รายงานสถานการณ์ตลาดแรงงานฯ รายปี 2557

Page 1


ขาราชการทุกฝายมีหนาที่เหมือนกัน ที่จะตองตั้งใจขวนขวายปฏิบัติงานดวย ความฉลาดรอบคอบ ใหสาํ เร็จลุลว งตรงตามเปาหมายโดยไมชกั ชา และทีจ่ ะตองรวมกับ ชาวไทยทุกคนในอันที่จะอุมชู รักษาความดีในชาติใหยืนยงมั่นคงอยูคูกับผืนแผนดินไทย ยิง่ เปนผูใ หญ มีตาํ แหนงสําคัญ ยิง่ จะตองปฏิบตั ใิ หดี ใหหนักแนน ใหมปี ระสิทธิภาพสูงขึน้ ผลงานที่สําเร็จขึ้นจากความรวมมือและจากความบริสุทธิ์ใจ จักไดแผไพศาลไปตลอด ทั่วทุกหนแหง ยังมีความสุข ความเจริญที่แทจริงใหบังเกิดขึ้นไดตามที่ปรารภปรารถนา พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ ๓๐ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๒๔


ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

ค�าน�า สถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือปี 2558 จัดท�าขึ้นเพื่อให้ทราบถึงข้อมูลประชากร และก�าลังแรงงานข้อมูลตลาดแรงงาน (ความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และ การบรรจุงาน) ภาวะการลงทุน ภาวะเศรษฐกิจและการเงิน การไปท�างานต่างประเทศ การท�างาน ของคนต่างด้าว และผูป้ ระกันตนทีข่ นึ้ ทะเบียนกรณีวา่ งงานของ 17 จังหวัดภาคเหนือ เอกสารฉบับนี้ ส� า เร็ จ ได้ ด ้ ว ยการสนั บ สนุ น ข้ อ มู ล จากส� า นั ก งานสถิ ติ แ ห่ ง ชาติ กรมโรงงานอุ ต สาหกรรม ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 1 ส�านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ธนาคารแห่งประเทศไทย ส�านักงานภาคเหนือ ส�านักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ ส�านักบริหารแรงงานต่างด้าว กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน และส�านักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือ ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง ขอขอบคุณทุกหน่วยงานที่ได้ให้การสนับสนุน ข้อมูล และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ทั้งนี้หากท่านมีข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการจัดท�าครั้งต่อไปขอได้โปรดติดต่อโดยตรงที่ ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง ศูนย์ราชการชั้น 3 ถนนวชิราวุธด�าเนิน ต�าบลพระบาท อ�าเภอเมืองล�าปาง จังหวัดล�าปาง 52000 หรือแจ้งทางโทรศัพท์ได้ที่หมายเลข 0-5426-5050 โทรสาร 0-5426-5071 หรือ E-mail : lm_lpg@live.com

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง มิถุนายน 2558


ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

สารบัญ หน้า ค�าน�า สารบัญ บทสรุปส�าหรับผู้บริหาร

ก–ข

ประชากรและก�าลังแรงงาน • ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามประเภทอาชีพ • ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม • ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามระดับการศึกษาที่ส�าเร็จ • ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามสถานภาพการท�างาน • ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามชั่วโมงการท�างานต่อสัปดาห์ • ภาวะการว่างงานและอัตราการว่างงาน

1 2 3 3 4 4 5

ภาวะตลาดแรงงานภาคเหนือ • ความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงาน

5 6

ภาวะการลงทุนภาคเหนือ • จ�าแนกตามรายจังหวัด • จ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม • โครงการที่ได้รับอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุน

6 7 7 8

ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือ

9

การไปท�างานต่างประเทศภาคเหนือ • จ�าแนกตามวิธีการเดินทาง • จ�าแนกตามรายประเทศ • จ�าแนกตามรายจังหวัด

10 10 11 11

การท�างานของคนต่างด้าวภาคเหนือ • จ�าแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาตท�างาน • จ�าแนกตามรายจังหวัด

12 12 13

ผู้ประกันตนที่ขึ้นทะเบียนกรณีว่างงานภาคเหนือ

13

บทความ “ประเทศไทยใน 30 ปีข้างหน้า... สร้างการเติบโตอย่างเปนธรรม”

14


ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

สารบัญตาราง ตารางที่ 1 ตารางที่ 2 ตารางที่ 3 ตารางที่ 4 ตารางที่ 5 ตารางที่ 6 ตารางที่ 7 ตารางที่ 8 ตารางที่ 9 ตารางที่ 10 ตารางที่ 11 ตารางที่ 12 ตารางที่ 13 ตารางที่ 14 ตารางที่ 15

จ�านวนและร้อยละของประชากร จ�าแนกตามสถานภาพแรงงานและก�าลังแรงงาน จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�า จ�าแนกตามประเภทอาชีพ จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�า จ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�า จ�าแนกตามระดับการศึกษาที่ส�าเร็จ จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�า จ�าแนกตามสถานภาพการท�างาน จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�า จ�าแนกตามชั่วโมงการท�างานต่อสัปดาห์ จ�านวนผู้ว่างงานและอัตราการว่างงาน จ�าแนกตามรายจังหวัด ความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงาน เปรียบเทียบปี 2556 กับปี 2557 จ�านวนโรงงาน เงินลงทุน และการจ้างงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ จ�าแนกตามรายจังหวัด จ�านวนโรงงาน เงินลงทุน และการจ้างงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ จ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม โครงการที่ได้รับอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนจ�าแนกตามรายจังหวัด โครงการที่ได้รับอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนจ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม จ�านวนและร้อยละของคนงาน 17 จังหวัดภาคเหนือ ที่ได้รับอนุญาตเดินทาง ไปท�างานต่างประเทศ จ�านวนคนต่างด้าวจ�าแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาตท�างานเปรียบเทียบ ณ ธันวาคม 2556 และ ณ ธันวาคม 2557 สาเหตุการถูกเลิกจ้าง และลาออกจากงานของผู้ประกันตนปี 2557

สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิที่ 1 โครงสร้างประชากรและก�าลังแรงงานภาคเหนือปี 2557 แผนภูมิที่ 2 ความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงาน เปรียบเทียบปี 2556 และปี 2557 แผนภูมิที่ 3 จ�านวนคนงานที่ได้รับอนุญาตให้เดินทางไปท�างานต่างประเทศ จ�าแนกตามวิธีการเดินทาง แผนภูมิที่ 4 ประเทศที่คนงานเดินทางไปท�างานมากที่สุด 10 อันดับแรก แผนภูมิที่ 5 จ�านวนคนต่างด้าวจ�าแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาตเปรียบเทียบ ณ ธันวาคม 2556 และ ณ ธันวาคม 2557 แผนภูมิที่ 6 สาเหตุการถูกเลิกจ้าง และลาออกจากงานของผู้ประกันตนปี 2557 แผนภูมิที่ 7 ผู้ประกันตนที่ขึ้นทะเบียนกรณีว่างงาน การบรรจุงาน และอัตราการบรรจุงาน ปี 2557

หน้า 1 2 2 3 3 4 4 5 6 7 8 8 11 12 13

หน้า 1 5 10 11 12 13 14


ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

บทสรุปส�าหรับผู้บริหาร สถานการณตลาดแรงงานภาคเหนือป 2557 สรุปได้ดังนี้ ประชากรและก�าลังแรงงาน

ประชากรภาคเหนือปี 2557 ประมาณ 11.52 ล้านคน เป็นประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปประมาณ 9.47 ล้านคน ร้อยละ 82.24 จ�าแนกเป็นผูอ้ ยูใ่ นก�าลังแรงงานประมาณ 6.57 ล้านคน ร้อยละ 57.06 ประกอบด้วยผูม้ งี านท�าประมาณ 6.49 ล้านคน ร้อยละ 56.35 ผู้ว่างงานประมาณ 46,897 คน ร้อยละ 0.41 และผู้ที่รอฤดูกาลประมาณ 34,382 คน ร้อยละ 0.30 เมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2556 พบว่าประชากรลดลงร้อยละ 6.16 ผูม้ งี านท�าลดลงร้อยละ 10.67 เป็นผูม้ งี านท�าจ�าแนก ประเภทอาชีพผูป้ ฏิบตั งิ านทีม่ ฝี มี อื ในด้านการเกษตรและการประมงมากทีส่ ดุ ร้อยละ 43.05 จ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม โดยเป็นผูท้ า� งานภาคเกษตรกรรมร้อยละ 47.85 และภาคนอกเกษตรกรรมร้อยละ 52.15 จ�าแนกตามระดับการศึกษาทีส่ า� เร็จ ส่วนใหญ่ส�าเร็จการศึกษาไม่เกินระดับประถมศึกษาและไม่มีการศึกษาสูงถึงร้อยละ 58.88 จ�าแนกตามสถานภาพการท�างาน คือท�างานส่วนตัวโดยไม่มีลูกจ้างร้อยละ 36.82 และจ�าแนกตามชั่วโมงการท�างานต่อสัปดาห์เป็นผู้มีงานท�าระหว่าง 35-49 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์รอ้ ยละ 54.32 และผูม้ งี านท�าตัง้ แต่ 50 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์รอ้ ยละ 28.92 หรือกล่าวได้วา่ ผูม้ งี านท�าร้อยละ 83.24 เป็นผู้ที่ท�างานตั้งแต่ 35 ชั่วโมงขึ้นไปต่อสัปดาห์ โดยบุคคลเหล่านี้เป็นผู้ที่ท�างานเต็มที่ในเรื่องชั่วโมงการท�างาน ภาวะการว่างงานและอัตราการว่างงาน ผู้ว่างงานประมาณ 46,897 คน อัตราการว่างงานร้อยละ 0.71 จังหวัด ก�าแพงเพชรมีอัตราการว่างงานมากที่สุดร้อยละ 1.23 ส�าหรับจังหวัดเพชรบูรณ์มีอัตราการว่างงานน้อยที่สุดร้อยละ 0.13

ภาวะตลาดแรงงานภาคเหนือ

การบริการจัดหางานในประเทศของส�านักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือสรุปได้ดังนี้ ความต้องการแรงงาน สถานประกอบการ/นายจ้าง แจ้งความต้องการแรงงาน จ�านวน 60,793 อัตรา ลดลงจาก ปี 2556 ร้อยละ 15.15 จังหวัดเชียงใหม่มีความต้องการแรงงานมากที่สุดร้อยละ 13.10 ส�าหรับจังหวัดแม่ฮ่องสอนมี ความต้องการแรงงานน้อยที่สุดร้อยละ 1.14 ผู้สมัครงาน ลงทะเบียนสมัครงาน จ�านวน 69,013 คน ลดลงจากปี 2556 ร้อยละ 36.71 จังหวัดเชียงใหม่มี ผู้สมัครงานมากที่สุดร้อยละ 19.24 และจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีผู้สมัครงานน้อยที่สุดร้อยละ 1.05 การบรรจุงาน ผูส้ มัครงานทีไ่ ด้รบั การบรรจุงาน จ�านวน 58,737 คน ลดลงจากปี 2556 ร้อยละ 10.69 จังหวัดเชียงใหม่ มีผู้ได้รับการบรรจุงานมากที่สุดร้อยละ 12.77 และจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีผู้บรรจุงานน้อยที่สุด ร้อยละ 1.03

