Thai SME News Vol.1 No.2

Page 1

น�ำเที่ยวชลบุรี และ ชมของดีเมืองสมุทรสาคร

เพ็ญทิพย์ พรจะเด็ด นายกสมาคมส่งเสริม SMEs ไทย

“ชีวิตที่ ไม่ยอมแพ้”

Business Intelligence “Product innovation” หุ่นยนต์ สร้างโดยคนไทยใช้งานได้จริง What’s On ความเสี่ยง SMEs ไทย จากผลกระทบวิกฤตการเมือง Special Event เตรียมตัวก่อนปิดรุ่น คพอ. ชลบุรีและสมุทรสาคร Logistics ย้อนรอยเส้นทาง R3A เชื่อมสิบสองปันนา โอกาสทองใกล้ตัว SMEs

THAI SME NEWS.COM | Volume 01 | Issue 02 | A Nuntapun Publication g thaismenews.com f Facebook.com/Thaismenews Iissuu.com/GP_Nuntapun

WWW.THAISMENEWS.COM

50.-


อภิวัฒน์ อรุณธีรพจน์ คพอ. 253 (สมุทรสาคร)


ชี วิ ต

ที่ไม่ยอมแพ้

เพ็ ญ ทิ พ ย์   พรจะเด็ ด นายกสมาคมส่งเสริม SMEs ไทย

“วิกฤต” อาจเป็นเหมือนทางตัน แต่สดุ ท้ายแล้ว เราต้องเป็นผูก้ า� หนดทางเดิน “อนาคต” ว่าจะหยุดถอยหลัง แล้วเดินอ้อมไปทางอื่น หรือจะทุบก�าแพงมุ่งหน้าต่อไปเพื่อ ความส�าเร็จที่เร็วกว่า... ติดตามหน้าคอลัมน์ Dhrama Diary “ชีวิตที่ ไม่ยอมแพ้” ฉบับที่ 2 1


บรรณาธิการแถลง Editor’s Talk

วารสาร ThaiSmeNews ฉบับที่ 1/57 นี้ถือ เป็นฉบับที่สอง ของการจัดพิมพ์ ด้วยตามนโยบายของ ฝ่ายบริหารที่ต้องการผลักดันให้ เพื่อนผู้ประกอบการ เอสเอ็มอีไทย สามารถรวมตัวกันอย่างเข้มแข็ง ในการ ช่วยเหลือซึง่ กันและกัน โดยอาศัยมิตรภาพ ความสัมพันธ์ อันดีของพวกเราที่ได้รวมตัวกันภายใต้สมาคมส่งเสริม เอสเอ็มอีไทย นับเป็นเวลาสามสิบปีเศษ มีสมาชิก ทัว่ ทุกจังหวัดในประเทศไทย มีความพร้อมทีจ่ ะให้ความ ร่วมมือในกิจกรรมมาโดยตลอด สมาชิกทุกคน มองเห็น ศักยภาพจุดแข็งของพวกเราด้านนี้ แต่สิ่งที่ขาดไปใน อดีตที่ผ่านมา คือ เครื่องมือสื่อสาร สื่อประชาสัมพันธ์ ในการน�าเสนอข้อมูลข่าวสารกิจกรรม ความเคลือ่ นไหว ขององค์กร ให้สมาชิกส่วนใหญ่ได้รบั รู้ ท�าให้เป็นอุปสรรค ต่อการด�าเนินการให้เกิดแนวคิดด้านนโยบายในการสร้าง องค์กรให้เป็นศูนย์รวมข้อมูลข่าวสาร ข้อเสนอแนะ ปัญหา ด้านต่าง ๆ ในการประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐที่ เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ

นโยบายภาครัฐถือเป็นส่วนหนึ่งที่มี ผลกระทบต่อการด�าเนินธุรกิจเอสเอ็มอีไทยอย่างยิง่ ThaiSmenews จึงขอเป็นสือ่ กลางในการน�าเสนอ ข้อมูลปัญหาข้อเสนอแนะสู่ภาครัฐและเอกชนที่ เกี่ยวข้อง ขณะเดียวกันก็จะท�าหน้าที่น�าเสนอ นโยบายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้สมาชิกได้ รับทราบอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดการปรับตัว ได้ทันกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ทีมงาน ThaiSmenews หวังอย่างยิง่ ว่า การน�าเสนอข่าวสาร ฉบับนี้ น่าจะท�าให้การ รวมตัวของพวกเรา ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีไทย ได้พฒ ั นาไปสูค่ วามเข้มแข็งอย่างยัง่ ยืนต่อไป และ ต้องขอขอบคุณอย่างยิง่ ส�าหรับผูใ้ ห้การสนับสนุน การจัดพิมพ์ ตลอดจนเจ้าของบทความสาระที่ เป็นประโยชน์ ทุกท่าน มา ณ โอกาสนี้ด้วย ธนพันธ์ ศิริโยธิพันธุ์ บรรณาธิการ

สแกนคิวอาร์โค๊ดนี้เพื่อเปิดอ่าน

ไทยเอสเอ็มอีนิวส์.คอม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2

ฉบับออนไลน์ ผ่านสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์ ได้ทุกแพลตฟอร์ม

ส า ร บั ญ CONTENTS

1 5 8 10 12 17 21 22

ชีวิตที่ไม่ยอมแพ้ วิกฤติความเสี่ยง SMES ไทย จากผลกระทบวิกฤติการเมือง สุดยอดฟาร์มไข่ไก่ภาคเหนือ ด้วยปรัชญา “ค�ามั่นสัญญา” BOI พร้อมหนุนขีดความสามารถ SMEs 39 ประเภท กิจกรรมปิดรุ่น คพอ. ภาคเหนือ จากใจ...คพอ.น้องใหม่ ชมของดีเมืองสมุทรสาคร หุ่นยนต์ สร้างโดยคนไทยใช้งานได้จริง

23 24 25 28 30 32 34 38

สังคมข่าว...เชียงใหม่ สังคมข่าว...พิษณุโลก สังคมข่าว...ส่วนกลาง WELCOME TO SURATTHANI สานสายใยพี่น้องชาว คพอ.ภาคใต้ แนะน�าสถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดชลบุรี ย้อนรอย R3A เชื่อมสิบสองปันนา ท้ายเล่ม...แสดงความยินดี คุณศิริพร ตันติพงษ์

คณะท�างาน ThaiSmeNews Editorial credit คณะที่ปรึกษา เพ็ญทิพย์ พรจะเด็ด วิโรจน์ เย็นสวัสดิ์ บรรณาธิการบริหาร อภินันท์ ศิริโยธิพันธฺุ์ กองบรรณาธิการ อาคม สุวรรณกันธา ฝ่ายตลาด ประภา กลิ่นสุวรรณ 2 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์

สมเกียรติ ผู้มชี ัยวงศ์ รุจิรา โสภาศรี ธนพันธ์ ศิริโยธิพันธุ์ วิเชียร บ�ารุงเกาะ ชลธิรา พินิจวัฒน์

ฝ่ายบัญชี กัลยา บุญยืด วิมลรัตน์ ทิพธรรม ฝ่ายกราฟฟิก อมร บุญมี เกณิกา เชษฐรัตน์ โยษิตา มณีวรรณ์ พัฒน์นรี วินิจฉัยกุล ศิริเรช รินต๊ะ ฝ่ายตรวจสอบและออกเพลท พิรานันท์ ถาเมือง สายฝน สุวรรณเลิศ

ฝ่ายผลิต เด่น ถาเมือง ปภาวิน อินต๊ะอ้าย วิฑูรย์ โปธินันท์ เว็บไซต์&มัลติมีเดีย ประวิตร เกียรติก�าจร จัดท�าโดย บริษัท นันทพันธ์พริ้นติ้ง จ�ากัด 33/4-5 หมู่ 6 ต.แม่เหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50100 โทร. 053-804908-9 แฟกซ์. 053-804958 www.nuntapun.com e-mail : info@nuntapun.com


Dhrama Diary เรื่อง เพ็ญทิพย์  พรจะเด็ด

เพ็ญทิพย์  พรจะเด็ด เชื่อว่าตลอดชีวิตของ การท�าธุรกิจหากมี

“ความขยัน อดทนมุง่ มัน่ จริงจัง ใฝ่เรียนรู้” ย่อมมีโอกาส

ประสบความส�าเร็จ แน่นอน

จากคนที่เริ่มท�าธุรกิจเหล็กตั้งแต่ปี 2527 โดยทีไ่ ม่รู้จกั แม้กระทัง่ ว่าเหล็ก 1 นิว้ นัน้ มีกี่หุน เนื่องจากเดิมเป็นแม่ค้าขายผัก หลัง แต่งงานกับสามีที่มีอาชีพซื้อของเก่า ได้เรียนรู้ จากลูกค้ามาซือ้ เหล็ก จากความมุ่งมัน่ ไม่ยอม แพ้ จะต้องท�าให้สา� เร็จให้ได้ เริม่ จากลูกค้ามา ซื้อเหล็กไล้เกรด 1 นิ้ว หนา 1.2 มิล (เราเป็น เจ้าของร้านจะไม่รู้ไม่ได้นะ แต่เรื่องจริงคือไม่รู้ จัก!!) จึงบอกลูกค้าว่า รบกวนเดินไปดูด้วยกัน ว่าจะเอาเส้นไหนจะให้ลกู น้องหยิบให้เลย ลูกค้า บอกนี่ไงเหล็กที่ผมต้องการ นั่นเป็นการเรียนรู้ แรก เราก็เลยเอาสีสเปรย์มาฉีดไว้เป็นสัญลักษณ์ จึงใช้มาถึงปัจจุบัน..

อย่างแรกผู้ประกอบการต้องมีคือ ความขยัน อดทน มุ่งมั่น จริงจัง แล้วนั้น สิ่งที่ต้องมี คือ การศึกษาตลาด เพราะเราจะท�าการค้าโดยไม่มองตลาดไม่ได้ คุณภาพสินค้าและความจริงใจต่อ ลูกค้าเป็นอีกตัวหนึง่ ทีท่ �าให้ประสบความส�าเร็จ..นัน่ คือจิตวิญญาณความเป็นผูป้ ระกอบการ ท�าให้ ประสบความส�าเร็จ.. แต่กระนัน้ ในปี 2540 “ช่วงวิกฤตเศรษฐกิจต้มย�ากุง้ ” ธุรกิจล้มระเนระนาด โรงงานเราเองได้รบั ผลกระทบ ลูกค้าเบี้ยวหนี้ไม่ยอมจ่ายเงินเป็นจ�านวนมากกว่า 100 ล้านบาท แล้วเงินที่เก็บสะสมไว้ทั้งหมดก็แทบไม่มีเหลือและในที่สุดเราต้องยอมขายเหล็กทั้งหมด ขาย เครือ่ งจักรทีไ่ ม่ได้ใช้งาน เพือ่ น�าเงินมาใช้หนีก้ ารค้า..ถอดใจจนอยากเลิกกิจการไปเลย แต่ครอบครัว และพนักงานหลายคนทีอ่ ยู่ด้วยกันมาเป็นสิบปี ขอให้สู้ดูอกี ครั้งหนึ่ง..ใจที่มุ่งมั่นจึงน�าเงินที่เหลือ จากการใช้หนี้การค้าแล้วมาเป็นทุนเริ่มต้นอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งกว่าจะถึงตรงนี้เราต้องขอขอบคุณ สมาชิกโครงการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรม หรือ คพอ. ที่ช่วยเราซื้อเหล็กด้วยเงินสด ท�าให้เรามี กระแสเงิน สดหมุน เวีย น โดยในครั้ง นี้ไ ด้ เ ดิน ตามพระราชด�า รัส เศรษฐกิจ พอเพีย งของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั มาเป็นแนวทางปฏิบัติ เพราะถ้าย้อนกลับไปดูพบว่า สมัยที่เราท�า ธุรกิจ เรามักมองถึงผลก�าไรเป็นหลัก จึงไปกูเ้ ขามาลงทุนเยอะๆ สุดท้ายก�าไรมันหายไปกับดอกเบีย้ หมด แต่พอหลังปี 2540 เราเดินตามเศรษฐกิจพอเพียง นั่นไม่ได้หมายความว่าเราต้องท�าเล็กลง เพียงแต่จุดไหนที่มีความเสี่ยงสูง ต้องลงทุนเครื่องจักรที่ราคาแพงก็ไม่เอา หลังจากนั้น 7-8 ปี ต่อมาเราก็สามารถใช้หนี้เค้าหมด.. ฉบับที่ 2 3


และในอีกส่วนหนึ่งในการบริหารตาม รอยเศรษฐกิจพอเพียงแล้วนั้น เรามีอุดมคติอยู่ อย่างคือ ในการท�าธุรกิจต้องไม่เลี้ยงแมว แต่ต้อง เลีย้ งเสือ เพราะเสือสามารถขวนขวายหากินให้เรา ได้ ขณะเดียวกันเสือมันอาจกินเนื้อเราได้ตลอด เวลา ดังนัน้ ต้องเลีย้ งเสือให้อมิ่ คือการสอนให้เค้า ท�ามาหากินได้โดยการสอนให้เค้าดูเหล็กเป็น ให้โอกาสลูกน้องไปหาเหล็กมาขายให้เราเพื่อลูก น้องจะมีรายได้เพิม่ ขึน้ นัน่ คือ การเลีย้ งเสือให้เป็น งาน ในส่วนของสวัสดิการก็เช่น ค่าแรงที่คุ้มค่า มีสวัสดิการให้ครอบครัว อย่างบุตรก็ส่งเสียให้ เล่าเรียน นอกจากนีย้ งั อบรมให้เค้ารู้สกึ ความเป็น เจ้าของด้วยว่า ร้านนีไ้ ม่ใช่ของเราคนเดียว แต่เป็น ของพวกเค้าด้วย อย่างค่าแรงเอย ปลายปีมโี บนัส นีค่ อื ส่วนแบ่งทีท่ กุ คนได้รบั จากผลส�าเร็จของธุรกิจ... วิกฤต อาจเป็นเหมือนทางตันส�าหรับ ผู้ประกอบการ แต่สุดท้ายแล้ว เราต้องเป็น ผู้ก�าหนดทางเดิน “อนาคต” ด้วยตัวเอง ว่าจะ หยุดตรงทางตัน หรือถอยหลังแล้วเดินอ้อมไป ทางอืน่ หรือจะฝ่าทุบก�าแพงเพือ่ มุง่ หน้าต่อไปเพือ่ ความส�าเร็จที่เร็วกว่า... 4 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


What’s on เรื่อง สมเกียรติ  ผู้มีชัยวงศ์

วิกฤติความเสี่ยง SMES ไทย

จากผลกระทบวิกฤติการเมือง เอสเอ็มอีไทย จะบริหารจัดการอย่างไร ให้รอดปี 2557 ผลกระทบจากการเมืองไทยที่มีมาอย่างต่อเนื่องมาหลายปี และเริ่มรุนแรงมากขึ้น และ มากขึน้ ทีจ่ ดุ ปะทุประชาชนเริม่ เกิดอาการรับไม่ได้ ในประเด็น นิรโทษกรรม สุดซอย ปัญหาการคอรัปชัน่ ที่ มากขึ้นรุนแรงขึ้น จนหน่วยงานจัดอันดับระดับโลกได้จัดอันดับให้ประเทศไทยมีอันดับการคอรัปชั่น ในช่วงหลายปีที่ผ่านมามีอันดับเพิ่มขึ้นตลอดคือ ปี 2555 ติดอันดับ 88 พอปี 2556 ติดอันดับ เลวร้ายมากขึ้นอีกคือ 102

อะไรเกิดขึ้น ?

