Given the Slowhand ขณะที่เจ้าตัวเองก็ใช่ว่าจะอยู่กบั ร่องกับรอย เพราะในช่วงกลางยุค 80s แคลปตันเล่าในหนังสืออัตชีวประวัตทิ เ่ี รย์ โคลแมนเขียนไว้วา่ “ฉายาของผมมาจาก การสร้างค�ำแบบสองนัยของจิออร์จโิ อ โกเมลสกี้ เขาพูดว่าผมเป็ นคนเล่นกีตาร์ทเ่ี ร็ว แต่มอื ดูเหมือนช้า เลยรวบวลีวา่ Slow Handclap มารวมกันเป็ น Slowhand” แต่ในปี 1999 แคลปตันที่ไปแช็ทออนไลน์ กลับบอกว่า “ผมคิดว่ามัน อาจจะมาจากการเล่นกับค�ำว่า Clap ซึง่ เป็ นส่วนหนึ่งของชื่อผม ในอังกฤษ ในการ แข่งขันกีฬา ถ้าผูช้ มเริ่มกระวนกระวาย พวกเราจะเริ่มปรบมือช้าๆ เพือ่ แทนความ เหนื่อยหน่าย และความไม่ได้ดงั ใจ แต่นนั ่ ไม่ใช่ความคิดของผม เป็ นความเห็น ของคนอืน่ ” ส่วนในหนังสือ In Clapton ทีอ่ อกในปี 2007 เอริคบอกว่า “ผมเป็ นคนใช้ สายกีตาร์สายหนึ่งที่เล็กมากๆ ท�ำให้โน้ตเพี้ยนง่ายมาก และระหว่างที่ผมหยุด เปลีย่ นสาย คนดูทก่ี ำ� ลังสนุกกันก็มกั จะปรบมือช้าๆ ท�ำให้จอิ อร์จโิ อเอามาใช้เป็ น ฉายาของผมว่า Slowhand Clapton” แต่ ถา้ หากถามถึง Slowhand ที่เป็ นชื่ออัลบัม้ นัน้ มีความหมายเดียว ในโลกของดนตรี นัน่ คือชื่ออัลบัม้ ชุดแรกของเอริค แคลปตัน ทีข่ ายได้ในระดับ คว้ารางวัลแผ่นเสียงทองค�ำขาว ทีม่ เี พลงฮิตอย่าง Cocaine, Lay Down Sally, เพลงหวานๆ Wonderful Tonight และงานคัฟเวอร์สุดเซอร์ไพรส์ May You Never เป็ นอัลบัม้ ของแคลปตันชุดทีห่ า้ ทีอ่ อกต่อจาก No Reason to Cry ทีเ่ ป็ น

แพ็คเกจของ Slowhand: The 35th Anniversary Super Deluxe Edition

งานรวมดาว มีแขกรับเชิญอย่าง บ็อบ ดีแลน, รอน วูด้ (เฟเซส, โรลลิง สโตนส์) และสามสมาชิกของเดอะ แบนด์ ริค ดราโก/ ริชาร์ด มานูเอล และ ร็อบบี้ โรเบิรท์ สัน แต่กไ็ ปได้ไม่สวยนักในเรื่องยอดขาย ใน Slowhand แคลปตันกลับมาใช้วงของตัวเองเต็มร้อย และผลลัพธ์ทไ่ี ด้ ก็แตกต่าง ขณะที่ No Reason to Cry ยากจะหาความลงตัว Slowhand กลับพบ จุดลงตัวของงานกันตัง้ แต่เพลงแรก Cocaine ซึง่ เป็ นเพลงร็อคผสมบลูสจ์ ดั จ้าน สนุกๆ ฟังผ่อนคลาย เป็นความลงตัวทีส่ มั ผัสได้จากทุกเพลง และจากภาพรวมของอัลบัม้ ไม่ ว่ า จะเป็ น งานที่เ ป็ น บลู ส ต์ ามแบบฉบับ Mean Old Frisco, คัน ทรี ใ น Lay Down Sally, ร็อคจาก Cocaine และ The Core แล ้วก็ป๊อปทีห่ วานละเอียด


บุ๊คเล็คของอัลบั้มเมื่อกางออก ปกหน้า-หลังจะเป็นภาพเดียวกันอย่างที่เห็น

ของ Wonderful Tonight ตัวอัลบัม้ ไม่ใช่งานทีฟ่ งั แลว้ หลุดโลก เพราะวงเป็ นคนทีจ่ ดั การกับวัตถุดบิ ทุกอย่าง เนื้องานให้ความรูส้ กึ สบายๆ แม้แคลปตันและลูกทีมจะไม่ใช่วงทีด่ ูมสี สี นั จัดจ้าน แต่การท�ำงานก็ออกมาเนี้ยบ และมีความมันใจ ่ และความมัน่ ใจที่มี กับ สุ น ทรีย ภาพในงาน ก็ ท ำ� ให้ง านชุด นี้ เ ป็ น หนึ่ ง ในงานทีด่ ที ส่ี ุดของเอริค แคลปตัน หรืออาจจะดีทส่ี ุดก็วา่ ได้ แคลปตัน เลือกเปิ ดอัลบัม้ ด้วย Cocaine เพลงของเจเจ เคล ทีเ่ ขาเคยหยิบ After Midnight มาคัฟเวอร์แล ้วก่อนหน้านี้ และกับเพลงนี้ทม่ี าพร้อมจังหวะจะโคน ทีฟ่ งั ดูหนืดๆ แต่กม็ เี สน่หอ์ ย่างมหากาฬด้วยเมโลดี้ และเนื้อร้องทีเ่ อาตาย นี่คอื เพลง ทีก่ ร้าว และร็อคทีส่ ุดของ Slowhand แต่กลับกลายเป็ นเพลงฮิตตามสถานีวทิ ยุ ขณะที่ Lay Down Sally ทีเ่ ป็ นการร้องคู่คลอไล่กนั ในสไตล์การร้องแบบคันทรี่ คือเพลงทีเ่ ป็ นตัวก�ำหนดโทนของอัลบัม้ กับลีลาแบบฟังกี้ ทีม่ คี วามเป็ นบูก้ ีในตัว ท่วงท�ำนองทีส่ วยงาม จากเสียงกีตาร์สตราโตคาสเตอร์ของแคลปตันทีเ่ ล่นส�ำเนียง ลูกท่งุ ได้อย่างสดใส ส่วน We’re All the Way เพลงหวานๆ เต็มไปด้วยอารมณ์ ความรูส้ กึ ของดอน วิลเลียมส์ ก็กลายมาเป็ นเพลงทีแ่ คลปตันได้โชว์เสียงร้องนุ่มๆ แลกกับเสียงของมาร์ซี เลวีไ่ ด้อย่างไพเราะเพราะพริ้งโดยมีเสียงกีตาร์นวลละเมียด เล่นคลอเป็ นแบ็คกราวนด์ นัน่ คือส่วนหนึ่งของ 9 เพลงจาก Slowhand ทีไ่ ด้รบั การยกย่องมาจนถึงยุคนี้ ไม่ใช่ เป็ นเพียงแค่ อลั บัม้ ที่ประสบความส�ำเร็จระดับแผ่นทองค�ำขาวชุดแรกของ แคลปตัน แต่ Slowhand ยังเป็ นงานทีส่ ร้างนิยามใหม่ให้กบั เจ้าตัว ทีโ่ ชว์มาดนิ่งๆ กับดนตรีเท่ๆ ทีม่ คี วามเร่าร้อนแฝงอยู่ในความผ่อนคลาย ทีผ่ สมผสานบลูสก์ บั ร็อค ทีม่ คี วามเป็ นป๊ อป เข้ากับงานดนตรีแขนงอืน่ ๆ อย่างคันทรี ได้อย่างลงตัว ด้วยอายุเพลงทีอ่ ยู่ยงั้ ยืนยง ท�ำให้ Slowhand เป็ นอัลบัม้ อีกชุดหนึ่งทีท่ ำ� ออกมาจ�ำหน่ายใหม่หลายต่อหลายครัง้ และในวาระทีอ่ ลั บัม้ ชุดนี้อายุครบ 35 ปี ก็มกี ารท�ำอัลบัม้ ชุดนี้ออกมาสองเวอร์ชนั ่ ด้วยกัน ส�ำหรับบ้านเราเวอร์ชนั ่ ทีห่ าง่ายทีส่ ดุ ก็คงไม่พน้ Slowhand: The 35th Anniversary Deluxe Edition ซึง่ ท�ำออกมา เป็ นซีดีแผ่นคู่ ในแพ็คเกจแบบดิจิแพ็ค มีบุค๊ เล็ทหนา 16 หน้าลงรายละเอียด ของเพลงและนักดนตรีท่รี ่วมท�ำงาน และบทความพูดถึงความเป็ นมาของอัลบัม้ โดย เดวิด เฮพเวิรธ์ นักข่าวดนตรีของอังกฤษ ทีเ่ คยท�ำงานให้กบั นิตยสารดนตรี อย่าง เอ็นเอ็มอี และสถานีวทิ ยุบบี ซี มี าแลว้ ซึง่ เป็ นบทความทีเ่ พิง่ เขียนเมือ่ เดือน สิงหาคม 2012 ส�ำหรับตัวซีดี แผ่นแรกเป็ นงานต้นฉบับ ทีผ่ ่านการรีมาสเตอร์แล ้วเรียบร้อย รวม 9 เพลง บวกกับเพลงโบนัส ทีป่ ็ นงานเอาท์เทคอีก 4 เพลงได้แก่ Alberta และ อีกเพลงทีไ่ ม่เคยวางจ�ำหน่ายมาก่อน Looking at the Rain, Greyhound Bus, และ Stars, Strays and Ashtrays ส่วนแผ่นที่ 2 จะเป็ นบันทึกการแสดงสดของแคลปตันทีแ่ ฮมเมอร์สมิธ โอเดียน กรุงลอนดอน เมือ่ วันที่ 27 เมษายน 1977 ซึง่ เป็ นช่วงก่อนทีอ่ ลั บัม้ นี้จะออกวาง จ�ำหน่าย ทีม่ เี พลงในแบบแสดงสดให้ฟงั กันถึง 9 เพลงได้แก่ Tell the Truth,

