หลักพระพุทธศาสนา โดย ปริสา สหชาตาภัทรรัตน์

Page 1



พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ


หลักพระพุทธศาสนา พระธรรมค�ำตรัสขององค์สัมมำสัมพุทธเจ้ำ หลักกำร และ วิธีกำรขั้นสูงสุด ส�ำหรับภิกษุ ภิกษุณี อุบำสก อุบำสิกำ และผู้สนใจศึกษำพระสูตร พระวินัย พระอภิธรรม

จัดท�ำโดย : ปริสำ สหชำตำภัทรรัตน์

พิมพ์ครั้งที่ 1 : ตุลำคม 2556 จ�ำนวน 1,308 เล่ม

พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์นันทพันธ์ จังหวัดเชียงใหม่ โทร. 053-804908-9 โทรสำร 053-804958 www.nuntapun.com


ค�ำน�ำ

หนังสือธรรมะเล่มนี้เป็นพระธรรมค�ำตรัสขององค์พระพุทธเจ้ำ ธำกำโรศรีศำกกะยะมุนีโคตะโมจำกพระไตรปิฎกสรุปคัดมำเป็นบำงส่วน บำงบทเท่ำนั้นเพื่อเป็นแสงสว่ำงน�ำทำงเป็นหนทำงในกำรบ�ำเพ็ญธรรมให้ เกิดสติ สมำธิและปัญญำให้สนุกกับกำรเรียนรู้ข้อของพระธรรมค�ำตรัสของ พุทธองค์น้อมน�ำปฏิบัติได้ศึกษำพิจำรณำท�ำควำมเข้ำใจในข้อพระธรรม ให้ชัดเจนแต่ละข้อให้เข้ำใจอ่อนโยนในหัวข้อพระธรรมกำรเรียนรู้เข้ำใจ หลักพระธรรมจะท�ำให้จติ สว่ำงสดใสดับกิเลสตัณหำและอวิชชำได้ไวเพรำะ จิตมีพลังมั่นคงจะมีสติอยู่ตลอดเวลำที่จิต รู้สติมีสติและใช้สติอยู่อย่ำง ธรรมชำตินั้นเองอยู่สำยกลำงให้มีควำมสุขและสนุกกับกำรเรียนรู้หลัก พระธรรมจิตก็เบิกบำนและเป็นสุขแล้วอดทนสักชำติหนึ่งล�ำบำกกัน สักชำติหนึ่งอดทนศึกษำหลักพระธรรมให้ชัดเจนจิตญำณจะหลุดพ้นจำก สังสำรจักรได้คือต้อง (ธัมมวิจยะ) ในโพชฌงค์ 7 พิจำรณำวิจัยขบคิด ข้อพระธรรมนั้นๆ ให้รู้แจ้งให้ได้ (กำรรู้แจ้งหมำยถึง กำรรู้กำรเข้ำใจใน สิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้อย่ำงละเอียดลึกซึ้งและทะลุปรุโปร่ง ในทุกด้ำนมีควำมกระจ่ำงในทุกแง่มุมและรู้เหตุรู้ผลรู้ที่มำที่ไปในเรื่องใดๆ นั้นได้อย่ำงถูกต้องถ่องแท้ซึ่งมนุษย์จะสำมำรถรู้แจ้งในเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้ นั้นต้องด้วยกำรขยันเรียนรู้ และปฏิบัติจริงเท่ำนั้นและจะพบพระพุทธะ ทีอ่ ยูภ่ ำยในจิตญำณทีแ่ ท้จริงทีร่ อให้นำ� กลับบ้ำนทีจ่ ำกกันมำนำนแสนนำนๆ จนลืมหนทำงกลับบ้ำนถึงเวลำกลับบ้ำนกันได้แล้วนะ***อย่ำหลงอยูใ่ นกิเลส (กำมตัณหำ/ ภวตัณหำ/ วิภำวตัณหำ) อภิสังขำร (กรรม) และส�ำคัญ อย่ำหลงอยู่ใน วิบำก คือ (ขันธ์) ของเรำนั้นเอง หนังสือธรรมะเล่มนี้ เป็นแนวทำงหนึ่งที่น�ำมำจำกพระค�ำตรัสของพระพุทธเจ้ำจำกพระไตรปิฎก


เพื่อช่วยมิตรสหำยผู้สนใจเรียนรู้ทำงธรรมให้เกิดปัญญำรู้แจ้งให้จิตมั่นคง ดับอวิชชำคือควำมไม่รคู้ อื หลงอยูใ่ ห้เดินถูกทำงไม่เสียเวลำมำก อดทนรักษำ ศีล 5 ขั้นต�่ำรักษำคุณงำมควำมดีให้ได้เพื่อถอนชื่อออกจำกขุมนรกก่อน ศีล 5 ไม่ครบตกนรกทุกรำยเป็นก�ำลังให้สมำธิเพื่อให้เกิดปัญญำๆ เกิดขึ้น มำได้ก็เริ่มเห็นหนทำงที่จะกลับบ้ำนกันได้แล้วปัญญำเกิด ดับสุขก่อนให้ได้ และทุกอย่ำงจะดับได้เองโดยไม่ตอ้ งไปก�ำหนดมันฝึกจิตละเอียดให้ได้สะสม คะแนนบุญกุศลจำกกำรบ�ำเพ็ญสมถภำวนำและวิปัสสนำไว้ให้มำก จะเป็น ก�ำลังให้จติ อุบตั ขิ นึ้ ระดับสูงได้โดยไม่ตอ้ งก�ำหนดมัน (ทุกขัน้ ต้องผ่ำนคือกำร ธัมมวิจยะเท่ำนั้น) เพื่อกำรเกิดดับของสังสำรจักรทั้งหมดเพื่อให้จิตมีแรง เหวีย่ งหนีจำกกำรดึงดูดของเอกภพนี ้ กำรหลุดพ้นจำกเอกภพคือไม่กลับมำ เกิดอีกคือบรมนิพพำนนั้นเอง พระค�ำตรัสประกอบด้วย พระสูตร พระวินัย พระอภิธรรม ของพระพุทธเจ้ำ โครงกำรหนังสือธรรมะจะท�ำช่วงเข้ำพรรษำเพื่อน้อมน�ำถวำยเป็น พุทธบูชำ บูชำองค์สัมมำสัมพุทธเจ้ำทุกๆ พระองค์ และพระอวโลกิเตศวร (พระแม่กวนอิม) พระอรหันต์จี้กง (ยะกำโรอะริยะเมตตรัยโย) และ พระโพธิสัตว์ทุกๆ พระองค์และขออนุโมทนำบุญกุศลครั้งนี้มอบถวำยให้ สมเด็จพระญำณสังวร สมเด็จพระสังฆรำช สกลมหำสังฆปริณำยก ที่จะมี พระชันษำครบ 100ปี ในวันที่ 3 เดือน ต.ค. 2556 นี้ และอดีต พระอริยคุณธำร (ปุสฺโส เส็ง ป.ธ.6) ขออนุโมทนำบุญมอบถวำยให้ บุรพกษัตริย์ไทยในอดีตทุกพระองค์ องค์สมเด็จพระนเรศวรมหำรำช พระเจ้ำตำกสิน และนักรบขุนพลทุกรูปนำม กระธรรมที่เป็นนักรบแท้เพื่อ ชำติในอดีต และอนุโมทนำบุญมอบถวำยให้ พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว ภูมพิ ลอดุลยเดชมหำรำช รัชกำลองค์ปจั จุบนั ทีจ่ ะมีพระชนมพรรษำครบอำยุ 86 ปี ในวันที ่ 5/ธ.ค./ 2556 นีข้ ำ้ พเจ้ำและเพือ่ นๆ มิตรสหำยในทำงธรรม


ที่ได้ถวำยปัจจัยร่วมเป็นแรงช่วยให้ท�ำหนังสือธรรมะเล่มนี้ได้ส�ำเร็จด้วยดี ขออนุโมทนำบุญให้กับมิตรสหำยในทำงธรรมทุก ๆ ท่ำนให้เกิดดวงตำเห็น ธรรม ให้มีควำมสุขและสนุกเบิกบำนใจในกำรศึกษำพระค�ำตรัสพระธรรม ของพุทธองค์นะคะ *****ขออนุโมทนำบุญถวำยเป็นพุทธบูชำเจ้ำคะปีนี้ เป็นปีกึ่งพุทธกำล 2601 ปี พุทธชยันตี ขององค์สัมมำสัมพุทธเจ้ำ ข้ำพเจ้ำ น.ส.ปริสำ สหชำตำภัทรรัตน์ ยินดีอนุโมทนำบุญทุกบ่อบุญที่ข้ำพเจ้ำได้ ศึกษำหลักพระสัทธรรมค�ำตรัสของพุทธองค์และน้อมน�ำเอำมำปฏิบัติตำม แนวทำงทีพ่ ระองค์ทรงตรัสไว้ดแี ล้วถวำยเป็นพุทธบูชำทุกลมหำยใจทีห่ ำยใจ เข้ำก็รู้หำยใจออกก็รู้ขออนุโมทนำบุญให้จิตจักรวำล 1% อำกำศอ๊อกซิเจน 1% พระอำทิตย์และพระจันทร์อกี 1% พระเจ้ำคะขอพระพุทธองค์ทรงรับ ด้วยพระเจ้ำคะเมื่อพระพุทธองค์รับแล้วข้ำพเจ้ำขออนุโมทนำบุญบำรมี 30ทัศ บำรมี 10ชำติ ของพระพุทธเจ้ำมำเป็นที่พึ่งให้จิตญำณของข้ำพเจ้ำ ทุกจิตธรรมญำณให้เกิดดวงตำเห็นธรรมให้ละเอียดอ่อนโยนละมุนละไม จิตญำณดวงใดที่ถอดรหัสจบแล้วขออัญเชิญไปรอข้ำพเจ้ำที่เบื้องบนก่อน ดวงใดที่ก�ำลังแสวงหำภพก�ำลังหำอำหำรเลี้ยงอยู่ก็ขอให้รีบกลับมำอยู่กับ ข้ำพเจ้ำตอนทีม่ ลี มหำยใจอยูน่ จี้ ะรวมเป็น 1 เป็น 1 ทุกลมหำยใจจะอ่อนน้อม รับฟังค�ำตรัสของพุทธองค์แล้วพระเจ้ำคะขอพระองค์ทรงชีแ้ นะ ขอพระองค์ ทรงชี้น�ำโปรดกำรฟื้นฟูจิตญำณให้เกิดปัญญำญำณให้เกิดดวงตำเห็นธรรม ยิ่งๆ ขึ้นไปด้วยพระเจ้ำคะ สำธุ สำธุ สำธุ อนุโมทนำมิ***** ปริสา สหชาตาภัทรรัตน์


สำรบัญ หลักพระพุทธศำสนำ (ชุดที่ 1) ........................................1 หลักกำรขั้นสูงสุด .............................................................3 ภูมิเป็นที่ดับ .....................................................................5 เหตุดับ ผลจึงดับ ..............................................................7 เป็นสัตว์หรือเป็นวิญญำณ ................................................7 บทธรรมบรรยำย..............................................................11 ค�ำตรัสของพระพุทธเจ้ำ “สังสำรวัฏ” (ชุดที่ 2) ...............15 พระสัทธรรม ....................................................................16 ธรรมของผู้เจริญ ...............................................................17 ธรรม 7 ประกำร .............................................................18 ธรรมเป็นที่พึ่งแห่งสัตว์ .....................................................20 ธรรมอันสูงสุด ..................................................................21 ทุกข์เพรำะรัก ...................................................................22 ควำมเป็นมำของกำรประชุมธรรม ....................................23 ค�ำถำม 4 ข้อสุดท้ำย (หนึ่งในกำรถอดรหัสผ่ำน) .............24


หลักกำรและวิธกี ำรสูงสุดของพระพุทธศำสนำ (ชุดที ่ 3) ....25 ตัณหำคือพญำมำร ...........................................................36 โมกษะ .............................................................................39 นิพพำนพรหม กับบรมนิพพำน ........................................41 หลักของพระนิพพำน .......................................................41 พระอมฤต ........................................................................43 เลือกให้เหมำะกับอินทรีย์ .................................................44 กำรปฏิบัติในขั้นสูง ...........................................................45 ขั้นกำรเจริญสมำธิ ............................................................46 ตอนสวนนันทนวัน ...........................................................48 ควำมรู้ขั้นพื้นฐำนในด้ำนพระวินัย (ชุดที่ 4).....................51 อำบัติ (แก้ได้ แก้ไม่ได้) .....................................................53 อำบัติทั้ง 7 .......................................................................54 มีโทษ 2 ทำง ...................................................................55 อำกำรที่จะต้องอำบัติ .......................................................56 สงสัยแล้วยังท�ำ ................................................................57 วิธีปลดเปลื้องอำบัติ .........................................................58


อำนิสงส์พระวินัย .............................................................59 ประพฤติไม่ดีก็มีโทษ ........................................................59 มุ่งผล 8 อย่ำง ..................................................................60 หลักส�ำคัญในกำรปฏิบัติ (ชุดที่ 5) ...................................62 วิปัสสนำ ...........................................................................62 เจริญธรรมอย่ำงเดียวชื่อว่ำเจริญธรรมอย่ำงอื่นอีกมำก ....63 ปฏิสังขำญำณ ..................................................................63 อนุโลมญำณ .....................................................................64 ควำมสับสนแห่ง “ด�ำริ” ...................................................65 ควำมสับสนแห่ง “ทัศนะ” ...............................................65 ด้วยควำมปรำรถนำดีจำก “ปริสำ”..................................66 โพธิปักขิยธรรม 37 (รำยละเอียด) ..................................68 หมำยเหตุ*** ....................................................................69


** หลักพระพุทธศำสนำ หลักกำรและวิธีกำรสูงสุดของพระพุทธศำสนำ (โดยอดีตพระอริยคุณำธำร (ปุสฺโส เส็ง) เพื่อเป็นกำรอนุรักษ์ไว้ ซึ่งหนังสือเล่มนี้ซึ่งนับวันจะสูญหำยไป จึงใคร่จะน�ำเอำบทควำมจำก หนังสือ หลักกำรและวิธีกำรสูงสุดของพระพุทธศำสนำ ข้ำพเจ้ำจะน�ำ เอำบทควำมบทที ่ 1 เรือ่ งหลักพระพุทธศำสนำ (1)-(2)-(3) มำน�ำเสนอ เพื่อให้ผู้ที่สนใจศึกษำพระธรรม แต่ได้ตัดเอำค�ำบำลีออก เพื่อควำม สะดวกในกำรศึกษำและจะได้จ�ำได้ง่ำย หลักพระพุทธศำสนำที่ท่ำนพระอริยคุณำธำรได้น�ำมำแสดงนี้ได้ ถอดควำมมำจำก สคำถวรรคสังยุตตนิกำย พระไตรปิฎก เล่มที่ 15 หน้ำ 1-2 โดยในเนื้อเรื่องได้กล่ำวถึงกำรที่เทวดำทูลถำมปัญหำกับ พระพุทธองค์

หลักกำรพระพุทธศำสนำ (๑) เทวดา “ท่ำนข้ำมโอฆะ” (ห้วงน�้ำ) ได้อย่ำงไร / พระพุทธเจ้ำ “อำตมำไม่จอดไม่ว่ำยแหวก จึงข้ำมโอฆะได้” / เทวดำ “ก็ท่ำนไม่จอด ไม่ว่ำยแหวก ข้ำมโอฆะได้อย่ำงไรด้วยวิธีใด” พระพุทธเจา “เมื่อใดแล อำตมำจอดอยู่ เมื่อนั้นแล อำตมำก็จม ลง เมือ่ ใดอำตมำว่ำยแหวกไปเมือ่ นัน้ อำตมำก็ลอยเคว้งไปแล เมือ่ อำตมำ ไม่จอด ไม่ว่ำยแหวกไป ก็ข้ำมโอฆะได้ด้วยวิธีนี้แล” พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ


เทวดา “นำนหนอ จึงเห็นพรำหมณ์ (พระอรหันต์) ผูด้ บั ทุกข์รอ้ นได้ ซึ่งไม่จอด ไม่ว่ำยแหวกข้ำมตัณหำที่พำแล่นไปในโลกได้”

อธิบำย โอฆะ เป็นศัพท์วชิ ำกำรทำงพระพุทธศำสนำ หมำยถึง “ตัณหำ 3 และอวิชชำ” ซึง่ เปรียบเหมือนห้วงมหำสมุทร ทีส่ ตั ว์ตกลงไปว่ำยแหวก กันอยู่ “โอฆะ จ�ำแนกออกเป็น 4 คือ” กาโมฆะ หมำยถึง ตัณหำ ในกำมำรมณ์ 5 คือรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ทีน่ ำ่ ปรำรถนำน่ำใคร่ น่ำพอใจ น่ำรัก ยียวน ชวนติดใจ(=กำมตัณหำ) ภโวฆะ หมำยถึง ตัณหำในกรรมภพ ซึง่ เป็นโครงสร้ำงชำติภำยใน ดวงจิต (=ภวตัณหำ) ทิโฐฆะ หมำยถึง ตัณหำในทฤษฎีมิจฉำทิฐิต่ำงๆ มีทฤษฎีว่ำ สัตว์ ตำยแล้วดับสูญไป เป็นต้น “วิภวะ” แทนทิฐิเรียกว่ำ “วิภวตัณหำ” ซึ่ง มีควำมหมำยเหมือนทิฐิ (=วิภวตัณหำ) อวิชโชฆะ หมำยถึง อวิชชำในวัตถุ ๘ ประกำรคือ 1. ทุกข์ 2. ทุกข์สมุทัย (เหตุเกิดทุกข์= ตัณหำทั้ง 3) 3. ทุกขนิโรธ (=พระนิพพำนซึ่งดับทุกข์ได้) 4. ทุกขนิโรธคำมินปี ฏิปทำ (ทำงปฏิบตั พิ ำให้บรรลุพระนิพพำน = อริยมรรค 8) 5. ปุพพันตะ จุดเริ่มต้นของกำรเกิดเป็นสัตว์ (= เปลี่ยนภำวะ จำกเป็นวิญญำณธำตุมำเป็นสัตว์) 6. อปรันตะ จุดสุดท้ำยของสัตว์ (=บรรลุพระนิพพำน) ๒

หลักพระพุทธศำสนำ


7. ปุพพันตำปรันตะ ระยะจำกจุดเริ่มต้นมำยังจุดสุดท้ำย** (=ระยะกำรเกิดตำยในสังสำรวัฏ) 8. ปฏิจจสมุปบำท เหตุปัจจัยแห่งทุกข์ ซึ่งส่งต่อกันเป็นทอดๆ เหมือนสำยโซ่ (=ปัจจยำกำรนิพพำน 12)

หลักกำรขั้นสูงสุด บุคคลผูม้ งุ่ หมำยข้ำม “โอฆะ 4” ดังกล่ำวมำต้องบ�ำเพ็ญ ศีลสังวร อินทรียสังวร โภชเน มัตตัญุตำ ชำคริยำนุโยค ฌำน 4 โพชฌงค์ 7 และอริยมรรค 8 ให้บริบูรณ์ จำกนั้นจึงปฏิบัติโดยวิธีไม่น�ำจิตไปจอดอยู่ใน “ฌำน” สมำบัติ ใดๆ และไม่ปล่อยจิตให้แล่นไปตำมอำรมณ์สัมผัสทำงทวำร 6 ด�ำรงจิต ไว้ภำยในตนให้มั่นคง จนมองเห็นควำมเกิดดับของอำรมณ์ที่มำสัมผัส อยู่เสมอไม่หวั่นไหวไปตำมอำรมณ์สัมผัสเหมือนเสำหินฉะนั้น เมื่อปฏิบัติได้ถึงขั้นนี้ “กิเลส” ตัณหำ ทั้ง 3 และอวิชชำ ก็ดับ หมดไปจำกจิตใจ จิตใจย่อมไม่ว่ำยแหวกอยู่ใน “โอฆะ” ทั้ง 4 ย่อมดับ ทุกข์ดับร้อนได้เด็ดขำด (ต้องธัมมวิจยะ) ในโพชฌงค์ 7 พิจำรณำวิจัย ขบคิดข้อพระธรรมให้รู้แจ้งให้ได้รู้เหตุรู้ผลรู้ที่มำที่ไปในเรื่องใดๆนั้นได้ อย่ำงถูกต้องถ่องแท้ชัดเจนถูกต้องที่สุดเหมำะสมที่สุดและดีงำมที่สุด อ่อนโยนละมุนละไม นี้เป็นหลักกำร และวิธีกำรปฏิบัติทำงพระพุทธ ศำสนำขั้นสูงสุด พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ


อีกตอนหนึ่งในสังยุตตนิกำยสคำถวรรค พระไตรปิฎกเล่มที่ 15 หน้ำ 2-3 กล่ำวถึงเทวดำที่มำทูลถำมปัญหำกับพระพุทธเจ้ำโดยมี ใจควำมแห่งกำรสนทนำดังนี้ เทวดา “ท่ำนรู้จักหรือไม่ภูมิจิตที่พ้นควำมเป็นสัตว์ ปลอดโปร่ง วิเวก” พระพุทธเจา “อำตมำรูจ้ กั ภูมจิ ติ ทีพ่ น้ ควำมเป็นสัตว์ ปลอดโปร่ง วิเวก” เทวดา “ก็ท่ำนรู้จักภูมิจิตที่พ้นควำมเป็นสัตว์ ปลอดโปร่งวิเวก อย่ำงไร ด้วยวิธีใด” พระพุทธเจา “อำตมำรูจ้ กั ภูมจิ ติ ทีพ่ น้ ควำมเป็นสัตว์ ปลอดโปร่ง วิเวก เพรำะหมดกำมตัณหำ และภวตัณหำ เพรำะหมดสัญญำและ มโนวิญญำณ เพรำะดับ เพรำะระงับเวทนำทั้งหลำยอย่ำงนี้แล” (***มโนวิญญำณ เป็นสื่อให้จิตรู้จักธรรม คือ อำรมณ์ทำงใจ) เมือ่ มโนวิญญำณยังไม่ดบั คือ ยังมีมนินทรียห์ รือมนำยตยะอยู ่ ธัมมสัญญำ ก็ย ่อ มมีอ ยู่ ดังนั้น “มนำยตนะ” มโนวิญ ญำณ และ มโนสัญ ญำ ตอ้ งดับ จึงไม่เป็นปัจจัยให้เกิดเวทนำ พระพุทธภำษิตว่ำ “วิญญำณสฺสนิโรเธน วิโมกฺโข เจตโส อหุ” ก็มคี วำมหมำยดังกล่ำวนี ้ คือเพรำะ “มโนวิญญำณดับ จิตจึงหลุดพ้นไปได้”)

อธิบำย ปฐมวิญญำณ (จิต) เมือ่ ยังเป็นธำตุแท้ ในกลุม่ ธำตุแท้ (อสังขตธำตุ) ทั้ง 6 อยู่ ไม่มีอวิชชำและภวตัณหำประยุกต์ ภำยหลัง จึงเกิดมีอวิชชำ ๔

