Thai SME News Vol.1 No.1

Page 1

พิเศษ ฉบับปฐมฤกษ และกิจกรรมป ดรุ น คพอ.

แนะนําเว็บไซต และช องทางติดต อข าวสาร เอสเอ็มอีไทยอย างเป นทางการ แนะนําช องทางการอ าน

ไทยเอสเอ็มอีนิวส ฉบับดิจ�ตอล บนสมาร ทโฟนและแท็บเล็ต

“คลัสเตอร การค า”

ทางรอด ทางรุ ง SMEs ไทย

Business Intelligence “Create a competitive advantage” สร างความได เปรียบทางการแข งขันด วยเทคโนโลยี What’s On โครงการพัฒนาความร วมมือในระดับห วงโซ อุปทาน (Cluster) Special Event รวมภาพบรรยากาศงานป ดรุ น คพอ. 4 ภาค SME Inspiration จุดประกายความคิดธุรกิจเอสเอ็มอี THAI SME NEWS.COM | Volume 01 | Issue 01 | A Nuntapun Publication g thaismenews.com f Facebook.com/Thaismenews Iissuu.com/GP_Nuntapun

AHEEEHAPALOAOKDEFDOKBPAHEEEHA BNFFFNBPECNPELBDMHJCJPBNFFFNB KBBJBNFDKFPPDNJGHIMJAJCJEAHEB LBIDMJFDFGHNJOBHMCMGBJCKOPNNI KJGHBOFFPOLPKLLBAOCCPJGNOHLBA MFNFFNEHBMKKKBHHAFPJAHFHAPNFB APBBBPAPECHJNEMCPKOIFFGGBBPGF HHHHHHHPPHPHHPHPHHPHPPPPHPPHH

WWW.THAISMENEWS.COM

50.-


บริษัท ลานนากรีนซัพพลาย จํากัด “พลาสติกเชียงใหม น�กถึง ลานนากรีนซัพพลาย เชียงใหม ”

ผลิตและจําหน�ายถุงพลาสติก ผลิตภัณฑพลาสติก ทุกชนิด ราคาสง ถุงพลาสติกยอยสลายทุกชนิด, ถุงพลาสติก, ถุงหิ้ว, ถุงขยะดํา, ถุงขยะสี, พลาสติกคลุมโรงเรือน, พลาสติกคลุมแปลง, Stetsh Film (สเตรทฟลม), ฟลมยืดพันพาเลท, พันเสางานกอสราง, ถุงที่ใช ในงานอุตสาหกรรม (HD LL PE PP) รับผลิตตามสั่ง พรอมพิมพลาย สินคาคุณภาพตามมาตรฐานอุตสาหกรรม

กิจกรรมเพื่อชุมชนและสิ�งแวดล อม มอบ Double Zip Bag Hero Variety

รองนายกเทศมนตรี เทศบาลนครเชียงใหม ทานรองชาตรี เชื้อมโนชาญ และทานรองสุนทร ยามศิริ

พ.ต.ท.พชรพล วงศรจิต ทานรองผูกํากับจราจรตํารวจภูธรจังหวัดเชียงใหม

วาที่ ร.ต.เจษฎา พงศธรบริรักษ หัวหนาแขวงเม็งราย

ทานหัวหนาแขวงนครพิงค คุณวิทยา ไชยสาร

เคเบิลทีวี เชียงใหม WE TV.

“ลานนา กรีน พลาสติก” จัดตั้งขึ้นโดยกลุมนักธุรกิจรุนใหม ที่มีความตั้งใจ ดําเนินธุรกิจควบคูไปกับการใหคุณคาแกสังคม สรางทางเลือกใหมๆ ใหกับลูกคาพรอมใหคําปรึกษาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ อยางมืออาชีพ

บริษัท ลานนากรีนซัพพลาย จํากัด Lanna Green Supply Co., Ltd.

111/5 ถ.ระแกง ตําบลชางคลาน อําเภอเมือง เชียงใหม 50100 Tel/Fax: 053-275454 E-mail: lannagreen.p@gmail.com www.gp.co.th พื้นที่โฆษณา


กล้าหรือไม่ที่จะเปลี่ยนแปลง พร้อมหรือยังที่จะท�างานหนัก พร้อมหรือยังกับปัญหาใหม่ที่ต้องคอยตามแก้ จัดสรรเวลา เหมาะสมหรือยัง ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งให้ยิ่งมีเหลือ ความพ่ายแพ้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคือการทนงตน คุณไพศาล ว่องไวกลยุทธ์

ประธานกรรมการผู้จัดการ บริษัท โตว่องไว จ�ากัด / บริษัท เทวดาจิ๊กโก๋ จ�ากัด

คพอ. สู้ชีวิต.... หน้า 44


บรรณาธิการแถลง Editor’s Talk

วารสาร ThaiSmeNews ฉบับปฐมฤกษ์นี้ เกิดขึ้นจาก ความตั้งใจของ คณะท�างาน ที่มองเห็นความจ�าเป็น ในสถานการณ์ การด� า เนิ น ธุ ร กิ จ ในปั จ จุ บั น ที่ ผู้ประกอบการเอสเอ็มอี จะต้องมีการปรับตัวเข้าถึง แหล่งข้อมูล ข่าวสารและเครือ่ งมือตัวช่วยด้านต่าง ๆ ในการด�าเนินธุรกิจทีม่ คี วามเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ประกอบกับสถานการณ์ ทางการค้าทีม่ กี ารเปิดกว้าง เสรีมากขึ้น จึงเป็นสิ่งท้าทายความสามารถของ ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีเป็นอย่างยิ่ง เพราะการ เปลี่ยนแปลงเหล่านั้น มีทั้งโอกาส และอุปสรรค ทาง ธุรกิจอย่างมหาศาล การปรับตัวรองรับความเปลีย่ นแปลง จ�าเป็นที่จะต้องมีข้อมูลรอบด้านเพื่อเป็นแนวทางใน การตัดสินใจทางด้านการลงทุน พัฒนาธุรกิจของ ตนเองให้ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงโดยใช้เครือ่ งมือและ เทคโนโลยี ที่ทันสมัยเข้ามาเพิ่มประสิทธิภาพใน การท�างาน ตลอดจนการรับทราบข้อมูลเกี่ยวกับ การสนับสนุนด้านต่าง ๆ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชน ปัจจัยส�าคัญอีกประการหนึ่งของการอยู่รอดของ ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีไทยซึ่งเป็นธุรกิจขนาดย่อม

คือการรวมกลุ่มเครือข่ายธุรกิจในการช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน ด้านการตลาด การผลิต การบริหาร จัดการเพือ่ ลดต้นทุน แลกเปลีย่ นความรูแ้ ละทรัพยากร ซึง่ ปัจจุบนั ผูป้ ระกอบการได้มกี ารรวมกลุม่ เป็นสมาคม ส่งเสริมเอสเอ็มอีไทย มีสมาชิกทั่วประเทศที่เริ่มมี บทบาทเป็นทีย่ อมรับของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องมากขึน้ ทีมงาน ThaiSmeNews มีจดุ มุ่งหมายในการท�าหน้าที่ สือ่ ประชาสัมพันธ์เพือ่ เชือ่ มโยงข้อมูลข่าวสารกิจกรรม ให้สมาชิกได้รบั ทราบ บทบาทขององค์กรทีเ่ ป็นเสมือน ตัวแทนของผู้ประกอบการเอสเอ็มอีทั่วประเทศ ให้รู้ ทิศทางในการก้าวเดินในทิศทางเดียวกัน ทีมงาน ThaiSmeNews หวังอย่างยิ่งว่า วารสาร ฉบับนีจ้ ะเป็นประโยชน์ตอ่ ผูป้ ระกอบการเอสเอ็มอี ใน การสร้างเครือข่ายธุรกิจ เสริมความรู้ในการด�าเนิน ธุรกิจ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ช่องทางการตลาด ให้ได้ พิจารณาน�าไปประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม และต้อง ขอขอบพระคุณ อย่ า งยิ่ง ส�า หรับ ผู ้ ส นับ สนุน การ จัดพิมพ์ทุกท่าน ณ โอกาสนี้ด้วย ธนพันธ์ ศิริโยธิพันธุ์ บรรณาธิการ

ส า ร บั ญ CONTENTS

3 4 10 16 18 21 25 28 30

สารจากนายกสมาคมฯ ข่าว มิงกาลาบา ...เมียนมาร์วันนี้ จัดงานปิดรุ่นคพอ. อย่างไรให้ถูกใจทุกฝ่าย? กิจกรรมปิดรุ่น คพอ. อีสาน THAI SMEs TRADE CLUSTER เชื่อมเครือข่ายการค้า-ลงทุนสู่สากล กิจกรรมปิดรุ่น คพอ. ภาคใต้ ถึงเวลาธุรกิจกาแฟต้องปรับตัว พลังงานทางเลือกและแนวทางสนับสนุนจากรัฐ

31 36 38 40 43 44 46 48

กิจกรรมปิดรุ่น คพอ. ภาคเหนือ G P S Tracking System ลดต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้า/ความร้อน เอ็นเนอร์ยี่ พลัส ดีเวลลอปเมนท์ กิจกรรมปิดรุ่น คพอ. ภาคกลาง ลานนากรีนซัพพลาย Green Industry: ธุรกิจเพื่อสังคม คนคพอ.สู้ชีวิต ไม่มีโอกาส ให้สร้างโอกาส BLACK BOX ทางออก SMEs ไทย Productivity กับ SMEs ไทยในอนาคต แนวคิด “Smart Software for Smart SMEs”

คณะท�างาน ThaiSmeNews Editorial credit คณะที่ปรึกษา เพ็ญทิพย์ พรจะเด็ด วิโรจน์ เย็นสวัสดิ์ บรรณาธิการบริหาร อภินันท์ ศิริโยธิพันธฺุ์ กองบรรณาธิการ อาคม สุวรรณกันธา ฝ่ายตลาด ประภา กลิ่นสุวรรณ 2 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์

สมเกียรติ ผู้มีชัยวงศ์ รุจิรา โสภาศรี ธนพันธ์ ศิริโยธิพันธุ์ วิเชียร บ�ารุงเกาะ ชลธิรา พินิจวัฒน์

ฝ่ายบัญชี กัลยา บุญยืด วิมลรัตน์ ทิพธรรม ฝ่ายกราฟฟิก อมร บุญมี เกณิกา เชษฐรัตน์ โยษิตา มณีวรรณ์ พัฒน์นรี วินิจฉัยกุล ศิริเรช รินต๊ะ ฝ่ายตรวจสอบและออกเพลท พิรานันท์ ถาเมือง สายฝน สุวรรณเลิศ

ฝ่ายผลิต เด่น ถาเมือง ปภาวิน อินต๊ะอ้าย วิฑูรย์ โปธินันท์ เว็บไซต์&มัลติมีเดีย ประวิตร เกียรติกา� จร จัดท�าโดย บริษัท นันทพันธ์พริ้นติ้ง จ�ากัด 33/4-5 หมู่ 6 ต.แม่เหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50100 โทร. 053-804908-9 แฟกซ์. 053-804958 www.nuntapun.com e-mail : info@nuntapun.com


Executive's Talk

สารจากนายกสมาคมฯ

Executive's Talk

สมาคมส่งเสริมผูป้ ระกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมไทย (ATSME) เป็นสมาคมที่เกิด จากการรวมตัวของผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมโครงการ พัฒนาผู้ประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรม (คพอ.) ของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งปัจจุบันมีสมาชิกกว่า 8,000 ราย กระจายอยู่ 77 จังหวัดทัว่ ประเทศ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ เป็น ศูนย์กลางในการสานนโยบายและด�าเนินการ ส่งเสริมร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน เป็น ศูนย์กลางแลกเปลี่ยน ความรู้ ประสบการณ์ รับความคิดเห็นอันเป็นประโยชน์ตอ่ ผูป้ ระกอบการ SMEs พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือสมาชิกในการ แก้ไขปัญหา อุปสรรคในการประกอบธุรกิจ เพื่อ เพิ่มศักยภาพ ให้สมาชิกสามารถแข่งขันได้ใน ตลาดโลกได้ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ถือ เป็นกลไกหลักในการเสริมสร้างความก้าวหน้าทาง เศรษฐกิจของประเทศ จึงจ�าเป็นต้องรวมกลุ่มเพือ่ ให้เกิดอ�านาจการต่อรอง และสร้างเครือข่ายที่ เข้มแข็งก่อให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขันได้ เนื่องจากการท�าธุรกิจไม่สามารถสร้างความได้ เปรียบในการแข่งขันเพียงล�าพัง และในภาวะ เศรษฐกิจปัจจุบัน มีปัจจัยภายนอกที่ไม่สามารถ ควบคุมได้ คือค่าเงินที่ผันผวน อีกทั้งเศรษฐกิจ อเมริกาและยุโรปยังไม่ฟน้ื ตัว ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ ท�าให้ผปู้ ระกอบการ (SMEs) ต้องตัง้ รับสถานการณ์ ทีเ่ ปลีย่ นแปลง อย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ ปัจจุบนั ความ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยีได้ผลักดันให้โลกของเรา ขับเคลือ่ นไปข้างหน้าอย่างรวดเร็ว กฎเกณฑ์ใหม่ๆ ด้านการค้าและการลงทุนถูกสร้างเพื่อรองรับการ แข่งขันของโลกไร้พรมแดน เราจ�าเป็นต้องปรับตัว และเรียนรู้เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เทคโนโลยีใหม่ๆ ได้ถูกน�ามาใช้เป็นเครื่องมือการ ท�าธุรกิจในปัจจุบนั โดยฝ่ายสารสนเทศของสมาคมฯ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมของ SMEs ไทยสู่ การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ปี 2558

นอกจากนีส้ มาคมฯ ยังสนับสนุนกลุม่ ผูป้ ระกอบการ SMEs & OTOP กลุ่มต้นน�้าคือผู้ผลิต ในการน�า ผลงานการวิจยั ดีๆ ทีส่ ามารถน�ามาต่อยอดมาผลิต เป็นสินค้าหรือบริการทีม่ คี วามโดดเด่นเหนือคูแ่ ข่ง โดยเฉพาะการมีนวัตกรรมสร้างสรรค์ และการสร้าง มูลค่าเพิ่มให้สินค้าอีกทั้งเป็นการผลิตที่รักษา สิง่ แวดล้อม หรือมีงานวิจยั ทีใ่ ห้คณ ุ ค่าคุณประโยชน์ ต่อมนุษยชาติไม่ทา� ลายต่อสิง่ แวดล้อม ทางสมาคม ก็ให้การสนับสนุนให้น�ามาพัฒนาต่อยอดน�ามา ผลิตอีกทัง้ ช่วยชีน้ า� ชีแ้ นะในการให้สมาชิกสมาคมฯ ได้มีโอกาสเข้าถึงแหล่งเงินทุนเพื่อซื้องานวิจัยมา ผลิต ซึง่ ปัจจุบนั สถาบันการเงินก็มนี โยบายสนับสนุน โครงการน�างานวิจัยมาต่อยอดโดยให้มีโอกาส เงินกู้สนับสนุนเงื่อนไขพิเศษแก่ SMEs & OTOP อีกทัง้ สมาคมได้มบี ทบาทความร่วมมือกับหน่วยงาน อื่นๆ ทั้งภาครัฐเอกชนมหาวิทยาลัยที่ร่วมมือ การผลักดัน SME,OTOP ในแง่การตลาดผลักดัน การค้าให้เกิดผล ในเวทีการค้าต่างประเทศ เรามีการให้ค�าปรึกษากับสมาชิกและ SME, OTOP และพยายามหาข้อมูลการท�าตลาดแจ้งให้สมาชิก ทราบตลอดเวลา ก็เป็นบทบาทที่สมาคมได้ทา� มา ให้ SMEs และ OTOP วันนีส้ มาคมมีแนวทางชัดเจน ในการน�างานวิจยั จากหิง้ มาพัฒนาต่อยอดให้ขาย ได้และแนะน�าแหล่งเงินทุนสนับสนุนพร้อมทัง้ ช่วย โฆษณาประชาสัมพันธ์สินค้าดีที่มาจากงานวิจัย ที่ดีสู่สาธารณะผ่านสื่อมีเดีย ในหลายครั้งที่ดิฉัน มีโอกาสพูดผ่านสื่อ ท้ายนี้ขอเป็นพลังใจให้ผู้ประกอบการ SMEs ทุกท่านฟันฝ่าอุปสรรคและปัญหาต่างๆ ไปด้วยดี ทุกประการ และขอแสดงความยินดีกับวารสาร ThaiSmeNews ที่เปิดฉบับปฐมฤกษ์ เพื่อเป็น ช่องทางการสื่อสารที่ท�าให้ได้รับข่าวสารอย่าง ทั่วถึงอีกช่องทางหนึ่ง.. ขอบคุณค่ะ

อ่านรายละเอียด เพิ่มเติม

เพ็ญทิพย์ พรจะเด็ด นายกสมาคมส่งเสริมผู้ประกอบการวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมไทย(ATSME) ฉบับปฐมฤกษ์ 3


Society

ประชุมร่วมกับนายกรัฐมนตรีเพื่อเสนอปัญหา และแนวทางในการให้ความช่วยเหลือ SMEs สมาคมส่งเสริมผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมไทย (ATSME) ประชุมร่วมกับนายกรัฐมนตรีเพื่อเสนอปัญหาและแนวทาง ในการให้ความช่วยเหลือ SMEs เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2556 ณ ตึกสันติไมตรี ท�าเนียบรัฐบาล

งานประชุมเพื่อพิจารณาให้ความช่วยเหลือ SMEs ที่ท�าเนียบรัฐบาล สมาคมส่งเสริมผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมไทย (ATSME) เข้าร่วมหารือเพื่อพิจารณาประเด็นปัญหาและความต้องการ ของ SMEs ในงานประชุมเพือ่ พิจารณาให้ความช่วยเหลือผูป้ ระกอบการ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมไทย โดยมีท่านนิวัฒน์ บุญทรง ไพศาล เป็นประธานในที่ประชุม เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2556 ณ ตึก บัญชาการ ท�าเนียบรัฐบาล 4 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


Society

นายกสมาคมฯ และคณะกรรมการฯ เข้าร่วม ประชุมคณะกรรมาธิการการแรงงาน คุณเพ็ญทิพย์ พรจะเด็ด นายกสมาคม ATSME และคณะกรรมการฯ เข้าร่วมประชุมเพื่อพิจารณาเรื่องมาตรการช่วยเหลือเยียวยาสถาน ประกอบการและกลุ่มผู้ใช้แรงงานทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากการปรับอัตรา จ้างแรงงานเป็น 300 บาท เมื่อวันพุธที่ 23 มกราคม 2556 ณ รัฐสภา

ร่วมลงนาม MOU ร่วมกับศูนย์วิจัยธุรกิจและกรณีศึกษา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ และสมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ไทย สมาคมส่งเสริมผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมไทย (ATSME) ลงนาม MOU ร่วมกับศูนย์วจิ ยั ธุรกิจและกรณีศกึ ษา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ และสมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย เมื่อช่วงบ่ายวันที่ 21 มีนาคม 2556 ณ โรงแรมเดอะทวินทาวเวอร์ กรุงเทพฯ

ประชุมหารือแนวทางความร่วมมือกับทาง สสว. คณะกรรมการสมาคมส่งเสริมผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมไทย (ATSME) ประชุมหารือเรื่องแนวทางความ ร่วมมือระหว่างสมาคม ATSME กับทางส�านักงานส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2556

ฉบับปฐมฤกษ์ 5


Society

ประชุมหาแนวทางความร่วมมือกับทาง BOI คณะกรรมการสมาคมส่งเสริมผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมไทย (ATSME) ประชุมหารือเรื่องแนวทางความ ร่วมมือระหว่างสมาคม ATSME กับทางคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน (BOI) เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2556

ประชุมใหญ่สามัญประจ�าปี 2555 คณะกรรมการสมาคมส่งเสริมผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมไทย (ATSME) จัดงานประชุมใหญ่สามัญประจ�าปี 2555 เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2556 ณ โรงแรมเดอะทวินทาวเวอร์

Roadshow กับ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ที่ประเทศญี่ปุ่น คณะกรรมการสมาคมส่งเสริมผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ไทย (ATSME) ร่วมเดินทางกับคณะ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี Roadshow ทีป่ ระเทศ ญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 22 - 24 พฤษภาคม 2556

6 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


http://www.thaismenews.com

ไทยเอสเอ็มอีนิวส์ฉบับดิจิตอล

ท่านผู้อ่านสามารถอ่านหนังสือไทยเอสเอ็มอีนิวส์ได้อีกช่องทางบนเว็บไซต์ผ่าน เบราว์เซอร์ ทั้งบนแพลทฟอร์ม Windows, MAC รวมทั้งบน Smart Phone ระบบ ปฏิบัติการณ์ Windows Phone, Android และ iOS เพียงเข้าไปที่ issuu.com/ gp_nuntapun หรือแสกน QR Code นี้

SCAN Scan this barcode

AHEEEHAPNFGDPHPAKNELMPAHEEEHA BNFFFNBPBCIGELBPACNKNPBNFFFNB JFMIFMFLCEHFFLBDKMAHPHLDDMBKI MBDLDJFCJOEGODOPLDBGNOLMIOLPB MMNBIKFJNAOEMBNEGKJHNDLBIKLGA MNFFFFEPLCLDGJIJLEKEAHFHAODFA APBBBPAPGBBENMOHJOGHABGAHMNAE HHHHHHHPPHHHHPHHPHPPHPPPHHPHP

ฉบับปฐมฤกษ์ 7



บริษัท ฟาใสคอนสตรัคชั่นทูลส จํากัด Fasai Construction Tools Co,Ltd.

ธุรกิจใหเชา อุปกรณกอสรางทุกชนิด ครบวงจร

INTERNET

VDO

MAP

บริษัท ฟาใสคอนสตรัคชั่นทูลส จํากัด

สํานักงานใหญ 145 ถ.เชียงใหม-ลําปาง ต.ปาตัน อ.เมือง จ.เชียงใหม 50300 โทร.053-357929, 084-3784249 โทรสาร.053-408956 e-mail: fsctkannika@hotmail.co.th

ประธาน คพอ.รุนที่ 271 เชียงใหม


Biz focus

มิงกาลาบา... เมียนมาร์วันนี้ บทความโดย นายสมเกียรติ ผู้มีชัยวงศ์ คพอ. รุ่น 100 กทม.

