สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์ word

Page 1

สื่อการสอนประเภทอุปกรณ

นางสาว ปานจิต ใจเปยม

534144033

นางสาว สายฝน จิมสันเทียะ

534144038

นางสาว ปาริชาติ ผลสด

534144041

นาย กฤตนู ฝงชลจิตร

534144045

รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษารายวิชาเทคโนโลยีการศึกษา (Education Technology) รหัสวิชาPC 9204 มหาวิทยาลัยราชภัฎหมูบ านจอมบึง ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2555


สื่อการสอนประเภทอุปกรณ

นางสาว ปานจิต ใจเปยม

534144033

นางสาว สายฝน จิมสันเทียะ

534144038

นางสาว ปาริชาติ ผลสด

534144041

นาย กฤตนู ฝงชลจิตร

534144045

รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษารายวิชาเทคโนโลยีการศึกษา (Education Technology) รหัสวิชาPC 9204 มหาวิทยาลัยราชภัฎหมูบ านจอมบึง ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2555


คํานํา

รายงานสื่อการสอนประเภทอุปกรณ รายวิชา เทคโนโลยีการศึกษา (Education

Technology)

รหัสวิชาPC 9204 จัดทําขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารในการเรียนการสอนและเพื่อเปนศึกษาคนควาความรูเพิ่ม เพิ่มเติมจากการศึกษาในหองเรียนของการศึกษารายวิชา รายวิชา เทคโนโลยีการศึกษา (Education Technology) โดยเนื้อหาเปนการเขียนในลักษณะที่มีขอมูลประกอบเชิงบรรยาย ที่มุงเนนไปทางความรู ทางการด า นวิ ช าการที่ เ กี่ ย วกั บ สื่ อ การสอนประเภทอุ ป กรณ รายงานสื่ อ การสอนประเภทอุ ป กรณ ประกอบไปดวยเนื้อหาตางๆดังนี้ ประเภทของอุปกรณ สวนประกอบของเครื่องฉาย ประเภทของจอฉาย ระบบฉาย ตัวอยางเครื่องฉาย การจัดสภาพการฉาย ขอควรจําในทฎษฎีของเครื่องฉาย เครื่องอุปกรณ แปลง เครื่องถายทอดสัญญาณ เครื่องเสียง ระบบขยายเสียง องคประกอบของระบบขยายเสียง ซึ่งจะทําให ผูเรียนมีความรูความเขาใจมากยิ่งขึ้น หวังวาเอกสารประกอบการเรียนการสอนเลมนี้ จะเปนประโยชนสําหรับผูอาน หากมีขอแนะนํา ที่เปนประโยชนตอการปรับปรุงเอกสารเลมนี้ กรุณาแจงตอผูจัดทําจักเปนพระคุณยิ่ง สุดทายผูจัดทําขอขอบพระคุณ อาจารยสุจิตตรา จันทรลอย และผูที่ใหความชวยเหลือ แนะนํา เพื่อใหรายงานประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้เสร็จสิ้นดวยดี

ผูจัดทํา


สารบัญ เรื่อง

หนา

ความหมายของโสตทัศนูปกรณ

1

ประเภทของเครื่องฉาย

1

เครื่องฉาย

2

สวนประกอบของเครื่องฉาย

2

ประเภทของจอฉาย

6

ระบบฉาย

7

ตัวอยางเครื่องฉาย

10

ขอควรจําในเรือ่ งทฤษฎีเครื่องฉาย

19

เครื่องอุปกรณแปลงสัญญาณ

20

เครื่องถายทอดสัญญาณ

20

เครื่องเสียง

26

ระบบขยายเสียง

26

องคประกอบของระบบขยายเสียง

27

สรุปสื่อการสอนประเภทอุปกรณ

43

บรรณานุกรม

44


สื่อการสอนประเภทอุปกรณ สื่อการสอนประเภทอุปกรณหรือที่เรียกวาโสตทัศนูปกรณ (audio – visual equipments ) มีหนา ที่หลัก คือการฉายเนื้อหาทั้งที่เปนภาพและตัวอักษรใหมีขนาดใหญ ขยายเสียงใหดัง เพื่อใหผูเรียนรับรูและ เรียนรูไดชัดเจนยิ่งขึ้น ปจจุบันอุปกรณตาง ๆ ไดพัฒนาไปมากมีรูปลักษณะเล็กน้ําหนักเบา แตสามารถ ใชงานไดหลายมิติ เชน ตอพวงกับอุปกรณอื่นไดหลายทาง โดยมีจุดมุงหมายเพื่อตอบสนองความตองการ และอานวยความสะดวกในการรับรูของมนุษย ดังนั้นการนาอุปกรณเหลานี้มาใชในกระบวนการเรียนการ สอนจะชวยใหผูเรียนเรียนรูไดงายและรวดเร็วขึ้น