ภาวะการลงทุนภาคเหนือ

โรงงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมปี 2557 จ�านวน 799 แห่ง เงินลงทุน 27,237.15 ล้านบาท และก่อให้เกิดการจ้างงาน 9,288 คน จ�าแนกตามรายจังหวัด จังหวัดแพร่มีโรงงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการมากที่สุดร้อยละ 24.53 รองลงมา คือ จังหวัดล�าปางร้อยละ 10.51 และจังหวัดเชียงใหม่ร้อยละ 10.39


ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

จ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบว่าอุตสาหกรรมทัว่ ไปเป็นประเภทอุตสาหกรรมทีไ่ ด้รบั อนุญาตประกอบกิจการ มากที่สดุ ร้อยละ 20.90 รองลงมาคือ เฟอร์นิเจอร์และเครื่องเรือนร้อยละ 18.90 และอุตสาหกรรมเกษตรกรรมร้อยละ 13.89 โครงการทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้การส่งเสริมการลงทุนกับศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 1 จ�านวน 104 โครงการ เงินลงทุน 24,951.70 ล้านบาท และเกิดการจ้างงาน 9,744 คน อุตสาหกรรมที่ได้รับอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุน 3 อันดับแรก คือ หมวดเกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร จ�านวน 34 โครงการ รองลงมาคือ หมวดกิจการบริการและสาธารณูปโภค จ�านวน 29 โครงการ และหมวดอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า จ�านวน 19 โครงการ

ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือ

ภาวะเศรษฐกิจปี 2557 ภาพรวมชะลอลงจากปีก่อน โดยเฉพาะในช่วงครึ่งแรกของปี เครื่องยนต์หลักที่ขับเคลื่อน เศรษฐกิจต่างทยอยอ่อนแรง เริม่ จากการใช้จา่ ยภาคประชาชนชะลอตัวหลังจากมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจของภาครัฐสิน้ สุดลง รายได้เกษตรกรลดลงตามผลผลิตการเกษตร โดยพืชหลักหลายชนิดประสบภัยแล้งและราคาตกต�่า รวมทั้งได้รับเงิน จากโครงการรับจ�าน�าข้าวล่าช้า ขณะที่ความไม่สงบทางการเมืองยืดเยื้อ ท�าให้ผู้บริโภคระมัดระวังในการใช้จ่ายมากขึ้น ภาคการท่องเที่ยวก็สะดุดลง เนื่องจากหลายประเทศประกาศเตือนนักท่องเที่ยวของตนที่เดินทางมาประเทศไทย รวมทั้ง ผู้ประกอบการชะลอการลงทุนออกไปเพื่อรอประเมินสถานการณ์เศรษฐกิจและการเมือง การใช้จ่ายลงทุนของภาครัฐก็มี ข้อจ�ากัดเพราะสถานการณ์ทางการเมืองและ การประกาศยุบสภาของรัฐบาล มีเพียงภาคการผลิตเพื่อการส่งออกเป็นเพียง เครื่องยนต์หลักที่พอจะขับเคลื่อนเศรษฐกิจภาคเหนือ

การไปท�างานตางประเทศภาคเหนือ

คนงานไทยที่ได้รับอนุญาตไปท�างานต่างประเทศ จ�านวน 14,171 คน ลดลงจากปี 2556 ร้อยละ 13.08 โดยเดินทาง โดยบริษทั จัดหางานจัดส่งร้อยละ 62.32 ส�าหรับประเทศไต้หวันเป็นประเทศทีม่ แี รงงานเดินทางไปมากถึงร้อยละ 51.08 และ จังหวัดเชียงรายเป็นจังหวัดที่ได้รับอนุญาตเดินทางไปมากที่สุดร้อยละ 20.58

การท�างานของคนตางด้าวภาคเหนือ

คนงานต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท�างานคงเหลือ ณ เดือนธันวาคม 2557 จ�านวน 177,158 คน เมื่อเปรียบเทียบกับ ณ เดือนธันวาคม 2556 เพิ่มขึ้นร้อยละ 168.51 คนต่างด้าวพิสูจน์สัญชาติได้รับอนุญาตท�างานมากที่สุดร้อยละ 74.32 รองลงมาคือ คนต่างด้าวประเภทน�าเข้าตาม MOU ร้อยละ 13.76 และคนต่างด้าวประเภทชนกลุม่ น้อยร้อยละ 7.67 ตามล�าดับ ส�าหรับจังหวัดเชียงใหม่มีแรงงานต่างด้าวที่เข้ามาท�างานสูงสุดร้อยละ 53.95

ผู้ประกันตนที่ข้นึ ทะเบียนกรณีวางงาน

สาเหตุที่ผู้ประกันตนออกจากงานปี 2557 จ�านวน 77,002 คน จ�าแนกเป็นถูกเลิกจ้าง จ�านวน 6,097 คน ร้อยละ 7.92 และจากการลาออกจากงาน จ�านวน 70,905 คน ร้อยละ 92.08 ทั้งนี้ผู้ประกันตนที่มาขึ้นทะเบียนกรณีว่างงานทั้งหมด 77,256 คน ได้รับการบรรจุงาน จ�านวน 45,111 คน คิดเป็นอัตราการบรรจุร้อยละ 58.39 ของจ�านวนผู้ประกันตนที่มา ขึ้นทะเบียนฯ


1

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

ประชากรและก�าลังแรงงาน แผนภูมิที่ 1 โครงสร้างประชากรและก�าลังแรงงานภาคเหนือปี 2557

ตารางที่ 1 จ�านวนและร้อยละของประชากร จ�าแนกตามสถานภาพแรงงานและก�าลังแรงงาน สถานภาพแรงงาน

ปี 2556

ปี 2557

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จ�านวน (คน)

ร้อยละ

จ�านวน (คน)

ร้อยละ

จ�านวน (คน)

ร้อยละ

ผู้มีอายุ 15 ปี ขึ้นไป

10,191,033

83.05

9,469,938

82.24

-721,095

-7.08

1. ผู้อยู่ในก�าลังแรงงาน

7,332,912

59.76

6,569,984

57.06

-762,928

-10.40

7,305,647 7,264,122 41,525 27,265

59.54 59.20 0.34 0.22

6,535,602 6,488,706 46,897 34,382

56.76 56.35 0.41 0.30

-770,045 -775,416 5,372 7,117

-10.54 -10.67 12.94 26.10

2. ผู้ไม่อยู่ในก�าลังแรงงาน

2,858,121

23.29

2,899,954

25.18

41,833

1.46

2.1 ท�างานบ้าน 2.2 เรียนหนังสือ 2.3 อื่น ๆ ผู้มีอายุต�่ากว่า 15 ปี

815,236 813,453 1,229,433 2,079,639

6.64 6.63 10.02 16.95

820,330 750,847 1,328,777 2,045,126

7.12 6.52 11.54 17.76

5,094 -62,606 99,344 -34,513

0.62 -7.70 8.08 -1.66

12,270,672

100.00

11,515,064

100.00

-755,608

-6.16

1.1 ก�าลังแรงงานปจจุบัน 1.1.1 ผู้มีงานท�า 1.1.2 ผู้ว่างงาน 1.2 ผู้ที่รอฤดูกาล

ประชากรรวม อัตราการว่างงาน

0.62

0.71

ประชากรปี 2557 ประมาณ 11.52 ล้านคน เป็นผู้อยู่ในก�าลังแรงงานประมาณ 6.57 ล้านคน ร้อยละ 57.06 ของจ�านวนประชากร รวมทั้งหมด และผู้ไม่อยู่ในก�าลังแรงงานรวมถึงผู้มีอายุต�่ากว่า 15 ปี ประมาณ 4.95 ล้านคน ร้อยละ 42.94 ของจ�านวนประชากรรวมทั้งหมด ผู้อยู่ในก�าลังแรงงาน จ�านวน 6,569,984 คน ประกอบด้วยผู้มีงานท�าร้อยละ 56.35 ผู้ว่างงานร้อยละ 0.41 และผู้ที่รอฤดูกาล ร้อยละ 0.30 ผู้ไม่อยู่ในก�าลังแรงงาน (ผู้มีอายุ 15 ปีขึ้นไป) จ�านวน 2,899,954 คน ประกอบด้วย แม่บ้าน ท�างานบ้านร้อยละ 7.12 นักเรียน นิสิต นักศึกษาร้อยละ 6.52 และอื่นๆ เช่น เด็ก คนชรา ผู้ป่วย ผู้พิการจนไม่สามารถท�างานได้ร้อยละ 11.54 เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาพบว่า ประชากรลดลงร้อยละ 6.16 ผู้มีงานท�าลดลงร้อยละ 10.67 และผู้ว่างงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.94 อัตราการว่างงานเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.62 เป็นร้อยละ 0.71


2

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง ตารางที่ 2 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�า จ�าแนกตามประเภทอาชีพ ประเภทอาชีพ ผู้บัญญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส และผู้จัดการ ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่างๆ ผู้ประกอบวิชาชีพด้านเทคนิคสาขาต่างๆ และอาชีพที่เกี่ยวข้อง เสมียน พนักงานบริการ และพนักงานขายในร้านค้าและตลาด ผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมง ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง ผู้ปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักร และผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบ อาชีพขัน้ พืน้ ฐานต่างๆ ในด้านการขาย และการให้บริการ คนงานซึ่งมิได้จ�าแนกไว้ในหมวดอื่น รวม

ปี 2556 ปี 2557 อัตราการเปลี่ยนแปลง จ�านวน (คน) ร้อยละ จ�านวน (คน) ร้อยละ จ�านวน (คน) ร้อยละ 167,348 2.30 151,106 2.33 -16,242 -9.71 306,798 4.22 260,198 4.01 -46,600 -15.19 183,882 2.53 168,783 2.60 -15,099 -8.21 197,304 2.72 169,497 2.61 -27,807 -14.09 1,104,489 15.20 1,060,009 16.34 -44,480 -4.03 3,233,402 44.51 2,793,145 43.05 -440,257 -13.62 852,523 11.74 807,426 12.44 -45,097 -5.29 368,940 5.08 337,673 5.20 -31,267 -8.47 846,687 11.66 740,871 11.42 -105,816 -12.50 2,748 0.04 0 0.00 -2,748 -100.00 7,264,122 100.00 6,488,706 100.00 -775,416 -10.67

ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามประเภทอาชีพ

ผู้มีงานท�าประมาณ 6.49 ล้านคน ท�างานในอาชีพผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมงมากที่สุดร้อยละ 43.05 รองลงมาคือ พนักงานบริการ และพนักงานขายในร้านค้าและตลาดร้อยละ 16.34 และผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจ การค้าที่เกี่ยวข้องร้อยละ 12.44 นอกนั้นประกอบอาชีพอื่นๆ เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาโดยรวมลดลงร้อยละ 10.67 ตารางที่ 3 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�า จ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ประเภทอุตสาหกรรม

1. ภาคเกษตรกรรม - เกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง

ปี 2556 ปี 2557 อัตราการเปลี่ยนแปลง จ�านวน (คน) ร้อยละ จ�านวน (คน) ร้อยละ จ�านวน (คน) ร้อยละ 3,580,266 49.29 3,104,990 47.85 -475,276 -13.27 3,580,266

49.29

3,104,990

47.85

-475,276

-13.27

3,683,857

50.71

3,383,716

52.15

-300,141

-8.15

- การท�าเหมืองแร่ และเหมืองหิน - การผลิต - ไฟฟ้า ก๊าซ ไอน�้า และระบบปรับอากาศ - การจัดหาน�้า การจัดการ การบ�าบัดน�้าเสียของเสีย และสิ่งปฏิกูล - การก่อสร้าง - การขายส่ง และการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และรถจักรยานยนต์ - การขนส่ง และสถานที่เก็บสินค้า - กิจกรรมโรงแรม และการบริการด้านอาหาร - ข้อมูลข่าวสาร และการสื่อสาร - กิจกรรมทางการเงิน และการประกันภัย - กิจกรรมอสังหาริมทรัพย์ - กิจกรรมทางวิชาชีพวิทยาศาสตร์ และเทคนิค - กิจกรรมการบริหาร และการบริการสนับสนุน - การบริหารราชการ การป้องกันประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคับ - การศึกษา - กิจกรรมด้านสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห์ - ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ - กิจกรรมบริการด้านอื่นๆ - กิจกรรมการจ้างงานในครัวเรือนส่วนบุคคล กิจกรรมการผลิตสินค้า และบริการ ที่ท�าขึ้นเองเพื่อใช้ในครัวเรือน - กิจกรรมขององค์การระหว่างประเทศ - ไม่ทราบ

15,922 704,530 19,675 15,108 546,456 949,196 81,213 332,582 15,752 68,277 13,208 18,430 39,755 317,357 233,640 130,204 42,259 99,726 37,048

0.22 9.70 0.27 0.21 7.52 13.07 1.12 4.58 0.22 0.94 0.18 0.25 0.55 4.37 3.22 1.79 0.58 1.37 0.51

16,374 648,792 18,782 12,761 470,961 899,363 82,470 324,413 12,987 63,084 10,913 24,429 44,227 270,128 197,495 112,375 42,708 101,217 29,121

0.25 10.00 0.29 0.20 7.26 13.86 1.27 5.00 0.20 0.97 0.17 0.38 0.68 4.16 3.04 1.73 0.66 1.56 0.45

452 -55,738 -893 -2,347 -75,495 -49,833 1,257 -8,169 -2,765 -5,193 -2,295 5,999 4,472 -47,229 -36,145 -17,829 449 1,491 -7,927

2.84 -7.91 -4.54 -15.53 -13.82 -5.25 1.55 -2.46 -17.55 -7.61 -17.38 32.55 11.25 -14.88 -15.47 -13.69 1.06 1.50 -21.40

1,372 2,147

0.02 0.03

1,116 0

0.02 0.00

-256 -2,147

-18.66 -100.00

รวม

7,264,122

-775,416

-10.67

2. นอกภาคเกษตรกรรม

100.00 6,488,706 100.00


3

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

ผู้ท�างานภาคเกษตรกรรมประมาณ 3.10 ล้านคน ร้อยละ 47.85 ได้แก่ อุตสาหกรรมเกษตรกรรม การป่าไม้และประมง ส�าหรับ ผู้ท�างานนอกภาคเกษตรกรรมประมาณ 3.38 ล้านคน ร้อยละ 52.15 จ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรมดังนี้ การขายส่ง และการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และรถจักรยานยนต์มากที่สุดร้อยละ 13.86 รองลงมาคือ การผลิตร้อยละ 10.00 และการก่อสร้างร้อยละ 7.26 นอกนั้น กระจายอยู่ในอุตสาหกรรมอื่นๆ ตารางที่ 4 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�า จ�าแนกตามระดับการศึกษาที่ส�าเร็จ ระดับการศึกษาที่ส�าเร็จ ไม่มีการศึกษา ต�่ากว่าประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย - สายสามัญ - สายอาชีวศึกษา - สายวิชาการศึกษา อุดมศึกษา - สายวิชาการ - สายวิชาชีพ - สายวิชาการศึกษา อื่นๆ ไม่ทราบ รวม หมายเหตุ

ปี 2556

ปี 2557

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จ�านวน (คน)

ร้อยละ

จ�านวน (คน)

ร้อยละ

จ�านวน (คน)

ร้อยละ

537,107 2,102,627 1,540,271 1,101,757 953,563 754,456 197,707 1,400 1,018,072 550,978 325,892 141,202 7,168 3,558

7.39 28.95 21.20 15.17 13.60 10.39 2.72 0.02 14.02 7.58 4.49 1.94 0.10 0.05

453,178 2,053,952 1,313,844 913,844 841,329 669,497 170,599 1,233 897,838 511,864 260,392 125,582 11,567 3,154

6.98 31.65 20.25 14.08 12.97 10.32 2.63 0.02 13.84 7.89 4.01 1.94 0.18 0.05

-83,929 -48,675 -226,427 -187,913 -112,234 -84,959 -27,108 -167 -120,234 -39,114 -65,500 -15,620 4,399 -404

-15.63 -2.31 -14.70 -17.06 -11.77 -11.26 -13.71 -11.93 -11.81 -7.10 -20.10 -11.06 61.37 -11.35

7,264,122

100.00

6,488,706

100.00

-775,416

-10.67

1. ไม่มีการศึกษา หมายถึง บุคคลที่ไม่เคยเข้าศึกษาในโรงเรียน หรือไม่เคยได้รับการศึกษา 2. อื่นๆ หมายถึง บุคคลที่ส�าเร็จการศึกษาที่ไม่สามารถเทียบชั้นได้ 3. ผู้มีงานท�าไม่ทราบวุฒิการศึกษา หมายถึง ไม่พบตัวผู้ให้สัมภาษณ์/คนให้ข้อมูลไม่รู้ข้อมูล

ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามระดับการศึกษาที่ส�าเร็จ

ผูม้ งี านท�าส่วนใหญ่สา� เร็จการศึกษาไม่เกินระดับประถมศึกษา และไม่มกี ารศึกษาสูงถึงร้อยละ 58.88 รองลงมาคือ ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้นร้อยละ 14.08 และระดับอุดมศึกษาร้อยละ 13.84 ตารางที่ 5 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�า จ�าแนกตามสถานภาพการท�างาน สถานภาพการท�างาน นายจ้าง ลูกจ้างรัฐบาล ลูกจ้างเอกชน ท�างานส่วนตัว ช่วยธุรกิจครัวเรือน การรวมกลุ่ม* รวม หมายเหตุ

ปี 2556

ปี 2557

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จ�านวน (คน)

ร้อยละ

จ�านวน (คน)

ร้อยละ

จ�านวน (คน)

ร้อยละ

153,056 706,043 1,965,677 2,499,633 1,932,827 6,886

2.11 9.72 27.06 34.41 26.61 0.09

140,548 605,943 1,750,531 2,389,235 1,600,590 1,858

2.17 9.34 26.98 36.82 24.67 0.03

-12,508 -100,100 -215,146 -110,398 -332,237 -5,028

-8.17 -14.18 -10.95 -4.42 -17.19 -73.02

7,264,122

100.00

6,488,706

100.00

-775,416

-10.67

การรวมกลุ่ม* หมายถึง กลุ่มคนที่มาร่วมกันท�างานโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพึ่งตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สมาชิกแต่ละคน มีความเท่าเทียมกัน ในการก�าหนดการท�างานทุกขั้นตอนไม่ว่าเป็นการลงทุน การขาย งานอื่นๆ ของกิจการที่ท�าตลอดจนการแบ่งรายได้ให้แก่สมาชิกตามที่ตกลงกัน (การรวมกลุ่มดังกล่าวอาจจดทะเบียนจัดตั้งในรูปของสหกรณ์หรือไม่ก็ได้)


4

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามสถานภาพการท�างาน

ผู้มีงานท�าส่วนใหญ่ท�างานส่วนตัวโดยไม่มีลูกจ้างมากที่สุดร้อยละ 36.82 รองลงมาคือ ท�างานในฐานะลูกจ้างร้อยละ 36.32 (จ�าแนก เป็นลูกจ้างเอกชนร้อยละ 26.98 และลูกจ้างรัฐบาลร้อยละ 9.34) ช่วยธุรกิจในครัวเรือนโดยไม่ได้รับค่าจ้างร้อยละ 24.67 นายจ้างร้อยละ 2.17 และการรวมกลุ่มมีเพียงร้อยละ 0.03 ของผู้มีงานท�าทั้งหมด ตารางที่ 6 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�า จ�าแนกตามชั่วโมงการท�างานต่อสัปดาห์ ปี 2556

ชั่วโมงการท�างาน 0 ชั่วโมง 1-9 ชั่วโมง 10-19 ชั่วโมง 20-29 ชั่วโมง 30-34 ชั่วโมง 35-39 ชั่วโมง 40-49 ชั่วโมง 50 ชั่วโมงขึ้นไป รวม

ปี 2557

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จ�านวน (คน)

ร้อยละ

จ�านวน (คน)

ร้อยละ

จ�านวน (คน)