Knocking on Heaven’s Door, Stormy Monday, Can’t Find My Way Home, Layla, I Shot the Sheriff รวมไปถึง Steady Rolling Man และ Badge นอกจากนี้ยงั มีอลั บัม้ ในแบบ Super Deluxe ออกมา ซึง่ จะมีซดี ที งั้ หมด 3 แผ่น คือ อัลบัม้ ต้นฉบับที่รีมาสเตอร์แลว้ บวกกับเพลงเอาท์เทค, ซีดี บันทึก การแสดงสด 2 แผ่น จากแฮมเมอร์สมิธ โอเดียน กรุงลอนดอน เมือ่ วันที่ 27 เมษายน 1977 รวม 14 เพลง, ดีวดี -ี ออดิโอ อัลบัม้ ทีฟ่ งั ได้ทงั้ แบบสเตอรีโอ และ 5.1 ปิ ดท้าย ด้วยงานอัลบัม้ ต้นฉบับในแบบไวนีล แลว้ ก็ยงั มีโปรแกรมทัวร์ ที่ทำ� ขึ้นมาใหม่เลียนแบบของเก่ า กับหนังสือ Behind-the-Scenes Look at the Recording อีกด้วย ตลอดระยะเวลาการท�ำงานเกือบๆ ครึง่ ศตวรรษ เอริค แคลปตันได้แสดงให้เห็น ถึงความเป็ นศิลปิ นทีเ่ ต็มไปด้วยความหลากหลายในตัว จากมือกีตาร์ทม่ี ากไปด้วย ฝี มอื มาสูก่ ารเป็ นนักแต่งเพลงทีเ่ ปี่ ยมไปด้วยอารมณ์ความรูส้ กึ ในงาน รวมไปถึงการ เป็ นนักร้อง นักดนตรีทเ่ี ชี่ยวชาญในการตีความเพลง ทีไ่ ม่จำ� กัดแนวทาง จะบลูส,์ แจ็ซซ์, ร็อคหรือคันทรี เอริค แคลปตันก็ทำ� ได้อย่างเยีย่ มยอด อัลบัม้ ของแคลปตัน หลายต่อหลายชุดกลายเป็ นทีน่ ยิ ม เป็ นกระแสของดนตรี ซึง่ เขาก็ทำ� ได้ดไี ม่วา่ จะเป็ น ในสไตล์ไหน เรื่องราวแบบได แต่มอี ลั บัม้ ไม่ก่ชี ดุ ของแคลปตัน ทีจ่ ะให้ความรูส้ กึ ในแบบเดียวกับที่ Slowhand ท�ำได้ โดยทีไ่ ม่ตอ้ งไปถามหาค�ำตอบถึงทีม่ า เพือ่ ทีจ่ ะได้มาเป็ นค�ำตอบทีไ่ ม่ชดั เจน เพราะนี่คืออัลบัม้ ทีค่ นทัง้ โลกยกย่อง และยังคงมีลมหายใจแข็งแรงผ่านกาลเวลา มากว่า 3 ทศวรรษ นี่คอื ต�ำนาน ทีไ่ ม่จำ� เป็ นต้องเสาะหาทีม่ ากันแต่อย่างใด

ALBUM PROFILE อัลบัม้ : Slowhands ศิลปิ น:เอริค แคลปตัน แนวเพลง: ร็อค ออกจ�ำหน่าย: พฤศจิกายน 1977 บันทึกเสียง: โอลิมปิ ค สตูดโิ อ, ลอนดอน, ประเทศอังกฤษ พฤษภาคม 1977 ความยาวของอัลบัม้ : 39:06 สังกัด: อาร์เอสโอ 3030 โปรดิวเซอร์: กลีน จอห์นส์ เพลงซิงเกิ้ล: Lay Down Sally, Wonderful Tonight, Cocaine อันดับสูงสุดในชาร์ทThe Billboard 200: 2 (1978) / UK Chart 23 (1977)


20

MUSIC SCOOP

กีตาร์ในต�ำนาน (1) เรื่อง: นายสะเด่าส์ (www.sadaos.com)

บทน� ำ เมื่ อ ครั้ ง จิ มิ เฮนเดริ ก ซ์ จุ ด ไฟเผยสตราโทคาสเตอร์ บ นเวที ค อนเสิ ร ์ ต งาน มอนเทเรย์ ป็อป เฟสติวัล เขาบอกว่านั่นเป็นการแสดงออกถึงความรัก “คุณเสียสละ สิ่งที่คุณรัก” เขากล่าว “ผมรักกีตาร์ของผม” แน่นอนว่าบรรดาสุดยอดมือกีตาร์ของโลก ทุกคนย่อมรักกีตาร์ของตัวเอง - สตีวี่ เรย์ วอห์น ถึงขั้นไปไกลกว่าเขาเพื่อน เมื่อเรียก เจ้ากีตาร์คใู่ จว่า “ภรรยาคนทีห่ นึง่ ” และนีค่ อื 20 กีตาร์ในต�ำนาน ของมือกีตาร์ทเี่ ป็นต�ำนานเช่นกัน

1

แบลคกี้ ของ เอริค แคลปตัน:

2

นีล ยัง กับ โอลด์ แบล็ค:

เพลงทีอ่ ดั ด้วยกีตาร์ไฟฟ้ าส่วนใหญ่ของ นีล ยัง ก็คือเสียงที่มาจากเจ้า โอลด์ แบล็ค นี่ละ โอลด์ แบล็ค เป็ นกีตาร์กบิ ๊ สัน เลส พอล โกลด์ท็อป จากยุ ค 50s ซึ่งยังซื้อมาตัง้ แต่ ปี 1969 เจ้าโอลด์ แบล็คผ่านการผ่าตัด ผ่านการโม มาไม่รกีู ้ ค่ รัง้ ต่อกีค่ รัง้ และก็ยนื หยัด ทนทานผ่าน การเสียหายมาหลายหนตลอดหลายปี ทผ่ี ่านมา

แบลคกี้สดุ รักของเอริค แคลปตัน เป็ นกีตาร์ เฟนเดอร์ สตราโตคาสเตอร์ ยุค 50 ทีม่ กี ารแต่งใหม่ โดยจริงๆ แลว้ นี่เป็ นกีตาร์ท่ปี ระกอบขึ้นมาจาก กีตาร์สแตรท 3 ตัว ที่แคลปตันซื้อมาจากร้าน ในแนชวิลล์ชว่ งยุค 70 หลังจากแคลปตันปลดระวาง แบลคกี้ถกู น�ำไปประมูลในปี 2004 เพือ่ น�ำเงินไป สนับสนุ น ครอสส์โรดส์ ศู นย์บำ� บัดที่แคลปตัน ก่อตัง้ ขึ้น และได้ราคาถึง 959,500 เหรียญ


3

บรูซ สปริงสทีน และ เฟนเดอร์ เอสไควร์:

วิลลี่ เนลสัน กับ ทริกเกอร์:

4

บางครัง้ อาจจะห้อยเทเลคาสเตอร์ แต่โดยปกติเแลว้ กีตาร์ไม้ธรรมชาติทไ่ี หล่ของสปริงสทีนสะพายอยู่ เหมือนทีเ่ ห็น บนปกอัลบัม้ Born to Run เมือ่ ปี 1975 นัน้ จริงๆ แล ้วก็คอื เฟนเดอร์ เอสไควร์ จากยุค 50s ทีม่ กี ารโมมาบ้างพอสมควร