ความหมายของโสตทัศนูปกรณ โสตทัศนูปกรณ หมายถึงอุปกรณที่มีลักษณะใหญ ประกอบดวย เครื่องยนต กลไกลไฟฟา อิเล็คทรอนิคส ทําหนาที่เปนตัวผานขยายเนื้อหาสาระจากแหลงกําเนิดใหชดั เจนยิ่งขึ้นสามารถกระตุนการ รับรูของผูเรียนไดเปนอยางดี โสตทัศนูปกรณ ตรงกับภาษาอังกฤษวา Audio-Visual Equipments และมาจากคําประสมดังนี้ โสตะ (การไดยิน) + ทัศนะ (การมองเห็น) + อุปกรณ

โดยแยกเปน 3 ประเภท ไดแก 1.เครื่องฉาย (Projectors) 2.เครื่องอุปกรณแปลงสัญญาณ (connected Equipment) 3.เครื่องเสียง (Amplifiers)


เครื่องฉาย เครื่องฉาย หมายถึง อุปกรณที่เปนตัวกลางหรือสือ่ กลางในการถายทอดเนื้อหา สาระ ขอมูล ตาง ๆ จากวัสดุฉายใด ๆ ใหปรากฏขึ้นมาบนจอภาพและมองเห็นได อาจมีเสียง หรือไมมีเสียง มีภาพเคลื่อนไหว หรือภาพนิ่ง หรือมีแตขอความเพียงอยางเดียวก็ได ขึ้นอยูกับประเภทของเครื่องฉายและวัสดุฉาย

สวนประกอบของเครื่องฉาย 1. หลอดฉาย (Projection Lamp) เปนหลอดไฟฟาชนิดหนึ่งทีใ่ หแสงสวางมากกวาหลอดไฟฟาธรรมดาที่ใชตามบานเรือน ประมาณ 3-10 เทา แบงออกไดเปน 3 ชนิด คือ

1.1 หลอดอินแคนเดสเซนต (Incandescent) ลักษณะหลอดใหญไสหลอดทําดวยโลหะทังสเตน ภายในบรรจุกาซไนโตรเจน หรือกาซอารกอน กินไฟมาก มีความรอนสูง กํา ลังสองสวางประมาณ 5001000 วัตต มีอายุการใชงานประมาณ 1000 ชั่วโมง ใชกับเครื่องฉายทึบแสงและเครื่องฉายภาพยนตร รุนเกาๆ 1.2 หลอดแฮโลเจน (Halogen Lamp) พัฒนามาจากหลอดอินแคนเดสเซนต แตมีขนาดเล็กกวา ไสหลอดทํา ดวยโลหะทังสเตน ภายในบรรจุกาซฮาโลเจน หรือกาซไอโอดีนทํา ใหมีอายุการใชงานนานขึ้น ทนความรอนไดสูง ทํา ใหความสวางขาวนวล ทั้งๆ ที่มีกํา ลังสองสวางนอยกวาหลอดแบบเกา คือประมาณ


250-650 วัตต ใชกับเครื่องฉายสไลด เครื่องฉายภาพขามศีรษะเครื่องฉายภาพยนตร และหลอดไฟสํา หรับให แสงสวางในการถายภาพ ภาพยนตรและวีดีทัศน 1.3 หลอดควอต (Quartz) พัฒนามาจากหลอดแฮโลเจนขนาดเล็กทัดเทียมกัน ไสหลอดทําดวยโลหะ ทังสเตน ภายในหลอดบรรจุกาซฮาโลเจน หรือกาซไอโอดีนแตมีปริมาณตางกันทํา ใหมีแสงสวางขาวนวล และมี อายุก ารใช งานนานกว าหลอดชนิด อื่น ๆ

สามารถทนความรอ นไดสูง ใชกับเครื่องฉายสไลด

เครื่องฉายภาพขามศีรษะ เครื่องฉายภาพยนตร มีขนาด 150-250 วัตต 2. แผนสะทอนแสง (Reflector) มีลักษณะโคงครึ่งวงกลมแบบกนกะทะ ฉาบดวยวัสดุสะทอนแสง ทําหนาที่สะทอนแสงของ หลอดฉายให พุงออกเปนลําแสงขนานไปในทิศทางเดียวกันหลอดฉายบางชนิด จะมีสวนที่ทําหนาที่ สะทอนแสงติดอยูดวย

3. เลนสรวมแสง(Condenser Lens) เปนชุดของเลนสนูน ทําหนาที่รวมหรือบีบลําแสงใหมีความเขมสูงไปผานที่วัสดุที่จะฉาย ในเครื่องฉาย บางแบบ เชน เครื่องฉายวัสดุทึบแสงไมมีเลนซชนิดนี้ เนื่องจากเครื่องฉายวัสดุทึบแสงใชวิธีการฉายแบบ สะทอน


4. แผนกรองความรอน (Heat Filter/Heat absorbing glass) ปองกันความรอนจากหลอดฉายไมใหตกกระทบเลนซ และวัสดุฉายมากเกินไป

5. เลนสฉาย (Objective lens or Focusing lens) เปนสวนที่อยูดานหนาของเลนสฉายทุกประเภท ลักษณะของเลนสฉายเปนเลนสนูน ซึ่งอาจมีชิ้น เดียวหรือเปนชุดมีหลายชิ้นประกอบกันก็ได ตองยึดอยูกับกระบอกเลนส เลนสฉายที่ใชกับเครื่องฉาย ปจจุบันพอแยกได 2 ประเภท คือ