ทัง้ ทีร่ ฐั บาล ออกข่าวประกาศตามสือ่ ประชาสัมพันธ์ เป็นผู้นา� ต่อต้านการทุจริตคอรัปชัน่ หรือมันเป็นเพียงวาทะ หรือมันติดขัดอะไร หรือมีกระบวนการปฏิบัติการที่ไม่สามารถเข้าสู่การ แก้ปัญหาการทุจริตคอรัปชั่นได้ตามพันธกิจเป้าหมายอย่างไร โครงการประชานิยมของพรรคการเมืองไทยส่งผลเป็นบูมเมอแรง อย่างแรงต่อการพัฒนา ประเทศและชัดเจนแล้วว่าส่งผลเสียมากกว่าผลดี “โดยเฉพาะโครงการรับจ�าน�าข้าว” ที่มีข่าวออก มาตลอดเวลาในความล้มเหลว และการคอรัปชั่น การบริหารทีล่ ้มเหลวส่งผลเสียหายเป็นวงกว้างอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อนในประเทศไทย มูลค่าความเสียหายหลายแสนล้านบาท มีการตรวจสอบและแจ้งข้อกล่าวหาชี้มูลความผิดกับผู้ที่มี ส่วนร่วมในการกระท�าความผิด มีมลู เกีย่ วกับการทุจริตคอรัปชัน่ ว่ามีการกระท�าการกันเป็นกระบวนการ มีการปล่อยปละละเลย และหรือขาดระบบการบริหารการจัดการการตรวจสอบทีถ่ กู ต้องมีประสิทธิภาพ ของหน่วยงานก�ากับดูแล ซึ่งเป็นอีกหนึ่งการบริหารที่ล้มเหลวที่ก่อผลกระทบในวงกว้าง และส่งผล

ให้อนั ดับความเชือ่ ถือข้าวไทยตกต�า่ ลง จาก อันดับ 1 แชมป์การส่งออกข้าวไทย หล่น มาอยู่อันดับ 3 ของโลก รองจากอินเดีย และเวียดนาม ภาครัฐต้องมีบทบาทหน้าที่ใน การส่งเสริมสนับสนุน SMEs ไทย เพราะ เป็นการน�าภาษีของประชาชนมาบริหาร มี การของบประมาณ มีแผนการใช้งบประมาณ จึงเกิดค�าถามขึ้นมาว่า หน่วยงานที่ดูแล และเกีย่ วข้องกับการส่งเสริมสนับสนุน SMEs ของภาครัฐในแง่ของประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ซึ่ ง เป็ น ตั ว ชี้ วั ด จริ ง ในแง่ ก ารบริ ห าร งบประมาณที่ใช้เพื่อส่งเสริมสนับสนุน SMEs มีประสิทธิภาพที่ดีขนาดไหน ควร ปรับปรุง หรือปฏิรูปหน่วยงานไหนบ้าง อย่างไร

ฉบับที่ 2 5


มองอีกด้านถ้ารัฐ บริหารไม่โปร่งใส เกิดการคอรัปชัน่ รุนแรง ทัง้ ในระดับนโยบายและระดับปฏิบตั กิ ารในโครงการต่างๆ ของรัฐ ย่อม ส่งผลกระทบต่อเนือ่ งมายังผู้ประกอบการอย่างรุนแรงเช่นกัน ทีจ่ ะได้รบั การส่งเสริมสนับสนุนอย่างเต็มที่ มีประสิทธิภาพ แง่มมุ คิด วันนีภ้ าคเอกชน SMEs ต้องมาช่วยกันสอดส่องดูแล กันมากขึน้ จะถือว่าเป็นเรือ่ งของรัฐอย่างเดียว รัฐจะท�าอะไรตามอ�าเภอใจ ไม่โปร่งใส ไม่ได้อีกแล้ว เพราะส่งผลกระทบต่อผู้ประกอบการทั้งทาง ตรงทางอ้อมแน่นอนชัดเจน การพัฒนาประเทศด้อยถอยลง SMEs, OTOP ล�าบากมากและเหนื่อยมากในปีน้ี 2557 จับประเด็นการสัมภาษณ์ให้ข่าว ของหน่วยงานภาครัฐและ เอกชนที่ก�ากับดูแลและมีส่วนโดยตรงกับ SMEs, OTOP ซึ่งเป็น ผู้ประกอบการจ�านวนมากถึง 2.7 ล้านรายเป็นผู้ประกอบการขนาดจิ๋ว ขนาดเล็ก ขนาดกลาง มีสัดส่วนถึง 95 % ของประเทศ (สัดส่วน SMEs ขนาดกลางค่อนไปทางใหญ่, ขนาดใหญ่ มีสัดส่วนไม่มากนัก) ประเด็นของข่าว คือการให้แนวทางการปรับตัวของผูป้ ระกอบ การจากภาวะวิกฤติการเมืองปัจจุบันที่ก่อผลกระทบต่อผู้ประกอบการ 1. ด้านการเงินได้มีการส�ารวจว่า ถ้าวิกฤติไม่จบเร็วภายใน ไตรมาสแรก จะส่งผลให้ ผู้ประกอบการรายจิ๋ว รายเล็ก มีต้นทุนการ บริหารกิจการการค้าเหลือเพียง 4 เดือน ข้อแนะน�า - ให้ผปู้ ระกอบการระวังการใช้จา่ ยเงินให้มปี ระสิทธิภาพ มากขึ้น - ให้หาวิธกี ารลดต้นทุนการผลิตให้ได้มากทีส่ ดุ เช่น การ บริหารจัดการระบบโลจิสติกส์ การพัฒนาฝีมอื แรงงาน การปรับปรุงการ ใช้เครื่องจักรในการผลิต หรือการน�าเครื่องจักรมาใช้แทนแรงงานคน - การใช้ระบบไอที - ให้รฐั หาเงินกู้ดอกเบีย้ ต�า่ เพือ่ เสริมสภาพคล่องและให้ ผ่อนปรนการช�าระเงินต้นออกไป 5-6 เดือน 6 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์

2. ด้านการตลาด - หาตลาดใหม่ รักษาตลาดเก่า - ปรับปรุงพัฒนาสินค้าให้โดดเด่น มีนวัตกรรมเพิม่ มูลค่าสินค้า เพื่อส่งเสริมการตลาด 3. ด้านการสร้างเครือข่ายพันธมิตรทางธุรกิจ ส่งเสริม การเชื่อมโยงธุรกิจในกลุ่มอาเซียน - การพาผู้ประกอบการไปศึกษาดูงานต่างประเทศ และการจับคู่ธุรกิจกับนักลงทุนต่างชาติ 4. ด้านการพัฒนาการรวมกลุม่ อุตสาหกรรม เป็นลักษณะ Cluster 5. ส่งเสริมด้านการเป็นซัพพลายเชนของเอเซียน (Thai SMEs to AEC Supply chain) 6. ด้านการย้ายฐานการผลิต ให้เริม่ ส�ารวจ ศึกษาความ เป็นไปได้ในการย้ายฐานการผลิตไปยังแหล่งวัตถุดิบ และแรงงาน ที่ถูกกว่า และพัฒนา รักษาแรงงานมีฝีมือให้อยู่ท�างานกับเราไม่ ถูกแย่งชิง ฝีมือแรงงาน ส�าหรับมุมมองความคิดเพิ่มเติมส่วนตัวของผู้เขียนใน Action Plan ที่ต้องลงมือท�าอย่างรวดเร็วคือ 1. การลงขันผู้ประกอบการร่วมมือกัน ลงทุนร่วมกัน ในการท�าธุรกิจร่วมกัน เพื่อกระจายความเสี่ยง เช่น น�าเงินลงทุน ร่วมกันเพื่อผลิตสินค้าแบรนด์กลางขึ้นมาเพื่อช่วยกันไปขาย ไปท�าการตลาด เมือ่ แบรนด์กลาง สินค้าตัวแรกเจาะตลาดได้สา� เร็จ ท�าก�าไรก็ตอ่ ยอดท�าสินค้าตัวที่ 2 ออกมาเป็นแบรนด์กลางเหมือนเดิม และดูแลอย่างเอาใจใส่ให้เกิดผลก�าไร เพื่อเอาก�าไรส่วนหนึ่งมา ต่อยอดพัฒนาแบรนด์กลางต่อไป 2. การลงแขกคือทักษะ การท�างานช่วยเหลือกันเป็นทีม Teamwork ซึง่ จ�าเป็นมากในปี 2557 ใครมีดี มีความรู้ ความสามารถอะไร มาช่วยกันจะท�าให้โอกาสความส�าเร็จมีมากขึน้ ความเสีย่ งน้อยลง 3. แนวทาง “คลัสเตอร์การค้า” หรือเครือข่ายการค้า คือหัวใจของผู้ประกอบการในยุคนี้ สามารถเป็นซัพพลายเชนให้ กันและกัน และแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ให้กนั และกัน


4. แนวคิดการท�าศูนย์กระจายสินค้าSMEs - OTOP ทั้งใน ประเทศและต่างประเทศในท�าเลดีมโี อกาสต้องสร้าง Model ทีส่ า� เร็จขึน้ มา เพื่อน�าไปใช้ขยายสาขาอื่นต่อไป 5. แนวทางท�า 365 SMEs-OTOP PLAZA มีศูนย์การค้า ขนาดใหญ่เพือ่ ขายสินค้า โอทอปเอสเอ็มอี 365 วันใน 1 ปี อย่างจริงจัง หลังวิกฤติ การเมืองคลี่คลายแนวคิดนี้ต้องขยายออกไปให้เกิดรูปธรรม 6. การปฏิรปู หน่วยงานก�ากับดูแล SMEs - OTOP ทัง้ โครงสร้าง การบริหาร และบทบาทหน้าที่ต้องน�าคนดี คนเก่ง คนเข้าใจ และ มองออก ในการบริหารเชิงกลยุทธ์ ให้สา� เร็จตามเป้าหมายขององค์กร (ไม่ควรมีแต่การประชาสัมพันธ์องค์กรต่อสือ่ แต่กระบวนการท�าล้มเหลว) ให้มกี ารอบรมความรู้ความเข้าใจของหน่วยงานก�ากับดูแล SMEs OTOP ให้มีการพัฒนา เจ้าหน้าที่ที่ผู้ประกอบการมาขอค�าแนะน�า ให้มี ประสิทธิภาพ ความสามารถมากขึ้น 7. Financial Support จากภาครัฐและสถาบันการเงินเอกชน ต้องหาทางให้เอสเอ็มอีโอทอป เข้าถึงแหล่งเงินทุนทีง่ า่ ย สะดวก เร็วกว่า วิธีการแบบเดิมๆ ที่มีเงื่อนไข ที่ไม่ผ่อนปรน 8. Single Window ระบบบริการที่จุดเดียวเพื่อช่วยเหลือ ผู้ประกอบการด้านข้อมูลการค้า เชิงลึก ในเรื่องการค้า การลงทุน กฎระเบียบ กฎหมายการลงทุน การวิเคราะห์โอกาสการค้าสินค้าและ บริการโดยเฉพาะในต่างประเทศ 9. พัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการห่วงโซ่อปุ ทานสินค้า ไทย ให้เด่นชัด สามารถยกระดับในการแข่งขันกับคู่แข่งการค้าได้ Supply Chain บริหารดี มีแต้มต่อ ในการแข่งขัน มองดูเขา (เกษตรกร ชาวนา) หันมามองดูเรา (ผูป้ ระกอบการ SMEs, OTOP) ปัจจุบนั องค์กร ชาวนามีสภาเกษตรกรแห่งชาติทมี่ กี ฎหมาย รองรับ ท�าให้สามารถมีบทบาททีช่ ว่ ยเหลือชาวนาได้อย่างเต็มก�าลัง และ ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ และเอกชน SMEs ยังไม่มี สภา SMEs ที่มีกฎหมายรองรับ และได้รับการ ส่งเสริมงบประมาณ เพือ่ ให้สภา SMEs มีบทบาทเด่นชัดช่วยผู้ประกอบ การเอสเอ็มอีจิ๋ว เล็ก และขนาดกลาง ที่มีผู้ประกอบการประมาณ 2.6 ล้านราย เรามีสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ทีผ่ ่านมาการบริหาร ช่วยเอสเอ็มอีขนาดเล็ก และเข้าใจผู้ประกอบการภูมภิ าคได้ระดับหนึ่ง เรามี สภาหอการค้าแห่งประเทศไทยซึง่ มีบทบาทหน้าทีส่ ่วน หนึ่งด้านช่วยเหลือเอสเอ็มอีแต่เรายังขาด “สภาเอสเอ็มอี มีกฎหมาย รองรับ เพือ่ ช่วย และช่วยพัฒนาเอสเอ็มอีขนาดจิว๋ ขนาดเล็กขนาดกลาง ทีเ่ ข้าใจผู้ประกอบการอย่างชัดเจนและลึกซึง้ เราต้องการสภาเอสเอ็มอี ทีเ่ ข้าใจเอสเอ็มอีจริงๆ ทีม่ าท�าหน้าทีช่ ว่ ยเหลือส่งเสริมสนับสนุนผลักดัน ให้เกิดประโยชน์ผลดีต่อสมาชิก กรณีศึกษา ชาวนา ข้าวไทยวิกฤติ ชาวนาไทย วิกฤติข้าว ไทย คือวิกฤติชาติ เมื่อชาวนาปลูกข้าวได้ค่าข้าวตามกลไกตลาด ซึ่ง เป็นวิธีเดิมๆ เกษตรกรชาวนาได้ราคาข้าวที่ขายออกไปเหลือก�าไรบ้าง พออยู่ได้ อดีตปัจจุบันก็เป็นเช่นนี้

วันนี้ สภาเกษตรกรแห่งชาติ คงต้องหาทางท�าอย่างไรให้เกิด มูลค่าเพิม่ มากขึน้ ในข้าว โดยต้องร่วมมือกับกลุม่ ผูป้ ระกอบการเอสเอ็มอี ในด้านการผลิต สินค้าหลากหลายทีม่ ขี ้าวเป็นวัตถุดบิ โรงงานเอสเอ็มอี ไทย ทีส่ ามารถน�าวัตถุดบิ จากข้าวมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ก็ช่วย ชาวนาได้อีกทางหนึ่ง และสร้างมูลค่าเพิ่มให้ข้าวไทยที่แปรรูปมีราคา เพิม่ มากขึน้ เช่น ทีม่ าท�าเป็นแป้งพัฟทาหน้า หรือท�าเป็น ซีเรียล อาหาร สุขภาพ หรือท�าเป็นสบู่จากข้าว อาหารเสริม เป็นต้น การใช้งานวิจยั มาต่อยอด เป็นนวัตกรรมสินค้าทีด่ ี มีประโยชน์ โดดเด่น มีมูลค่าเพิ่ม สร้างยอดขายเพิ่มได้ อดีตรองนายกรัฐมนตรี คุณสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ได้ให้ ความรู้กบั สมาชิกหอการค้าไทยไว้อย่างน่าฟังเกี่ยวกับ 4 เสาหลักการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย เปรียบเหมือนเครื่องยนต์ ที่ต้องใช้ในการขับ เคลื่อนเศรษฐกิจไทย ซึ่งเวลานี้ มกราคม ถึง กุมภาพันธ์ 2557 ถือว่า ดับหมดทั้ง 4 เครื่อง คือ 1. การส่งออก 2. การบริโภค 3. การใช้จ่ายภาครัฐ การใช้ งบประมาณ และ 4. การลงทุน ทั้ง 4 เครื่องดับสนิท ขับเคลื่อนไม่ได้ ผลกระทบยอดการ ค้าขายใน และนอกประเทศมียอดขายลดน้อยลง การใช้จ่ายภาครัฐ สะดุด เพราะเป็นรัฐบาลรักษาการ ไม่สามารถใช้งบประมาณซึ่งเป็น การผูกพันกับรัฐบาลหน้าได้ การลงทุนชะงัก เพราะนักลงทุนขาดความ ไว้วางใจในสถานการณ์จากวิกฤติการเมืองในขณะนี้ ตัวแปรที่ควบคุมไม่ได้มากขึ้น อย่างไรก็ดี ผู้ประกอบการเหลือทางเลือกน้อยลง และมอง โอกาสความเป็นไปได้ทางการส่งออกเป็นทางที่ยังมีโอกาส โดยรัฐต้อง จริงใจท�างานร่วมกับเอกชนอย่างเข้มแข็ง และรุกหนักในต่างประเทศที่ เห็นโอกาส เห็นตลาด ต้องจัดสรรงบประมาณเข้าไปช่วยภาคเอกชน หา ตลาดและเตรียมข้อมูลแม่นย�าตรง ให้ผู้ประกอบการ บุก รุก สู้ในตลาด ต่างประเทศอย่างเต็มก�าลัง อย่างถูกทิศทาง ตัวช่วยอีกตัวคือสถาบันการเงิน ต้องเป็นคู่คิดคู่ค้ากับ ผู้ประกอบการในภาวะวิกฤติไม่ใช่เหตุการณ์ปกติ มาตรการช่วยด้าน สินเชื่อเพื่อการค้าการลงทุน ในแบบผ่อนปรน ทุกสิ่งที่คดิ ท�า หนีไม่พ้น โมเดล “ลงขัน และ ลงแขก” ซึ่ง เป็นสัญลักษณ์ของชาวนาไทย เรียกว่า “Farming Model” ความร่วมมือกันระหว่างภาคเอกชนและภาครัฐวันนี้ ต้องอยู่ ในพืน้ ฐานความตัง้ ใจ และจริงใจต่อกัน และต้องท�างานต่อเนือ่ งจึงส�าเร็จ ผลักดันโครงการต่างๆให้ตอบสนองความต้องการภาคเอกชน หลุมพรางแห่งความล้มเหลว คือความเคยชินเก่าๆ คิดและ ท�าแบบเดิมๆ ที่น่าผิดหวัง พูดแล้วท�าน้อยไป ท�าไม่เป็น ไม่ปรับท่าที เป็นความเคยชินที่ล�าบาก ก่อปัญหาให้การพัฒนาเอสเอ็มอีล้มเหลว เช่นเดียวกัน ภาคเอกชน พวกเราทุกคนต้องไม่อยู่ในวังวนความเคยชิน แบบเดิมที่ท�าให้เราล�าบากเราจึงต้องเตรียมพร้อมสู้กับวิกฤติปี 2557 ปรับแก้ไข แก้เกมส์ “ให้อยู่ได้ อยู่รอด รอวันรุ่ง”