หลักพระพุทธศำสนำ


และภวตัณหำประยุกต์ นับแต่นั้น ปฐมวิญญำณนั้น ก็เป็นสัตว์ (สัตโต) ท่องเทีย่ วเกิดตำย ตลอดกำลยืดยำวจนนับชำติไม่ถว้ น (=เป็นผูต้ ดิ ข้อง) ภำยหลังสัตว์นั้นมำปฏิบัติก�ำจัดอวิชชำและภวตัณหำออกจำก จิตใจได้หมดอย่ำงเด็ดขำด นับแต่นั้น ปฐมวิญญำณ (จิต)ก็พ้นควำม เป็นสัตว์ หยุดเกิด–หยุดตำย ด�ำรงอยูใ่ นสภำพบริสทุ ธิผ์ ดุ ผ่องปลอดโปร่ง ไม่มีกิเลส กรรม และวิบำกปรุงแต่ง เป็นสิ่งเดียวล้วนๆ เสวยสันติสุข ตลอดกำล ภูมจิ ติ อย่ำงนี ้ พระผูม้ พี ระภำคทรงบัญญัตเิ รียกว่ำ “พระปรินพิ พาน” เรียกอย่ำงสั้นๆ ว่ำ “พระนิพพาน” พระนิพพำนนั้น ต้องหมดกำมตัณหำ (นันทิ) และภวตัณหำ (กรรมภพ) ต้องหมด สัญญำ และเวทนำ ซึง่ เป็นจิตตสังขำรปรุงแต่งเป็น สภำพจิตปลอดโปร่ง และวิเวก (=เกวล� สิ่งเดียวล้วนๆ) นันทิ แปลว่ำ ควำมเพลินหรือพอใจ นันทิคืออุปำทำน

ภูมิเปนที่ดับ ภูมิดับสัญญำและเวทนำ มีอยู ๓ ภูมิดวยกัน คือ 1. อสัญญีฌำน เพ่งดับจิตโดยเข้ำใจผิดว่ำ จิตเป็นตัวทุกข์เมื่อ ยังมีจิตอยู่ตรำบใด ก็จะต้องทุกข์อยู่ตรำบนั้น ลืมไปว่ำ จิตกับอำรมณ์เป็นคนละอย่ำง สำมำรถแยกจำกกันได้ เมื่อแยกออกไปจิตก็เป็นอิสรเสรี ไม่มีทุกข์ เมือ่ เข้ำใจผิด จึงเพ่งดับจิตเมือ่ จิตดับไป สัญญำก็ดบั จิตหมดสภำพ ไม่มีควำมคิดนึกรู้สึก ไม่สำมำรถก�ำหนดหมำยสิ่งใดๆ ท่ำนจึงเรียก พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ


ภูมิจิตชนิดนี้ว่ำ “อจิตตกะ-อสัญญกะ” แปลว่ำ ไม่มีจิต-ไม่มีสัญญำ เป็นเหมือนคนสลบสิ้นสติสมฤดี ภูมิจิตชนิดนี้ พระผู้มีพระภำคตรัสว่ำ เป็นมิจฉำสมำธิ ไม่ใช่ทำงพระนิพพำน 2. สัญญำเวทยิตนิโรธสมำบัติ บุคคลเจริญฌำนสมำบัติ 8 ชั้น ช�ำนำญแล้ว สำมำรถเข้ำสู่ภูมิจิตชนิดดับ สัญญำ และเวทนำ (อันเป็น จิตตสังขำร) ได้ จิตในภูมนิ ี้ มีสติสมั ปชัญญะอยูอ่ ย่ำงเต็มที ่ แต่ไม่สำมำรถ รับรู้สัมผัสจำกอำรมณ์ ทั้งภำยในทั้งภำยนอก จิตตสังขำร คือ สัญญำ และเวทนำ ดับสนิท มีแต่จิตล้วนๆ เพียง อย่ำงเดียว ไม่มีอะไรปรุงแต่งเลยเป็นภูมิจิตที่มีสันติสุขที่สุด เหมือน พระนิพพำนชั้นสูงสุด แต่ทว่ำด�ำรงอยู่ได้เพียงชั่วครำว เป็นชั่วโมง เป็นวันเป็นหลำยวัน จนถึง 1 สัปดำห์ ไม่เป็นอย่ำงนั้นตลอดไป เหมือน พระนิพพำนชั้นสูงสุด 3. พระนิพพำนชัน้ สูงสุด บุคคลบรรลุพระนิพพำนชัน้ สูงสุดแล้ว กิเลสตัณหำทั้ง 3 และ อวิชชำดับมอดแล้ว แม้อยู่อย่ำงปกติธรรมดำไม่ เข้ำฌำนสมำบัติใดๆ ก็สำมำรถด�ำรงอยู่อย่ำงสันติสุข สัญญำและเวทนำดับสนิทไม่สำมำรถปรุงแต่งจิตได้ จะมองเห็น อำรมณ์มำสัมผัสแล้วก็ดับไปๆ อยู่เสมอเหมือนลมพัดเสำหินฉะนั้น ภูมิจิตชนิดนี้เป็นภูมิดับสัญญำและเวทนำได้สนิท และเด็ดขำดด้วย

หลักพระพุทธศำสนำ


เหตุดับ ผลจึงดับ เวทนำ เป็นปัจจัยของ “ตัณหา” เมื่อ เวทนำ ดับ ตัณหำก็ไม่เกิด ชื่อว่ำ “ตัณหาดับ” เมือ่ “ตัณหาดับ” อุปทำน (กำรไขว่คว้ำ) ก็ไม่เกิดชือ่ ว่ำ “อุปทำนดับ” เมื่ออุปทำนดับ ภวะ (กรรมภพ ซึ่งเป็นโครงสร้ำงชำติภำยในดวงจิต) ก็ไม่เกิด ชือ่ ว่ำ ภวะดับ (=ภวตัณหำดับ) เมื่อ ภวะดับ ชำติ (กำรเกิดใหม่ ในอนำคต) ก็ไม่มี ชื่อว่ำ ชำติดับ เมื่อชำติดับ แล้ว ทุกข์ทั้งหลำย ที่ประจ�ำชำติ มี ชรำ มรณะ เป็นต้น ก็ไม่มี ชื่อว่ำ ทุกข์ดับ ด้วยประกำร ฉะนี้

เปนสัตว หรือ เปนวิญญำณ ปฐมวิญญำณ (จิต) ในสมัยยังเป็นธำตุแท้ล้วนๆ ก็ไม่มีกำร ท่องเที่ยวเกิดตำย ในสมัยประยุกต์กับอวิชชำและภวตัณหำ เป็นสัตว์จึงมีกำร ท่องเที่ยวเกิดตำย เพรำะฉะนั้น จึงพูดว่ำ “วิญญำณท่องเที่ยว เกิดตำย” ไม่ได้ต้องพูดว่ำ “สัตว์ท่องเที่ยวเกิดตำย” เมื่อพ้นควำม เป็นสัตว์แล้วก็หยุดท่องเที่ยวเกิดตำย ตลอดกำลนิรันดร หลักกำรและวิธีกำรดังกล่ำวมำนี้ เป็นหลักกำรและวิธีกำร ขั้นสูงสุดของพระพุทธศำสนำ เทวดำที่มำถำมคงเป็นวิสุทธิเทพ ถำมเพื่อทดสอบว่ำรู้จักพระนิพพำนจริงหรือไม่ พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ


หลักกำรขั้นสูงสุดของพระพุทธศำสนำอีกประกำรหนึ่ง ซึ่งท่ำน อดีตพระอริยคุณำธำร น�ำควำมมำจำกพระไตรปิฎก โดยยกเอำกำร สนทนำระหว่ำงเทพบุตรทำมลี กับพระพุทธเจ้ำ ซึ่งมีปรำกฏอยู่ใน สังยุตตนิกำยสคำถวรรคพระไตรปิฎกเล่มที ่ 15 หน้ำ 65-66 มีใจควำม กำรสนทนำดังนี้ เทพบุตร ทามลี “พรำหมณ์” พระเจ้ำข้ำ ควำมเพียรนี้ เป็นสิ่ง ควรขยันท�ำโดยมุ่งหมำยละกำมทั้งหลำย (=กำมตัณหำ) แต่ไม่ควร มุ่งหมำยกำรเกิดเป็นสิ่งมีชีวิต (ไม่ติดอยู่ในกรรมภพ= ภวตัณหำ)

พระพุทธเจำ “กิจของพรำหมณ์” (พระอรหันต์) ไม่มี เพรำะว่ำพรำหมณ์ (พระอรหันต์) ท�ำกิจเสร็จแล้ว นรชนมิได้หยั่งลงในแม่น�้ำแต่ก็เอำตัว ทั้งหมดว่ำยแหวก เขำอยู่บนบกแท้ๆ ก็ได้หยั่งน�้ำกัน (หมำยถึง ตกอยู่ในห้วงโอฆะ 4)

ทำมลี ข้อนี้ก็เปรียบกันได้ พรำหมณ์ (พระอรหันต์) ซึ่งหมดกิเลสตัณหำ และอวิชชำแล้ว รู้จักรักษำตัว ส�ำเร็จฌำน ได้บรรลุจุดสุดท้ำย ของกำร เกิดตำยแล้ว (=อปรันตะ) เพรำะเหตุนั้น พรำหมณ์ (พระอรหันต์) ซึ่งบรรลุพระนิพพำนอันเปรียบเหมือนฝัง จึงไม่ว่ำยแหวก ส.ส.15/65-66 ๘

หลักพระพุทธศำสนำ


อธิบำย ควำมเพียร ในพระพุทธศำสนำมุ่งหมำยท�ำเพื่อละ กำมตัณหำ และภวตั ณ หำ ส่ ว นวิ ภ วตั ณ หำ ได้ ล ะแล้ ว ตั้ ง แต่ ไ ด้ ศ รั ท ธำใน พระพุทธศำสนำ ข้อนี้ เป็นควำมเห็นของเทพบุตร “ทำมลี” ซึ่งเสนอ ต่อพระผู้มีพระภำค พระผู้มีพระภำคทรงอนุมัติแต่ได้ตรัสบอกควำมจริงของปุถุชน และพระอรหันต์ให้ทรำบ ปุถุชน แม้อยู่บนบกแท้ๆ แต่ก็เอำตัวทั้งหมดหยั่งลงในโอฆะ หมำยถึง (ตัณหำ 3 และอวิชชำ) ทั้ง 4 ว่ำยแหวกกันอยู่ ส่วน ผู้บรรลุ พระนิพพำน ซึ่งเปรียบเหมือนฝัง มิได้ว่ำยแหวกเลย

โอฆะ ๔ ซึ่งเปรียบเหมือนมหำสมุทรนั้น ไดแก 1. กำโมฆะ กำมตัณหำ ควำมติดใจกำมำรมณ์ 5 คือ รูป เสียง กลิน่ รส สัมผัส อันน่ำปรำรถนำน่ำใคร่ น่ำพอใจ น่ำรัก ยียวน ชวนติดใจ 2. ภโวฆะ ภวตัณหำ กำรติดอยู่ในเจตจ�ำนง (กรรม) อันเป็น โครงสร้ำงชำติภำยในดวงจิต 3. ทิโฐฆะ วิภวตัณหำ กำรติดข้องในทฤษฎีมิจฉำทิฐิ เช่นเห็นว่ำ ตำยแล้วสูญ เป็นต้น 4. อวิชโชฆะ อวิชชำ ควำมรู้ไม่แจ่มแจ้ง ซึ่งเป็นเหตุให้หลง ให้เห็นผิด “อวิชชา” เป็นยอดกิเลส เกิดขึ้นประยุกต์ปฐมวิญญำณ ก่อนเพื่อน และเป็นปัจจัยให้ภวตัณหำ (= กรรมภพ) เกิดขึ้นประยุกต์ พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ


อีกด้วย กิเลสและกรรม จึงเป็นตัวกำรปรุงแต่งปฐมวิญญำณให้เป็นสัตว์ นับแต่นั้นสัตว์ก็ท่องเที่ยวเกิดตำย ในสังสำรวัฏ ยืดยำวเนิ่นนำนจนนับ ชำติไม่ถ้วน เมื่อสัตว์นั้นปฏิบัติ ก�ำจัดกำมตัณหำ ภวตัณหำ วิภวตัณหำ และ อวิชชำ ให้หมดไปจำกจิตใจเด็ดขำดแล้ว ก็บรรลุฝังของสังสำรวัฏ หยุดท่องเที่ยวเกิดตำยตลอดกำลนิรันดร หลักกำรดังกล่ำวมำนี ้ เป็นหลักกำรขัน้ สูงสุดของพระพุทธศำสนำ จะพูดว่ำ “อวิชชำ” และภวตัณหำ (กรรม) เป็นผู้สร้ำงสัตว์โลก “ก็เห็นจะได้” ดังนั้น พระเจ้ำสร้ำงโลกก็คือ “อวิชชำ” และภวตัณหำ (กรรม) มิใช่อย่ำงอื่น เมื่อปฏิบัติ ก�ำจัด อวิชชำ และภวตัณหำ (กรรม) ได้เด็ดขำดแล้ว ก็ย่อมเป็นอิสรเสรี ไม่ตกอยู่ใต้บังคับบัญชำของสิ่งใดๆ ตลอดกำล อิสรภำพ–เสรีภำพ ชั้นสูงสุดของพระพุทธศำสนำ (**พระพุทธภาษิต ในขัคควิสาณสูตร เรียกเสรีภาพสูงสุดนี้วา “เสริตํ” แปลวา ความมีเสรี พระอรหันต ผูสังคายนา ไขความวา “เสริตํ” ความมีเสรีนั้น มี ๒ ประการ คือ ๑. เสรีธรรม มีสติปฏฐาน ๔ เปนตน ๒. เสรีชน ไดแก ผูบรรลุ พระอรหัตผลแลว) ๑๐

หลักพระพุทธศำสนำ


บทธรรมบรรยำย สมเด็จพระผูม้ พี ระภำคเจ้ำทรงแสดงวิเวกธรรมแก่เมตตำคูมำณพ ดังต่อไปนี้ อุปธิกิเลสมีประเภท 10 ประกำร คือตัณหำ 1 ทิฏฐิ 1 กิเลส 1 กรรม 1 ทุจริตควำมประพฤติชั่วด้วยกำย วำจำ ใจ 1 ปฏิฆะ 1 อุปำทินนกะ ธำตุสี่ 1 อำยตนะหก 1 วิญญำณกำยหก 1 ทุกข์ทั้งหลำย มีชำติทุกข์เป็นต้น ย่อมมีอุปธิกิเลสเหล่ำนี้เป็นเหตุ เป็นนิพพำน เป็น ปัจจัยเมือ่ บุคคลมำรูท้ วั่ ถึงรูแ้ จ้งประจักษ์ชดั ด้วย “วิปสั สนำปัญญำ” ว่ำ สังขำรทั้งหลำยไม่เที่ยง เป็นทุกข์ “ธรรมทั้งหลำยเป็นอนัตตำ” หรือมำ รู้ทั่วถึงว่ำ ย� กิฺ จิ สมุทยธมม� สพพนต� นิโรธธมม� สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีควำมเกิดขึ้นเป็น ธรรมดำ สิ่งนั้นทั้งหมดมีควำมดับเป็นธรรมดำ ดังนี้แล้วเป็นผู้ตำมเห็น ซึ่งชำติว่ำ เป็นแดนเกิดแห่งวัฏฏทุกข์ และมำเป็นว่ำอุปธิเป็นแดนเกิด แห่งชำติทุกข์เป็นต้นแล้วก็ไม่พึงท�ำอุปธิมี “ตัณหำ” เป็นต้น ให้เจริญ ขึ้นในสันดำนเลย เมื่อจะทรงแสดงธรรมเครื่องข้ำม “ตัณหำ” จึงตรัสพระคำถำว่ำ ย� กิฺ จิ สฺชำนำสิ อุทธ� อโธ ติริยฺจำปิ มชฺเฌ เอเตสุ นนฺทิฺจ ปนุชฺ ชวิฺญำณ� ภเว น ติฏฐ ดูก่อนท่ำนทั้งหลำยท่ำนจงรู้สิ่งใดสิ่งหนึ่งใน เบื้องบน เบื้องต�่ำ และเบื้องขวำงสถำนกลำง แล้วจงบรรเทำเสีย จงละ เสียซึ่งควำมเพลิดเพลินและควำมถือมั่นในสิ่งเหล่ำนั้น วิญญำณของ ท่ำนก็จะไม่ตั้งอยู่ในภพดังนี้ พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๑๑


ค�ำว่ำ เบื้องบน เบื้องต�่ำ เบื้องขวำงสถำนกลำงนั้น ทรงแสดงไว้ 6 นัยคือ นัยที่ 1 อนำคตเป็นเบือ้ งบน อดีตเป็นเบือ้ งต�ำ่ ปัจจุบนั เป็นเบือ้ ง ขวำงสถำนกลำง นัยที่ 2 เหล่ำธรรมที่เป็นกุศล เป็นเบื้องบน เหล่ำธรรมที่เป็น อกุศลเป็นเบือ้ งต�ำ่ เหล่ำธรรมทีเ่ ป็นอัพยำกฤต เป็นเบือ้ งขวำงสถำนกลำง นัยที่ 3 เทวโลกเป็นเบื้องบน อบำยโลกเป็นเบื้องต�่ำ มนุสสโลก เป็นเบื้องขวำงสถำนกลำง นัยที่ 4 สุขเวทนำเป็นเบือ้ งบน ทุกข์เวทนำเป็นเบือ้ งต�ำ่ อุเบกขำ เวทนำเป็นเบื้องขวำงสถำนกลำง นัยที่ 5 อรูปธำตุเป็นเบื้องบน กำมธำตุเป็นเบื้องต�่ำ รูปธำตุเป็น เบื้องขวำงสถำนกลำง นัยที่ 6 ก�ำหนดแต่พื้นเท้ำขึ้นมำเป็นเบื้องบน ก�ำหนดแต่ปลำย ผม ลงไปเบื้องต�่ำ ส่วนท่ำมกลำงเป็นเบื้องขวำงสถำนกลำง เมื่อท่ำนมำ ส�ำคัญหมำยรู้เบื้องบนเบื้องต�่ำ เบื้องขวำงสถำนกลำง ทั้ง 6 นับนี้แล้ว อย่ำงใดอย่ำงหนึง่ พึงบรรเทำเสียซึง่ “นันทิ” ควำมยินดี เพลิดเพลินและ อภินิเวส ควำมถือมั่นด้วยตัณหำและทิฏฐิ ในเบื้องต้น เบื้องต�่ำ เบื้อง ขวำงสถำนกลำงเสียให้สิ้นทุกประกำรแล้ว วิญญำณของท่ำนก็จะไม่ตั้ง อยู่ในภพและปุนภพอีกเลย เมื่อบุคคลมำรู้ชัดด้วยญำณจักษุ ในส่วนเบื้องบน เบื้องต�่ำ เบือ้ งขวำงสถำนกลำง ไม่ให้ตณ ั หำ “ซ่ำนไปในภพน้อยภพใหญ่” มีญำณ ๑๒

หลักพระพุทธศำสนำ


หยั่งรู้ในอริยสัจ 4 เป็นผู้ไม่มีกังวล คือ รำคะ โทสะ โมหะ มำนะ ทิฐิ และทุจริตต่ำงๆ และกังวลทั้งปวงเสียสิ้นแล้ว กำมภเว อสตฺต� ก็เป็น ผู้ไม่ข้องเกี่ยวพัวพันในวัตถุกำม และกิเลสกำม ในกำมภพและปุนภพ อีกเลย ท่ำนนั้นผู้ข้ำม “โอฆะ” ห้วงลึกที่กดสัตว์ให้จมอยู่ในสัฏฏสงสำร โอฆะ นั้น 4 ประกำร คือ กำมโอฆะ 1 ภวโอฆะ 1 ทิฏฐิโอฆะ 1 อวิชชำ โอฆะ 1 ติณฺโณ จ ปำร� ท่ำนนั้นย่อมข้ำมห้วงทั้ง 4 ไปยังฝังฟำกโน้น คือ พระนิพพำน ธรรม อขีเณ เป็นผูไ้ ม่มตี ะปู คือ กิเลสเป็นเครือ่ งตรึงแล้ว กิเลสทัง้ หลำย ที่เป็นประธำน คือรำคะ โทสะ โมหะ มำนะ ทิฐิ และกิเลสที่เป็น บริวำร มี โก โธ อุปนำโห เป็นต้น จนถึงอกุศลอภิสงั ขำร ซึง่ เป็นประหนึง่ ตะปูเครื่องตรึงจิตให้แนบแน่นอยู่ยำกที่สัตว์จะฉุดจะถอนให้เคลื่อน ให้หลุดได้ เมื่อบุคคลมำละเสียแล้วตัดขึ้นแล้วพร้อมแล้ว เผำเสียด้วย เพลิงคือ “ญำณ” แล้ว เป็นนรชนผู้รู้ผู้ด�ำเนินด้วยปัญญำอันเป็นเครื่อง รู้แจ้งชัด เป็นเวทคู ผู้ถึงฝังแห่งวิทยำในพระศำสนำนี้ไม่มีควำมสงสัย ในทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค และปฏิจจสมุปบำท ธรรมปัจจยำกำร ย่อมบรรลุถงึ วิเวกธรรม คือ พระอมฤตนฤพำนด้วยประกำรฉะนี้*******

ปริญญำ ๓ ประกำร กำรก�ำหนดรูตัณหำนั้น ก�ำหนดรูดวยปริญญำ ๓ ประกำร คือ 1. ญำตปริญญำ คือ ควำมก�ำหนดรู้ชัดเจนว่ำรู้รูปตัณหำ นี ้ สัททตัณหำ นีค้ นั ธตัณหำ นีร้ สตัณหำ นีโ้ ผฏฐัพพะตัณหำ นีธ้ มั มตัณหำ อย่ำงนี้แล ชื่อว่ำญำตปริญญำ พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๑๓


2. ตีรณปริญญำ คือภิกษุกระท�ำตัณหำทั้ง 6 ให้เป็นของอันตน รู้แล้ว พิจำรณำใคร่ครวญซึ่งตัณหำโดยควำมเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นโรคเสียดแทงเป็นต้นอย่ำงนี้แลชื่อว่ำตีรณปริญญำ 3. ปหำนปริญญำ คือภิกษุมำพิจำรณำใคร่ครวญฉะนั้นแล้วละ เสียซึ่งตัณหำ บรรเทำเสีย ถอนเสีย และกระท�ำให้สิ้นไปให้ถึงซึ่งควำม ไม่เป็นต่อไปอย่ำงนี้แลชื่อว่ำปหำนปริญญำ

๑๔

หลักพระพุทธศำสนำ


ค�ำตรัสของพระพุทธเจำ “สังสำรวัฏ”***

(ชุดที่ ๒)