5.1 เปลี่ยนทางยาวโฟกัสไมได (Fix focus lens) หมายถึง เลนสฉายที่มีทางยาวโฟกัสคงที่ เชน 35 มม. 55มม. 150 มม. เปนตน ถาตองการขนาดภาพที่ปรากฏบนจอภาพเล็กหรือใหญก็ตองเคลื่อนยาย เปลี่ยนแปลงระยะทางระหวางจอฉายกับเครื่องฉายใหใกลหรือหางกัน เพื่อใหไดขนาดภาพที่ปรากฏบน จอภาพตามตองการ


5.2 เปลี่ยนทางยาวโฟกัสได (Zoom lens) หมายถึง เลนสฉายที่มีทางยาวโฟกัสตางระยะสามารถ ปรับเปลี่ยนได เชน 70-120 มม. ที่กระบอกเลนสจะมีวงแหวนสํา หรับปรับหมุนเพื่อเลือกขนาดภาพไดตาม ตองการ วงแหวนวงนอกสุดใชปรับเลือกขนาดของภาพ สวนวงแหวนวงในใชปรับความคมชัดของภาพ ที่ปรากฏบนจอฉายเครื่องฉายที่มีเลนสฉายทางยาวโฟกัสสั้น ระยะทางจากเครื่องฉายถึงจอฉายจะสั้นหรือ ใกล เหมาะกับหองขนาดเล็ก สวนเครื่องฉายที่มีทางยาวโฟกัสยาว โฟกัสจะยาว ระยะทางจากเครื่องฉาย ถึงจอฉายจะมากหรือไกลออกไปดวยเหมาะกับหองขนาดใหญหนาที่ของเลนสฉาย ทํา หนาที่สําคัญ อยู 3 ประการ คือ ขยายภาพจากภาพขนาดเล็กใหมีขนาดโตขึ้นกลับภาพจากภาพหัวกลับ เมื่อฉายขึ้นบนจอ จะเปนภาพหัวตั้ง และปรับความชัดของภาพที่ปรากฏบนจอฉาย ซึ่งจะขยายใหภาพโตและมีความคมชัดใน ระยะใดนั้นขึ้นอยูกับชนิดของเลนส ขนาดทางยาวโฟกัสของเลนส และขึ้นอยูกับระยะทาง ระหวางเครื่อง ฉายกับจอฉายได 6. เลนสเกลี่ยแสง (Freshnel Lens) มีใชในเครื่องฉายวัสดุโปรงใสเทานั้น ทําหนาที่คลายกับเลนสรวมแสง ชวยรวมแสงรวมกับเลนส รวมแสง และชวยเกลี่ยแสงใหผานแผนโปรงแสงซึ่งมีขนาดใหญไดสม่ําเสมอทั่วทั้งแผน


7. พัดลม (Fan) ใชสําหรับการระบายความรอนออกจากเครื่องฉาย ถาพัดลมเกิดชํารุดอาจทําใหเครื่องฉายเสียหาย ไดงาย ในเครื่องฉายบางชนิด เชน เครื่องฉายแผนโปรงใสอาจมีสวนควบคุมการทํางานของพัดลมอัตโนมัติ คือพัดลมจะทําานอัตโนมัติเมื่อเครื่องรอน ถาเครื่องยังไมรอน พัดลมจะหยุดการใชเครื่องฉายบางชนิด หลังจากปดฉายแลวมีความจําเปนตองเสียบปลั๊กไวกอน 2-5 นาที เพื่อใหพัดลมระบายความรอน

ประเภทของจอฉาย สามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ 1. จอแบบตั้งอยูดานหนาเครื่องฉาย (Font Projection) 2. จอแบบฉายจากดานหลัง (Rear Projection) 1. จอแบบตั้งอยูดานหนาเครื่องฉาย (Font Projection) ไดแก - จอแบบพื้นทรายแกว (Beaded screen) ผิวจอถูกฉาบไวดวยเม็ดแกวชิ้นเล็กจํานวนมาก เมื่อรับแสง จะสะทอนออกมาเปนมุมแคบแตสวางมาก จอแบบนี้เหมาะที่สุดสําหรับหอง รูปสี่เหลี่ยมผืนผาคอนขางยาว - จอแบบพื้นเรียบ (Matte screen) มีผิวจอเรียบ สีขาวทึมใหแสงสะทอนออกมาเปนมุมกวางทุก ทิศทาง แมผูที่นั่งอยูตรงมุมหองก็สามารถมองเห็น แตความคมชัดของภาพจะลดลงเหมาะสําหรับหอง สี่เหลี่ยมจตุรัสซึ่งที่นั่งเปนแถวกวาง - จอสีเงิน (Lenticular screen) ทํา ดวยพลาสติกชนิดเนื้อหนา มีลักษณะเปนสันนูนและ รอง สลับกันละเอียดมาก การสะทอนแสงของจอแบบนี้ดีมาก และใหภาพที่ชัดเจน แมในหองที่ไมคอยมืดก็ตาม


