บทคัดย่อฉบับสมบูรณ์

Page 117

โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖

เทียนหอมสมุนไพร (Aloma Herb Candle) ประภำศิริ สุจริต, ชนำนันท์ วงศ์รอด และรวิศรำ สิทธิชัย โรงเรียนอุทัยวิทยาคม อาเภอเมืองอุทยั ธานี ๖๑๐๐๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๒ อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ๖๐๐๐๐

บทคัดย่อ โครงงาน “เทียนหอมสมุนไพร” เป็นโครงงานที่ศึกษาในเรื่อง อุณหภูมิและปริมาณที่ดีที่สุดที่มีผลต่อเทียน ระยะเวลาใน การหลอมละลายเมื่อเราผสมสมุนไพรในแต่ละชนิด และการสารวจความพึงพอใจในเทียนหอมแต่ละชนิด โดยจะมีสมุนไพร ๔ ชนิด ที่นามาใช้ในการทดลองนี้ คือ ใบเตย กุหลาบ ผิวมะกรูด และกากกาแฟ โดยการศึกษาจะแบ่งออกเป็น 1 ขั้นตอนตามจุดมุ่งหมาย ของการทดลอง ขั้นตอนที่ 1 ในการศึกษาอุณหภูมิที่ดีที่สุด โดยจะผลิตตัวเทียนที่ใช้อุณหภูมิที่กาหนดไว้ คือ 100 90 และ 80 องศาเซลเซียส แล้วนาไปทดสอบจากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างไว้จานวน 20 คน เมื่อได้กลุ่มตัวอย่างแล้วเราจึงนาเทียนหอมในแต่ละชนิด ให้กลุ่มตัวอย่างทดสอบแล้วโดยการทดสอบ 1 ชนิดแล้วพักเป็นเวลา 30 นาทีแล้วจึงทดสอบต่อในเทียนอุณหภูมิต่อไป เมื่อทดสอบ ครบหมดแล้วจึงกรอกแบบประเมินความพึงพอใจแล้ว เมื่อได้ผลการประเมินความพึงพอใจครบแล้วจึงนามาวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยและ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 ในการศึกษาปริมาณที่ดีที่สุด โดยจะผลิตตัวเทียนที่ใช้ปริมาณสมุนไพรที่กาหนดไว้ คือ 10 กรัม, 20 กรัม และ 30 กรัม แล้วนาไปทดสอบจากการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง จานวน 20 คน เมื่อได้กลุ่มตัวอย่างแล้วเราจึงนาเทียนหอมในแต่ ละปริมาณให้กลุ่มตัวอย่างทดสอบแล้วโดยการทดสอบ 1 ชนิดแล้วพักเป็นเวลา 30 นาทีแล้วจึงทดสอบต่อในเทียนอุณหภูมิต่อไป เมื่อทดสอบครบหมดแล้วจึงกรอกแบบประเมินความพึงพอใจแล้ว เมื่อได้ผลการประเมินความพึงพอใจครบแล้วจึงนามาวิเคราะห์ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเช่นเดียวกับขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 3 ทดสอบระยะเวลาในการหลอมละลายเทียนในแต่ละชนิด โดยวิธีการทดลอง คือ นาเทียนในแต่ละชนิดจุดในเวลาที่พร้อมกันและจับเวลาตั้งแต่เริ่มจุดจนถึงเวลาที่เทียนหลอมละลายจนเทียน ดับไปแล้วจึงจดบันทึกผลการทดลอง และขั้นตอนที่ 4 ประเมินความพึงพอใจของเทียนแต่ละชนิด โดยวิธีการนาเทียนไปให้กลุ่ม ตัวอย่าง จานวน 20 คน (กลุ่มเดิมกับขั้นตอนที่ 1 และ 2 ) ทดสอบ โดยวิธีการนาเทียนไปให้กลุ่มตัวอย่างทดสอบแล้วพักไว้ 30 นาที จึงนาเทียนชนิดต่อไปให้ทดสอบ เพื่อลดการผิดพลาด เมื่อสอบถามครบแล้วจึงนามาวิเคราะห์เป็นค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า อุณหภูมิที่ดีที่สุด คือ อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส ใบเตย และกาแฟมีกลิ่นที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ 4.85 และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ 0.36 ผลการทดลองต่อไป พบว่า ปริมาณที่ดีที่สุด คือ ปริมาณ 30 กรัม ให้กลิ่นที่มากที่สุด ซึ่งมีค่าเฉลี่ย คือ 4.75 และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ 0.44 ในผลการทดลองต่อไป พบว่า เทียนหอมจากผิวมะกรูดจะละลายช้ า ที่สุดเนื่องด้วยจากในองค์ประกอบที่ผิวมะกรูดมีธาตุคาร์บอนอยู่จึงทาให้ละลายได้ช้า และเทียนที่ละลายเร็วที่สุด คือ เทียนหอมจาก ใบเตย เนื่องด้วย ใบเตยเป็นพืชที่มีการเผาไหม้ได้เร็วมาก จึงทาให้ละลายได้เร็วที่สุด ผลการทดลองสุดท้าย พบว่า เทียนหอมจาก กากกาแฟ เป็นเทียนหอมที่มีค่านิยมความพึงพอใจสูงที่สุด ซึ่งเห็นได้จาก ค่าเฉลี่ย สูงที่สุด คือ 4.55 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ 0.74 ดังนั้นจากการทดลองทั้งหมด สามารถสรุปได้ว่า เทียนหอมที่ใช้อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส และมีปริมาณสมุนไพร 30 กรัม จะเป็นเทียนหอมที่มีประสิทธิภาพที่ดีที่สุด คำสำคัญ: เทียนหอมสมุนไพร, ใบเตย, ผิวมะกรูด, กุหลาบ, กากกาแฟ

๑๑๓


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.