บทคัดย่อฉบับสมบูรณ์

Page 135

โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖

ปำกกำมำร์กเกอร์จำกน้ำสกัดใบชำเขียวกับผงตะไบเหล็ก ชวนเฉลิม กวีวัฒน์, กวินทิพย์ กสิโสภำ และอภิวัฒน์ บำงแสงอ่อน ครูที่ปรึกษำโครงงำน อมรรัตน์ บัวอิ่น โรงเรียนธัญบุรี จ.ปทุมธานี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1

บทคัดย่อ โครงงานเรื่อง ปากกามาร์กเกอร์จากน้าสกัดใบชาเขียวกับผงตะไบเหล็กจัดทาขึ้นตั้งแต่วันที่ 28 มิถุนายน – 8 กันยายน พ.ศ. 2555 เนื่องจากปัจจุบันประชาชน เช่น นักเรียน นักศึกษา มีการใช้ปากกามาร์กเกอร์กันอย่างมากเพราะปากกาชนิดนี้ช่วย เน้นข้อความที่สาคัญและสีสันของปากกาทาให้ช่วยในการจดจา แต่หมึกของปากกามาร์กเกอร์มีกลิ่นที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของ ผู้ใช้ และปากกามาร์ก เกอร์มีราคาค่อนข้างสูง คณะผู้จัดทาจึงต้องการผลิตหมึกปากกามาร์กเกอร์ และจากความรู้เรื่องแทนนิน แทนนินสามารถรวมตัวกับเกลือของธาตุเหล็ก ได้สารประกอบสีเขียว สีน้าเงิน จึงใช้ในอุตสาหกรรมการย้อมสีและทาหมึก และพืช ที่มีสารนี้คือ ใบชา ดังนั้นคณะผู้จัดทาจึงนาใบชาและผงตะไบเหล็กมาทาปฏิกิริยาทางเคมีและเติมกลิ่นสังเคราะห์เพื่อให้ได้หมึกของ ปากกามาร์กเกอร์ที่ไม่มีสารเคมีปะปนอยู่และไม่เป็นอันตรายต่อผู้ใช้ มีต้นทุนต่าและยังมีกลิ่นหอมอีกด้วยโดยการ ตวงใบชาเขียว แห้งกับเครื่องชั่ง 20 กรัม ตวงน้า 100 มิลลิลิตร ใส่ลงไปในบีกเกอร์ใบชาเขียวที่ได้ตวงไว้ ต้มใบชาเขียว 5 นาที บนเตาให้ความ ร้อนใช้ผ้าขาวบาง กรองน้าใบชาเขียวที่ต้มไว้ตวงผงตะไบเหล็ก 10 กรัม ใส่ลงไปในบีกเกอร์ น้าใบชาเขียวที่กรองไว้ คนสาร 15 นาที ทาซ้ากับข้อ 1 – 6 อีก 2 ครั้ง แต่เปลี่ยนผงตะไบเหล็ก 10 กรัม เป็น ผงตะไปเหล็ก 5 กรัม และ 15 กรัม ตามลาดับ ตั้งทิ้งไว้ 2 วัน นาสีผสมอาหาร มาละลายในน้าเปล่า 20 มิลลิลิตร แล้วเติมกลิ่นด้วยน้าหอมสังเคราะห์ 3 หยด คนให้เข้ากัน นาน้าหมึกที่ตั้งทิ้งไว้ 2 วัน ทั้ง 3 บีกเกอร์ มาแยกใส่บีกเกอร์ละ 10 มิลลิลิตร นาน้าที่ละลายสีผสมอาหารไว้มาใส่ในบีกเกอร์น้าหมึกที่แยกไว้ทั้ง 3 บีเกอร์ แล้วคนให้เข้ากันล้างหัวปากกาไวท์บอร์ด และ นาไส้ปากกาไวท์บอร์ดเก่าออก แล้วใส่สาลีเข้าไปแทน นาสารที่ได้ มาหยดใส่ หัวปากกาไวท์บอร์ด และ ไส้ที่ทาจากสาลีทดสอบโดยการขีดเป็นเส้นยาว 10 เซนติเมตร และ ทดสอบโดยการขีดทับบนกระดาษที่ มีตัวหนังสือพบว่าใส่ใบชา 20 กรัม ผงตะไบเหล็ก 5 กรัมเส้นที่ขีดมีสีจางเกินไปและเมื่อใส่ใบชา 20 กรัม ผงตะไบเหล็ก 10 กรัม เส้นที่ขีดมีสีใกล้เคียงกับปากกามาร์กเกอร์ไม่ทึบเกินไปและเมื่อใส่ใบชา 20 กรัม ผงตะไบเหล็ก 15 กรัมเส้นที่ขีดมีสีเข้มทึบมองไม่ เห็นตัวหนังสือที่เน้นจากการทดลองทาให้พบว่าอัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตปากกามาร์กเกอร์ให้มีคุณภาพคล้ายกับปากกา มาร์กเกอร์ที่ผลิตจากสารเคมี คือ ใส่ใบชา 20 กรัม กับ ผงตะไบเหล็ก 10 กรัม

๑๓๑


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.