ดูกอ่ นสุทตั ตะ ! สังสำรวัฏนีห้ ำเบือ้ งต้นเบือ้ งปลำยได้โดยยำก สัตว์ ผูพ้ อใจในกำรเกิดย่อมเกิดบ่อยๆและกำรเกิดบ่อยๆ นัน้ ตถำคตกล่ำวว่ำ เป็น “ควำมทุกข์”เพรำะสิ่งที่ติดตำมควำมเกิดมำก็คือ “ควำมแก่ชรำ” ควำมเจ็บปวยทรมำน และควำมตำย ควำมต้องพลัดพรำกจำกสิ่ง อันเป็นที่รัก ควำมต้องประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก ควำมแห้งใจ ควำม คร�่ำครวญ ควำมทุกข์กำยทุกข์ใจ และควำมคับแค้นใจ อุปมำเหมือนเห็ดที่โผล่ขึ้นมำจำกดินและน�ำดินติดขึ้นมำด้วย หรือ อุปมำเหมือนโคที่เทียมเกวียนแล้ว จะเดินไปไหนก็มีเกวียนติดตำมไป ทุกหนทุกแห่ง สัตว์โลกเกิดมำก็น�ำทุกข์สังขำรติดมำด้วย ตรำบใดที่เขำ ยังไม่สลัดควำมพอใจของสังขำรออก ควำมทุกข์ก็ย่อมติดตำมไปเสมอ เหมือนโคทีย่ งั มีแอกเกวียนครอบคออยูล่ อ้ เกวียนย่อมติดตำมไปทุกฝีกำ้ ว เหตุแหงค�ำตรัส /อนำถบิณฑิกเศรษฐี สุทตั ตะเป็นพ่อค้ำเมืองสำวัตถี แค้นโกศลมำค้ำขำยและแวะเยีย่ ม เพื่อนรักที่เป็นคู่เขยซึ่งกันและกัน เพรำะต่ำงได้น้องสำวของกันและกัน เป็นภรรยำ นำมว่ำรำชคหกเศรษฐีที่กรุงรำชคฤห์ แคว้นมคธ แต่เพื่อน มัวยุ่งกับกำรเตรียมอำหำรเป็นกำรใหญ่ไม่ได้ให้เวลำกับตน จึงถำมว่ำ เพื่อนติดงำนอะไร เพื่อนตอบว่ำพรุ่งนี้จะถวำยอำหำรพระพุทธเจ้ำและ พระสำวกนับด้วยร้อย พอได้ยินค�ำว่ำพุทโธ ก็เกิดอำกำรขนลุกด้วยปีติ พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๑๕


เพรำะแม้แต่เพียงเสียงเอ่ยว่ำพระพุทธเจ้ำเท่ำนี้ ก็ยังยำกที่จะได้ยิน ในโลกนี้คืนนั้นไม่อำจข่มตำหลับได้ลงลุกขึ้นแต่เช้ำมืดออกเดินทำงไป ยังประตูเมือง รอจนประตูเปิด ดุ่มเดินฝำควำมมืดสลัวไปยังปำสีตะวัน หรือปำเย็น พระพุทธองค์แผ่ขำ่ ยพระญำณพิจำรณำดูสตั ว์โลกทีค่ วรโปรด ก็เห็นอุปนิสัย “สุทัตตะ”ดังนั้นเมื่อสุทัตตะมำถึงแล้วจึงทรงตรัสขึ้นว่ำ “เข้ำมำเถิด สุทัตตะ ตถำคตอยู่นี่” สุทัตตะปลื้มปีติประหลำดใจที่ทรงเรียกชื่อตนได้ถูกต้อง และ เป็นเหตุให้พระพุทธองค์ตรัสค�ำสอนต่อสุทัตตะเป็นกำรเฉพำะข้ำงต้น ตั้งแต่สุทัตตะยึดพระพุทธเจ้ำ พระธรรม พระสงฆ์เป็นสรณะแล้ว ก็ตงั้ โรงทำนอำหำรบริจำคทำนมำกมำยทีเ่ มืองสำวัตถี จึงได้ชอื่ ต่อมำว่ำ “อนำถบิณฑิกเศรษฐี” ซึง่ แปลว่ำ ผูม้ กี อ้ นข้ำวให้กบั คนจนเสมอไม่ขำดมือ

พระสัทธรรม ดูก่อนกัสสปะ ! เหตุที่ท�ำให้พระสัทธรรมเลอะเลือนอันตรธำน มีอยู่คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบำสก อุบำสิกำ ในธรรมวินยั นี ้ ไม่เคำรพในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ไม่เคำรพ ในกำรศึกษำและไม่เคำรพในสมำธิ เหตุที่ท�ำให้พระสัทธรรมตั้งมั่น ไม่เลอะเลือนอันตรธำน พึงทรำบ โดยนัยตรงข้ำมนั้นแล ดูก่อนภิกษุทั้งหลำย ลำภ สักกำระ ชื่อเสียง เป็นของร้ำยกำจและ ท�ำอันตรำยได้ พวกเธอพึงส�ำเหนียก อย่ำให้ลำภ สักกำระ ชื่อเสียง ครอบง�ำจิต ตั้งอยู่ได้เลย ๑๖

หลักพระพุทธศำสนำ


เหตุแหงค�ำตรัส : พระมหำกัสสปเถระ เมื่อพระพุทธเจ้ำทรงเห็นว่ำพระมหำกัสสปะชรำภำพแล้วยังอยู่ ธุดงค์มักน้อย ได้รับควำมล�ำบำก จึงตรัสชวนให้มำอยู่ในเสนำสนะ รับผ้ำสังฆำฏิ รับบิณฑบำต อยู่ใกล้พระพุทธองค์แต่พระมหำกัสสปะ ก็ไม่ขอรับค�ำอนุญำตจำกพระพุทธองค์ ด้วยเหตุที่ว่ำ ทุกวันนี้แม้จะอยู่ ธุดงค์เข้มงวด ก็ไม่รู้สึกว่ำล�ำบำกอะไร อีกอย่ำงต้องกำรท�ำตนเป็นแบบ อย่ำงให้ภิกษุสงฆ์อื่นๆ พระพุทธเจ้ำทรงอนุโมทนำ “สำธุ” และตรัสยกย่องพระมหำกัสสปะ ท่ำมกลำงภิกษุสงฆ์ถือเป็นเยี่ยงอย่ำงในกำรอยู่ธุดงค์อย่ำงเข้มงวดด้วย

ธรรมของผูเจริญ ภิกษุทั้งหลำย! ตรำบใดที่เธอไม่หมกมุ่นกับกำรงำนมำกเกินไป ไม่พอใจด้วยกำรคุยฟุงซ่ำน ไม่ชอบใจ ไม่พอใจในกำรนอนมำกเกินควร ไม่ยินดีคลุกคลีด้วยหมู่คณะ ไม่เป็นผู้ปรำรถนำลำมก ตกอยู่ใต้อ�ำนำจแห่งควำมปรำรถนำชั่ว ไม่คบ มิตรเลว ไม่หยุดควำมเพียรพยำยำมเพื่อบรรลุคุณธรรมสูงๆ ขึ้นไปแล้ว ตรำบนัน้ พวกเธอจะไม่มคี วำมเสือ่ มเลย จะมีแต่ควำมเจริญโดยส่วนเดียว

เหตุแหงค�ำตรัส : ภิกษุทั้งหลำย เมื่อวัสสกำรพรำหมณ์มหำอ�ำมำตย์แห่งแคว้นมคธ เข้ำมำทูลถำม พระพุทธเจ้ำด้วยเรื่องกำรตีแคว้นวัชชี เมื่อพระพุทธเจ้ำทรงตอบโดย พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๑๗


ผ่ำนพระอำนนท์ ดังใจควำมธรรม 7 ประกำรสัสสกำรพรำหมณ์ก็ ทูลลำ พระพุทธเจ้ำรับสั่งให้พระอำนนท์ ประกำศประชุมสงฆ์ที่อยู่ใน กรุงรำชคฤห์ทั้งหมดมำประชุมโดยพร้อมกัน ณ ลำนแสดงธรรม บนเขำคิชฌกูฏ ใกล้กับพระมูลคันธกุฎี และทรงแสดงอปริหำนิยธรรม (ธรรม 7 ประกำร) ซ�้ำอีกครั้ง เพื่อให้พระสงฆ์หมั่นปฏิบัติและยึดถือ ธรรม 7 ประกำร ให้แน่นแฟนในแนวทำงพุทธธรรมด�ำเนิน และลงท้ำย ด้วยค�ำตรัส

ธรรม ๗ ประกำร ดูก่อนอำนนท์ ! ชำววัชชีประพฤติมั่นในธรรม 7 ประกำรคือ 1. หมั่นประชุมกันเนืองนิตย์ 2. เมื่อประชุม ก็พร้อมเพรียงกันประชุม เมื่อเลิกประชุมก็เลิก โดยพร้อมเพรียงกัน และพร้อมเพรียงกันท�ำกิจกรรมของชำววัชชีให้ ส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี 3. ชำววัชชีย่อมเคำรพเชื่อฟัง ในบัญญัติเก่ำของชำววัชชีที่ดี อยู่แล้ว ไม่เพิกถอนเสียและไม่บัญญัติสิ่งซึ่งไม่ดีไม่งำมขึ้นมำแทน 4. ชำววัชชีเคำรพสักกำระนับถือ ย�ำเกรง ผู้เฒ่ำผู้แก่ผู้ผ่ำนโลก มำนำน ไม่ลบหลู่ดูหมิ่นหรือเหยียดหยำม 5. ชำววัชชีประพฤติธรรมในสุภำพสตรี คือ ไม่ข่มเหงน�้ำใจ 6. ชำววัชชีรู้จักเคำรพ สักกำรบูชำปูชนียสถำน 7. ชำววัชชีให้กำรอำรักขำ คมุ้ ครอง “พระอรหันต์” สมณพรำหมณำจำรย์ ๑๘

หลักพระพุทธศำสนำ


ผู้ประพฤติธรรม ปรำรถนำให้สมณพรำหมณำจำรย์ผู้มีศีล ที่ยังไม่มำ สู่แคว้นขอให้มำ และที่มำแล้วขอให้อยู่เป็นสุข

เหตุแหงค�ำตรัส / วัสสกำรพรำหมณ พระเจ้ำอชำตศัตรูส่งวัสสกำรพรำหมณ์ มหำอ�ำมำตย์ มำเฝำ พระพุทธเจ้ำที่พระมูลคันธกุฎีบนเขำคิชฌกูฏ กรุงรำชคฤห์ แคว้นมคธ ขณะนั้นพระพุทธองค์มีพระชนมำยุได้ 79 พรรษำเพื่อหยั่งเสียงว่ำ ถ้ำพระองค์จะตีแคว้นวัชชีนั้น พระพุทธเจ้ำจะว่ำอย่ำงไร ทั้งนี้เพรำะ พระเจ้ำอชำตศัตรู ทั้งเคำรพและศรัทธำในพุทธวิจำรณ์ว่ำแม่นย�ำและ เป็นควำมจริงเสมอ พระพุทธเจ้ำทรงหันไปตรัสกับพระอำนนท์แทน ด้วยกำรกล่ำวว่ำ ถ้ำชำววัชชี ตั้งมั่นในธรรม 7 ประกำรดังกล่ำวข้ำงต้น นี้แล้ว เขำจะไม่ประสบควำมเสื่อมเลย มีแต่ควำมมั่นคงโดยส่วนเดียว เพรำะเหตุนี้พระเจ้ำอชำตศัตรูจึงมิได้ยกทัพไปตีแคว้นวัชชีแต่อย่ำงใด วัสสกำรพรำหมณ์ได้ยินดังนั้นก็ร้อง “สำธุ สำธุ สำธุ” แล้วกลับไปเฝำ พระเจ้ำอชำตศัตรู จนเมื่อพระพุทธเจ้ำเสด็จดับขันธปรินิพพำน ไปแล้ว จึงส่ง วัสสกำรพรำหมณ์ไปยุยงให้ชำววัชชีแตกสำมัคคีกนั และไม่ตงั้ มัน่ ในธรรม ทัง้ 7 ในทีส่ ดุ พระเจ้ำอชำตศัตรูกต็ แี คว้นวัชชีได้รวมเข้ำมำอยูใ่ นแผ่นดิน เดียวกันกับแคว้นมคธในที่สุด

พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๑๙


ธรรมเปนที่พึ่งแหงสัตว อำนนท์! เธอและภิกษุสงฆ์จะหวังอะไรในเรำอีกเล่ำ ธรรมใดทีค่ วร แสดงเรำได้แสดงหมดแล้วไม่มีก�ำมือของอำจำรย์อยู่ในเรำเลย คือ เรำมิได้ปิดบังซ่อนเร้นหวงแหนธรรมใดๆ ไว้ เรำได้ชี้แจง แสดงเปิดเผย หมดสิ้นแล้ว ธรรม“วินัย” ซึ่งเป็นมงคลอันประเสริฐของบิดำ ตถำคต ได้มอบให้เธอและภิกษุทั้งหลำยโดยสิ้นเชิงแล้ว อำนนท์เอย! ดูสรีระแห่งตถำคตบัดนี้มีชรำลักษณะปรำกฏ อย่ำงชัดเจน ฟันหัก ผมหงอก หนังหดเหี่ยวหย่อนยำน มีอำกำร ทรุดโทรมให้เห็นอย่ำงเด่นชัด เหมือนเกวียนที่ช�ำรุดแล้วช�ำรุดอีก ได้อำศัยแต่ไม้ไผ่มำซ่อมไว้ ผูกกระหนำบคำบค�้ำไว้ จะยืนนำนไปได้ สักเท่ำใด กำรแตกแยกสลำยย่อมจะมำถึงเข้ำสักวันหนึ่ง อำนนท์เอย! พวกเธอจงมีธรรมเป็นทีเ่ กำะเป็นทีพ่ งึ่ เถิด อย่ำคิดยึด สิ่งอื่นเป็นที่พึ่งเลย แม้เรำตถำคตก็เป็นเพียงผู้บอกทำงเท่ำนั้น

เหตุแหงค�ำตรัส : พระอำนนทเถระ ในพรรษำที่ 45 พรรษำสุดท้ำยนั้นเอง พระพุทธเจ้ำได้เสด็จจำก เขำคิชฌกูฏ กรุงรำชคฤห์แคว้นมคธ เดินทำงด้วยพระบำทผ่ำนเมือง นำลันทำ ผ่ำนปำฏลีคำม เข้ำประทับพักทีอ่ มั พปำลีวนั ของหญิงนครโสเภณี นำมว่ำอัมพปำลี นำงอัมพปำลีเข้ำเฝำ ได้ถวำยสวนมะม่วงอัมพปำลีวัน แด่พระพุทธองค์ และอำรำธนำให้รับภัตกิจที่บ้ำนนำงในเช้ำวันรุ่งขึ้น จำกนั้นก็เสด็จประทับ ณ เวฬุคำม อันแวดล้อมไปด้วยต้นมะตูม ๒๐

หลักพระพุทธศำสนำ


พระพุทธองค์ทรงพระประชวรหนักด้วยโรคปักขันทิกำพำธ มีพระบังคน เป็นโลหิต พระอำนนท์ผเู้ ป็นปัจฉำสมณะ (ผูค้ อยถำม) กังวลใจและเป็น ทุกข์มำก เมื่อเห็นพระพุทธองค์ใช้สมำธิอิทธิบำทภำวนำขับไล่ให้อำกำร อำพำธบรรเทำเบำบำงลง ก็เบำใจขึ้น เข้ำมำกรำบทูลควำมปริวิตกของ ตนเมื่อขณะประชวรหนัก พระพุทธองค์จึงตรัสให้สติกับพระอำนนท์ และสงฆ์ทั้งหลำย ดังค�ำตรัสข้ำงต้น

ธรรมอันสูงสุด ภิกษุทั้งหลำย! มรรค์มีองค์ 8 ประเสริฐที่สุด บรรดำบททั้งหลำย บท 4 คือ อริยสัจ ประเสริฐที่สุด บรรดำธรรมทัง้ หลำย วิรำคะ คือกำรปรำศจำกควำมก�ำหนัดยินดี ประเสริฐที่สุด บรรดำสัตว์ 2 เท้ำ พระตถำคตเจ้ำผู้มีจักษุ ประเสริฐที่สุด เธอทั้งหลำยจงตั้งใจปฏิบัติเพื่อท�ำทุกข์ให้สูญสิ้นไปควำมเพียร พยำยำม เธอทัง้ หลำยต้องท�ำเอง ตถำคตเป็นแต่เพียงผูบ้ อกทำงเท่ำนัน้ เมื่อปฏิบัติตนดังนั้น พวกเธอจักพ้นจำกมำร และบ่วงมำร

เหตุแหงค�ำตรัส / ภิกษุสงฆทั้งหลำย ขณะเดินทำงไปยังกุสนิ ำรำนัน้ ยังมีพระรูปหนึง่ นำมว่ำ “ธัมมำรำม” เมื่อเห็นภิกษุทั้งหลำยวิปโยคโศกเศร้ำ กับกำรเสด็จดับขันธปรินิพพำน พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๒๑


ของพระพุทธเจ้ำ พระธัมมำรำม ต้องกำรบ�ำเพ็ญเพียรเพือ่ บูชำพระพุทธเจ้ำ จึงหลีกไปอยูล่ ำ� พังผูเ้ ดียว พยำยำมท�ำสมถะและวิปสั สนำ พระทัง้ หลำย เห็นเช่นนั้นจึงไปกรำบทูลพระพุทธเจ้ำว่ำ พระธัมมำรำมไม่อำลัยใน พระพุทธองค์ปลีกตัวอยู่คนเดียว เมื่ อ พระพุ ท ธองค์ ต รั ส ถำมโดยตรงก็ ไ ด้ รั บ ค� ำ ตอบว่ ำ พระธัมมำรำม ต้องกำรท�ำควำมเพียรเพื่อให้บรรลุธรรมอันสูงสุด เพื่อบูชำพระพุทธองค์ ในขณะที่ยังทรงพระชนม์อยู่ พระพุทธเจ้ำเปล่ง พระอุทำน 3 ครั้งว่ำ “ดีแล้วภิกษุ” จำกนั้นก็ให้ภิกษุพึงท�ำตนอย่ำง ธัมมำรำมภิกษุ และทรงเตือนภิกษุ ให้เร่งหำที่วิเวก ท�ำตนให้บริสุทธิ์ จำกกิเลส จึงเป็นเหตุแห่งค�ำตรัสเตือนจำกพระพุทธเจ้ำข้ำงต้น

ทุกขเพรำะรัก วิสำขำเอย! ตถำคตกล่ำวว่ำควำมรักควำมอำลัยเป็นสำเหตุแห่ง ทุกข์ เพรำะฉะนั้นคนมีรักมำกเท่ำใด ก็มีทุกข์มำกเท่ำนั้น รักหนึ่งมี ทุกข์หนึ่ง มีรักสิบมีทุกข์สิบ มีรักร้อยมีทุกข์ร้อย ควำมทุกข์ย่อมเพิ่ม ขึ้นตำมปริมำณแห่งควำมรัก เหมือนควำมร้อนที่เกิดแต่ไฟ ย่อมเพิ่ม ขึ้นตำมจ�ำนวนเชื้อที่เพิ่มขึ้น

เหตุแหงค�ำตรัส / นำงวิสำขำ วันหนึ่งนำงวิสำขำตัวเปียกปอนร้องไห้โศกเศร้ำอำดูร ด้วยหลำน สำวนำมว่ำ สุทัตตี หลำนสุดที่รักเสียชีวิตลง นำงเดินกระเซอะกระเซิง มำเฝำพระพุทธเจ้ำที่วัดพระเชตะวัน พระพุทธองค์ไต่ถำมจนทรำบ ๒๒

หลักพระพุทธศำสนำ


เรื่องรำว ตรัสถำมนำงว่ำ ถ้ำคนในเมืองสำวัตถีดีอย่ำงหลำนของนำง นำงจะรักที่สุดอย่ำงนี้หรือไม่ นำงตอบว่ำรักเช่นนี้ ทรงถำมต่อไปว่ำ คนในสำวัตถีแต่ละวันตำยมำกไหม นำงตอบว่ำตำยทุกวัน พระพุทธองค์ จึงกล่ำว ถ้ำเช่นนัน้ นำงมิตอ้ งตัวเปียกปอนร้องไห้ทกุ วันหรือ แล้วจึงตรัส ค�ำธรรมข้ำงต้นให้สตินำงวิสำขำจนคลำยโศก ถาทานรักใคร คิดถึงใคร เปนหวงใคร ผูนั้นจะใหโทษ แกทาน (เปนคติธรรมสั้นๆ ของหลวงปูกินรี จันทิโย) หมำยเหตุ (ดวยควำมปรำรถนำดี)

ถ้ำมนุษย์จะละวำงกิเลสได้ มนุษย์จะต้องปฏิเสธควำมมีตวั ตนของ สรรพสิง่ ทัง้ หลำยให้ได้เสียก่อนและกำรทีจ่ ะปฏิเสธได้มนุษย์จำ� ต้องข้ำม พ้นกำรหลงมิติทำงกำยภำพไปเสียให้ได้ด้วยจึงจะประสบผลส�ำเร็จได้ ซึ่งกำรจะข้ำมพ้นกำรหลงมิติทำงกำยภำพได้นั้น มนุษย์จะต้องรู้ กฎเกณฑ์เรื่อง “อัตตำ” กับ “อนัตตำ” นี้ดีพอเท่ำนั้น

ควำมเปนมำของกำรประชุมธรรม สมัยหนึง่ พระอำนนท์ได้ตำมเสด็จพระพุทธเจ้ำไปยังเมือง “กุสนิ ำรำ” ครำนั้นเป็นเวลำที่พระพุทธองค์ใกล้สู่ปรินิพพำน ครั้นพระอำนนท์ได้ ทรำบควำมก็บังเกิดปริเทวนำกกำรและซบสะอื้น อยู่ริมพระไสยำสน์ อย่ำงเศร้ำเสียใจขณะนัน้ ได้มพี ระสงฆ์รปู หนึง่ นำมว่ำ “สุภทั ร” มำถึงได้ เห็นพระอำนนท์มีควำมทุกข์ระทมจึงเตือนสติพระอำนนท์ว่ำ “ในสมัย ทีพ่ ระพุทธองค์ยงั ทรงพระชนม์” พวกเรำยังสำมำรถกรำบทูลถำมปัญหำ พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๒๓


ให้คลำยสงสัย แต่ครั้นพระพุทธองค์เสด็จปรินิพพำนแล้ว เรำจะไปถำม ใครที่ไหนได้อีก กำรร้องไห้ไม่เกิดประโยชน์อะไรขึ้นหรอก มิสู้อำศัย โอกำสตอนนี้ มีค�ำถำม อยู่ 4 ข้อ ที่เธอพึงกรำบทูลถำมพระพุทธองค์ ให้กระจ่ำง

ค�ำถำม ๔ ขอสุดทำย (หนึ่งในกำรถอดรหัสผำน) ข้อที่ 1. เมื่อพระพุทธองค์เสด็จปรินิพพำนแล้ว เรำควรถือสิ่งใดเป็น “ครู”..................................? ข้อที่ 2. เมื่อพระพุทธองค์เสด็จปรินิพพำนแล้ว เรำควรถือสิ่งใดเป็น “สรณะ”......................................? ข้อที่ 3. เมื่อพระพุทธองค์เสด็จปรินิพพำนแล้ว เรำควรถือสิ่งใดเป็น “ธรรม”.............................................? ข้อที่ 4. ส�ำหรับค�ำเริ่มต้นแห่ง “วัชรสูตร” นี้ เรำควรเริ่มต้นด้วยประโยคใดดี............................. ขอให้ทุกท่ำนที่อ่ำนหนังสือธรรมะเล่มนี้มีควำมสุขในธรรม นะคะ.....ขอให้โชคดีคะ.....ขอให้ทุกท่ำนที่อ่ำนหนังสือธรรมะเล่มนี้มี ควำมสุขในธรรมนะคะ ๒๔