SMEs THAI หัวใจไม่ยอมแพ้ ฉบับที่ 2 7


Business interview เรื่อง ประภา  กลิ่นสุวรรณ

สุดยอดฟาร์มไข่ไก่ภาคเหนือ ด้วยปรัชญา “ค�ามั่นสัญญา”

บทสัมภาษณ์

“ชิตศักดิ์ เวชชากุล”

บริษัท อาร์.พี.เอ็ม.ฟาร์ม แอนด์ ฟีด จ�ากัด (คพอ. 128 เชียงใหม่) หากเอ่ยถึงกิจการทีท่ า� ฟาร์มไข่ไก่ทใี่ หญ่ และธุรกิจครบวงจร ที่สุดแห่งหนึ่งในภาคเหนือ ในวงการจะทราบดีว่าแบรนด์รวมพรมิตร หรือ RPM คือกิจการ SMEs ที่ได้ฝ่าฟันอุปสรรค พร้อมกับพัฒนาอย่าง ไม่หยุดนิง่ กระทัง่ เติบโตมาอย่างต่อเนือ่ งภายใต้ปรัชญาการด�าเนินธุรกิจ ที่ยึด “ค�ามั่น” “เมื่อปี 2505 เตี่ยผมเลือกจังหวัดเชียงใหม่เป็นที่ทา� กินโดย ขายลูกเป็ดเร่ วันนัน้ เตีย่ เริม่ ขายความจริงในตัวสินค้า คือ ขายแยกเพศ ผู้-เมีย ถึงปี 2513 ได้เซ้งตึกย่านสันป่าข่อยขายลูกเป็ด อาหารสัตว์ อุปกรณ์การเลี้ยงและยารักษาโรค จากนั้นก็ได้เปิดฟาร์มเลี้ยงเป็ดไข่ หลังจากนั้น ด้วยการเปลี่ยนแปลงของตลาดพฤติกรรมการ บริโภค จึงได้เปลีย่ นไลน์หนั มาประกอบการเลีย้ งไก่ไข่ ทว่าการท�าธุรกิจ ย่อมมีปัญหาขึ้นเป็นระลอก กล่าวคือปี 2547 ที่ตลาดกระทบจากกรณี ไข้หวัดนก ก็ท�าให้สต๊อกไข่ไก่ค้างเป็นจ�านวนมาก ล่าสุดคือปัญหา 8 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์

ขาดแคลนพันธุ์สัตว์ จากมาตรการลดจ�านวนพ่อ-แม่พันธุ์ไก่ไข่ ซึ่งดู เหมือนว่าเขาจะทราบดีถึงวัฏจักรของวิกฤติที่จะมาทุก ๆ 3-5 ปี ดังนัน้ สิง่ ทีค่ ณ ุ ชิตศักดิ์ ได้ก�าหนดการท�าธุรกิจฟาร์มไก่ไข่ไว้ คือ การรู้เขา รู้เรา โดยเฉพาะถ้ารู้เรา ก็จะรบไม่แพ้ การสร้างเครดิต ความเชื่อมั่น โดยต้องรักษาค�ามั่น “ผมยึดหลักสาม “ไม่” ในการท�าธุรกิจ ไม่โกงลูกน้อง ไม่โกงคู่ค้า และไม่โกงน�้าหนัก โดยเฉพาะการท�าฟาร์มไก่ไข่เรามี เครือข่ายที่ให้ความเชื่อมั่น ท�าให้สามารถฝ่าฟันวิกฤติได้ตลอดมา เรารู้สถานการณ์ดีว่าทุนขนาดใหญ่มักรุกตลาด โดยแทบไม่นึกถึง ความเสียหายในแง่ธรุ กิจ แต่เมือ่ เรายังยึดมัน่ ในเรือ่ งคุณภาพมาตรฐาน ที่ตรวจสอบได้ สมเหตุสมผล ซึ่งผมคิดว่าคนเรารู้ว่าจะตายก็ต้องสู้ เพราะถ้าเราสู้เราจะอยู่รอด”


ในการแข่งขันทางธุรกิจ คุณชิตศักดิ์กล่าวว่า การลดต้นทุนบางครั้งมัน โหดร้าย เพราะท�าให้เกิดการเอารัดเอาเปรียบ และบังคับต้องท�าให้มองถึงก�าไร สูงสุด เกิดความฉ้อฉลได้ ซึง่ อาจจะไปท�าให้กระทบถึงคุณภาพของสินค้าด้วย “ผม พยายามเปลี่ยนมุมมองเป็นว่า จะต้องสร้างสินค้าให้มีคุณภาพ เพื่อเป็นการ ตอบโจทย์เรือ่ งการลดต้นทุน ไข่ไก่ของ RPM จึงเน้นความแตกต่างเริม่ ตัง้ แต่วตั ถุดบิ ต้องเติมคุณภาพไปในตัวสินค้า เพื่อรังสรรค์คณ ุ ภาพแทน ซึ่งเราใช้นวัตกรรมและ เทคโนโลยี มาใช้ร่วมกับภูมิปัญญา” กระทั่งปัจจุบันฟาร์มไข่ไก่ในเครือ RPM ได้เจริญเติบโตเป็นธุรกิจฟาร์ม ไก่ไข่ทใี่ หญ่ทสี่ ดุ แห่งหนึง่ ในภาคเหนือ เป็นธุรกิจครบวงจรคือมีฟาร์มพ่อ-แม่พนั ธุ์ไก่ ไข่ โรงฟักลูกไก่ ฟาร์มเลีย้ งไก่รุ่นไข่และ ผลิตอาหารไก่ทมี่ อี ปุ กรณ์ทนั สมัย ห้องเย็น อีกทัง้ ยังรับซือ้ วัตถุดบิ เกีย่ วกับอาหารสัตว์ทกุ ประเภทจากท้องถิน่ และน�ามาแปรรูป เป็นอาหารไก่ อีกทัง้ ยังมีระบบคัดเลือกขนาดไข่ไก่อย่างทีใ่ ช้ระบบอัตโนมัตแิ ปดสิบ เปอร์เซ็นต์ และอีกยี่สิบเปอร์เซ็นต์ใช้บุคลากร มีมูลค่าการลงทุนนับร้อยล้านบาท ทั้งนี้ทางเครือ RPM ได้ท�าสัญญากับเกษตรกรรายย่อยในภาคเหนือ มากกว่าร้อยฟาร์มทีร่ บั พันธุส์ ตั ว์และอาหารไก่ รวมถึงวัคซีนพร้อมการดูแลให้ความรู้ อย่างใกล้ชดิ และน�าไข่ไก่ส่งกลับเพื่อท�าตลาด ในแต่ละวันโรงงานของเขาจะส่งไข่ ออกขายวันละหลายแสนฟองซึ่งถือว่ามีส่วนแบ่งการตลาดในอันดับต้น ๆ ทีเดียว

ปัจจุบันในเครือ RPM มีทั้งหมด 4 บริษัท บริษัท ที่ 1 คือบริษทั RPM FARM&FEED เป็นบริษทั ลักษณะโฮลเดอร์ และฟาร์มพ่อ-แม่พนั ธุ์ บริษัทที่ 2 รวมพรมิตรโภคภัณฑ์เป็น โรงงานผลิตอาหารสัตว์ บริษทั ที่ 3 รวมพรมิตรฟาร์ม ด�าเนิน การเลี้ยงไก่เพื่อผลิตไข่จ�าหน่ายและขณะเดียวกันก็เลี้ยงไก่ รุ่นขาย บริษทั ที่ 4 คือ บริษัท RPM ไก่รุ่นฟาร์ม จ�ากัด ผลิต ไก่รุ่นไข่ “ทีเ่ ราฝ่าอุปสรรค และพัฒนาก้าวขึน้ มาได้ในระดับ นี้เพราะเรามีพันธมิตรที่สนับสนุนส่งเสริม ทั้งหน่วยงาน ภาครัฐและเอกชน ได้แก่ BOI สวทช. อุตสาหกรรมจังหวัด กรมปศุสัตว์ รวมถึงภาคเอกชนส่วนของสภาอุตสาหกรรม จังหวัดเชียงใหม่ คพอ ที่ได้เดินเคียงคู่กนั ตลอดมา” คุณชิตศักดิ์ ได้ฝากแนวคิดการท�างานฝากท้ายกับ ทีมงานไว้ว่า การท�างานของบริษัทได้ยึดหลัก 2 เรื่อง คือ “ขยัน อดทน ทุ่มเท มุ่งมั่น” และ “ฟังเหมือนกัน เข้าใจเหมือนกัน คิดเหมือนกัน ปฏิบัติเหมือนกัน จะช่วยลดปัญหาได้” การก้าวไปของ RPM ในอนาคตจึงชัดเจนที่ก�าลัง พัฒนามาตรฐานอุตสาหกรรมฟาร์มไข่ไก่ ด้วยนวัตกรรม ใหม่ ๆ พร้อมกับการสร้าง Brand ด้วยค�ามั่นที่มีต่อลูกค้า เครือข่าย พนักงาน และตัวคุณชิตศักดิ์เอง ฉบับที่ 2 9


Marketing Strategy เรื่อง ประภา  กลิ่นสุวรรณ

BOI พร้อมหนุน

ขีดความสามารถ SMEs 39 ประเภท สัมภาษณ์

ศักดิ์ชัย เหลืองสถิตกุล Thai SMEs News ได้รับเกียรติเข้าพบ และสัมภาษณ์ “ศักดิ์ชัย เหลืองสถิตกุล” ผู้อ�านวยการ ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุน ภาคที่ 1 ซึ่งดูแลและรับผิดชอบการส่งเสริมการลงทุนในภาคเหนือ ซึ่ง ได้รับข้อมูลความคืบหน้าการส่งเสริมเพิ่มขีดความสามารถ SMEs ทั่วประเทศ ซึ่งมาตรการจะหมดเขตภายในสิ้นปี 2557 นี้ รวมถึงข้อมูล นโยบายต่าง ๆ ที่น่าสนใจ ผูอ้ า� นวยการฯ ศักดิช์ ยั กล่าวว่านับเป็นข่าวดีสา� หรับผูป้ ระกอบการ ขนาดกลางและขนาดเล็กอย่างมากทีท่ างบอร์ด BOI ได้อนุมตั ิ 2 มาตรการ คือ 1. ส่งเสริมการลงทุนแก่เอสเอ็มอี และ 2. ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการ ปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยภายใต้ 2 มาตรการนี้จะต้องยื่นขอรับส่งเสริมภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ส�าหรับมาตรการส่งเสริมการลงทุนแก่กจิ การเอสเอ็มอีมเี งือ่ นไข หลัก ได้แก่ ต้องมีขนาดการลงทุนขั้นต�า่ 5 แสนบาท (ไม่รวมค่าที่ดิน และทุนหมุนเวียน) ต้องถือหุน้ โดยบุคคลธรรมดาสัญชาติไทยเป็นสัดส่วน ไม่น้อยกว่า 51% ของทุนจดทะเบียน และเมื่อรวมกิจการทั้งหมดทั้งที่ ได้รับการส่งเสริมและไม่ได้รับการส่งเสริมแล้วผู้ได้รับการส่งเสริมต้องมี 10 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์

สินทรัพย์ถาวรสุทธิหรือขนาดลงทุนไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ไม่เกิน 200 ล้านบาท ทั้งนี้กิจการที่เปิดให้การส่งเสริมภายใต้มาตรการส่งเสริม การลงทุนแก่กิจการเอสเอ็มอีจะครอบคลุมกิจการ 39 ประเภท ซึ่ง กระจายอยู่ใน 4 กลุ่ม ได้แก่ 1. กลุ่มกิจการที่เพิ่มมูลค่าแก่สินค้าภาค เกษตรกรรม รวมจ�านวน 13 ประเภทกิจการ อาทิ การขยายพันธุ์พืช และสัตว์ การผลิตปุ๋ยชีวภาพและปุ๋ยอินทรีย์ อาหารแปรรูป ผลิตภัณฑ์ ยาง เป็นต้น 2. กลุ่มกิจการที่ใช้ทักษะการผลิตและเป็นอุตสาหกรรม สนับสนุนที่ส�าคัญ 16 ประเภท เช่น การผลิตเครื่องจักร ชิ้นส่วน ยานพาหนะ อิเล็กทรอนิกส์ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์พลาสติก สิง่ พิมพ์ 3. กลุ่มกิจการเชิงสร้างสรรค์ 7 ประเภท เช่น ผ้า เครื่องนุ่งห่ม อัญมณี และเครื่องประดับ สิ่งประดิษฐ์ เครื่องเรือน ซอฟต์แวร์ การออกแบบ ผลิตภัณฑ์ และ 4. กลุ่มกิจการบริการและสนับสนุนการท่องเที่ยว 3 ประเภท ได้แก่ โรงแรม ศูนย์แสดงศิลปวัฒนธรรมฯ การสร้างภาพยนตร์ ไทยหรือให้บริการแก่ธุรกิจสร้างภาพยนตร์