- จอแสงอาทิตย (Sun screen) จอแสงอาทิตยเปนจอที่สรางขึ้นมาพิเศษเพื่อใชงานตามหองเรียน เล็กๆ ทั่วไป เพราะจอแบบนี้ไมตองกังวลเรื่องการควบคุมแสงสวาง เปนจอที่ทําขึ้นจากแผนอลูมิเนียม มีลักษณะโคงเวาเล็กนอย มีอํานาจการสะทอนแสงสูงมาก สามารถสะทอนแสงมากกวาจอพื้นเรียบถึง 12 เทา แตมุมแคบมาก ดังนั้นจึงเหมาะสํา หรับการฉายที่มีผูดูไมมาก 2. จอแบบฉายจากดานหลัง (Rear Projection) จอแบบนี้ทํา จากวัสดุโปรงแสง เชน กระดาษชุบเทียน หรือเนื้อเยื่อกระดาษชุบนํ้ามัน ซึ่งมีลักษณะ เหมือนกระจกฝา บางทีเรียก Translucent screen เครื่องฉายจะอยูหลังจอ เชน จอที่ใชฉายสไลดมัลติวิชั่น

ระบบฉาย (Projection System) ระบบฉาย คือ ระบบการสงผานของแสงจากหลอดฉายผานภาพหรือฟลมที่นํา มาฉายผานเลนสฉาย แลวไปปรากฏชัดบนจอฉาย ระบบการฉายของเครื่องฉายทั้งหลายแบงออกไดเปน 3 แบบ คือ 1. ระบบการฉายตรง (Direct Projection system) 2. ระบบการฉายออม (Indirect Projection) 3. ระบบการฉายสะทอนแสง (Indirect or Reflected Projection system) 1.ระบบฉายตรง (Direct projection) เปนการฉายโดยใหแสงผานทะลุวัสดุฉายและเลนสฉายไปยังจอภาพในแนวเสนตรง การใสวัสดุ ตองใสไวหลังเลนสฉายในลักษณะตั้งฉากกับพื้น เหมือนกับภาพที่ปรากฏบนจอรับภาพ เนื่องจากเลนส จะกลับภาพภาพที่ฉายออกไปเปนดานตรงขาม ดวยเหตุนี้จึงตองใสวัสดุฉายในลักษณะหัวกลับเสมอ


ภาพแสดงการทําระบบฉายตรง

2. ระบบฉายออม (Indirect Projection) เปนการฉายโดยใหแสงจากหลอดฉายผานขึ้นไปยังเลนสฉาย โดยมีการหักเหของลําแสงผาน วัสดุฉายไปยังจอรับภาพ การใสวัสดุฉายในระบบฉายออมคือ ตองวางวัสดุฉายในแนวระนาบบนแทนเครื่อง ฉาย โดยหันดานหนาขึ้นบนและริมลางเขาหาจอ

ภาพแสดงการทํางานระบบฉายออม


3. ระบบฉายสะทอน (Reflected Projection) เปนการฉายโดยใหหลอดฉายสองตรงมายังวัสดุฉายกอนแลวจึงสะทอนไปยังกระจกเงา ที่อยูดานบนสุดของเครื่องสะทอนแสงผานไปยังเลนสฉาย และสองแสงปรากฏเปนภาพบนจอรับภาพ การ ใสวัสดุฉายในระบบฉายสะทอนคือ ตองวางวัสดุฉายตามลักษณะที่เปนจริงในแนวระนาบบนแทนวางของ เครื่องฉาย

ภาพแสดงการทํางานระบบฉายออม


ตัวอยางเครื่องฉาย 1. เครื่องฉายสไสด

ภาพแสดงเครื่องฉายสไลด เปนเครื่องฉายวัสดุโปรงใสระบบฉายตรง (Direct Projection) ประกอบดวย แผนสะทอนแสงโคง หลอดฉายมีกําลังสองสวางประมาณ 150-500 วัตต แผนกรองความรอน เลนสรวมแสงกลักใสสไลดเลนส ฉายและพัดลมระบายความรอนดังภาพดานลางแสดงสวนประกอบตางๆภายในเครื่องฉายสไลด

เครื่องฉายชนิดนี้สามารถบรรจุสไลดไดครั้งละหลาย ๆ ภาพลงในกลองหรือถาดใสสไลด ทําให สะดวกและรวดเร็ว ไมตองกังวลในเรื่องบรรจุสไลดที่ละภาพ สามารถเปลี่ยนสไลดไดโดยการกดปุมเปลี่ยน ภาพที่เครื่องฉาย หรือควบคุมสไลดใหเดินหนาหรือถอยหลังไดในระยะไกล ๆ โดยใชสายตอจากเครื่องฉาย