***ขอให้โชคดีคะ*** หลักพระพุทธศำสนำ

ปริสำ สหชำตำภัทรรัตน์


หลักกำรและวิธีกำรสูงสุดของ พระพุทธศำสนำ (ชุดที่ ๓) บทควำมนี้ เหมำะส�ำหรับนักสมำธิและวิปัสสนำ ซึ่งปฏิบัติตำม แบบพระพุทธศำสนำ บทควำมนีจ้ ะไม่พำท่ำนหลงทิศทำงออกไปนอกพระพุทธศำสนำ แต่จะพำท่ำนเข้ำใจซำบซึ้งหลักพระพุทธศำสนำ ยิ่งกว่ำนั้น จะพำท่ำน เข้ำถึงแก่นของพระพุทธศำสนำ ท�ำให้ท่ำนประสบควำมจริง ซึ่งเป็น สำระของชีวิต โดยเฉพำะ พระปรมัตถธรรมซึ่งเป็นพระธรรมชั้นสูงที่เข้ำใจยำก จึงย่อมจะเกิดควำมเข้ำใจผิดแผกแตกต่ำงกันขึ้น แต่เท่ำที่ได้พบก็มีใน พระสูตรที่พระสำวกแสดง และในคัมภีร์ที่รจนำในชั้นหลัง พระสูตรชื่อ สัมมำทิฐิสูตรของพระสำรีบุตรอัครสำวก ตอนแจกรำยละเอียดของ วิญญำณในปฏิจจสมุปบำท ท่ำนเอำนิเทศแห่งวิญญำณขันธ์มำใส่ลง ข้ำพเจ้ำเข้ำใจว่ำ เกิดจำกควำมพลั้งเผลอในครำวคัดลอกต่อๆ กันมำ ได้นำ� เอำนิเทศแห่งวิญญำณขันธ์ใส่เข้ำไป มิใช่ฐำนะทีพ่ ระอรหันต์ ชั้นอัครสำวกจะแสดงผิดพลำด เพรำะว่ำพระอรหันต์ยอ่ มรู้แจ้งวัตถุอัน เป็นที่ประดิษฐำนของอวิชชำแล้ว

ที่ตั้งแหงอวิชชำ วัตถุอันเปนที่ประดิษฐำนของอวิชชำ ๘ ประกำร คือ พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๒๕


1. ปุพพันตะ จุดเริม่ ต้นของสังสำรวัฏ คือจุดแรกทีป่ ฐมวิญญำณ เกิดมีอวิชชำ และภวตัณหำประยุกต์แล้วเกิดเป็นสัตว์ 2. อปรันตะ จุดสุดท้ำยของสังสำรวัฏ คือจุดบรรลุพระอรหัตผล ปฐมวิญญำณพ้นจำกควำมเป็นสัตว์ หยุดเกิดตำยในสังสำรวัฏ ด�ำรงอยู่ ได้โดยอิสรเสรี ไม่มีสังสงขำรใดๆเป็นที่อำศัย บรรลุถึงเอกภำพสมบูรณ์ ไม่ตกอยู่ใต้อ�ำนำจของสิ่งใดๆ เป็นตนของตนอย่ำงแท้จริง (ปรมำตมัน บริสุทธิ์)ด�ำรงอยู่อย่ำงสันติสุขตลอดกำลนิรันดร 3. ปุพพันตำปรันตะ จุดกลำงจำกจุดเริม่ ต้นไปยังจุดสุดท้ำยสัตว์ ท่องเทีย่ วเกิดตำยในสังสำรวัฏตลอดกำลยำวนำน ด้วยปัจจัย 3 ประกำร ที่เรียกว่ำ สังสำรจักร คือ (1) กิเลส (2) อภิสังขำร (กรรม) และ (3) วิบำก (ขันธ์) 4. ปฏิจจสมุปบำท (ปัจจยำกำร 12) เหตุปัจจัยแห่งทุกข์ซึ่ง เกิดสืบต่อกันเหมือนสำยโซ่ โปรดดูในปฏิจจสมุปบำท 5. ทุกข์ โดยรวบยอดได้แก่เบญจขันธ์ 6. ทุกขสมุทัย เหตุเกิดทุกข์ซึ่งได้แก่ตัณหำทั้ง 3 ซึ่งมี อวิชชำ เป็นหัวหน้ำ 7. ทุกขนิโรธ พระอมฤตนิพพำน คือ จิตบริสุทธิ์ที่สุด (ปรมสุทธิ) สำมำรถดับเหตุแห่งทุกข์ได้เด็ดขำด 8. ทุกข์นิโรธคำมินี ปฏิปทำ ทำงปฏิบัติพำให้บรรลุพระอมฤต นิพพำน ซึ่งได้แก่ พระอริยมรรค, มีองค์ 8 ๒๖

หลักพระพุทธศำสนำ


ควำมหมำยของ “วิญญำณ” ควำมจริงค�ำวำ “วิญญำณ” ในภำษำบำลี มีควำมหมำย ๒ อยำงคือ ๑. ปฐมวิญญาณ ซึ่งเป็นธำตุแท้ในกลุ่มธำตุแท้ทั้ง 6 คือธำตุดิน น�้ำ ไฟ ลม อำกำศ และ วิญญำณ ธำตุแท้ไม่มีกำรเริ่มต้น สิ่งใดไม่มีกำร เริ่มต้น สิ่งนั้นย่อมไม่สิ้นสุด เป็น อักขรัง(อักษร)แปลว่ำ ไม่สิ้นสุด พระอมฤตนิพพำน พระผูม้ พี ระภำคเจ้ำก็ทรงบัญญัตเิ รียกว่ำ “อักขรัง” (อักษร) แปลว่ำไม่สิ้นสุด เช่นเดียวกัน ดังนั้น พระนิพพำนจึงมิใช่สิ่ง ดับสูญ เพรำะหมำยถึงปฐมวิญญำณบริสุทธิ์แล้ว ๒. วิถีวิญญาณ ซึ่งหมำยถึง วิญญำณทำงทวำร 6 ส�ำหรับรับ อำรมณ์เป็นสื่อสัมผัส สิ่งนี้มีลักษณะเกิดดับ เหมือนสังขำรทั้งหลำย เพรำะเกิดจำกกรรมในชำติอดีต เพรำะเหตุท ี่ “วิญญำณ” มีควำมหมำย 2 อย่ำงนี้เอง พระผู้มีพระภำคจึงทรงบัญญัติค�ำว่ำ “จิตตัง” ขึ้นใช้ใน ควำมหมำยของปฐมวิญญำณ เรำใช้ในภำษำไทยว่ำ “จิต” เพรำะเรำ ไม่มคี ำ� ทีม่ คี วำมหมำยตรงกับค�ำนีใ้ ช้แต่คงจะเป็นเพรำะค�ำว่ำ “วิญญำณ” เป็นศัพท์วิชำกำรโบรำณซึ่งจ�ำเป็นต้องใช้อยู่ เช่น ในปฏิจจสมุปบำทก็ ทรงใช้ค�ำว่ำ “วิญญำณ” ในควำมหมำยของ ปฐมวิญญำณ ดังนัน้ เรำเมือ่ พบค�ำนี ้ จึงควรส�ำเหนียกว่ำ หมำยถึง ปฐมวิญญำณ หรือ วิถวี ญ ิ ญำณ อย่ำด่วนตีควำมหมำยไปทำงใดทำงหนึง่ พึงใคร่ครวญ ดีๆ ก่อนจึงตีควำมลงไป พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๒๗


เหตุเกิดวิญญำณ วิญญำณ ทั้ง ๒ ประเภท เกิดขึ้นเพรำะเหตุ คือ 1. ปฐมวิญญำณ เกิดเป็นสัตว์ เพรำะถูกอวิชชำและภวตัณหำ ประยุกต์ 2. วิถีวิญญำณ เกิดขึ้นทำงทวำร 6 เพรำะมีอำรมณ์มำสู่ทวำร ดั่งที่พระผู้มีพระภำคตรัสไว้ว่ำ “อำยตนะภำยใน อำยตนะภำยนอก วิญญำณ 3 สิง่ ประจวบกัน เกิดเป็นผัสสะ (สัมผัส) เพรำะเหตุน ี้ วิญญำณ ทุกประเภทเกิดเพรำะเหตุทั้งนั้น สมจริงดังสำวกภำษิตว่ำ “เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา เตสํ เหตํ ตถาคโต เตสฺจ โย นิโรโธ จ เอวํวาที มหาสมโณ” สิ่งเหล่ำใด เกิดเพรำะเหตุพระผู้บรรลุพระนิพพำนแล้ว ตรัสบอก เหตุของสิ่งเหล่ำนี้ (= บอกเหตุเกิด) พระนิพพำน ซึ่งเป็นภูมิจิตดับเหตุ ของสิง่ เหล่ำนัน้ อันใดพระผูบ้ รรลุพระนิพพำนแล้วก็ตรัสบอกพระนิพพำน นั้นด้วย (=บอกเหตุดับ) พระมหำสมณะทรงมีพระวำทะอย่ำงนี้ ดังนั้น เมือ่ จะพูดให้ถกู ต้องจึงควรพูดว่ำ “สัตว์ทอ่ งเทีย่ วเกิดตำยในสังสำรวัฏ” ไม่ควรพูดว่ำ “วิญญำณท่องเที่ยวเกิดตำยในสังสำรวัฏ” เพรำะว่ำปฐม วิญญำญำณ เมื่อเป็นธำตุแท้ ไม่มีกำรท่องเที่ยวเกิดตำย แต่เมื่อเกิดมี “อวิชชำ” และภวตัณหำ ประยุกต์แล้ว จึงเกิดเป็นสัตว์ตั้งแต่นั้นจึงมี กำรท่องเที่ยวเกิดตำยในสังสำรวัฏ เมื่อมำปฏิบัติก�ำจัดเหตุแห่งทุกข์ ได้แล้ว ก็พ้นจำกควำมเป็นสัตว์ หยุดเกิด-ตำยได้ ๒๘

หลักพระพุทธศำสนำ


ควำมข้อนี้ในพระสูตรเทวตำสังยุต ในสคำถวรรค สังยุตตนิกำย พระสุตตันตปิฎก ที่ข้ำพเจ้ำเลือกเฟนมำแปลและอธิบำยไว้ในหลักกำร และวิธกี ำรสูงสุดของพระพุทธศำสนำนีด้ ว้ ยมุง่ หมำยให้ผศู้ กึ ษำพระพุทธ ศำสนำเข้ำใจพระพุทธศำสนำอย่ำงถูกต้อง และประสงค์ให้พระพุทธ ศำสนำแท้ๆ (บริสุทธิ์) ด�ำรงอยู่นำนๆ เพื่อส�ำเร็จประโยชน์แก่เทวดำ และมนุษย์ทั้งปวงไปนำนจนถึงกำลอวสำนของพระพุทธศำสนำ

ค�ำชี้แจง หลักกำรใหญๆ ของพระพุทธศำสนำมี ๓ หลัก คือ 1. สังสำรวัฏ สัตว์โลก มีกำรท่องเที่ยวเกิด–ตำย ในสังสำรวัฏ ตลอดกำลยำวนำนจนนับชำติไม่ถ้วน 2. กรรม สัตว์โลกสร้ำง กรรมใส่ตวั ด้วยอ�ำนำจกิเลส คือกำมตัณหำ และอวิชชำ แล้วถูกกรรมนั้นๆ บังคับให้ท่องเที่ยวเกิด-ตำย ชำติแล้ว ชำติเล่ำ เป็นเวลำยืดยำวจนนับชำติไม่ถ้วน 3. นิพพำน สัตว์โลกเกิดควำมส�ำนึกชอบจึงหำหนทำงท�ำให้กำร ท่องเที่ยวเกิด-ตำย ในสังสำรวัฏสิ้นสุดลง กำรหยุดเกิด-ตำย ได้จัดเป็น พระนิพพำนขั้นสูงสุด จิตที่บรรลุพระนิพพำนแล้วพ้นควำมเป็นสัตว์ เป็นอิสรเสรีที่สุด ไม่ตกอยูใ่ ต้อำ� นำจของใครหรือของสิง่ ใด ด�ำรงอยูใ่ นสภำพสันติสขุ ตลอด กำลนิรันดร ข้ำพเจ้ำอ่ำนพระไตรปิฎกได้พบหลักกำรและวิธีกำรขั้นสูงสุดนี้ ของพระพุทธศำสนำเกิดศรัทธำเลื่อมใส จึงแปลและท�ำค�ำอธิบำย เพิ่มเติม มุ่งหมำยเผยแพร่พระพุทธศำสนำที่เชื่อและเข้ำใจว่ำถูกต้อง พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๒๙


แก่เพื่อนพุทธศำสนิกชน ผู้ซึ่งมุ่งหมำยปฏิบัติตำมพระพุทธศำสนำ ขั้นสูงเพื่อพ้นสรรพทุกข์ พระผูม้ พี ระภำค พระศำสดำของ “พระพุทธเจ้ำ” นัน้ ทรงบรรลุภมู ิ พ้นควำมเป็นสัตว์ ทรงหยุดท่องเทีย่ วเกิด-ตำย ในสังสำรวัฏแล้ว ได้ทรง ประกำศหลักกำรและวิธีกำรขั้นสูงสุดนี้แก่ประชำชนชำวชมพูทวีป เมื่อก่อนพุทธศักรำช 45 ปี บัดนี้พุทธศักรำช 2556+45 = 2601 เมื่อพระผู้มีพระภำคเจ้ำเสด็จดับขันธ์เข้ำสู่พระปรินิพพำนแล้ว พระอรหันต์พทุ ธสำวก ได้เอำธุระรวบรวมเป็นพระพุทธศำสนำ น�ำสืบๆ กันมำจนถึงปัจจุบันกำรและวิธีกำรขั้นสูงสุดนั้น ก็ยังบริสุทธิ์บริบูรณ์ มีพร้อมมูลในพระไตรปิฎก บทน�ำหลักสูงสุดของพระพุทธศำสนำ ๓ ประกำร คือ ๑. หลักสังสำรวัฏ ๒. หลักกรรม ๓. หลักพระนิพพำน

ขยำยควำมหลักที่ ๑ หลักสังสำรวัฏ ว่ำด้วยกำรเวียนว่ำยตำยเกิด เป็นสิ่งมีชีวิต ในรูปแบบต่ำงๆ ในโลกพระผู้มีพระภำคตรัสรู้หลักนี้ในปฐมยำมของ รำตรี ในวันเพ็ญเดือน 6 ปีอัญชัน ศักรำช 103 กลียุค กำรเวียนว่ำยตำยเกิดนั้นมีจุดที่ส�ำคัญซึ่งเป็นที่เกิดอวิชชำหรือ ที่สิงสถิตของอวิชชำ 3 จุดเริ่มต้น ๑. ปุพพันตะ จุดเริ่มตนเปนสิ่งมีชีวิตในโลก (จุดเริ่มต้นของ สังสำรวัฏ) ธำตุแท้ ที่พระผู้มีพระภำคทรงบัญญัติ เรียกว่ำ อสังขตธำตุ มี 6 สิ่ง คือ ๓๐

หลักพระพุทธศำสนำ


1. ปฐวีธำตุ (ธำตุดิน) 2. อำโปธำตุ (ธำตุน�้ำ) 3. เตโชธำตุ (ธำตุไฟ) 4. วำโยธำตุ (ธำตุลม) 5. อำกำศธำตุ (ธำตุช่องว่ำง) 6. วิญญำณธำตุ (ธำตุรู้ ปฐมวิญญำณ)

สิ่งทั้ง 6 นี้ไม่มีอะไรสร้ำงขึ้น จึงไม่มีกำรเริ่มต้น สิ่งใดไม่มีกำร เริ่มต้น สิ่งนั้นย่อมไม่มีกำรสิ้นสุด (= อักขรัง ไม่สิ้นสุด) ในธำตุแท้ทั้ง 6 นั้น วิญญำณธำตุ เป็นสิ่งประเสริฐ เมื่อยังเป็น ธำตุแท้ๆ อยูน่ นั้ ไม่มวี ชิ ชำรักษำตัว จึงเกิดมีอวิชชำ ขึน้ ประยุกต์ นับแต่เกิด มีอวิชชำประยุกต์แล้ว ก็แปรสภำพเป็นสิง่ มีชวี ติ (สัตว์) ในโลก ควำมข้อนี้ พระผู้มีพระภำคตรัสไว้ในพระสูตรที่ 61 พระสุตตันตปิฎกว่ำ “ปุริมา ภิกฺขเว โกฏิ น ปฺญายติ อวิชฺชา ปุพฺเพนาโหสิ อถ ปจฺฉา สมฺภวิ” ภิกษุทั้งหลำย จุดเริ่มต้นของอวิชชำ ไม่รู้ แต่ก่อนอวิชชำยังไม่มี ภำยหลังอวิชชำจึงมีขึ้น อธิบำยว่ำ “ปฐมวิญญำณ หรือปุริมวิญญำณ ที่พระผู้มีพระภำคทรงบัญญัติใหม่ว่ำ “จิต” นั้นไม่มีอวิชชำประยุกต์มำ แต่แรกอวิชชำเกิดขึ้นประยุกต์ในภำยหลัง จุดแรกทีอ่ วิชชำเกิดขึน้ ประยุกต์ปฐมวิญญำณนี ้ อันใครๆ ไม่อำจรู้ เพรำะเป็นระยะไกลเกินวิสยั ของญำณจะส่องไปถึง แต่ละคนได้เกิด-ตำย มำแล้วมำกมำย จนนับชำติไม่ถ้วน จึงไม่อำจสำวไปถึงจุดแรกเกิด พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๓๑


มีอวิชชำว่ำเริ่มต้นเมื่อไร เพียงแต่รู้โดยกำรอนุมำนว่ำ มีกำรเริ่มต้นของ อวิชชำเท่ำนั้น สิ่งใดมีกำรเริ่มต้น สิ่งนั้นย่อมมีกำรสิ้นสุด ดังนั้นอวิชชำจึงเป็นสิ่ง ที่อำจท�ำให้สิ้นสุดลงได้ หลักกำรอนุมำนนี้ เป็นหลักกำรถูกต้อง พระผู้มีพระภำคทรงใช้ หลักกำรอนุมำนไต่เต้ำไปสู่กำรตรัสรู้มำแล้ว เมื่ออวิชชำเกิดขึ้นประยุกต์ปฐมวิญญำณแล้ว ก็เป็นปัจจัยให้เกิด เจตจ�ำนงเพื่อเป็นอย่ำงนั้นอย่ำงนี้ต่อไป เจตจ�ำนงนี้ พระผู้มีพระภำค ทรงบัญญัติเรียกว่ำ “ภวตัณหำ” ภวตัณหำ เริ่มต้นเมื่อไร ก็ไม่อำจรู้เหมือนกัน เพรำะแต่ละคนได้ ท่องเทีย่ วเกิด-ตำย มำมำกมำยสุดวิสยั ทีญ ่ ำณจะส่องไปถึง แต่กอ็ นุมำน ได้เช่นเดียวกับอวิชชำ ภวตัณหำ คือเจตจ�ำนงหรือ “กรรม” เป็นหลักส�ำคัญที่สุด หลักหนึ่งของพระพุทธศำสนำซึ่งจะได้บรรยำยรำยละเอียดให้ทรำบใน หลักธรรมจุดสุดท้ำย ๒. อปรันตะ จุดสุดทายของการเกิดเปนสิ่งมีชีวิตในโลก (จุดสุดทายของสังสารวัฏ) เมื่อรู้ว่ำ อวิชชำและภวตัณหำ เป็นปัจจัยให้เกิดเป็นสิ่งมีชีวิต ในโลกแล้ว ก็อนุมำนได้ว่ำ ท�ำลำยอวิชชำและภวตัณหำ ให้ดับสูญ ไปจำกปฐมวิญญำณได้แล้ว กำรเกิดเป็นสิ่งมีชีวิตในโลกก็จะต้องสิ้นสุด ลงจะหยุดเกิด–หยุดตำย ได้เพรำะพ้นจำกควำมเป็นสิง่ มีชวี ติ (สัตว์) แล้ว ๓๒

หลักพระพุทธศำสนำ


พระผูม้ พี ระภำคตรัสไว้วำ่ “ภิกษุทงั้ หลำย” เพรำะเหตุทมี่ ไิ ด้ตรัสรู้ อริยสัจ 4 เรำทัง้ หลำยจึงได้ทอ่ งเทีย่ วเกิด-ตำย เนิน่ นำน แต่บดั นีอ้ ริยสัจ 4 อันเรำ ทั้งหลำยได้ตรัสรู้แล้ว กำรท่องเที่ยวเกิด-ตำย ของเรำทั้งหลำย จึงสิ้นสุดลง ชำติของเรำทั้งหลำย เป็นชำติสุดท้ำย จะไม่มีกำรเกิด อีกต่อไป ปฐมวิญญำณ หลังจำกกำรตรัสรูอ้ ริยสัจ 4 แล้ว เป็นสิง่ เดียวล้วนๆ ไม่มีอะไรประยุกต์ปรำศจำกกิเลส กรรม และวิบำกปรุงแต่ง จิตที่บรรลุ ถึงสภำพสิ่งมีอิสรภำพเสรีภำพสูงสุดไม่ตกอยู่ใต้อ�ำนำจของสิ่งใดๆ เป็นตนของตนอย่ำงยิ่ง (=ปรมำตมันบริสุทธิ์) หลักนี้เป็นหลักกำรสูงสุดของพระพุทธศำสนำ ซึ่งจะได้บรรยำย ในหลักพระนิพพำนหมุนไปคล้ำยวงล้อ ๓. ปุพพันตาปรันตะ จุดกลางจากจุดเริ่มตน ไปยังจุดสุดท้ำย ของกำรเป็นสิ่งมีชีวิตในโลก (จุดกลำงจำกจุดเริ่มต้นไปยังจุดสุดท้ำย ของสังสำรวัฏ) พระผูมีพระภำคตรัสไววำ “ภิกษุทั้งหลำยสิ่งทั้ง ๓ คือ” ๑. กิเลส ๒. อภิสังขำร (กรรม) ๓. วิบำก (ขันธ) เปนสังสำรจักร ถ้ำสิง่ ทัง้ 3 นีย้ งั ประยุกต์จติ อยูแ่ ล้ว สัตว์กจ็ ะต้องท่องเทีย่ วเกิดตำย เรื่อยไป เมื่อใดท�ำลำยสังสำรจักร 3 สิ่งนี้ ให้หมดไปจำกจิตใจแล้วเมื่อ นั้นก็พ้นจำกควำมเป็นสัตว์หยุดท่องเที่ยวเป็นสัตว์หยุดท่องเที่ยวเกิด ตำยได้ พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๓๓