กิจการเอสเอ็มอีไทยที่ได้รับการส่งเสริมจะได้รับสิทธิและ ประโยชน์ ดังนี้ ยกเว้นอากรขาเข้าเครือ่ งจักรไม่วา่ ตัง้ อยูใ่ นเขตใด ยกเว้น ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล 8 ปี ไม่ว่าตัง้ อยู่ในเขตใด เป็นสัดส่วน 100% ของ เงินลงทุน (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน) นอกจากนัน้ บีโอไอยังได้ออกมาตรการส่งเสริมให้ปรับเปลีย่ น เครือ่ งจักรเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต โดยกิจการทีต่ ้องการยืน่ ขอรับ ส่งเสริมภายใต้มาตรการนีต้ ้องเป็นกิจการเอสเอ็มอีทดี่ า� เนินการอยู่แล้ว ทัง้ กิจการทีไ่ ด้รบั ส่งเสริมการลงทุนจากบีโอไออยู่แล้วและกิจการทีไ่ ม่ได้ รับส่งเสริม โดยจะต้องเสนอแผนการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักร เช่น การน�าระบบอัตโนมัติมาใช้ในสายการผลิตที่มีอยู่เดิม เป็นต้น กิจการเอสเอ็มอีที่ได้รับส่งเสริมจะได้ รับการยกเว้นอากรขาเข้าเครือ่ งจักรไม่วา่ ตัง้ กิจการ ในเขตใด และได้รบั การยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล 3 ปี เป็นสัดส่วน 50% ของเงินลงทุนไม่รวม ค่าทีด่ นิ และทุนหมุนเวียน โดยภายใต้เงือ่ นไขต้อง ไม่ใช้สิทธิและประโยชน์ซ�้าซ้อนกับมาตรการ ส่งเสริมการปรับเปลีย่ นเครือ่ งจักรของกรมสรรพากร ผอ.ศักดิ์ชัย ยังได้สรุปแนวโน้มการ ลงทุนภาคเหนือของปี 2557 ว่า ยังน่าจะมีความ เติบโต 5-10% หรือวงเงินลงทุนไม่น้อยกว่า 25,000-26,000 ล้านบาท เช่นเดียวกับมีจา� นวน โครงการเข้ารับการส่งเสริม 150-160 โครงการ หรือ 5-10% เช่นกัน โดยยังเน้นในอุตสาหกรรม หลักคือ อุตสาหกรรมการเกษตร พลังงาน-พลังงาน ทดแทน ไบโอแก๊ส และไฟฟ้า โดยอุตสาหกรรม ทีบ่ โี อไอยังต้องการให้การส่งเสริมคือ อุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์ เพราะมีมูลค่าสูง อุตสาหกรรมการ สกัดสมุนไพร เพราะประเทศไทยมีสมุนไพรมาก อย่างไรก็ตามหลังปี 2557 บีโอไอจะ ประกาศนโยบายใหม่ รวมทั้งสิทธิประโยชน์ต่างๆ ที่ภาคอุตสาหกรรม จะได้รับประโยชน์ต่อการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งการยกเลิกระบบโซนนิ่ง แต่จะปรับตามคุณภาพของการลงทุน เน้นการลงทุนที่ใช้ความรู้และ เทคโนโลยีมากขึ้น ทั้งอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ไฮเทคโนโลยี เครื่องมือ แพทย์ ไบโอเทคโนโลยี อุตสาหกรรมอาหารและการเกษตร เพือ่ ผลักดัน ครัวไทยสู่ครัวโลก ส่วนการลงทุนในปี 2556 ที่ผ่านมานั้น มีการส่งเสริมการ ลงทุนลดลง 34% จาก 115 โครงการในปี 2555 เหลือ 76 โครงการ ในปี 2556 มูลค่าการลงทุนลดลง 63% จาก 32,344.4 ล้านบาทในปี 2555 เป็น 11,931.9 ล้านบาท เป็นอุตสาหกรรมการเกษตรและผลิตผล จากการเกษตร จ�านวน 31 โครงการ อาทิ กิจการผลิตน�้ามันร�าข้าว ยางแท่ง การคัดคุณภาพข้าว อบพืชและไซโล ขยายพันธุ์หมู ตามด้วย อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า จ�านวน 18 โครงการ อาทิ กิจการอิเล็กทรอนิกส์ ซอฟต์แวร์ และกิจการบริการและสาธารณูปโภค

จ�านวน 9 โครงการ อาทิ การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากไบโอแมสและ พลังงานแสงอาทิตย์ ส�าหรับนโยบายของบีโอไอภาคเหนือก็มีแผนส่งเสริม การลงทุนในกลุ่ม CLMV (กัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม) โดยจะเร่งผลักดันให้นักลงทุนภาคเหนือเข้าไปลงทุนในกลุ่มนี้ มากขึน้ ขณะนีม้ นี กั ลงทุนจากเชียงใหม่ 2 ราย ในกลุม่ อุตสาหกรรม กล่องกระดาษ เข้าไปลงทุนในกรุงย่างกุง้ แล้ว โดยผลิตและจ�าหน่าย ในประเทศพม่าทั้งหมด ทัง้ นี้กลุ่ม CLMV พร้อมทัง้ แรงงานราคาถูกและตลาดใหญ่ มี ความต้องการสินค้าจากไทยอีกหลายชนิด นักลงทุนที่เข้าไปลงทุนก็จะ ผลิตและขายในประเทศนัน้ ๆ ถ้าเปิด AEC แล้ว ก็ยงั สามารถส่งสินค้าไปขายในอาเซียน ได้ ประชากรในอาเซียนมากกว่า 600 ล้ า นคน การลงทุ น จะเคลื่ อ นย้ า ยไป มาหากันในอาเซียนมากขึ้น ซึ่งมีหลาย ประเทศในอาเซียน ก็เริ่มรุกมาลงทุนใน ภาคเหนือแล้ว จึงนับเป็นโอกาสทองที่ SMEs ทั่วประเทศจะได้รับการส่งเสริมแบบเต็ม รู ป แบบจาก BOI และต้ อ งกล้ า ที่จ ะ ปรับตัวและรุกออกไปลงทุนนอกบ้าน เพือ่ วางฐานรับการเปิด AEC ที่ก�าลังจะเปิด ฉากในเวลาอันใกล้นี้

ทั้งนี้สามารถดาวน์โหลดรายละเอียดของมาตรการ ดังกล่าวได้ที่ http://www.boi.go.th/upload/content/7_2556_45790.pdf

ฉบับที่ 2 11


ปิดรุ่นภาคเหนือ เรื่อง ทวีเกียรติ  เหลืองวิชชเจริญ (ประธานรุ่น 272)

กิจกรรมปิดรุ่น คพอ. ภาคเหนือ  ประจ�าปี 2557  จังหวัดนครสวรรค์

กิจกรรมละลายพฤติกรรมของรุ่นพี่และรุ่นน้อง

“มิตรภาพเฟือ่ งฟู เชิดชูวชิ าการ บริการสมาชิก ธุรกิจเชือ่ มโยง”

บรรยากาศการรับใบประกาศ

12 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


การประชุมสมาคมส่งเสริม SMEs ในวันปิดรุ่น กิจกรรมปิดรุน่ คพอ.ถือเป็นกิจกรรมทีส่ มาชิก คพอ.ทั่วประเทศให้ความส�าคัญเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจาก เป็นโอกาสเดียวที่ พี่น้อง คพอ. จะได้มีโอกาสมาพบปะ สังสรรค์แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ ตลอดถึงการ เชื่อมโยงธุรกิจ เพิ่มช่องทางการค้าซึ่งกันและกัน ตาม พันธกิจของสมาคม คือ “มิตรภาพเฟื่องฟู เชิดชู วิชาการ บริการสมาชิก ธุรกิจเชือ่ มโยง” ซึง่ ปัจจุบนั จะมีการจัดกิจกรรมนี้ เพียงปีละ 4 ครั้ง แต่ละภาคแบ่ง กันเป็นเจ้าภาพ โดยมีจังหวัดที่จะได้รับเกียรติคัดเลือก เป็นตัวแทนประจ�าภาค ในการจัดงานปิดรุ่นของแต่ละ ภาค ตามความเหมาะสม ส�าหรับปิดรุน่ ภาคเหนือ เป็นการ จัดกิจกรรมปิดรุ่นครัง้ ที่ 1 ของปี 2557 จังหวัดที่ได้รับ คัดเลือก คือ จังหวัดนครสวรรค์ ได้รับเกียรติให้เป็น เจ้าภาพในการจัดงานครั้งนี้ เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2557 ณ โรงแรม แกรนด์ ฮิลล์ รีสอร์ท แอนด์ สปา จังหวัดนครสวรรค์ ThaiSmeNews ขอสรุปรายงานให้สมาชิกได้ รับทราบ โดยเริ่มจาก... นายกสมาคมฯ คุณเพ็ญทิพย์ พรจะเด็ด ได้แสดงความรูส้ กึ ถึงงานปิดรุน่ ภาคเหนือ ดังนี้ เป็นกิจกรรมปิดรุ่นที่สร้างความประทับใจให้ สมาชิกทีม่ าร่วมงานอีกครัง้ หนึง่ ต้องขอขอบคุณเจ้าภาพ ทั้ง 3 จังหวัดเป็นอย่างสูง ที่ให้การต้อนรับ พี่น้อง จากทั่วประเทศอย่างอบอุ่น.. ขอกราบขอบพระคุณ ท่านอรรชกา สีบญ ุ เรือง อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ท่านรองอธิบดีและผู้บริหารของกระทรวงอุตสาหกรรม ทุกท่านค่ะ..ที่ให้เกียรติร่วมการปิดอบรมในครั้งนี้ค่ะ..

ฉบับที่ 2 13


การปิดอบรมของโครงการ คพอ.เป็นประเพณี ที่ถือปฏิบัติกันมา จนเกิดเป็นความสามัคคี อันยิ่งใหญ่ ที่หาไม่ได้ในองค์กรอื่นๆ จะเห็นได้ว่าในงานจะมีรุ่นพี่ จากต่างจังหวัดที่จบการฝึกอบรมไป แล้วไม่ตา�่ กว่า 20 ปี มาร่วมงานอย่างสม�า่ เสมอ ในบรรยากาศทีไ่ ด้แลกเปลีย่ นความรู้กนั เป็นการสร้าง สัมพันธ์อนั ดี ก่อให้เกิดการเชื่อมโยงกันทั่วประเทศ..นี่คือเสน่ห์ของการปิดอบรมค่ะ.. ทวีเกียรติ เหลืองวิชชเจริญ (บู) ประธานรุ่น 272 ซึ่งได้รบั มอบหมายให้เป็นประธาน จัดงานเลีย้ งสังสรรค์ คืนวันปิดรุน่ ได้เล่าถึงความรูส้ กึ ประสบการณ์ สิง่ ทีเ่ ผชิญในการรับหน้าทีน่ อี้ ย่างไร บ้าง ดังนี้ครับ.... เนื่องจากนครสวรรค์เราไม่เคยเป็นเจ้าภาพในการจัดงานปิด รุ่นมาก่อนเลย ดังนัน้ วินาทีแรกทีร่ ู้ว่าจะต้องจัดงานก็ต้องยอมรับว่ารู้สกึ หนักใจ,กังวล ว่าจะท�าได้หรือไม่ แต่อกี ใจนึงก็คดิ ว่าโอกาสทีจ่ ะได้เผชิญ หน้ากับประสบการณ์ดีๆแบบนี้จะมีสักกี่ครั้งในชีวิตและจะมีสักกี่คนที่ ได้สัมผัส ประกอบด้วยว่าหลังจากผ่านการอบรมกับเพื่อนๆ คพอ.272 กันมาร่วม 1 เดือน ผมมั่นใจว่าพวกเรา 24 คน รักและสามัคคีกันเป็น อย่างดี เลยเกิดก�าลังใจว่า “เอาเว้ย ลุยกันซักตัง้ นึง เพราะพวกเรา คพอ. นครสวรรค์ แต่ละคนก็ไม่ธรรมดาทั้งนั้น” จึงเริ่มคุยกันว่างานเราจะจัด กันในรูปแบบไหนดี เนือ่ งจากอยู่ในช่วงตรุษจีนพวกเราเลยเลือกทีจ่ ะใช้ ธีม ไชน่าทาวน์ เพราะขั้นต้นเราคิดว่ามันใกล้กับช่วงเทศกาลตรุษจีน นครสวรรค์ เราน่าจะสามารถไปขอยืมของประดับตกแต่งมาจาก ศาลเจ้าหรือมูลนิธิเจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน�า้ โพได้ ดังที่เห็นฉากประดับ ในงานเกือบ 70% เป็นของที่เราขอยืมมาทั้งนั้น

14 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


การเตรียมงานวางแผน ในตอนแรกเราแบ่งเป็น 2 ส่วนหลัก คือ ส่วนกิจกรรมเยี่ยมชมโรงงาน+ละลายพฤติกรรมรับน้องใหม่ กับ ส่วนของ กิจกรรมงานเลีย้ ง (งานกลางคืน) โดยทีก่ จิ กรรมเยีย่ มชมโรงงาน +ละลายพฤติกรรม รุ่นพี่ คพอ. นครสวรรค์ อาสาช่วยรับผิดชอบจัดการ ในส่วนนี้ พวกเรารุ่นน้องทั้ง 3 จังหวัด จึงรับผิดชอบเพียงแค่การจัด เตรียมงานเลี้ยงช่วงกลางคืนเท่านั้น ซึ่งต้องขอบคุณรุ่นพี่มากๆ เพราะ มันเป็นเรื่องที่ค่อนข้างส�าหรับ คนที่เพิ่งจะเป็นสมาชิก คพอ. ที่จะไป จัดการในส่วนงานเยีย่ มชมโรงงานและละลายพฤติกรรมรุ่นน้อง ความยากล�าบากของการจัดงานปิด คพอ. ทีพ่ วกผมประสบ ก็คอื การทีพ่ วกเราคณะจัดงานไม่มีโอกาสได้ไปร่วมงานปิดมาก่อนเลย จึงเป็นการยากที่จะเห็นภาพและเข้าใจถึงจุดประสงค์และบรรยากาศ ของงาน ก็ได้แต่อาศัยค�าบอกเล่าและข้อมูลของรุน่ พีท่ เี่ คยไปร่วมจัดงาน แนะน�าเป็นไกด์ไลน์ให้พวกเรา ซึ่งตรงนี้ผมมองว่า ในอนาคตอยากให้ คพอ. รุ่นที่จะต้องเป็นเจ้าภาพจัดงานควรจะมีโอกาสได้ไปสัมผัสร่วม งานพิธีปิด คพอ. ก่อนที่จะมาจัดเอง จะดีมากๆเลย นอกจากนีก้ ม็ เี รือ่ งของระยะเวลาในการเตรียมงานทีค่ ่อนข้าง กระชั้นชิด โดยเฉพาะระยะเวลาส�าหรับ คพอ.273 ก�าแพงเพชร เรียก ว่าเรียนจบหลักสูตรปุ๊บก็อีกแค่ไม่กี่วันก็เป็นวันงานปิดรุ่นแล้ว ท�าให้ หนังสือรุ่นที่จะมาแจกให้แขกในงานเตรียมเกือบจะไม่ทนั

ฉบับที่ 2 15


กิจกรรมศึกษา ดูงาน ณ บริษัทยนต์ผลดี จ�ากัด

เรือ่ งงบประมาณในการจัดงาน อยากจะให้ส่วนกลางช่วยก�าหนดเป็นมาตรฐานไปเลยว่า งบในการ จัดงานนีค้ วรจะหารตามจ�านวนจังหวัดทีร่ ว่ มเป็นเจ้าภาพในการจัดพิธปี ดิ หรือว่าควรจะหารด้วยจ�านวนคน คพอ. ทัง้ 3-4 รุน่ ทีเ่ ป็นเจ้าภาพร่วมจัดงานพิธปี ดิ เนือ่ งเพราะการจัดงานในครัง้ นีม้ ขี อ้ ถกเถียง ความเข้าใจทีไ่ ม่ตรงกันใน เรื่องนี้ ส่วนเรื่องการที่จะเก็บเงินจากแขกที่มาร่วมงาน ณ จุดลงทะเบียน ส่วนตัวผมขอบคุณและผมมอง ว่าเป็นการแบ่งเบาภาระของรุ่นน้องที่จะจัดงานได้แน่นอน แต่ขออนุญาตบอกว่าไม่เห็นด้วยนะครับ เนื่องจาก ตามธรรมเนียมในงานจะมีการมอบเงินสนับสนุนตามความสมัครใจของรุ่นพี่ที่มาร่วมงานอยู่แล้ว หากเราเพิ่ม การเก็บเงินส�าหรับเข้างานเพิม่ ไปอีกอาจท�าให้มนั ดูซ�้าซ้อนกัน ส่งผลต่อด้านความรู้สกึ ของรุ่นพีท่ มี่ าร่วมงานได้ ผมมองว่าเรือ่ งงบในการจัดงาน หากมีระยะเวลาทีม่ ากพอและมีการก�าหนดเงือ่ นไขในการรับผิดชอบค่าใช้จ่าย ที่ชัดเจนว่า เป็นหารรายคน หรือหารจังหวัด ก็จะท�าให้แต่ละจังหวัด/คนรู้ว่าจะต้องรับผิดชอบส่วนละเท่าไร ผมว่าสมาชิกที่มาอบรม คพอ. แต่ละท่านมีศักยภาพและ connection มากพอที่จะระดมเงินหาสปอนเซอร์ มารองรับค่าใช้จ่ายตรงนี้ครับ สิง่ ทีพ่ วกผมได้รบั จากการจัดงานปิดรุ่น คือ การได้เห็นถึง มิตรภาพและความมีนา�้ ใจ ของรุ่นพีค่ พอ. ทีช่ ่วยผมจัดงาน และความเป็นกันเอง การให้ความร่วมมือทีจ่ ะร่วมสนุกกับกิจกรรม ของรุ่นพี่ คพอ.จากจังหวัด ต่างๆ ที่มาร่วมในวันงาน ตรงนี้ผมรู้สึกได้เลยว่า ชาว คพอ. เต็มที่ซึ่งกันและกันมาก นอกเหนือจากที่กล่าวมาข้างต้น สิ่งส�าคัญอย่างที่สุดที่ผมได้รับจากการเป็นเจ้าภาพในการจัดงาน ครั้งนี้คือ การที่พวกผม คพอ.272 ซึ่งมีสมาชิก 24 คน จะต้องฟันฝ่าอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างเตรียมงาน เนือ่ งจากเราพยายามเซฟงบประมาณในการจัดงานให้มากทีส่ ดุ เราจึงไม่ได้ว่าจ้างหน่วยงานอืน่ มารับผิดชอบ ในการจัดงานเลย พวกเรา 24 คนจึงต้องท�ากันเองแทบจะทุกอย่าง เหนือ่ ยมากกกกกกกกกกกกกกกกก เพราะ พวกเราไม่ใช่มืออาชีพในด้านการจัดงานและแต่ละคนก็มีหน้าที่การงานที่ต้องรับผิดชอบในชีวิตประจ�าวันอยู่ แล้ว แต่ทกุ คนพยายามสละเวลามาช่วยกัน ช่วงเวลา 1 เดือนก่อนวันงาน เราเจอกันแทบจะทุกวันกินข้าวด้วย 16 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์