ร้อยละ

44,478 18,064 121,536 490,870 402,097 881,984 2,870,393 2,434,700

0.61 0.25 1.67 6.76 5.54 12.14 39.51 33.52

50,662 31,595 165,726 459,143 380,068 786,006 2,739,089 1,876,416

0.78 0.49 2.55 7.08 5.86 12.11 42.21 28.92

6,184 13,531 44,190 -31,727 -22,029 -95,978 -131,304 -558,284

13.90 74.91 36.36 -6.46 -5.48 -10.88 -4.57 -22.93

7,264,122

100.00

6,488,706

100.00

-775,416

-10.67

ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามชั่วโมงการท�างานตอสัปดาห

ผู้มีงานท�าระหว่าง 35-49 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ร้อยละ 54.32 และผู้มีงานท�าตั้งแต่ 50 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ร้อยละ 28.92 หรือกล่าวได้ว่า ผู้มีงานท�าร้อยละ 83.24 ท�างานตั้งแต่ 35 ชั่วโมงขึ้นไปต่อสัปดาห์ และอาจจัดว่าบุคคลเหล่านี้เป็นผู้ท�างานเต็มที่ในเรื่องชั่วโมงการท�างาน ขณะที่ผู้ท�างานน้อยกว่า 35 (1-34) ชั่วโมงต่อสัปดาห์เป็นผู้ท�างานไม่เต็มที่ร้อยละ 15.98 ของผู้มีงานท�าทั้งสิ้น ส�าหรับผู้มีงานท�าประจ�าแต่ ไม่ได้ท�างานในสัปดาห์แห่งการส�ารวจ (0 ชั่วโมง) มีเพียงร้อยละ 0.78 ตารางที่ 7 จ�านวนผู้ว่างงานและอัตราการว่างงาน จ�าแนกตามรายจังหวัด รายจังหวัด เชียงใหม่ ล�าพูน ล�าปาง อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ อุทัยธานี ก�าแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ รวม

ปี 2556

ปี 2557

อัตราการเปลี่ยนแปลง

ผู้ว่างงาน (คน)

อัตราการว่างงาน

ผู้ว่างงาน (คน)

อัตราการว่างงาน

จ�านวน (คน)

ร้อยละ

7,856 1,248 2,041 2,699 1,865 780 1,432 3,638 601 3,199 1,080 3,090 1,962 2,900 3,245 2,280 1,609

0.81 0.44 0.42 0.98 0.60 0.25 0.46 0.48 0.39 0.47 0.56 0.69 0.64 0.73 0.65 0.64 0.27

11,366 1,910 3,331 1,905 908 1,417 855 1,563 1,244 6,105 566 5,451 1,719 3,519 2,394 1,971 671

1.14 0.70 0.77 0.83 0.36 0.54 0.36 0.23 1.10 1.10 0.35 1.23 0.65 0.95 0.49 0.66 0.13

3,510 662 1,290 -794 -957 637 -577 -2,075 643 2,906 -514 2,361 -243 619 -851 -309 -938

44.68 53.04 63.20 -29.42 -51.31 81.67 -40.29 -57.04 106.99 90.84 -47.59 76.41 -12.39 21.34 -26.22 -13.55 -58.30

41,525

0.57

46,897

0.71

5,372

12.94

ที่มา : ส�านักงานสถิติแห่งชาติ หมายเหตุ ตารางที่ 1-7 ในตารางสถิติ ผลรวมของแต่ละจ�านวนอาจไม่เท่ากับยอดรวม ทั้งนี้เนื่องมาจากการปดเศษทศนิยมของข้อมูลแต่ละจ�านวนซึ่งได้จากการ ประมวลผลด้วยโปรแกรมส�าเร็จรูป


5

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

ภาวะการวางงานและอัตราการวางงาน

จ�านวนผู้ว่างงานประมาณ 46,897 คน เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 12.94 และอัตราการว่างงานเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.57 เป็น ร้อยละ 0.71 จังหวัดก�าแพงเพชรมีอัตราการว่างงานมากที่สุดร้อยละ 1.23 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงใหม่ร้อยละ 1.14 จังหวัดแม่ฮ่องสอน และ จังหวัดนครสวรรค์ร้อยละ 1.10 เท่ากัน ส�าหรับจังหวัดเพชรบูรณ์มีอัตราการว่างงานน้อยที่สุดร้อยละ 0.13

ภาวะตลาดแรงงานภาคเหนือ แผนภูมิที่ 2 ความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงานเปรียบเทียบปี 2556 และปี 2557

ความต้องการแรงงาน

ผู้สมัครงาน

การบรรจุงาน

สรุปภาพรวมการเคลือ่ นไหวตลาดแรงงานของส�านักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือปี 2557 ได้แก่ จังหวัดก�าแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก นครสวรรค์ น่าน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ล�าปาง ล�าพูน สุโขทัย อุตรดิตถ์ และอุทัยธานี นายจ้าง แจ้งความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) จ�านวน 60,793 อัตรา ผู้สมัครงานลงทะเบียนสมัครงาน จ�านวน 69,013 คน และสามารถ บรรจุงานได้ จ�านวน 58,737 คน ตารางที่ 8 ความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงานเปรียบเทียบปี 2556 กับปี 2557 จังหวัด ก�าแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก นครสวรรค์ น่าน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ล�าปาง ล�าพูน สุโขทัย อุตรดิตถ์ อุทัยธานี รวม

ความต้องการแรงงาน (อัตรา) ปี 2556 ปี 2557 3,690 2,687 5,272 5,197 11,807 7,962 1,311 1,139 5,813 5,733 2,699 3,339 1,931 1,336 2,394 3,056 3,964 5,308 9,067 3,333 4,561 3,693 1,166 693 4,979 3,852 5,099 6,709 2,642 3,207 3,154 1,403 2,100 2,146 71,649 60,793

ที่มา : กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน

การเปลี่ยนแปลง จ�านวน ร้อยละ -1,003 -27.18 -75 -1.42 -3,845 -32.57 -172 -13.12 -80 -1.38 640 23.71 -595 -30.81 662 27.65 1,344 33.91 -5,734 -63.24 -868 -19.03 -473 -40.57 -1,127 -22.64 1,610 31.57 565 21.39 -1,751 -55.52 46 2.19 -10,856 -15.15

ผู้สมัครงาน (คน) ปี 2556 ปี 2557 4,624 3,932 11,447 7,292 17,827 13,280 4,212 2,619 10,397 5,103 4,352 1,848 4,906 2,549 5,209 2,854 7,179 6,598 4,287 3,647 5,179 2,080 1,947 723 9,086 4,467 7,932 4,553 3,928 2,601 3,322 2,279 3,205 2,588 109,039 69,013

การเปลี่ยนแปลง จ�านวน ร้อยละ -692 -14.97 -4,155 -36.30 -4,547 -25.51 -1,593 -37.82 -5,294 -50.92 -2,504 -57.54 -2,357 -48.04 -2,355 -45.21 -581 -8.09 -640 -14.93 -3,099 -59.84 -1,224 -62.87 -4,619 -50.84 -3,379 -42.60 -1,327 -33.78 -1,043 -31.40 -617 -19.25 -40,026 -36.71

การบรรจุงาน (คน) ปี 2556 ปี 2557 3,612 2,317 4,999 5,305 10,197 7,498 1,275 1,005 5,875 5,313 2,609 2,697 2,102 1,300 1,427 1,830 8,142 7,446 3,292 3,098 4,142 3,122 1,108 606 5,023 3,102 4,679 6,919 2,742 3,145 2,684 2,022 1,858 2,012 65,766 58,737

การเปลี่ยนแปลง จ�านวน ร้อยละ -1,295 -35.85 306 6.12 -2,699 -26.47 -270 -21.18 -562 -9.57 88 3.37 -802 -38.15 403 28.24 -696 -8.55 -194 -5.89 -1,020 -24.63 -502 -45.31 -1,921 -38.24 2,240 47.87 403 14.70 -662 -24.66 154 8.29 -7,029 -10.69


6

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

ความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) สถานประกอบการ/นายจ้าง แจ้งความต้องการแรงงาน จ�านวน 60,793 อัตรา โดยจังหวัดที่ มีความต้องการแรงงาน 5 อันดับแรกได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ จ�านวน 7,962 อัตรา ร้อยละ 13.10 จังหวัดล�าพูน จ�านวน 6,709 อัตรา ร้อยละ 11.04 จังหวัดนครสวรรค์ จ�านวน 5,733 อัตรา ร้อยละ 9.43 จังหวัดพิษณุโลก จ�านวน 5,308 อัตรา ร้อยละ 8.73 และจังหวัดเชียงราย จ�านวน 5,197 อัตรา ร้อยละ 8.55 จังหวัดที่มีความต้องการแรงงานน้อยที่สุดคือ จังหวัดแม่ฮ่องสอน จ�านวน 693 อัตรา ร้อยละ 1.14 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2556 ความต้องการแรงงานลดลงร้อยละ 15.15 ผู้สมัครงาน ผู้สมัครงานลงทะเบียนสมัครงาน จ�านวน 69,013 คน จังหวัดที่มีผู้สมัครงาน 5 อันดับแรกได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ จ�านวน 13,280 คน ร้อยละ 19.24 จังหวัดเชียงราย จ�านวน 7,292 คน ร้อยละ 10.57 จังหวัดพิษณุโลก จ�านวน 6,598 คน ร้อยละ 9.56 จังหวัดนครสวรรค์ จ�านวน 5,103 คน ร้อยละ 7.39 และจังหวัดล�าพูน จ�านวน 4,553 คน ร้อยละ 6.60 จังหวัดที่มีผู้สมัครงานน้อยที่สุดคือ จังหวัดแม่ฮ่องสอน จ�านวน 723 คน ร้อยละ 1.05 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2556 ผู้สมัครงานลดลงร้อยละ 36.71 การบรรจุงาน ผู้สมัครงานที่ได้รับการบรรจุงาน จ�านวน 58,737 คน จังหวัดที่ได้รับการบรรจุ 5 อันดับแรกได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ จ�านวน 7,498 คน ร้อยละ 12.77 จังหวัดพิษณุโลก จ�านวน 7,446 คน ร้อยละ 12.68 จังหวัดล�าพูน จ�านวน 6,919 คน ร้อยละ 11.78 จังหวัดนครสวรรค์ จ�านวน 5,313 คน ร้อยละ 9.05 และจังหวัดเชียงราย 5,305 คน ร้อยละ 9.03 จังหวัดแม่ฮ่องสอนมีผู้สมัครงานที่ได้รับการ บรรจุงานน้อยที่สุด จ�านวน 606 คน ร้อยละ 1.03 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2556 การบรรจุงานมีจ�านวนลดลงร้อยละ 10.69

ภาวะการลงทุนภาคเหนือ ตารางที่ 9 จ�านวนโรงงาน เงินลงทุน และการจ้างงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ จ�าแนกตามรายจังหวัด จ�านวนโรงงาน (แห่ง)

เงินลงทุน (ล้านบาท)

การจ้างงาน (คน)