ภาพแสดง สวนประกอบตางๆภายในเครื่องฉายสไลด

กลองใสสไลดที่ใชกับเครื่องฉายชนิดนี้มี 2 ลักษณะ คือ 1. ลักษณะสี่เหลี่ยม เรียกวา แมกกาซีน (Magazine) มีขนาดกวางกวาสไลดเล็กนอย ความยาวของ กลองสามารถบรรจุสไลดไดประมาณ 30-40 ภาพ เมื่อนําไปบรรจุในเครื่องฉายจะอยูใ นแนวนอนตัวเลขบอก ลําดับภาพจะอยูดานบน 2. ลักษณะกลมหรือที่เรียกวาถาดกลม สามารถบรรจุสไลดไดประมาณ 80-140 ภาพ มีทั้งชนิดถาด กลมแนวนอน เรียกวา เทค (Tray) และถาดกลมแนวตั้ง เรียกวา โรตารี่ (Rotary) ดังภาพดานลาง


3. ชนิดมีจอและเครื่องเทปในตัว เครื่องชนิดนี้มีเครื่องเทปและจอขนาดประมาร 9" x 9" อยูในตัว สามารถฉายสไลดใหปรากฎบนจอนี้พรอมเสียงที่สัมพันธกับภาพไดโดยอัตโนมัติ ดังภาพดานลาง

4. ชนิดบันทึกเสียงบนกรอบสไลด ซึ่งเรียกวา เครื่องฉายชนิดซาวนดออนสไลด (Sound on Slide Projector Recorder) สไลดที่ใชฉายกับเครื่องชนิดนี้มีกรอบขนาดใหญฉาบดวยสารแมเหล็กโดยรอบสําหรับ การบันทึกเสียงคําบรรยายประกอบสไลดภาพนั้น เครื่องฉายชนิดนี้ราคาสูง จึงไมคอยนิยมใชดังภาพ

การใชเครื่องฉายสไลด ในการใชเครื่องฉายสไลดเพือ่ ใหไดผลสมตามความมุงหมาย ควรดําเนินการตามขั้นตอนตอไปนี้ 1. บรรจุสไลดลงในถาดกลมหรือกลองสี่เหลี่ยมหรือกลักใสฟล ม โดยใหดานมันหันเขาหาหลอด ฉายและใหภาพอยูในลักษณะหัวกลับ ดานที่มันนอยกวาหรือดานหลังสไลดจะหันเขาหาจอภาพ 2. นําถาดหรือกลองหรือกลักที่บรรจุสไลดเรียบรอยแลวใสหรือวางบนเครื่องฉาย ถาเปนชนิดถาด กลมแนวนอนใหหมายเลข 0 ที่ถาดใสสไลดตรงกับเครื่องหมายในเครือ่ งฉาย แตถาเปนถาดกลมแนวตั้งให หมายเลข 1 ที่ถาดใสสไลดตรงกับเครื่องหมายในเครื่องฉาย


2. เครื่องฉายภาพขามศีรษะ

ภาพแสดงเครื่องฉายภาพขามศีรษะ ลักษณะและคุณสมบัติเฉพาะ เครื่องฉายภาพขามศีรษะ หรือบางทีเรียกวา เครื่องฉายภาพโปรงใส เพราะวัสดุฉาย เปนแผนโปรงใส (Transparency) หรืออาจเรียกวา กระดานชอลกไฟฟาเพราะใชแทนกระดานชอลกได เปนเครื่องฉายที่จัดอยู ในระบบฉายออม ใชสําหรับฉายภาพ วัสดุ หรือเครื่องมือที่โปรงใส โดยเขียนขอความหรือวาดภาพบนแผน



ภาพแสสดงสวนประกกอบของเครืองฉายภาพข ่อ ามศีรษะ 3. เครื่องฉาายฟลม สตริป การใชเครื่องฉายฟ ง ลมสตตริป (Filmstriip Projectorr) นั้น ก็ตองระมั ง ดระวังเชนเดียวกับเคครื่องฉาย สไลดสิ่งสํ ง าคัญก็คือ ควรหมั ค ่นตรวจจดูชองประตูฟลม (Film Gate) G ใหสะอาาดอยูเสมอเพืพื่อปองกันมิใหหเกิดรอย ขีด ขวนบบนฟลมการรักษาชองปรระตูฟลม ให สะอาดต ส องใใชภูกัน พิเ ศษษเชนเดียวกับบที่ใ ชทําความสะอาด ชองประะตูฟลม ของเเครื่ อ งฉายภาาพยนตร สิ่งสํ าคัญอีก ปรระการหนึ่ง ก็ คือตอ งตรววจดูว าพัดลมที่อยูภ าย ตัวเครื่องทํ ง างานเปนปกติ ป ดีหรือไม เพื่อไมใหเครืรื่องรอนจนฟลมไหมและททําใหเครื่องเสีสียหายในที่สดุ

ภาพแสดงเครื่องฉายฟฟลมสตริป


4. เครื่องฉายภาพยนตร เปนอุปกรณแสง-เชิงกล สําหรับการฉายภาพยนตร จากฟลม เปนภาพเคลื่อนไหว ใหไปปรากฎภาพ บนจอฉายภาพสวนประกอบของเครื่องฉายภาพยนตรนั้น สวนใหญแลวก็เหมือนกับสวนประกอบในกลอง ถายภาพยนตร เวนแตอุปกรณใหความสวาง และอุปกรณดานเสียง