เป็นโจทย์ ใหญ่และเป็นค�ำถำมที่ทันสมัยว่ำ ท�ำไม ถนนทุกสำยมุ่งสู่พม่ำหรือเมียนมำร์วันนี้ Golden land คือสมญานามของประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ เมียนมาร์หรือพม่าไม่ธรรมดาเลยส� าหรับมุมมองของนานาประเทศ ทั้งวันนี้และวันหน้า ในอดีตที่เคยรุ่งเรืองมีวัฒนธรรมและอารยธรรมที่โดดเด่น ถ้าพูดถึง ด้านศาสนาก็หลากหลาย เชื้อชาติศาสนาเผ่าพันธุ์ แต่ไม่ธรรมดาเลยใน ความเชื่อทางพุทธศาสนาที่เคร่งครัด ดูเหมือนจะเคร่งครัดมากกว่า หลายประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียนด้วยซ�า้ ศรัทธา พลังศรัทธา ใครไป เมียนมาร์จะเห็นสถานที่ส�าคัญทางศาสนาในทุกเมือง ขุมทรัพย์เมียนมาร์ ที่หลายประเทศทั่วโลกเห็น เช่น ทรัพยากรทางบก ทางน�้า แหล่งอุดมสมบูรณ์ของสัตว์น�้าทางทะเล การประมง ก๊าซธรรมชาติ ป่าไม้ แร่ธาตุส�าคัญๆ และธุรกิจท่องเที่ยวที่ยังคงมีความเป็นธรรมชาติ ความสดอยู่ สถานที่ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ทางศาสนาที่เป็นเป้าหมาย ให้นักท่องเที่ยวทั่วโลกไปเยือนไม่ขาดสายคือ “เบญจมหาบูชาสถาน” ที่แม้แต่ชาวพม่าเองหวังจะมาสักการบูชาให้ได้อย่างน้อยครั้งหนึ่งในชีวิต 5 แห่งได้แก่ • มหาเจดีย์ชเวดากอง เมืองย่างกุ้ง • เจดีย์ชเวสิกอง เมืองพุกาม • เจดีย์ชเวมอดอว์หรือพระธาตุมุเตา เมืองหงสาวดี • พระมหามัยมุนี แห่งมัณฑะเลย์ • และพระธาตุอินทร์แขวน หรือเจดีย์ไจก์ทิโย เมืองไจก์โถ่ รัฐมอญ ทรัพยากรการท่องเทีย่ วนับแต่นจี้ ะสร้างรายได้เข้าประเทศมหาศาล ประชาชน ชั้นล่างที่มีอยู่มากสุดของประเทศประมาณ 60%ก็จะขยับขึ้นเป็นชนชั้น กลางทีม่ อี า� นาจการซือ้ จับจ่ายเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็วในปีสองปีนอี้ ย่างแน่นอน

10 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีไทยเราต้องมองออกถึงความเป็นไปได้เชิง เศรษฐกิจการค้าทีก่ า� ลังเติบโตอย่างรุนแรงและโดยเฉพาะภาคการก่อสร้าง และสินค้าปัจจัยสี่ อาหาร เครือ่ งนุ่งห่ม ยารักษาโรค รวมถึงสินค้าเพือ่ การใช้ในด้านสาธารณสุขการแพทย์ ทีอ่ ยูอ่ าศัยทีต่ อ้ งสร้างอย่างมหาศาล อีกทั้งกระแสมือถือ อุปกรณ์มือถือ รถยนต์ มอเตอร์ไซค์ จักรยาน เครื่องเสียงประดับยนต์ รวมทั้งฟิล์มกรองแสงที่ใช้ติดในรถยนต์และ อาคาร แบตเตอรี่รถยนต์ ยางรถยนต์ ช่างซ่อมรถยนต์ที่มีฝีมือจาก เมืองไทยไปเปิดอู่ซ่อมก็เกิดได้ ทีผ่ า่ นมาผมพาผูป้ ระกอบการไทยไปขายสีรถยนต์กป็ ระสบความส�าเร็จ และได้ผู้แทนจ�าหน่าย ก็ขอบอกว่าโอกาสมีในพม่า แต่เอสเอ็มอี ต้องกล้าเปลี่ยนความคิดต้องยอมส�ารวจไปดูตลาดด้วยตัวเอง ข้อเท็จจริงคือช่วงปิดประเทศหลายสิบปีจากปัญหาการเมือง! พม่าก็ ยังอดทนอยู่กันได้ ใช้อาหารการกินสินค้าเท่าที่มีและหาได้ แม้จะ อัตคัดแต่ไม่ขัดสนได้ไปส�ารวจตามชนบท ตามชายแดน หมู่บ้าน ยังมีคนรายได้ต�่าเยอะเฉลี่ยเดือน 2,000-3,000 บาทต่อเดือน แต่ใน หัวเมืองการค้าที่เจริญ เช่น ย่างกุ้ง มัณฑะเลย์ ตองจี เนปิดอว์ หงสาวดี รายได้ของประชาชนก็ดมี ากกว่าเมืองเล็กๆ มาก 6,000 บาท ต่อเดือน ปัจจุบนั ข้าราชการได้รบั การปรับเงินเดือนสูงขึน้ เป็นนโยบาย ที่พยายามปรับฐานเงินเดือนให้ตามทันประเทศไทย

ฉบับปฐมฤกษ์ 11


ที่ผ่านมาการถูกบอยคอตจากนานาประเทศ กลับเป็นผลดีที่ซ้อนตัวอยู่ ท�าให้ เมียนมาร์ยังคงมีทรัพยากรธรรมชาติเหลือเฟือในปัจจุบัน ไม่ว่าก๊าซธรรมชาติ ที่ทุกวันนี้ส่งออกให้ประเทศไทยโดย ปตท.เป็นผู้นา� เข้าน�า้ มัน แร่ธาตุสา� คัญๆ เช่น ดีบกุ พลวง ลิกไนต์ แร่ทองค�า และหยก แร่อนื่ ๆทีม่ มี หาศาล มีการประมูล หยกนานาชาติที่เมืองหลวงเนปิดอว์ทุกปี ในเดือนมีนาคม ที่ประเทศต่างๆ เข้าไปประมูลกันทุกปีมูลค่าการประมูลหลายหมื่นล้านบาทต่อปี ที่มัณฑะเลย์ แรงงานฝีมือการเจียระไนหยก เพชร ที่มาจากเมืองไทยโดยเฉพาะจากจันทบุรี ไปท�างานกันเป็นจ�านวนร้อยชีวิตมีรายได้ประมาณ สองหมื่นกว่าบาทต่อคน ต่อเดือน ไปท�างานที่เมืองนี้เป็นสัญญาว่าจ้าง 3 เดือนบ้าง 6 เดือนบ้างและ กลับมาท�าการต่อสัญญาใหม่ แม่นา�้ อิระวดี สายเลือดชีวิตสองฝั่งแม่น�้าที่สะท้อนชีวิตความเป็นอยู่ของกลุ่ม ชนเผ่าต่างๆ ท�าให้เราต้องเรียนรู้พฤติกรรมการอยู่กินและใช้ชีวิต เพื่อน�ามา วิเคราะห์สา� หรับเอสเอ็มอีไทยทีต่ อ้ งการเจาะตลาดการค้าได้ถกู ต้อง ถูกรสนิยม ค้าขายต้องรู้ลึกรู้จริงจึงขายได้ ฉาบฉวยก็จะเสียหาย คนพม่า นุ่งโสร่ง ผ้าถุง ใช้แป้งทานาคาประทินผิว แต่ผมเองก็ยงั ขายเครือ่ งส�าอางได้ สบู่ ครีมสีเหลือง จากขมิ้นชัน ที่มีส่วนผสมรักษา เยียวยา และป้องกันผิวที่ถูกท�าลาย นั่นแสดง ว่าคนพม่าไม่ได้ปฏิเสธการรับสินค้าใหม่ๆมาใช้ ขอเพียงคุณภาพดีใช้ดีราคา ไม่แพง

12 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


ปัจจุบันสินค้าจ�าเป็นต้องมีอย.พม่า. จึงออกสื่อโฆษณาได้ และต้องมี บาร์โค้ด ส�าหรับที่ยังไม่มีอย.ก็ขายได้แต่เมื่อมียอดขายมากขึ้น ต้องขอ อย. พม่า

ท�ำไมถนนทุกสำยพุ่งไปพม่ำ?

แน่นอนการได้รับข้อมูลว่าพม่ามีทรัพยากรธรรมชาติสมบูรณ์ มหาศาล และมีประชากรที่เป็นกลุ่มผู้บริโภคถึง 60 ล้านคน ชนชั้นล่าง ที่มีรายได้ น้อยมีถึงเกือบ 40 ล้านคน สิ่งที่น่าวิเคราะห์เมื่อมีการเปิดประเทศ ประเทศต่างๆ มาขอเปิดสถานทูต กันมาก นักท่องเที่ยวเข้ามามากจากปี 2544 ที่ผมเข้าไปปีนั้นทั้งปีมี นักท่องเที่ยวเข้าไปประมาณแสนกว่าคน อันดับหนึ่งมาจากประเทศไทย แค่ผา่ นไปเพียงหนึง่ ถึงสองปีจา� นวนนักท่องเทีย่ วและนักธุรกิจทัว่ โลกเข้าไป เป็นจ�านวนล้านคนเพิ่มเกือบ 10 เท่า ในปี 2544 ทีผ่ มพาคณะนักธุรกิจคพอ.และเจ้าหน้าทีก่ รมส่งเสริมอุตสาหกรรม ไปรวมทัง้ นักธุรกิจจากเนเธอร์แลนด์และแคนาดา อีก 2 ท่าน รวม 48 ชีวติ เดินทางไปพม่าขณะนั้นหาที่พักยากมาก และราคาแพง พักที่โรงแรมที่ ย่างกุ้งได้แก่ Chatrium, โรงแรมกันดอจีพาเลส ที่ย่างกุ้ง โรงแรม Royal Kaytumadi ที่เมืองตองอู ห่างจากเมืองหลวงใหม่เนปิดอว์ ประมาณ 45 นาที ขับรถไป ราคาเฉลี่ยต่อคืนต่อห้องขั้นต�า่ 5,000 บาท

การเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวมหาศาลท�าให้ขาดแคลนที่พักมากๆ ท�าให้ ราคาห้องพักแพงขึ้น และเชื่อมั่นว่าวันที่ 11 ธันวาคม 2556 เมียนมาร์ เป็นเจ้าภาพซีเกมส์ ถ้าใครไปพม่าช่วงนี้จะเห็นการก่อสร้างตึกโรงแรม การท�าถนน การประปา ไฟฟ้า สัญญาณไฟจราจร กล้องวงจรปิด CCTV บิลบอร์ดการโฆษณาบิลบอร์ดแอลอีดี ร้านอาหารร้านกาแฟข้างถนน ราคาถ้วยละ 50 บาท มีเค็ก ขนมปังขาย และอีกระดับร้านกาแฟที่ ยกระดับขึ้นมาเช่น ร้าน Coffee Circle ราคาถ้วยละ 100 บาท จะเห็น วัยรุ่นหนุ่มสาวมานั่งดื่มกินกัน และที่เห็นคือกาแฟ Black Canyon สัญชาติไทยก็มีสาขาที่ย่างกุ้งแล้ว และหากเดินส�ารวจไปตามตรอกซอกซอยในถนนตามอพาร์ตเมนท์ในเมือง ย่างกุ้งทีค่ นอยู่อาศัยแออัดมากเราจะเห็นร้านกาแฟเป็นระยะๆ วัฒนธรรม การดื่มกินกาแฟ โรตี ปาท่องโก๋ แสน็ก กินได้ทั้งวันผมเคยนั่งดื่มกินกับ ข้าราชการผูใ้ หญ่กระทรวงการค้าพม่าตามถนนเขาบอกว่าสมเกียรติ ธุรกิจ ดีมาก เงินสดเข้ากระเป๋าทุกวัน คนกินเยอะมาก จึงเป็นโอกาสธุรกิจหนึ่ง ที่น่าสนใจมาก ล่าสุดช่วงเดือนสิงหาคม 2556 ที่ผ่านมาพบว่าร้านโชคดีติ่มซ�า เปิดขายที่ ย่างกุ้ง นอกจากนั้นยังมีร้านอาหารชื่อพัทยาเป็นของคนพม่าที่โตในไทย ขายดีมาก ขายอาหารไทย รสชาติดี ส�าหรับอาหารญี่ปุ่น เกาหลี เข้ามา เปิดเยอะช่วงนี้

ฉบับปฐมฤกษ์ 13


ส�าหรับกาแฟยอดนิยมของไทยทีไ่ ด้รบั ความนิยมในพม่าคือแบรนด์ เบอร์ดี ของ กลุ่มอายิโนะโมะโต๊ะ ผมได้ออเดอร์จากลูกค้า แต่ไม่มีปัญญาหาส่งให้ และ ผงชูรสขายดีมากในพม่า ที่นี้กนิ ลูกชิ้นไก่กันเยอะ ได้พาผู้ประกอบการเข้าไป ดูโรงงาน CP myanmar ที่ปีนี้เป็นปีที่ 17 ที่ท�าธุรกิจในเมียนมาร์ มีนโยบาย การลงทุนเอาระบบตัง้ คนรองรับระบบ ปรับเข้าวัฒนธรรมในพืน้ ที่ ใช้กระบวนการ CSR กับชุมชนที่อยู่รอบโรงงาน ช่วยเหลือสนับสนุนคนในพื้นที่ งานบุญ จึง ไม่โดนการต่อต้านได้รับความร่วมมือจากคนในท้องถิ่น ทีเ่ ป็นเรือ่ งจริงอีกเรือ่ งทีไ่ ม่นา่ เชือ่ คือ แค่ขายรองเท้าแตะขาหนีบก็รวยได้ในพม่า คิดง่ายๆ เฉลี่ยคนหนึ่งมีรองเท้าแตะคนละ 3 คู่ต่อปี เท่ากับตลาดรองเท้าแตะ 180 ล้านคู่ๆ ละ 60 บาท โดยเฉลีย่ เท่ากับ 180 คูณ 60 คือมูลค่าต่อปี 10,800 ล้านบาท ผู้ประกอบการคพอ.สมุทรสาคร หรือสมุทรสงคราม ทีท่ า� รองเท้าแตะ ขาหนีบส่งพม่าปีหนึ่งหลายล้านคู่ ส่วนห้างสรรพสินค้าเปิดใหม่เยอะมาก เช่น Junction center เจ้าของท�าธุรกิจ การก่อสร้างติดอันดับต้นของพม่า ปัจจุบนั ก�าลังตอกเสาเข็มเตรียมสร้างตึกสูง 33 ชั้นมีโรงแรมศูนย์การค้า ออฟฟิตให้เช่า อยู่ตรงข้ามตลาดสก๊อต 100 ปี นอกจากนั้นยังมีห้าง Sein Gay Har Supercenter, ห้าง Taw Win Center และCity mart Supermarket เป็นเชนซูเปอร์มาร์เก็ตที่มีสาขามากที่สุดในพม่า คนค้าขายพยายามเจาะเข้าไปแย่งพื้นที่ขายเป็นต้น 14 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์

แวดวง คพอ. บุกพม่ำ

ในแวดวง คพอ. หลายท่านที่ตัดสินใจไปลงทุนที่พม่าแล้ว คือคุณสมชัย หยกอุบล คพอ.พิษณุโลกก็ส่งเครื่องจักรกลการเกษตรเข้าพม่า นอกจากนั้นก็มีคุณไพศาล ว่องไวกลยุทธ์ รับออเดอร์เงินมัดจ�าผลิตรถ ตอกเสาเข็มเข้าพม่า, คุณกัญญา ดิลกเรืองชัย คพอ.100 ส่งขนมขบเคี้ยว เข้าไปขายในพม่ามาร่วม 10 ปีแล้ว คุณสมเกียรติ ผู้มีชัยวงศ์ น้องใหม่ เพิ่งได้ตัวแทนมาได้ปีกว่าถ้าไม่เห็นโอกาสก็ไม่ลงทุนพัฒนาต่อเนื่องทั้ง สื่อมีเดียแม็กกาซีนโฆษณาสินค้าสบู่เครื่องส�าอางแบรนด์ Beauty 7 และ ท�าเอกสารได้ อย.ในพม่า แน่นอน ในการตัดสินใจเลือกท�าการค้าการลงทุนในพม่า ทุกคนเริ่มจาก การลงทุนเข้าไปดู เข้าไปสนใจศึกษา ต้องจริงจังด้วย ถ้าคุณล้อเล่นไปเพือ่ เทีย่ วสนุกๆ ผลลัพธ์กส็ นุกๆ ต้องติดตาม ปรับปรุง แก้ไข ต้องเข้าใจ เข้าใจ ตลาด เข้าใจสินค้าเราที่ต้องปรับปรุงเข้ากับวัฒนธรรมการบริโภค เข้าใจ การตั้งราคาที่เหมาะสมกับตลาด ต้องสร้างแบรนด์ทันที


ข้อมูลทั่วไปที่ส�ำคัญ

ทุกคนเชื่อที่บุกเข้าไปท�าตลาดมีมุมมองความเห็นเหมือนกันชัดเจน ว่าพม่าคือโอกาส เพราะคนพม่าที่เป็นแรงงานทั้งถูกและไม่ถูก กฎหมายมาท�างานขายแรงงานในไทยประมาณ 3 ล้านคนได้ รายได้จากไทยส่งกลับพม่าเท่าไหร่ ? ท�าให้เกิดการพัฒนาผู้บริโภค คนชั้นกลางเพิ่มมากขึ้นที่มีกา� ลังจับจ่ายซื้อสินค้า

จะเริ่มต้นท�ำธุรกิจในพม่ำอย่ำงไร ?

ทีมส�ารวจจากผูป้ ระกอบการทีผ่ า่ นการฝึกอบรมโครงการคพอ.สมาชิก สมาคม ATSME ได้ตดั สินใจลงทุนไปหาข้อมูล หาโอกาส เข้าใจตลาด วันที่ 15-18 มีนาคม 2554 ผมและสมาชิกคพอ.เอทีเอสเอ็มอี โดยคุณเพ็ญทิพย์ พรจะเด็ด นายกสมาคมเอทีเอสเอ็มอี คุณวีระพล ศรีเลิศ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมโดยอดีตรองอธิบดี และคุณสุรางค์ พันธ์สวัสดิ์ อดีตผู้อ�านวยการส่วนบริการธุรกิจอุตสาหกรรมศูนย์ ภาค 8 อดีตผู้อ�านวยการส่วนบริการธุรกิจอุตสาหกรรมศูนย์ภาค 9 คุณวันเพ็ญ รัตนกังวาล และเจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ได้ให้โอกาสผมพาคณะผูป้ ระกอบการและเจ้าหน้าทีไ่ ปส�ารวจตลาด และเจรจาการค้า ทัง้ คณะเข้าไปเรียนรูพ้ ม่าจากการเข้าไปดูให้รใู้ ห้เห็น (โอกาสมีเสมอ ส�าหรับผู้หาโอกาส) เดินทางไปดูตลาด นี้คือจุดเริ่มแรกของการท�า ตลาดในพม่าเอสเอ็มอีไทยต้องกล้าทีจ่ ะลงทุนค่าใช้จา่ ยในการส�ารวจ ตลาด และมาประเมินจะสูห้ รือถอยหรือพัฒนาสินค้าให้โดนใจลูกค้า ประการส�าคัญก่อนไปตะลุยตลาดพม่าศึกษากฎระเบียบข้อบังคับ การค้าการลงทุนให้แม่นก่อนนะครับ

• เมืองหลวง เนปิดอว์ • เมืองการค้าส�าคัญ ย่างกุ้ง มัณฑะเลย์ ตองจี • เมืองที่ติดชายแดนไทยที่สา� คัญในการค้าขายชายแดนคือ เมียวดี ติดกับอ�าเภอแม่สอด ท่าขี้เหล็กติดกับอ�าเภอแม่สาย เกาะสองติดกับ จังหวัดระนอง ทวายติดกับจังหวัดกาญจนบุรี มะริดติดกับจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ที่ด่านสิงขร • ประชากรพม่า ประมาณ 60 ล้านคน • เงินที่ใช้ สกุลจ๊าด • พรรคการเมืองส�าคัญ พรรคสามัคคีและการพัฒนาหรือยูเอดีพ ี ซึ่ง เป็นพรรคของประธานาธิบดีพลเอก เต็งเส่ง พรรคสันนิบาตแห่งชาติ เพื่อประชาธิปไตย หรือเอ็นแอลดี ของนางอองซาน ซูจี การประกาศ ยุทธศาสตร์ประเทศของรัฐบาลเมียนมาร์ 5 ปี นับจากปี 2013 ที่จะ สร้าง GDP ของ ประเทศ 5 ปี รวดที่ต้องท�า GDP ประเทศให้ได้ 8% ทุกปี มีนัยส�าคัญพม่าวันนี้ต้องพัฒนาอย่างก้าวกระโดด นั่นก็คือ การเติบโตของชนชั้นกลางที่มีอา� นาจการซื้อจับจ่ายสินค้ามากขึ้น • อุตสาหกรรมและการค้าที่น่าลงทุนในพม่า อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมการผลิตสินค้าอุปโภคบริโภค การประมง การท่องเที่ยว โรงแรม ร้านอาหาร อูซ่ อ่ มรถ อุตสาหกรรมไม้แปรรูป โรงงานผลิตถังน�า้ พลาสติก ถุงพลาสติก โรงงานยาเวชภัณฑ์ โรงงานผลิตน�้าดื่ม เครื่องมือการเกษตร ปุ๋ย รถแทรกเตอร์ รถไถนา รถเกี่ยวข้าว โรงสีข้าว อุปกรณ์การก่อสร้าง เหล็ก ปูนซิเมนต์ เซรามิกพื้นและผนัง อุปกรณ์ ไฟฟ้า ธุรกิจบริการระบบลอจิสติกการขนส่ง ชิปปิ้ง รถเช่า การจัดงาน อีเวน การอบรมสัมมนาด้านการศึกษา การเทรนนิง่ ธุรกิจสปา เครือ่ งส�าอาง ผลิตภัณฑ์รักษาผิว การขนส่ง เส้นทางการขนส่งสินค้าทางบก สาย แม่สอด - เมียวดี, แม่สาย - ท่าขีเ้ หล็ก ด่านสิงขร – มะริด ทางน�้า ท่าเรือทีละวา • แหล่งข้อมูล ทูตพาณิชย์ที่นครย่างกุ้ง หอการค้าพม่า UMFCCI (union of Myanmar Federation of Chamber of Commerce and Industry )หรือ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงเทพ จ�ากัด สาขานครย่างกุ้ง หรือกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, หรือ กรมส่งเสริมการส่งออก ทีก่ ระทรวงพาณิชย์,หรือปรึกษาผูร้ จู้ ากสมาคม เอทีเอสเอ็มอี อื่นๆ หมายเหตุ : ข้อเขียนนีเ้ พือ่ เป็นมุมมองข้อเท็จจริงเขียนจากประสบการณ์ ทีเ่ ข้าไปศึกษาและลงมือท�าตลาดการค้าการลงทุนมาแชร์ประสบการณ์ ให้ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีไทย การได้เอ่ยชื่อบุคคลต่างๆในข้อเขียน เพือ่ ให้เห็นข้อเท็จจริงเพือ่ การศึกษาเท่านัน้ มิได้มเี จตนาอืน่ ใด ขอได้รบั ความขอบคุณจากนายสมเกียรติ ผู้มีชัยวงศ์ คพอ. รุ่น 100 กทม. E-mail : 124ishopping@gmail.com Tel : 086 342 0303