นับแต่เกิดมี “อวิชชำ” (ยอดกิเลส) และ “ภวตัณหำ” (กรรม) แล้ว ปฐมวิญญำณก็แปรสภำพเป็นสิ่งมีชีวิต (สัตว์) แล้วท่องเที่ยวเกิด ตำยร�่ำไป แปลว่ำ สัตว์มีบำปติดตัวมำเกิดใหม่ทุกๆ ชำติ เมื่อใดบรรลุ จุดสุดท้ำยแล้ว เมื่อนั้นก็หยุดท่องเที่ยวเกิด-ตำยได้ ปัจจัยแห่งกำร เกิด-ตำย ของสิง่ มีชวี ติ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ได้แก่ภวตัณหำ (กรรมหรือเจตจ�ำนง) หลั ก กำรนี้ พ ระผู ้ มี พ ระภำคตรั ส รู ้ ใ นมั ช ฌิ ม ยำมของรำตรี ในวันเพ็ญเดือน 6 ปีอัญชัน ศักรำช 103 กลียุค ศักรำช 2513 ก่อนพุทธศักรำช 45 กิเลส กรรม และวิบำก ถ้ำจะเปรียบกับรถ ก็น่ำจะเปรียบกับ รถ 3 ล้อ สัตว์ อำศัยสังสำรจักรซึง่ เปรียบกับรถ 3 ล้อ ท่องเทีย่ วเกิด–ตำย ตลอดกำลยืดยำวจนนับชำติไม่ถ้วน อวิชชำ ทีอ่ ำศัยอยูใ่ นจุดทัง้ 3 ของสังสำรวัฏนี ้ ถ้ำยังมิได้ถกู ท�ำลำย มันก็จะเป็นปัจจัยให้เกิด ภวตัณหำ และวิภวตัณหำ (มิจฉำทิฐริ ำ�่ ไป) เพรำะ ฉะนั้นจึงต้องเจริญวิปัสสนำ ให้เกิดญำณตรัสรู้จุดทั้ง 3 ให้แจ่มแจ้ง เมือ่ วิชชำญำณเกิดขึน้ ในจุดทัง้ 3 นีแ้ จ่มแจ้งแล้ว อวิชชำในจุดทัง้ 3 นี้ก็สลำยไป เหมือนควำมสว่ำงเกิดขึ้น ควำมมืดก็หำยไป ฉะนั้น กำรเกิด-กำรตำยของสิ่งมีชีวิต (สัตว์) ตำมหลักสังสำรวัฏมิได้หมำย กำรเกิด-กำรดับชั่วขณะจิตหนึ่งๆแต่หมำยถึงกำรเกิดกำรตำยของสัตว์ (จิตที่ประยุกต์กับกิเลส กรรม และวิบำกแล้ว) ในชั่วชีวิตหนึ่ง ปัจจยำกำร 12 หรือ นิทำน 12 หรือ ปฏิจจสมุปบำท ก็อยู่ใน หลักกำรเดียวกันนี้ ปัจจัย 1, 2, 3 ในปัจจำยำกำร 12 เป็นปัจจัยอดีต ๓๔

หลักพระพุทธศำสนำ


คือปัจจัยในชำติก่อน ปัจจัย 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, ในปัจจยำกำร 12 เป็นปัจจัยในชำติปัจจุบัน ส่วนปัจจัย 11, 12, ในปัจจยำกำร 12 เป็น ปัจจัยในชำติอนำคต คือจักเกิดเป็นสิ่งมีชีวิต (สัตว์) ในชำติหน้ำ เมื่อเกิดญำณตรัสรู้ในสังสำรวัฏ 3 จุด ก็จะเกิดญำณตรัสรู้ ปัจจยำกำร 12 ได้ด้วย เมื่อเกิดญำณตรัสรู้สังสำรวัฏ 3 จุดและ ปัจจยำกำร 12 แล้วก็จะเกิดญำณตรัสรูอ้ ริยสัจ 4 แจ่มแจ้งขึน้ เมือ่ เป็น อย่ำงนั้น อวิชชำในวัตถุ 8 ประกำร ก็ถูกท�ำลำยให้ดับสูญไปจำกจิตใจ หมดสิ้นไม่มีเหลือ

ขยำยควำมหลักที่ ๒ หลักกรรมวาดวยปจจัยของการเกิด–การตาย ของสิ่งมีชีวิต (สัตว) ในโลก สัตว์โลก หมำยถึง ปฐมวิญญำณ ที่ประยุกต์กับกิเลส กรรมและ วิบำก (ขันธ์) แล้วมีอันต้องเกิด–ต้องตำย ตำมกรรมของตน ภวตัณหำ (กรรมคือเจตจ�ำนง) เป็นปัจจัยส�ำคัญที่สุด ที่พำสัตว์เกิด-ตำย ชำติแล้ว ชำติเล่ำ ตลอดกำลยืดยำว ภวตัณหำ เกิดขึน้ ประยุกต์ปฐมวิญญำณตัง้ แต่เมือ่ ไร ไม่อำจทรำบ ได้ เพรำะกำรเกิด-ตำย ของแต่ละคนยืดยำว สุดวิสัยที่ญำณจะส่องถึง แต่ก็พอคำดคะเนด้วยวิธีอนุมำนได้ เช่นเดียวกับกำรเกิดของอวิชชำ นั่นเอง สิ่งใดมีกำรเริ่มต้น สิ่งนั้นย่อมมีกำรสิ้นสุด ดังนั้นภวตัณหำก็เป็น สิ่งที่เรำสำมำรถท�ำให้สิ้นสุดลงได้ พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๓๕


ตัณหำคือ พญำมำร ภวตัณหำ หมำยถึง กรรมทั่วๆ ไปทั้งที่เป็นกุศลกรรม ทั้งที่เป็น กุศลกรรม แต่มีกรรมประเภทหนึ่ง เกิดจำกมิจฉำทิฐิโดยเฉพำะ กรรม ประเภทนี้ พระผู้มีพระภำคทรงบัญญัติเรียกว่ำ “วิภวตัณหำ” เพื่อให้ ต่ำงจำกกรรมทั่วๆ ไป ทั้งภวตัณหำ ทั้งวิภวตัณหำ เป็นปัจจัยส�ำคัญที่สุด ที่พำสัตว์ เกิด-ตำย ชำติแล้วชำติเล่ำเนิ่นนำน ภวตัณหำและวิภวตัณหำ เกิดจำก กิเลสรบเร้ำ ซึง่ กิเลสนีพ้ ระผูม้ พี ระภำคทรงบัญญัตเิ รียกว่ำ “กำมตัณหำ” ตัณหำทัง้ 3 นี ้ พระผูม้ พี ระภำคทรงสมมติเป็นพญำมำร พญำมำร มือวิชชำเป็นพำหนะ จึงเปรียบว่ำ พญำมำรขีช่ ำ้ งคิรเี มขลำ สีหมอกเมฆ มำประจญพระผู้มีพระภำค ในวันจะตรัสรู้พระอนุตรสัมมำสัมโพธิ (กำรขัดสมำธิ) เจริญสมำธิและวิปัสสนำ นั้นเสีย พระโบรำณำจำรย์จึง ท�ำรูปเปรียบว่ำ พญำมำรำธิรำชขี่ช้ำงคิรีเมขลำมำประจญพระผู้มี พระภำคเจ้ำ ยื้อแย่งพุทธบัลลังก์ ควำมจริงหมำยถึงตัณหำทั้ง 3 ซึ่งมี อวิชชำเป็นพำหนะประจญพระผู้มีพระภำคอย่ำงหนักหน่วงในวันนั้น ทั้งนี้เพรำะทรงตั้งจำตุรงคปธำน (ควำมเพียรอันประกอบด้วยองค์ 4) เด็ดเดีย่ วเกินไป (ถ้ำไม่สำ� เร็จจะไม่ยอมเลิกละควำมเพียรแม้วำ่ เลือดเนือ้ จะเหือดแห้งไป ยังเหลือแต่หนังเอ็นหุ้มกระดูกก็ตำมที ทรงบรรเทำ ตัณหำทั้ง 3 ลงได้ ก่อนพลบค�่ำวันนั้น จำกนั้นจึงทรงเข้ำฌำน 4 ได้ เป็นอันระงับกำมตัณหำลงได้กอ่ น จำกนัน้ ก็ทรงเจริญวิปสั สนำเพือ่ ทรำบ ทำงท�ำลำยภวตัณหำ วิภวตัณหำต่อไป ๓๖

หลักพระพุทธศำสนำ


ทรงทรำบสังสำรวัฏว่ำมีจริง ในปฐมยำม ดั่งบรรยำย ในหลักสังสำรวัฏ เป็นอันได้ก�ำจัด “วิภวตัณหำ” ออกไป จำกพระหฤทัย (จิตใจ) ย่ำงเข้ำมัชฌิมยำม ได้ทรงค้นหำ ปัจจัยแห่งกำรเกิด – กำรตำย ทรงทรำบว่ำ “ภวตัณหำ” เป็นปัจจัยส�ำคัญที่สุด ดั่งได้บรรยำยในหลักกรรมนี้ วัฏจักรภำยในจิต 1. นอกจำก “กำมตัณหำ” “ภวตัณหำ “ และ “วิภวตัณหำ” แล้วก็ได้แก่ วิบำก (ขันธ์ ) ที่กรรมสร้ำงขึ้นประยุกต์อยู่ใน ปฐมวิญญำณเป็นตัวปัจจัยส�ำคัญเหมือนกัน 2. วิบำก (ขันธ์) เป็นครำบหุ้มปฐมวิญญำณ มีส่วนบันดำล ให้ เกิดกิเลสและกรรมวนกลับไป จนเป็นวงกลมที่เรียกว่ำ “วัฏจักร” สัตว์โลก อำศัยสังสำรจักรทั้ง 3 ท่องเที่ยว เกิด–ตำย เหมือนขี่รถ 3 ล้อท่องเที่ยวไปมำในสังสำรวัฏ ตลอดกำลยืดยำว ฉะนัน้ ต้องรือ้ รถ 3 ล้อนีท้ งิ้ เสีย จึงจะพ้น กำรเกิด-กำรตำย หยุดเกิด–หยุดตำยได้ กิเลส กรรม และวิบำก 3 สิ่งนี้เป็นสังสำรจักร พำสัตว์ท่องเที่ยว เกิดตำย ไม่มีพระเจ้ำสร้ำงสรรค์บันดำล ปัจจัยทั้ง 3 เป็นเหตุและเป็น ผลของกันและกันด้วย เป็นปัจจัยให้สัตว์เกิด–ตำยด้วย พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๓๗


วิธีก�ำจัดสังสำรจักร ควำมข้อนี้ พระผู้มีพระภำคทรงแสดงด้วยบทประพันธ์สั้นๆ แต่ ได้ควำมกว้ำงขวำงชัดเจนว่ำ “ฉนฺทซ� อีฆ� ฉนฺทช� ทุกข� ฉนฺทวินยำ อีฆวินโย อีฆวินยำ ทุกฺขวินโย” (ศัพท์วำ่ “อีฆ � นี ้ ในพระไตรปิฎกเป็น อฆ�” ข้ำพเจ้ำเข้ำใจว่ำเป็นศัพท์ผิด จึงแก้เป็น อีฆ� แปลตำมพยัญชนะว่ำ กำรกระทบกระทั่งเสียดสีเอำควำมว่ำ “กรรม”) พระพุทธภำษิตว่ำ เป็นหลักอ้ำงในข้อนี้ได้แก่พระพุทธภำษิตว่ำ “อนีโฆยำติ พฺรำหฺมโณ” พระอรหันต์เป็นผู้หมดกรรม จึงด�ำเนินเข้ำสู่พระนิพพำนได้ แปลว่ำ

กรรมเกิดจำกกำมตัณหำ ทุกข์กเ็ กิดจำกกำมตัณหำ ก�ำจัด กำมตัณหำได้ ก็ก�ำจัดกรรมได้ ก�ำจัดกรรมได้ก็ก�ำจัดทุกข์ได้” เพรำะฉะนัน้ วิธกี ำรปฏิบตั เิ พือ่ ก�ำจัดสังสำรจักร พระผูม้ พี ระภำค จึงทรงวำงแบบปฏิบัติ ให้ก�ำจัดกำมตัณหำเป็นประกำรแรก สมำธิขั้นฌำนสมำบัติ ตั้งแต่ขั้นปฐมฌำนขึ้นไป มีอิทธิพลก�ำจัด กำมตัณหำออกไปจำกจิตใจ จำกนั้นจึงทรงวำงแบบปฏิบัติให้ก�ำจัด อวิชชำเป็นประกำรต่อไป อวิชชำ เป็นยอดกิเลส และเป็นปัจจัยให้เกิดตัณหำทั้ง 3 คือ กำมตัณหำ ภวตัณหำ และวิภวตัณหำ อวิชชำ ดับชัว่ ครำวในจตุตถฌำน วิปัสสนำ เป็นวิธีกำรเจริญปัญญำ ให้เกิดญำณทัสนะ รู้เห็นอริยสัจ 4 ตำมควำมจริง เมื่อวิปัสสนำญำณแก่กล้ำแล้ว ก็มีอิทธิพลก�ำจัดอวิชชำ ให้ดบั สูญไปจำกจิตใจ เหมือนแสงสว่ำงเกิดขึน้ ควำมมืดก็หำยไปฉะนัน้ ดังนั้น สมำธิและวิปัสสนำ จึงเป็นวิธีกำรสูงสุดของพระศำสนำ ๓๘

หลักพระพุทธศำสนำ


โมกษะ หลักพระนิพพำน ว่ำด้วย ภูมธิ รรมทำงจิต ซึง่ เป็นภูมสิ งู สุดดับกิเลส อภิสังขำร (กรรม) และวิบำก (ขันธ์) ได้เด็ดขำด นักปรำชญ์ในชมพูทวีป (อินเดีย) ในสมัยอุปนิษัท ก่อนหน้ำ พุทธสมัยเพียงเล็กน้อย ได้คน้ พบภูมธิ รรมทำงจิต ท�ำให้ กิเลสอภิสงั ขำร (กรรม) และ วิบำก (ขันธ์) ระงับ มีสันติสุขทำงจิต จึงบัญญัติเรียกว่ำ “โมกษะ” โมกษะ หมำยถึง ภูมธิ รรมทำงจิต ทีท่ ำ� ให้จติ หลุดพ้น เป็นอิสรเสรี ไม่ประยุกต์กบั กิเลสกรรม และวิบำก (ขันธ์) ซึง่ เป็นปัจจัยแห่งทุกข์ และ เป็นตัวทุกข์ โมกษะ ในสมัยนั้นมีเพียง 8 ชั้น ตรงกับฌำนสมำบัติหรือ วิโมกข์ 8 ของพระพุทธศำสนำ โมกษะ ชั้นสูงสุดในครั้งนั้นชื่อว่ำ “เนวสัญญำนำสัญญำยตนะ” จิตในโมกษะ ชั้นนี้ มีอิสรเสรีมำก สัญญำ (ควำมจ�ำหมำย) และ เวทนำ (ควำมเสวยอำรมณ์) อันเป็นตัววิบำก (ขันธ์) เหลือน้อยสัญญำ ก็เป็นเพียงเศษสังขำร เวทนำก็เป็นอทุกขมสุขเวทนำ ซึ่งเป็นสุขเวทนำ ประณีต กิเลสได้ระงับไป ภวตัณหำ ซึง่ หมำยถึงกุศลกรรมยังมีอยู ่ ก็เป็น กุศลกรรมประณีต อ�ำนวยผลให้จิตหลุดพ้นจำกรูปกำย แต่ก็ยังด�ำรงใน นำมกำย (อรูป) อยูอ่ กี จึงยังไม่พน้ จำกวิบำก (ขันธ์) เด็ดขำด จิตทีบ่ รรลุ ภูมธิ รรมชัน้ นี ้ นักปรำชญ์ในสมัยนัน้ บัญญัตเิ รียกว่ำ “ปรมำตมันบริสทุ ธิ”์ พระผูม้ พี ระภำค ขณะทรงศึกษำโมกษะทัง้ 8 ในส�ำนักพระดำบส อุทกะ รำมบุตร ทรงทรำบว่ำ ยังมีอุปำทำนสัญญำในฌำนนั้นแล ที่ทรง พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๓๙


เรียกว่ำ “อุปทำน” ก็เพรำะว่ำจิตในฌำนชัน้ สูงสุดนัน้ ยังมีกศุ ลกรรมอัน ประณีตประยุกต์ซงึ่ จะส่งให้อบุ ตั ใิ นภพชัน้ สูง เป็นพระพรหมไม่มรี ปู ชือ่ เนวสัญญำนำสัญญำยตนูปคำ จึงไม่เป็น “ปรมำตมันบริสุทธิ์” อย่ำง แท้จริง เพรำะเมือ่ หมดก�ำลังของกุศลกรรมอันประณีตนัน้ แล้ว ก็จะต้อง จุติไปอุบัติเป็นอย่ำงอื่น ตำมกรรมอื่นต่อไป พระผูม้ พี ระภำค เมือ่ เสด็จไปค้นคว้ำหำสันติวรบท (ทำงพระนิพพำน) โดยล�ำพัง หลังจำกทรงท�ำทุกข์กิริยำอันไร้ประโยชน์แล้ว ทรงท�ำควำม เพียรแบบอำนำปำนสติ 16 ขั้น ทรงบรรลุฌำน 4 (รูปฌำนขั้น 4) และ ทรงรื้อฟื้นอรูปฌำน 4 หรือโมกษะเบื้องปลำย 4 ขั้น ขึ้นมำปฏิบัติ เมื่อทรงช�ำนำญในฌำน 8 ทรงบรรลุสัญญำเวทยิตนิโรธ (อนิมติ ตเจโตวิมตุ )ิ ซึง่ เป็นภูมธิ รรมทีท่ ำ� ให้จติ หลุดพ้น เป็นอิสรเสรีทสี่ ดุ สัญญำและเวทนำ ดับสนิทมีแต่จติ ล้วนๆ ด�ำรงอยูไ่ ด้ชวั่ เวลำจ�ำกัด มิได้เป็นอย่ำงนั้นตลอดไป ภูมิธรรมชั้นนี้ทรงน�ำมำเรียงล�ำดับกับ ฌำนสมำบัติเป็นสมำบัติชั้นที่ 9 กำรที่ไม่เรียกว่ำ “ฌำน” เพรำะเลยภูมิฌำนไปแล้ว ไม่มีกำรเพ่ง พิจำรณำอะไรในสมำบัติชั้นที่ 9 มีแต่กำรด�ำรงอยู่อย่ำงอิสรเสรี และมี สันติสุขของจิตเท่ำนั้น

๔๐

หลักพระพุทธศำสนำ


นิพพำนพรหม กับบรมนิพพำน

ในสมำบัติชั้นที่ 9 ถ้ำเรียกว่ำ “พระนิพพำน” ก็เรียกว่ำ “พระนิพพำนพรหม” ไม่เรียกว่ำ “พระนิพพำนพระพุทธเจ้ำ” หลังจำกตรัสรูพ้ ระอนุตรสัมมำสัมโพธิญำณแล้วพระผูม้ พี ระภำค จึงทรงบัญญัตภิ มู ธิ รรมสูงสุดทีท่ รงบรรลุวำ่ “พระนิพพำน” (แต่ ก็แสดงไว้ว่ำ สมำบัติ 9 เป็นพระนิพพำนโดยปริยำย-โดยอ้อม) พระนิพพำนนีเ้ ป็นพระนิพพำนสูงสุด เรียกว่ำ “พระบรมนิพพำน” ดังทรงบัญญัติไว้ในพระโอวำทปำฏิโมกข์ ให้สวดทุกๆ ปักษ์ พระบรมนิพพำน เป็นหลักกำรสูงสุดของพระพุทธศำสนำใน พระพุทธศำสนำ จึงหมำยพระบรมนิพพำนนี้เท่ำนั้น

หลักของพระนิพพำน พระนิพพำน หมำยถึง ภูมิธรรมทำงจิต ที่สำมำรถดับกิเลสกรรม และวิบำก (ขันธ์) ที่ประยุกต์อยู่กับปฐมวิญญำณ ให้ยังเหลือแต่จิต (ปฐมวิญญำณ) ล้วนๆ เพียงสิ่งเดียวเป็นเอกภำพ มีอสิ รเสรีเป็นที่สุด ไม่ ต้องอิงอำศัยสังขำรใดๆ และไม่ตกอยู่ใต้อ�ำนำจของสิ่งใดๆ มีสันติสุข ที่สุดตลอดกำลนิรันดร จิตที่บรรลุพระนิพพำนนี้แล้ว พระผู้มีพระภำค ทรงบัญญัติเรียกว่ำ “ปรมำตมันบริสุทธิ์ อย่ำงแท้จริง” และเรียกว่ำ “นิรันดรอย่ำงแท้จริงด้วย” จิตในภูมินี้ ไม่เปลี่ยนแปลงเป็นอย่ำงอื่น ตลอดกำล เป็นอย่ำงเดียวตลอดกำล ตรงกับ “อกำลบุรษุ ” ของศำสนำซิกข์ ศำสดำนักปฐมศำสดำของศำสนำซิกข์ บัญญัติว่ำ อกำลบุรุษ มีอยู่ พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๔๑


ตลอดกำล ใครเข้ำถึงอกำลบุรุษ ผู้นั้นก็มีสันติสุข ศำสดำนำนักอำจได้ หลักนีไ้ ปจำกพระพุทธศำสนำก็ได้ แต่เรำชำวพุทธในสมัยปัจจุบนั ได้ฟงั แล้วก็งง ทั้งนี้เพรำะลืมหลักพระพุทธศำสนำขั้นสูงสุดเพรำะเข้ำใจว่ำ เมื่อบรรลุพระนิพพำนแล้ว จิตก็ดับไปตำมธรรมดำของตน ส่วนมำกมัก จะเข้ำใจว่ำ จิตเป็นธรรมชำติเกิด/-ดับ เหมือนสังขำรทั้งหลำย ซึ่งควำม เข้ำใจค้ำนพระพุทธมติอย่ำงจัง พระพุทธมติวำ่ จิต หมำยถึงปฐมวิญญำณ ที่พระอรหันต์พุทธสำวก ผู้สังคำยนำไขควำมว่ำ “ปุริมวิญญำณ” นั้น เอง มิได้หมำยถึงวิญญำณขันธ์ ซึ่งเป็นสังขำร พระพุทธภำษิตที่ยืนยัน ควำมข้อนี้ก็มีอยู่ว่ำ “วิสงฺขำรคต� จิตฺต� ตณฺหำน� ขยมชฺ ฌคำ” แปลว่ำ จิตบรรลุพระนิพพำนหมดสังขำรปรุงแต่ง เพรำะหมดตัณหำ อธิบำยว่ำ พระนิพพำนเป็น ภูมิชั้นสูงสุด เพรำะเหตุ 2 ประกำร คือ 1. เพรำะหมดสังขำรปรุงแต่ง 2. เพรำะหมดตัณหำ (กิเลส และกรรม) กิเลส และกรรมก็ด ี สังขำรซึง่ รวมทัง้ กิเลส กรรม และวิบำก (ขันธ์) ก็ดี เป็นสิ่งประยุกต์ จิต (ปฐมวิญญำณหรือปุริมวิญญำณ) เมื่อบรรลุถึง ภูมิหมดสังขำรและตัณหำแล้ว จิตก็ปลอดโปร่งที่สุด บริสุทธิ์ที่สุด ทีเ่ รียกว่ำ “ปรมสุทธิ” ค�ำว่ำ “ปรมสุทธิ” เป็นค�ำเรียกพระนิพพำนสูงสุด เล็งถึงจิตบริสุทธิ์ที่สุด มีหลักฐำนในคัมภีร์สคำถวรรค สังยุตตนิกำย พระสุตตันตปิฎก เพรำะฉะนั้นจึงไม่ควรเห็นว่ำ “พระนิพพำน” เป็น ภูมิจิตดับสูญเพรำะจิตเป็น “อักขรัง” ไม่สิ้นสุดพระนิพพำนก็เป็น “อักขรัง” ไม่สิ้นสุด พระพุทธศำสนำรับรองสังสำรวัฏว่ำมีจริง ยืนยัน ว่ำตัวกำรพำสัตว์เกิด-ตำย ได้แก่ ภวตัณหำ คือกรรมหรือ เจตจ�ำนงของ ๔๒