ภาพแสดงเครื่องฉายภาพยนตร สวนประกอบของเครื่องฉายภาพยนตร เครื่องฉายภาพยนตรเปนเครื่องฉายระบบตรง มีสวนประกอบสําคัญ ดังตอไปนี้ สวนที่ทําใหเกิดภาพ ซึ่งประกอบดวยอุปกรณดังตอไปนี้ 1. ลอมวนฟลม (Supply Reel) และลอเก็บฟลม (Take up Reel) ฟลมจากมวนจะรอยเขาเครือ่ งและ สงไปยังลอเก็บฟลม 2. กลไกที่ทําใหภาพเคลื่อนไหวบนจอ ไดแก เฟองหนามเตย (Sprocket) กวัก (Intermittent) ใบพัด กั้นแสง (Shuter) 3. มอเตอร (Motor) ทําใหกลไกภายในเครื่องฉายหมุน เชน พัดลม เฟองหนามเตย กวัก และใบพัด กั้นแสง 4. สวนที่ทําใหเกิดแสง ไดแก แผนสะทอนแสง หลอดฉาย เลนสรวมแสง และเลนสฉาย 5. ประตูฟลม (Film Gate) เปนชองใหฟลมผาน โดยแสงจากหลอดจะสองผานฟลม ผานเลนสฉาย ออกสูจอ


สวนที่ทําใหเกิดเสียง ระบบที่ทําใหเกิดเสียงแบงออกได ดังนี้ 1. หลอดเอกไซเตอร (Exiter lamp) เปนหลอดไฟซึ่งทําหนาทีท่ ําใหแสงสองผาน Photo Electric Cell ไปยังฟลม 2. ระบบแสงเสียง (Sound optical system) เปนระบบที่ชวยใหลําแสงจากหลอดเอกไซเตอรบีบเล็ก ลง จนกระทั่งสามารถพุงผาน Optical Sound track ไปยังโฟโตเซลตอไป 3. แถบเสียง (Optical sound track) เปนแถบเสียงที่อยูทางดานขวามือของฟลมมีลักษณะเปนแถบที่ แสงผานไดมากบางนอยบาง มีลักษณะเปนคลื่น 4. โฟโตเซล (Photo cell) มีหนาที่รบั แสงที่มาจากหลอดเอกไซเตอร แลวผานมายังฟลม เมื่อแสง ผานแถบเสียงบนฟลมมาแลว แสงจะมีลักษณะเปนคลื่นแมเหล็ก และสงไปยังเครื่องขยายเสียงตอไป 5. เครื่องขยายเสียง (Amplifier) มีหนาที่ขยายคลื่นแมเหล็กที่ไดจากโฟโตเซลใหมีปริมาณมากขึ้น เพื่อสงตอไปยังลําโพง 6. ลําโพง (Speaker) มีหนาที่เปลี่ยนคลื่นแมเหล็กใหกลายเปนคลื่นเสียง สวนทําใหเกิดการเคลื่อนไหว สวนประกอบของเครื่องฉายทําใหภาพเคลื่อนไหวที่สําคัญ ไดแก 1. ลอมวนฟลมและลอเก็บฟลม (Feed reel and take up reel) มีหนาที่คลายฟลมและมวนเก็บฟลม เพื่อใหฟลมเดินทางผานประตูฟลม 2. มอเตอร (Motor) เปนเครื่องกลมีหนาที่ใหปุมตาง ๆ ของเครื่องฉายเกิดการหมุนและทําใหฟลม เคลื่อนที่ผานสวนตาง ๆ ของเครื่องฉาย 3. เฟองหนามเตย (Sprockets) เปนตัวที่ชว ยใหฟลมเคลื่อนที่จากลอมวนฟลมไปยังลอเก็บฟลม โดยปกติจะมี 2-3 ตัว ซึ่งเฟอง 2-3 ตัวนี้ จะเคลื่อนที่สัมพันธกัน ทําใหฟล มเคลื่อนที่ไปอยางราบเรียบ 4. กวัก (Intermetent) เปนกลไกที่อยูตรงประตูฟลม มีหนาที่กวักใหฟลมเคลื่อนที่ผานประตูฟลมไป ทีละภาพอยางรวดเร็ว และตองสัมพันธกับชัตเตอร