ปี 2556

ปี 2557

เพิ่ม/ลด ร้อยละ

ก�าแพงเพชร

36

57

58.33

1,485.26

3,354.24

125.84

765

588

-23.14

เชียงราย

61

46

-24.59

3,360.80

1,035.53

-69.19

909

497

-45.32

เชียงใหม่

79

83

5.06

3,060.64

2,910.10

-4.92

1,528

1,474

-3.53

ตาก

47

53

12.77

2,182.88

792.22

-63.71

1,277

1,676

31.25

นครสวรรค์

42

72

71.43

2,285.17

1,842.39

-19.38

424

690

62.74

น่าน

50

10

-80.00

10,215.96

49.56

-99.51

738

63

-91.46

พะเยา

22

11

-50.00

684.32

136.24

-80.09

304

75

-75.33

พิจิตร

49

30

-38.78

1,881.80

337.20

-82.08

403

167

-58.56

พิษณุโลก

64

28

-56.25

3,585.39

932.32

-74.00

2,270

361

-84.10

เพชรบูรณ์

42

30

-28.57

2,304.43

263.57

-88.56

301

182

-39.53

แพร่

160

196

22.50

365.72

1,637.26

347.68

937

1,468

56.67

แม่ฮ่องสอน

3

5

66.67

2.56

34.57

1,250.39

24

38

58.33

ล�าปาง

92

84

-8.70

5,084.70

9,626.85

89.33

1,918

725

-62.20

ล�าพูน

27

26

-3.70

1,545.26

1,336.18

-13.53

566

703

24.20

สุโขทัย

38

36

-5.26

1,131.48

1,117.14

-1.27

411

251

-38.93

อุตรดิตถ์

25

24

-4.00

264.53

212.66

-19.61

219

151

-31.05

อุทัยธานี

9

8

-11.11

223.04

1,619.12

625.93

81

179

120.99

846

799

-5.56

39,663.94

27,237.15

-31.33

13,075

9,288

-28.96

จังหวัด

รวม

ปี 2556

ปี 2557

เพิ่ม/ลด ร้อยละ

ปี 2556

ปี 2557

เพิ่ม/ลด ร้อยละ


7

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

การลงทุนในภาคเหนือปี 2557 มีโรงงานทีข่ ออนุญาตประกอบกิจการใหม่ 799 แห่ง เงินลงทุน 27,237.15 ล้านบาท และการจ้างงาน 9,288 คน เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาพบว่าจ�านวนโรงงาน เงินลงทุน และการจ้างงานลดลงโดยลดลงร้อยละ 5.56 ร้อยละ 31.33 และ ร้อยละ 28.96 ตามล�าดับ จ�าแนกตามรายจังหวัด จังหวัดแพร่มีโรงงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการมากที่สุดร้อยละ 24.53 รองลงมาคือ จังหวัดล�าปาง ร้อยละ 10.51 และจังหวัดเชียงใหม่รอ้ ยละ 10.39 เมือ่ พิจารณาตามการลงทุนจังหวัดล�าปางมีมลู ค่าการลงทุนมากทีส่ ดุ ร้อยละ 35.34 รองลงมา คือ จังหวัดก�าแพงเพชรร้อยละ 12.31 และจังหวัดเชียงใหม่ร้อยละ 10.68 ส�าหรับการจ้างงานจังหวัดตากมีการจ้างงานมากที่สุดร้อยละ 18.04 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงใหม่ร้อยละ 15.87 และจังหวัดแพร่ร้อยละ 15.81 ตารางที่ 10 จ�านวนโรงงาน เงินลงทุน และจ�านวนคนงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ จ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม จ�านวนโรงงาน (แห่ง)

เงินลงทุน (ล้านบาท)

การจ้างงาน (คน)

ปี 2556

ปี 2557

เพิ่ม/ลด ร้อยละ

เกษตรกรรม

201

111

-44.78

6,687.87

2,639.68

-60.53

1,827

1,002

-45.16

อาหาร

37

47

27.03

1,269.73

652.23

-48.63

1,496

392

-73.80

เครื่องดื่ม

6

7

16.67

171.46

115.87

-32.42

82

95

15.85

สิ่งทอ

2

9

350.00

6.18

115.54

1,769.58

188

719

282.45

เครื่องแต่งกาย

12

7

-41.67

92.32

14.60

-84.19

986

581

-41.08

เครื่องหนัง

1

2

100.00

3.22

14.31

344.41

130

90

-30.77

ไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้

54

88

62.96

200.79

366.93

82.74

470

742

57.87

เฟอร์นิเจอร์และเครื่องเรือน

180

151

-16.11

148.19

125.73

-15.16

1,216

1,043

-14.23

กระดาษและผลิตภัณฑ์จากกระดาษ

1

0

-100.00

0.00

0.00

0.00

80

0

-100.00

เคมี

12

11

-8.33

342.70

490.66

43.17

146

175

19.86

ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม

12

11

-8.33

207.23

300.24

44.88

88

133

51.14

ผลิตภัณฑ์ยาง

4

2

100.00

2,890.61

6.37

100.00

518

22

100.00

ผลิตภัณฑ์พลาสติก

12

9

-25.00

100.74

165.31

64.10

170

145

-14.71

ผลิตภัณฑ์อโลหะ

94

83

-11.70

1,158.01

1,516.22

30.93

1,008

998

-0.99

ผลิตภัณฑ์โลหะ

0

1

100.00

0.00

11.55

100.00

0

12

100.00

ผลิตภัณฑ์ซ่อมแซมโลหะ

49

29

-40.82

519.89

590.07

13.50

534

443

-17.04

เครื่องจักรกล

12

10

-16.67

68.48

56.64

-17.29

361

96

-73.41

ไฟฟ้า

3

0

-100.00

373.50

0.00

-100.00

290

0

-100.00

ขนส่ง

45

54

20.00

1,580.82

2,590.95

63.90

852

1042

22.30

ทั่วไป

109

167

53.21

23,842.20 17,464.25

-26.75

2,633

1,558

-40.83

846

799

-5.56

39,663.94 27,237.15

-31.33

13,075

9,288

-28.96

ประเภทอุตสาหกรรม

รวม

ปี 2556

ปี 2557

เพิ่ม/ลด ร้อยละ

ปี 2556

ปี 2557

เพิ่ม/ลด ร้อยละ

ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม จ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบว่าอุตสาหกรรมทั่วไปเป็นประเภทอุตสาหกรรมที่ได้รับอนุญาตประกอบกิจการมากที่สุด ร้อยละ 20.90 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์และเครื่องเรือนร้อยละ 18.90 และอุตสาหกรรมเกษตรกรรมร้อยละ 13.89 ส�าหรับ อุตสาหกรรมทั่วไปมีมูลค่าการลงทุนมากที่สุดร้อยละ 64.12 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมเกษตรกรรมร้อยละ 9.69 และอุตสาหกรรมขนส่ง ร้อยละ 9.51 และเมือ่ พิจารณาตามการจ้างงานอุตสาหกรรมทัว่ ไปมีการจ้างงานมากทีส่ ดุ ร้อยละ 16.77 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมเฟอร์นเิ จอร์ และเครื่องเรือนร้อยละ 11.23 และอุตสาหกรรมขนส่งร้อยละ 11.22


8

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง ตารางที่ 11 โครงการที่ได้รับการอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนจ�าแนกตามรายจังหวัด จังหวัด ก�าแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก น่าน นครสวรรค์ พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ล�าปาง ล�าพูน สุโขทัย อุตรดิตถ์ อุทัยธานี รวม

จ�านวนโครงการ ปี 2556 ปี 2557 4 2 9 7 29 21 1 1 1 1 14 4 0 0 0 4 3 4 9 0 4 3 0 0 3 4 16 18 3 2 4 0 4 1 72 104

เพิ่ม/ลด ร้อยละ 100.00 28.57 38.10 0.00 0.00 250.00 0.00 -100.00 -25.00 100.00 33.33 0.00 -25.00 -11.11 50.00 100.00 300.00 44.44

เงินลงทุน (ล้านบาท) ปี 2556 ปี 2557 1,628.00 1,490.00 1,081.20 946.10 533.70 996.10 40.00 532.20 36.00 15.30 5,160.80 392.40 0.00 0.00 0.00 1,875.00 209.30 900.50 6,458.30 0.00 290.70 100.30 0.00 0.00 130.20 165.30 2,273.10 3,658.90 2,550.00 341.70 2,461.00 0.00 2,099.40 79.20 11,493.00 24,951.70

เพิ่ม/ลด ร้อยละ 9.26 14.28 -46.42 -92.48 135.29 1,215.19 0.00 -100.00 -76.76 100.00 189.83 0.00 -21.23 -37.87 646.27 100.00 2,550.76 117.10

การจ้างงาน (คน) ปี 2556 ปี 2557 124 74 2,702 631 1,228 822 32 16 20 17 1,719 246 0 0 0 175 24 784 272 0 45 258 0 0 41 74 3,084 3,977 123 56 185 0 145 30 7,160 9,744

เพิ่ม/ลด ร้อยละ 67.57 328.21 49.39 100.00 17.65 598.78 0.00 -100.00 -96.94 100.00 -82.56 0.00 -44.59 -22.45 119.64 100.00 383.33 36.09

ตารางที่ 12 โครงการที่ได้รับการอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนจ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม หมวดอุตสาหกรรม

จ�านวนโครงการ

เพิ่ม/ลด ปี 2556 ปี 2557 ร้อยละ

เงินลงทุน (ล้านบาท) ปี 2556

การจ้างงาน (คน)

ปี 2557

เพิ่ม/ลด ร้อยละ

ปี 2556

เพิ่ม/ลด ปี 2557 ร้อยละ

10,255.50 252.00 309.30 134.40 1,281.30 80.00 12,639.20

เกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร เหมืองแร่ เซรามิคส์และโลหะขั้นมูลฐาน อุตสาหกรรมเบา ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร และอุปกรณ์ขนส่ง อิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ กระดาษและพลาสติก กิจการบริการและสาธารณูปโภค

27 2 6 7 18 3 9

34 4 10 6 19 2 29

25.93 4,664.40 100.00 33.90 66.67 240.30 -14.29 448.40 5.56 2,869.60 88.20 -33.33 222.22 3,148.20

119.87 643.36 28.71 -70.03 -55.35 -9.30 301.47

1,981 69 1,032 197 3,590 107 184

4,484 311 1,361 331 2,509 70 678

126.35 350.72 31.88 68.02 -30.11 -34.58 268.48

รวม

72

104

44.44 11,493.00 24,951.70 117.10

7,160

9,744

36.09

โครงการทีไ่ ด้รบั อนุมตั ใิ ห้การส่งเสริมการลงทุนปี 2557 มีจ�านวนทัง้ หมด 104 โครงการ เงินลงทุน 24,951.70 ล้านบาท การจ้างงาน 9,744 คน เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2556 พบว่าจ�านวนโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 44.44 มูลค่า การลงทุนเพิ่มขึ้นร้อยละ 117.10 และ การจ้างงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 36.09