กว่า 40 ปี แลว้ ที่วลิ ลี่ เนลสัน ใช้กีตาร์อะคู สติค มาร์ติน เอ็น 20 สายไนลอน ซึง่ เขาตัง้ ชื่อให้ว่า ‘ทริกเกอร์’ ตามชื่อม้าของ รอย โรเจอร์ส กีตาร์คลาสสิคลั ตัวนี้ถกู ออกแบบมาไม่ให้มพี คิ -การ์ด และสัญลักษณ์ทจ่ี ดจ�ำกันได้กค็ อื รูทเ่ี ห็นได้อย่างชัดเจน และขยายขึ้น เรื่อยๆ “เมือ่ ทริกเกอร์จากไป ผมจะเลิกเล่น” เนลสัน เคยกล่าวเอาไว้

ปรินซ์ และ คลาวด์:

6

สร้างชือ่ จนดังโด่งมาพร้อมๆ กับเจ้าของในหนัง Purple Rain ส�ำ หรับ กี ต าร์ท่ีโ มทรงให้มีส่ ว นเว้า โค้ง แสนเย้า ยวน ที่ช่ือ ว่ า ‘คลาวด์’ หรือ ‘เมฆา’ ซึง่ ออกแบบโดย ช่างมือดีแถบมินนิอาโพลิส บ้านเดียวกับปรินซ์ แล ้วน�ำไปผลิตอีกทีโดย ชีเตอร์ (Scheeter)

5

กี ต าร์ คู ่ กิ๊ บ สั น อี ดี เ อส-1275 ของ จิมมี่ เพจ :

กีตาร์ทย่ี ากจะมีใครลืมเลือน ซึง่ สร้างขึ้นมา เพือ่ เล่นในท่อนต่างๆ ทีม่ คี วามแตกต่างกันของเพลง Stairway to Heaven ซึง่ ได้รบั การยกย่องว่าเป็ น งานมหากาพย์แ ห่ ง วงการเพลงอี ก เพลงหนึ่ ง กีตาร์ตวั บนเป็ นกีตาร์ 12 สาย ขณะทีต่ วั ล่างเป็ น 6 สาย และด้วยรู ปทรงที่เตะตา ท�ำให้กลายเป็ น กีตาร์อกี ตัวหนึ่งทีถ่ กู ท�ำเลียนแบบอย่างแพร่หลาย :25


7

จอร์จ แฮร์รสิ นั และ ริคเคนแบคเคอร์ 12 สาย:

สมาชิกของเดอะ บีเทิลส์ คนที่ได้ช่ือว่าเป็ นกูรูกีตาร์ ประจ�ำวง เป็ นทีร่ ูก้ นั ดีวา่ เล่นเกร็ทช์เป็ นกีตาร์คู่ใจแน่ๆ หนึ่งตัว แต่บางทีกตี าร์ของเขาทีก่ ลายเป็ นต�ำนาน และโดดเด่นทีส่ ุดนัน้ น่าจะเป็ น กีตาร์ 12 สาย ริคเคนแบคเคอร์ ปี 1963 เสียงใสๆ ตัวนี้ ทางผูผ้ ลิตเป็ นคนมอบกีตาร์ตวั นี้ให้กบั ทางวงใช้เมือ่ คราว ทีไ่ ปทัวร์อเมริกาครัง้ แรก และแฮร์รสิ นั ก็ตกหลุมรักมันในทันที

8

ฮอฟเนอร์ ‘ไวโอลิน’ เบสส์ ของ พอล แมคคาร์ทนีย์:

มือเบสส์แห่งเดอะ บีเทิลส์ ใช้เบสส์ กีตาร์รูปร่างคลา้ ยไวโอลินตัวนี้ ที่กลาย เป็ นนิยามภาพของเขาบนเวทีการแสดง ในช่ ว งที่ท างวงยัง เป็ น วงดนตรี ฝึ ก หัก ในฮัม บู ร ์ก เยอรมัน นี ซึ่ ง ท�ำ ให้ภ าพ ของการเล่นด้วยมือซ้าย ดูไม่ ‘รกตา’

ลูซิลล์ ของ บี.บี. คิง:

9

หลังช่วยเจ้ากีตาร์กบิ ๊ สันราคา 30 เหรียญ รอดมาจากเปลวเพลิง ในโรงเต้นร�ำ อาร์แคนซอส์ เมือ่ ปี 1949 ศิลปิ นบลูสอ์ ย่าง บี.บี. คิง ก็ได้รูว้ ่า เหตุการณ์ไฟไหม้ในวันนัน้ มีท่มี าจากชายหนุ่ มสองคนที่ ก่อศึกหน้านางทีช่ ่อื ว่า ลูซลิ ล์ เขาเลยเอาชื่อนี้มาตัง้ เป็ นชื่อกีตาร์ของ เขาหลายๆ ต่อหลายตัวนับจากนัน้ ซึง่ ก็มที งั้ กิบ๊ สัน และเทเลคาสเตอร์ จนในปี 1980 กิบ๊ สันก็เริ่มผลิตกีตาร์ของ บี.บี.คิง รุ่น ลูซลิ ล์ ซึง่ เป็ น กีตาร์ท่ีมคี วามแตกต่ างหลากหลาย ผสมผสานกันของโครงลาย กับโครงของรุ่น อีเอส-355

กิ๊บสัน เลส พอล:

จากนักสร้างวิวฒั นาการทางด้านเสียง เลส พอล ร่วมทีมกับ กิบ๊ สัน เพื่อสร้างกีตาร์ไฟฟ้ านับตัง้ แต่ปี 1936 ซึ่งกลายเป็ นกีตาร์ รุ่นคลาสสิค ทีใ่ ช้ชอ่ื ของเดียวกับผู ้สร้างสรรค์ อยูค่ ู่กบั วงการเพลงร็อค มานานหลายทศวรรษ เสียงทีอ่ วบอ้วน รูปลักษณ์ทห่ี นักแน่น สร้างขึ้น จากนวัตกรรมของพอลทีเ่ รียกว่า ล็อก (log) ทีเ่ รียกแบบนี้กเ็ พราะว่า สายและพลังงานไฟฟ้ า ถูกวางผ่านชิ้นส่วนทีเ่ ป็ นใจกลางของไม้

10


FILM

01

02

03

01 Beasts of the Southern Wild เข้าชิงหนังเยี่ยม 02 Amour หนังภาษาต่างประเทศที่ได้เข้าชิงหนังเยี่ยม 03 แคธรีน บิเกโลว์ ปิ๋วในสาขาผู้ก�ำกับอย่างไม่น่าเชื่อ

เก็บตกผลผู้เข้าชิงรางวัลออสการ์ครั้งที่ 85 กับบรรดาเรื่องเซอร์ไพรส์ เรื่อง: นพปฏล พลศิลป์

รางวัลออสการ์ครัง้ ที่ 85 ประกาศรายชือ่ ผูเ้ ข้าชิงมาแล้วตัง้ แต่ ต้นเดือนมกราคม ซึง่ ก็มที งั้ ทีส่ ร้างความประหลาดใจและความผิดหวัง ให้ปรากฏ โดยเฉพาะในสาขาหลักๆ อย่างภาพยนตร์ยอดเยี่ยม, ผูก้ ำ� กับยอดเยีย่ มนัน้ เรียกเสียงฮือฮาได้ทงั้ วงการเลยทีเดียว แต่กอ่ น จะไปถึงตรงนั้น มานั่งคุยกันถึงหนังที่เข้าชิงรางวัลหนังยอดเยี่ยม กันก่อนดีกว่าว่า มีหนังเรื่องอะไรที่น่าสนใจบ้าง

ในปี น้ อี อสการ์เลือกหนังเข้าชิงรางวัลหนังเยีย่ ม 9 เรือ่ ง จากทีเ่ ต็มที่ เต็มแม็ก กันได้ 10 เรื่อง ได้แก่ Lincoln, Argo, Les Miserables, Zero Dark Thirty, Silver Linings Playbook, Life of Pi, Beasts of the Southern Wild, Amour, Django Unchained ทัง้ หมดก็เป็ นหนังทีเ่ ข้าชิง หรือคว้ารางวัลประจ�ำปี ของสมาคม, ชมรมต่างๆ มาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็ นลูกโลกทองค�ำ, รางวัลของสมาคมนักแสดง, สมาคม ผูก้ ำ� กับ, สมาคมผูอ้ ำ� นวยการสร้าง, ชมรมนักวิจารณ์ในรัฐต่างๆ และก็น่าดีใจที่ หนังเหล่านี้บา้ นเราได้ดูกนั เกือบครบ แม้บางเรื่องอาจจะเข้าฉายเฉพาะกรุงเทพฯ แต่กห็ วังว่า ทางค่ายหนังน่าจะพามาแอ่วเหนือกันบ้าง หนังหลายๆ เรื่องก็ลงโปรแกรมฉายในบ้านเราไปตัง้ แต่ปีทแ่ี ล ้ว เช่น Argo, Life of Pi ส่วน Les Miserables, Zero Dark Thirty ก็เข้าฉายกันตัง้ แต่ส้นิ เดือน มกราคมทีผ่ า่ นมา ขณะที่ Django Unchained รวมไปถึง Silver Lining Playbook ก็มกี ำ� หนดฉายวางเอาไว้แล ้ว อาจจะมีทย่ี งั ไม่รูจ้ ะออกหัวหรือก้อย ก็คอื Lincoln, Amour และ Beasts of the Southern Wild เรื่องแรกนัน้ มีขา่ วว่าทางวอร์เนอร์/ ฟ็ อกซ์ (ประเทศไทย) ไม่เอาเข้าแลว้ ส่วนสองเรื่องหลังยังไม่รูว้ ่าค่ายหนังอิสระ ค่ายไหนได้ไป ยูไนเต็ด, เอ็มวีดี หรือมงคลเมเจอร์ :27