การจัดสภาพการฉาย (Projection Condition) การฉายจะไมมีประสิทธิภาพ หากละเลยในสภาพแวดลอม ซึ่งควรพิจารณาองค ประกอบ 4 ขอ ดังนี้ 1. การควบคุมแสง (Light control) ใหเหมาะสมกับประเภทของเครื่องฉาย และไม ควรใหแสงกระทบจอ ซึ่งทํา ใหภาพบนจอไมชัดเจน 2. การระบายอากาศ (Ventilation) เพื่อสุขภาพที่ดีทั้งรางกายและจิตใจ 3. ระบบเสียง (Acoustic control) ในแงของระบบเสียงและการใชวัสดุที่ทาํ ใหคณ ุ ภาพเสียงดีขึ้น และการออกแบบโครงสรางของอาคาร 4. การจัดที่นั่งดู เพื่อใหการดูภาพชัดเจน จะตองพิจารณาวาไดที่นั่งดูที่ดีหรือยัง ซึ่งที่นั่งที่เหมาะสม คือ แถวหนาอยูหางจากจอประมาณ 2 เทาของความกวางขอจอ สวนแถวหลังคือ 6เทาของความกวางของจอ นอกจากนี้คุณภาพของจอและการติดตั้งก็มีสวนสําคัญ คือ ปกติสวนใหญจะติดตั้งจอที่มุมหอง เพราะหาก ติดตั้งจอตรงกลางจะเปนปญหาไมเห็นภาพชัดเจนแกผูที่นั่งอยูแถวหนาตรงริมๆแถว สวนคุณภาพของจอก็ จะใหผลดานการสะทอนแสง


ขอควรจําในเรื่องทฤษฎีเครื่องฉาย 1. การใสภาพในเครื่องฉายทุกประเภท ตองใสภาพหัวกลับ 2. หลอดฉายในเครื่องฉายทั่วๆ ไป มีกําลังสองสวางตั้งแต 300 - 1000 แรงเทียนหรือมีความรอน เทากับหลอดไฟฟาขนาด 100 แรงเทียน 3 – 10 ดวง รวมกัน ดังนั้นเพื่อปองกันการชํารุดของหลอดฉาย จะตองเปดพัดลมระบายความรอนในขณะใชงานตลอดเวลา และตองระบายอากาศจนมั่นใจวาหลอดฉายเย็น จึงจะปดเครื่องฉาย

ภาพแสดงเครื่องฉาย


เครื่องอุปกรณแปลงสัญญาณ เครื่องแปลงสัญญาณเปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสใชในการถายทอดเนื้อหาจากวัสดุตาง ๆ ไดแก 1. วัสดุที่บรรจุขอมูลในรูปแบบของแมเหล็ก เชน แถบวีดิทัศน 2. วัสดุในรูปแบบของตัวอักษรหรือภาพ เชน สิ่งพิมพหรือฟลม 3. วัสดุในรูปแบบของการเขารหัสดิจิทัล เชน แผนวีซีดีและแผนดีวดี ี เครื่องแปลงสัญญาณจะทําหนาทีใ่ นการอานขอมูลจากวัสดุและแปลงเปนสัญญาณไฟฟาเพื่อแปลง กลับเปนสัญญาณภาพและเสียงในระบบแอนะล็อกตามธรรมชาติเสนอขึ้นบนจอภาพ ตัวอยางเชน เครื่อง เลนวีซีดีจะอานขอมูลที่บันทึกภาพยนตรจากแผนวีซีดซี ึ่งเขารหัสเปนระบบดิจิทัล แลวแปลงเปน สัญญาณไฟฟาเพื่อถอดรหัสและแปลงกลับเปนสัญญาณภาพและเสียงระบบแอนะลอกเสนอบนจอโทรทัศน ตอไป เครื่องถายทอดสัญญาณ เครื่องถายทอดสัญญาณ เปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่รับสัญญาณภาพจากเครื่องแปลงสัญญาณเพื่อ ถายทอดขยายเปนภาพขนาดใหญขึ้นบนจอภาพ ตัวอยางเชน เครื่องวิดโี อ โพรเจ็กเตอรจะรับสัญญาณจาก เครื่องคอมพิวเตอรเพื่อเสนอภาพขนาดใหญบนจอภาพ (แทนการเสนอบนจอมอนิเตอรของ คอมพิวเตอร) เพื่อใหผูเรียนเห็นเนื้อหาไดอยางทั่วถึง ดังนี้ เปนตน เครื่องถายทอดสัญญาณจะเปนอุปกรณ ที่ใชควบคูกับเครื่องแปลงสัญญาณเสมอโดยไมสามารถนํามาใชเพียงลําพังได ประเภทของเครื่องแปลงและเครื่องถายทอดสัญญาณ เครื่องแปลงและเครื่องถายทอดสัญญาณที่นํามาใชในการเรียนการสอนมีดังนี้ 1. เครื่องวิชวลไลเซอร (Visualizer) เครื่องวิชวลไลเซอร เปนเครื่องแปลงสัญญาณที่เสนอไดทั้งภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว โดย ตองตอเครื่องวิชวลไลเซอรกับจอมอนิเตอรเพื่อเสนอภาพ หรืออาจตอรวมกับเครื่องแอลซีดีเพื่ถายทอด สัญญาณเปนภาพขนาดใหญบนจอภาพ หลักการทํางานของเครื่องวิชวลไลเซอรจะเปนการใชกลองถายภาพของวัตถุเพื่อแปลงเปน สัญญาณไฟฟากอนที่จะแปลงกลับเปนสัญญาณภาพอีกครั้งหนึ่ง การเสนอภาพนิ่งจะเปนการวางวัสดุ ฉายลงบนแทนฉายเพื่อใหกลองที่อยูเหนือแทนฉายจับภาพวัสดุ โดยสามารถใชฉายไดทั้งวัสดุทึบแสง