กันทุกวัน ซ้อมการแสดง ถกเถียง ถึงปัญหาและพยายามช่วยกันหา วิธแี ก้ไขด้วยกัน จนพวกผมทุกคน สัมผัสได้ว่า แต่ละคนจะมีความ เป็นห่วงเป็นใยให้แก่กันและกัน ไม่ ว ่ า จะเป็ น ทางค� า พู ด เช่ น การคอยถามไถ่ซึ่งกันและกันว่า “เหนื่อยไหมเพื่อน เหนื่อยไหม น้อง” “เป็นไงบ้างงานทีไ่ ด้รบั มอบ หมายไปติดขัดอะไรตรงไหนบ้าง มีอะไรที่จะให้เราช่วยไหม” “กิน ข้าวหรือยัง” “นอนกี่โมง” หรือ ทางการกระท�า เช่น บีบไหล่ นวด ไหล่ ตบหลังเบาๆ หยิบน�า้ ให้ดื่ม ป้อนข้าวให้กันและกัน การส่ง ข้อความให้กา� ลังใจเพือ่ นทีต่ อ้ งนัง่ ท�างานในยามดึกดืน่ ตรงนีผ้ มรูส้ กึ ว่ามันมีค่ามากและเป็นสิ่งที่ผม รู้สึกว่าคุ้มที่สุดในการที่ได้เป็น เจ้าภาพจัดงานในครั้งนี้ครับ


Special Event เรื่อง ชญาษร  สุภาษา  คพอ. 271 เชียงใหม่

จากใจ... คพอ.น้องใหม่

ตั้งแต่วันที่มีโอกาสได้เข้ามาร่วมการ ฝึกอบรม โครงการพัฒนาผู้ประกอบการธุรกิจ อุตสาหกรรม (คพอ.) ของจังหวัดเชียงใหม่ ก็ทา� ให้ ได้รับความรู้ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ท้งั ใน ด้านการประกอบธุรกิจและด้านการด�าเนินชีวิต รวมทั้งพบกับมิตรภาพดีๆ มากมาย ทั้งจาก หน่วยงานราชการ เจ้าหน้าที่โครงการ อาจารย์ รุ่นพี่ และเพื่อนร่วมรุ่นทุกๆ คน ช่วงระยะเวลา ตลอดการฝึกอบรม กิจกรรมต่างๆ ที่จัดขึ้นได้ สร้างให้พวกเรามีความผูกพัน รัก สามัคคี สนุกสนาน เฮฮา สมกับค�าขวัญประจ�ารุ่นของเรา

“คพอ. 271 ม่วนใจ๋ เฮฮา สามัคคี”

ฉบับที่ 2 17


ความพยายามในการเตรียมงานให้ออกมาดีท่ีสุด การ ดูงานที่น่าสนใจ กิจกรรมเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างรุ่น และรุ่นพี่ รุ ่ น น้ อ งตลอดการเดิ น ทาง การเล่ น เกมท�า กิ จ กรรมร่ ว มกั น ระหว่าง 3 จังหวัด ตลอดจนการแสดงและงานเลี้ยง ที่เจ้าภาพ จังหวัดนครสวรรค์ได้ทุ่มเทจัดเตรียมเพื่อให้ออกมาดีที่สุดนั้นสร้าง ความประทับใจอย่างมาก วัดได้จากรอยยิ้ม และเสียงหัวเราะที่ เกิดขึน้ ตลอดทัง้ งาน รุน่ 273 ก�าแพงเพชรเองก็ได้เตรียมขนมอร่อยๆ มาสร้างความอิ่มท้อง อิ่มใจ รุ่น 271 เชียงใหม่ แม้จะต้อง เดินทางไกล แต่กพ็ ร้อมใจกันเตรียมการแสดง อุปกรณ์ และของดี ประจ�าจังหวัดไปแบ่งปันความสนุกสนานอย่างดีที่สุด ทั้ง 3 รุ่น ยอดเยี่ยมมากๆ ขอชื่นชมค่ะ

18 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


การจัดงานปิดรุ่น (271-273) ครั้งนี้ ท�าให้เราได้มโี อกาสขยายพลัง ความรัก ความสามัคคี และมิตรภาพของพวกเราออกไปให้กว้างยิ่งขึ้นอีก จากเชียงใหม่ ไปยังนครสวรรค์ ก�าแพงเพชร และระดับประเทศ ตลอดระยะเวลาที่ เราได้มีการประสานความร่วมมือกันในการจัดเตรียมงานจนถึงวันงานปิดรุ่น ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2557 ค�าปรึกษาทีด่ ี ก�าลังใจ ก�าลังกาย ความช่วยเหลือ ทุกๆอย่างจากรุ่น 271-273 และรุ่นพี่ทุกคนทั่วประเทศ สร้างความประทับใจ แก่รุ่นน้องอย่างที่สุด ขอถือโอกาสเป็นตัวแทนในการกล่าวค�าขอบคุณจากใจ น้องๆ 271-273 ไปยังทุกๆ ท่าน สุดท้ายนีร้ สู้ กึ เป็นเกียรติอย่างมากทีไ่ ด้มโี อกาส เป็นส่วนหนึ่งของ คพอ. ค่ะ ฉบับที่ 2 19


ผูน้ า� เข้าและจัดจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ประเภทสุขภัณฑ์ ฮาร์ดแวร์ภายใต้กลุม่ แบรนด์ ES, DENA, CD, DOKI, ESTO และ VISTA เด่นในด้านคุณภาพ, ราคา และ บริการหลังการขาย รับท�า OEM สินค้าทุกประเภท CHOLLASIT TRADING CO.LTD. บริษัท ชลสิทธิ์ เทรดดิ้ง จ�ากัด

www.chollasit.com

ด้วยคุณค่าแห่งปรัชญาของเรา และภารกิจที่ม่ันคงในการด�าเนินงานเรามี จุดมุง่ หมายในการพัฒนาเพือ่ การเจริญเติบโตขององค์กรและด�ารงไว้ซงึ่ ผลก�าไร ในอนาคต และด้วยความรับผิดชอบสูงสุดที่มอบให้แก่ลูกค้า, พนักงาน ล้วนเป็น สิ่งส�าคัญที่บริษัทมุ่งยึดถือปฏิบัติตลอดมา ตามคุณค่าขององค์กรที่ได้ ก�าหนดขึ้นก้าวต่อไปสู่อนาคตของ บริษัท ชลสิทธิ์ เทรดดิ้ง จ�ากัด คือ การเตรียมพร้อมให้ดกี ว่าเดิมเสมอและด้วยความตัง้ ใจทีจ่ ะเอาชนะอุปสรรค ภายหน้า จึงเกิดแนวทางการสร้างสรรค์ขั้นตอนการแก้ไขปัญหาแม้เส้นทาง การก้าวไปข้างหน้าจะมีอุปสรรค บริษัทก็พร้อมที่จะก้าวไปด้วยกันเพื่อรับมือ กับเหตุการณ์ที่ท้าทายใหม่ๆ เพื่อไปสู่ความส�าเร็จตามวิสัยทัศน์ขององค์กร บริษัทจะด�ารงไว้ซึ่งค�าสัญญาที่จะมุ่งมั่นเติบโตเพื่อก้าวสู่ความเป็นเลิศ ต่อไป

บริษัท ชลสิทธิ์ เทรดดิ้ง จ�ากัด 42 ซอยสะแกงาม 21 ถนนสะแกงาม แขวงแสมด�า เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150 Tel : 02-894-6640-1 Fax : 02-894-6650 E-mail : cstd_company@yahoo.com 20 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์

(อภิวัฒน์ อรุณธีรพจน์) คพอ. 253 สมุทรสาคร


ฉบับที่ 2 21


Business intelligence เรื่อง ราชันท์  ฟักเมฆ  คพอ. 236 นครปฐม

22 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


สังคมข่าว...

เชียงใหม่

คพอ.ไนท์ 2013 “ใจประสานใจพี่น้องชาว คพอ.” ตอน “มนต์รักลูกทุ่งคพอ.” สมาคมส่งเสริมผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อมไทย จังหวัดเชียงใหม่ จัดงาน คพอ.ไนท์ 2013 “ใจประสาน ใจพี่น้องชาว คพอ.” ตอน “มนต์รักลูกทุ่งคพอ.” วันเสาร์ที่ 14 ธันวาคม 2556 ที่ผ่านมา ณ โรงแรมฮอลิเดย์อินน์ เชียงใหม่ โดยกิจกรรมภายในงานแบ่งออกเป็น 2 ช่วง ช่วงเช้า จัดกิจกรรม สัมมนาพิเศษโดย อ.วิโรจน์ โสวัณณะ ในหัวข้อ AQ Leadership ช่วงเย็น จัดกิจกรรมเชื่อมความสัมพันธ์ และความสามัคคี ระหว่างรุ่นพี่รุ่นน้อง คพอ. โดยรูปแบบงานแต่งกายย้อนยุค ใน งานมีการแสดงจากพี่น้องชาวคพอ. การประกวดการแต่งกาย เต้นร�าวงย้อนยุค รวมไปถึงจับแจกของรางวัลจากผู้จดั งานและ ผู้สนับสนุนงานในครั้งนี้ด้วย

“ทอเส้นฝ้าย สานเส้นใย ใส่สีธรรมชาติ” ครั้งที่ 16 สมาคมส่งเสริมผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อมไทย จังหวัดเชียงใหม่ จัดงาน “ทอเส้นฝ้าย สานเส้นใย ใส่สีธรรมชาติ” ครั้งที่ 16 หรือ งานผ้าฝ้าย ณ ศูนย์ส่งเสริม อุตสาหกรรมภาคที่ 1 ถ. ทุง่ โฮเต็ล ต.วัดเกต อ.เมือง จ.เชียงใหม่ จัดขึ้นเป็นประจ�าทุกปี โดยจัดงานระหว่างวันที่ 28 มีนาคม ถึง วันที่ 6 เมษายน 2557 ที่ผ่านมา ได้รับเกียรติท่านอธิบดี กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมเป็นประธานในพิธีเปิดงานและ เจ้าดวงเดือน ณ เชียงใหม่ ร่วมเปิดงานในครัง้ นีด้ ว้ ย งานผ้าฝ้าย จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมให้กลุ่มอาชีพทอผ้าฝ้าย และผลิตภัณฑ์ เกี่ยวกับผ้าฝ้าย ผ้าทอ ผ้าพื้นเมือง และผู้ประกอบการ SMEs ได้มีโอกาสน�าสินค้ามาเผยแพร่ จ�าหน่าย รวมทั้งเพิ่มช่อง ทางการตลาด โดยสินค้าทีจ่ ดั แสดงภายในงานประกอบไปด้วย อาทิเช่น ผลิตภัณฑ์จากผ้า ผ้าฝ้าย ผ้าไหม เครือ่ งหนัง อัญมณี และเครือ่ งประดับ ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ รวมทัง้ มีการจัดฝึก อบรมหลักสูตร ประกอบอาชีพระยะสัน้ และกิจกรรมจับรางวัล สมนาคุณแก่ผู้ที่เที่ยวชมภายในและผู้ประกอบการที่มาแสดง สินค้าภายในงานนีด้ ว้ ย การจัดนิทรรศการ แสดงผ้าโบราณอายุ 100 ปีจากคุณอัครเดช นาคบัลลังก์ นักสะสมผ้าโบราณ พิพิธภัณฑ์ผ้าโบราณสบันงา และผ้าคราม ของคุณแก้วสิริ เอเวอริ่งแฮม นักสะสมผ้าโบราณอีกด้วย ฉบับที่ 2 23


สังคมข่าว... พิษณุโลก

งานสัมมนาเรื่อง แรงงานอาชีวะไทยในตลาด แรงงาน AEC : พร้อมหรือยัง? ATSME จ.พิษณุโลก จัดกิจกรรมแรกต้อนรับประธานคนใหม่ ภายใต้โครงการ Think Big “คิดเป็น เห็นอนาคต” โดย วิทยากร อ.พิพิธ พุ่มแก้ว ในวันที่ 3 เม.ย. 2557 ที่ผ่านมา ซึ่งก็ได้รับการ ตอบรับที่ดีมาก ติดตามข่าวสาร ATSME จ.พิษณุโลก ได้ทาง Page “ATSME จ.พิษณุโลก” www.facebook.com/pages/ATSME-จ.พิษณุโลก

แต่งตั้งประธานสมาคม ATSME คุณมาฆะ พุ่มสะอาด เจ้าของโรงแรมรัตนาปาร์ค จ.พิษณุโลก ได้รบั เลือกและแต่งตัง้ เป็นประธานสมาคม ATSME จ.พิษณุโลก ในเดือนมกราคม 2557 ทีผ่ ่านมา

24 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


สังคมข่าว... ส่วนกลาง พิธีลงนามความร่วมมือโครงการเชื่อมโยงและ พัฒนาอุตสาหกรรมไทย - ญี่ปุ่น 19 ธันวาคม 2556 : โรงแรม เดอะสุโกศล กรุงเทพฯ ระหว่าง สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ISMED) สมาคมส่งเสริมผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมไทย (ATSME) และสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)

ประชุมภาคีเครือข่ายองค์กรสุขภาวะ (Happy Workplace) 25 ธันวาคม 2556 : ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

งานสัมมนาเรื่อง แรงงานอาชีวะไทยในตลาด แรงงาน AEC : พร้อมหรือยัง? 26 สิงหาคม 2556 : ส�านักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์

งาน Enterpreneur Revolution Series 1st และงานแถลงข่าว Future Foresight Forum 2020 / Mega Trends 24 กันยายน 2556 : โรงแรม พูลแมน บางกอก คิงเพาเวอร์ ฉบับที่ 2 25


สังคมข่าว... ส่วนกลาง งานพิธีลงนามบันทึกความเข้าใจเพื่อ พัฒนาผู้ประกอบการส่งออกซึ่งเป็น วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมไทย 9 สิงหาคม 2556 : เซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลลาดพร้าว ระหว่างกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (DITP) กับสภา ผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย (TNSC) สถาบันพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ISMED) และสมาคม ส่งเสริมผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมไทย (ATSME) ซึ่งมีผลให้ผู้ประกอบการที่เป็นสมาชิกของ ATSME และ ISMED สามารถเข้าร่วมโครงการ SME Pro-Active ของ DITP ได้

พิธีลงนามความร่วมมือโครงการพัฒนาคนและ พัฒนางานของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อมด้วยกระบวนการ Happy Workplace 13 สิงหาคม 2556 : ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