06

04

05 04 ไมเคิล ฮาเนเก้ ผู้ก�ำกับของ Amour 05 เบน ไซท์ลิน ผู้ก�ำกับของ Beasts of the Southern Wild กับนางเอกของเรื่อง ที่กลายเป็นนักแสดงที่เข้าชิงรางวัลออสการ์อายุน้อยที่สุด 06 The Dark Knight Rises พลาดทุกรางวัล

หลายๆ คนอาจจะกลัวการดูหนังรางวัล แต่สำ� หรับออสการ์ หนังส่วนใหญ่ จะเป็ น งานที่ดู ง่า ย เข้า ถึง ไม่ ย าก เป็ น งานในแบบพาณิ ช ย์ศิ ล ป์ ที่คุ ณ ค่ า กับ ความบันเทิงมาพร้อมกัน เห็นได้ชดั จาก Life of Pi ที่พกปรัชญา และแง่มมุ ความคิดมาเต็มที่ แต่กด็ ูสนุก และท�ำรายได้ในบ้านเราได้มากกว่าหนังตลาดใหญ่ๆ หลายๆ เรื่องด้วยซ�ำ้ หนังโดดเด่นทีส่ ไตล์ดา้ นภาพ และโปรดัคชัน่ ทีใ่ ช้ศกั ยภาพ ของการเป็ นงานสามมิตอิ ย่างได้ผล ไม่ใช่แค่สวย หรือท�ำให้ภาพมีมติ ิ แต่รบั ใช้เรื่อง ได้เต็มประสิทธิภาพ เสริมประเด็นการเล่าเรื่องของตัวละครพายได้เป็ นอย่างดี เมือ่ สิง่ ทีเ่ ขาเล่าออกมานัน้ มีลกั ษณะฟุ้งฝัน เป็ นแฟนตาซีไม่ใช่นอ้ ย ทีต่ อ้ งยกให้กค็ อื บท ท�ำให้หนังที่เรื่องยากๆ สองแง่ สองมุม กลายเป็ นหนังที่น่าติดตามไปได้ ตลอดทัง้ เรื่อง ขณะที่ Zero Dark Thirty นัน้ ก็เป็ นทัง้ หนังสืบสวน, จารกรรม และแอ็คชัน่ ระทึกขวัญ เล่าเรื่องแบบเข้มข้น สมจริง สมจัง หนังเริ่มต้นอย่างช้าๆ เนิบนาบ โดยให้เวลาเต็มที่กบั ตัวละครในการปะติดปะต่อข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ที่มาแบบ :28

สะเปะสะปะเข้าด้วยกัน คนดูก็ตอ้ งปะติดปะต่อเรื่องราวทัง้ หลายที่หนัง ‘หว่าน’ มาเช่นกัน เมือ่ ทุกอย่างเข้าทีเ่ ข้าทาง จากหนังสืบสวน, จารกรรม Zero Dark Thirty ก็กลายเป็ นหนังแอ็คชัน่ ทีแ่ ม้จะรูต้ อนจบกันดีอยูแ่ ล ้วหากก็ยงั ลุนระทึ ้ ก ตัวบททีแ่ น่น การเล่าเรือ่ งทีด่ ูสมจริงสมจัง การแสดงในแบบทีเ่ อาตายกันไปเลยของเจสสิกา้ เชสเทน ทีพ่ ลิกไปจากทีเ่ ห็นใน The Help แบบสุดขัว้ Argo ก็ฉายในบ้านเราไปตัง้ แต่ปีทแ่ี ล ้ว และเป็นอีกเรือ่ งทีส่ ร้างจากเหตุการณ์จริง ตอนก�ำกับหนังเรื่องแรก Gone Baby Gone เบน เอฟเฟล็คได้รบั ค�ำชมมากมาย ทัง้ ส่งให้ เอมี่ ไรอันเข้าชิงออสการ์สาขานักแสดงสมทบ งานชิ้นทีส่ อง The Town ท�ำให้เจเรมี่ เรนเนอร์เข้าชิงรางวัลในหลายๆ สถาบันในสาขานักแสดงสมทบชาย ใน Argo เอฟเฟล็คขยับไปอีกระดับหนึง่ หลังจากงานสองเรือ่ งแรกทีเ่ ล่าเรือ่ งแบบนิง่ ๆ ก่ อนจะขมวดปมได้อย่ างตื่นเต้นในช่ วงท้าย Argo เล่าเรื่องได้มีสีสนั มากขึ้น เป็ นหนังระทึกขวัญทีไ่ ม่ตอ้ งยิงกันให้เปลืองกระสุน แต่กส็ นุก ลุน้ ทัง้ ๆ ทีห่ ากติดตาม เรื่องการเมืองระหว่างประเทศ ย่อมรูด้ ถี งึ บทสรุปของหนัง และไม่ใช่มแี ค่เรื่องปฏิบตั ิ การพาเจ้าหน้าทีส่ ถานฑูตออกจากเตหะราน Argo ยังมีแง่มมุ ในเชิงเสียดสี ทัง้ วงการ ภาพยนตร์ของฮอลลีวูด้ รวมไปถึงการด�ำเนินการทางการเมืองระหว่างประเทศ ของเจ้าหน้าที่ และนักการเมืองระดับสู งของอเมริกา มีอารมณ์ขนั ไปพร้อมๆกัน แถมบรรดานักแสดงก็ให้การแสดงทีส่ มจริงไม่แพ้ Zero Dark Thirty เลย Les Miserables เป็ นหนังชิงออสการ์เรื่องล่าสุดทีเ่ พิง่ ได้ชมไป นี่เป็ นการ น�ำเอาละครเพลงชือ่ เดียวกันทีส่ ร้างจากวรรณกรรมอมตะของวิคตอร์ อูโก้ มาท�ำเป็ น หนังอีกที และได้บรรดานักแสดงระดับท็อปมาสวมบทบาทเพียบ ไม่ว่าจะเป็ น ฮิวจ์ แจ็คแมน, รัสเซลล์ โครว์, แอนน์ แฮธาเวย์, อาแมนดา ไซย์ฟรีด, เอ็ดดี้ เรดมาย์น รวมไปถึง ซาช่า บารอน โคเฮน และเอเลนา บอนแฮม คาร์เตอร์ แน่นอน ว่าต้องเป็ นหนังเพลง และนักแสดงก็ได้โชว์เสียงของตัวเองเต็มๆ โดยเฉพาะการ ถ่ายท�ำทีใ่ ห้รอ้ งกันสดๆ หน้ากล ้อง มีเพียงเปี ยโนบรรเลงคลอ ก่อนจะน�ำเสียงร้อง ไปมิกซ์เข้ากับดนตรีในภายหลัง ท�ำให้เสียงร้องเต็มไปด้วยอารมณ์ความรูส้ กึ แม้จะ ไม่ใช่ทกุ คนทีร่ อ้ งเพลง ‘ดี’ แต่ทแ่ี น่ๆ ทุกคนร้องเพลง ‘ได้’ สามารถสัมผัสถึงอารมณ์ ผ่านน�ำ้ เสียง โดยเฉพาะเพลงเด่นๆ อย่าง I Dreamed a Dream ทีแ่ อนน์ แฮธาเวย์ ร้อง หรือ Suddenly เพลงใหม่ทแ่ี ต่งส�ำหรับหนังทีร่ อ้ งโดย ฮิวจ์ แจ็คแมน หนังมา ครบรส สุข เศร้า ตลก บู ๊ และมีเพลง เนื้อหาอาจจะเป็ นงานตามสูตร แต่ก็มนี ยั มากมายทีแ่ ฝงไว้ ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องของชนชัน้ แง่มมุ การเมือง ความแตกต่างของ ศีลธรรมกับกฏหมาย ซึง่ ทัง้ หมดท�ำให้เรื่องราวของ Les Miserables ยังไม่เชย หรือพ้นสมัยไป ทัง้ หมดนัน้ คืองานทีไ่ ด้ชมกันไปแล ้วในบ้านเรา ซึง่ ก็คงบอกไม่ได้วา่ เรื่องไหน ทีจ่ ะมาวิน เพราะยังมีอกี ตัง้ 5 เรื่องทีย่ งั ไม่ได้ชม ทีน้ ีก็มาถึงเรื่องเซอร์ไพรส์กนั บ้าง ซึ่งก็คงไม่พน้ เรื่องที่สามผู ก้ ำ� กับอย่าง เบน เอฟเฟล็ค จาก Argo, แคธรีน บิเกโลว์ จาก Zero Dark Thirty และทอม ฮูเปอร์ จาก Les Miserables พลาดการเข้าชิงในสาขาผูก้ ำ� กับ ทัง้ ๆ ทีต่ ่างก็ได้ชงิ รางวัลผูก้ ำ� กับยอดเยี่ยม ของสมาคมผูก้ ำ� กับ แถมหนังของพวกเขาก็ชิงรางวัล เป็ นกอบเป็ นก�ำ รวมทัง้ รางวัลหนังยอดเยีย่ ม Argo นัน้ เข้าชิง 7 รางวัล ส่วน Zero Dark Thirty เข้าชิง 4 รางวัล, Les Miserables แล ้วใหญ่ เพราะเข้าชิงถึง 8 รางวัล