ฉบับปฐมฤกษ์ 15


Gist

จัดงานปิดรุ่นคพอ. อย่างไรให้ถูกใจทุกฝ่าย? เป็นค�าถามที่ต้องการความคิดเห็นจากสมาชิกทุกท่านเพื่อให้กิจกรรม การปิดรุน่ คพอ. ประจ�าปีสภี่ าค มีความหมาย มีเสน่หส์ ร้างความประทับใจ และไม่เป็นภาระให้กบั จังหวัดเจ้าภาพผูจ้ ดั งานมากเกินไป ถึงเวลาแล้วหรือ ยังที่เราจะร่วมมือกันปฏิรูปการจัดกิจกรรมปิดรุ่น คพอ.ประจ�าปี สี่ภาค ให้มมี าตรฐานเดียวกัน และสามารถก่อให้เกิดผลต่อส่วนรวม ทางเศรษฐกิจ การท่องเที่ยวและบริการ ของจังหวัดเจ้าภาพผู้จัดงาน นอกเหนือจาก มิตรภาพที่ดี,ความรู้จากการศึกษาดูงานและความสุขจากการท่องเที่ยว ที่เพื่อน คพอ.จัดเตรียมไว้ให้เป็นอย่างดี ที่พวกเราได้รับโดยตรงทุกครั้ง ที่ไปร่วมงาน จึงเป็นเรื่องที่ท้าทายส�าหรับสมาคมส่งเสริม SMEsไทย เป็น อย่างยิง่ ทีจ่ ะมีการแต่งตัง้ คณะกรรมการกลางเพือ่ ด�าเนินกิจกรรมนีใ้ ห้เป็น กิจกรรมทีส่ ร้างชือ่ เสียงและความภาคภูมใิ จให้เกิดขึน้ กับสมาชิกทัว่ ประเทศ กิจกรรมงานปิดรุน่ โครงการพัฒนาผูป้ ระกอบการธุรกิจอุตสาหกรรม (คพอ.) ได้กลายเป็นประเพณีการจัดงานมาอย่างต่อเนือ่ ง หลังจากทีส่ มาชิกได้รว่ ม อบรมเรียบร้อยแล้ว ซึ่งที่ผ่านมาการอบรมคพอ.ทั่วประเทศได้มีสมาชิก ผู้ประกอบการใหม่ๆ เข้ามาอบรมเป็นจ�านวนมาก โดยทีห่ ลักสูตรนีถ้ อื เป็น 16 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์

หลักสูตรที่มีความส�าคัญอย่างมาก ในการพัฒนาผู้ประกอบการ เพื่อน�า องค์ความรู้ไปขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ และสร้างการเชื่อมโยง ธุรกิจ การค้าระหว่างรุน่ พีแ่ ละรุน่ น้อง ทัง้ นีก้ ารปิดรุน่ แต่ละครัง้ ทีผ่ า่ นมา ยังไม่สมบูรณ์ ของความชัดเจนในรูปแบบการจัดงานที่เป็นมาตรฐาน จึงส่งผลกระทบต่อ ความสัมพันธ์ภายในกลุม่ ของสมาชิกผูเ้ ข้าอบรม ทัง้ รุน่ พีแ่ ละรุน่ น้องในทุกจังหวัด ที่เป็นเจ้าภาพในการจัดงาน ท�าให้เกิดผลเสียในหลายด้าน ดังนั้นเพื่อให้ งานปิดรุน่ ในอนาคต ลดความสูญเสียในหลายๆ ด้าน และมีรปู แบบการจัดงาน ที่มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลสูงสุดของสมาชิกคพอ.ทั่วประเทศที่ได้ สละเวลา เดินทางมาร่วมงานปิดรุ่นกันเป็นเวลาหลายวัน จึงเกิดแนวทางและ ข้อเสนอแนะงานปิดรุ่นคพอ.ที่สมาชิกคพอ.ส่วนหนึ่งได้เข้ามามีส่วนร่วมใน การแสดงความคิดเห็นดังนี้

กิจกรรมหลักของการปิดรุ่นคพอ. มี 3 กิจกรรม คือ 1. การศึกษาดูงาน 2. งานเลีย้ งปิดรุ่น 3. กิจกรรมท่องเที่ยว


สรุปข้อเสนอจากการรวบรวมข้อมูล มีดังนี้

• การจัดเตรียมการแสดงของรุ่นน้อง ควรให้เป็นหน้าที่ของรุ่นพี่มาด�าเนิน การและแนะแนวทางให้รุ่นน้อง • ในการปิดรุ่นแต่ละครัง้ ต้องให้แต่ละจังหวัดทีเ่ ป็นเจ้าภาพร่วมมาช่วยกัน ด�าเนินการจัดงาน ไม่ให้เป็นภาระหน้าทีข่ องจังหวัดใดจังหวัดหนึง่ เท่านัน้ • รุน่ พีค่ วรอยูร่ ว่ มสนุกภายในงานจนจบงาน เนือ่ งจากรุน่ น้องได้เตรียมการ จัดงานไว้เป็นอย่างดี • ของขวัญและของที่ระลึกที่รุ่นพี่มอบให้รุ่นน้อง ควรเปลี่ยนเป็นการ มอบเงินช่วยเหลือเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดงาน • งานปิดรุ่นควรใช้งบประมาณในการจัดงานที่ไม่มากเกินไป ควรก�าหนด กรอบค่าใช้จ่ายให้เป็นมาตรฐาน โดยเปิดให้มีการลงทะเบียนสมทบ ค่าใช้จ่ายด้านการจัดงานให้รุ่นน้อง • ควรมีกฎเกณฑ์การคัดเลือกคุณสมบัติของผู้ที่จะเข้ามาอบรมคพอ. ที่ชัดเจนและเข้มงวด • บุคคลที่ท�าหน้าที่ประธานรุ่นของการอบรมต้องเป็นบุคคลที่สามารถท�า หน้าที่บริหารจัดการงานเป็น สามารถเชื่อมโยงทุกฝ่ายได้ • รุ่นพี่ควรท�าหน้าที่พี่เลี้ยง แนะน�า การปิดรุ่น โดยมีส่วนร่วมในบางเรื่อง โดยให้รุ่นน้องเป็นตัวหลัก ในด้านประเพณีท้องถิ่นของ จังหวัด ภาค ซึ่ง ด้านพิธกี ารทีส่ า� คัญทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของสมาคม ATSME ควรเป็นหน้าที่ ของสมาคมกลางเป็นผู้รับผิดชอบ • รูปแบบการจัดงาน ให้เป็นแบบอบอุ่น เล็กๆ ไม่ต้องใหญ่มาก เป็นแนว งานรวมมิตรคพอ.พี่น้อง • สมาชิกหลายคนยังไม่เข้าใจวัตถุประสงค์งานปิดรุ่น จึงเกิดปัญหาข้อ ขัดแย้งมากมาย แทนที่จะเกิดการเชื่อมโยง ความสามัคคี แต่กลาย เป็นการสร้างความไม่เข้าใจภายในกลุ่ม • จ�าเป็นต้องก�าหนดวัตถุประสงค์งานปิดรุ่นที่เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่ว ประเทศ โดยมีรุ่นพี่เข้ามามีส่วนร่วมตั้งแต่การรับสมัครไปจนถึงการเข้า อบรม • จ�าเป็นต้องก�าหนดวัตถุประสงค์ของการมาอบรมคพอ.ที่เป็นมาตรฐาน เนื่องจากที่ผ่านมากรมส่งเสริมเป็นผู้ก�าหนด ซึ่งเน้นปริมาณมากกว่า คุณภาพ โดยการอบรมจะเป็นการร้องขอ เชิญผูป้ ระกอบการเข้ามาอบรม เพื่อให้ได้จ�านวนตามที่ต้องการ มากกว่าเน้นคุณภาพ

• การลอดซุ้มธง คพอ.เป็นสัญลักษณ์และเป็นประเพณีที่ต้องมี ในงานปิดรุ่น • กิจกรรมที่จัดควรใช้เวลาไม่มาก แต่ให้เป็นกิจกรรมที่เกิด ความผูกพันกัน • เสนอให้จัดการสัมมนาก่อนงานเลี้ยง • วันปิดรุ่น สมาชิกที่เรียนจบควรมีชื่ออยู่ในทะเบียนของสมาคม เพื่อให้รุ่นพี่ได้รู้จัก • งานปิดรุ่นต้องเป็นนโยบายหลักอันดับต้นๆ ของสมาคมที่ต้อง เข้ามาช่วยคิดและก�าหนดทิศทางให้เป็นมาตรฐาน • การจัดการอบรมคพอ. ควรเป็นหน้าที่ของสมาคมกลาง เป็น ผู้รับผิดชอบ • ให้ดูศึกษาข้อมูลสวนกุหลาบโมเดล ที่รุ่นพี่รุ่นน้องเชื่อมโยงกัน ได้ดี • ควรจัดกิจกรรม CSR ให้รุ่นพี่รุ่นน้องมาร่วมกิจกรรม ช่วยเหลือ สังคมด้วยกัน เพื่อให้สมาชิกได้รู้จักกันมากขึ้นก่อนงานเลี้ยง ตอนเย็น • พิธีมอบวุฒิบัตร ควรจัดช่วงเวลาให้เหมาะสม เนื่องจากการ มอบวุฒบิ ตั รจัดในช่วงก่อนงานเลีย้ งเย็น ท�าให้รนุ่ น้องต้องกังวล ในการรับวุฒิบัตรและรับผิดชอบการจัดงานในตอนเย็น • ควรก�าหนด คุณสมบัติของสมาชิกที่จะมาอบรมคพอ. ไว้อย่าง ชัดเจน และเข้มงวดในการคัดเลือกบุคคล

ความคิดเห็นเบื้องต้นนี้ เป็นเพียงส่วนหนึ่งของสมาชิกคพอ. ทีไ่ ด้ชว่ ยกันแสดงความคิดเห็นต่องานปิดรุน่ คพอ. ทีจ่ ะสามารถ ผลักดัน และเกิดผลเป็นรูปธรรม เป็นกฎเกณฑ์ ทีไ่ ด้มาตรฐาน เพื่อการพัฒนาผู้ประกอบการไทย ได้อย่างแท้จริง นับจากนี้ จึงเป็นหน้าที่ของสมาชิกทุกคนที่จะมีส่วนร่วมในการผลักดัน แนวทาง และทิศทาง การจัดงานปิดรุ่น ให้ได้มาตรฐาน ตรงตามวัตถุประสงค์ และใช้งบประมาณที่เหมาะสม ได้ เหมือนกันทั่วประเทศ โดยจะน�าความคิดเห็นเหล่านี้ให้ ฝ่ายบริหารสมาคม ATSME เพือ่ ก�าหนดวัตถุประสงค์และเป็น นโยบายต่อไปในอนาคต ฉบับปฐมฤกษ์ 17


Special Event

ในทีส่ ดุ ก็ถงึ เวลาอันสมควรในการจัดพิธปี ิดรุ่นแด่เหล่าคพอ.น้องใหม่ป้ายแดงทัง้ 5 รุ่น อันได้แก่ ศรีสะเกษ 254, นครราชสีมา 255, สกลนคร 256, เลย 257 และสุรินทร์ 258 พิธีปิดรุ่นครั้งนี้ จัดขึ้นเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2556 โดยยกพลพรรคข้ามน�้าข้ามทะเลไปถึงเกาะ กลางน�า้ สวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา เกาะห้วยน�้าค�า จังหวัดศรีสะเกษ ผู้เป็นเจ้าภาพหลักของพิธีปิดรุ่นครั้งนี้ งานเริ่มต้นด้วยการแสดงฟ้อนร�าประกอบดนตรีกลิ่นอายแบบชาวอีสานแท้ๆ ให้ได้ ครึกครื้น ก่อนจะเชิญคุณสัตยา วราพฤกษ์ ประธานคพอ. จังหวัดศรีสะเกษกล่าวรายงาน และได้รบั เกียรติกล่าวเปิดงานโดยท่านรองผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ ท่านสนิท ขาวสอาด เมือ่ พิธเี ปิดเริม่ ต้น ล�าดับถัดมาพิธลี อดซุ้มธงตามธรรมเนียมโดยมีร่นุ พีค่ พอ.ทีเ่ ข้าร่วมงานเป็น ผูถ้ อื ธงท�าซุม้ ให้รนุ่ น้องคพอ. ได้ลอดผ่านไปเป็นคพอ.โดยสมบูรณ์ และได้รบั การกล่าวต้อนรับ จากนายกสมาคมคพอ. คุณหญิงเพ็ญทิพย์ พรจะเด็ดอย่างอบอุ่น เสร็จสิน้ พิธกี าร ความสนุกจากโชว์พเิ ศษของแต่ละจังหวัดก็เรียงคิวเข้าสร้างบรรยากาศ ให้ครื้นเครง เริ่มต้นด้วยแฟชั่นโชว์เสื้อผ้าและชุดตุ๊กตาหมี ร้านTeddy Bar De Chiangkhan จากคพอ. เลย ที่งานนี้มีประมูลตุ๊กตาหมีคู่ใหญ่เป็นที่ระลึก

18 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


ฮาตามมาติดๆ ด้วยโชว์ของคพอ.นครราชสีมา แสดงละครวรรณคดีย้อนยุคเรื่องดัง “จันทโครพ” ในเวอร์ชั่นเรียกเสียงฮาน�้าตาไหล จบแบบหักมุมคาดไม่ถึง และแถมท้ายด้วย ฮาเร็มเชคเรียกเสียงฮาแบบคูณสอง ก่อนจะพักเบรคกันกรามค้างด้วยการประมูลภาพวาดของอาจารย์ต้นน�้า คงฤทธิ์ หลาวทอง ศิลปินระดับโลกทีย่ กผลงาน “ความเพียร” ทีบ่ อกเล่าถึงความพากเพียรผ่านรูปภาพ เด็กเลี้ยงช้างที่นั่งอ่านหนังสืออยู่บนหลังช้าง มีมูลค่ากว่า 2 ล้านบาท มาให้พี่น้องชาวคพอ. ได้ประมูลด้วยมูลค่าเริ่มต้นที่ 10,000 บาท และปิดการประมูลไปด้วย 220,000 บาท จาก ประธานคพอ.จังหวัดศรีสะเกษ ความสนุกสนานสานต่อด้วยโชว์รอ้ งเพลงจากคพอ.สุรนิ ทร์ทงี่ านนีจ้ ดั หนักจัดใหญ่แบบ เมดเล่ย์ สาวขอนแก่น ฮาเร็มเชคตบท้ายด้วยกินตับ ขาแดนซ์ลุกขึ้นเต้นอย่างเมามัน ก่อน จะเชิญประธานคพอ. แต่ละจังหวัดขึน้ มาร่วมกิจกรรมเต้นคู่กบั สาวร�าวงให้เหล่าสมาชิกคน อืน่ ๆ ซือ้ ดอกไม้ให้กบั ประธานทีถ่ กู ใจ งานนีใ้ ครได้เยอะสุดมีรางวัลพิเศษจากสาวร�าวงด้วย คพอ.ศรีสะเกษมาด้วยโชว์สั้นๆ สนุกจัดเต็มกับเพลงและเหล่าหางเครื่อง ก่อนส่งต่อให้ คพอ.สกลนครที่พา 20 สาวสวยแห่งคพอ.สกลนครมาพร้อมรายการแห่งหนุ่มโสดสาว สวยชื่อดังมาจัดสดๆ บนเวทีด้วยโชว์ Take me out คพอ. ให้ฟินกันเป็นแถวๆ และปิดท้ายด้วยการแสดงของคพอ. สุราษฎร์ธานี ระบ�าชาวเกาะถือพู่สีสวยในโชว์ชุด Paradise of สุราษฎร์ธานีตลอดทั้งพิธีมีการจับฉลากแจกรางวัลมากมาย

ความสนุกถูกส่งมอบจนยิ้มแย้มกันทั่วหน้า ในที่สุดก็เข้าสู่พิธีส�าคัญสุดท้ายที่นายก สมาคมคพอ. เพ็ญทิพย์ พรจะเด็ด จะส่งมอบธงให้ประธานคพอ. ศรีสะเกษ เพื่อให้ส่งมอบในงานปิดรุ่นครั้งต่อไป ในช่วงสุดท้ายของพิธีปิดรุ่น เหล่าสมาชิกคพอ. ร่วมกันจุด เทียนชัยถวายพระพรและร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี จบพิธปี ิดรุ่น ศรีสะเกษด้วยความอิ่มเอมของทุกๆ คน หลังปิดงานยังมีทริปเที่ยวที่ทางศรีสะเกษจัดให้ทั้งทัวร์และ แรลลี่ พาตระเวนเทีย่ วทัง้ ช่องเม็ก ปากเซ น�า้ ตกตาดผาล้อม อุทยาน แห่งชาติดงหัวลาว น�า้ ตกหลีผ่ ี และอีกหลายทีต่ ลอด 3 วันสุดหรรษา นี่คือความสนุกสุดมันของงานปิดรุ่นคพอ. ครั้งนี้

ฉบับปฐมฤกษ์ 19


20 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


What’s on

THAI SMEs TRADE CLUSTER เชื่อมเครือข่ายการค้า-ลงทุนสู่สากล ควำมเป็นมำ

ปัจจุบนั ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยประกอบด้วยธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดเล็กมากกว่าร้อยละ 90 ของธุรกิจทั้งประเทศ โดยมีการจดทะเบียน เป็นจ�านวนมากกว่า 2 ล้านราย ก่อให้เกิดการจ้างงานคิดเป็นร้อยละ 76 ของทัง้ หมด และยังช่วยกระจายรายได้ในอีกหลายกลุ่ม ดังนัน้ ธุรกิจ SME จึงมีบทบาทส�าคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ฉบับปฐมฤกษ์ 21


การขยายกิจการเติบโตจนสามารถส่งออกสินค้า ไปแข่งขันในตลาด ต่างประเทศได้จงึ เป็นความฝันของผู้ประกอบการ SMEs ซึง่ ปัจจุบนั มีเพียง ร้อยละ 26 เท่านัน้ ทีเ่ ป็นการส่งออกจากภาค SMEs ของไทย ทัง้ นีใ้ นปัจจุบนั เทคโนโลยี Logistics และการสือ่ สารทีก่ ้าวหน้าท�าให้การติดต่อหาคูค่ ้าจาก ทั่วทุกมุมโลก เป็นไปได้ง่ายและมีค่าใช้จ่ายน้อยลงกว่าแต่ก่อน ขณะที่ การเปิดประชาคมเสรีเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปีพ.ศ. 2558 นับเป็น จุดเปลี่ยนครั้งส�าคัญที่สามารถสร้างโอกาสการเปิดตลาดสู่ต่างประเทศ ของผู้ประกอบการ SMEs แต่สถิติและผลส�ารวจจากหลายหน่วยงานกลับบ่งชี้ว่า SMEs ไทยยังขาด ความพร้อมในภาคการส่งออก ผลส�ารวจ ของศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัย หอการค้าไทยระบุวา่ ในปี พ.ศ. 2555 มีผปู้ ระกอบการ SMEs เพียงร้อยละ 56 เท่านัน้ ที่ “พร้อม” ต่อการท�าธุรกิจในตลาด AEC ซึง่ เพิม่ ขึน้ เพียงร้อยละ 5 จากปีกอ่ นหน้านัน้ จึงนับเป็นความท้าทายของผูป้ ระกอบการธุรกิจ SMEs ทีม่ คี วามต้องการขยายตลาดของตนเอง เพราะสินค้าจากประเทศไทยเป็น ที่ยอมรับอย่างมากในต่างประเทศ

22 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์

แนวคิดการรวมกลุ่มแบบ Cluster เป็นรูปแบบของธุรกิจและอุตสาหกรรม ทีไ่ ด้รบั ความนิยมมากในต่างประเทศ ส�าหรับประเทศไทยนัน้ Cluster ก�าลัง ได้รบั ความสนใจจากนักลงทุน เนือ่ งจากเป็นรูปแบบทีท่ �าให้ธรุ กิจมีพนั ธมิตร มากขึน้ เพราะเป็นการรวมกลุ่มของวิสาหกิจทีจ่ ะท�าให้เกิดความช่วยเหลือ เกื้อกูลกันท่ามกลางการแข่งขัน จึงต้องมีการปรับตัวเพื่อเป็นการเพิ่มขีด ความสามารถในเวทีการค้าระดับโลก ซึ่งรูปแบบการท�างานในลักษณะ ของการรวมกลุ่มวิสาหกิจ จะเป็นกลไกส�าคัญที่ช่วยพัฒนาให้การท�างาน ของนักลงทุนที่รวมตัวกันมีศักยภาพและความยั่งยืนแบบถาวร และ ด�าเนินการในรูปแบบ Trading Cluster ซึ่งสิ่งที่กลุ่มคลัสเตอร์จะได้รับประโยชน์จากความร่วมมือกันก็คือ การลด ต้นทุนการผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพของการให้บริการ เมื่อมีปัญหาเกิด ขึ้นก็จะได้รับการแก้ไขจากเครือข่ายภายในกลุ่มทันที โดยเฉพาะเรื่องค่า ใช้จ่ายซึ่งจะท�าให้ประหยัดมากขึ้น เช่น ค่าขนส่ง ค่าใช้จ่ายรายเดือน ฯลฯ เนื่องจากการร่วมมือจะเป็นการแบ่งหน้าที่กันท�างานอย่างชัดเจน ผ่าน กระบวนการ Supply Chain ตั้งแต่ต้นน�า้ กลางน�้า จนถึงปลายน�า้


ดังนัน้ การจัดตัง้ THAI SMEs TRADE CLUSTER หรือเครือข่ายกลุม่ ผูป้ ระกอบ การวิสาหกิจ SMEs ไทย จึงเกิดขึ้นเพื่อสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ที่จะเป็นศูนย์รวมของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กของไทย (SMEs) อันจะให้เกิดความร่วมมือ เกื้อหนุน เชื่อมโยง และเสริมกิจการซึ่ง กันและกันในการท�าธุรกิจภายในและต่างประเทศ ผ่านการน�าเสนอข้อมูล ข่าวสารเชื่อมโยงเชิงลึก และการจัดกิจกรรมที่ตรงกับความต้องการ และ การสร้างโอกาสทางธุรกิจการค้า การลงทุน และภาคอุตสาหกรรมของไทย ในอนาคตต่อไป

วิสัยทัศน์องค์กร THAI SME TRADE CLUSTER คลัสเตอร์กำรค้ำเอสเอ็มอีไทย

เป็นองค์กรเครือข่ายวิสาหกิจสมัยใหม่เน้นการผลักดันและพัฒนาธุรกิจให้ สมาชิกทัง้ ในประเทศและต่างประเทศอย่างมีทศิ ทางเพือ่ ความส�าเร็จในเชิง การค้าที่วัดผลส�าเร็จได้