9

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

อุตสาหกรรมที่ได้รับอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนใน 3 อันดับแรกได้แก่ 1. หมวดเกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร จ�านวน 34 โครงการ มูลค่าการลงทุน 10,255.50 ล้านบาท การจ้างงาน 4,484 คน ได้แก่ กิจการผลิต Block Rubber กิจการผลิตอาหารสัตว์หรือส่วนผสมอาหารสัตว์ กิจการขยายพันธุ์สัตว์หรือเลี้ยงปศุสัตว์ (เป็ด) กิจการผลิต Sealed Vegetable Juice/Fruit Juice กิจการผลิต Silo & Crop Drying กิจการผลิต Dried Fruit/Vegetable กิจการผลิตน�้ามันหรือ ไขมันจากพืชหรือสัตว์ กิจการผลิตแอลกอฮอล์ หรือเชือ้ เพลิงจากผลผลิตการเกษตร รวมทัง้ เศษหรือขยะหรือของเสีย กิจการปลูกป่า (ยูคาลิปตัส) กิจการผลิต Wood Pellet กิจการผลิตปุยชีวภาพ ปุยอินทรีย์ หรือสารปรับปรุงดิน กิจการคัดคุณภาพและบรรจุ เก็บรักษา พืช ผัก ผลไม้ หรือดอกไม้ โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย กิจการผลิต Pig Raising กิจการขยายพันธุ์สัตว์หรือเลี้ยงสัตว์ (ไก่) กิจการผลิต Instant Noodle กิจการผลิต Frozen Fruit/Vegetable กิจการผลิตผลิตภัณฑ์จากผลพลอยได้หรือเศษวัสดุทางการเกษตร กิจการผลิตแป้งจากพืช หรือ เดกตริน หรือโมดิไฟด์สตาร์ช กิจการผลิต Chicken Raising กิจการฆ่าและช�าแหละสัตว์ (ไก่) สถานที่ตั้งโครงการอยู่ที่จังหวัดเชียงราย ก�าแพงเพชร เพชรบูรณ์ เชียงใหม่ พิษณุโลก นครสวรรค์ น่าน ล�าปาง สุโขทัย แพร่ อุตรดิตถ์ ล�าพูน และอุทัยธานี นักลงทุนต่างชาติที่ได้รับ การอนุมตั ใิ ห้การส่งเสริมการลงทุนได้แก่ ประเทศไทย เกาะเคลย์แมนร่วมกับไอซ์แลนด์ ไทยร่วมกับสาธารณรัฐประชาชนจีน ฮ่องกง เนเธอร์แลนด์ และร่วมทุนไทยกับญี่ปุ่น 2. กิจการบริการและสาธารณูปโภค จ�านวน 29 โครงการ มูลค่าการลงทุน 12,639.20 ล้านบาท การจ้างงาน 678 คน ได้แก่ กิจการบริการทดสอบทางวิทยาศาสตร์ กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้า หรือไอน�้า (Solar Rooftop) กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้า หรือไอน�้า (Solar Power) กิจการผลิต Electricity Power from Solar Rooftop กิจการ Scientific Laboratory (Environment) กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้า หรือไอน�้าจาก (ไบโอแมส) กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้า หรือไอน�้าจาก (ไบโอแก๊ส) กิจการ Regional Operating Headquarter (ROH) กิจการ International Procurement Office (IPO) กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้า หรือไอน�า้ จาก(พลังงานลม) กิจการผลิต Loading/Unloading Facility, water Transportation(oil) กิจการ Trade and Investment Support Office กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้า หรือไอน�้าจากพลังงานเชื้อเพลิง ขยะ กิจการผลิต Product Design กิจการ Tele Sales and Marketing Serviced 20 WORKSTATINO สถานที่ตั้งโครงการอยู่ที่ จังหวัดนครสวรรค์ พิษณุโลก ก�าแพงเพชร แพร่ ล�าพูน อุทัยธานี เพชรบูรณ์ เชียงราย อุตรดิตถ์ เชียงใหม่ และตาก นักลงทุนต่างชาติที่ได้รับ การอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนได้แก่ ประเทศไทย ญี่ปุ่น ร่วมลงทุนไทยกับญี่ปุ่น และเดนมาร์ก 3. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสและเครือ่ งใช้ไฟฟา จ�านวน 19 โครงการ มูลค่าการลงทุน 1,281.30 ล้านบาท การจ้างงาน 2,509 คน ได้แก่ กิจการผลิต Semiconductor Device กิจการผลิต Electronic Part กิจการผลิต Software กิจการผลิต LED Lighting กิจการผลิต PCBA (Printed Circuit Board Assembly) กิจการผลิต Diode Rectifier กิจการผลิต Switching Power Supply กิจการผลิต Connector สถานที่ตั้งโครงการอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ และล�าพูน นักลงทุนต่างชาติที่ได้รับการอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนได้แก่ ประเทศญี่ปุ่น เกาหลี อเมริกา ไทย แคนนาดา ฮ่องกงร่วมกับสิงคโปร์ สิงค์โปร์ ร่วมทุนฮ่องกงและไทย สาธารณรัฐประชาชนจีน เดนมาร์ก และสวิตเซอร์แลนด์ ที่มา : ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 1 ส�านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน กระทรวงอุตสาหกรรม

ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือ ภาวะเศรษฐกิจภาคเหนือปี 2557 ภาพรวมชะลอลงจากปีกอ่ น โดยเฉพาะในช่วงครึง่ แรกของปี เครือ่ งยนต์หลักทีข่ บั เคลือ่ นเศรษฐกิจ ต่างทยอยอ่อนแรง เริ่มจากการใช้จ่ายภาคประชาชนชะลอตัวหลังจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐสิ้นสุดลง รายได้เกษตรกรลดลง ตามผลผลิตการเกษตร โดยพืชหลักหลายชนิดประสบภัยแล้งและราคาตกต�่า รวมทั้งได้รับเงินจากโครงการรับจ�าน�าข้าวล่าช้า ขณะที่ความ ไม่สงบทางการเมืองยืดเยื้อ ท�าให้ผู้บริโภคระมัดระวังในการใช้จ่ายมากขึ้น ภาคการท่องเที่ยวก็สะดุดลง เนื่องจากหลายประเทศประกาศเตือน นักท่องเทีย่ วของตนทีเ่ ดินทางมาประเทศไทย รวมทัง้ ผูป้ ระกอบการชะลอการลงทุนออกไปเพือ่ รอประเมินสถานการณ์เศรษฐกิจและการเมือง การใช้จา่ ยลงทุนของภาครัฐก็มขี อ้ จ�ากัดเพราะสถานการณ์ทางการเมืองและการประกาศยุบสภาของรัฐบาล มีเพียงภาคการผลิตเพือ่ การส่งออกเป็น เพียงเครื่องยนต์หลักที่พอจะขับเคลื่อนเศรษฐกิจภาคเหนือ ในช่วงครึ่งหลังของปี 2557 ภาวะเศรษฐกิจค่อยๆ ฟนตัว ภายหลังสถานการณ์การเมืองมีความชัดเจน โดยเฉพาะการท่องเที่ยว ขยายตัวดีมากในไตรมาสสุดท้ายของปี การส่งออกและการใช้จ่ายงบลงทุนของภาครัฐขยายตัวดี ส่วนการใช้จ่ายภาคเอกชนฟนตัว อย่างช้าๆ ตามความเชื่อมั่นของผู้บริโภค สะท้อนจากสินค้าจ�าเป็นต่อการอุปโภคบริโภคยังขยายตัวได้ แต่การใช้จ่ายในสินค้าคงทนยังไม่ดีขึ้น เนื่องจาก


10

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

ครัวเรือนมีภาระหนี้อยู่ในระดับสูง จึงยังระมัดระวังการใช้จ่าย ขณะที่การลงทุนภาคเอกชนยังหดตัว เนื่องจากผู้ประกอบการยังชะลอการ ลงทุนใหม่ เพื่อรอความชัดเจนการฟนตัวทางเศรษฐกิจ แม้พื้นที่รับอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลโดยเฉพาะที่อยู่อาศัยและเชิงพาณิชย์ รวมถึงเงินลงทุนที่ได้รับอนุมัติการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI เพิ่มขึ้น ส�าหรับภาคการผลิตแม้ผลิตสินค้าอุตสาหกรรม ชะลอลงตามการผลิต ประเภทเครื่องดื่มเป็นส�าคัญ แต่การผลิตอุตสาหกรรมเพื่อส่งออกหลายชนิดยังขยายตัวดีได้แก่ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วนเลนส์ในอุปกรณ์ กล้องถ่ายภาพ และเซรามิกบนโต๊ะอาหาร ขณะที่รายได้เกษตรกรยังลดลงแม้จะกระเตื้องขึ้นบ้างตามผลผลิตเกษตรส�าคัญที่กลับมาขยายตัว ส�าหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจโดยทัว่ ไปยังอยูใ่ นเกณฑ์ดที งั้ อัตราเงินเฟ้อและอัตราการว่างงานอยูใ่ นระดับต�า่ ส่วนภาคการเงิน เงินฝาก และเงินให้สินเชื่อแม้ชะลอลง แต่ไม่เป็นอุปสรรคต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจ แนวโน้มเศรษฐกิจในปี 2558 น่าจะค่อยๆ ฟนตัวจากปี 2557 เนื่องจากการค้าชายแดนและการท่องเที่ยวยังมีแนวโน้มที่ดี ทั้งนี้ หากภาครัฐสามารถเร่งรัดการเบิกจ่ายงบลงทุนได้ตามเป้าหมายจะเป็นปจจัยบวกกับเศรษฐกิจโดยรวม อย่างไรก็ตามภาพรวมอุปสงค์ภายใน ยังเปราะบาง ได้แก่ การบริโภค และการลงทุนภาคเอกชนซึ่งขึ้นอยู่กับรายได้ภาคเกษตรที่ผลผลิตน่าจะได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง ราคา สินค้าเกษตรที่ยังอยู่ในระดับต�่า ขณะที่โครงการลงทุนภาคเอกชนขาดความต่อเนื่อง แม้ภาครัฐจะพยายามส่งเสริมด้วยหลายๆ มาตรการ รวมถึงภาคการส่งออกที่อาจได้รับผลกระทบจากภาวะซบเซาของเศรษฐกิจโลก อย่างไรก็ดีด้วยอัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับต�่า และภาวะ การจ้างงานทั่วไปยังอยู่ในเกณฑ์ดี สภาพคล่องทางการเงินยังมีมาก และเงินฝากเงินให้สินเชื่อสถาบันการเงินแม้ขยายตัวในเกณฑ์ไม่สูงนัก แต่เศรษฐกิจโดยรวมมีเสถียรภาพ ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย ส�านักงานภาคเหนือ

การไปท�างานตางประเทศภาคเหนือ แผนภูมิที่ 3 จ�านวนคนงานที่ได้รับอนุญาตให้เดินทางไปท�างานต่างประเทศ จ�าแนกตามวิธีการเดินทาง นายจ้างพาลูกจ้างไปท�างาน 681 คน