เบน เอฟเฟล็ค คว้าลูกโลกทองค�ำแต่ไม่มีพื้นที่ในเวทีออสการ์

โดยคนทีเ่ บียดเข้ามา อย่าง เบน ไซทลิน จาก Beasts of the Southern Wild และ ไมเคิล ฮาเนเก้ จาก Amour นัน้ ถูกคาดการณ์วา่ น่าจะโดนมองข้าม ด้วยความที่ เป็ นหนังเล็กๆ และเรื่องหลังยังเป็ นหนังภาษาต่างประเทศอีกต่างหาก Beasts of the Southern Wild เป็ นเรือ่ งของเด็กน้อยฮัชพัพพี วัย 5 ขวบ ที่ใช้ชีวติ อยู่กบั พ่อ ที่จู่ๆ วันหนึ่งก็เกิดพายุถล่มชุมชนที่เธออาศัยอยู่จนน�ำ้ ท่วม ขณะเดียวกันพ่อเธอก็ป่วยหนักจนท�ำอะไรไม่ได้ ท�ำให้หนู นอ้ ยต้องพยายามหาทาง เอาตัวรอด เพือ่ ทีจ่ ะท�ำให้คนอืน่ ๆ ทีอ่ ยูร่ อบข้างรอดชีวติ ไปด้วย หนังได้รับค�ำชมอย่างมาก โดยเฉพาะการแสดงของ คเวนซาเน่ วอลลิส ที่ก ลายเป็ น ผู เ้ ข้า ชิ ง รางวัล ออสการ์อายุนอ้ ยทีส่ ดุ รวมไปถึงคว้ารางวัลจากเวทีตา่ งๆ มาโดยตลอด แต่ด ้วยความเล็ก ของหนัง ท�ำให้หลายๆ คนมองข้ามว่าไม่น่าจะถึงเวทีออสการ์ได้ และไม่น่าเป็ นไปได้ที่ เบนห์ ไซทลิน จะเข้าชิงรางวัลผู ้ก�ำกับ ด้วยการเบียดตัวเก็งเต็งหนึง่ ทัง้ หลายออกไปถึง 3 คน ขณะที่ Amour คือหนังพูดภาษาฝรัง่ เศส ทีก่ ำ� กับโดยผูก้ ำ� กับออสเตรียน ไมเคิล ฮาเนเก้ หนังว่าด้วยชีวติ ของคู่รกั วัยชรา แอนน์และจอร์จ อดีตครูสอนดนตรี ที่ฝ่ายแรกเกิดป่ วยเป็ นอัมพาตครึ่งตัว ท�ำให้ทงั้ คู่ตอ้ งหาทางรับมือกับสิง่ ที่เกิดขึ้น ในช่วงวัยสุดท้ายของชีวติ แม้จะเป็ นสิ่งที่พวกเขาไม่คุน้ เคยมาก่อน และเกิดขึ้น ในช่วงวัยที่ยากจะปรับตัว การเข้าชิงรางวัลหนังยอดเยี่ยมของ Amour ถือเป็ น เรือ่ งเซอร์ไพรส์ เพราะนานมากแล ้วทีห่ นังภาษาต่างประเทศถูกมองข้ามจากออสการ์ โดยดู เหมือนว่าจะพอใจให้เข้าชิงในสาขาภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยม เท่านัน้ ก็พอ เมือ่ รวมเข้ากับการที่ ไมเคิล ฮาเนเก้แซงหน้า 3 ผูก้ ำ� กับทีม่ ถี งึ สองคน ที่ค ว้า รางวัล ออสการ์ม าแล ว้ เข้า ชิง ได้ ถือ ว่า ยิ่ง เซอร์ไ พรส์ และไม่ต่ า งไปจาก Beasts of the Southern Wild เพราะ Amour ได้รบั การเสนอชื่อเข้าชิงเป็ นว่าเล่น จากงานเทศกาลภาพยนตร์ต่างๆ มาแทบนับไม่ถว้ น ทีเ่ ป็ นเรื่องบังเอิญอีกอย่างก็คอื ขณะทีน่ กั แสดงของ Beasts of the Southern Wild เป็ นนักแสดงอายุนอ้ ยทีส่ ุด ที่ได้ชิงออสการ์ เอมมานู เอลล์ ริว่า ของ Amour คือนักแสดงที่เข้าชิงรางวัล ทีอ่ ายุมากทีส่ ุด ถึง 84 ปี มองกันจริงๆ แล ้วเซอร์ไพรส์กไ็ ม่ถงึ กับเซอร์ไพรส์ เพราะเครดิตทีต่ ดิ หลังหนัง

ทัง้ สองเรื่อ ง และผู ก้ �ำ กับ ทัง้ สองคนมานัน้ แสดงให้เ ห็น ว่ า หนัง มีศ ัก ยภาพ แต่ทท่ี ำ� ให้กลายเป็ นเซอร์ไพรส์ได้กค็ อื การมองถึงรสนิยมของคณะกรรมการออสการ์ ทีส่ ่วนใหญ่มกั เลือกหนังใหญ่ๆ หนังท�ำเงิน และเป็ นหนังอเมริกนั หรืออย่างน้อย ก็พดู ภาษาอังกฤษ จะมองว่ารสนิยมของคณะกรรมการเปลีย่ นไปก็คงเป็ นได้ เพราะใน ช่ ว งหลายปี ม านี้ ออสการ์มีพ้ ืน ที่ ใ ห้ก ับ หนัง เล็ก ๆ มากขึ้น เรื่ อ ยๆ กระทัง่ The Hurt Locker เอง ก็คอื หนังอินดี้เล็กๆ เรือ่ งหนึ่ง การหลุดพื้นทีผ่ ูเ้ ข้าชิงในสาขาผูก้ ำ� กับยอดเยีย่ มของ บิเกโลว์, ฮูเปอร์ และ เอฟเฟล็ค ท�ำให้โอกาสเข้าวินในฐานะหนังยอดเยี่ยมของหนังตัวเองลดลงไปด้วย ถึงแม้จะไม่ใช่กฏตายตัวว่า หนังได้ท่รี างวัลหนังยอดเยี่ยม จะได้รางวัลผูก้ �ำกับ ยอดเยีย่ มด้วย หรืออย่างน้อยต้องเข้าชิงในทัง้ สองสาขา ถึงจะมีสทิ ธิค์ ว้ารางวัลใดรางวัลหนึง่ แต่โอกาสก็นอ้ ยมากๆ ทีจ่ ะเกิดขึ้นได้ เมือ่ มองไปถึงสถิตทิ ผ่ี า่ นๆ มา เรือ่ งเซอร์ไพรส์บนเวทีออสการ์ปีน้ ี ไม่ได้มีแค่เรือ่ งทีย่ กมา ยังมีเรือ่ งทีห่ นังอย่าง The Master และ Moonrise Kingdom ไม่ได้รับการเสนอชือ่ เข้าชิงหนังยอดเยีย่ มเลย ทัง้ ๆ ทีย่ งั มีพน้ ื ทีใ่ ห้กับหนังอีกหนึง่ เรือ่ งด้วยซ�ำ้ หรือการทีล่ โี อนาร์โด ดิคาพรีโอ ถูกมองข้าม ในสาขานักแสดงสมทบชาย ทัง้ ๆ ทีก่ ารพลิกบทบาทจากการรับคนพระเอก คนดีมาเป็ น ตัวร้ายแบบนี้ มักจะได้รบั ความสนใจจากคณะกรรมการออสการ์เสมอๆ ในสาขาหนัง ภาษาต่างประเทศยอดเยีย่ ม เป็ นการพลิกล็อคพอท้วมๆ เมือ่ The Intouchables ถูกมองข้าม แต่ทเ่ี ซอร์ไพรส์มากกว่าก็คอื การทีห่ นังอย่าง The Dark Knight Rises ไม่ได้รับการเสนอชือ่ แม้แต่รางวัลเดียว กระทังรางวั ่ ลในส่วนของงานโปรดัคชันต่ ่ างๆ ที่ หนังทุนสู ง รายได้งามแบบนี้มกั จะมาเป็ นเจ้าประจ�ำ ซึ่งจะว่าไปแลว้ นี่คือเรื่องที่ เซอร์ไพรส์ทส่ี ดุ ก็วา่ ได้ในเวทีออสการ์ครัง้ ที่ 85 แต่ทไ่ี ม่เซอร์ไพรส์แน่ๆ ก็คอื หนังในเวทีออสการ์นนั้ ไม่ใช่งานทีด่ ูยากมากมาย ไม่ใช่งานทีต่ อ้ งอาศัยลิฟท์ หรือเครนยกระดับเพือ่ การชม หนังส่วนใหญ่กว่า 80% คืองานเพือ่ ความบันเทิง ทีด่ ูสนุก มีคุณภาพ และหลายๆ เรื่องมีคุณค่าบางอย่าง ให้กบั ชีวติ หรือเป็ นอาหารสมองให้กบั คนดูอกี ด้วย 24 กุมภาพันธ์มาดูกนั ว่าหนังเรื่องไหนเข้าวิน และเรื่องไหนถูกทิ้งขาดวิน่ :29