หลักพระพุทธศำสนำ


สัตว์นั้นเอง และว่ำ เมื่อก�ำจัด “อวิชชำ” และ “ตัณหำทั้ง 3” ให้หมด ไปจำกจิตใจเด็ดขำดแล้ว ก็เป็นพระนิพพำน มีสันติสุขที่สุข ดังนั้นหลักสังสำรวัฏ หลักกรรม และหลักพระนิพพำน จึงเป็น หลักสูงสุดของพระพุทธศำสนำ กำรศึกษำพระพุทธศำสนำได้ควำมเข้ำใจ ตรงกับหลักทั้ง 3 นี้ จึงจะเรียกได้ว่ำ รู้จักพระพุทธศำสนำอย่ำงถูกต้อง พระบรมนิพพำน อันเป็นหลักกำรสูงสุดของพระพุทธศำสนำนี้ พระผู้มี พระภำคตรัสรูใ้ นเวลำอรุโณทัย ของวันเพ็ญ เดือนวิสำขะ (เดือน 6 ไทย) ปีระกำ อัญชัน ศักรำช 103 กลียุคศักรำช 2513 ก่อนพุทธศักรำช 45 ปี

พระอมฤต พระบรมนิพพำนนี้ พระผู้มีพระภำคทรงเรียกว่ำ “พระอมฤต” หมำยถึงจิตบริสุทธิ์ที่สุด ไม่มีกิเลสกรรม และวิบำก(ขันธ์) ปรุงแต่ง พระอรหันต์พุทธสำวก ผู้ท�ำกำรสังคำยนำพระพุทธศำสนำเมื่อไขควำม ค�ำที่หมำยถึงพระบรมนิพพำน ท่ำนก็ไขว่ำ “พระอมฤตนิพพำน” เหมือนกัน ดังนั้น พระนิพพำนจึงมิได้หมำยถึง กำรดับสูญ ผู้บรรลุ พระบรมนิพพำนนี้แล้ว สำมำรถเข้ำสู่ควำมสงบ (สมำธิ) ชั้นสูงสุด ที่เรียก ว่ำ “โลกุตรสมำธิ” หรือ “อนุตรวิโมกข์” โดยไม่มกี เิ ลส กรรม (อภิสงั ขำร) และวิบำก (ขันธ์) ประยุกต์ ซึ่งเท่ำกับขันธ์ ปรินิพพำน ได้ทุกกำลและ ทุกสถำนที ่ เพรำะฉะนัน้ จึงไม่ควรเข้ำใจว่ำ กำรเข้ำนิพพำนของอรหันต์ จะมีได้ในครำวสิน้ ชีวติ เท่ำนัน้ เป็นกำรสลัดทิง้ ขันธ์อย่ำงเด็ดขำด ต่อแต่ นัน้ ไป จะไม่มขี นั ธ์สำ� หรับบริหำรอีกเลย แต่พระอรหันต์กม็ ไิ ด้ดบั สูญไป พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๔๓


เพรำะว่ำสภำพเดิมเป็นอักขรัง (ไม่ดบั สูญ) อยูแ่ ล้ว เมือ่ บรรลุพระนิพพำน แล้ว จึงเป็นอักขรังตำมเดิม ภูมินี้ละเอียดประณีตที่สุดจะอนุมำนเอำ มิได้ ต้องบรรลุด้วยตนเอง จึงจะรู้อย่ำงถ่องแท้ได้ แต่ถ้ำบรรลุ สัญญำ เวทยิตนิโรธ แล้ว ก็อำจอนุมำนพระบรมนิพพำนได้ เพรำะเป็นสภำพ จิตเดี่ยว ซึ่งด�ำรงอยู่ได้อย่ำงอิสรเสรี เป็นเอกภำพสมบูรณ์เหมือนกัน

เลือกใหเหมำะกับอินทรีย วิธกี ำรปฏิบตั ติ ำมพระธรรมในพระพุทธศำสนำ มีทงั้ ขัน้ ต�ำ่ ขัน้ กลำง และขั้นสูงสุด ผู้ปฏิบัติก็เลือกปฏิบัติได้ ตำมสมควรกับอุปนิสัยอินทรีย์ ของตนได้ตำมสภำวะนั้น ผูม้ อี ปุ นิสยั อินทรียอ์ อ่ น ก็ควรปฏิบตั ใิ นพระธรรมขัน้ ต�ำ่ ผูม้ อี ปุ นิสยั อินทรีย์ปำนกลำงก็ควรปฏิบัติในพระธรรมขั้นกลำง ส่วนผู้มีอุปนิสัย อินทรีย์แก่กล้ำ ก็ควรปฏิบัติในพระธรรมขั้นสูงสุด อินทรีย์ ได้แก่ คุณธรรมประจ�ำจิตใจ สืบเนื่องมำแต่ชำติก่อนๆ ซึง่ เป็นนิสยั ประจ�ำสันดำน (จิตใจ) จึงเรียกว่ำ “อุปนิสยั อินทรีย”์ อินทรีย ์ 5 คือ 1. ศรัทธำ ควำมเชื่อ 2. วิริยะ ควำมเพียร 3. สติ ควำมมีสติรู้จักยับยั้งชั่งใจ เปรียบเหมือนรถมีห้ำมล้อ สำมำรถหยุดได้ตำมต้องกำร 4. สมำธิ ควำมมีสมำธิ คือ มีจิตใจด�ำรงมั่นคง ไม่หวั่นไหวต่อ อำรมณ์สัมผัส ๔๔

หลักพระพุทธศำสนำ


5. ปัญญำ ควำมมีปัญญำคือรู้จักใช้พุทธิปัญญำพิจำรณำและ วินิจฉัยผิด-ชอบ อย่ำงสูง หมำยถึงวิปัสสนำปัญญำ มองเห็นควำมเกิดควำมดับของสังขำร ซึ่งเป็นวิปัสสนำญำณขั้นต้น แปลว่ำ รู้จักคติธรรมดำของสังขำร ไม่ตื่นเต้นตกใจในกำร เปลี่ยนแปลงไปของสังขำร มีใจปกติ ทั้งในเหตุกำรณ์ร้ำยหรือดีเป็นคน ปลงตก อินทรีย ์ 5 ประกำรนี ้ อย่ำงไหนมีมำกน้อยเพียงไร ก็ยอ่ มสังเกต ได้ดว้ ยตนเอง ดังนัน้ จึงสำมำรถวินจิ ฉัยได้วำ่ ตนควรปฏิบตั ใิ นพระธรรม ขั้นใด

กำรปฏิบัติในขั้นสูง ในทีน่ ี้ จะกล่ำวถึงเฉพำะวิธกี ำรปฏิบตั ใิ นพระธรรมขัน้ สูงสุดซึง่ จะ น�ำไปสู่จุดหมำยปลำยทำงของพระพุทธศำสนำ คือพระนิพพำน วิธีกำรปฏิบัติในพระธรรมขั้นสูงสุดนี้มีมำก แต่ก็สงเครำะห์ลงใน หลักกำรศึกษำ 2 หลักคือ 1. สมำธิ หรือทีเ่ รียกว่ำ “จิตตสิกขำ” หมำยถึงกำรศึกษำส�ำเหนียก ท�ำให้จิตเป็นสมำธิและบริสุทธิ์ผ่องใส 2. ปัญญำ ที่เรียกว่ำ “ปัญญำสิกขำ” หมำยถึงกำรศึกษำอบรม ให้เกิดปัญญำ รู้จักสภำวะต่ำงๆ ตำมควำมจริง ปัญญำขั้นสูงสุดท่ำนเรียกว่ำ “วิปัสสนำ” เป็นชนิดควำมรู้เห็นที่ สำมำรถปลดปล่อยคน ให้หลุดพ้นเป็นอิสรเสรี ไม่ตกอยู่ใต้อ�ำนำจของ สิง่ ใดๆ ตลอดไป กำรปฏิบตั ทิ ำง “สมำธิ” และวิปสั สนำ ในพระพุทธศำสนำ พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๔๕


มุ่งผลให้จิตมั่นคงบริสุทธิ์ที่สุด มีสติปัญญำรู้จักรักษำตนให้ปลอดภัย จำก “กิเกส กรรม และ วิบำก (ขันธ์)” ซึ่งผูกมัดรัดรึงตนอยู่ตั้งแต่ชำติ อดีตนำนมำแล้ว มุ่งหมำย สลัดตน ให้หลุดพ้น จำกเครื่องผูกมัดทั้ง 3 เป็นอิสรเสรี ด�ำรงอยู่ได้โดยล�ำพัง อย่ำงมีสันติสุข

ขั้นกำรเจริญสมำธิ ข้อปฏิบัติทุกๆ อย่ำงอันเป็นปัจจัยเกื้อกูลแก่สมำธิและวิปัสสนำ อันสงเครำะห์ในหลักทั้ง 2 ประกำรนี้ เช่ำ อินทรียสังวร กำรระวัง อินทรีย์ 6 ตำ หู จมูก ลิ้น กำย ใจ มิให้บำปอกุศลเกิดขึ้นครอบง�ำได้ เมื่อมันเกิดขึ้นเพรำะเผลอก็รีบก�ำจัดปัดเปำออกไป โภชเนมัตตัญุตำ รู้จักประมำณในกำรรับประทำนอำหำร ไม่น้อยไปจนถึงกับหิวโหยโรยแรง และไม่มำก ไปจนถึงเกิดอึดอัด ชำคริยำนุโยค ประกอบควำมเพียรแบบตืน่ มำกกว่ำหลับ ก�ำหนด หลับเพียงประมำณ 4 ทุ่ม ในภำคมัชฌิมยำม เวลำนอกนั้นใช้ประกอบ ควำมเพียรช�ำระนิวรณ์ 5 ออกจำกจิต โดยวิธีเดินจงกรม (กำรที่ใช้ อิรยิ ำบถเดินอย่ำงเดียวเพือ่ มิให้หลับ) เมือ่ ปฏิบตั อิ ยูใ่ นข้อปฏิบตั เิ หล่ำนี้ จิตก็พร้อมทีจ่ ะเป็นสมำธิแล้ว จึงควรปฏิบตั ใิ นกำรเจริญสมำธิให้ได้ ฌำน 4 เป็นอย่ำงต�ำ่ ให้ได้สมำบัตถิ งึ ชัน้ ที ่ 9 ชือ่ สัญญำเวทยิตนิโรธ เป็นอย่ำงสูง

วิธีเจริญวิปสสนำ ๒ แบบ เมื่อได้ฌำน 4 ชั้นใดชั้นหนึ่งเป็นอย่ำงต�่ำแล้ว ก็ปฏิบัติในขั้น วิปัสสนำได้ กำรเจริญวิปัสสนำมี 2 วิธี คือ ๔๖

หลักพระพุทธศำสนำ


1. เจริญวิปัสสนำภำยใน ฌำน

2. เจริญวิปัสสนำภำยนอกฌำน

วิธีที่ ๑ ส�ำหรับผูม้ สี มำธิอนิ ทรีย ์ แก่กล้ำ ช�ำนำญทำงฌำนสมำบัติ สำมำรถเจริญวิปสั สนำภำยในได้ฌำนชัน้ ที ่ 1 ถึงชัน้ ที ่ 7 (อำกิญจัญญำยตนะ) ใช้เจริญวิปสั สนำภำยในได้ ส่วนฌำนชัน้ ที ่ 8 เนวสัญญำนำสัญญำยตนะ และสมำบัตชิ อ่ื สัญญำเวทยิตนิโรธ ใช้เจริญวิปสั สนำภำยในไม่ได้ เพรำะ จิตสงบประณีตเกินไป วิธีที่ ๒ ส�ำหรับผู้มีปัญญำอินทรีย์แก่กล้ำ ช�ำนำญทำงใช้ปัญญำ พิจำรณำจึงเหมำะที่จะเจริญวิปัสสนำภำยนอกฌำนได้ฌำนชั้นใดๆ ก็เข้ำฌำนชั้นนั้นๆ ก่อน พอออกจำกฌำนก็เจริญวิปัสสนำทันที น�ำเอำสังขำรภำยใน ซึ่งเป็นวิบำกขันธ์ 5 คือ รูป เวทนำ สัญญำ สังขำร และวิญญำณ ซึ่งท�ำหน้ำที่ปรุงแต่งจิตใจในขณะอยู่ในฌำนนั้น มำพิจำรณำด้วยปัญญำ จนเกิดญำณแจ่มชัดขึ้น รู้จักไตรลักษณ์คือ ควำมไม่เที่ยง ควำมทุกข์ (แปรปรวน) และ ควำมเป็นอนัตตำ (สลำยตัว) ในสังขำรนั้นๆ วิธีที่ 1 อยู่ในหลักที่พระอรหันต์พุทธสำวก ผู้สังคำยนำ อธิบำยไว้ เรียกว่ำ “วิญญำญำณจริยำ” จริยำในวิธีที่ 1 นี้ ใช้ควำมสังเกตรู้ไตรลักษณ์ด้วยวิญญำณ (ปฐมวิญญำณ= จิต ) ภำยในฌำนนั้นเอง ไม่ใช้ปัญญำพิจำรณำ ส่วนวิธี ที ่ 2 พระอรหันต์พทุ ธสำวกผูส้ งั คำยนำ อธิบำยไว้เรียกว่ำ “ปัญญำจริยำ” จริยำในวิธีที่ 2 นี้ใช้ปัญญำพิจำรณำรู้ไตรลักษณ์ด้วยปัญญำ ผู้ปฏิบัติตำมวิธีที่ 1 ได้บรรลุพระอรหัตผล เป็นพระอรหันต์ประเภท พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๔๗


“เจโตวิมุติ” ส่วนผู้ปฏิบัติตำมวิธีที่ 2 ได้บรรลุพระอรหัตผล เป็น พระอรหันต์ประเภท “ปัญญำวิมุติ” ควำมแตกต่ำงของพระอรหันต์ 2 ประเภทนี้ อยู่ที่ “อินทรีย์” ถ้ำสมำธินทรีย์ แก่กล้ำ ก็จะได้เป็นพระอรหันต์ ประเภท “เจโตวิมุติ” ถ้ำปัญญินทรีย ์ แก่กล้ำ ก็จะได้เป็นพระอรหันต์ ประเภท “ปัญญำวิมตุ ”ิ ดังนั้น ผู้ปฏิบัติควรเลือกวิธีปฏิบัติให้เหมำะกับอินทรีย์ของตนจึง จะได้ผลเร็ว

ตอนสวนนันทนวัน ในสคำถวรรค สังยุตตนิกำย พระไตรปิฎกเล่มที่ 15 หน้ำ 8 ได้ เล่ำถึงค�ำกล่ำวของเทวดำ 2 องค์ โดยมีใจควำมตำมพระพุทธด�ำรัส ที่ได้ตรัสเอำไว้ดังต่อไปนี้อย่ำงไหนสุขกว่ำกัน “ภิกษุทั้งหลำย! เคยมีแล้วในอดีตเทวดำ ชำวดำวดึงส์องค์หนึ่งมี นำงเทพอัปสรแวดล้อมบ�ำรุงบ�ำเรอด้วยกำมคุณ 5 อันเป็นทิพย์ใน สวนสวรรค์ชื่อ “นันทนวัน” ได้กล่ำวค�ำประพันธ์ในเวลำนั้นว่ำ “ชนเหล่ำใดไม่เห็นสวนสวรรค์ชื่อนันทนวัน ชนเหล่ำนั้นก็ไม่รู้จกั ควำมสุขเพรำะสวนนันทนวันเป็นทีอ่ ยูข่ องทวยเทพชำวดำวดึงส์ผเู้ รืองยศ ภิกษุทั้งหลำย! เทวดำอีกองค์หนึ่งได้กล่ำวค�ำประพันธ์โต้ตอบ เทวดำองค์นั้นว่ำ ท่ำนไม่รู้ตัวว่ำเป็นพำลโดยประกำรที่ไม่ได้ยินค�ำ “พระอรหันต์” พูดว่ำสังขำรทุกชนิดไม่เที่ยง มีกำรเกิดขึ้นและเสื่อมไป ๔๘

หลักพระพุทธศำสนำ


เป็นธรรมดำสังขำรทุกชนิดเกิดแล้วก็ดบั ไป “พระนิพพำนซึง่ เป็นภูมธิ รรม” สำมำรถดับสังขำรทุกชนิดเหล่ำนั้นต่ำงหำกเป็นควำมสุข

อธิบำยขยำยควำม สวน “สวรรค์นนั ทนวัน” เป็นรมณียสถำนส�ำหรับทวยเทพดำวดึงส์ ทวยเทพดำวดึงส์ไปสนุกสนำนรื่นเริงบันเทิงกันในสวนสวรรค์นั้น เขำรู้สึกเป็นสุขส�ำรำญใจอย่ำงยิ่ง ควำมสุขอันเกิดจำกกำมำรมณ์ 5 อันน่ำปรำรถนำ น่ำใคร่ น่ำพอใจ น่ำรัก ยียวน ชวนติดใจนั้นเป็นสิ่ง มีจริงแต่ทว่ำไม่ยั่งยืนไม่สถำพรทวยเทพดำวดึงส์มีก�ำหนดอำยุ 100,000 ปีมนุษย์ เมื่อหมดอำยุก็จุติไปสู่สภำพอื่น อำจไม่มีควำมสุข อย่ำงที่เคยประสบในสวนสวรรค์ก็ได้ “ส่วนพระนิพพำน” ซึ่งหมำยถึง ภูมจิ ติ ใจบริสทุ ธิท์ สี่ ดุ ไม่มกี เิ ลสตัณหำ อภิสงั ขำร (กรรม) และวิบำก(ขันธ์) เป็นเครื่องปรุงแต่งนั้นเป็นภูมิจิตมีสันติสุขที่สุดและยั่งยืนสถำพร ตลอดกำลนิรันดร เมื่อเทียบกันแล้วควำมสุขอันเกิดจำกกำมคุณ 5 อันเป็นทิพย์ ของชำวสวรรค์ชั้นดำวดึงส์ไม่ถึงเสี้ยวของควำมสุขในพระนิพพำน เพรำะฉะนัน้ ค�ำพูดของเทวดำองค์ทวี่ ำ่ ใครไม่เห็นสวนสวรรค์นนั ทนวัน คนนั้นก็ไม่รู้จักควำมสุขนั้น จึงเป็นค�ำพูดไม่จริงเพรำะมีควำมสุขที่ดียิ่ง กว่ำควำมสุขในสวรรค์อยู่แห่งหนึ่ง! ควำมสุขนั้นคือ ควำมสุขอันเกิดจำกจิตหลุดพ้นจำกกิเลสตัณหำ อภิสังขำร (กรรม) และวิบำก(ขันธ์)อย่ำงเด็ดขำด ใครบรรลุถึงสภำพจิต ดังกล่ำวนี้แล้ว เขำก็ประสบสันติสุขสถำพรตลอดไป******* พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๔๙


หลักกำรและวิธกี ำรขัน้ สูงสุดของพระพุทธศำสนำ ในหนังสือเล่ม นี้ น�ำมำจำก “คัมภีร์สคำถวรรคสังยุตตนิกำย พระสุตตันตปิฎก ซึ่งเป็น พระพุทธวจนะ มิใช่มติของข้ำพเจ้ำ *****ข้ำพเจ้ำได้ถือเอำพระพุทธ วจนะนี้น้อมมำปฏิบัติตำมและเป็นที่พึ่งให้แก่ข้ำพเจ้ำ ข้ำพเจ้ำอยำกให้ ผู้ที่สนใจศึกษำพระธรรมอยู่ศึกษำแล้วน�ำเอำปฏิบัติตำม ข้ำพเจ้ำมั่นใจ ว่ำควำมสุขอย่ำงไม่มีเงื่อนไขประมำณมิได้นั้นจะหล่อเลี้ยงจิตญำณให้ อยู่ได้อย่ำงไม่จ�ำกัดกำล จะมีขันธ์หรือไม่มีขันธ์ก็ไม่ทุกข์ มีก็เหมือนไม่มี เกิดขึน้ แล้วสติและปัญญำจะอยูท่ นี่ เี่ หมือนดังสำยลม และแสงแดดเพือ่ กำรด�ำรงอยู่ กำรสร้ำงใหม่ และบุบสลำยหำยไปอัตตำเป็นมำยำของ อนัตตำ อัตตำคือกำรด�ำรงมีอยู่จริงเป็นรูปธรรม อนัตตำมีจุดเริ่มต้นแต่ ไม่มีที่สิ้นสุดมีก็เหมือนไม่มี สำธุ สำธุ สำธุ ******* จิตใดรู้ทัน และบริสุทธิ์ จิตนั้นหลุดพ้น จิตใดไม่ยึด จิตนั้นไม่ทุกข์ จิตใดยึด จิตนั้นทุกข์ ธรรมแท้มีไม่มำก แค่รู้แล้วไม่ทุกข์ (ทำงใจ) เท่ำนั้นเอง**(ปริสำ) ***พลังอ�ำนำจที่แท้จริง จะบรรลุเปำหมำยได้ก็ต่อเมื่อ “รูคิด” และต้องรู้จักท�ำด้วย** พลังอ�ำนำจทำงจิตวิญญำณ เป็นปัจจัยส�ำคัญ ของทุกรูปธรรมเหล่ำนี้มำก เพรำะมันหมำยถึง 1. สติปัญญำควำม เฉลียวฉลำด 2. ควำมรวดเร็วในกำรเคลื่อนที่เดินทำง 3. แรงเหวี่ยงหนี แรงดึงดูดเหนี่ยวรั้งของ “เอกภพ” จำกผลในข้อ 3 นี้เองคือที่มำของ ค�ำว่ำ “นิพพำนไม่ได้” (ที่มำ อ.ปริญญำ ตันสกุล) ๕๐

หลักพระพุทธศำสนำ


ควำมรูขั้นพื้นฐำนในดำนพระวินัย (ชุดที่ ๔)** พระวินัย พระวินยั คืออะไร พระวินยั คือกฎหรือขนบธรรมเนียมและระเบียบ แบบแผนที่บุคคลผู้อยู่รวมกันเป็นหมู่จะพึงมีเพื่อให้ควำมประพฤติของ หมู่คณะเป็นไปตำมระเบียบแบบแผนนั้นๆ ตำมธรรมดำคนหมู่มำกจะ อยู่ตำมล�ำพัง โดยไม่มีกฎระเบียบอะไรเลยนั้น ย่อมเป็นไปไม่ได้เพรำะ ต่ำงคนก็ย่อมมีอัธยำศัยและควำมประพฤติแตกต่ำงกันไป บำงคนมีก็มี อัธยำศัยและควำมประพฤติทรำบ เมื่อไม่มีกฎระเบียบส�ำหรับหมู่คณะ แล้วหมู่คณะนั้นๆ ก็ย่อมจะขำดควำมเป็นระเบียบเรียบร้อย แลดูไป ไม่งดงำมแก่ผู้พบเห็น นับแต่ตระกูลหนึง่ ๆ ขึน้ ไปย่อมมีขนบธรรมเนียม ส�ำหรับตระกูลนัน้ ๆ แม้แต่พระเจ้ำแผ่นดินก็ตอ้ งตรำขนบธรรมเนียม ซึง่ เรียกว่ำกฎหมำยขึน้ เพือ่ ห้ำมปรำมไม่ให้คนประพฤติผดิ และปรับโทษแก่ผลู้ ว่ งละเมิดไว้ดว้ ย ฉันใดในพระพุทธศำสนำก็ฉันนั้น พระศำสนำทรงตัง้ อยูใ่ นฐำนะเป็นพระธรรมรำชำผูป้ กครอง และ เป็นพระสังฆบิดรผู้ดูแลพระภิกษุสงฆ์ ย่อมทรงบัญญัติขนบธรรมเนียม ซึ่งเรียกว่ำ “พระวินัย” ขึ้น เพื่อร้อยรัดควำมประพฤติของภิกษุสงฆ์ ให้ เข้ำเป็นระเบียบแบบแผน มีอัธยำศัยและควำมประพฤติเสมอหน้ำกัน พระวินัยนี้เปรียบเหมือนด้ำยร้อยดอกไม้ให้เข้ำเป็นระเบียบอันดีงำม พระศำสดำเปรียบเหมือนนำยมำลำกำรผู้จัดดอกไม้ พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๕๑