นายจ้างส่งลูกจ้างไปฝกงาน 717 คน

การเดินทางด้วยตนเอง 1,849 คน

กรมการจัดหางานจัดส่ง 2,093 คน

บริษัทจัดหางานจัดส่ง 8,831 คน

คนงานไทยที่ได้รับอนุญาตให้ไปท�างานต่างประเทศปี 2557 จ�านวน 14,171 คน ลดลงจากปี 2556 ร้อยละ 13.08 จ�าแนกตามวิธีการเดินทาง การเดินทางโดยบริษัทจัดหางานจัดส่ง จ�านวน 8,831 คน ร้อยละ 62.32 รองลงมาได้แก่ การเดินทาง โดยกรมการจัดหางานจัดส่ง จ�านวน 2,093 คน ร้อยละ 14.77 การเดินทางด้วยตนเอง จ�านวน 1,849 คน ร้อยละ 13.05 การเดินทางโดย นายจ้างส่งลูกจ้างไปฝกงาน จ�านวน 717 คน ร้อยละ 5.06 และการเดินทางโดยนายจ้างพาลูกจ้างไปท�างาน จ�านวน 681 คน ร้อยละ 4.81


11

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

แผนภูมิที่ 4 ประเทศที่คนงานเดินทางไปท�างานมากที่สุด 10 อันดับแรก จ�านวน (คน)

วัน

ไต้ห

ารณ

สาธ

าหล

ก รัฐเ

ุ่น

ญี่ป

เอล

า อิสร

ตุรก

าหร

อ หรัฐ

ส์

าร์

าใต

ิเรต

ม ับเอ

ริก แอฟ

กาต

นด

ีแล นิวซ

ลาว

ประเทศ

จ�าแนกตามรายประเทศ ประเทศทีค่ นงานเดินทางไปท�างานมากทีส่ ดุ 5 อันดับแรกได้แก่ ประเทศไต้หวัน จ�านวน 7,239 คน ร้อยละ 51.08 รองลงมาคือ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี จ�านวน 1,207 คน ร้อยละ 8.52 ประเทศญี่ปนุ่ จ�านวน 988 คน ร้อยละ 6.97 ประเทศอิสราเอล จ�านวน 712 คน ร้อยละ 5.02 และประเทศตุรกี จ�านวน 474 คน ร้อยละ 3.34 ตารางที่ 13 จ�านวนและร้อยละของคนงาน 17 จังหวัดภาคเหนือ ที่ได้รับอนุญาตเดินทางไปท�างานต่างประเทศ จังหวัด ก�าแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก นครสวรรค์ น่าน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ล�าปาง ล�าพูน สุโขทัย อุตรดิตถ์ อุทัยธานี รวม

ปี 2556

ปี 2557

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จ�านวน (คน)

ร้อยละ

จ�านวน (คน)

ร้อยละ

จ�านวน (คน)

ร้อยละ

1,023 2,758 816 1,336 635 574 792 383 841 791 393 43 2,779 364 1,997 651 128

6.27 16.92 5.00 8.19 3.89 3.52 4.86 2.35 5.16 4.85 2.41 0.26 17.04 2.23 12.25 3.99 0.79

891 2,916 712 914 699 443 677 339 730 663 370 23 2,010 312 1,807 554 111

6.29 20.58 5.02 6.45 4.93 3.13 4.78 2.39 5.15 4.68 2.61 0.16 14.18 2.20 12.75 3.91 0.78

-132 158 -104 -422 64 -131 -115 -44 -111 -128 -23 -20 -769 -52 -190 -97 -17

-12.90 5.73 -12.75 -31.59 10.08 -22.82 -14.52 -11.49 -13.20 -16.18 -5.85 -46.51 -27.67 -14.29 -9.51 -14.90 -13.28

16,304

100.00

14,171

100.00

-2,133

-13.08

ที่มา : ส�านักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ จ�าแนกตามรายจังหวัด จังหวัดที่คนงานเดินทางไปท�างานต่างประเทศมากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดเชียงราย จ�านวน 2,916 คน ร้อยละ 20.58 จังหวัดล�าปาง จ�านวน 2,010 คน ร้อยละ 14.18 จังหวัดสุโขทัย จ�านวน 1,807 คน ร้อยละ 12.75 จังหวัดตาก จ�านวน 914 คน ร้อยละ 6.45 และจังหวัดก�าแพงเพชร จ�านวน 891 คน ร้อยละ 6.29


12

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

การท�างานของคนตางด้าวภาคเหนือ แผนภูมิที่ 5 จ�านวนคนต่างด้าวจ�าแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาตเปรียบเทียบ ณ ธันวาคม 2556 และ ณ ธันวาคม 2557 จ�านวน (คน)

ป ทั่วไ

ีพ อดช

ตล

ข้า น�าเ

์สัญ

ูจน พิส

ดิม าติเ

U MO

รลง

กา สริม

I

O นุ B

ส่งเ

ประเภท

น้อ กลุ่ม

ชน

คนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท�างานในภาคเหนือ ณ เดือนธันวาคม 2557 จ�านวน 177,158 คน เมื่อเปรียบเทียบ ณ เดือนธันวาคม 2556 โดยรวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 168.51 จ�าแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาตท�างาน คนต่างด้าวพิสูจน์สัญชาติได้รับอนุญาตท�างานมากที่สุด จ�านวน 131,659 คน ร้อยละ 74.32 รองลงมาคือ คนต่างด้าวประเภทน�าเข้าตาม MOU จ�านวน 24,374 คน ร้อยละ 13.76 ชนกลุ่มน้อย จ�านวน 13,584 คน ร้อยละ 7.67 คนต่างด้าวประเภททั่วไป จ�านวน 6,586 คน ร้อยละ 3.72 คนต่างด้าวประเภทส่งเสริมการลงทุน BOI จ�านวน 930 คน ร้อยละ 0.52 และ คนต่างด้าวประเภทตลอดชีพ จ�านวน 25 คน ร้อยละ 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับ ณ เดือนธันวาคม 2556 ประเภทคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาต เกือบทุกประเภทเพิ่มขึ้น ยกเว้นคนต่างด้าวประเภทชนกลุ่มน้อยลดลงร้อยละ 27.31 ตารางที่ 14 จ�านวนคนต่างด้าวจ�าแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาตท�างานเปรียบเทียบ ณ ธันวาคม 2556 และ ณ ธันวาคม 2557 ตลอดชีพ จังหวัด

ธ.ค. 56

ธ.ค. 57

ก�าแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก นครสวรรค์ น่าน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ล�าปาง ล�าพูน สุโขทัย อุตรดิตถ์ อุทัยธานี

0 0 21 0 0 0 0 0 0 0 3 0 0 0 1 0 0

รวม

25

ทั่วไป ธ.ค. 56

พิสูจนสัญชาติ ธ.ค. 57

น�าเข้าตาม MOU

ส่งเสริม การลงทุน BOI

ชนกลุ่มน้อย

อัตราการ เปลี่ยนแปลง

ธ.ค. 56

ธ.ค. 57

ธ.ค. 56

ธ.ค. 57

ธ.ค. 56

ธ.ค. 57

ธ.ค. 57

ธ.ค. 56

ธ.ค. 57

0 0 21 0 0 0 0 0 0 0 3 0 0 0 1 0 0

169 185 3,483 710 772 10,259 3,568 3,914 3,448 0 347 369 188 167 3,800 261 93 106 792 96 105 122 108 1,369 246 114 1,698 3,262 3 3 738 12 31 106 109 932 262 250 1,533 225 193 5,690 590 94 75 483 66 57 316 41 57

3,928 8,811 63,996 26,887 10,060 119 644 302 2,450 1,496 666 938 2,196 7,827 560 391 388

42 158 217 0 219 13 136 112 204 14 25 0 52 6 134 7 1

43 215 19,501 3,465 262 22 198 102 235 20 18 0 44 14 168 66 1

0 10 420 43 0 0 0 0 26 0 0 0 0 395 0 0 0

3 5 0 9 3,407 3,116 435 12,183 7,704 53 586 518 8 9 0 8 19 0 52 49 0 0 5 0 11 44 25 0 4 0 2 9 0 0 1,154 919 121 134 0 408 1,035 1,078 16 40 0 8 10 0 7 7 0

3,699 14,544 19,857 976 4,216 399 1,082 1,608 2,218 3,283 806 2,192 1,968 7,351 840 557 381

4,159 12,923 95,571 31,292 10,497 242 990 512 2,835 1,519 701 1,966 2,624 9,520 839 531 437

25

6,377 6,586 38,654 131,659 1,340 24,374

894

930 18,687 13,584

65,977

177,158 111,181 168.51

ที่มา : ส�านักบริหารแรงงานต่างด้าว

ธ.ค. 56

รวมคนต่างด้าวทั้งสิ้น (คน)

จ�านวน (คน)

ร้อยละ

12.44 460 -1,621 -11.15 75,714 381.30 30,316 3,106.15 6,281 148.98 -39.35 -157 -8.50 -92 -1,096 -68.16 27.82 617 -1,764 -53.73 -13.03 -105 -10.31 -226 33.33 656 2,169 29.51 -0.12 -1 -4.67 -26 14.70 56


13

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

จ�าแนกตามรายจังหวัด เมื่อพิจารณาเป็นรายจังหวัดแรงงานต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท�างานมากที่สุดคือ จังหวัดเชียงใหม่จ�านวน 95,571 คน ร้อยละ 53.95 รองลงมาคือ จังหวัดตากจ�านวน 31,292 คน ร้อยละ 17.66 จังหวัดเชียงราย จ�านวน 12,923 คน ร้อยละ 7.29 จังหวัดนครสวรรค์ จ�านวน 10,497 คน ร้อยละ 5.93 และจังหวัดล�าพูนจ�านวน 9,520 คน ร้อยละ 5.37 ตามล�าดับ

ผู้ประกันตนที่ข้นึ ทะเบียนกรณีวางงาน ตารางที่ 15 สาเหตุการถูกเลิกจ้าง และลาออกจากงานของผู้ประกันตนปี 2557 ปี

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

รวม ทั้งหมด (คน)

เลิกจ้าง 1,019

505

388

502

622

489

417

469

379

460

430

417

6,097

สาเหตุ

2557 ลาออก 5,526 5,908 5,764 6,371 6,546 7,732 6,030 5,161 5,651 5,990 5,778 4,448 รวม 6,545 6,413 6,152 6,873 7,168 8,221 6,447 5,630 6,030 6,450 6,208 4,865 1,447

70,905 77,002

เลิกจ้าง

*

*

*

*

*

*

*

*

*

576

810

2,833

2556 ลาออก รวม

*

*

*

*

*

*

*

*

*

5,937 5,069 4,344

15,350

6,513 6,516 5,154

18,183

หมายเหตุ ไม่มีข้อมูลการเลิกจ้าง และลาออกตั้งแต่เดือนมกราคม - กันยายน 2556 เนื่องจากระบบไม่สามารถใช้งานได้ ที่มา : กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน แผนภูมิที่ 6 สาเหตุการถูกเลิกจ้าง และลาออกจากงานของผู้ประกันตนปี 2557