งานแถลงข่าวการจัดงานมหกรรมแสดงสินค้า มาตรฐานจีนส่งออก 2013 20 สิงหาคม 2556 : โรงแรม Swissotel Le Concorde 26 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


โปรโมชั่นสําหรับชวงเปดตัว 690 บาท/คืน พักผอนเรียบงายอยางมีรสนิยม

โรงแรมนองใหมของสมาชิก คพอ.264 จังหวัดนครสวรรค ตัวอาคารสไตลโมเดิรนลอฟท ที่แฝงตัวในความเขียวรมรื่นของตนไมที่เรียงรายรอบอาคารบนความเรียบงาย เสมือนทานมี พื้นที่สวนตัวอยูและพักผอนไปพรอมๆ กับอาคารที่โปรง โลงสบาย เพราะกิจกรรมหลักของแมว คือการนอน หากสังเกตใหดีจะเห็นนองแมวกําลังบิดขี้เกียจอยูบนโลโกของโรงแรม เราจึงอยาก ขอเรียนเชิญพี่ๆนองๆชาว คพอ. ไดมาสัมผัสบรรยากาศ การพักผอนแบบสบายๆเหมือนบรรดา เจาเหมียวในโลโกนะคะ

โรงแรมตามสบาย 150/1 ม.4 ต.นครสวรรคออก อ.เมือง จ.นครสวรรค 60000

โทรศัพท 0 5625 6152 ถึง 3

www.tamsabaihotel.com facebook: TamsabaiHotel

บริษัท อภิวัฒน์เน็ทเวิร์ค จ�ำกัด HOME THEATER, KARAOKE, P.A. CCTV

ต องการคําปร�กษา การลงโฆษณาเชิงบทความ ติดตอ คุณธนพันธ ศิริโยธิพันธุ

ออกแบบ ติดตั้ง วางระบบ ภาพ-เสียง วงจรปิด ห้องประชุม ส�านักงาน บ้าน โฮมเธียร์เตอร์ คาราโอเกะ 421/2 ถนนบรรพปราการ ต�าบลเวียง อ�าเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย 57000 Tel/Fax. 053-715510, 053-752102 E-mail : aphiwat2000@hotmail.com

08 2195 6659 E-mail: info@nuntapun.com

g thaismenews.com

f Thaismenews

IGP_Nuntapun

ฉบับที่ 2 27


Special Event เรื่อง รัฐติพร  ผ่องสวัสดิ์  คพอ. 259 สุราษฎร์ธานี

28 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


ฉบับที่ 2 29


Special Event

สุราษฎรธานี

สายสายใยพี่น่น้อองชาว งชาว สานสายใยพี คพอ.ภาคใต้ ภาคใต คพอ.

วันเสาร์ ที� 21 ธ.ค. 2556 เวลา 18.00 ณ ห้ อง แก้ วสมุย แกรนด์ ฮอลล์ โรงแรมแก้ วสมุย จ.สุราษฎร์ ธานี คพอ.จังหวัดสุราษฎร์ ธานี ได้ จดั งานฉลองปี ใหม่พบรุ่นพี�รุ่นน้ อง ชาว คพอ. และครอบครัว คพอ. ภาคใต้ เพื�อสานสายใยและขอบคุณรุ่นพี�ๆ น้ องๆ ที�ให้ การสนับสนุน และความร่วมมือในการทํางานในกิจกรรมต่างมาโดยตลอด ในการจัดงานครัง� นี �เป็ น theme Wonder Forest เปิ ดงานด้ วยการตีกลองแบบ ชนเผ่าเป็ นศิริมงคลเพื�อเป็ นการบอกถึงความยิ�งใหญ่ของ เผ่า คพอ. ของเรา

ภายในงานนอกจากจับฉลากแจกของรางวัลมากมายตามประเพณีปีใหม่แล้ ว ยังมีเกมส์รอบกองไฟสานสัมพันธ์พี�น้อง เพื�อให้ น้องๆ ได้ ทําความรู้จกั พี�ๆ รุ่นต่างๆ ทัง� 9 รุ่น ในจังหวัดสุราษฎร์ ธานีเอง และพี�ๆ จังหวัดใกล้ เคียงที�มาร่ วมงานมากขึ �น อีกทังได้ � ร่วมทําบุญปี ใหม่ ด้ วยการมอบทุนการศึกษาให้ กบั โรงเรี ยนศึกษาสงเคราะห์ ทางโรงเรี ยนได้ ทําการแสดงรอบกองไฟตอบแทนนํ �าใจชาว คพอ. 30 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


และของชําร่วยภายในงานคือต้ นไม้ มงคลทีม� าประดับ รอบๆ งานให้ เป็ นป่ าขนาดย่อมและก่อนกลับทุกท่าน สามารถหยิบติดไม้ ติดมือกลับบ้ านได้ เรี ยกว่า สะดวก ทั�งผู้ให้ ถูกใจทังผู � ้ รับ งานนี �จะเสร็ จลุร่วงไปด้ วยดีไม่ได้ หากขาดผู้สนับสนุนในการจัดงานครัง� นี � คือพี�ๆ คพอ. จังหวัดสุราษฎร์ ธานี ทีส� นับสนุนทังงบประมาณ, � อาหาร, และคํ า ปรึ ก ษาดี ๆ ที� ใ ห้ เ ราตลอดมา รวมถึ ง พี� ค พอ. จังหวัดต่างๆ ที�มาร่ วมงานทําให้ งานคึกคักสนุกสนาน ขอบคุณเพื�อนๆ คพอ.259 ที�ร่วมจัดงานไม่ว่าจะเป็ น แรงใจ แรงกาย ที�ทําให้ ร้ ู ว่าเราจะไม่ทิ �งกัน เหมือนกับ คํ าขวัญคพอ. ที� ว่า “มิ ตรภาพเฟื� องฟู เชิ ดชูวิชาการ บริ การสมาชิกเชื�อมโยงธุรกิจ” สุด ท้ า ยนี � “ในวาระดิ ถี ขึน� ปี ใหม่ ขออํ า นาจคุณ พระศรี รัตนตรัย จงดลบันดาลให้ คพอ.ทุกท่าน พบแต่ ความสุข ความเจริ ญตลอดไปเทอญ ” สวัสดีปีใหม่คะ่

ฉบับที่ 2 31


แนะน�าสถานที่ท่องเที่ยว เรื่อง คพอ. ชลบุรี

“ทะเลงาม ข้าวหลามอร่อย อ้อยหวาน จักสานดี ประเพณีวิ่งควาย”

สมาคมส่งเสริมผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมไทย จังหวัดชลบุรี

ยินดีต้อนรับทุกท่าน

สวนนงนุชพัทยา นั้นเป็นสถานที่ที่มีชื่อเสียงมาก เพราะมีสวนที่ใหญ่ มากและสวยมากให้ได้เข้าชม เราจะสามารถเห็นความหลากหลายของต้นไม้ ดอกไม้ ซึ่งให้ความรู้สึกถึงความเป็นธรรมชาติมาก ยิ่งใครที่สนใจเกี่ยวกับ การจัดสวนด้วยแล้วสถานที่นี่จะยิ่งน่าสนใจมากขึ้นไปอีก เพราะท�าให้ได้ ความรู้มากมาย นอกจากสวนสวย ๆ แล้ว ยังมีการแสดงในด้านวัฒนธรรมไทย ในสวนนงนุชพัทยาแห่งนี้ และยังมีจดุ ชมสัตว์ชนิดต่าง ๆ อีกหลายที่เลย

มิโมซ่า พัทยา (Mimosa Pattaya) มิโมซ่า (Mimosa) ที่เที่ยวพัทยาแห่งใหม่สไตล์เมือง นอก จ�าลองมาจาก COLMAR หมู่บ้านในเมือง Alsace ของ ฝรั่งเศส เป็นเมืองเก่าเล็กๆ สีสันสวยงาม มิโมซ่า พัทยา ตั้งอยู่ ตรงข้ามโรงแรมแอมบาสเดอร์ จอมเทียน จังหวัดชลบุรี ค่าเข้า ชม Mimosa 150 บาท เด็ก 75 บาท 32 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์

สวนนงนุช

อาร์ต อิน พาราไดซ์ พิพิธภัณฑ์ภาพจิตรกรรม 3 มิติ แห่งเดียวในพัทยา (Art in Paradise Museum)

พิพิธภัณฑ์ภาพจิตรกรรม 3 มิติ นามว่า “Art in Paradise” จุดหลัก ส�าคัญและจุดขายของ พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ ก็คือการที่ผู้ชมสามารถเข้าไปเป็น ส่วนหนึ่งของภาพวาดนั้น และฝีมือแต่ละภาพที่จัดแสดงก็มีความเสมือนจริง ด้วยเทคนิคการเขียนภาพแบบ 3 มิติ (3D) จะดูสมจริงบนพื้นที่จดั แสดงกว่า 6,000 ตารางเมตร กับผลงานภาพ 3 มิติกว่า 100 ภาพ


ตลาดน�้า 4 ภาค พัทยา (Pattaya Floating Market)

ตลาดน�า้ 4 ภาค เป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ วัฒนธรรมและเป็นศูนย์รวมของกิจกรรม ความหลากหลาย เกี่ยวกับ การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ตลาดน�้า 4 ภาค รวบรวม ของดี 4 ภาค ผสมผสานกันอย่างลงตัว สินค้า หัตถกรรมพืน้ บ้าน และแหล่งท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม มา รวมไว้จดุ เดียวกัน เป็นแหล่ง ชอปปิ้งใหม่ ที่มีจุดขายใน ตัวเองและไม่เหมือนใคร ภายในตลาดน�้า 4 ภาคพัทยา

ปราสาทสัจธรรม (The Sanctuary of Truth)

ติดต่อสอบถาม ส�านักงานเลขานุการชมรม แหล่งท่องเที่ยวชลบุรี โทร. (038) 391671-3 ต่อ 178, 134

ปราสาทสวยล�้า ณ บริเวณริมทะเลติด ชายหาดเมืองพัทยา งดงามอลังการบนเนื้อที่กว่า 80 ไร่ จนได้รบั การโหวตให้เป็นหนึ่งใน Unseen in Thailand ทีน่ ยี่ งั จัดว่าเป็นสถาปัตยกรรมไม้ทมี่ ขี นาด ใหญ่ที่สุดของสยามประเทศ ทั้งยังซ่อนเกร็ดแฝง ปรัชญาไว้ภายใต้ความงดงาม มีรถม้าชมปราสาท แบบคลาสสิค หรือจะควบม้า ขีช่ ้าง หรือจะล่องเรือ ชมวิวปราสาทในมุมมองจากฝั่งทะเลก็เป็นอีกทาง เลือกที่น่าสนใจ ปิดท้ายด้วยดินเนอร์ชมการแสดง แบบประทับใจไม่รู้ลมื

ไร่องุ่นซิลเวอร์เลค พัทยา (Silverlake Pattaya)

ไร่องุ่นใกล้เมืองพัทยา นาม “ซิลเวอร์เลค” (Silverlake) ให้เป็น อาณาจักรทัง้ ผลิตและจ�าหน่ายองุ่นสด ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากองุ่น และล่าสุด เป็นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ประจ�าเมืองพัทยา ซึ่งเจ้าของไร่องุ่นแห่งนี้เป็น ของอดีตนางเอกชื่อดัง คุณสุพรรษา เนื่องภิรมย์ พื้นที่ไร่ตดิ กับ “พระพุทธ แกะสลัก เขาชีจรรย์” และอยูใ่ กล้ตวั เมืองพัทยาแค่ 20 กิโลเมตร คุณสุพรรษา จึงปรับปรุงภูมิทัศน์ไร่องุ่น “ซิลเวอร์เลค” ให้สวยงาม รองรับเป็นแหล่ง ท่องเที่ยวใหม่ของเมืองพัทยา โดยไม่คิดค่าเข้าชม ชลบุรีเป็นจังหวัดที่มีศักยภาพทางการท่องเที่ยวมากที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย ด้วยความหลากหลายของแหล่งท่องเที่ยวความพร้อม ของสิง่ อ�านวยความสะดวกต่างๆ ทีเ่ พียงพอต่อความต้องการของนักท่องเทีย่ วเป็นอย่างดี และทีส่ �าคัญยังมีแหล่งท่องเทีย่ วทีจ่ ดั สร้างขึน้ เพือ่ ให้บริการ แก่นักท่องเที่ยวที่มาพักผ่อนให้ได้รับความรู้ ความสนุกสนานและความประทับใจได้ตลอดทั้งปี ด้วยความร่วมมือกันของผู้ประกอบการธุรกิจ ท่องเที่ยวในจังหวัด จึงได้ร่วมกันสร้างพันธมิตรเครือข่ายธุรกิจทางการท่องเที่ยว เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารด้านการตลาดและการท่องเที่ยว รวมทั้งน�าเสนอรูปแบบใหม่ๆ ของการท่องเที่ยวจังหวัดชลบุรี เพื่อเป็นเครื่องมือในการกระตุ้นให้นักท่องเที่ยวตัดสินใจเข้ามาท่องเที่ยวในจังหวัด ชลบุรีมากยิ่งขึ้น แทนการไปท่องเที่ยวในภูมภิ าคอื่น จึงเป็นที่มาของการจัดตั้งชมรมแหล่งท่องเที่ยวชลบุรีขึ้น เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2546 โดยมีส�านักงานเลขานุการตั้งอยู่ ณ สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา เลขทื่ 169 ถนนลงหลาดบางแสน ต�าบล แสนสุข อ�าเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ติดต่อสอบถาม ส�านักงานเลขานุการชมรมแหล่งท่องเที่ยวชลบุรี โทร. (038) 391671-3 ต่อ 178, 134 โทรสาร. (038) 391674 E-mail: kaneasaen@yahoo.com ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.chonburiattractionclub.com ฉบับที่ 2 33


สิบสองปันนา เรื่อง อาคม  สุวรรณกันธา

ย้อนรอย R3A เชื่อมสิบสองปันนาโอกาสทองใกล้ตัว SMEs นับจากถนน R3A ที่เชื่อมไทย – ลาว และจีน เปิดใช้งานอย่าง เป็นทางการเมื่อปี 2551 โดยต้องข้ามแพขนานยนต์ที่ท่าเรือบั๊ก อ�าเภอ เชียงของ จนกระทั่งวันนี้การเดินทางปรับเปลี่ยนมาใช้สะพานข้าม แม่น�้าโขงแห่งที่ 4 (เชียงของ-ห้วยทราย) ซึ่งเปิดใช้เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2556 ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาพิสูจน์ได้ว่าถนนสายการค้าและการ ท่องเทีย่ วแห่งนีไ้ ด้สร้างการเปลีย่ นแปลงอย่างมหาศาลทัง้ ปริมาณการขนส่ง สินค้า ระบบโลจิสติกส์ และน�าพานักท่องเที่ยวในภูมภิ าคแห่งนี้ไหลเวียน ขึ้นลงอย่างไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนหลังจากเปิดโครงการสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ มากว่า 2 ทศวรรษ หากดูสถิติการค้าขายตั้งแต่ปี 2011 การน�าเข้าและส่งออกสินค้า เกษตรโดยผ่านทางหลวงสายนีม้ มี ลู ค่าถึง 220 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิม่ ขึน้ 70% เมื่อเทียบกับระยะเดียวกันของปี 2010 ในปี 2011 มณฑลยูนนาน น�าเข้ามังคุด กล้วย และทุเรียนจากไทยคิดเป็นมูลค่า 16.46 ล้านดอลลาร์ สหรัฐ 860,000 ดอลลาร์สหรัฐ และ 440,000 ดอลลาร์สหรัฐตามล�าดับ คิดเป็นอันดับ 3 อันดับ 6 และอันดับ 9 ของยอดการน�าเข้าผลไม้จาก ต่างประเทศของมณฑลยูนนาน พร้อมกันนั้น ยังได้ส่งออกกะหล�่าเขียว คะน้า ปวยเล้ง ขึ้นฉ่ายและผักชนิดอืน่ ๆ กว่า 10 ชนิดไปยังประเทศไทย โดยผ่านทางหลวงสายนี้ด้วย ขณะที่ตัวเลขของศุลกากรเชียงของระบุว่า มีรถของนักท่องเที่ยว ขาเข้าผ่านอ�าเภอเชียงของ ในปี 2556 จ�านวน 3,117 คัน มากกว่าปี 2555 กว่า ที่มีจา� นวน 1,918 คัน โดยส่วนใหญ่จะเป็นรถยนต์ของนักท่องเที่ยว ชาวจีน ขณะทีม่ ูลค่าการค้าชายแดนไทย-ลาวผ่านด่านศุลกากรเชียงของ ปีงบประมาณ 2556 มีจ�านวน 13,641 ล้านบาท เทียบกับปีงบประมาณ 2555 มีจ�านวน 12,524 ล้านบาท 34 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