เพรำะตำมธรรมดำ ดอกไม้ตำ่ งชนิดย่อมมีสแี ละกลิน่ ไม่เหมือนกัน เมื่อนำยมำลำกำรเอำด้ำยสนเข็มและร้อยดอกไม้เข้ำเป็นพวง เข้ำเป็น หมวดหมู่ ดอกไม้นั้นย่อมเป็นสิ่งน่ำทัศนำของมหำชนฉันใด ภิกษุ ผู้อุปสมบทในพระพุทธศำสนำย่อมมำจำกต่ำงสกุลกันสูงบ้ำง ต�่ำบ้ำง เมื่อพระศำสดำทรงบัญญัติพระวินัยขึ้น ก็ย่อมท�ำควำมประพฤติของ ภิกษุนั้นๆ ให้เข้ำระเบียบแบบแผน แลดูงดงำมแก่ผู้ได้พบเห็นฉันนั้น

พระวินัยนี้มี ๒ อยำง พระวินัยนี้ พอจะแบงออกไดเปน ๒ อยาง กลาวคือ 1. พุทธบัญญัต ิ พระพุทธองค์ทรงตัง้ ไว้เพือ่ ปองกันควำมประพฤติ เสียหำย และวำงโทษแก่พระภิกษุผลู้ ว่ งละเมิด ปรับเป็นอำบัต ิ หนักบ้ำง เบำบ้ำง เหมือนกับพระเจ้ำแผ่นดิน ทรงตั้งพระรำชบัญญัติฉะนั้น 2. อภิสมำจำร หรือพูดง่ำยๆ ก็คือวินัยที่ว่ำด้วยมำรยำทของ พระนัน่ เอง ซึง่ พระพุทธองค์ทรงตัง้ เอำไว้เป็นขนบธรรมเนียมเพือ่ ชักน�ำ ควำมประพฤติของพระภิกษุสงฆ์ให้ดีงำม เหมือนกับบิดำมำรดำฝึกเรือ บุตรของตนในขนบธรรมเนียมของสกุล ฉะนัน้ พุทธบัญญัตแิ ละอภิสมำจำร ทั้งสองนี้ รวมเรียกว่ำ “พระวินัย”

๕๒

หลักพระพุทธศำสนำ


อำบัติ สิกขำบทที่พระพุทธองค์ได้ทรงบัญญัติไว้แล้ว ถ้ำพระภิกษุรูปใด ไปล่วงละเมิดเข้ำ ย่อมมีโทษเรียกว่ำ “อำบัติ” อำบัติหมำยถึงอะไร? หมำยถึงกิริยำที่ล่วงละเมิดพระวินัยนั้น และท�ำให้ตนเกิดโทษ

โทษ ๓ สถาน อำบัตินั้นเมื่อจะกล่ำวโดยโทษก็มีอยู่ 3 สถำนคือ 1. อย่ำงหนัก ยังผู้ต้องให้ขำดจำกควำมเป็นภิกษุ 2. อย่ำงกลำง ยังผูต้ อ้ งให้อยูป่ ริวำสกรรม คือประพฤติวตั รเพือ่ ทรมำนตน 3. อย่ำงเบำ ยังผูต้ อ้ งให้ประจำนตนต่อหน้ำภิกษุดว้ ยกันซึง่ วิธนี เี้ ป็นที่ รู้จักกันโดยทั่วไปเรียกว่ำวิธีปลงอำบัติ

แกได แกไมได อาบัตินั้น ถาจะแยกเปนประเภทก็แยกไดเปน ๒ อยางกลาวคือ

อาบัติที่แกไขไมได ซึ่งเรียกวา “อเตกิจฉา” อยาง ๑ อาบัติที่แกไขได ซึ่งเรียกวา “สเตกิจฉา” อีกอยาง ๑ พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๕๓


อำบัติทั้ง ๗ อาบัตินั้น ถาเรียงตามลําดับชื่ออยู ๗ อยาง คือ 1. อำบัตปิ ำรำชิก มีโทษอย่ำงหนัก จัดเป็นอเตกิจฉำ คือแก้ไขได้ ยังภิกษุผู้ต้องเข้ำแล้วให้ขำดจำกควำมเป็นภิกษุ 2. อำบัติสังฆำทิเลส มีโทษอย่ำงกลำง แต่ก็ยังจัดเป็นสเตกิจฉำ คือพอจะแก้ไขได้ 3. อำบัติถุลลัจจัย 4. อำบัติปำจิตตีย์ 5. อำบัติปำฏิเทสนียะ 6. อำบัติทุกฏ 7. อำบัติทุพภำษิต อาบัตทิ งั้ ขอ ๓-๗ นัน้ จัดเปนประเภทของสเตกิจฉาคือ พอแกไขได เพราะเปนอาบัติซึ่งมีโทษอยางเบา อำบัติทั้งหมดนั้น จะเกิดขึ้นทำง กำย กับวำจำ เท่ำนั้น เช่นท�ำ โจรกรรมหรือสั่งให้เขำท�ำโจรกรรม เป็นต้น

อาบัติที่จะเกิดทางใจอยางเดียวนั้น เปนไปไมได เพราะเปนแตเพียงนึกวาจะทําเทานั้น ยังไมชื่อวาเปน อันลวงสิกขาบท

๕๔

หลักพระพุทธศำสนำ


มีโทษ ๒ ทำง พระภิกษุ ที่ล่วงละเมิดสิกขำบทจนเกิดโทษคืออำบัตินั้น ท่ำนกล่ำวว่ำ ย่อมจะได้รับโทษถึง 2 ทำงกล่ำวคือ โทษทำงโลก ได้แก่ ถูกชำวบ้ำนเขำติเตียน เรียกว่ำโลกวัชชะนี้อย่ำง 1 โทษทำงพระวินัย ซึง่ เรียกว่ำ “ปณณัตกิ วัชชะ” นีอ้ กี อย่ำง 1 โลกวัชชะ นัน้ หมำยควำมว่ำ สิกขำบทบำงสิกขำบท เมื่อพระภิกษุประพฤติล่วงเข้ำแล้วมีโทษทั้ง ทำงโลกและทำงพระวินัย เช่น กำรฆ่ำมนุษย์ ถ้ำคนสำมัญที่ไม่ใช่ภิกษุ ไปฆ่ำเข้ำ ก็ย่อมจะเกิดโทษเป็นประกำรต่ำงๆ อยู่แล้ว และยิ่งถ้ำภิกษุ เป็นผู้ลงมือฆ่ำเอง ก็ย่อมจะเกิดโทษทั้งทำงบ้ำนเมืองและโทษทำง พระวินัยอีกด้วย นับว่ำเกิดโทษ มี 2 สถำน ส่วนปัณณัติกวัชชะ นั้น คนสำมัญที่ไม่ใช่ภิกษุไปท�ำเข้ำ ก็ไม่เกิด โทษแต่อย่ำงใดเลย แต่ภิกษุที่ประพฤติล่วงก็ย่อมได้รับโทษในทำงวินัย ข้อนี้ยกตัวอย่ำงเช่น กำรบริโภคอำหำรในยำมวิกำล (นับตั้งแต่เที่ยง แล้วไป) คนสำมัญบริโภคได้ ส่วนภิกษุถ้ำบริโภคเข้ำไปย่อมเกิดโทษ โลกวัชชะและปัณณัติกวัชชะทั้งสองนี้ “โลกวัชชะ” มีโทษมำกกว่ำ “ปณณัติกวัชชะ” เพรำะภิกษุที่ประพฤติล่วงเข้ำแล้ว ถึงแม้จะท�ำคืน โดยอำกำรอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งก็ตำม ก็ย่อมเป็นที่ติเตียนในทำงโลกอยู่ มิรู้หำย พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๕๕


อำกำรที่จะตองอำบัติ กำรที่ภิกษุจะประพฤติล่วงสิกขำบท จนเกิดอำบัติขึ้นมำนั้นท่ำน กล่ำวว่ำมีทำงทีจ่ ะต้องได้ 6 ทำงด้วยกันกล่ำวคือ 1. ต้องด้วยไม่ละอำย 2. ต้องด้วยไม่รู้ 3. ต้องด้วยสงสัยแล้วขืนท�ำ 4. ต้องด้วยส�ำคัญว่ำควร ในของที่ไม่ควร 5. ต้องด้วยส�ำคัญว่ำไม่ควรในของที่ควร 6. ต้องด้วย หลงลืมสติ

ไมละอาย ตองดวยไมละอายนั้นเปนอยางไร ? เป็นอย่ำงนี้ คือภิกษุรู้อยู่ว่ำถ้ำท�ำอย่ำงนี้แล้วจะต้องเป็นอำบัติ อย่ำงนี้ๆ แล้วยังขืนละเมิดสิกขำบทด้วยใจด้ำนไม่รู้จักละอำย อย่ำงนี้ เรียกว่ำ “ต้องด้วยไม่ละอำย”

ไมรู แลวตองดวยไมรูนั้นเปนอยางไรเลา ? เป็นอย่ำงนี้ คือภิกษุไม่รู้ว่ำท�ำอย่ำงนี้ พระวินัยมีห้ำมไว้แล้ว ประพฤติล่วงสิกขำบทนั้น อย่ำงนี้เรียกว่ำต้องด้วยไม่รู้

๕๖

หลักพระพุทธศำสนำ


สงสัยแลวยังท�ำ การตองดวยความสงสัยแลวขืนทํานั้น เปนอยางไรเลา ? ข้อนีม้ อี ธิบำยไว้วำ่ ภิกษุสงสัยอยูว่ ำ่ ท�ำอย่ำงนีจ้ ะผิดพระวินยั หรือ ไม่ผิด แต่ขืนท�ำด้วยควำมสะเพร่ำเช่นนี้ ถ้ำกำรท�ำนั้นผิดพระวินัยข้อไหน ก็ต้องปรับอำบัติตำมข้อนั้น ถ้ำ ไม่ผิดก็ต้องอำบัติทุกกฎ เพรำะสงสัยแล้วขืนท�ำ...............

คิดวำควรในของไมควร แลวทีว่ า ตองดวยสําคัญวาควรในของทีไ่ มควรนัน้ เปนอยางไร? ท่ำนได้ยกตัวอย่ำงเกี่ยวกับข้อนี้ไว้สั้นๆ เช่นว่ำ เนื้อสัตว์ที่เขำ ไม่ใช้เป็นอำหำร เป็นของต้องห้ำม ไม่ให้ฉัน ภิกษุไปส�ำคัญว่ำควรแล้ว ฉันเนื้อนั้น อย่ำงนี้เรียกว่ำ ต้องด้วยส�ำคัญว่ำควรในของที่ไม่ควร

คิดวำไมควร ในของที่ควร สวนอีกขอหนึ่งที่วา ตองดวยสําคัญวาไมควรในของที่ควรนั้น เปนอยางไร ? ท่ำนก็ได้ยกตัวอย่ำงมำอีกว่ำเช่น เนือ้ สัตว์ทเี่ ขำใช้เป็นอำหำรเป็น ของควรที่จะฉันได้ แต่ภิกษุไปส�ำคัญว่ำเป็นของต้องห้ำมแล้วยังขืนฉัน ลงไป อย่ำงนี้เรียกว่ำ “ต้องด้วยส�ำคัญว่ำไม่ควรในของที่ควร”

พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๕๗


หลงลืมสติ สวนขอสุดทายที่บอกวา ตองดวยหลงลืมสตินั้น เปนอยางไร ? ข้อนีท้ ำ่ นก็ได้ยกตัวอย่ำงเกีย่ วกับน�ำ้ ผึง้ นัน้ จัดเป็น “เภสัชชนิดหนึง่ ” เมื่อรับประเคนแล้ว สำมำรถเก็บไว้ฉันได้เพียง 7 วัน ถ้ำภิกษุหลงลืม ปล่อยให้ล่วง 7 วันไป แล้วจึงน�ำมำฉันอย่ำงนี้เรียกว่ำต้องอำบัติด้วย หลงลืมสติ

วิธีปลดเปลื้องอำบัติ เมือ่ ภิกษุตอ้ งอำบัตอิ ย่ำงใดอย่ำงหนึง่ แล้ว ก็พงึ ท�ำกำรปลดเปลือ้ ง อำบัตินั้นเสียด้วยวิธีกำรดังต่อไปนี้ คือถ้ำต้องอำบัติ “ปำรำชิก” ก็พึงสละเพศบรรพชิต แล้วกลับมำ ใช้ชีวิตเยี่ยงคฤหัสถ์เพรำะขืนอยู่ในสมณเพศต่อไป ก็รังแต่จะเกิดบำป เพรำะตัวเองได้ขำดจำกควำมเป็นพระแล้ว ถ้ำยังขืนเอำผ้ำกำสำวพัสตร์ มำห่อหุ้มร่ำงกำยอยู่ โดยหวังให้ผู้คนเขำมำกรำบไหว้ก็จักได้ชื่อว่ำเป็น คนลวงโลกหำควรไม่ ถ้ำต้องอำบัต ิ “สังฆำทิเสส” ก็พงึ แก้ดว้ ยวิธอี ยูป่ ริวำสกรรมโดยอยู่ ภำยในบริเวณทีเ่ ขำก�ำหนดให้ และฝึกหัดดัดจิตใจด้วยสมำธิภำวนำและ วิปสั สนำภำวนำ เพือ่ ยกระดับจิตให้อยูใ่ นระดับของควำมเป็นพระทีแ่ ท้ จริง ส่วนอำบัตินอกนั้น ถ้ำภิกษุต้องเข้ำแล้วก็ต้องแก้คืนโดยกำรปลง อำบัติ สำรภำพควำมผิดของตนกับภิกษุรูปอื่น และให้ปฏิญำณว่ำ ๕๘

หลักพระพุทธศำสนำ


ต่อไปเรำจักส�ำรวมระวัง ไม่ท�ำผิด พูดผิด และคิดผิดเช่นนี้อีก นี่เป็นวิธี ปลงอำบัติ เมื่อภิกษุต้องอำบัติและท�ำกำรปลดเปลื้องอำบัติด้วยวิธี ดังกล่ำวนี้ ก็ได้ชื่อว่ำ ยังเป็นผู้มีควำมละอำยและมีควำมเกรงกลัวต่อ บำป นับว่ำเป็นสิ่งที่น่ำสรรเสริญ แต่ถ้ำภิกษุรูปใดไร้ “หิริโอตตัปปะ” ต้องอำบัติแล้วก็ไม่ยอมแก้ไข อย่ำงนี้ก็ต้องเป็นหน้ำที่ของเพื่อนภิกษุ ด้ ว ยกั น ที่ รู ้ เ ห็ น พึ ง ว่ ำ กล่ ำ วตั ก เตื อ นภิ ก ษุ นั้ น ด้ ว ยควำมเมตตำ แต่ถำ้ เพือ่ นภิกษุเตือนแล้วก็ยงั ไม่เชือ่ ตอนนีก้ ต็ อ้ งเป็นหน้ำทีข่ องหมูส่ งฆ์ ที่จะพึงลงโทษตำมควรแก่พระธรรมวินัย

อำนิสงสพระวินัย พระวินัยนี้ เมื่อภิกษุรักษำได้บริสุทธิ์บริบูรณ์ดีแล้ว ก็ย่อมได้รับ อำนิสงส์ คือไม่ต้องเดือดร้อนใจ และทั้งยังได้รับควำมแช่มชื่น เพรำะ รูส้ กึ ว่ำตนประพฤติดงี ำม ไม่ตอ้ งถูกลงโทษหรือถูกติเตียน มีแต่จะได้รบั ควำมสรรเสริญ จะเข้ำสมำคมกับหมูภ่ กิ ษุผมู้ ศี ลี ก็องอำจไม่สะทกสะท้ำน

ประพฤติไมดีก็มีโทษ แต่นัยตรงกันข้ำม ถ้ำภิกษุใดประพฤติย่อหย่อนในทำงพระวินัย ก็ย่อมได้รับควำมเดือดร้อนใจเป็นผล เพรำะเหตุที่ตนท�ำสิ่งอันไม่ควร แก่สมณะจะพึงกระท�ำและนอกจำกนั้นก็ท�ำให้ถูกดูหมิ่น และถึงแม้น ว่ำจะไม่มใี ครมำว่ำกล่ำวอะไร แต่กจ็ ะตะขิดตะขวงใจไปเอง เมือ่ มำนึกถึง ควำมผิดของตน ก็ท�ำให้ติเตียนตนเองได้ และท�ำให้ไม่ได้ปิติปรำโมทย์ พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๕๙


มุงผล ๘ อยำง ก่อนที่จะจบควำมรู้ขั้นพื้นฐำนในด้ำนพระวินัยนี้ ก็ใคร่ขอน�ำเอำ ผลที่พระพุทธองค์ทรงมุ่งหมำยมำเสนอเป็นกำรปิดท้ำยรำยกำร ท่ำนได้กล่ำวไว้วำ่ พระวินยั ทีพ่ ระพุทธองค์ทรงบัญญัตเิ อำไว้นนั้ พระองค์ ทรงมุ่งผล 8 ประกำรคือ 1. เพื่อปองกันไม่ให้พุทธสำวกเป็นคนเหี้ยมโหด จึงมีบัญญัติ ห้ำมมิให้ภิกษุกระท�ำโจรกรรมและห้ำมไม่ให้ฆ่ำมนุษย์ เป็นต้น 2. เพื่อปองกันไม่ให้เลี้ยงชีพโดยอำกำรลวงโลก จึงมีบัญญัติ ห้ำมไม่ให้ “อวดอุตริมนุสธรรม” เป็นต้น 3. เพื่อปองกันควำมดุร้ำยจึงมีบัญญัติห้ำมไม่ให้ฆ่ำกัน ตีกัน เป็นต้น 4. เพื่อปองกันควำมประพฤติเลวทรำม จึงมีบัญญัติห้ำมมิให้ “พุทธสำวกพูดปด พูดส่อเสียด” ห้ำมเสพสุรำเป็นต้น 5. เพื่อปองกันควำมประพฤติเสียหำย จึงมีบัญญัติห้ำมไม่ให้ “ภิกษุแอบฟังควำมของเขำ” เป็นต้น 6. เพือ่ ปองกันกำรเล่นซุกซนจึงมีบญ ั ญัตหิ ำ้ มไม่ให้เล่นน�ำ้ ไม่ให้ ซ่อนบริขำรของกันและกัน 7. ทรงบัญญัติตำมควำมนิยมของคนในครั้งนั้น จึงมีบัญญัติ ห้ำมไม่ให้ขุดดิน ไม่ให้ฟันต้นไม้ที่เขำถือกันว่ำมีชีวิต เป็นต้น ๖๐

หลักพระพุทธศำสนำ


8. ทรงบัญญัติโดยธรรมเนียมของภิกษุ ตำมควำมสะดวกบ้ำง ตำมควำมนิยมของบรรพชิตบ้ำง เช่นห้ำมไม่ให้ฉันอำหำรในเวลำวิกำล เป็นต้น

จากผลที่ทรงมุงหมาย จากการบัญญัติพระวินัยทั้ง ๘ ขอนี้ ยอมชีใ้ หเห็นถึงพระปญญาของพระพุทธองคอยางเดนชัด วาพระวินยั ทีท่ รงบัญญัตขิ นึ้ ทุกๆ ขอนัน้ พระองคทรงมีเหตุมผี ล ไมไดบญ ั ญัตขิ นึ้ อยางเลื่อนลอย แบบไรเหตุผล ฉะนัน้ ภิกษุผทู ไี่ ดชอื่ วาเปนพุทธสาวก จึงควรเคารพตอพระวินยั ที่ พระศาสดาทรงบัญญัติไวดีแลว และควรเอื้อเฟอที่จะปฏิบัติตาม พระวินัยนั้นๆ ตามกําลังความสามารถแหงตน โดยทั่วหนากัน (ขออนุโมทนา สาธุ สาธุ สาธุ) **ปริสา**

พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๖๑


หลักส�ำคัญในกำรปฏิบัติ (ชุดที่ ๕)*** 1. กำรก�ำหนดต้องก�ำหนดให้ได้ ปัจจุบันธรรม คือ เพรำะถ้ำ ก�ำหนดให้ได้ปจั จุบนั ธรรมแล้ว “ขณิกะสมาธิ” จะรวมตัวเมือ่ ขณิกะสมำธิ รวมตัวมำกขึ้นๆ จะท�ำให้อินทรีย์พละ คือ ศรัทธำ วิริยะ สติ สมำธิ ปัญญำ มีกำ� ลังเติมกล้ำขึน้ แข็งแรงขึน้ มีกำ� ลังภำยในดีขนึ้ เหมือนลับมีด ไว้คมดีแล้วย่อมใช้ประโยชน์ได้ทุกขณะ จะช่วยส่งผล “มรรคญาณ” (ญำณที ่ 14) ตอนอธิษฐำน อินทรียท์ กี่ ล้ำแข็งด้วยพลังของสมำธินแี้ หละ จะไปท�ำหน้ำที่ประหำร กิเลสโดยอัตโนมัติ โดยที่เรำไม่ต้องไปยุ่งใดๆ ทั้งสิ้น เพรำะฉะนั้นเรำจึงจ�ำเป็นที่จะต้องรวบรวม “ขณิกะสมาธิ” ให้มำกที่สุด ที่จะมำกได้ ด้วยกำรก�ำหนดให้ได้ ปัจจุบันธรรม (กำรถอดรหัสข้อธรรมจะใช้ควำมเร็วจิตต้องมั่นคงละเอียด ให้มำก)*****ด้วยควำมปรำรถนำดี****** **กำรที่เรำจะเคลื่อนจิตไปได้นั้นต้องอำศัย “ก�ำลังสมำธิ” กำรที่เรำเห็นภำพได้ชัดเจน ต้องอำศัย “วิปัสสนำญำณ” ต้องรักษำ ศีล สมำธิ ปัญญำ ให้ทรงตัวในระดับเดียวกัน (คือ สมดุล) จึงจะได้ผลเต็มที*่ *

วิปสสนำ ธรรมชำติใด ยอมเห็นแจ้งในขันธ์ 5 หรือ รูปนำม โดยประกำร ต่ำงๆ คือ โดยอำกำรที่เป็น อนิจจัง ทุกขขัง อนัตตา ธรรมชำตินั้น เรียกว่ำ “วิปสสนา” ๖๒