ฉบับปฐมฤกษ์ 23


วัตถุประสงค์

1. เพือ่ เป็นศูนย์รวมของผูป้ ระกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กของ ไทย (SMEs) อันจะให้เกิดความร่วมมือ เกื้อหนุน เชื่อมโยง และ เสริมกิจการซึ่งกันและกันในการท�าธุรกิจภายในและต่างประเทศ 2. เพื่อหาช่องทาง โอกาสการค้าภายในและต่างประเทศให้สมาชิก ได้เพิ่มยอดขาย และลดต้นทุน 3. เพื่อร่วมมือและบูรณาการกับหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่ เกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน

พันธกิจ

1. พัฒนาฝึกอบรมสมาชิกให้มคี วามรูค้ วามสามารถในการค้าขาย อย่างมีประสิทธิภาพ 2. พัฒนาช่องทางการค้าให้สมาชิกได้มโี อกาสค้าขายทัง้ ในและ ต่างประเทศอย่างมีผลสัมฤทธิ์ 3. พัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจโดยใช้แนวคิดสมัยใหม่ เพื่อความ ส�าเร็จในเชิงการค้าที่วัดผลส�าเร็จได้ 4. สร้างองค์กรให้มีเข้มแข็ง โดยมีทิศทางและแผนปฏิบัติการ องค์กรที่ชัดเจน

กลยุทธ์

1. การมุ่งเน้นพัฒนาบุคลากร SMEs โดยใช้เครื่องมือที่ทันสมัย และสอดคล้องกับสถานการณ์ 2. การพัฒนาการสื่อสารภายในองค์กรเครือข่ายผ่าน วารสาร Thai SME News , ระบบสารสนเทศ, ประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ และสร้างความแตกต่างในเชิงการบริหารการจัดการ 3. การเปิดโอกาสให้สินค้า บริการสมาชิกเข้าสู่ตลาดทั้งการค้า ในและต่างประเทศ ผ่านช่องทางหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ที่เกี่ยวข้อง 4. การมุ่งเน้นการติดตามประเมินผลอย่างใกล้ชิดพร้อมการ ปรับตัว อย่างมีกรอบเวลาและแผนงานตามยุทธศาสตร์ และ แผนปฏิบัติการขององค์กร

24 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


Special Event

ในช่วงปลายเดือนมีนาคมที่ผ่านมา คพอ. ทั่วประเทศได้มีโอกาส เข้าร่วมกิจกรรมงานพิธีปิดรุ่น คพอ. ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในวันที่ 29 มีนาคม 2556 โรงแรมไดมอนด์ ห้องประกายเพชรา และ 2 ของรุ่นน้อง ภาคใต้ 3 จังหวัด ได้แก่ สุราษฎร์ธานี 259, กระบี่ 260 และ ยะลา 261 หลังจากที่ได้อบรมและเข้าละลายพฤติกรรมตามหลักสูตร คพอ. เป็นที่ เรียบร้อยรุ่นน้องทั้ง 3 รุ่น ต้องจัดพิธีปิดรุ่นตามประเพณี คพอ. ส�าหรับใน ครัง้ นี้ ทางสุราษฎร์ธานีได้เป็น เจ้าภาพหลักและมีเจ้าภาพร่วมคือกระบีแ่ ละ ยะลาในการจัดงานปิดรุ่นและยังมีรุ่นพี่ๆ ทั้งในจังหวัดสุราษฎร์ฯ รุ่นพี่ๆ ภาคใต้ จังหวัดอื่นๆ ให้การสนับสนุน ทั้งด้านงบจัดเลี้ยง, อาหาร, สถานที่ และค�าปรึกษาค�าชีแ้ นะทีม่ คี ณ ุ ค่าส�าหรับน้องๆ เป็นอย่างมากในการจัดงาน “พิธีปิดรุ่น สุราษฎร์ฯ 259 / กระบี่ 260 / ยะลา 261” ทั้งนี้งานจะเสร็จลุล่วงไปด้วยดีไม่ได้หากขาดการท�างานเป็นทีม เวิร์ค ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายจัดหาสปอนเซอร์ เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัด งาน, ฝ่ายตกแต่งสถานที,่ ฝ่ายอาหาร, ฝ่ายพิธกี รด�าเนินงานและยังมี staff ทั้ง 3 รุ่นเพื่อดูงานภาพความเรียบร้อยภายในงาน ฉบับปฐมฤกษ์ 25


เพื่อสร้างสีสันความสนุกในงาน การต้อนรับที่ สร้างบรรยากาศเป็นกันเองอย่างอบอุน่ ท�าให้งานพิธปี ดิ รุน่ คึกคักมากยิง่ ขึน้ ภายในงานยังมีแบ่งโซนในการรับรอง แขกเป็น 2 ช่วง ก่อนเปิดประตูเข้าสู่งานภายใน ด้าน หน้าจะมีโต๊ะลงทะเบียนรับสมาชิกที่มาภายในงาน ฉากถ่ายรูปหลากหลายอารมณ์หลายแบบให้แขกผู้ร่วมงานได้ถ่ายภาพ ร่วมกันทั้งหมด 5 จุด และจุดรับแลกคูปองเพื่อรับของที่ระลึก

ก่อนเวลาเริ่มงานทางเจ้าภาพสุราษฎร์ธานีจัดเวที Mini FOLK SONG กับ Soft drink และ Appetizers เพือ่ รับรองแขกทีม่ าก่อนถึงเวลาเปิดประตูเข้าสูง่ าน เมือ่ ถึงเวลาพิธเี ปิดประตูมกี ารแสดงสีสนั แห่งท้องทะเล น�าแขกเข้าด้านในของงานตามด้วยการจับผู้โชคดี 5 คนสุดท้ายเหมือนตอนอบรม คพอ. (ช้า/สายโดนปรับ) เพื่อเป็นการทักทายแขกที่เข้าร่วมงานและพร้อมเสิร์ฟอาหารทะเลที่ ขึ้นชื่อของสุราษฎร์ธานีรวมถึงอาหารที่ดังในจังหวัด ใกล้เคียงอีกมากมายหลายชนิดให้ผเู้ ข้าร่วมงานได้เลือก รับประทาน

26 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


เริม่ เข้าสูพ่ ธิ เี ดินลอดซุม้ ธงเพือ่ เป็นสิรมิ งคล ของรุน่ น้อง สุราษฎร์ฯ 259 กระบี่ 260 / ยะลา 261 หลังจากนั้นเริ่มการแสดงชุดต่างๆ ของรุ่นน้องทั้ง 3 รุ่น เป็นที่ตื่นตาตื่นใจสร้างรอยยิ้มให้กับแขก ผู้มาเยือน ชุดแรกเป็นของรักจับใจ จากยะลา / ร�าอวยพร จากกระบี่ และโอ้ละหนอเวอร์ชนั่ ภาคใต้ จากสุราษฯ ต่อด้วยร�าวงเวียนครก เป็นทีส่ นุกสนาน มาร่วมเต้นโชว์ลีลาท่าทางอย่างไม่มีใครยอมใคร จากนัน้ เข้าสู่พธิ มี อบธงซึง่ เป็นประเพณีทรี่ ่นุ พีต่ ้อง มอบธงให้รุ่นน้องเพื่อจัดพิธีปิดรุ่นในครั้งนี้ต่อไป นัน่ ก็คอื จังหวัดพิษณุโลก ในเดือนมิถนุ ายน 2556 เป็นการปิดพิธีปิดรุ่นอย่างเป็นทางการ

นอกจากพิธีปิดรุ่นแล้วทางสุราษฎร์ธานีได้จัดเตรียมทริปเที่ยวเขื่อนเชี่ยวหลานตั้งแต่สมาชิก คพอ. มาถึงสุราษฎร์ฯ วันแรกและในวันก่อนจะกลับได้มีโอกาสพาไปเที่ยวชมหมู่เกาะอ่างทองในวันรุ่งขึ้น ออกรถจากโรงแรมนั่งเรือจากท่าเรือ ดอนสัก ไปหมู่เกาะอ่างทองที่ขึ้นชื่อว่าทะเลสวยใสหาดทรายขาวที่ไม่แพ้ที่ไหนในโลก พร้อมปาร์ตี้ริมหาดขนอมและรุ่งเช้า ในวันถัดมาก่อนส่งชาว พคอ. กลับแวะดูงานที่สินมานะฟาร์ม ฟาร์มหอยนางรม ที่ใหญ่ที่สุดในสุราษฎร์ธานีพร้อม รับประทานอาหารเที่ยงกลางทะเลที่เรียกได้ว่าดื่มด�่ากับบรรยากาศโดยรอบ ต้องขอขอบคุณชาว คพอ. ทั่วประเทศ ที่มาเป็นเกียรติแก่รุ่นน้องภาคใต้ทั้ง 3 จังหวัด สุราษฎร์ฯ 259 / กระบี่ 260 / ยะลา 261 และหวังว่าพวกเราชาว คพอ. คงจะมีโอกาสพบกันที่งานปิดรุ่นจังหวัดพิษณุโลก โชคดีแล้วพบกันใหม่ค่ะ •

ฉบับปฐมฤกษ์ 27


Marketing Strategy

SMEs Start-Up Business ถึงเวลำธุรกิจร้ำนกำแฟต้องปรับตัวครั้งใหญ่

ร้านกาแฟ เป็นธุรกิจที่อยู่คู่กับวิถีชีวิตของคนไทยมาอย่างยาวนาน จาก กระแสความนิยมดืม่ กาแฟในระยะทีผ่ ่านมาได้ส่งผลให้ธรุ กิจร้านกาแฟใน ประเทศไทยขยายตัวอย่างรวดเร็ว ทั้งร้านกาแฟแบบรถเข็น คีออสก์ และ ร้านกาแฟแบบมีที่นั่ง เพื่อรองรับกลุ่มลูกค้าจ�านวนมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ยังพบว่าต้นทุนการประกอบธุรกิจร้านกาแฟมีแนวโน้มสูงขึ้น ในขณะที่ ราคาขายกาแฟต่อแก้วถูกจ�ากัดด้วยสภาพการแข่งขันระหว่างผู้ประกอบ การและก�าลังซื้อของลูกค้า

28 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์

ศูนย์วจิ ยั กสิกรไทย ได้ประเมินสภาพตลาดธุรกิจร้านกาแฟในประเทศไทย ทั้งในมุมมองด้านสภาพการแข่งขันของผู้ประกอบการ และมุมมองด้าน พฤติกรรมของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงไป พบว่า ผู้ประกอบการธุรกิจร้าน กาแฟขนาดกลางและขนาดเล็กรายใหม่เข้าสู่ตลาดจ�านวนมาก ร้านกาแฟ ที่เป็นเครือข่ายธุรกิจขนาดใหญ่ขยายสาขามากขึ้น ผู้ประกอบการธุรกิจ ร้านกาแฟได้รับผลกระทบจากการแข่งขันของเครื่องดื่มประเภทอื่น เช่น น�้าอัดลม เครื่องดื่มชูกา� ลัง เครื่องดื่มบ�ารุงสมอง ชาเขียว ชาไข่มุก น�า้ ผัก น�้าผลไม้ Functional Drink เป็นต้น รวมถึงพฤติกรรมของผู้คนในสังคม เปลี่ยนแปลงไป น�ามาซึ่งความจ�าเป็นในการปรับตัวส�าหรับการประกอบ ธุรกิจของผู้ประกอบการธุรกิจร้านกาแฟ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผู้ประกอบการ ธุรกิจร้านกาแฟขนาดกลางและขนาดเล็ก ทีเ่ ราจะเห็นได้วา่ มีผปู้ ระกอบการ ที่สามารถประกอบธุรกิจและสร้างผลก�าไรได้ระยะยาวจ�านวนไม่มากนัก แต่ในขณะเดียวกัน สถานการณ์ดังกล่าว ก็ได้ก่อให้เกิดโอกาสทางธุรกิจ ส�าหรับผู้ประกอบการธุรกิจร้านกาแฟขนาดกลางและขนาดเล็กที่มี ความยืดหยุ่นในการปรับกลยุทธ์การประกอบธุรกิจ และมีความสามารถ ในการเจาะตลาดเฉพาะกลุ่ม


ผู้ประกอบการธุรกิจร้านกาแฟแบบรถเข็นและคีออสก์ ควรเพิ่มเมนูกาแฟ ให้หลากหลาย เพือ่ เป็นทางเลือกส�าหรับลูกค้าและสร้างความแตกต่างจาก ผู้ประกอบการรายอื่น โดยวางต�าแหน่งในการเป็นร้านกาแฟที่มีความ คุ้มค่าและควบคุมต้นทุนโดยหา Supplier ที่สามารถจัดส่งวัตถุดิบ และ อุปกรณ์ที่มีคุณภาพในระดับราคาที่ไม่สูงนัก อีกทั้งควรหาท�าเลใหม่ๆ เพื่อ หลีกเลีย่ งการแข่งขันทีร่ นุ แรงและสร้างภาพลักษณ์ในการเป็น First Mover นอกจากนี้ การส่งเสริมการขายของร้านกาแฟแบบรถเข็นและคีออสก์ควร เป็นไปในลักษณะของการจูงใจให้ลูกค้าได้รับส่วนลดทันทีเพื่อกระตุ้น การซื้อของลูกค้า ในส่วนของ ผู้ประกอบการธุรกิจร้านกาแฟแบบมีทนี่ งั่ ควรก�าหนดต�าแหน่ง การแข่งขันของร้านในการเป็นศูนย์รวม หรือ Community ของกลุ่มคนที่ ให้ความสนใจกิจกรรมหรืองานอดิเรกประเภทต่างๆ โดยผูป้ ระกอบการต้อง เพิ่มรูปแบบของกาแฟที่หลากหลายให้ครอบคลุมความต้องการของลูกค้า ที่แตกต่างกัน น�าเสนอถึงความคุ้มค่าในการให้บริการที่เทียบเท่ากับ ร้านกาแฟทีเ่ ป็นเครือข่ายธุรกิจขนาดใหญ่ ในขณะทีต่ งั้ ราคากาแฟในระดับ ต�่ากว่า และให้บริการอย่างเป็นกันเองกับลูกค้า นอกจากนี้ ผู้ประกอบการ อาจพิจารณาท�าเลใหม่ๆที่ผู้ประกอบการธุรกิจร้านกาแฟที่เป็นเครือข่าย ธุรกิจขนาดใหญ่ยงั เข้าไม่ถงึ หรือไม่มคี วามคุ้มค่าในการขยายสาขา รวมถึง จัดกิจกรรมส่งเสริมการขายให้มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น

โดยสรุปแล้วการปรับตัวผูป้ ระกอบการธุรกิจร้านกาแฟแบบรถเข็นและคีออสก์ ควรเพิ่มเมนูกาแฟให้หลากหลาย เพื่อเป็นทางเลือกส�าหรับลูกค้าและ สร้างความแตกต่างจากผู้ประกอบการรายอืน่ โดยวางต�าแหน่งในการเป็น ร้านกาแฟที่มีความคุ้มค่าและควบคุมต้นทุนโดยหา Supplier ที่สามารถ จัดส่งวัตถุดิบ และอุปกรณ์ที่มีคุณภาพในระดับราคาที่ไม่สูงนัก อีกทั้งควร หาท�าเลใหม่ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงการแข่งขันที่รุนแรงและสร้างภาพลักษณ์ใน การเป็น First Mover นอกจากนี้ การส่งเสริมการขายของร้านกาแฟแบบ รถเข็นและคีออสก์ควรเป็นไปในลักษณะของการจูงใจให้ลกู ค้าได้รบั ส่วนลด ทันทีเพื่อกระตุ้นการซื้อของลูกค้า

แหล่งที่มำของข้อมูล

• www.ksmecare.com • สถานการณ์กาแฟ (ที่มา: กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวง พาณิชย์) • ไทยแฟรนไชส์เซ็นเตอร์ (ทีม่ า: http://www.thaifranchisecenter. com) • Euromonitor International (ที่มา: www.euromonitor.com) • ‘เขาช่อง’ ชงแคมเปญกระตุ้นยอด (ที่มา: ฐานเศรษฐกิจ 13-16 พฤษภาคม 2555) • 3 ยักษ์ใหญ่ท้าชน สมรภูมิ “กาแฟสด” (ที่มา: กรุงเทพธุรกิจ 22 สิงหาคม 54)

ฉบับปฐมฤกษ์ 29


Alternative Energy

พลังงานทางเลือก

และแนวทางการสนับสนุนจากรัฐ บทความโดย เกศสิริ จุฑานันท์

ผลพวงที่เกิดจากสภาวะโลกร้อน การเกิดวิกฤติผันผวนของฤดูกาลและ มหันตภัยที่เกิดขึ้นทั่วโลก ที่ไม่สามารถควบคุมและป้องกัน ได้สร้างความ เดือดร้อนสูญเสียแก่ชาวโลกมากมายอยู่บ่อยๆ มหันตภัยดังกล่าวเกิดจาก การที่มนุษย์ใช้พลังงานธรรมชาติที่ก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและ ใช้อย่างเกินสมดุล ท�าให้หลายๆ ฝ่ายเริม่ ตระหนักถึงภัยร้ายแรงทีจ่ ะกระทบ ถึงจึงเริม่ มองหาหนทางแก้ไขและเริม่ เห็นถึงความจ�าเป็นในการร่วมมือกัน ทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชุมชนจนถึงระดับโลก โดยเฉพาะรัฐบาลของทุก ประเทศและผู้ประกอบการธุรกิจการผลิตรายใหญ่ ทีต่ ้องเตรียมแก้ปัญหา สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ และการขาดแคลนพลังงาน ซึ่งบุคคลทั่วไปส่วนใหญ่ คงจะยังไม่ค่อยทราบและให้ความสนใจเท่าที่ควร จากปัญหาดังกล่าว รัฐบาลจึงได้จัดโครงการต่างๆ ขึ้นเพื่อสนับสนุนและ รณรงค์ให้มีการใช้พลังงานทางเลือกมากขึ้น โดยเฉพาะหน่วยงานที่รับผิด ชอบโดยตรงเช่นกรมพัฒนาพลังงานทดแทน มีโครงการสนับสนุนเงินให้ เปล่าจ�านวนถึง 30-60 % แก่ผู้ลงทุนใช้เครื่องท�าน�้าร้อนหรือโรงอบแห้ง พลังแสงอาทิตย์ หรือการที่กระทรวงอุตสาหกรรมหรือกรมโรงงานจัดตั้ง “หน่วยนวัตกรรม” สนับสนุนทุนให้มีการคิดค้นเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้า ด้วยพลังงานทางเลือก เช่นจากกระแสน�้า จากแสงอาทิตย์หรือเชื้อเพลิง จากเศษวัสดุ เศษไม้ แกลบ ขยะที่เรียกว่า “เชื้อเพลิงชีวมวล” เป็นต้น อีกแนวทางที่รัฐสนับสนุนให้มีการใช้พลังงานทางเลือก เช่น โครงการ รับซื้อกระแสไฟจากโรงไฟฟ้าเอกชน ในราคาที่สูงกว่าราคาที่รัฐขายให้กับ โรงงานอุตสาหกรรมหรือประชาชน โดยที่การสร้างโรงไฟฟ้านั้น ต้องใช้ เชื้อเพลิงในการผลิตจากพลังงานทางเลือกเท่านั้นน่าเสียดายที่โครงการ เหล่านี้แม้จะมีการเผยแพร่ทางสื่อ หรือมีหนังสือเชิญชวนแล้ว แต่

ผู้ประกอบการหรือบุคคลภายนอกส่วนใหญ่ไม่ค่อยทราบและไม่ค่อยมี ผูส้ นใจอย่างจริงจัง อาจจะเป็นเพราะทางรัฐมีขอ้ จ�ากัดในการประชาสัมพันธ์ หรืออาจจะเป็นเพราะรัฐมีข้อก�าหนดในการสนับสนุนทีเ่ ต็มไปด้วยเงื่อนไข เกี่ยวกับด้านเทคนิคมากเกินไป และผู้ที่มีความรู้ทางด้านช่างเท่านั้นที่ สามารถกรอกแบบฟอร์มการขอได้ อย่างไรก็ตามในทางกลับกันอาจเป็นเพราะทางรัฐมีนโยบายสนับสนุนก็ เพียงเพือ่ ให้มกี ารริเริม่ ใช้พลังงานทางเลือกให้เป็นตัวอย่าง เมือ่ ทุกฝ่ายเห็น ผลการประหยัดทีเ่ กิดขึน้ ก็จะท�าตาม ถึงเวลานัน้ รัฐก็ไม่จา� เป็นต้องรณรงค์ สนับสนุนอีกต่อไป การใช้พลังงานทางเลือกโดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงาน สะอาด ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะ แสงแดดไม่ต้องซื้อหา ไม่ขึ้นราคา ไม่มีวัน หมดและทุกคนมีสทิ ธิใช้เท่าเทียมกัน โดยเฉพาะในประเทศไทยมีแสงแดด เหลือเฟือและตลอดเวลา แม้จะมีค่าใช้จ่ายในการลงทุนครั้งแรกและอาจ จะมีอกี เล็กน้อยในการบ�ารุงรักษาหรือจากไฟส�ารองทีใ่ ช้เมือ่ แสงแดดไม่พอ เช่นฝนตกต่อเนื่องหรือแดดไม่จัดในฤดูหนาว แต่เมื่อถึงระยะคืนทุนแล้วก็ เท่ากับได้ใช้ไฟฟ้าฟรีเป็นสิบๆ ปี เฉพาะโรงงานใหญ่ที่ใช้ไฟเดือนละหลาย ล้านบาท ก็จะเป็นการประหยัดเงินอย่างมหาศาลทีเดียว นอกเหนือจาก คุณประโยชน์ดังกล่าว การใช้พลังงานทดแทนชนิดนี้ยังช่วยลดภาวะโลก ร้อน ช่วยให้บรรยากาศของโลกสะอาด ลดความเสี่ยงในการใช้พลังงาน อย่างน�า้ มัน ถ่านหิน ทีน่ บั วันจะหมดลงเรือ่ ยๆ ราคาก็จะยิง่ แพงขึน้ ในขณะ ทีย่ งั มีความจ�าเป็นต้องใช้ อีกทัง้ ยังเป็นการช่วยเหลือภาครัฐให้ใช้เงินภาษี ไปพัฒนาด้านอืน่ ๆ ไม่ตอ้ งน�าไปลงทุนสร้างโรงไฟฟ้าเพิม่ ทีต่ อ้ งใช้งบประมาณ จ�านวนมหาศาลอีกด้วย

สนับสนุนข้อมูลพลังงานทางเลือกโดย EDWARDS Solor Hot Water ผลิตภัณฑ์พลังงานแสงอาทิตย์ จัดจ�าหน่ายโดย Infratech Engineering & Services Co., Ltd. โทรศัพท์ 0 2234 4245 โทรสาร 0 2236 9985 E-mail: info@infratech.co.th www.infratech.co.th 30 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