14

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง แผนภูมิที่ 7 ผู้ประกันตนที่ขึ้นทะเบียนกรณีว่างงาน การบรรจุงาน และอัตราการบรรจุงานปี 2557

สถิติผู้ประกันตนที่ถูกเลิกจ้างและลาออกจากงานปี 2557 มีจ�านวน 77,002 คน จ�าแนกสาเหตุจากการเลิกจ้าง จ�านวน 6,097 คน ร้อยละ 7.92 และจากการลาออกจากงาน จ�านวน 70,905 คน ร้อยละ 92.08 ส�าหรับผูป้ ระกันตนทีข่ นึ้ ทะเบียนกรณีวา่ งงาน จ�านวน 77,256 คน ได้รับการบรรจุงาน จ�านวน 45,111 คน หรือคิดเป็นอัตราการบรรจุงานร้อยละ 58.39 ของจ�านวนผู้ประกันตนที่มาขึ้นทะเบียนฯ

ประเทศไทยใน 30 ปข้างหน้า.... สร้างการเติบโตอยางเปนธรรม โดย.... สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หากจะมองให้ลึกมองให้ไกลถึงอนาคตประเทศไทยในอีก 30 ปีข้างหน้า ความท้าทายประการหนึ่งคือการพัฒนาคุณภาพของ ทุนมนุษย์ ซึ่งมีปจจัยฉุดรั้งส�าคัญคือคุณภาพการศึกษาและระบบสวัสดิการสังคมที่ยังไม่ดีพอ ก่อให้เกิดความเหลื่อมล�้าและไม่เป็นธรรม อย่างไรก็ตาม ในห้วงเวลาข้างหน้า สังคมไทยยังสามารถฉกฉวย เพื่อสร้างโอกาสที่ดีกว่าได้ จากการสัมมนาวิชาการทีดีอาร์ไอ ประจ�าปี 2557 เรื่อง “ประเทศไทยในสามทศวรรษหน้า : สี่ความท้าทายเพื่อการเติบโต อย่างมีคุณภาพ” ในวันที่ 24 พฤศจิกายน 2557 ที่โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ฯ เซ็นทรัลเวิลด์ ดร.วรวรรณ ชาญด้วยวิทย์ และ ดร.ตรีนุช ไพชยนต์วจิ ติ ร ได้นา� เสนอผลการศึกษา ในหัวข้อ “การเติบโตอย่างเป็นธรรม : การสร้างโอกาสและการลดความเสีย่ งของประชาชน” น�าเสนอ ประเด็นหลักในช่วง 3 วัยได้แก่ วัยเด็กกับโอกาสทางการศึกษา แรงงานกับโอกาสทางการท�างานและการออม และวัยผู้สูงอายุกับความเสี่ยง ด้านสุขภาพและความมั่นคงทางรายได้ ภาพรวมสังคมไทยในอีก 30 ปีข้างหน้า การสร้างสังคมที่ให้โอกาสและคุ้มครองความเสี่ยงทางสังคมแก่ประชาชนอย่างเท่าเทียมกัน ถือเป็นสิ่งที่ส�าคัญอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายควรตระหนัก เนื่องจากโครงสร้างประชากรจะมีสัดส่วนผู้สูงอายุมากขึ้นเป็น 35% ในขณะที่วัยเด็กมีเพียง 17% ซึ่งหากโครงสร้างเปลี่ยนจะส่งผลต่อเศรษฐกิจและสังคมด้วยเช่นกัน ขณะเดียวกันคนในแต่ละช่วงวัยมีปญหาความเสี่ยงและความ เป็นธรรมแตกต่างกัน การศึกษานี้จึงจะชี้ให้เห็นความเสี่ยงและโอกาสของคนในแต่ละช่วงวัยที่จะต้องด�าเนินการแก้ไขปรับปรุงไปพร้อมกัน อย่างเป็นระบบจึงจะสร้างทุนมนุษย์ที่มีประสิทธิภาพและรับมือกับสถานการณ์สังคมสูงวัยในสามทศวรรษหน้าได้ ในวัยเด็ก ความเสี่ยงมาจากระบบการศึกษา ซึ่งปจจุบันระบบการศึกษาไทยใช้งบประมาณสูง แต่มีคุณภาพต�่า และมีความ เหลื่อมล�้าสูง การปฏิรูปแก้ไขปญหาเหล่านี้ควรเริ่มจากการยกระดับคุณภาพครูซึ่งมีโอกาสทองจากการทดแทนครูที่เกษียณในสังกัด สพฐ. ถึง ครึ่งหนึ่งในอีก 10 ปีข้างหน้า โดยปรับระบบการคัดเลือกครูใหม่ให้เป็นการจัดทดสอบมาตรฐานระดับชาติและให้โรงเรียนมีบทบาทคัดเลือก


15

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

ผูท้ ผี่ า่ นการทดสอบดังกล่าว จากเดิมทีแ่ ต่ละเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาเป็นผูจ้ ดั การสอบ ซึง่ คุณภาพข้อสอบแตกต่างกันระหว่างเขตฯ และโรงเรียน ไม่มีบทบาทคัดเลือกครู นอกจากนี้ ควรต้องพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กซึ่งมักมีปญหาเรื่องครูไม่ครบชั้นและมีต้นทุนต่อหัวนักเรียนสูง จ�านวน โรงเรียนขนาดเล็กทัง้ หมดมีถงึ 15,000 แห่ง จาก 30,000 แห่ง และ 12,000 แห่งมีครูไม่ครบชัน้ ภาครัฐควรสนับสนุนให้โรงเรียนขนาดเล็ก ทีอ่ ยูใ่ กล้กนั และมีการคมนาคมทีส่ ะดวกมาจัดการศึกษาร่วมกันและมีการคมนาคมทีส่ ะดวกมาจัดการศึกษาร่วมกันและอุดหนุนค่าใช้จา่ ย เดินทางให้นักเรียนส�าหรับโรงเรียนขนาดเล็กที่อยู่ห่างไกล ควรต้องจัดสรรครูเพิ่มให้เพียงพอต่อการจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ ส่วนการลดความเหลือ่ มล�า้ ด้านการศึกษา การจัดสรรทรัพยากรควรต้องค�านึงถึงการสร้างโอกาสให้นกั เรียนทุกคนมีผลการเรียน ที่ดี ฐานะของนักเรียนและศักยภาพของโรงเรียน โดยมุ่งจัดสรรเงินอุดหนุนรายหัวเพิ่มขึ้นให้แก่นักเรียนจากจนในโรงเรียนขนาดเล็ก จากปจจุบันที่นักเรียนทุกคนได้รับเงินอุดหนุนรายหัวเกือบเท่ากัน ส�าหรับวัยแรงงาน ความเสี่ยงในปจจุบัน ยังมีแรงงานจ�านวนหนึ่ง โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กที่ตกหล่น จากระบบการศึกษา กลุ่มผู้สูงอายุ และแรงงานต่างด้าวที่ไม่ได้รับค่าจ้างตามมาตรฐานขั้นต�่า และอยู่นอกกรอบการคุ้มครองของกฎหมายคุ้มครองแรงงาน จ�าเป็นทีจ่ ะต้องมีการปรับปรุงกฎหมายให้เกิดความเป็นธรรมกับแรงงานทุกกลุม่ และในทุกอุตสาหกรรมโดยไม่มขี อ้ ยกเว้น เมือ่ คนมีรายได้ เพียงพอกับการยังชีพ ก็ไม่จา� เป็นต้องมีโครงการประชานิยม กฎหมายคุม้ ครองแรงงานควรมุง่ เน้นคุม้ ครองแรงงาน ไม่ใช่คมุ้ ครองผูป้ ระกอบการ อีกความเสี่ยงในวัยแรงงานคือมักมีการออมต�่า และจะมีผลสืบเนื่องไปซ�้าเติมสู่วัยสูงอายุ ซึ่งจะมีปญหาด้านสุขภาพ และขาดความมั่นคง ทางรายได้ วัยผูส้ งู อายุในด้านสุขภาพ จากปญหาของระบบหลักประกันด้านสุขภาพของคนไทยในปจจุบนั ซึง่ มี 3 ระบบหลัก คือ ข้าราชการ ผูป้ ระกันตน และหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ยังไม่มมี าตรฐานทีเ่ ท่าเทียมกัน คุณภาพการให้บริการทีแ่ ตกต่างกันมาก ดูได้จากค่าใช้จา่ ย ต่อหัวที่แตกต่างกันมาก เมื่อประชาชนถึงวัยสูงอายุจะอยู่ใน 2 ระบบหลัก คือสวัสดิการรักษาพยาบาลในกลุ่มข้าราชการ และระบบ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ซึ่งผลการศึกษาเชิงประจักษ์พบว่าผู้สูงอายุระยะสุดท้ายก่อนตาย 1 ปี ในกลุ่มข้าราชการ มีค่าใช้จ่ายและ การครองเตียงมากกว่าผู้สูงอายุในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามากกว่า 2 เท่า จ�าเป็นต้องแสวงหาทางเลือกการจัดระบบอภิบาล ที่ดีในระดับปฐมภูมิ โดยร่วมกับท้องถิ่น ส�าหรับความมั่นคงด้านรายได้ จากสัดส่วนผู้สูงวัยร้อยละ 35 พบว่ามี 73 % ของผู้สูงวัยที่ไม่มีหลักประกันด้านรายได้เลย และ หากมองในแง่งบประมาณการอุดหนุนแก่ผู้สูงอายุในอีก 30 ปี อัตราเบี้ยยังชีพหรือภาระในส่วนนี้จะเพิ่มสูงขึ้น 5.6 เท่า ซึ่งเป็นภาระ งบประมาณทีร่ ฐั ต้องดูแล และเมือ่ มองในกลุม่ วัยแรงงานทีม่ จี า� นวนน้อยลง ถือเป็นการสร้างภาระของวัยแรงงานในอนาคต ซึง่ การศึกษานี้ พยายามแสวงหาทางออก การหามาตรฐานการสนับสนุนให้เกิดการออมในทุกช่วงวัยเพือ่ ลดการพึง่ พาจากรัฐในอนาคต รวมทัง้ การเร่งรัด การใช้กฎหมาย กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) ให้มีผลบังคับใช้โดยเร็ว ส�าหรับแนวทางการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมเพื่ออนาคตประเทศไทยในสามทศวรรษหน้าที่ไม่ไกล และควรเริ่มท�าโดยเร็วเสีย ตั้งแต่วันนี้นั้น ทีดีอาร์ไอขอเชิญชวนผู้สนใจติดตามการถ่ายทอดสดการสัมมนาได้ที่ www.tdri.or.th และร่วมสอบถามหรือ แสดงความคิดเห็นได้ทาง www.facebook.com/tdri.thailand และ Twitter: @tdri_thailand ขอบคุณแหลงที่มา : http://tdri.or.th




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.