หลักพระพุทธศำสนำ


เจริญธรรมอยำงเดียว

ชื่อวำเจริญธรรมอยำงอื่นอีกมำก ดูก่อนอำนนท์ ธรรมอย่ำงหนึ่ง คืออำนำปำนสติสมำธิ (สมำธิ ซึ่งมีสติก�ำหนด) ลมหำยใจเข้ำออกเป็นอำรมณ์ อันบุคคล เจริญแล้ว ท�ำให้มำกแล้ว ย่อมท�ำสติปัฏฐำน (กำรตั้งสติ) 4 อย่ำงให้บริบูรณ์ สติปัฏฐำน 4 อันบุคคลเจริญแล้วท�ำให้มำกแล้ว ย่อมท�ำโพชฌงค์ (องค์ประกอบแห่งปัญญำเครื่องตรัสรู้ ) 7 อย่ำงให้บริบูรณ์ โพชฌงค์ 7 อันบุคคลเจริญท�ำให้มำกแล้ว ย่อมท�ำ “วิชชำ” (ควำมรู้) วิมุติ (ควำม หลุดพ้น) ให้บริบูรณ์ (สังยุตนิกำย)

ปฏิสังขำญำณ แปลว่ำ ภำวนำที่มีกำรพิจำรณำอีกครั้งหนึ่ง ปฏิ = อีกทีหนึ่ง สังขำ = กำรพิจำรณำ ญำณ = ภำวนำมยปัญญำ แปลว่ำ ภำวนำมยปัญญำทีม่ กี ำรพิจำรณำอีกครัง้ หนึง่ “พิจำรณำ พระไตรลักษณ์”

พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๖๓


อนุโลมญำณ จึงเป็นญำณที่มีกิจอนุโลมตำม “โพธปักขิยธรรม” ดุจสมเด็จ พระรำชำธิบดี ทรงเห็นว่ำกำรวินิจฉัยแห่งมหำอ�ำมำตย์ทั้ง 8 นำยนั้น ถูกต้องแล้ว ไม่ขัดกับ รำชธรรมคือระบบกฎหมำยแผ่นดินดั้งเดิมเลย (โพธิปักขิยธรรม เป็นธรรมที่ท�ำให้บรรลุ “พระอริยมรรค-อริยผล”) โดยไม่ขัดกันเลยถูกต้องตรงกันทีเดียว โพธิปักขิยธรรม เปรียบดุจรำชธรรมดั้งเดิม คือ ระบบกฎหมำย แผ่นดิน

กำรอุบัติแหง อนุโลมญำณนี้ มีอยู ๓ ขณะ คือ 1. อนุโลมขณะที่ 1 คือ “บริกรรม” มีหน้ำที่ปรำบปรำมกิเลส ก้อนหยำบหนำ อันมีชื่อว่ำ “กูลกิเลส” ให้หมดเรียบร้อยเพื่อเตรียมตัว รอคอย กำรอุบัติขึ้นแห่ง “พระอริยมรรค” 2. อนุโลมขณะที ่ 2 คือ “อุปจำร” มีหน้ำทีป่ รำบปรำมกิเลสอย่ำง กลำง มีชื่อว่ำ “มัชฌิมกิเลส” ให้หมดสิ้นเรียบร้อย เพื่อเตรียมตัว รอคอยกำรอุบัติขึ้นแห่งพระอริยมรรค 3. อนุโลมขณะที ่ 3 คือ “อนุโลม” มีหน้ำทีป่ รำบปรำมกิเลสก้อน ละเอียดอันมีชื่อว่ำ “สุขุมกิเลส” ให้หมดสิ้นเรียบร้อยเพื่อเตรียมตัว รอคอยกำรอุบัติขึ้นแห่ง “พระอริยมรรค” อนุโลมขณะทั้ง 3 คือ บริกรรม 1 อุปจำร 1 อนุโลม 1 เหล่ำนี้เรียกว่ำ “อนุโลมญำณ” (กำรถอดรหัสข้อธรรมต้องใช้ควำมเร็วจิตจะต้องละเอียดอ่อนโยน ๖๔

หลักพระพุทธศำสนำ


ถูกต้องทีส่ ดุ เหมำะสมทีส่ ดุ และดีงำมทีส่ ดุ จิตถึงจะมีควำมเร็วและเป็น สมำธิอยู่ในธรรมภำยในภำยในตนเองได้****)

ควำมสับสนแหง “ด�ำริ” หมายถึง ความสับสนหรือความผิดพลาดในดานความ “นึกคิด อันประกอบดวย โลภ โกรธ หลง มานะ วิจกิ จิ ฉา**** (สําคัญมาก)****”

ควำมสับสนแหง “ทัศนะ” หมายถึง ความสับสนหรือความผิดพลาดในดานความ เขาใจประกอบดวย

ทิฐิ ๕ (ทัศนะ ๕) คือ ทิฐิ ๕ คือ 1. สักกำยทิฐิ คือควำมเห็นที่ถือตัวถือตน 2. อันตคำหทิฐิ คือ ควำมเห็นสุดโต่ง 3. มิจฉำทิฐิ คือ ควำมเห็นผิดจำกคลองธรรม 4. ทิฐิปรำมำส คือควำมยึดมั่นในควำมคิดเห็น 5. สีลัพพัตตปรำมำส คือ ควำมเชื่อถือศักดิ์สิทธิ์ด้วยอ�ำนำจ แห่งศีล และพรต พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๖๕


ทัศนะ ๕ คือ 1. ควำมเห็น 2. กำรเห็น 3. เครื่องรู้เห็น 4. สิ่งที่เห็น 5. กำรแสดง สังขตธรรม หมำยถึง สิ่งที่เกิดขึ้นโดยมีปัจจัยปรุงแต่ง อสังขตธรรม หมำยถึง สิ่งที่เกิดขึ้นโดยไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง อสังขตบุญ หมำยถึง บุญที่เกิดขึ้นโดยไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง อำสวะ หมำยถึง สภำวะอันหมักดองสันดำน สิง่ ทีม่ อมพืน้ จิต กิเลสที่ไหลซึมซ่ำนย้อมใจเมื่อประสบ อำรมณ์ต่ำงๆ อนำสวะ หมำยถึง กำรสิ้นจำกอำสวะทั้งปวง ธรรมขันธ์ หมำยถึง หมวดธรรม กองธรรม ข้อธรรม ปรัชญำ หมำยถึง ปัญญำแยบยล ปรมัตถปรัชญำ*** เป็นหนึ่งใน 3 *** ปรัชญำ*** อันประกอบด้วย 1. อักขรปรัชญำ 2. พินิจปรัชญำ **3. ปรมัตถปรัชญำ***

ดวยควำมปรำรถนำดีจำก **ปริสำ** เพื่อความเขาใจใหถูกตองในการบําเพ็ญ* เพื่อไมเสียเวลา

พระโพธิสัตว คือ หำกล�ำพังบ�ำเพ็ญแตปญญำ เรียกวำ “โพธิ” หากลําพังบําเพ็ญแตบุญ–วาสนา เรียกวา “สัตว” หำกกำร บ�ำเพ็ญปฏิบัติยังจ�ำกัดอยู่เพียงแค่กำรสร้ำงบุญ–ตุนวำสนำ อย่ำงเดียว แล้วก็จะเป็นเช่นกำรเหนี่ยวธนูยิงขึ้นฟำ ด้วยแม้นจะยิงได้ “สูงมาก” ๖๖

หลักพระพุทธศำสนำ


สักเพียงใดทีส่ ดุ ก็ยงั คงต้องตกลงสูพ่ นื้ อยูด่ ี ดังนัน้ หำกล�ำพังบ�ำเพ็ญ แต่ บุญ-วำสนำเพียงด้ำนเดียวก็ยงั คงเป็น “เวไนยสัตว” ทีย่ งั ต้องเวียนว่ำย อยู่ใน “สังสารวัฏ” นั้นเอง (เหตุที่ยังอยู่ในเอกภพเพรำะจิตญำณของ ตนมีก�ำลังน้อยไปเพรำะควำมไม่รู้และไม่เข้ำใจนั้นเองเลยปฏิบัติไป เรื่อยๆ ก็เลยเรื่อยๆ สอบตกแล้วตกอีกไม่ผ่ำนบททดสอบกันสักทีอยู่ แล้วอยูอ่ กี ในสังสำรวัฏ ไม่ยอมอดทนจริงๆ จังๆ สักชำติหนึง่ ทนล�ำบำก สักชำติหนึง่ เพือ่ หนทำงอันสดใสอ�ำไพนัน้ (กำรทีจ่ ะมีแรงเหวีย่ งหนีจำก กำรดึงดูดของเอกภพได้ นั้นต้องศึกษำข้อธรรมท�ำควำมเข้ำใจก่อนแล้ว น�ำไปปฏิบัติจริงๆ ให้ได้ “วิปสสนา” สำยกลำงธรรมชำติสมำธิดับกำร เกิดดับขณะทีม่ สี ติอยูร่ อู้ ยูว่ ำ่ ก�ำลังท�ำอะไร) ข้อธรรมจะเกิดขึน้ ภำยในกำยเอง ขณะรูส้ ตินนั้ เองข้อธรรมไม่ได้อยูน่ อกกำยของเรำเลยอยูท่ เี่ รำนัน้ เองให้ จิตมันเป็นธรรมแค่นึกถึงธรรมก็เป็นสุขได้โดยไม่มีอะไรเป็นปัจจัย ปรุงแต่งเลย ที่ให้ศึกษำและเรียนรู้ข้อธรรม จ�ำเป็นอย่ำงยิ่งก็ตอนที่ ข้อธรรมเกิดขึน้ กับตนเองจะได้รวู้ ำ่ ถูกต้องแล้วหรือยัง สิง่ ทีเ่ กิดสิง่ ทีเ่ ห็น มันคือข้อธรรมข้อไหนให้ถอดรหัสแล้วหรือยังเวลำไหนควรถอดรหัส หรือว่ำ ฉันจิตสงบแล้วฉันก็อยูต่ รงนัน้ นำนๆ หน่อยฉันสุขแล้วฉันไปแล้ว ดับแล้วก็เลยไม่รู้ว่ำจะถอดรหัสข้อธรรมข้อไหนให้เชิญฌำน และญำณ อุบัติขึ้นเพื่อให้มีสติและสมำธิมั่นคงมีก�ำลังจิตมั่นคงเพื่อให้เกิดปัญญำ น�ำไปดับกิเลสได้ แต่ส�ำหรับผู้ที่บ�ำเพ็ญพร้อมทั้ง **บุญและปัญญำ ** จึงจะนำม ว่ำ “พระโพธิสัตว” อนึ่ง ค�ำว่ำ “พระโพธิสัตว” ยังมีอีก หนึ่งควำมหมำยว่ำ ผู้ที่โปรดสัตว์โดยให้ทั้งตนและผู้อื่นรู้แจ้งด้วย ดุจเดียวกัน พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๖๗


อนุตตรสัมมำสัมโพธิ เป็นควำมรู้แจ้งและควำมเสมอภำค อันไม่มีสิ่งใดจะสูงส่งเทียบ เท่ำได้อีกแล้ว หรือก็คือ “ธรรมญาณของเรานั้นเอง” ซึ่งธรรมญำณ ของเรำ จะครอบคลุมทั่วทั้งสำกลหำกใครรับรู้ ก็คือ “ผูสูงสง” ฉะนั้น จึงเรียกว่ำ “อนุตตร” อนึ่ง นับแต่ปวงพระพุทธะ ตลอดจนเหล่ำ “หนอน” ที่ชอนไชทั้งหลำย ทั้งหมดล้วนมี “ธรรมญาณ” ที่เสมอ เหมือนกันทั้งสิ้น ดังนั้น จึงเรียกว่ำ “สัมมา” และเนื่องด้วยเป็นควำม “รูแจง” ที่กลมใสอ�ำไพไม่บกพร่องไม่ล�ำเอียง ดังนั้นจึงเรียกว่ำ “สัมโพธิ**(*ส�ำคัญ**)**” ช่วงเข้ำพรรษำ ก็ขอให้ทุกท่ำนที่สนใจศึกษำข้อธรรมสอบผ่ำน บททดสอบข้อธรรมกันทุกท่ำนนะคะ

โพธิปกขิยธรรม ๓๗ มีรำยละเอียดดังนี้ 1. สติปัฏฐำน 4 : กำยำนุปัสนำ เวทนำนุปัสนำ จิตตำนุปัสนำ ธัมมำนุปัสนำ 2. ควำมเพียร 4 : สังวรประธำน ปหำนประธำน ภำวนำประธำน อนุรักขนำประธำน 3. อิทธิบำท 4 : ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสำ 4. อินทรีย์ 5 : ศรัทธำ วิริยะ สติ สมำธิ ปัญญำ 5. พละ 5 : ศรัทธำ วิริยะ สติ สมำธิ ปัญญำ 6. โพชฌงค์ 7 : สติ ธัมมวิจยะ วิรยิ ะ ปิต ิ ปัสสัทธิ สมำธิ อุเบกขำ ๖๘

หลักพระพุทธศำสนำ


7. มรรค 8 : สัมมำทิฏฐิ สัมมำสังกัปปะ สัมมำวำจำ สัมมำ กัมมันตะ สัมมำอำชีวะ สัมมำวำยำมะ สัมมำสติ สัมมำสมำธิ ...ความมั่นคงจะเกิดขึ้นไดเมื่อความพยายามสิ้นสุดลง..... (ขอให้โชคดีนะคะ)

หมำยเหตุ** เวลาเราเขา EMAIL (อีเมล) เรายังตองใชรหัสผานเลย ไหนเลย จะกลับบานนิพพานไยเจาคิดวาไมจําเปนตองใชรหัสอีกละ “พระคํา ตรัสขององคสัมมาสัมพุทธเจามีตั้งหลายรหัสใหผานไดเปนรหัสนําพา จิตญาณกลับบานนิพพานมีตั้ง ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ”*** (ความ เพียรพยายามทั้งหลายตองทําเอง)*** โครงการหนังสือธรรมะชวงเขาพรรษา นอมถวายเปนพุทธบูชา บูชาองคสัมมาสัมพุทธเจาทุกๆ พระองคที่ทรงเปนครูของมนุษยและ เทวดาทั้งหลาย (๒๖๐๑)ป พุทธชยันตีสนใจติดตอ EMAIL : pri_c66@hotmail.com หรือโทร ๐๘๘-๔๓๙๘๑๙๙ ดวยความปรารถนาดี ปริสา สหชาตาภัทรรัตน ๑๙ กันยายน ๒๕๕๖ ขึ้น ๑๕ คํ่า เดือน ๑๐

พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๖๙


รำยนำมผูรวมสมทบปจจัยสรำงหนังสือ “ธรรมะ” (หลักพระพุทธศำสนำ) พระธรรมค�ำตรัส * * * * * * ขององคสัมมำสัมพุทธเจำ * * * หลักกำรและวิธีกำรขั้นสูงสุด (ส�ำหรับภิกษุ ภิกษุณี อุบำสก อุบำสิกำ) 1. น.ส.ปริสำ สหชำตำภัทรรัตน์ (122***) 27 เล่ม * อุทิศอนุโมทนำบุญให้ร.ต.ต.กัน หอมเนียม 20 เล่ม * อุทิศอนุโมทนำบุญให้พระธนวันต์ หอมเนียม 8 เล่ม * อุทิศอนุโมทนำบุญให้นำยฮันปีเตอร์ Hans peter Brunner 14 เล่ม 2. องค์พระพิฆเนศ 6 เล่ม 3. อัสวินแห่งกำรรู้แจ้งสฉ 2031 กทม 1 เล่ม 4. นักรบแห่งสุญญำตำ กข 7279 ตำก 1 เล่ม 5. นำงค�ำ มังคละพรมมำ 7 เล่ม 6. วลัยลักษณ์ หอมเนียม 14 เล่ม 7. เพตร้ำ หอมเนียม 14 เล่ม 8. เบญจวรรณ หอมเนียม (สหชำตำภัทรรัตน์) 10 เล่ม 9. มณฑำ พินนำ 18 เล่ม *อุทิศอนุโมทนำบุญให้อภิชำติ ไชยพฤกษ์ 10 เล่ม 10. อธิภัทร ศรีเรือง(*) 56 เล่ม 11. ภัชภิชำ สมบัติเจริญ(**) 29 เล่ม 12. อุคม ศรีเรือง 15 เล่ม(*) 13. กนกปัญจ์ สมบัติเจริญ (***) 23 เล่ม 14. จินดำ สมบัติเจริญ 9 เล่ม 15. พัทธ์ชลิต เรืองศรี 9 เล่ม 16. สุวภัทร คงทอง 9 เล่ม 17. ตรีทิพย์ จิตมั่น 3 เล่ม 18. ธนวัฒน์ หว้ำพิทักษ์ 3 เล่ม 19. วรรณำ จิตมั่น 2 เล่ม 20. สัมฤทธิ์ จิตมั่น 2 เล่ม 21. ณิชยำ ปรีชญำรัตน์ 14 เล่ม 22. พัทธดนย์ ปรีชญำรัตน์ 14 เล่ม ๗๐

หลักพระพุทธศำสนำ


23. ล�ำพรวน จันทร์ศิริ 50 เล่ม 24. มำริษำ เวสมูลำ 20 เล่ม 25. สิริพร ชมพูรักษ์ 14 เล่ม 26. สุบรรณ สิริสุวัณณ์ 14 เล่ม 27. ทรงยศ สิริสุวัณณ์ 14 เล่ม 28. อมร หัตถกิจจ�ำเริญ 28 เล่ม 29. ส�ำรอง จิตมั่น 2 เล่ม 30. อนุโมทนำบุญให้ครูบำอำจำรย์กำยธรรม ของยุวพร ตันกรณ์ 14 เล่ม กิตติวัฒน์ เจริญเลิศนิธิดล 14 เล่ม 31. ณภัทร อนันต์ฤทธิ์กุล 5 เล่ม 32. บรรจง กันยะมูล 10 เล่ม 33. นิลทิพย์ จันทร์ทิพย์ 3 เล่ม 34. สุขใจ สัทธำนนท์ 3 เล่ม 35. วันเพ็ญ พุทธิวงศ์ 3 เล่ม 36. วรัชยำ ตันกรณ์ 10 เล่ม 37. ปินองค์ เหล่ำเขตกิจ 10 เล่ม 38. ปรีชำ เหล่ำเขตกิจ 5 เล่ม 39. มำลินี เหล่ำเขตกิจ 5 เล่ม 40. เขมิสรำ เหล่ำเขตกิจ 5 เล่ม *อุทิศอนุโมทนำบุญให้ เทียม เหล่ำเขตกิจ 5 เล่ม 41. สมพร เพิ่มสุข 50 เล่ม 42. จันทร์เพ็ญ มีเกำะ 10 เล่ม 43. กันจนำ มีเกำะ 10 เล่ม 44. ปวริศำ เจียรพิพัฒน์กุล 10 เล่ม 45. อังคณำ อุปรี 5 เล่ม 46. วิเชียร อุปรี 5 เล่ม 47. สุมนำ สิริสุวัณณ์ 14 เล่ม 48. พันธุ์กฤษณ์ สิริสุวัณณ์ 6 เล่ม 49. พันธุ์ธัช สิริสุวัณณ์ 5 เล่ม 50. ณัฐกำญจณ์ สิริสุวัณณ์ 3 เล่ม 51. พัชรินทร์ ค�ำปัญญำ * * 5 เล่ม *ตัวเล็กลูกแม่** สร้ำงกุศลก่อน 5 เล่ม 52. นันทยำ อภิดำ 30 เล่ม 53. นภมน ทวีศุกลรัตน์ 20 เล่ม 54. ธนพันธ์ ศิริโยธิพันธ์ุ 199 เล่ม 55. ณสิกำญจน์ กิตติพรวริษฐ์ 50 เล่ม 56. สมพร ตะพำนแก้ว* 28 เล่ม 57. ระวี ตะพำนแก้ว 5 เล่ม 58. สุมำลี ตะพำนแก้ว 5 เล่ม 59. อ�ำพำ รัตนมำตร์ 28 เล่ม 60. มลิวรรณ บุญถนัด 14 เล่ม 61. ศรัญญำ คุ้มเพ็ง 11 เล่ม 62. สันติ นำคเถื่อน 2 เล่ม 63. จันทร์เพ็ญ เทพณรงค์ 14 เล่ม 64. จันทร์เพ็ญ สุขสงวน 5 เล่ม 65. สมคิด มูลตรีสังข์ 5 เล่ม 66. หอม รัตนมำตร์ 5 เล่ม พระธรรมค�ำตรัสขององคสัมมำสัมพุทธเจำ

๗๑


67. ทองดี รัตนมำตร์ 5 เล่ม 68. สัมฤทธิ์ วงษ์กัณหำ** 5 เล่ม 69. บุญธรรม พรมสอน** 11 เล่ม 70. อริสำ ภักดี** 5 เล่ม 71. สิงหำ ศรีสอนดี 5 เล่ม 72. สรัญญำ หนองค�ำแก้ว 6 เล่ม 73. อุทัย หนองค�ำแก้ว 5 เล่ม 74. อำทิชำ หนองค�ำแก้ว 3 เล่ม 75. นภำวรรณ นำมศรี 2 เล่ม 76. แก้วกำฬ นำมศรี 2 เล่ม 77. กนกวรรณ นำมศรี 1 เล่ม 78. กมลพร อนุภัย** 2 เล่ม 79. พนิตำ สีสด** 2 เล่ม 80. จิดำภำ แสงแก้ว** 2 เล่ม 81. ไพสิทธิ์ บุตรไธสง** 8 เล่ม 82. วำทิตย์ คงมี** 14 เล่ม 83. วำสนำ หล่อพันธ์ 2 เล่ม 84. นฤทัย หล่อพันธ์ 1 เล่ม 85. ชิตชนก นำรอด 2 เล่ม 86. สมุทร ศรีรอด 2 เล่ม 87. ประนอม ศรีรอด 2 เล่ม (อุทิศอนุโมทนำบุญให้ ประยูร สะพำนแก้ว*) 3 เล่ม 88. สนม เมินดี 2 เล่ม (อุทิศอนุโมทนำบุญให้ จ�ำรัส ศรีรอด *) 2 เล่ม 89. เจษฐำ รักน้อย 2 เล่ม 90. กอบอน รักน้อย 2 เล่ม 91. ชิดชัย บุญพำ 2 เล่ม 92. อมรรัตน์ กุดนอก 6 เล่ม 93. โชติกำ (หอมเนียม)*** 3 เล่ม 94. ภำนุวัฒน์ แพงแก้ว ** 10 เล่ม 95. ประเทือง แพงแก้ว 5 เล่ม 96. สำยทอง แพงแก้ว 5 เล่ม 97. อัญชนำ แพงแก้ว 3 เล่ม 98. สุดำรัตน์ เปลำเล 2 เล่ม 99. ยุวพร ตันกรณ์ 10 เล่ม 100. สุเมรี ยำสกุล 10 เล่ม 101. กิตติวัฒน์ เจริญเลิศนิธิดล 10 เล่ม 102. พงศธร ประสมศรี 6 เล่ม 103. สฤษดิ์ ประสมศรี 3 เล่ม

๗๒

หลักพระพุทธศำสนำ


ต้ น พระศรี ม หาโพธิ์ ที่ ต รั ส รู ้ อยู ่ ใ น โพธิมหาวิหาร พุทธคยา ในสมัยพุทธกาล อาณาบริวารพุทธคยา อยู่ในต�าบล อุ รุ เ วลาเสนานิ ค ม ฝั ่ ง ตรงข้ า มกั บ ภูเขาดงคสิริ (ภูเขาดงคสิริอยู่ฝั่งแม่น�้า เนรัญชราฟากตะวันออก)


พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์ นันทพันธ์พริ้นติ้ง เชียงใหม่ โทรศัพท์ 053-804908-9 โทรสาร 053-804958 www.nuntapun.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.