Special Event

ปดรุนคพอ.ภาคเหนือ

จังหวัดพิษณุโลก

งานปิดรุ่นคพอ. ณ จังหวัดพิษณุโลก รุ่น ที่ 262-265 ผ่านพ้นไปด้วยดีเมือ่ วันที่ 21 มิถนุ ายน 2556 กับความสนุกสนานและความประทับใจ ของ สมาชิกคพอ. ทั่วประเทศ รอยยิ้ม เสียง หัวเราะ และสายใยความผูกพันของทุกคนยังอยู่ ในความทรงจ�า ของทุกคนอย่างไม่รู้ลืม เป็นประเพณีของผู้เข้าอบรมโครงการ พัฒนาผู้ประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรม (คพอ.) ของทุกรุ่น ทุกจังหวัด เมื่อเรียนจบหลักสูตรจะ ได้รับวุฒิบัตรจากกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม และร่วมพิธีปิดรุ่น ซึ่ง กิจกรรมที่ผู้เข้าอบรมจะต้องรับผิดชอบร่วมท�า กิจกรรมด้วยกันทุกคน คืองานปิดรุ่น โดยล่าสุด พิธีงานปิดรุ่นคพอ. รุ่นที่ 262-265 จังหวัด

พิษณุโลก ได้รบั เป็นเจ้าภาพหลัก โดยจังหวัด พิษณุโลกเป็นรุ่นที่ 262 จังหวัดเพชรบูรณ์ รุ่นที่ 263 จังหวัดนครสวรรค์ รุ่นที่ 264 จังหวัดล�าปางรุ่นที่ 265 ซึง่ ก�าหนดการงาน ปิดรุ่นก�าหนดไว้วันที่ 21 มิถนุ ายน 2556 ณ โรงแรมท็ อ ปแลนด์ พ ลาซ่ า ห้ อ ง คอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ โดยบรรยากาศการ จัดงานปิดรุ่น เริ่มจากกิจกรรม ในวันที่ 20 มิถุนายน สมาชิก คพอ. ทั้ง 4 รุ่น ได้ร่วม กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ กิจกรรมแรกในช่วงเช้าได้เดินทางโดย รถราง เพื่อไปสักการะพระพุทธชินราช ณ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ที่ มี ชื่ อ เสี ย งของชาวจั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก

ฉบับปฐมฤกษ์ 31


หลังจากนัน้ ได้เดินทางไปสักการะ ศาลสมเด็จพระนเรศวร ภายในพระราชวัง จันทร์ซึ่งเป็นสถานที่ราชสมภพของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช หลังจาก นัน้ รถราง ได้พาสมาชิกคพอ.ทัง้ 4 รุน่ นัง่ รถชมเมืองพิษณุโลกตามจุดส�าคัญ ต่างๆ หลังจากเสร็จสิ้นการชมเมืองแล้วคณะคพอ.ทั้ง 4 รุ่นได้เข้าร่วม กิจกรรมสานสัมพันธ์ ณ ลานกิจกรรมโรงแรมรัตนาวิว โดยมีกิจกรรมการ เล่นเกมส์ต่างๆ เพือ่ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างรุ่น ไม่ว่าจะเป็นเกมส์ ทาย ตัวอักษร เกมส์ โบว์ลิ่ง, เกมส์ส่งของ เกมส์ทายภาพเป็นต้น ซึ่งได้สร้าง ความสนุกสนานความประทับใจ และเสียงหัวเราะให้กบั ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้เป็นอย่างดี หลังจากนัน้ ได้ร่วมรับประทานอาหารกลางวันร่วมกัน และ ร่วมพิธรี บั วุฒบิ ตั ร ณ โรงแรมท็อปแลนด์พลาซ่า ในช่วงเวลา 16.00 น.โดย มีนางพรทิพย์ พรจะเด็ด นายกสมาคมส่งเสริมผู้ประกอบการวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมไทย (ATSME) เข้าร่วมเป็นเกียรติ โดยมีนางบุญเจือ วงษ์เกษม ผู้อา� นวยการส�านักพัฒนาผู้ประกอบการ เป็นผู้มอบวุฒบิ ตั ร ให้ สมาชิกคพอ.262-265 โดยพร้อมเพรียง ต่อจากนัน้ เวลาประมาณ 18.00 น. สมาชิกคพอ.จากทั่วประเทศต่างทยอยเดินทางมาร่วมงานเพื่อแสดง ความยินดี กับผูท้ ผี่ า่ นการอบรมทัง้ 4 รุน่ โดยธีมการจัดงานปิดรุน่ ในครัง้ นี้ ได้จัดเป็นธีม Wink & Wow โดยบรรยากาศในช่วงก่อนเปิดงาน ทาง เจ้าภาพทั้ง 4 รุ่นได้จัดเตรียมกิจกรรมเกมส์หน้างาน อาทิ เกมส์ปาลูกโป่ง เป็นต้น พร้อมนักดนตรี นักร้อง มืออาชีพ มาขับกล่อมเพลงให้กับผู้มา

32 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์

ร่วมงาน โดยได้สร้างสีสันก่อนเข้างานให้กับสมาชิกที่เดินทางมาถึงก่อน รวมทั้งมีกิจกรรมเปิดบู้ทจ�าหน่ายสินค้า ของจังหวัดสมาชิกที่เข้าร่วม การจ�าหน่ายสินค้า ต่างได้รับการอุดหนุนจากเพื่อนสมาชิกด้วยกันเป็น อย่างดี และสมาชิกได้ร่วมถ่ายรูปด้านหน้างานที่ตกแต่งไว้อย่างสวยงาม กันตามอัธยาศัย เมื่อถึงเวลาที่สมาชิกได้ทยอยเดินทางมาถึงประมาณ 18.30 น. ภายในห้องคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ โรงแรมท็อปแลนด์พลาซ่า หนาแน่นไป ด้วยสมาชิกคพอ.จากทั่วประเทศ แสงสีเสียงภายในงานแบบจัดเต็มและ วงดนตรี นักร้อง มืออาชีพ ที่ต่างเต็มที่มอบความสุขและเสียงเพลงให้กับ ผู้มาร่วมงานได้ชื่นฉ�่าหัวใจ ได้เริ่มขยับจังหวะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยเริ่มต้น กิจกรรม ต่างๆ กันอย่างคึกคัก พิธีกรภายในงานได้สร้างความสนุกสนาน อย่างต่อเนื่องให้กับสมาชิกคพอ.ที่มาร่วมงาน หลังจากนั้นได้เข้าสู่ช่วง พิธกี าร โดย นายสาธิต นิม่ พิทกั ษ์พงศ์ ประธานสมาคมส่งเสริมผู้ประกอบ การวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมไทย (ATSMEX) จังหวัดพิษณุโลก ได้กล่าวแสดงความยินดี กับสมาชิก คพอ.ทัง้ 4 รุน่ ต่อจากนัน้ นางบุญเจือ วงษ์เกษม ผู้อ�านวยการส�านักพัฒนาผู้ประกอบการได้กล่าวแสดง ความยินดี หลังจากนั้น นางเพ็ญทิพย์ พรจะเด็ด นายกสมาคมส่งเสริม ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมไทย (ATSME) และ


นายพันธุ์เทพ ศรีวณิช รองผู้ว่าราชการจังหวัด พิษณุโลก ได้กล่าวเปิดงาน ปิดรุน่ จังหวัดพิษณุโลก อย่างเป็นทางการ ต่อจากนั้นทางเจ้าภาพร่วมจังหวัดล�าปาง ได้เปิดการแสดงเป็นจังหวัดแรก ชื่อชุดระบ�าแขก ได้อย่างสนุกสนาน หลังจากจบการแสดง พิธีกร ได้เชิญสมาชิกคพอ. ทั่วประเทศร่วมเล่นเกมส์บน เวที เพื่อเรียกเสียงหัวเราะและรอยยิ้มของทุกคน พร้อมกับการชม Presentation กิจกรรมการสร้าง ความสัมพันธ์ของสมาชิกคพอ.ทั้ง 4 รุ่น จาก กิจกรรมในภาคเช้า ที่ได้เดินทางมาร่วมกิจกรรม กัน และช่วงเวลาส�าคัญของทุกคนก็มาถึง กับ ขบวนเชิญธงของรุน่ พีค่ พอ. โดยได้รบั ความร่วมมือ จากประธานจังหวัดแต่ละจังหวัดเป็นผู้ถือธง

น�าขบวนเปิดตัวสมาชิกคพอ.รุ่นที่ 262-265 ถือ เป็นนาทีแห่งความประทับใจของผู้ผ่านการอบรม ทุกคน ทีไ่ ด้ลอดซุ้มธงของรุ่นพี่ บรรยากาศเต็มไป ด้วยความอบอุ่น และรอยยิ้ม ที่รุ่นพี่และรุ่นน้อง มอบให้กัน หลังจากนั้นเป็นช่วงกิจกรรมบนเวที การเล่นเกมส์ ทีพ่ ธิ กี รและทีมงานได้เลือกสรรความ สนุกมาให้ทุกคน ต่อจากนั้นเป็นการแสดงชุดที่ 2 ของจังหวัดนครสวรรค์ ชื่อชุดสุภาพบุรุษ หน้าอกแน้นแน่น ทีไ่ ด้ตงั้ ใจแสดงกันเหมือนมืออาชีพ สร้างความประทับใจให้กบั สมาชิกทุกคน โดยด้าน บนเวทีก็ได้สลับการแสดงและกิจกรรมเกมส์กัน อย่างต่อเนื่อง จนมาถึงการแสดงชุดที่ 3 ของ จังหวัดเพชรบูรณ์ ชือ่ ชุดพีม่ ากขา ซึง่ มีการน�าเสนอ การแสดงในรูปแบบผสมผสานความเป็นพีม่ ากขา กับลีลาการแดนซ์แบบสมัยใหม่ได้อย่างลงตัว ช่วง

ฉบับปฐมฤกษ์ 33


กิจกรรมที่เรียกเสียงหัวเราะภายในงานอีกชุดหนึ่ง คือการ เชิญสมาชิกแต่ละภาคมาเล่นกิจกรรมบนเวที โดยให้เลือก คนที่เขารักที่สุดภายในงานออกมาร่วมกิจกรรมด้วย หลัง จากนั้นพิธีกร ได้ให้ผู้ที่ถูกเรียกขึ้นมา แต่งตัวให้กับสมาชิกที่ ได้เรียกขึ้นมาก่อนหน้า ได้สร้างเสียงหัวเราะให้กับทุกคนเป็น อย่างมาก และมาถึงช่วงการแสดงของเจ้าภาพหลักจังหวัด พิษณุโลก ในชือ่ ชุด 5 สิงห์จฑุ าเทพแน่นอก โดยทุกคนต่างทุ่มเทการแสดง อย่างสุดความสามารถ พร้อมกับการแสดงไวโอลินที่น�ามาแสดงประกอบ กับชุดการแสดงนี้ โดยสมาชิกทุกคน สามารถสร้างความประทับใจให้กับ สมาชิกที่อยู่ภายในงานได้อย่างน่าสนุกสนาน และจบการแสดงได้อย่าง สวยงาม บรรยากาศภายในงานช่วงสุดท้าย ทุกคนได้รว่ มกิจกรรมร้องเพลง มาร์ชคพอ.และร่วมกิจกรรมสายใยผูกพันโดยใช้ไหมพรม ส่งจากสมาชิก ที่อยู่บนเวที ลงมายังคนด้านล่างส่งต่อกันไปจนถึงหลังห้อง ถักทอเป็น สายใยของความผูกพัน แทนความผูกพันของสมาชิก คพอ. ทั้งประเทศ แม้ว่าแต่ละคน แต่ละจังหวัด จะอยู่ห่างไกลกันหลายร้อยกิโลเมตร แต่สิ่ง ที่จะสามารถผูกพันทุกคนไว้ด้วยกัน คือความรัก ความผูกพัน การเป็น ครอบครัว การเป็นพี่น้อง ของชาวคพอ.ทุกคน ทัง้ นีใ้ นช่วงวันที่ 21 มิถนุ ายน 2556 ช่วงเช้า สมาชิกคพอ.ทัว่ ประเทศ บางส่วนได้เดินทางมาร่วมกิจกรรมทริปท่องเทีย่ วสักการะ วัดพระศรีมหาธาตุ วรมหาวิหาร และศาลสมเด็จพระนเรศวร ตลอดจนการศึกษาดูงานกิจการ ของนายสมชัย หยกอุบล คพอ.รุ่นที่ 5 ผู้ก่อตั้ง คพอ.พิษณุโลก ในยุค

34 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์

บุกเบิก ทีบ่ ริษทั เกษตรพัฒนาอุตสาหกรรม จ�ากัด ซึง่ เป็นบริษทั ผลิตเครือ่ ง เกี่ยวข้าว ส่วนในวันที่ 22 มิถุนายน 2556 ทางเจ้าภาพได้จัดกิจกรรม ล่องแก่ง ให้กับสมาชิกคพอ.ทั่วประเทศ ณ วนธาราเฮลท์ รีสอร์ทแอนด์ สปา ตั้งอยู่ถนนพิษณุโลก-หล่มสัก กิโลเมตรที่ 46 ต.แก่งโสภา อ.วังทอง จ.พิษณุโลก ได้สร้างความตื่นเต้นสนุกสนานและเร้าใจ กับบรรยากาศ การล่องแก่งเป็นอย่างมาก เป็นอีกหนึ่งทริปการท่องเที่ยวที่ทุกคนต่างได้ รับความประทับใจกลับบ้านกันถ้วนหน้า งานปิดรุน่ ทีจ่ งั หวัดพิษณุโลก จึงเป็นอีกค�า่ คืนหนึง่ ของความประทับใจ ของทุกๆ คน ที่ได้เสียสละเวลาเดินทางมาร่วมแสดงความยินดีกับผู้ผ่าน การอบรมทัง้ 4 รุน่ และการมาพบปะ พีน่ อ้ งทีท่ กุ 3 เดือน จะกลับมาพบกัน เพือ่ ชาร์ตไฟ และส่งต่อพลังของความรักความอบอุ่นให้กนั และกัน เหมือน เป็นสัญญาที่ทุกคนต่างได้มอบให้กันไว้ เมื่อเข้ามาสู่ครอบครัว คพอ. บ้านที่อบอุ่นหลังใหญ่แห่งนี้ ขอบคุณทุกคนที่มีส่วนร่วมในการปิดรุ่น ครั้งนี้ กับความทรงจ�าดีๆ ที่มีให้กัน แล้วพบกันในงานปิดรุ่นคพอ. จังหวัด นครปฐม ในครั้งต่อไป


ŋͧᡋ§

í¹éÒà¢ç¡¾ÔɳØâÅ¡

ฉบับปฐมฤกษ์ 35


Business intelligence

GPS Tracking System

GPS tracking ช่วยลดต้นทุนแฝงที่เกิดจำกกำรขนส่ง ในปัจจุบนั ซึง่ เป็นยุคแห่งการแข่งขันทีด่ เุ ดือด บริษทั ทัง้ หลายจะต้องดิน้ รนทีจ่ ะอยูร่ อดโดย พยายามลดต้นทุนต่างๆ ที่ไม่ได้ก่อให้เกิด คุณค่าต่อลูกค้า ต้นทุนด้านการขนส่งสินค้า เป็นหนึ่งในต้นทุนที่มีมูลค่าสูงและยากต่อ การบริหารจัดการ เนื่องจากกระบวนการ ขนส่งนั้นเกิดขึ้นภายนอกบริษัท ซึ่งตัวแปร ส�าคัญในการบริหารต้นทุนการขนส่งคือ คน ขับรถ ตามสถิตคิ นขับรถทีแ่ ย่จะท�าให้ตน้ ทุน การขนส่งเพิ่มสูงมากกว่า 30% ตัวอย่าง พฤติกรรมทีส่ ร้างความปวดหัวให้แก่เจ้าของ กิจการได้แก่การขโมยสินค้าไปขายยังร้าน ขายของเก่าระหว่างการจัดส่ง, การน�ารถไป ใช้วิ่งส�าหรับธุระส่วนตัว หรือ การขับรถเร็ว ที่อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ ปรมาจารย์ระดับโลกของศาสตร์ทางด้าน การบริหารและการจัดการอย่าง ปีเตอร์ ดรัก เกอร์ ได้เคยกล่าวไว้ว่า “คุณไม่สามารถจะ จัดการกับสิ่งที่คุณไม่สามารถวัดผลได้” หมายความว่าเราจะไม่มที างรูไ้ ด้เลยว่าสิง่ ที่ ก�าลังท�าอยู่นั้นดีหรือเลวถ้าปราศจากการ วัดผลทีถ่ กู ต้องและชัดเจน ดังนัน้ ข้อมูลและ กระบวนการวัดผลจึงถือเป็นหัวใจส�าคัญ อย่างมาก ส�าหรับศาสตร์ในการบริหารการ ขนส่งนัน้ เทคโนโลยีดา้ นการติดตามต�าแหน่ง ผ่านดาวเทียม (GPS Tracking) นั้นได้มี บทบาทอย่างมากในการช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพ การบริหารการจัดการ เนื่องจากว่าระบบ การติดตามต�าแหน่งด้วย GPS ท�าให้ผบู้ ริหาร มีข้อมูลที่ถูกต้องแม่นย�าส�าหรับใช้ในการ วัดผล 36 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


ต�าแหน่งและสถานะการขับขี่ปัจจุบันได้ วันนีเ้ ราขอแนะน�า ระบบการติดตามต�าแหน่ง ตลอดเวลา ท�าให้มนั่ ใจได้วา่ ท่านจะสามารถ ด้วย GPS ของบริษัท BSMART ที่สามารถ ลดต้นทุนลงได้อย่างแน่นอน ติดตามการเคลื่อนไหวต่างๆ ของคนขับรถ ได้แบบ real-time ในทุกทีท่ กุ เวลาบนมือถือ ระบบของ BSMART นั้นมีโมดูลที่ใช้ในการ iPhone หรือ Android เพียงแค่เชือ่ มต่อผ่าน ประเมินผลคนขับรถจากตัววัดความผิดทั้ง อินเตอร์เนต โดยระบบจะท�าการเก็บข้อมูล 3 ลักษณะคือ การกระทืบเบรค กระทืบคัน ความเคลื่อนไหวต่างๆ ของคนขับและ เร่งและการขับรถเกินความเร็ว เมือ่ ใดก็ตาม แสดงออกมาในรูปแบบของรายงานที่ง่าย ทีค่ นขับรถท�าผิดเช่น ขับเกินความเร็ว ระบบ ต่อการตรวจสอบ เพือ่ ทีจ่ ะป้องกันพฤติกรรม จะท�าการบันทึกความผิดเหล่านัน้ หลังจาก ที่ไม่พึงประสงค์ของคนขับรถ ยิ่งไปกว่านั้น นัน้ ระบบจะท�าการรวบรวมความผิดทัง้ หมด ระบบยังสามารถแจ้งเตือนทางอีเมล์เมื่อมี และท�าการประมวลผลและสรุปเป็นรายงาน การวิง่ ออกนอกเส้นทางหรือออกนอกบริเวณ จัดล�าดับคนขับรถโดยเรียงจากคนขับรถทีด่ ี ทีส่ ดุ ไปจนแย่ทสี่ ดุ จากนัน้ ผูบ้ ริหารก็สามารถ ที่ก�าหนด น�าข้อมูลการวัดผลนี้ไปใช้ในการปรับปรุง โดยจุดเด่นของ BSMART GPS Tracking ประสิทธิภาพและลดต้นทุนการขนส่งที่เกิด เป็นระบบสมองกลอัจฉริยะ (FEI) ที่ท�าให้ จากการใช้นา�้ มันเชือ้ เพลิงและการซ่อมบ�ารุง GPS สามารถประมวลผลด้วยตัวเองส�าหรับ ในการเปลี่ยนผ้าเบรค ปรับแต่งเพื่อท�างานร่วมกับอุปกรณ์อื่นๆ ตามความต้องการเฉพาะอย่างได้ และถูก เนื่องจากว่าระบบของ BSMART ได้ถูก ออกมาพร้อมกับรูปลักษณ์ที่กะทัดรัด มี ออกแบบโดยที ม โปรแกรมเมอร์ แ ละ น�้าหนักเบา ง่ายต่อการติดตั้งและซ่อนเก็บ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการบริหารการขนส่ง ให้พน้ จากสายตาของพนักงานขับรถได้อย่าง ท�าให้โมดูลทั้งหลายได้ถูกผสมผสานด้วย มิดชิด บวกกับความสามารถในการติดตาม ศาสตร์และศิลปอย่างลงตัว โดยแก่นแท้ของ รถแบบ Real Time ซึง่ จะสามารถตรวจสอบ การออกแบบนั้นตั้งอยู่บนพื้นฐานส�าคัญ 3 อย่างคือ ความเข้าใจในความต้องการของ ผูใ้ ช้ ความเรียบง่ายในการใช้งาน และความ ชัดเจนในการสรุปรายงาน

GPS Tracking System

ระบบการติดตามต�าแหน่งด้วย GPS สามารถ ที่จะจับต�าแหน่ง ความเร็วและเวลาของรถ ในระหว่างการขนส่ง และส่งผ่านข้อมูลได้ แบบ real-time ผ่านทางเสาสัญญาณ GPRS ท�าให้ข้อมูลในระดับปฏิบัติการสามารถถูก ส่งไปยังระดับบริหารเพื่อใช้ในการบริหาร จัดการได้รวดเร็วมากอย่างที่ไม่เคยมีใน ประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ซึ่งการน�า ระบบการติดตามต�าแหน่งด้วย GPS มาใช้ ถือเป็นการปฏิวตั คิ รัง้ ยิง่ ใหญ่ของศาสตร์ใน การบริหารการจัดการการขนส่ง BSMART

ระบบของ BSMART ได้ถูกพิสูจน์แล้วจาก บริษทั ชัน้ น�าระดับโลกเช่น FedEx, DHL, UPS ว่าสามารถตอบโจทย์ในการแก้ปัญหาทาง ด้านการบริหารการขนส่งและช่วยลดต้นทุน การขนส่งได้มากกว่า 30%

บริษัท บีสมารท เทเลเมติกส (ประเทศไทย) จํากัด 399 หมู่ 5 อาคาร S4U Place ชั้น 6 ถ.ศรีนครินทร์ ต.บางเมือง อ.เมือง จ.สมุทรปราการ 10270 Tel: 02-759-7991 Fax: 02-759-7992 E-mail: inquiry-th@bsmart-solutions.com Website: www.bsmart-solution.com ฉบับปฐมฤกษ์ 37