PROGRAM

JAPAN FILM FESTIVAL ชวนชิมภาพยนตร์อารมณ์อุ่น เจแปนฟาวน์เดชัน่ กรุงเทพฯ จัดเทศกาลภาพยนตร์ญปี่ นุ่ ให้คอหนังเข้าชมฟรีในเดือนกุมภาพันธ์นี้ โดยน�ำภาพยนตร์เกีย่ วกับอาหาร ในหลากหลายอารมณ์มาเสิรฟ ์ ให้ผชู้ มได้เต็มอิม่ กับรสชาติ ของภาพยนตร์ 7 เรือ่ งทัง้ ในกรุงเทพฯ และเชียงใหม่

Éclair

エクレール~お菓子放浪記 (Ekureru: Okashi Hourouki) Director: KONDO Akio |2011|105 min เรือ่ งย่อ: เรือ่ งราวสะเทือนใจทีส่ ร้างขึ้นจากนวนิยายกึง่ อัตตชีวประวัตโิ ดย นิชมิ รู ะ ชิเงรุ ว่าด้วยความพยายามในการกลับคืนสูส่ ภาวะปกติของผู ้คนทัวไปที ่ ร่ อดชีวติ จากช่วงเวลา ทีส่ บั สนอลหม่านระหว่างและหลังสงครามโลกครัง้ ทีส่ อง ได้ถกู ถ่ายทอดอย่างอบอุ่น โดยผ่านมุมมองของ อาคิโอะ เด็กชายก�ำพร้าผู ้หลงใหลในขนมหวาน ต้นฤดูใบไม้ผลิ ในปี 1943 อาคิโอะ (โยชิ ฮาจิเมะ) ถูกจับได้วา่ ขโมยขนมเพราะความอดอยาก แต่แล ้ว ต�ำรวจนักสืบ โทยามะ (เอ็นโด เคนอิจ)ิ กลับหยิบยืน่ ขนมปังหวานแก่เขา อาคิโอะ ได้สมั ผัสถึงความอร่ อย และเรียนรู ถ้ ึงความอ่ อนโยนจากเพื่อนมนุ ษย์ดว้ ยกัน เป็ นครัง้ แรกในชีวติ ของเขา ในเวลาต่อมาเขาถูกส่งไปยังสถานควบคุมความประพฤติ และต้องเผชิญกับช่วงเวลาทีย่ ากล�ำบาก แต่ความทุกข์ของเด็กน้อยกลับเบาบางลง ทัง้ นี้ เพราะจิตใจของเขาได้รบั การปลอบโยนด้วยเพลง โอคาชิ โต๊ะ มุสเึ มะ (ขนมหวาน กับเด็กผู ้หญิง) ซึง่ ขับร้องโดยโยโกะ (ซาโอริ) ซึง่ เป็ นครูทน่ี นั ่

A Boy and His Samurai

ちょんまげぷりん (Chonmage Purin) Director: NAKAMURA Yoshihiro |2010| 108 min เรือ่ งย่อ: เรื่องราวทีท่ ำ� ให้หวั ใจอบอุ่นเรื่องนี้ สร้างจากการ์ตูนชื่อเดียวกันโดยนักวาด การ์ตูน อารากิ เก็น ก�ำกับโดย นาคามูระ โยชิฮโิ ระ ผูซ้ ง่ึ ประสบความส�ำเร็จอย่าง ล ้นหลามจากวงการภาพยนตร์ญป่ี ่ นุ เมือ่ ไม่นานมานี้ คิจมิ ะ ยาสุเบะ (นิชคิ โิ ด เรียว) ซามูไรจากยุคเอโดะ ผูซ้ ง่ึ ข้ามมิตเิ วลามาพบว่าตัวเขาก�ำลังหลงทางอยูใ่ นสมัยปัจจุบนั ระหว่างที่กำ� ลังอับจนหนทางไม่มที ่ไี ปนัน้ เขาก็พบกับ ยุสะ ฮิโรโกะ (โทโมซากะ ริเอะ) คุณแม่ลูกติดกับบุตรชายของเธอ เธอยอมให้เขาพักอยู่ดว้ ยโดยไม่คิดเงิน ซามูไรหนุ่มค่อยๆ ค้นพบศิลปะการท�ำขนมหวาน และในไม่ชา้ พรสวรรค์ของเขา ก็เบ่งบานเต็มที่

Kamome Diner

かもめ食堂 (Kamome Shokudo) Director: OGIGAMI Naoko|2006| 102 min เรือ่ งย่อ: มุเระ โยโกะ เขียนบทภาพยนตร์เรือ่ งนี้ข้นึ จากการดัดแปลงเค้าโครงเรือ่ งเดิม ของนวนิยายชือ่ เดียวกัน ก�ำกับโดย โอกิงามิ นาโอโกะ ซึง่ ก�ำกับ Yoshino’s Barber Shop (Barber Yoshino) ภาพยนตร์เรือ่ ง Kamome Diner เป็ นเรือ่ งราวทีท่ ำ� ให้หัวใจอบอุน่ เกีย่ วกับชีวติ ของผูค้ น บอกเล่าการมีปฏิสมั พันธ์ระหว่างเจ้าของร้านอาหารกับบรรดา ผู ้คนทีร่ วมตัวกันทีน่ นั ่ ซาจิเอะ (โคบายาชิ ซาโตมิ) จากญีป่ ่ นุ มาเปิ ดร้าน Kamome Diner ทีเ่ ฮลซิงกิ เมนู พเิ ศษของร้านคือข้าวปัน้ มีเพียงทอมมี่ (Jarkko Niemi) ฝรัง่ ผูค้ ลังไคล ่ ้ญีป่ ่ นุ เป็ นขาประจ�ำของร้านเพียงรายเดียวเท่านัน้ วันหนึง่ หญิงชาวญีป่ ่ นุ สองคน ซึง่ แต่ละคนต่างมีปญั หาส่วนตัวทีต่ า่ งกันออกไป มาช่วยงานทีร่ า้ นของซาจิเอะ จ�ำนวนลูกค้าก็ค่อยๆ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่ดูเหมือนว่าร้านแห่งนี้จะดึงดูดเพียงแค่ เหล่าคนทีม่ ปี ญั หาชีวติ คล ้ายกับว่าบทสนทนากับซาจิเอะ และอาหารรสเยีย่ มจะช่วย บรรเทาความกังวลของผู ้คนลงไปได้ ภาพยนตร์เรือ่ งนี้ถา่ ยท�ำทีเ่ ฮลซิงกิ โดยได้รับความ ร่วมมือเป็ นอย่างดีจากรัฐบาลฟิ นแลนด์และนักแสดงชือ่ ดังชาวฟิ นแลนด์อย่าง Markku Peltola (The Man Without a Past) มารับบทส�ำคัญในเรือ่ ง