ทั้งนี้ ก่อนที่จะมีสะพานข้ามแม่น้า� โขงแห่งที่ 4 การขนส่งสินค้าบนเส้นทาง R3A ต้องพึ่งพาการ ข้ามเรือแพขนานยนต์ รถขนสินค้าหนึง่ ตูค้ อนเทนเนอร์ มาตรฐานมีค่าใช้จ่ายประมาณ 400 -1000 หยวน (1หยวน ประมาณ 5 บาท) ต่อคัน ปัจจุบันภาพของ ท่าเรือบั๊กที่เงียบเหงาเป็นด่านที่นักท่องเที่ยวข้ามไป เที่ยวเมืองบ่อแก้วที่ใช้เพียงบอร์เดอร์พาส หากพื้นที่ ของการพัฒนาเคลือ่ นตัวสู่ย่านเชิงสะพานข้ามแม่นา�้ โขง ราคาที่ดินพุ่งสูงขึ้นถึงไร่ละ 6-10 ล้านบาท จากการเดินทางส�ารวจเส้นทาง R3A จาก เชียงของ สู่เชียงรุ่ง สิบสองปันนา ล่าสุด (26-29 พฤษภาคม 2557) ของ “ThaiSMEsnews” พบว่า ถนนสายนี้คึกคักทั้งการลงทุนโครงการใหญ่ตาม รายทางตัง้ แต่เชิงสะพานบรรจบถึงเมืองเชียงรุง่ อย่าง มีนัยส�าคัญ ไม่รวมถึงกับยวดยานพาหนะคับคั่ง ทั้งรถขนน�้ามัน ขนสินค้า และรถโดยสารท่องเที่ยว เป็นโอกาสที่ SMEs ของไทยต้องหันมาทบทวนว่าช่อง ทางนี้คือโอกาสทองที่เชื่อมโยงตลาดจีนใกล้ที่สุดใน การเชื่อมทางถนน ที่คนจีนเรียกว่า คุน-ม่าน-กง-ลู่ (昆曼公路) หากมองโอกาสของ SMEs ในการเลือกช่อง ทางการค้า การลงทุนบนเส้นทางแห่งนีต้ อ้ งไล่โครงการ ขนาดใหญ่ตามเส้นทางว่าปัจจุบันมีโครงการใดบ้าง ที่ SMEs ไทย จะสามารถเลือกในการเชื่อมโยงได้ มี ดังนี้ 1.) โครงการเขตโลจิสติกส์ ของบริษทั เจีย๋ ฟง (云南捷丰投资有限公司) ที่ก�าลัง เตรียมสร้างบนพืน้ ที่ 260 ไร่ ในอ�าเภอเชียงของ ห่าง จากสะพาน 1.2 ก.ม. และเมื่อพ.ค. 2556 ได้สิทธิ์

การใช้ที่ดิน ปัจจุบันลงทุนไปแล้วเกือบ 70 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ปัจจุบันอยู่ระหว่างการ ก่อสร้าง 2.) โครงการนาคราชนคร โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่รมิ แม่นา�้ โขง บริเวณเชิงสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 บนพืน้ ทีก่ ว่า 1,200 ไร่ มูลค่ามากกว่า 10,000 ล้านบาท ด�าเนินการโดยบริษัท เอเอซี กรุ๊ป ซิตี้ จ�ากัด มีสัมปทานระยะเวลา 80 ปี (ตั้งแต่ พ.ศ.2550-2630) จากรัฐบาล สปป.ลาว เพื่อพัฒนาเป็นแหล่งการค้าและการท่องเที่ยว ในลักษณะ “เขตเศรษฐกิจเฉพาะ” ถือเป็นกลุ่มทุนไทยรายแรกที่ได้รับคัดเลือกจากรัฐบาล สปป.ลาว ซึง่ คาดว่าจะเปิดตัวภายในต้นปีหน้าและปัจจุบนั ก็ได้ทดลองเปิด Naka Entertainment Complex ที่เป็นสถานบันเทิงครบวงจร และคาสิโนด้วย 3.) เขตโลจิสติกส์และรีสอร์ท บนพื้นที่ 120 หมู่ (50 ไร่) ในแขวงบ่อแก้ว ของ บริษัท Gold Peacock Traffic Transportation Group (云南金孔雀交通运输 集团有限公司) ปัจจุบันลงทุนไปแล้ว 1.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 4.) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษบ่อเต็น (老挝磨丁经济开发区) ของ บริษัทไห่เฉิง(云南海诚实业集团股份有限公司)ร่วมกับรัฐบาลแขวง หลวงน�้าทา ซึ่งเป็นการฟื้นพื้นที่ชายแดนลาวและจีนขึ้นใหม่ จากเดิมเมื่อ พ.ศ. 2546 เขต

ฉบับที่ 2 35


ปัจจุบันแม้จะมีปัญหาอยู่ในเรื่อง การขนถ่ายสินค้าบริเวณด่านบ่อเต็น ซึ่ง ลาวไม่อนุญาตให้รถบรรทุกสินค้าที่ส่ง ออกจากไทยหรือจีนเดินทางผ่านลาวโดย ทันที ทัง้ นี้ คาดว่าเมือ่ MOU 3 ฝ่าย หรือ GMS CBTA มีผลบังคับใช้แล้ว จะช่วย ลดปัญหาการขนถ่ายสินค้า ณ ด่านบ่อ เต็นได้ นอกจากนี้ ยังมีเวลาการเปิด-ปิด ด่าน การจัดประเภทและค่าธรรมเนียม ขัน้ ตอนและพิธกี ารทางศุลกากรทีย่ งุ่ ยาก ของแต่ละประเทศไม่เป็นหนึง่ เดียว ต้อง ด�าเนินขัน้ ตอนของเอกสารถึง 4 ครัง้ คือ ที่ด่านบ่อหานในเขตสิบสองปันนา ด่าน บ่อเต็นและด่านห้วยทรายในลาว และ บริหารพิเศษฮ่องกงได้ทา� สัญญาร่วมมือกับรัฐบาล สปป.ลาว เพื่อสร้างเป็นบ่อนคาสิโนขนาดใหญ่ ปัจจุบันเขตเศรษฐกิจแห่งนี้ฝ่ายจีนถือหุ้น 85 % และรัฐบาลลาวให้สทิ ธิ์จนี ใช้ที่ดิน 90 ปี บนพื้นที่ 20 ตร.กม. ภายในจะประกอบไปด้วยหมูบ่ า้ นโบราณ ศูนย์รวมสินค้าปลอดภาษี สนามกอล์ฟ เขตโลจิสติกส์ และเขตท่องเที่ยว ปัจจุบนั ลงทุนไปแล้ว 56.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 5.) โครงการ 9 จอม 12 เชียง บนพื้นที่ 600 ไร่ ติดริมแม่นา�้ โขง ด้วยงบประมาณลงทุน 60,000 ล้านบาท ที่ประกอบศูนย์การค้าขนาดใหญ่, ศูนย์กระจายสินค้า หัตถกรรม, โรงแรมระดับ 5 ดาว, รีสอร์ท, สปา, ร้านอาหาร สวนสุขภาพ พิพิธภัณฑ์สามเหลี่ยมทองค�า พิพิธภัณฑ์คัมภีร์ใบลาน ตลอดจนอาคารบ้านเรือนแบบไทลื้อ 300 กว่าหลัง รวมถึงแลนด์มาร์คของโครงการคือ วัดเจดีย์ใหญ่ ถูกสร้างขึ้นในความสูงประมาณ 66.6 เมตร อภิมหาโครงการเหล่านีบ้ นเส้นทาง R3A จากเชิงสะพานเชียงของถึงสิบสองปันนาแล้วรวมมูลค่า ไม่น้อยกว่า 2 แสนล้านบาทย่อมหมายถึงโอกาสที่ SMEs ไทยจะต้องหันมาดูว่ามีช่องว่างที่จะจับจอง แทรกตัวไปในพื้นที่ใด ไม่รวมสินค้าไทยที่น่าจับตามองว่าจะเป็นสินค้าที่มีอนาคตในการขนส่งบนเส้น ทาง R3A ได้แก่ สินค้าประมงประเภทปลาเค็ม ปลาแห้ง และปลารมควัน และสินค้าบริโภคของไทย อาทิ น�า้ ปลา ซอส และเครื่องปรุงรส รวมถึงอาหารแปรรูปไม่บรรจุกระป๋อง ซึ่งถึงแม้มูลค่าการส่งออก จะยังไม่สูงมากจนน่าตื่นตาตื่นใจ แต่มมี ูลค่าการส่งออกเพิ่มสูงขึ้นในระยะที่ผ่านมา 36 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


ด่านเชียงของทีไ่ ทย ท�าให้มตี ้นทุนและใช้เวลาค่อนข้างสูง ก็คาดว่า จะสามารถแก้ไขปัญหาได้ในเร็ววันนี้ นอกจากนั้นในทางกายภาพ เส้นทางช่วงประเทศลาว ตั้งแต่ห้วยทราย –บ่อหาน ยังเป็นถนน หลวง 2 ช่องทางจราจร ยังคงมีสภาพคดเคีย้ ว ท�าให้รถขนส่งเดินรถ ได้ช้า ใช้เวลาในการเดินทางมาก และมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นบ่อย อย่างไรก็ตาม โอกาสของ SMEs ไทยยังเปิดกว้างบนถนนสาย การค้า การลงทุนแห่งนี้ เพราะตลอดระยะเวลา 5 ปี สินค้าหลักที่ ขนส่งบนเส้นทาง R3A ส่วนใหญ่เป็นสินค้าเกษตร และสินค้าที่มี มูลค่าเพิ่มต�่า หากต่อยอดและน�าสินค้าใหม่ ๆ จะเป็นโอกาสที่ดียิ่ง นอกจากนั้น ยังมีโอกาสในด้านการพัฒนาจุดแวะพักระหว่างทาง การพัฒนาระบบขนส่งและโลจิสติกส์ ซึ่งหากผู้ประกอบการไทย สามารถเข้ามาลงทุนในธุรกิจนีไ้ ด้ น่าจะส่งผลเชิงบวกต่อการส่งออก สินค้าไทยมายูนนานบนเส้นทาง R3A นอกจากนี้ ในอนาคต เมื่อ การด�าเนินการที่เกี่ยวข้องกับการตกลงเดินรถตรงระหว่างไทยลาว-จีน บนเส้นทาง R3A แล้วเสร็จ ก็จะยิง่ ท�าให้การคมนาคมขนส่ง บนเส้นทาง R3A คึกคักเป็นทวีคูณแน่นอน

ฉบับที่ 2 37


ท้ายเล่ม... แสดงความยินดี ประวัติการศึกษา

- ปมช.วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ - ปริญญาตรี คุรุศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยครูเชียงใหม่

ประวัติการท�างาน

รับราชการอาจารย์สอนวิชาดนตรีศกึ ษา โรงเรียน กาวิละวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ 2535 - ปัจจุบัน ด�ารงต�าแหน่งกรรมการผูจ้ ดั การบริษทั บีโปรดักส์ อินดัสตรี้ จ�ากัด 2522 - 2534

รางวัลและความภาคภูมิใจ

คุณศิริพร ตันติพงษ์ ประธานสภาอุตสาหกรรม จ.เชียงใหม่

คพอ....ภาคภูมิใจ กับประธานสภาอุตสาหกรรม ผู้หญิง คนแรก ของจังหวัดเชียงใหม่

กว่าจะถึงวันนี้

จากข้าราชการครู โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย สู่การเป็นนักธุรกิจ จาก สมาชิก คพอ. และประธาน คพอ. ปี 2538 ถึง 2539 ก้าวสูป่ ระธานสภาอุตสาหกรรม จ.เชียงใหม่ วาระปี 2557 - 2559 วันนีเ้ กิดขึน้ ได้โดยการได้เข้าร่วมอบรม คพอ.รุ่นที่ 23 เมือ่ ปี 2534 จาก ความที่ไม่รู้เกี่ยวกับการบริหารธุรกิจเลย คพอ. เปิดโอกาสจริงๆ บริษัท บีโปรดักส์อนิ ดัสตรี้ จ�ากัด ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2530 27 ปีผ่านมา จากธุรกิจเล็กๆ จนธุรกิจเริ่มขยายขึ้นเรื่อยๆ ดิฉันจึงลาออกจากข้าราชการครู (รับราชการอยู่ 10 ปี) เมื่อปี 2534 เพื่อมาช่วยงานครอบครัวให้เต็มที่ แต่ก็ไม่รู้ จะเริ่มต้นจากไหน ได้แต่ถูบ้าน ซักผ้า ส่งลูกไปโรงเรียน ท�าอยู่ 2 เดือน จนได้ รับ จ.ม. จากกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เชิญไปรับฟังการแนะน�าโครงการพัฒนา ผู้ประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรม (คพอ.) ก็จึงเข้าไปฟัง โอ้..มันใช่สิ่งที่เราอยาก รู้หมดเลย จึงยื่นใบสมัครทันที แต่พอวันนัดสัมภาษณ์กลับไม่ไป จนถึงเวลา 3 โมงเย็น ก็ได้รับโทรศัพท์จากเจ้าหน้าที่ศูนย์บอกว่าท�าไมไม่มาสัมภาษณ์ ก็บอก เขาว่าขอสละสิทธิ์ ซึ่งเจ้าหน้าที่ก็บอกว่า เขาได้อ่านที่เราเขียนเรียงความไป โครงการนี้ใช่ตัวคุณหมดเลยนะ คุณเข้ามาสัมภาษณ์เลย ผมรอคุณถึง 4 โมง ดิฉันจึงรีบขับรถมอเตอร์ไซค์เข้าไปสัมภาษณ์ (เจ้าหน้าที่คนนั้น คือ ผอ.ประสงค์ นิลบรรจง นั้นเอง) ขอบคุณท่านจริงๆ ไม่มี คพอ. วันนั้นก็คงไม่มี ศิริพร ในวันนี้ จากสมาชิก คพอ. ประธาน คพอ. เชียงใหม่ จนมาถึงประธานสภา อุตสาหกรรม จ.เชียงใหม่ ในวันนี้ ฐานชีวิตส่วนหนึ่ง ก็มาจาก คพอ. ซึ่งสอนให้ เราอยู่ในโลกความเป็นจริง การมีจิตอาสา ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน จึงท�าให้ได้ เรียนรู้อะไรมากมายในเรือ่ งของการท�างาน จนเมือ่ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2557 ได้ รับคัดเลือกให้เป็นประธานสภาอุตสาหกรรม จ.เชียงใหม่

เราจะไม่ทิ้งกัน รักกัน เกื้อกูลกัน ก้าวเดินไปด้วยกัน

38 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์

2540 ได้รับคัดเลือกให้เป็น ผู้ประกอบการตัวอย่าง จากกระทรวง อุตสาหกรรม 2545 ได้รับรางวัล The Prime Minister Industry Award ประเภท อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม สาขา การบริหาร และจัดการดีเด่น จาก ส�านักนายกรัฐมนตรี 2545 ได้รบั การรับรองระบบมาตรฐาน ISO 9001: 2000 จาก BVQI 2547 ได้รับการคัดเลือกเป็น แรงงานสตรีดีเด่นจังหวัดเชียงใหม่ จากส�านักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน จังหวัดเชียงใหม่ 2549 ได้รับการรับรอง GMP Codex & HACCP BVQI 2549 ได้รับการคัดเลือกจากกรมโรงงานเป็น 1 ใน 999 โรงงาน เป็น “โรงงานน่าอยู่” 2550 ได้รับการรับรอง มาตรฐานการจัดการคุณภาพชีวิตที่ดีใน สถานประกอบการ (MS-QWL) จากสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย 2550 ได้รบั รางวัล ธรรมาภิบาลดีเด่น ด้านการปฏิบตั ติ ่อพนักงาน จาก สถาบันป๋วยอึ้งภากรณ์ 2550 ได้รับรางวัล จรรยาบรรณดีเด่น จากหอการค้าไทย 2550 ได้รบั รางวัลชมเชยระดับประเทศ ผลงานตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง จาก คณะกรรมการประสานงานโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชด�าริ (กปร.) 2551 ได้รบั รางวัล นักบริหารสตรีดเี ด่น ภาคเอกชน ประเภทธุรกิจ ขนาดย่อม ในวันสตรีสากลจากกระทรวงแรงงาน