Business interviwe

ลดตนทุนคาใชจายดานพลังงานไฟฟา/ความรอน

เอ็นเนอร์ยี่ พลัส ดีเวลลอปเมนท์

ธนกร รอดสุทธิ

ผูบริหาร บริษัท เอ็นเนอรยี่ พลัส ดีเวลลอปเมนท จํากัด “สิ่งแรกเลยคุณต้องมีความมุ่งมั่น มีเปาหมายที่ชัดเจน และไม่เลิกล้มความพยายาม หากคุณท�าได้ ธุรกิจคุณก็จะประสบความส�าเร็จ แต่สิ่งที่ส�าคัญที่สุดคือ พนักงาน ต้องมองพนักงานคือ คนในครอบครัวครับ เราอยู่ได้ พนักงานต้องอยู่ได้” 38 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


ตอนเด็กๆ เคยฝันว่าโตขึ้นมาอยากจะเป็นอะไร และรู้สึกว่าตัวเอง มีหัวทางด้านธุรกิจตั้งแต่ตอนไหน เคยฝันไว้ว่าอยากเป็นวิศวกรครับ ตอนนั้นไม่ได้หวังอะไรมาก แค่อาชีพที่ เด็กๆ ฝัน ไม่คิดว่าพอโตขึ้นผมก็พยายามที่เดินในทางที่ฝันไว้ ผมเริ่มคิด ทีจ่ ะท�าธุรกิจของตนเอง ตัง้ แต่เรียนจบแล้วครับ ตอนแรกก็เป็นเพียงความ ตั้งใจ เพราะด้วยเราไม่มีเงินทุนและประสบการณ์ เราก็ต้องเป็นพนักงาน บริษัทเพื่อเก็บเกี่ยวประสบการณ์ไปก่อน แต่ด้วยผมคลุกคลีกับงานด้านนี้ มาตัง้ แต่แรก โดยเริม่ ท�างานทีก่ ารไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ต�าแหน่งช่าง อยู่ในหน่วยงานที่ด�าเนินการเกี่ยวกับการ “ลดการใช้พลังงาน” และ ผมลาออกมาท�างานเป็น วิศวกรที่บริษัท เครสโก้ คอร์ปอเรชั่น จ�ากัด เป็นระยะเวลา 10 ปี ที่นี่ให้ประสบการณ์ผมมากครับ อีกทั้งผมมีต้นแบบ ทีด่ คี รับ คือ คุณจุลยั สังขธรรมวงศ์ ซึง่ คุณจุลยั เป็นทัง้ เจ้านายและเหมือน พี่สาวผมคนหนึ่ง แต่ก็นั่นแหละครับ คนเราต้องมีทางเดินของตัวเอง หากเราไม่กล้าเราก็จะไม่ได้ตามความฝันของตนเอง ผมเลยมาเปิดบริษทั ฯ ของตนเอง โดยการสนับสนุนของคุณจุลัย ซึ่งเน้นด้านพลังงานโดยตรง นั่นเป็นจุดเริ่มต้นที่ผมได้ท�าตามความฝันของตนเองครับ จุดเปลี่ยนและแรงบันดาลใจที่ท�าให้มองเห็นช่องทางของการท�า ธุรกิจได้ ผมตัดสินใจที่จะเริ่มธุรกิจของตนเอง เพราะต้องการท�าฝันให้เป็นจริง อีก อย่างผมเรียนจบด้านนีม้ าโดยตรง คือ วิศวพลังงาน ก็ยงิ่ ช่วยเติมเต็มความ ฝันของผมเพิ่มขึ้นตลอดระยะเวลาที่ท�างาน ผมมองเห็นหลายสิ่งหลาย อย่างที่สามารถต่อยอดได้ แต่หากผมเป็นพนักงานอยู่เราต้องเดินตาม นโยบายของบริษทั ครับ หากเราเป็นเจ้าของกิจการเอง เราสามารถวางแผน ก�าหนดแนวทางของเราเองได้ และอีกอย่างอายุครับ ผมอายุใกล้เลข 4 แล้ว หากผมเริม่ ช้าก่อนนีต้ อ้ งใช้พลังทีม่ ากกว่านีเ้ พือ่ ให้ธรุ กิจประสบความ ส�าเร็จครับ มีวิธีในการจัดการบริหารงานอย่างไร การบริหารจัดการของผมก็ไม่มีอะไรมากครับ ก็วางแผนและด�าเนินการ เหมือนคนอื่นที่ประกอบธุรกิจของตนเองครับ แต่สิ่งที่ผมเน้นคือ ด�าเนิน การธุรกิจในลักษณะพอเพียงการพอเพียงของธุรกิจของผมไม่มีอะไรมาก ครับ ธุรกิจต้องเดินได้ด้วยผลตอบแทนที่เรียกว่า “ก�าไร” แต่กา� ไรที่ผมพูด ถึงคือ บริษทั อยู่ได้ และคู่ธรุ กิจหรือลูกค้าของบริษทั ต้องได้รบั ผลตอบแทน ที่คุ้มค่ากับเงินที่เสียไป และอีกสิ่งที่ขาดไม่ได้และต้องควบคู่ไปตลอด คือ ความซื่อสัตย์ต่อลูกค้า ความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้ากับการบริการของ บริษัท และสร้างความเป็นพันธมิตรในกลุ่มธุรกิจของเราด้วยครับ เพราะ ผมเชือ่ ว่าในแวดวงธุรกิจเดียวกันอย่างไรแล้ว เราก็ต้องอาศัยซึง่ กันและกัน ไปตลอดครับ

ปัจจุบนั บริษทั มีความคิดเห็นเกีย่ วกับการใช้พลังงานของประเทศไทย อย่างไร ด้วยประเทศไทยของเราเป็นเมืองร้อนและมีโรงงานอุตสาหกรรมมาก คง ปฏิเสธไม่ได้ครับว่าอัตราการใช้พลังงานก็มากตามไปด้วย และทรัพยากร ด้านพลังงานของประเทศเรา ก็มีอยู่อย่างจ�ากัด หากคนไทย (ทุกคนหรือ ส่วนใหญ่) มีแนวความคิดเดียวกันคือ ท�าทุกอย่าง ใช้ทุกสิ่งอย่างคุ้มค่าให้ ประหยัดพลังงานมากที่สุด หากเป็นอย่างนี้ก็ไม่น่าเป็นห่วง แต่หากเราท�า ตรงกันข้าม เปลีย่ นให้ทกุ คนช่วยกันประหยัดพลังงานไม่ได้ ทุกคนก็ตอ้ งหา วิธีใช้พลังงานให้เท่าเดิมแต่ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นครับ ผมคิดว่าน่าจะ เป็นแนวทางที่ดี และอีกอย่างหน่วยงานราชการที่รับผิดชอบด้านพลังงาน ก็พยายามรณรงค์การประหยัดพลังงานในหลายๆ ด้าน ไม่วา่ จะเป็นโครงการ ต่างๆ หรือการประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ ผมจึงคิดว่าธุรกิจของผม ช่วยลดการใช้พลังงานของประเทศได้มากก็น้อยครับ ก้าวต่อไปของบริษัท ผมตอบแบบไม่คิดมากเลยครับ ก้าวต่อไปของผมคือ โรงไฟฟ้าขยะครับ ผมคิดและวางแผนไว้บ้างแล้ว ตอนนี้แค่รอที่ปรึกษาจัดท�ารายงานศึกษา ความเหมาะสม รวมถึงปัจจัยต่างๆ หากเป็นไปตามที่วางแผนไว้ ผมจะ เริ่มด�าเนินโครงการทันทีครับ และอีกอย่างที่ส�าคัญของคือเชื้อเพลิง เชื้อ เพลิงที่ว่าคือ น�า้ มัน E-85 ครับ ซึ่งคุณชาลี มีแสงนิล เป็นผู้แนะน�า และ เราได้ทดลองใช้และศึกษาจากงานวิจัยและผู้รู้ในแวดวงการน�า้ มัน เป็น ธุรกิจทีต่ อบโจทย์ในด้านการประหยัดน�า้ มันได้เป็นอย่างดีและสามารถช่วย ชาติให้ลดการน�าเข้าน�้ามันได้ส่วนหนึ่ง ซึ่งแนวโน้มการใช้นา�้ มัน E-85 มี อัตราการใช้สูงขึ้นทุกปีครับ หายใจเข้าออกมีแต่งานแบบนี้ แล้วมีเวลาทีเ่ ป็นส่วนตัวจริงๆ มีไหม ผมไม่ปฏิเสธเลยครับว่าตอนนี้ในหัวผมมีแต่เรื่องงาน ผมท�างานทุกวันเลิก งานก็ประมาณ 4-5 ทุ่ม แต่กแ็ บ่งเวลาให้ครอบครัวครับ ผมกับภรรยาชอบ ดูหนังเป็นการคลายเครียด และสร้างความบันเทิงได้ครับ แต่ไม่มาก ส่วน ใหญ่เป็นวันเสาร์-วันอาทิตย์ ช่วงเช้า เพราะช่วงบ่ายผมก็ทา� งานครับ แต่ ผมโชคดีทภี่ รรยาเข้าใจและเป็นก�าลังใจให้ครับ ผมก็มกี �าลังใจและท�างาน ได้อย่างเต็มที่ครับ มีอะไรจะฝากให้กับนักบริหารมือใหม่บ้าง ผมคงไม่กล้าชีแ้ นะครับ แต่ขออนุญาตแชร์ประสบการณ์ดกี ว่าครับ สิง่ แรก เลยคุณต้องมีความมุง่ มัน่ มีเป้าหมายทีช่ ดั เจน และไม่เลิกล้มความพยายาม หากคุณท�าได้ธุรกิจคุณก็จะประสบความส�าเร็จ แต่สิ่งที่ส�าคัญที่สุดคือ พนักงาน ต้องมองพนักงานคือคนในครอบครัวครับ เราอยู่ได้ พนักงาน ต้องอยู่ได้ เราอิ่ม พนักงานก็ต้องอิ่ม ท�าให้พนักงานรักกัน ช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน เมื่อมีปัญหาก็มาปรึกษาหารือหาทางออกกันแบบพี่น้อง ซึ่งผม โชคดีที่พนักงานเข้าใจซึ่งกันและกันและขยันตั้งใจท�างานกันทุกคน สิ่งที่ ส�าคัญอีกอย่างหนึ่งคือ ต้องท�าให้ลูกค้าได้รับผลตอบแทนทีค่ ุ้มค่าต่อการ ลงทุนและความพึงพอใจสูงสุดครับ ฉบับปฐมฤกษ์ 39


Special Event

ป ดรุ่น คพอ. ภาคกลาง

@ นครปฐม 2556

คพอ. 266 นครปฐม / 267 กรุงเทพฯ 268 สมุทรสาคร / 269 สระแก้ว / 270 ตราด

วันศุกร์ที่ 23 สิงหาคม 2556 ณ อุทยานการอาชีพ ชัยพัฒนา อ�าเภอเมือง จังหวัดนครปฐม อีกครั้งกับงานปิดรุ่นส่งท้ายปี 2556 ในพิธีปิดการ ฝึกอบรม คพอ. 266 นครปฐม / 267 กรุงเทพฯ 268 สมุทรสาคร / 269 สระแก้ว / 270 ตราด ในการปิดรุ่นครั้งนี้มีเจ้าภาพหลักคือนครปฐม

ภายนอกงานระหว่างทางเดินก่อนเข้างานมีหลาก หลายสินค้าที่ขึ้นชื่อแต่ละจังหวัดที่เป็นเจ้าภาพใน การปิดรุ่น คพอ. น�ามาแสดงสินค้าและจัดจ�าหน่าย ให้ชาว คพอ. ได้ซอื้ เป็นทีร่ ะลึกติดไม้ตดิ มือกลับบ้าน

ทางเข้าประตูจะมีฉากถ่ายภาพ น่ารักๆ ให้เราได้ถา่ ยรูปเก็บเป็น ความทรงจ�าดีๆ 40 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


งานพิธีเป็นไปอย่างเรียบง่ายและสนิทสนมเป็นกันเอง การแสดงที่น�าแสดงโดย เพื่อนๆ เจ้าภาพในชุดต่างๆ ทั้งเต้นร�าวง การแสดงละคร และลีลาศที่สง่างาม บรรยากาศเป็นไปอย่างอบอุ่นจาก คพอ. ทัว่ ประเทศทีม่ าร่วมงานกว่า 500 คน เป็น งานเลี้ยงรุ่นที่ครึกครื้นเต็มไปด้วยเสียงหัวเราะได้พบปะสังสรรค์กันพร้อมหน้าเหล่าชาว คพอ.

ต้องขอขอบคุณรุน่ พีๆ่ และเพือ่ นๆ ทีร่ ่วมแรงร่วมใจในการจัดงานพิธปี ิดรุ่นใน ครัง้ นีง้ านจึงประสบผลส�าเร็จเป็นทีป่ ระทับ ใจไม่ลืม จนกว่าเราจะได้พบกันอีกในงาน พิธีปิดรุ่นครั้งต่อไปในปีหน้านะคะ คิดว่า เพือ่ นๆ พีๆ่ ชาว คพอ. ก็คงตัง้ ตารอเช่นกัน ฉบับปฐมฤกษ์ 41


เยี่ยมชมดูงาน โรงงานน�้ามันมะพร้าวสกัดเย็น Brand TROPICANA โรงงานผลิตหมวกกันน็อคส่งออก ย่งเฮงฮง อุตสาหกรรม และ โรงงานผลิตเครื่องส�าอางส่งออก บ.บีเอเอส แมนูแฟคเจอร์ริ่ง จ�ากัด

งานเลี้ยงรับรองวันที่ 22 สิงหาคม 2556 รับ คพอ. ภาคเหนือตอนบนและภาคอีสาน

รุ่นพี่เจ้าบ้าน คพอ. นครปฐม ต้อนรับพาชมดูงานและเลี้ยงรับรองตั้งแต่วันแรกที่ชาว คพอ. มาถึงถิ่นนครปฐม อิ่มอร่อยแถมได้ความรู้พร้อม ของฝากจากโรงงาน ขอบคุณส�าหรับการดูแล ที่เอาใจใส่อบอุ่นสนุกสนานที่มอบให้กันจริงๆ ค่ะ บทสัมภาษณ์ : อารมณ์ ศิริโต (แป๋ว) คพอ. 236 นครปฐม ภาพสวยจาก : พงศ์ภีระ จตุพรอนันตกุล (มาย) คพอ. 166 สุรินทร์ เขียนและเรียบเรียงอาร์ต : รัฐติพร ผ่องสวัสดิ์ (ชมพู่) คพอ. 259 สุราษฎร์ธานี 42 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


Green Industry

ลานนากรีนซัพพลาย Green Industry: ธุรกิจเพื่อสังคม

ทีมผู บริหาร บริษัท ลานนากรีนซัพพลาย จํากัด

“Lanna Green Supply จัดตั้งขึ้นโดยกลุมนักธุรกิจรุนใหม ที่มีความตั้งใจดําเนินธุรกิจควบคูไปกับการใหคุณคาแกสังคม สรางทางเลือกใหมๆ ใหกับลูกคาพรอมใหคําปรึกษาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ อยางมืออาชีพ” บริษัท ลานนากรีนซัพพลาย จ�ากัด เกิดจากการรวมตัวกับกลุ่มเพื่อนที่เรียนด้วยกันมาตั้งแต่มัธยม จนถึงระดับปริญญาโท เพื่อ ผลิตและจ�าหน่ายสินค้าพลาสติก ซึ่งได้รับการรับรองมาตรฐานสากล เช่น ISO 1009:2008,GMP, KOSHER,BRC,CT-PAT ลูกค้าจึง ไว้วางใจได้ว่า บริษัท ลานนากรีนซัพพลาย จ�ากัด จ�าหน่ายสินค้าที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐานรวมทั้งบริการที่ยอดเยี่ยม ทั้งก่อน ระหว่าง และหลังการขาย จากบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับพลาสติก พร้อมให้ค�าแนะน�า ปรึกษา ให้การสนับสนุนและ ดูแลลูกค้าอย่างมืออาชีพ นางสาวมารยาท กาวิชัย หรือจิ๊บ กรรมการผู้จัดการ ได้เล่าให้ทีมงานฟัง ว่า ทางบริษัทฯ ได้รับความไว้วางใจ แต่งตั้งอย่างเป็นทางการจากบริษัท ดีแพคอินเตอร์เนชั่นแนล ตัวแทนจ�าหน่ายในโซน AEC ภายใต้เครือคิงส์ แพคกรุ๊ป ซึ่งเป็นโรงงานผลิตพลาสติกที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2556 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นตัวแทนจ�าหน่ายในเขตภาคเหนือ ทั้งหมด ลักษณะเด่นของสินค้าของทางบริษัทฯ เป็นถุงขยะย่อยสลายได้ เป็น พลาสติกที่สามารถรีไซเคิลได้ รวมถึงความตั้งใจที่จะรณรงค์ให้ผู้ใช้หันมา ใส่ใจในการใช้พลาสติกที่รีไซเคิลและย่อยสลายได้ เพื่อยืดอายุการใช้งาน ของสินค้าให้นานขึน้ เพือ่ อนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติอกี ทางหนึง่ สินค้าของ ทางโรงงานผลิตจากวัสดุเหลือใช้จากการผลิตถุง เช่น เศษหูหวิ้ จากการท�า ถุงหิ้ว ลักษณะเด่นอีกอย่างหนึ่งของสินค้าของบริษัทฯ คือ ความทนทาน ของถุงขยะที่บางและเหนียว สามารถเห็นได้ชัดจากการทดสอบดึง และ ไม่มีกลิ่นเหม็น สังเกตได้จากการที่สินค้าทั้งหมดอยู่ในออฟฟิตที่ติดแอร์ โดยไม่มีกลิ่นรบกวน และราคาถูกกว่าท้องตลาด

สินค้าของทางบริษัทฯ จะเป็นสินค้าพลาสติก ถุงร้อน ถุงเย็น ถุงหิ้ว ถุง แฟชัน่ ถุงขยะ ถุงซิบทีก่ นั ยูวี และสามารถใช้กบั เตาไมโครเวฟได้ พลาสติก คลุมอาหารถุงบรรจุผัก ถุงขยะแอนตี้แบคทีเรีย ด้วยนวัตกรรมในการเก็บ กลิ่นขยะ มีกลิ่นมะนาว มีเชือกในการมัดปากถุง พลาสติก คลุมโรงเรือน พลาสติกคลุมแปลง พลาสติกทีใ่ ช้ในโรงงานทุกชนิด และตอนนีท้ างบริษทั ฯ ได้เข้าไปรับซื้อพลาสติกเก่าคลุมโรงเรือนของเกษตรกรที่ใช้พลาสติกคลุม โรงเรือนเพือ่ ลดค่าใช้จ่ายในการซือ้ พลาสติกม้วนใหม่ โดยการน�าพลาสติก เก่ามารีไซเคิล พร้อมกับให้ค�าปรึกษาแก่ลูกค้าเพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติใน การใช้พลาสติกที่สามารถรีไซเคิลได้ นอกจากนี้ บริษัท ลานนากรีนซัพพลาย จ�ากัด ยังรับผลิตและรับสั่งตาม ออเดอร์ส�าหรับร้านค้าต่างๆ และโรงงานอุตสาหกรรม ในราคาที่เทียบได้ ว่าต�่ากว่าในท้องตลาด คุณภาพดีเยี่ยม ด้วยกลยุทธ์ทางการตลาดทีท่ า� ให้ ลูกค้าได้รู้จักเราในฐานะที่เป็นองค์กรที่สร้างคุณค่าให้สังคม และลดภาวะ โลกร้อน “ไม่ว่าองค์กรเล็กหรือใหญ่ ...เราก็สามารถเป็นใครบางคน ที่สร้างความแตกต่างให้สังคมและโลกใบนี้ค่ะ” ฉบับปฐมฤกษ์ 43


Dhrama Diary

ไพศาล ว องไวกลยุทธ

คนคพอ.สู้ชีวิต ไม่มีโอกาส ให้สร้างโอกาส

โดย นายสมเกียรติ ผู้มีชัยวงศ์ (คพอ. 100 กทม.)