:30

Rinco’s Restaurant

食堂かたつむり (Shokudo Katatsumuri) Director: TOMINAGA Mai |2010| 119 min เรือ่ งย่อ: เรือ่ งราวชีวติ อันอบอุน่ ทีส่ ร้างจากนวนิยายชิ้นแรกของ โองาว่า อิโตะ นักแต่งเพลง โดยใช้คอมพิวเตอร์กราฟฟิ คเอนิเมชัน่ และฉากในรูปแบบของละครเพลง ภาพยนตร์ เรื่องนี้จึงกลายเป็ นภาพยนตร์แนวแฟนตาซี ถ่ายทอดปาฏิหาริยเ์ ล็กๆ และการ ท�ำอาหารจากหัวใจ หลังจากเลิกรากับแฟนหนุ่ม รินโกะ (โค ชิบาซากิ) สูญเสีย เสีย งของเธอ และย้า ยกลับ ไปอยู่ บ า้ นกับ รู ริโ กะ (คิมิโ กะ โย) แม่ผู ม้ ีนิ ส ยั แปลกประหลาดด้วยความลังเลใจ แต่รนิ โกะก็พยายามทีจ่ ะหาหนทางส�ำหรับตัวเอง เธอตัดสินใจเปลีย่ นบ้านพักตากอากาศให้เป็ นร้านอาหาร ซึง่ เธอต้อนรับลูกค้าแค่เพียง หนึ่งกลุ่มต่อวันเท่านัน้ โดยเสิรฟ์ อาหารที่ทำ� ขึ้นพิเศษอย่างพิถพี ถิ นั ในไม่ชา้ ร้าน ของเธอก็ค่อยๆ เป็ นทีน่ ิยมอย่างแพร่หลาย เพราะลูกค้าทุกคนเชื่อว่าอาหารทีน่ นั ่ น�ำความสุขมาให้


Patisserie Coin De Rue

洋菓子店コアンドル (Yougashiten Koandoru) Director: FUKAGAWA Yoshihiro |2011| 115 min เรือ่ งย่อ: เรื่องราวสะเทือนอารมณ์ทม่ี ขี นมหวานรสอร่อยเข้ามาเกี่ยวข้อง หนังเรื่องนี้ มีขนมหวานสไตล์ยุโรปมากมายหลากหลายสีสนั มาช่วยเพิ่มความหวานให้ภาพ บนจอน่าชมยิง่ ขึ้น เรือ่ งราวของ นัทสึเมะ (ยูอิ อาโออิ) ลูกสาวคนท�ำเค้กจากคาโงชิมา่ เดินทางมาโตเกียวเพือ่ ตามหาแฟนหนุ่ม และพาเขากลับไปพร้อมกับเธอ แต่แล ้วเธอ เริ่มที่จะมองเห็นอนาคตของตัวเองในรู ปแบบใหม่ เมือ่ ได้พบกับอดีตคนท�ำขนม ในต�ำนานผูโ้ ด่งดังแห่งโตเกียว แต่กต็ อ้ งผิดหวังเมือ่ พบว่าเขาได้เลิกอาชีพนัน้ ไปแล ้ว เมือ่ ไม่มที ไ่ี ป เธอจึงตัดสินใจทีจ่ ะท�ำงาน และอาศัยอยู่ในร้านขนมแห่งหนึ่ง แต่เค้ก ทีเ่ ธอท�ำนัน้ ถูกโยริโกะ (เคอิโกะ โทดะ) เจ้าของร้าน และโทมูระ (เอกุจิ โยสุเกะ) นักวิจารณ์ ต�ำหนิเสมอ

Udon

うどん (Udon) Director: MOTOHIRO Katsuyuki |2006| 134 min เรือ่ งย่อ: จิฮโิ ระ คาเมยามะ ผูด้ ำ� เนินงานสร้าง และ คัทสึยูกิ โมโตะฮิโระ คู่หูทร่ี ่วมกัน สร้างซีร่สี ์ Bayside Shakedown (Odoru Daisousasen) กลับมาร่วมงานกัน อีกครัง้ เพือ่ ถ่ายทอดเรื่องราวการรวมตัวของผูค้ นทีร่ กั อุดง้ ภาพยนตร์ทำ� ให้เรารูจ้ กั วัฒนธรรมการท�ำอาหารทีไ่ ม่เหมือนใครของญีป่ ่ นุ ผ่านทางอุดง้ นี่เอง โคสุเกะ มัทสึอิ (ยูสุเกะ ซานตามาเรีย) เดินทางไปนิวยอร์กพร้อมความฝันทีจ่ ะเป็ นนักแสดงตลก แต่แลว้ ความฝันของเขาก็พงั ทลายลง และจ�ำต้องเดินทางกลับบ้านเกิดในจังหวัด คางาว่าพร้อมกับหนี้สนิ ติดตัว เขาต่อต้านพ่อมาตลอด โดยกล่าวว่าบ้านนอกไม่มี อะไรให้ฝนั ถึง จึงพยายามตะเกียกตะกายไปต่างประเทศ โคสุเกะละอายใจที่จะ โผล่หน้าไปให้พ่อ ซึง่ ยังคงท�ำอุดง้ อย่างพิถพี ถิ นั ทีโ่ รงงานอุดง้ ของพวกเขา เท็น โชสุเกะ (เทอร์ทอยส์ มัทสึ-โมโตะ) เพือ่ นสนิทของโคสุเกะ แนะน�ำงานทีน่ ิตยสารของเมืองให้ เขาตัดสินใจลองท�ำดูเพือ่ จะได้สะสางหนี้ทค่ี า้ งอยู่ให้หมด โคสุเกะ สร้างสรรค์ซานุขิ อุดง้ ขึ้นมา เพื่อให้เป็ นอุดง้ แบบพิเศษของจังหวัดคางาว่าเท่านัน้ ส่งผลให้เกิด ความนิยมในอุดง้ อย่างสูงแบบไม่เคยมีมาก่อน ความคลังไคล ่ ้เพียงชัว่ ครู่ค่อยๆ มอด ดับลงในไม่ชา้ ผูค้ นเริ่มกลับไปใช้ชวี ติ ตามปกติ อย่างไรก็ตามโคสุเกะค่อยๆ ฟื้ น ความมันใจขึ ่ ้นมา และตัดสินใจเดินทางไปอเมริกาเพือ่ ตามหาความฝันของเขาอีกครัง้ จัดโดย เจแปนฟาวน์เดชัน่ กรุงเทพฯ สถานกงสุลใหญ่ญป่ี ่ นุ ณ นครเชียงใหม่

ร่วมกับ โรงภาพยนตร์เอส เอฟ ซีเนม่า ซิต้ ี โรงภาพยนตร์เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ เชียงใหม่

The Chef of South Polar

南極料理人 (Nankyoku Ryorinin) Director: OKITA Shuichi |2009|125 min เรือ่ งย่อ: เรื่องตลกอบอุ่นใจเรื่องนี้ สร้างจากบทความสะเทือนอารมณ์ของ นิชมิ รู ะ จุน ซึง่ เป็ นพ่อครัวประจ�ำทีมสังเกตการณ์ทางวิทยาศาสตร์ทแ่ี อนตาร์กติก ภาพยนตร์ ถ่ายทอดอารมณ์ขนั ทีเ่ กิดขึ้นในสถานทีอ่ นั ไกลโพ้นของชาย 8 คน ทีใ่ ช้ชวี ติ ห่างจาก ครอบครัวท่ามกลางความหนาวเหน็บทีข่ วั้ โลกใต้ เป็ นความหนาวทีแ่ ม้แต่เชื้อไวรัส ก็ไม่สามารถด�ำรงชีวติ อยู่ได้ดว้ ยซ�ำ้ อุณหภูมโิ ดยเฉลีย่ อยู่ท่ี -54 องศาเซลเซียส ทีม นัก วิจ ยั 8 คนถู ก ส่ ง ไปยัง สถานี โ ดมฟู จิ ไกลจากฐานญี่ป่ ุนที่ส ถานี โ ชวะ อาหารจึงเป็ นเพียงสิ่งเดียวที่ทำ� ให้พวกเขามีความสุข ดังนัน้ ความรับผิดชอบของ นิชมิ รู ะ (มาซาโตะ ซาคาอิ) จึงกลายเป็ นภาระอันหนักอึ้ง เขาใส่หวั ใจลงไปในอาหาร ทุกมื้อทีเ่ ขาท�ำเพือ่ ความสุขเพียงอย่างเดียวของเพือ่ นร่วมทีม รวมถึง โมโตะซัง (คัทสึ ฮิสะ นามาเสะ) ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านธารน�ำ้ แข็ง และ กัปตัน (คิทาโร่) นักอุตนุ ิยมวิทยา แต่เนื่องจากไม่สามารถจัดหา และรักษาวัตถุดบิ ให้สดใหม่อยู่เสมอได้ การท�ำให้เมนู อาหารหลากหลายอยู่ตลอดเวลานัน้ เป็ นงานทีต่ อ้ งใช้ความพยายามมาก ในขณะที่ ตัวเขาเองก็คดิ ถึงมิยูกิ ภรรยาของเขา (นาโอมิ นิชดิ ะ) และลูกอีกสองคนในญีป่ ่ นุ นิ ชิมูระพยายามอย่างสุดความสามารถเพื่อจะจัดเตรียมอาหารรสเลิศให้เต็มโต๊ะ เพือ่ เติมเต็มท้องและหัวใจของเพือ่ นร่วมทีมจนเต็มอิม่ ทุกมื้อ กรุงเทพฯ: 15-17 กุมภาพันธ์ 2556 โรงภาพยนตร์ เอส เอฟ ซีเนม่า ซิต้ ี ชัน้ 6 เทอร์มนิ อล 21