งานด้านสังคม 2535 - 2536 2537 - 2555 2538 - 2539

2539 - 2540 2544 - ปัจจุบัน 2548 - ปัจจุบัน 2548 - 2551 2548 - ปัจจุบัน 2549 - ปัจจุบัน 2549 - 2551 2557 - 2559

กรรมการสภาอุตสาหกรรม จังหวัดเชียงใหม่ รองประธานสภาอุตสาหกรรม จังหวัดเชียงใหม่ ประธานชมรมโครงการพัฒนาผูป้ ระกอบการธุรกิจ อุตสาหกรรม (คพอ.) กรรมการโรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่ สมาชิกชมรมผู้ประกอบการสตรีภาคเหนือ ผู้แทนนายจ้างคณะอนุกรรมการความปลอดภัย ในการท�างาน จังหวัดเชียงใหม่ของสวัสดิการ คุ้มครองแรงงานจังหวัดเชียงใหม่ ผู้แทนนายจ้างคณะอนุกรรมการประกันสังคม จังหวัดเชียงใหม่ คณะกรรมการค่าจ้างขั้นต�่าจังหวัดเชียงใหม่ ทีป่ รึกษาสมาคมส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม (ATSME) นายกสมาคมวิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม่


แบบฟอร์มลงโฆษณา วารสาร THAI SMEs News ชื่อบริษัท/ธุรกิจ : ชื่อเจ้าของกิจการ : ชื่อผู้ติดต่อ/ ประสานงาน : ที่อยู่ :

รุ่น :

เลขที่ ต�าบล

หมู่

หมายเลขโทรศัพท์ e-mail address : Website : พื้นที่/ขนาดโฆษณา/Size

A1 ในปกหน้า B2 ในปกหลัง C2 เนื้อในครึ่งหน้า C4 ขนาด 1/8 หน้า

ตรอก/ซอย อ�าเภอ โทรสาร :

ราคา 12,000.ราคา 10,000.ราคา 6,000.ราคา 2,500.-

ถนน จังหวัด

B1 ปกหลัง C1 เนื้อในเต็มหน้า C3 ขนาด 1/4 หน้า

ราคา 15,000.ราคา 9,000.ราคา 4,000.-

* อัตราค่าโฆษณานี้ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม และค่าธรรมเนียมโอนธนาคาร ท่านสามารถหักภาษี ณ ที่จ่ายได้ 2%

รายละเอียดข้อความโฆษณา :

ส่งแบบตอบรับ การสนับสนุนการลงโฆษณา สอบถาม รายละเอียดเพิ่มเติม ติดต่อ : คุณประภา กลิ่นสุวรรณ โทร. 089-7005502, 088-2686963 โทรสาร. 053-804958 e-mail : prapa.aoy2502@gmail.com คุณธนพันธ์ ศิริโยธิพันธุ์ โทร. 082-1956656, 053-804908-9 โทรสาร. 053-804958 e-mail : info@nuntapun.com ช�าระเงินค่าโฆษณา โอนเงิน : ธ.กรุงไทย บัญชีออมทรัพย์ สาขาสนามบิน เลขที่บัญชี 554-1-01657-6 ชื่อบัญชี คุณอภินันท์ ศิริโยธิพันธุ์ ธ.กสิกรไทย บัญชีออมทรัพย์ สาขาสีแ่ ยกสนามบินเชียงใหม่ เลขทีบ่ ญ ั ชี 414-2-34495-0 ชื่อบัญชี บจก.นันทพันธ์พริ้นติ้ง ส่งหลักฐานการช�าระเงิน มายังคุณกัลยา บุญยืด โทร. 084-6172235, 053-804908-9 โทรสาร. 053-804958 e-mail : info@nuntapun.com ลงชื่อ...........................................................................ผู้ลงโฆษณา ( ) ฉบับที่ 2 39


ร่วมมือประหยัดกันเพียงเล็กน้อย

“เพื่อตัวคุณ  เพื่อลูกหลานในวันข้างหน้า  เพื่อโลกของเรา” กับ บริษัท

เอ็นเนอร์ยี่ พลัส ดีเวลลอปเมนท์ จ�ากัด

บริษทั เอ็นเนอร์ยี่ พลัส ดีเวลลอปเมนท์ จ�ากัด ด�าเนินงานโดยทีมงานทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในหลายด้าน เช่น วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรม เครือ่ งกล และวิศวกรรมพลังงาน ให้บริการ ค�าปรึกษา ลดค่าใช้จา่ ยด้านการประหยัด พลังงานของอาคารทุกประเภท และโรงงานอุตสาหกรรมอย่างถูกต้องตามกฎหมาย โดยด�าเนินการในรูปแบบ “บริษัทจัดการพลังงาน” (ENERGY SERVICE COMPANY : ESCO) ภายใต้ข้อก�าหนดของสถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม กระทรวงพลังงาน โดยให้การบริการด้านพลังงานให้กับสถานประกอบการที่สนใจลดค่าใช้จ่ายด้าน พลังงาน ดังนี้ 1.) กลุ่มเป้าหมายหรือกลุ่มผู้รบั บริการ ได้แก่ อาคารหรือโรงงาน 2.) ตรวจสอบ และวิเคราะห์การใช้พลังงาน รวมถึงจัดท�าเป้าหมาย, แผนการอนุรกั ษ์ พลังงาน และการออกแบบทางวิศวกรรม 3.) จัดเตรียมเอกสารเสนอโครงการ 4.) จัดหา หรือช่วยจัดหาเงินทุนในการด�าเนินการ 5.) บริหารโครงการ 6.) จัดหา หรือช่วยจัดหาอุปกรณ์ การติดตั้ง การก่อสร้าง การควบคุม และการ ซ่อมบ�ารุง 7.) ตรวจสอบ และประเมินผลการประหยัดพลังงานของโครงการ 8.) รับประกันผลการประหยัดพลังงาน

โครงการส่งเสริมการลงทุนด้านอนุรกั ษ์พลังงาน และพลังงานทดแทน (ESCO FUND)

ผู้มีสิทธิ์ยื่นข้อเสนอ ผู้ประกอบการ โรงงานอุตสาหกรรม และ/หรือ บริษทั จัดการ พลังงาน (Energy services Company-ESCO) ที่จะด�าเนินการปรับเปลี่ยนโครงการ ด้านอนุรกั ษ์พลังงาน หรือพลังงานทดแทน ซึง่ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ จะลดปริมาณการใช้พลังงาน หรือเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานสามารถผ่อนซือ้ อุปกรณ์ เพือ่ การอนุรกั ษ์พลังงาน ได้ 100% แต่ไม่เกิน 10 ล้านบาท ระยะเวลาผ่อนช�าระคืนไม่เกิน 5 ปี

สถานประกอบการที่บริษัทฯ ด�าเนินการในรูปแบบ “บริษัทจัดการพลังงาน” ที่ประสบความส�าเร็จ บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จ�ากัด (มหาชน) บริษัท กรีน พาแนล จ�ากัด โรงแรม ดิเอมเมอรัลด์ บริษัท เคนแมกซ์ (ประเทศไทย) จ�ากัด

“บริษทั จัดการพลังงาน” (ENERGY SERVICE COMPANY : ESCO) ประกอบด้วยผู้เกี่ยวข้อง 3 ส่วน ได้แก่ 1. ผู้ให้บริการ (ESCO) 2. ผู้รับบริการ (โรงงาน/อาคาร) 3. แหล่งทุน

บริษทั จัดการพลังงาน (Energy Service Company : ESCO) คือ ผู้ให้บริการ (ESCO) ได้แก่

บริษัทประกอบการที่ด�าเนินการจัดการพลังงานโดย จะมีสัญญาระหว่างผู้รบั บริการ (โรงงาน/อาคาร) ผู้ให้บริการ (ESCO) และแหล่งทุน เช่น สถาบันการเงิน/ธนาคาร (หรือบางครั้งผู้ให้บริการที่มีความ พร้อม อาจเป็นทั้งผู้ให้บริการและแหล่งทุนก็ได้) ESCO จะท�าหน้าที่ประเมิน ออกแบบ และลงทุน ติดตัง้ อุปกรณ์ เพือ่ ปรับปรุงอาคารหรือโรงงานให้สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน ผู้รบั บริการ หรือผู้ใช้พลังงาน (Energy user) ได้แก่ผู้ประกอบการต่างๆ เช่น อาคาร โรงงาน ที่มีความต้องการ ลดการใช้พลังงาน โดยมี ESCO เป็นผู้รับประกันผลการประกันแหล่งทุน คือ หน่วยงานที่อนุมัตใิ ห้ เงินทุนสนับสนุนค่าใช้จ่าย ส�าหรับการปรับเปลี่ยน และติดตั้งอุปกรณ์

ผูร้ บั บริการหรือผูใ้ ช้พลังงาน (Energy user) ผูร้ บั บริการ (โรงงานอาคาร) USER

ได้แก่ ผู้ประกอบการต่างๆ เช่น อาคาร โรงงาน ที่มีความต้องการลดการใช้พลังงาน โดยมี ESCO เป็นผู้รับประกันผลการประหยัด

แหล่งทุน คือ หน่วยงานที่อนุมัติให้เป็นเงินทุนสนับสนุนค่าใช้จ่ายส�าหรับการปรับเปลี่ยน และติดตั้งอุปกรณ์ รูปแบบการลงทุน

การลงทุนโดยผู้รับบริการเป็นผู้กู้ แบบ Guerenteed Seving คือ ผู้รับบริการเป็นผู้ลงทุนโดยการกู้โดยตรง ซึ่งในการกู้เงินต้องมีการจัดท�าสัญญาพลังงาน ระหว่าง ผู้กู้กับแหล่งทุน โดยมี ESCO ท�าสัญญารับประกันผลการประหยัดพลังงานให้กบั ผู้กู้ ในด้านการช�าระคืนเงินกู้ ผู้กู้ได้ทา� สัญญาเงินกู้กับผู้ให้กู้โดยตรง และคาดหวัง ว่าการลงทุนจะคุ้มทุนจากผลของค่าพลังงาน (Energy Cost) ที่ประหยัดได้ โครงการเสร็จสิ้นและผ่านการตรวจรับงาน ESCO จะให้การรับประกันต่อผู้รับบริการ ค่าพลังงานทีส่ ามารถประหยัดได้ของโครงการจะเท่ากับ หรือมากกว่าค่าใช้จา่ ยทีผ่ รู้ บั บริการจะต้องจ่ายในการลงทุน หรือภาระการกูย้ มื ในการลงทุนถ้าหากค่าพลังงานที่ ประหยัดได้จริงต�่ากว่าค่าผลประหยัดที่ก�าหนดในสัญญาฯ แล้วบริษัทจัดการพลังงานจะเป็นผู้ออกเงินส่วนที่ขาดให้กับผู้รับบริการ

40 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


บริษัท เอ็นเนอร ยี่ พลัส ดีเวลลอปเมนท จํากัด ดําเนินงานโดยทีมงานที่มีความรู ความสามารถและ ประสบการณดา นการจัดการพลังงาน บริการใหคาํ ปรึกษา รวมถึงแนวทาง เกีย่ วกับการ “ลดตนทุนคาใชจา ยดาน พลังงานไฟฟา / ความรอน” ใหกบั สถานประกอบการ โรงงานอุตสาหกรรม อาคารตางๆ เชน โรงพยาบาล โรงแรม อาคารสํานักงาน เปนตน รวมถึง รานสะดวก ซื้อตางๆ อยางถูกตองตามกฎหมาย โดยดําเนินการ

ในรูปแบบ “บริษทั จัดการพลังงาน” (Energy Service Company : ESCO) ภายใตขอกําหนดของสถาบัน พลังงานเพื่ออุตสาหกรรม กระทรวงพลังงาน โดย แบงเปนการบริการในรูปแบบตางๆ ดังนี้ 1. ตรวจสอบและวิเคราะหการใชพลังงาน รวมถึง จัดทําเปาหมายแผนการอนุรักษพลังงานภายใน องคกร กําหนดมาตรการประหยัดพลังงาน และ ออกแบบทางดานวิศวกรรมพลังงาน 2. จัดหาแหลงเงินทุนในการดําเนินการมาตรการ อนุรักษพลังงาน 3. จัดหาอุปกรณประหยัดพลังงาน ติดตั้ง กอสราง ควบคุม และซอมบํารุง 4. ตรวจสอบผลการประหยัดพลังงาน กอนและหลัง ดําเนินมาตรการอนุรักษพลังงาน

5. รับประกันผลการประหยัด 6. จัดทํารายงานการจัดการพลังงาน ตามขอกําหนด พรบ.การอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน การดําเนินการของบริษทั ฯ ทีผ่ า นมา เราคํานึงถึงการ ตอบสนองความตองการของสถานประกอบการที่ ตองการลดคาใชจายดานพลังงานใหลดคาใชจาย ได จ ริ ง ภายใต “สั ญ ญาการรั บ ประกั น ผล การประหยัดพลังงาน” ใหกับสถานประกอบการ ทุกแหงทีบ่ ริษทั ฯ ดําเนินการ เพือ่ สรางความพึงพอใจ สูงสุด และเพื่อประโยชนสูงสุดใหกับสถานประกอบ การทีต่ อ งการลดคาใชจา ยดานพลังงาน ตามนโยบาย และเปาหมายของสถานประกอบการ และบริษัท เอ็นเนอรยี่ พลัส ดีเวลลอปเมนท จํากัด

ลดต นทุนค าใช จ าย

ด านพลังงานไฟฟ า / ความร อน

โครงการส งเสริมการลงทุนด านอนุรักษ พลังงานและ พลังงานทดแทน (ESCO Fund)

เปนโครงการของกระทรวงพลังงาน ใหผูประกอบการที่สนใจดําเนินการ ลดตนทุนคาใชจา ยดานพลังงาน หรือเพิม่ ประสิทธิภาพการใชพลังงาน สามารถ ผอนซือ้ อุปกรณประหยัดพลังงาน ตามทีบ่ ริษทั จัดการพลังงาน (ESCO) เสนอ มาตรการ และผูประกอบการเห็นชอบ โดยทาง โครงการฯ จะสนับสนุนเงิน ลงทุน 100% แตไมเกิน 10 ลานบาท มีระยะเวลาคืนทุน ไมเกิน 5 ป โดย นําเงินทีป่ ระหยัดไดในแตละเดือนมาผอนชําระกับทางโครงการฯ ตาม “สัญญา การรับประกันผลการประหยัดพลังงาน” โดยบริษัทเปนผูกําหนด และ ผูประกอบการเห็นชอบ ซึ่งทางโครงการฯ จะเปนผูตรวจสอบความถูกตอง ของสัญญากอนอนุมัติโครงการฯ หากโครงการพิจารณาแลวเห็นวา สัญญา ดังกลาวไมชัดเจนหรือตรวจสอบแลวขอมูลที่ไมถูกตอง ทางโครงการ ชะลอมาตรการของผูป ระกอบการนัน้ ๆ กอน และจะสงเจาหนาทีข่ องโครงการ ลงพื้นที่ตรวจสอบ กอนอนุมัติโครงการตอไป

บริษัท เอ็นเนอร ยี่ พลัส ดีเวลลอปเมนท จํากัด

69/4 ซอยเทวรัตน ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี 33 แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800 โทรศัพท 02 910 7889 โทรสาร 02 910 7889



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.