มีค�าคมมากมายที่กลั่นมาจากประสบการณ์ชีวิตจริงที่ต้อง แลกมาด้วยความยากล�าบาก และประโยคเหล่านี้ผ่านประสบการณ์ของ สมาชิก คพอ. ท่านหนึ่งที่ ได้สู้ชีวิตมาอย่างสมบุกสมบัน “มรสุมมา ชีวิตแกร่ง มรสุมยิ่งแรง ถ้าเราสู้ แล้วจะอยู่เหนือคน”

ประโยคเหล่านีน้ า่ จะเป็นบทเรียน ที่ท่านได้ให้มาในการท�าธุรกิจ

44 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์

“มีโอกาส ให้จับโอกาส ไม่มีโอกาส ให้สร้างโอกาส มีวิกฤต ท�าให้เป็นโอกาส”

“กล้าหรือไม่ที่จะเปลี่ยนแปลง พร้อม หรือยังที่จะท�างานหนัก พร้อมหรือ ยังกับปัญหาใหม่ที่ต้องคอยตามแก้ จัดสรรเวลาเหมาะสมหรือยัง ยิ่งให้ ยิ่งได้ ยิ่งให้ยิ่งมีเหลือ ความพ่ายแพ้ ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคือการทนงตน”


คนคพอ. ท่านนี้คือ “ไพศาล ว่องไวกลยุทธ์”

คุณไพศาล ปัจจุบัน ประธานกรรมการผู้จัดการ บริษัท โตว่องไว จ�ากัด และอีกบริษัทในเครือคือ บริษัท เทวดาจิ๊กโก๋ จ�ากัด ได้ท�าธุรกิจ ผลิตจ�าหน่าย-ไฟแนนซ์-รับบริการรถตอกเสาเข็ม เขาจบ อบรมคพอ.รุ​ุ่นที่ 43 จังหวัดสุพรรณบุรี, อบรม คพอ.ชั้นสูงรุ่นที่ 1 (ออสเตรเลีย) ก่อนหน้านั้น ได้ผ่านชีวิตการท�างานมาอย่างน่าสนใจ ว่าในปี 2535 ท�ากิจการโรงเลื่อย ที่อ�าเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว และปี 2536 ขาดทุนธุรกิจโรงเลื่อย จนหมดตัวเป็นหนี้มากถึง 14 ล้านบาท

ในการท�าธุรกิจของบริษทั โตว่องไว จ�ากัด และอีกบริษทั ในเครือคือ บริษทั เทวดาจิ๊กโก๋ จ�ากัด ที่เป็นธุรกิจ ผลิต-จ�าหน่าย-ไฟแนนซ์-รับบริการรถตอก เสาเข็ม คุณไพศาลได้วางเป้าหมายทีไ่ ปให้ถึงในปี 2557 คือ จะท�ายอด ขายให้ได้ ประมาณ 400 ล้านบาท โดยตั้งเป้าหมายการพัฒนาการผลิต ให้มีประสิทธิภาพประสิทธิผลที่ดีกว่า ลดความสูญเสีย และใช้แนวทาง การพัฒนากระบวนการผลิตกระบวนการจัดการแบบใช้แนวทางนวัตกรรม เพือ่ เพิม่ ผลผลิตและได้คณ ุ ภาพของ ซึง่ หัวใจคือการให้ลกู ค้าให้ได้รบั ความ พึงพอใจทัง้ สินค้าและบริการทัง้ ก่อนและหลังการขายส่งมอบสินค้าให้ลกู ค้า

หลังจากวิกฤติ หมดตัว และเป็นหนี้ ถึง 14 ล้านบาทสมัยนั้นซึ่งมากจริงๆ ก่อให้เกิด โอกาสใหม่มีสติคิด เกิด ปัญญาท�าเพราะหลังชนฝา จึงได้สร้าง โอกาสใหม่เกิดปี 2537 มีรถตอกเสาเข็มคันแรกของประเทศไทย 1 คัน และปี2538 มีรถตอกเสาเข็มคันที่ 2 และเพิ่มเป็น 4 คันในปีเดียว

ส่วนเป้าหมายต่อพนักงานให้มีความสุขในการท�างานและมีรายได้ที่ดีมี อนาคตก้าวหน้าในการท�างานในสายการผลิตและเจ้าหน้าทีจ่ ดั การในบริษทั เป้าหมายต่อผู้ถือหุ้น หุ้นส่วน ให้ได้รับผลตอบแทนในการลงทุนที่คุ้ม และ มีความสุขความพึงพอใจในการมีส่วนร่วมกับบริษัทฯ

“ช่วงเหนื่อยการเงินที่เป็นหนี้ 14 ล้านและ สร้างธุรกิจใหม่รถตอกเสาเข็มต้องอดทน เจรจากับบรรดาเจ้าหนี้ ต้องอดทน และ อดทนเจรจา บทเรียนสร้างความเข้มแข็ง ชีวิตต้องสู้ มีเลือกสู้และถอยตาย”

คุณไพศาล ได้ตั้งเป้าหมายส�าคัญอีกประการที่สา� คัญคือการขยายลูกค้า ไปในกลุ่มประเทศอาเซียน โดยได้น�ารถเข้า สปป.ลาว และก�าลังผลิตส่ง มอบรถตอกเสาเข็มให้ทางเมียนมาร์ (พม่า)

ธุรกิจด้านตอกเสาเข็มเจริญขึ้นเรื่อย ๆ กระทั่งในปี 2541 มีรถของบริษัท ถึง 8 คัน และ ใช้หนี้ไปได้มากกว่า 7 ล้านบาท หลังจากนั้นก็มุ่งเน้นการ พัฒนารถตอกเสาเข็มกับการจัดการพัฒนาระบบควบคุมการผลิตการค้า อย่างต่อเนื่อง ถึงช่วงเปลี่ยนทิศทางดีขึ้นปี 2546 เริ่มปลูกโรงงานเพื่อผลิต รถตอกเสาเข็มอย่างมีสภาพดีเอื้อการผลิตที่ดีขึ้น เกิดผลลัพธ์ในปี 2547 มีกา� ไรสามารถปลูกบ้านราคาหลังละ 15 ล้านบาท ใช้เวลาต่อสู้ 11 ปี และในปี 2548 มีหลักทรัพย์มูลค่ามากกว่า 100 ล้านบาท ปัจจุบันยอด ขายในปี 2556 ซึ่งเหลือเวลาประมาณอีก 3 เดือนเป้าการขายในปีนี้ ประมาณ 200 ล้านบาท นับเป็นการก้าวกระโดดทางธุรกิจที่น่าสนใจ

คุณไพศาล กล่าวช่วงท้ายว่า คพอ. ให้โอกาสชีวิตใหม่ทา� ให้การค้าเติบโต มาตลอดจากความรู้แนวทางที่ได้จากการฝึกอบรม คพอ. ได้นา� มาพัฒนา ธุรกิจทุกด้าน และพร้อมจะร่วมกิจกรรมต่างๆ และสนับสนุนสมาคมฯ อย่าง เต็มก�าลังต่อไป บริษัท โตว่องไว จ�ากัด และ บริษัท เทวดาจิ๊กโก๋ จ�ากัด ส�านักงานใหญ่ 151 หมู่ 4 ต�าบลสระยายโสม อ�าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี 72220 โทร.035-559567, 035-559155, แฟกซ์ 036-559559 มือถือ 081-8586123, 081-9898089 www.toewongwai.com E-mail : toewongwai@hotmail.com

ฉบับปฐมฤกษ์ 45


productivity

BLACK BOX ทางออก SMEs ไทย Productivity กับ SMEs ไทยในอนาคต โดย Mr. SK

หากมองเอสเอ็มอีไทยวันนี้ จากอดีต เข้าใจปัจจุบนั เพือ่ วางหมากสูอ้ นาคต SMEs ไทย ทั้งประเทศ ประมาณ 2.9 ล้านคนเป็นสัดส่วนที่ใหญ่ที่สุดของ ผู้ประกอบการทั้งประเทศ ถึงประมาณ 98 % สร้างมูลค่าการส่งออกรวม โดยประมาณ 30% ของมูลค่าการส่งออกรวมของประเทศ ก่อให้เกิดการ สร้างงานจ้างงานมากกว่า 12 ล้านคน สถานการณ์ในปัจจุบันพบว่ามูลค่าการส่งออกปี 2556 ตกต�่ามากกว่าที่ คาดการณ์เป็นประวัติศาสตร์ประเมินในปีนี้การเติบโตด้านส่งออกGDP เพียง 1-1.5 % เท่านั้น จากข่าวสารที่ส�านักกูรู ทั้งภาครัฐ เอกชนสถาบัน มหาวิทยาลัย ประเมินออกมาโดยเฉลี่ย

ถ้าหากประเมินสถานการณ์ในปีหน้า 2557 โดยวิเคราะห์จากปัจจัยเสีย่ ง ทีก่ ระหน�า่ ตลอดช่วงไตรมาส 4 ปี2556 ทัง้ การมองจากเศรษฐกิจโลก และ ปัจจัยภายในประเทศไทยเอง ที่สะท้อนจากปัญหาการเมือง การบริหาร โครงการภาครัฐที่สื่อลงข่าวรายวันให้เราเสพข้อมูล ไม่ว่าปัญหาคอรัปชั่น ทีร่ นุ แรงมากขึน้ ในสังคมไทย การใช้งบประมาณแผ่นดินทีม่ กี รู สู า� นักระบบ คิดวิเคราะห์ ได้มที งั้ การท�างานวิจยั ออกมามีความเห็นสะท้อนการคอรัปชัน่ ทีร่ นุ แรงมากขึน้ ท�าให้เราประเทศไทยเสียโอกาสในการใช้งบประมาณอย่าง เต็มที่เพื่อพัฒนาการศึกษา ทีน่ า่ สนใจคือผลการพบว่าประเทศไทยถูกจัดอันดับใน 10 ประเทศอาเซียน เราหล่นไปอยู่อันดับ 8 เกือบสุดท้ายของอาเซียน 10 ประเทศ หันมามองสถานการณ์ SMEs ในอนาคตแล้วก็น่ากังวล เพราะว่าหากดู ตัวเลขเม็ดเงินงบประมาณมาช่วยสร้างผลักดันเอสเอ็มอีไทยแล้วถือว่าเป็น สัดส่วนน้อยมาก เพราะเงินจ�านวนหนึ่งหายไประหว่างทางของการใช้งบ ประมาณ จากการคอรัปชัน่ ทีเ่ ป็นปัจจัยส�าคัญทีท่ า� ให้ขดี ความสามารถใน การแข่งขันน้อยลงเรื่อยๆ

46 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


อย่างไรก็ตามแต่ เรา SMEs ก็จะต้องหันมาดูตวั เองให้เต็มทีโ่ ดยเฉพาะการ เพิม่ Productivity หรือสมรรถนะการผลิตรวมของชาติของเอสเอ็มอี เพราะ อัตราผลิตภาพยิ่งสูงก็ยิ่งดีและแสดงให้เห็นว่า “มีฝีมือ” ต้องมีฝีมือในการ ปรับปรุงวิธีการท�างานให้เกิดผลดีที่ดีกว่ามากกว่าเดิม มันไม่ใช่ทฤษฎี Input 100% และผลลัพธ์ Output ออก 100% มันต้องออกผลลัพธ์ที่ดี มากกว่า ความหมาย PRODUCTIVITY “The amount of output per unit input” หมายถึง “ปริมาณของ output ต่อ 1 หน่วย input” เป็นการบ่งบอก อัตรา การผลิต สมรรถนะในการผลิต ที่สามารถวัดได้จากอัตราส่วนระหว่าง Input (สิ่งที่ป้อนเข้า) กับ Output (ผลที่ได้)

PRODUCTIVITY = OUTPUT / INPUT ตัวชี้วัดที่มองเห็นจาก OUTPUT ของการผลิตหรือกระบวนการคือ P คือ Product หรือ Service หรือผลิตภัณฑ์หรือการบริการ Q คือ Quality หรือคุณภาพ C คือ Cost หรือต้นทุน D คือ Delivery หรือเวลาที่ใช้ในการส่งมอบ S คือ Safety หรือความปลอดภัย M คือ Moral หรือขวัญและก�าลังใจของพนักงาน E คือ Environment หรือสิ่งแวดล้อม

แต่ทสี่ ดุ ของตัวชีว้ ดั ทีจ่ บั ต้องได้ ในการใช้แนวคิดเครือ่ งมือ PRODUCTIVITY ของผู้ประกอบการคือ รายได้ ก�าไรสุทธิทไี่ ด้จากกระบวนการ Productivity ที่ผู้ประกอบการ SMEs คาดหวังที่จะได้รับอีกทั้งเป็น ความพึงพอใจในผลลัพธ์รายได้ก�าไรสุทธิที่ได้รับ ที่เป็นเป้าหมาย สูงสุด ที่ตั้งเป้าไว้ ( Achievement Goal ) ผมขอยกตัวอย่าง เช่น ผู้ประกอบการผลิตกุ้งส่งออกปูส่งออก สมมติ ว่ากระบวนการ Productivity ผิดพลาดในเรือ่ งคุณภาพ ในเรือ่ งความ ปลอดภัย เกิดส่งมอบกุ้งเน่าติดเชื้อ หรือปู เน่าเหม็นติดเชื้อผู้บริโภค น�าไปบริโภคเกิดท้องเสียท้องร่วง ต้องป่วยเข้าโรงพยาบาลเสียค่าใช้จา่ ย นี้ก็เป็นผลจาก Productivity การบริโภคปูเน่าก่อให้เกิดผลเสีย ต่อสุขภาพประชาชนผู้บริโภค ทางแก้ ต้องเปลี่ยน (Change) พัฒนาปรับปรุงแก้ไข Productivity เพื่อเข้าสู่คุณภาพความปลอดภัยของประชาชนผู้บริโภค จึงเกิด ผลลัพธ์ดีต่อผู้บริโภคและผู้ส่งมอบสินค้า (ผู้ประกอบการSMEs) ที่ ขายได้ มีก�าไร ดังนัน้ PRODUCTIVITY คือความสามารถในการสร้างผลผลิตทีท่ า� ให้ เกิดผลดีหรือมากกว่า ที่ SMEs ไทยต้องรู้ ต้องน�าไปใช้ ให้เกิดผล เพื่อความได้เปรียบในการแข่งขันและรู้เท่าทันสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ของประเทศนี้ สิ่งที่อยากบอกในตอนนี้คือ SMEs ไทยต้อง คิด สนใจ เรียนรู้ น�าไป ท�า ปรับปรุงใช้ ส�าเร็จ รวยได้จริงครับ

ฉบับปฐมฤกษ์ 47


Business intelligence

แนวคิด “Smart Software for Smart SMEs” สนับสนุนโปรแกรม SMEs ใช้ฟรี 2 ปี ทีมงาน Tsme ได้รับทราบถึงโครงการ Prosmes ของ Prosoft ในการติด อาวุธทางปัญญาด้านไอทีสา� หรับผูป้ ระกอบการเอสเอ็มอี จึงได้ขอสัมภาษณ์ คุณวิโรจน์ เย็นสวัสดิ์ ผู้บริหาร Prosoft เพื่อน�าเสนอรายละเอียดให้ ทุกท่านได้รับทราบ คุณวิโรจน์ เย็นสวัสดิ์ มีความน่าสนใจในแนวคิด วิธีการท�าธุรกิจ และ การสร้างความสมดุลของชีวิต และการท�างาน โดยมีเป้าหมายเป็นธุรกิจ เพื่อสังคม หรือ Social Enterprise ที่ต้องการส่งเสริมสนับสนุนผู้ประกอบ การขนาดกลางและขนาดย่อมของไทย (SMEs) ด้วยการติดอาวุธทางข้อมูล สารสนเทศ หรือ IT ที่ทวีความส�าคัญยิ่งขึ้นในอนาคต ก้าวเดินของ บริษัท Prosoft จึงมีความชัดเจนตามแนวคิดของ “วิโรจน์ เย็นสวัสดิ์” ที่ต้องการให้เป็นกิจการที่สร้างประโยชน์ให้กับคนรุ่นใหม่ ผู้ประกอบการ SMEs อย่างครบวงจร โดยตั้งเป้าหมายไว้ว่าจะจ้างงานใน พื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ให้ถึง 10,000 คน และจะให้เชียงใหม่เป็น Back Office ของไทยให้ได้ ภายใต้แนวคิด “ร่วมแรง” และ “แบ่งปัน” ที่สา� คัญ ได้ประกาศวิสัยทัศน์ไว้ชัดเจนว่า Prosoft จะ “เป็น Good To Great Company เพื่อก้าวสู่แบรนด์ระดับโลก” วิโรจน์ เย็นสวัสดิ์ CEO ของ Prosoft Group เล่าให้ฟังถึงความเป็นมา ของธุรกิจว่า หลังจากเรียนจบด้านการบริหารการบัญชี ก็ได้เปิดส�านักงาน บัญชี และเห็นโอกาสในการท�า software ด้านบัญชีขนึ้ มา โดยมีส�านักงาน ใหญ่อยู่ที่กรุงเทพฯ กระทั่งท�าธุรกิจมาประมาณ 16 ปีจึงได้ขยายเปิด 48 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์

ส�านักงานที่จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อเดือนมีนาคม 2554 โดยตั้งเป็นบริษัท โปรซอฟท์ คอมเทค ซึง่ แนวความคิดและวิธกี ารท�างานของบริษทั ทีเ่ ชียงใหม่ จะแตกต่าง จากกรุงเทพฯ ด้วยลักษณะทางกายภาพ ภูมิทัศน์ การด�ารง ชีวิตที่สบายเรียบง่าย ไม่ต้องเร่งรีบของคนเชียงใหม่ ท�าให้บุคลากรของ บริษัทมีสมาธิในการท�างาน พัฒนาระบบได้อย่างเต็มที่

“หลังจากประสบความส�าเร็จอย่างดียิ่งกับ โปรแกรมบัญชี WINSpeed, myAccount โปรซอฟท์ไม่เคยหยุดนิ่งใน การพัฒนาซอฟท์แวร์อย่างไม่หยุดยั้งดังค�ากล่าวที่ว่า Prosoft NonStop เราต้องการสร้าง Product Innovation & Service Innovation เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า อย่างแท้จริง ในแต่ละปีเราได้ทุ่มงบประมาณทางด้าน R&D ไม่น้อยกว่า 30% ของยอดรายได้เพื่อสร้าง นวัตกรรมใหม่ๆ ให้เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา” วิโรจน์ เล่าต่อว่า สองปีที่ผ่านมาโปรซอฟท์ได้ทา� การ Design โปรแกรม iERP ขึ้นมาและตอนนี้ก็ถึงเวลาที่โปรซอฟท์จะได้ทุ่มบุคลากรที่มีคุณภาพ พัฒนาโปรแกรม iERP คาดว่าไม่เกิน 2 ปีนับจากนี้โปรแกรม iERP ก็จะ ส�าเร็จออกมาอย่างสมบูรณ์แบบ โปรแกรม iERP จะเป็นนวัตกรรมใหม่ของ โปรซอฟท์ที่เป็นทั้ง Web Application และ Window Application และ โปรแกรม iERP จะส่งออกจ�าหน่ายในประเทศ AEC เพราะเราเชื่อมั่นใน คุณภาพสินค้าและบริการทีเ่ รามีอยูว่ า่ สามารถก้าวสูม่ าตรฐานระดับโลกได้


หลังจากนั้นจึงคิดถึงเรื่องการพัฒนาโปรแกรม Front Office ซึ่งได้เล็ง เห็นว่าการค้าขายทุกสิ่งทุกอย่างอยู่บนโลกออนไลน์ จากนั้นได้เริ่มท�า www.b2bthai.com เมื่อ 5 ปีที่แล้ว โดยน�าเอาต้นแบบมาจาก www.alibaba.com ซึ่งเป็นเว็บไซต์ E-Marketplace ของประเทศจีน ในปี 2551 จึงได้มอบหมายให้คุณโกศล พัฒนาเว็บไซต์ b2bthai.com เวอร์ชั่นแรกออกมา หลังจากออนไลน์มาเป็นระยะเวลาเกือบ 4 ปีการ ตอบรับของผู้ใช้งานค่อนข้างจะเป็นที่พอใจ แต่ด้วยข้อจ�ากัดหลาย ประการท�าเราต้องพัฒนาเว็บ b2bthai version ใหม่ออกมาอีกครั้งโดย ใช้ทีมงานที่เชียงใหม่ และได้พัฒนาโปรแกรมใหม่ ๆ เกิดขึ้นอีกหลาย โปรแกรมที่เน้นB2B, C2C, ออกแบบเว็บไซต์ ได้แก่ antcart.com, b2bthai.com, sogoodweb.com, myotpthai.com และส�าหรับ SMEs โดยเฉพาะคือ www.prosmes.com กระทัง่ เดือนเมษายน 2555 เป็นวันที่ b2bthai.com ได้ออนไลน์อีกครั้ง ท�าให้เรามั่นใจว่าอีกไม่เกิน 5 ปีจากนี้เราจะมีรายได้มากกว่า 100 ล้าน บาท ด้วยความสามารถของโปรแกรม การบริการหลังการขายที่ดีจะ ท�าให้ b2bthai.com ประสบความส�าเร็จได้ไม่ยาก และในปีนไี้ ด้มสี นิ ค้า มากกว่า 1,000,000 รายการ ประกาศซื้อขายที ่ b2bthai.com ซึ่งในปี ถัดไปจะท�าให้เรามีรายได้ 20 ล้านบาท และภายใน 3 ปีนับจากนี้จะ มีสนิ ค้าทีป่ ระกาศขายทีเ่ ว็บนีไ้ ม่ตา�่ กว่า 5,000,000 รายการ หลังจากนัน้ ก็จะท�าให้เรามีรายได้เกือบร้อยล้าน

“Smart Software for Smart SMEs” สนับสนุนโปรแกรม SMEs ใช้ฟรี 2 ปี

CEO โปรซอฟท์ กรุ๊ป กล่าวว่าจุดแรก โปรซอฟท์ได้สร้างมิติใหม่ให้เกิด ขึ้นในวงการซอฟท์แวร์บัญชีไทย โดยเปิดโอกาสให้ธุรกิจ SMEs ได้ใช้ โปรแกรมบัญชีProsoft myAccount ฟรี 2 ปี โดยมีการเปิด Training

Center อบรมลูกค้าก่อนน�าไปใช้งานจริง ด้วยแนวคิดว่าจะท�าอย่างไร ให้คนได้ใช้โปรแกรมได้จริงก่อนที่จะมีการสั่งซื้อ เพราะลูกค้าจ�านวนไม่ น้อยที่เคย ตัดสินใจเลือกซอฟท์แวร์ที่ไม่มีคุณภาพ การบริการที่ไม่ดี มาใช้งาน ต้องหาซอฟท์แวร์ตัวใหม่มาใช้งาน ท�าให้เสียเวลา เสีย ค่าใช้จ่าย โปรซอฟท์ต้องการพิสูจน์ความเป็นมืออาชีพทั้งคุณภาพ ซอฟท์แวร์และการบริการที่ดี “ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาโปรซอฟท์เติบโตประมาณ 40% ทุกปี โปรแกรม บัญชี Prosoft myAccount ออกสู่ตลาดปลายปี 47 ลูกค้าให้การตอบ รับดีมาก ตอนนี้เรายอมสูญเสียรายได้เฉลี่ยเดือนละ 2 ล้านบาท แต่ เรามี Product หลายตัวทีต่ ดิ ตลาด ไปแล้วเช่น โปรแกรม ERP Enterprise, WINSpeed, STAR-ACC, HR-Pro, POS-Proและอืน่ ๆอีกรายตัว โปรซอฟท์ มียอดขายที่เพิ่มขึ้นทุกปี สถานะทางการเงินเราแข็งแกร่ง การบริหาร การจัดการเราดี พอที่จะท�าหน้าที่ บริการลูกค้าเราได้อย่างประทับใจ” วิโรจน์ได้ฝากแนวคิดการแข่งขันทางธุรกิจว่าในปัจจุบันโลกมีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ธุรกิจมีการแข่งขันกันอย่างรุนแรงมากขึ้น ในแต่ละวัน คนที่ปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงตนเองเท่านั้นที่จะอยู่รอด ปัจจุบันเทคโนโลยีทางด้านซอฟท์แวร์ได้เข้ามามีบทบาทต่อการท�างาน

ฉบับปฐมฤกษ์ 49


ให้มปี ระสิทธิภาพภายในองค์กรอย่างมากมาย โปรซอฟท์กรุป๊ จึงต้องการ เป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนธุรกิจ SMEs ให้มีขีดความสามารถทาง ด้านการแข่งขัน เราต้องการเป็น “Smart Software for Smart SMEs” เพื่อสร้างSMEs ให้เติบโตอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน โปรซอท์ฟจึง มีนโยบายให้ SMEs ทั่วประเทศ ได้ใช้ซอฟท์แวร์ฟรี 2 ปี โดยไม่มี ข้อผูกมัดใดๆ ทั้งสิ้น ทั้งนี้เพื่อเป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายให้กับ SMEs ในระยะ 2 ปีแรกซึง่ ถือว่าเป็นก้าวแรกของผูป้ ระกอบการ 50,000 กิจการ ทั่วประเทศ

ซอฟท์แวร์ที่ SMEs จะได้ใช้ ฟรี 2 ปี ประกอบด้วย

• โปรแกรมบัญชี myAccount • โฆษณาและประกาศซื้อ-ขายสินค้า B2B E-marketplace ที่ www.B2BThai.com • โฆษณาและประกาศซื้อ-ขายสินค้า B2C, C2C E-marketplace ที่ www.AntCart.com • โฆษณาและประกาศซื้อ-ขายซอฟท์แวร์ E-Marketplace ที่ www.AppStorethai.com • ได้ใช้เว็บส�าเร็จรูป www.Sogoodweb.com • ประกาศรับสมัครพนักงานได้ที่ www.Lionjob.com ทั่วประเทศ