เชียงใหม่: 22-24 กุมภาพันธ์ 2556 โรงภาพยนตร์ เมเจอร์ ซีนเี พล็กซ์ ชัน้ 4 เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต

15 กุมภาพันธ์ 18.30 รับบัตรชมภาพยนตร์ (พร้อมขนมและเครื่องดืม่ ) 19.00 พิธเี ปิ ด 20.00 Éclair (105 นาที)

22 กุมภาพันธ์ 18.30 รับบัตรชมภาพยนตร์ (พร้อมขนมและเครือ่ งดืม่ ) 19.15 พิธเี ปิ ด 19.30 Éclair (105 นาที)

16 กุมภาพันธ์ 14.00 Kamome Diner (102 นาที) 16.30 The Chef of South Polar (125 นาที) 19.00 Patisserie Coin De Rue (115 นาที)

23 กุมภาพันธ์ 14.00 Kamome Diner (102 นาที) 16.00 The Chef of South Polar (125 นาที) 18.30 Patisserie Coin De Rue (115 นาที)

17 กุมภาพันธ์ 14.00 Rinco’s Restaurant (119 นาที) 16.30 UDON (134 นาที) 19.00 A Boy With His Samurai (108 นาที)

24 กุมภาพันธ์ 14.00 A Boy and His Samurai (108 นาที) 16.00 UDON (134 นาที) 18.30 Rinco’s Restaurant (119 นาที)

*** กรุณามารับบัตรชมภาพยนตร์ทจ่ี ดุ ลงทะเบียนหน้างาน 1 ชัวโมงก่ ่ อนเวลาฉายของแต่ละเรือ่ ง*** ***ยกเว้น เรือ่ ง ‘Éclair’ วันศุกร์ท่ี 15 กุมภาพันธ์ : กรุณามาก่อน 1 ชัวโมง ่ 30 นาที ***

สนับสนุ นโดย สถานเอกอัครราชทูตญีป่ ่ นุ ประจ�ำประเทศไทย องค์การส่งเสริมการท่องเทีย่ วแห่งประเทศญีป่ ่ นุ สถาบันสอนท�ำอาหารทสึจิ วิทยาลัยดุสติ ธานี

สอบถามข้อมูลเพิม่ เติม เจแปนฟาวน์เดชัน่ กรุงเทพฯ โทร. 02-260-8560-3 :31


ART

CHIANG MAI DOCUMENTARY ARTS FESTIVAL เทศกาลภาพถ่ายและภาพยนตร์สารคดีเชียงใหม่ 8-14 กุมภาพันธ์ 2556 ณ หอนิ ทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Documentary Arts Asia Gallery และศูนย์ศิลปะบ้านตึก www.cdaf.asia

ในเดือนกุมภาพันธ์น้ ี ผูท้ ส่ี นใจศิลปะภาพถ่ายและภาพเคลือ่ นไหวเชิงสารคดี ไม่น่าพลาดไปร่วมงาน ‘เทศกาลภาพถ่ายและภาพยนตร์สารคดีเชียงใหม่’ (Chiang Mai Documentary Arts Festival) โดยการร่วมมือกันของ Documentary Arts Asia , มูลนิธเิ สฐียรโกเศศ-นาคะประทีป และคณะวิจติ รศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดแสดงภาพถ่าย รวมทัง้ ภาพยนตร์สารคดีจากหลายประเทศ ทัว่ เอเชีย, ร่วมฟังการบรรยายจากศิลปิ นและช่างภาพสารคดีช่อื ดัง อาทิ มิทสุ ไมดะ (จากกลุม่ ช่างภาพหญิง ชาวเอเชีย, เอกรัตน์ ปัญญะธารา) เข้าร่วมอบรมการถ่ายภาพ และภาพยนตร์ การประมูลผลงานภาพถ่าย มีเปิ ดเทศกาลวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2556 ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ถนนนิมมานเหมินท์) เวลา 17.00 - 21.00 น. โดยทุกกิจกรรมผูส้ นใจสามารถเข้าร่วมโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ดูรายละเอียดงานเพิม่ เติม หรือสมัคร เข้าร่วมอบรม และ Portfolio Reviews ได้ท่ี www.cdaf.asia :32


ตารางกิจกรรม Chiang Mai Documentary Arts Festival 2013 Program Date

Time

Events / Activities

8th Feb 2012

6 – 9:30 PM

Opening Party (งานเปิ ดเทศกาล ฯ)

CMU Art Center (หอศิลป์ฯ มช.)

9th Feb 2012 3 - 4 PM 4 - 5 PM 7 – 9:30 PM

Artist Talk by Mitsu Maeda from Asian Woman photographer Showcase (บรรยายโดย มิทสุ ไมดะ จากกลุม่ ช่างภาพหญิงชาวเอเชีย) Artist Talk by Green Peace การบรรยายและเปิ ดนิทรรศการ โดย กรีนพีซ Thai Film (สารคดีไทย) : The Cheer Ambassadors (With Q&A) by Luke Cassady-Dorion

CMU Art Center (หอศิลป์ฯ มช.)

10th Feb 2012 12 – 4 PM 4:30 - 6 PM 7 - 9 PM

Portfolio Review (วิพากษ์/ทบทวนแฟ้ มผลงาน) Opening of “It’s Personal” Exhibition & Artist Talk by Ekkarat Punyatara (การบรรยายและเปิ ดนิทรรศการโดย เอกรัตน์ ปัญญะธารา) “Confessions of a photo activist” by Shahidul Alam (หัวข้อบรรยายโดย ชาฮิดลุ อลาม)

11st Feb 2012 1 - 3 PM 1 - 4 PM 4 – 5:30 PM 7 – 9:30 PM

Burma Photographers Panel All About Printing Your Photobook Workshop Opening of “Crying Meri” Exhibition by Vlad Sokhin (กิจกรรมเปิ ดนิทรรศการ “Crying Meri” ) Chinese Film (สารคดีจนี ) : High Tech, Low Life by Stephen Maing

12nd Feb 2012 1 - 3 PM 1 - 4 PM 4 - 5.30 PM 7 – 9:30 PM

Burma Rights Video Network Presentation Filmmaking with your DSLR Workshop Artist Talk by Asian Woman Photography Showcase (การบรรยายและเปิ ดนิทรรศการโดยกลุม่ ช่างภาพหญิงชาวเอเชีย) Cambodian Film (สารคดีกมั พูชา) : Golden Slumbers by Davy Chou

13rd Feb 2012 12 - 4 PM 1 - 4 PM 4 - 5PM 6:30 - 9.30 PM

Portfolio Review (วิพากษ์/ทบทวนแฟ้ มผลงาน) Magic Lantern–Steroids for your Camera Workshop Artist Talk - Kashmir Exhibition การบรรยายและเปิ ดนิทรรศการเรือ่ งราวของ แคชเมียร์บนนิตยสารอีมาโฮ) Palestine Film (สารคดีปาเลสไตน์): 5 Broken Cameras by Emad Burnat, Guy Davidi

14th Feb 2012 1 - 3 PM 6 - 9.30 PM

Burmese Film (สารคดีพม่า) Aung San Suu Kyi - The Choice by Angus Macqueen Closing Party and live photography auction (การประมูลภาพถ่ายและพิธปิ ิ ดเทศกาล ฯ)

Locations

CMU Art Center (หอศิลป์ฯ มช.) CMU Art Center Theater (หอศิลป์ฯ มช.) CMU Art Center (หอศิลป์ฯ มช.)

DAA Center Gallery (DAA แกลเลอรี)่ CMU Art Center Theater (หอศิลป์ฯ มช.) CMU Art Center Theater (หอศิลป์ฯ มช.) CMU Art Center (หอศิลป์ฯ มช.) Baan Tuek Art Center (ศูนย์ศลิ ปะบ้านตึก) CMU Art Center Theater (หอศิลป์ฯ มช.) CMU Art Center Theater (หอศิลป์ฯ มช.) CMU Art Center (หอศิลป์ฯ มช.) CMU Art Center (หอศิลป์ฯ มช.) CMU Art Center Theater (หอศิลป์ฯ มช.) CMU Art Center (หอศิลป์ฯ มช.) CMU Art Center (หอศิลป์ฯ มช.) CMU Art Center (หอศิลป์ฯ มช.) CMU Art Center Theater (หอศิลป์ฯ มช.) CMU Art Center Theater (หอศิลป์ฯ มช.) CMU Art Center (หอศิลป์ฯ มช.) :33


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.