50 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์

• ประกาศรับสมัครพนักงานได้ที่ www.Lionjobnorth.com ส�าหรับ ภาคเหนือ • ประกาศรับสมัครพนักงานได้ที่ www.Lionjobsouth.com ส�าหรับ ภาคใต้ • ประกาศรับสมัครพนักงานได้ที่ www.LionjobEsan.com ส�าหรับ อีสาน • ประกาศรับสมัครพนักงานได้ที่ www.LionjobEast.com ส�าหรับ ภาคตะวันออก • ประกาศรับสมัครพนักงานได้ท ี่ www.Lionjobmyanmar.com ส�าหรับ ประเทศพม่า สนใจสามารถสมัครได้ที่ www.prosmes.com

โมเดลธุรกิจ “ธนาคารซอฟท์แวร์ ร่วมแรงและแบ่งปน”

วิโรจน์ กล่าวว่าตลอดเวลาการท�างาน ตั้งแต่จบมหาวิทยาลัยมีโอกาส ท�างานกับธุรกิจเอกชนมากมายแต่ไม่มีโอกาสได้เป็นเจ้าของธุรกิจที่ได้ เข้าไปท�างานเลย จึงคิดว่าหากมีโอกาสท�าธุรกิจเป็นของตนเองเมื่อถึง เวลาที่เหมาะสมแล้วจะให้พนักงานมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของร่วมกันให้ได้ และพบว่าธุรกิจซอฟท์แวร์เหมาะสมที่สุดเพราะเป็นธุรกิจที่ท�ากับคน หมู่มาก เป็นธุรกิจที่ใช้เทคโนโลยี เป็นธุรกิจที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม และประเทศชาติและเป็นธุรกิจที่จะเจริญเติบโตก้าวหน้าไปอย่าง ต่อเนื่องและยาวนาน


อนาคต “คนเก่ง” ทั่วโลกเป็นของโปรซอฟท์ ผมอิงโมเดลมาจาก ธนาคารคนจนของ มูฮัมหมัด ยูนุส ชาวบังคลาเทศ ผู้ก่อตั้งธนาคารคนจนเป็นคนแรกของโลก จึงตั้งใจที่จะยกระดับความเป็นอยู่ที่ดีให้กับพนักงาน ยกมาตรฐานการครองชีพของพนักงานโปรซอฟท์ให้มี ความกินดีอยู่ดีความมั่นคงในชีวิต โดยธนาคารซอฟท์แวร์ หมายถึง การรวบรวมซอฟท์แวร์ที่พัฒนาขึ้นเป็นจ�านวนมาก ภายใน SoftBankThai ร่วมแรงและแบ่งปัน หมายถึง คนของ SoftBankThai ต้องร่วมมือร่วมแรงกายใจในการคิดค้น สร้างนวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อให้เกิดเศรษฐกิจอย่างสร้างสรรค์ เมื่อหารายได้มาแล้วน�ามาแบ่งปันผลก�าไรกันตามสัดส่วน”

ดังนั้นจึงท�าให้เกิดธุรกิจธนาคารซอฟท์แวร์ขึ้นมาโดยมีแนวคิดดังนี้คือ 1. ยึดมั่นในเป้าหมายหลักที่จะเป็นธนาคารซอฟท์แวร์ที่แสวงหาก�าไร ไม่ใช่องค์กรการกุศล โดยมีเป้าหมายหลักที่จะสร้างอุตสาหกรรม ซอฟท์แวร์ขนาดใหญ่ให้เกิดขึน้ ทีจ่ งั หวัดเชียงใหม่เพือ่ จ�าหน่ายในประเทศ และส่งออกไปจ�าหน่ายที่ต่างประเทศ และจะแบ่งปันความร�่ารวยให้ กับหุ้นส่วนของเราจะแบ่งปันเทคโนโลยีสู่ SME ไทยให้สามารถแข่งขัน ในเวทีการค้าได้ 2. พนักงานทุกคนที่ท�างานในธนาคารซอฟท์แวร์คือหุ้นส่วนของเรา 3. สร้างกระบวนการท�างานให้เกิดการร่วมแรงและแบ่งปัน โดยจะเป็น Software Factory ที่พัฒนาซอฟท์แวร์ให้ได้มาตรฐานระดับโลก 4. ให้การศึกษา อบรม สัมมนาและพัฒนาคนให้เป็นคนเก่ง คนดี และ คนที่ใช่ โดย จะเป็นศูนย์ฝึกบุคลากรด้านไอทีให้กับธนาคารซอฟท์แวร์ อย่างต่อเนื่อง ทางศูนย์ฝึก Academy จะรับคนที่สนใจและหลงใหลใน งานไอทีจากทุกจังหวัดทั่วประเทศมาศึกษา

วิโรจน์ กล่าวว่า เรากล้าคิดใหญ่ ฝันใหญ่ แล้วพยายามไปให้ถึงความ ฝันนัน้ หลายปีทผี่ า่ นมาเราหาคนทีเ่ ก่งยากมากขึน้ ทุกที เราได้เปลีย่ น ทัศนคติใหม่โดยไม่จา� เป็นต้องยึดติดกับแนวคิดแบบเดิมๆอีกต่อไป ถ้า หากเราต้องการเป็น Good To Great Company เราต้องคิดว่า “คน เก่งทั่วโลกเป็นของเรา” มีคนอินเดียมากมายมหาศาลที่เราสามารถน�า มาเป็นทรัพยากรของเราได้ “เราสามารถน�าทรัพยากรบุคคลที่อินเดียมาสร้างความร�่ารวยใหญ่โต ให้กับบริษัทได้ เราไม่สามารถเป็นบริษัทเล็กๆ ต่อไปได้อีกแล้ว เพราะ บริษทั ขนาดเล็กหรือบริษทั ขนาดกลางไม่สามารถแข่งขันกับบริษทั ขนาด ใหญ่ได้ เราต้องก้าวไปสูใ่ หญ่ทสี่ ดุ เร็วทีส่ ดุ ดีทสี่ ดุ และถูกทีส่ ดุ ” ปัจจุบนั Prosoft จึงมีสา� นักงานทีเ่ กิดขึน้ ในต่างประเทศคือทีเ่ มืองบังกะลอร์ และ เชนไน ประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นเมืองไอทีระดับโลก เป็นแหล่งชุมนุม โปรแกรมเมอร์ระดับโลก รวมถึงล่าสุดที่ได้ขยายสาขาที่กรุงย่างกุ้ง ประเทศพม่าเรียบร้อยแล้ว โดยใช้ชื่อว่า Prosoft Myanmar Co.,Ltd. ซึ่งเป็นการร่วมลงทุนกับนักธุรกิจพม่า และวิโรจน์ ยังตั้งเป้าไว้อีกว่าในปี 2562 หรือ 5 ปีข้างหน้าโปรซอฟท์ ได้เตรียมความพร้อมในการก่อสร้างโครงการ “Creative Park” ขึ้นใน ที่ท�าการแห่งใหม่บนถนนสันก�าแพง-แม่ออน บนเนื้อที่ 100 ไร่ เพื่อให้ เป็นสถานที่ท�างานที่เป็นธรรมชาติ เน้นการพึ่งพาตนเองได้ เป็นแบบ อย่างให้กับสังคมที่ต้องการอยู่กับ ภายในพืน้ ที่จะประกอบด้วยอาคาร ส�านักงาน ที่พัก โรงแรม รีสอร์ทเพื่อรองรับพนักงาน และลูกค้าของโปร ซอฟท์จะถูกออกแบบให้ประหยัดพลังงาน ใช้พลังงานให้น้อยทีส่ ดุ ทุก สิ่งทุกอย่างจะกลมกลืนไปกับธรรมชาติ พื้นที่ส่วนใหญ่จะประกอบไป ด้วยพืน้ ทีส่ เี ขียว เป็นแหล่งอาหาร เป็นประโยชน์ต่อพนักงานและลูกค้า ที่ได้มีโอกาสเดินทางมาอบรมสัมมนาในสถานที่แห่งนี้ด้วย การเดินไปสู่อนาคตของ Prosoft จึงเป็นทั้งแบบอย่างของ SMEs ไทยที่ มองไกล กล้าคิด กล้าท�า เพื่อไปสู่เป้าหมายที่วางไว้อย่างมีอุดมการณ์ ที่วางไว้ ส�าคัญที่สุด “วิโรจน์ เย็นสวัสดิ์” มิได้ใช้โมเดลธุรกิจทั่วไปที่ มุ่งสู่การแสวงหาก�าไรสูงสุด แต่เป็นการสร้างโมเดลการแบ่งปันให้กับ คนรอบข้างทัง้ พนักงาน และธุรกิจสายพันธุ์SMEs ไทย ทีก่ �าลังต้องการ ติดอาวุธทางไอทีเพือ่ การแข่งขันทีร่ นุ แรงในประเทศและระหว่างประเทศ ในอนาคตต่อไป สนใจข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.prosoft.co.th

ฉบับปฐมฤกษ์ 51


AD


Gift Souvenirs

From Chiang Rai Thailand Tel. 053-703916-7

บริษัท นันทวัน (ก๋องค�ำ) จ�ำกัด Nuntawan Kongkam Co.,Ltd.

ช็อบของฝาก หลากของชิม อาทิเช่น แหนม แคบหมู หมูยอ ไส้อั่ว น�้าพริกหนุ่ม ขนมเมืองเหนือ และสินค้า OTOP ไว้บริการคุณที่นี่ 534 ม.1 ต.บ้านดู่ อ.เมือง จ.เชียงราย 57100

www.giftnuntawan.com, www.namnuntawan.com e-mail : nuntawangift@gmail.com nuntawangift2@hotmail.co.th

เปิด 8.00 - 20.30 น.


81/7 ถ.จามเทวี ต.เวียงเหนือ อ.เมือง จ.ล�าปาง 52000 โทร. (054) 224-148 มือถือ 089-7551500 E mail : pinyokaset@gmail.com 54 ไทยเอสเอ็มอีนิวส์


หางหุนสวนจํากัด เปรมสุวรรณ E-mail : c.premsuwan@gmail.com, c.premsuwan@yahoo.com

• รับออกแบบ รับเหมากอสราง • ผลิตบล็อกประสาน • ขาย-ใหเชา ที่ดิน , บาน 448 หมู 9 ถนนเวียงสวรรค ซอย 3/3 ต.แมแเมาะ จ.ลําปาง 52220

TEL : +66 (8) 0120 6565, +66 (8) 6420 6636

บริษัท อภิวัฒนเน็ทเวิรค จํากัด HOME THEATER, KARAOKE, P.A. CCTV ออกแบบ ติดตั้ง วางระบบ ภาพ-เสียง วงจรปด หองประชุม สํานักงาน บาน โฮมเธียรเตอร คาราโอเกะ 421/2 ถนนบรรพปราการ ตําบลเวียง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 57000 โทร/แฟกซ 053-715510, 053-752102 E-mail : aphiwat2000@hotmail.com

บริษัท ส�ำนักข่ำววีนิวส์ จ�ำกัด Vnewsfanpage/facebook www.vnews.co.th โทร. 055-337227, 089-1115529, 081-9728838 แฟกซ์. 055-337227Email : Vnewspage@gmail.com ทุกข่าวสาร ทุกความเคลื่อนไหวของจังหวัดพิษณุโลก ชัดเจน ตรงประเด็น เป็นสื่อกลาง ฉับไว ทันทุกเหตุการณ์ สมาชิกคพอ.รุ่นที่ 262 พิษณุโลก

PREMIER SCALECo.,Ltd.

บริษัท พรีเมียรเครื่องชั่ง จํากัด

บริษทั พรีเมียร์ เครื�องชั�ง จํากัด

เชื่อมโลกธุรกิจดวยความคิดติดกระแส อาน ไทยเอสเอ็มอีนิวส

ผูผลิตและตัวแทนจําหนาย ที่ใหญที่สุดในภาคเหนือตอนลาง

ศูนยรวมเครื่องชั่งรถบรรทุก, เครื่องชั่งบรรจุ, เครื่องชั่งไหลผาน, เครื่องชั่งสายพานลําเลียง ศูนยรวมเครื่องชั่งระบบดิจิตอลในอุตสาหกรรมทุกประเภท, เครื่องมือวิทยาศาสตร, เครื่องชั่งเพื่อสุขภาพ, เครื่องชั่งอุตสาหกรรมอาหาร โปรแกรมเครื่องชั่ง, อุปกรณชุดตอพวง

รับสอบเทียบเครื่องชั่งตามระเบียบสํานักงานชั่งตวงวัด กระทรวงพาณิชย ยินดีใหคําปรึกษา ฟรี

“สินคามาตรฐาน บริการเปนหนึ่ง” 397 หมู 6 ต.หัวรอ อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 โทร 055-337140, 080-5151600, 081-9728838, 089-1115529 โทรสาร 055-337134 Facebook / พรีเมียร เครื่องชั่ง Website : www.premierscale.net

สมาชิกคพอ.รุนที่ 262 พิษณุโลก

g thaismenews.com f Facebook.com/Thaismenews Iissuu.com/GP_Nuntapun

ฉบับปฐมฤกษ์ 55


แบบฟอร์มลงโฆษณา วารสาร THAI SMEs News ชื่อบริษัท/ธุรกิจ : ชื่อเจ้าของกิจการ : ชื่อผู้ติดต่อ/ ประสานงาน : ที่อยู่ :

รุ่น :

เลขที่ ต�าบล

หมู่

หมายเลขโทรศัพท์ e-mail address : Website : พื้นที่/ขนาดโฆษณา/Size

A1 ในปกหน้า B2 ในปกหลัง C2 เนื้อในครึ่งหน้า C4 ขนาด 1/8 หน้า

ตรอก/ซอย อ�าเภอ โทรสาร :

ราคา 12,000.ราคา 10,000.ราคา 6,000.ราคา 2,500.-

ถนน จังหวัด

B1 ปกหลัง C1 เนื้อในเต็มหน้า C3 ขนาด 1/4 หน้า

ราคา 15,000.ราคา 9,000.ราคา 4,000.-

* อัตราค่าโฆษณานี้ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม และค่าธรรมเนียมโอนธนาคาร ท่านสามารถหักภาษี ณ ที่จ่ายได้ 2%

รายละเอียดข้อความโฆษณา :

ส่งแบบตอบรับ การสนับสนุนการลงโฆษณา สอบถาม รายละเอียดเพิ่มเติม ติดต่อ : คุณประภา กลิ่นสุวรรณ โทร. 089-7005502, 088-2686963 โทรสาร. 053-804958 e-mail : prapa.aoy2502@gmail.com คุณวิเชียร บ�ารุงเกาะ โทร. 086-9164555, 053-804908-9 โทรสาร. 053-804958 e-mail : info@nuntapun.com ช�าระเงินค่าโฆษณา โอนเงิน : ธ.กรุงไทย บัญชีออมทรัพย์ สาขาสนามบิน เลขที่บัญชี 554-1-01657-6 ชื่อบัญชี คุณอภินันท์ ศิริโยธิพันธุ์ ธ.กสิกรไทย บัญชีออมทรัพย์ สาขาสีแ่ ยกสนามบินเชียงใหม่ เลขทีบ่ ญ ั ชี 414-2-34495-0 ชื่อบัญชี บจก.นันทพันธ์พริ้นติ้ง ส่งหลักฐานการช�าระเงิน มายังคุณกัลยา บุญยืด โทร. 084-6172235, 053-804908-9 โทรสาร. 053-804958 e-mail : info@nuntapun.com ลงชื่อ...........................................................................ผู้ลงโฆษณา ( )


EDWARDS hot water

ผลิตภัณฑ EDWARDS Solar Hot Water L Open Coupled Solar

GTD Ground Tank Direct

ข อดีของการใช พลังงานทางเลือก – พลังงานแสงอาทิตย 1. ลงทุนครั้งแรกเพียงครั้งเดียว และไมมีอันตรายจากการใชงาน 2. เปนพลังงานสะอาดบริสุทธิ์ ที่ไมมีวันหมดและไมตองซื้อ 3. อายุการใชงานนานกวา 10 ปขึ้นไป หลังการคืนทุนก็ไดใชพลังงานฟรี 4. ติดตั้งเพียงครั้งเดียวสามารถใชจายนํ้ารอนไดทั่วทั้งระบบ 5. อุปกรณประกอบตัวเครื่องมีนอยชิ้น การบํารุงรักษาและ การซอมแซมงาย จึงทําใหคาใชจายในการบํารุงรักษาตํ่า 6. ระยะคืนทุนไมเกิน 5 ป แตบริษัทรับประกันคุณภาพถึง 7 ป 7. หมดระยะรับประกัน ยังมีการบริการบํารุงรักษาหลังการขาย 8. ไดชวยสังคมและสนองนโยบายรัฐบาลในเรื่องลดภาวะโลกรอน

ผู จัดจําหน ายในประเทศไทย

บริษัท เคท (ไทยแลนด) จํากัด : 144/6 ซอยสีลม 10 ถนนสีลม แขวงสุริยวงศ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท 02 234 4242 E-mail : lionkessiri@gmail.com

เชียงใหม

ภูเก็ต

(หลัง Big C Extra) อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50000 โทรศัพท 053 851055-6 E-mail : thajan@hotmail.com

124/5 ถนนระนอง ตําบลตลาดเหนือ อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000 โทรศัพท 076 211219 E-mail : jn-waterfilter@hotmail.com

บริษัท มหาจักรดีเวลอปเมนท จํากัด : 134 เชียงใหมบิสสิเนสพารค

บจก.เจ.เอ็น.วอเตอร ฟลเลอร จํากัด

ชลบุรี

กระบี่

116/1 หมู 3 ตําบลหนองปรือ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20260 โทรศัพท 038 426777

434/10-11 ถนนอุตรกิจ ตําบลกระบี่ใหญ อําเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ 81000 โทรศัพท / โทรสาร 075 621094, 088 7624698 E-mail : sb.waterfilter@gmail.com

บริษัท บี.บี.บิสซีเนส พัทยา จํากัด

บจก.เอส.บี. วอเตอร ฟลเลอร จํากัด

Infratech Engineering & Services Co., Ltd. 144/6 Soi Silom 10, Silom Road, Suriyawong, Bangrak, Bangkok 10500 Thailand Tel : 0 2234 4245 Fax : 0 2236 9985 E-mail : Info@infratech.co.th www.infratech.co.th


บริษัท เอ็นเนอร ยี่ พลัส ดีเวลลอปเมนท จํากัด ดําเนินงานโดยทีมงานที่มีความรู ความสามารถและ ประสบการณดา นการจัดการพลังงาน บริการใหคาํ ปรึกษา รวมถึงแนวทาง เกีย่ วกับการ “ลดตนทุนคาใชจา ยดาน พลังงานไฟฟา / ความรอน” ใหกบั สถานประกอบการ โรงงานอุตสาหกรรม อาคารตางๆ เชน โรงพยาบาล โรงแรม อาคารสํานักงาน เปนตน รวมถึง รานสะดวก ซื้อตางๆ อยางถูกตองตามกฎหมาย โดยดําเนินการ

ในรูปแบบ “บริษทั จัดการพลังงาน” (Energy Service Company : ESCO) ภายใตขอกําหนดของสถาบัน พลังงานเพื่ออุตสาหกรรม กระทรวงพลังงาน โดย แบงเปนการบริการในรูปแบบตางๆ ดังนี้ 1. ตรวจสอบและวิเคราะหการใชพลังงาน รวมถึง จัดทําเปาหมายแผนการอนุรักษพลังงานภายใน องคกร กําหนดมาตรการประหยัดพลังงาน และ ออกแบบทางดานวิศวกรรมพลังงาน 2. จัดหาแหลงเงินทุนในการดําเนินการมาตรการ อนุรักษพลังงาน 3. จัดหาอุปกรณประหยัดพลังงาน ติดตั้ง กอสราง ควบคุม และซอมบํารุง 4. ตรวจสอบผลการประหยัดพลังงาน กอนและหลัง ดําเนินมาตรการอนุรักษพลังงาน

5. รับประกันผลการประหยัด 6. จัดทํารายงานการจัดการพลังงาน ตามขอกําหนด พรบ.การอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน การดําเนินการของบริษทั ฯ ทีผ่ า นมา เราคํานึงถึงการ ตอบสนองความตองการของสถานประกอบการที่ ตองการลดคาใชจายดานพลังงานใหลดคาใชจาย ได จ ริ ง ภายใต “สั ญ ญาการรั บ ประกั น ผล การประหยัดพลังงาน” ใหกับสถานประกอบการ ทุกแหงทีบ่ ริษทั ฯ ดําเนินการ เพือ่ สรางความพึงพอใจ สูงสุด และเพื่อประโยชนสูงสุดใหกับสถานประกอบ การทีต่ อ งการลดคาใชจา ยดานพลังงาน ตามนโยบาย และเปาหมายของสถานประกอบการ และบริษัท เอ็นเนอรยี่ พลัส ดีเวลลอปเมนท จํากัด

ลดต นทุนค าใช จ าย

ด านพลังงานไฟฟ า / ความร อน

โครงการส งเสริมการลงทุนด านอนุรักษ พลังงานและ พลังงานทดแทน (ESCO Fund)

เปนโครงการของกระทรวงพลังงาน ใหผูประกอบการที่สนใจดําเนินการ ลดตนทุนคาใชจา ยดานพลังงาน หรือเพิม่ ประสิทธิภาพการใชพลังงาน สามารถ ผอนซือ้ อุปกรณประหยัดพลังงาน ตามทีบ่ ริษทั จัดการพลังงาน (ESCO) เสนอ มาตรการ และผูประกอบการเห็นชอบ โดยทาง โครงการฯ จะสนับสนุนเงิน ลงทุน 100% แตไมเกิน 10 ลานบาท มีระยะเวลาคืนทุน ไมเกิน 5 ป โดย นําเงินทีป่ ระหยัดไดในแตละเดือนมาผอนชําระกับทางโครงการฯ ตาม “สัญญา การรับประกันผลการประหยัดพลังงาน” โดยบริษัทเปนผูกําหนด และ ผูประกอบการเห็นชอบ ซึ่งทางโครงการฯ จะเปนผูตรวจสอบความถูกตอง ของสัญญากอนอนุมัติโครงการฯ หากโครงการพิจารณาแลวเห็นวา สัญญา ดังกลาวไมชัดเจนหรือตรวจสอบแลวขอมูลที่ไมถูกตอง ทางโครงการ ชะลอมาตรการของผูป ระกอบการนัน้ ๆ กอน และจะสงเจาหนาทีข่ องโครงการ ลงพื้นที่ตรวจสอบ กอนอนุมัติโครงการตอไป

บริษัท เอ็นเนอร ยี่ พลัส ดีเวลลอปเมนท จํากัด

69/4 ซอยเทวรัตน ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี 33 เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800 โทรศัพท 02 910 7773 โทรสาร 02 910 7778 พื้นที่โฆษณา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.