ภาพแสดงเครื่องวิชวลไลเซอร

ประโยชนของเครื่องวิชวลไลเซอร การใชเครื่องวิชวลไลเซอรในการเรียนการสอนมีประโยชนดังนี้ 1. สามารถใชในการเสนอวัสดุไดทกุ ประเภททั้งวัสดุทึบแสง วัสดุ 3 มิติ รวมถึงวัสดุกึ่งโปรงแสง และวัสดุโปรงใส 2. ใชเปนกลองโทรทัศนวงจรปดเพือ่ เสนอภาพวัตถุและการสาธิตภายในหองเรียนได 3. ใหภาพที่ชัดเจน สามารถขยายภาพและขอความจากสิ่งพิมพใหอานไดอยางทั่วถึง 4. สามารถใชกลองตัวรองเปนกลองวีดิทัศนเคลื่อนที่ได


2. เครื่องเลนวีซีดี (Video Compact Dise) เครื่องเลนวีซีดี (VCD) หรือเรียกอยางเต็มวา “วิดีโอซีดี” (Video CD ซึ่งยอมาจาก Video Compact Disc) เปนเครื่องเลนแผนซีดีระบบดิจิทัลที่บันทึกขอมูลในลักษณะภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทัศน และเสียงเพื่อเสนอภาพบนจอโทรทัศน

ภาพแสดงชุดเครื่องเลน VCD 3. แผนวีซีดี แผนวีซดี ีจะมีลักษณะทางกายภาพทุกอยางเหมือนแผนซีดี เพียงแตแผนวีซีดีจะเปนการเสนอ ภาพยนตรพรอมเสียงสเตอริโอ มีอัตราการเสนอภาพ 1.44 ลานบิตตอวินาที (Mbps) แผนวีซีดีสามารถ บันทึกภาพยนตรจากการถายทําหรือจากแถบวีดิทัศนแลวบันทึกลงแผน ประโยชนของเครื่องเลนวีซีดี 1. คุณภาพของภาพบนแผนวีซีดใี หความคมชัด โดยเฉพาะเมื่อเปรียบเทียบกับแถบวีดิทัศน 2. ไมมีการยืดเหมือนแถบวีดิทัศน 3. เครื่องเลนวีซีดีสามารถเลนไดทั้งแผนซีดีและวีซดี ี 4. ทําความสะอาดไดงา ยหากเกิดความสกปรกบนแผน

4. เครื่องเลนดีวีดี (DVD Player) เครื่องเลนดีวีดี เปนเครื่องเลนแผนดีวีดีระบบดิจิทลั เพื่อเสนอภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทัศน และเสียงเพื่อเสนอภาพบนจอโทรทัศนในลักษณะเดียวกับแผนวีซีดี แตจะใหคุณภาพของภาพและเสียงดีกวา มาก รวมถึงคุณลักษณะอืน่ ๆ เพิ่มขึ้นอีกมากมายหลายประการ แผนดีวีดี แผนดีวดี ีเปนแผนบันทึกขอมูลระบบดิจิทัลและมีลักษณะทางกายภาพเชนเดียวกับแผนซีดี แตตางกัน


ภาพแสดงเครื่องเลน DVD ประโยชนของเครื่องเลนดีวีดี 1. คุณภาพของภาพบนแผนดีวีดีใหความคมชัดมาก โดยเฉพาะเมือ่ เปรียบเทียบกับแถบวีดิทัศน 2. ใหเสียงดอลบีเซอรราวดชวยใหการชมภาพยนตรมีชีวิตชีวามากยิ่งขึ้น 3. สามารถเลือกชมตอนใดของภาพยนตรก็ไดโดยไมตองเรียงตามเนื้อเรื่อง 4. ไมมีการยืดของแผนบันทึกเหมือนแถบเทป 5. หากเกิดความสกปรกบนแผนสามารถทําความสะอาดไดโดยงาย 6. เครื่องเลนสามารถเลนไดทั้งแผนซีดี แผนวีซดี ี และแผนดีวีดี 5. เครื่องวิดีโอโพรเจ็กเตอร (Video Projector) เครื่องวีดิโอโพรเจ็กเตอร เปนอุปกรณที่เปนสื่อกลางในการถายทอดสัญญาณจากอุปกรณหลาย ประเภท เชน เครื่องวิชวลไลเซอร เครื่องคอมพิวเตอร และเครื่องเลน ดีวีดใี หปรากฏเปนภาพขนาดใหญ บนจอภาพ เครื่องวิดีโอโพรเจ็กเตอรที่นยิ มใชในปจจุบนั จะเปนเครื่องแอลซีดีและเครื่องดีแอลพี 1. เครื่องแอลซีดี (LCD : Liquid Crystal Display) แอลซีดีเปนเทคโนโลยีการแสดงผลที่ใชพลังงาน นอยโดยการใชคริสทัลโมเลกุลอัดอยูกลางระหวางแผนกระจก โมเลกุลเหลานี้จะมีการจัดเรียงตัวใหม ใน ลักษณะทึบแสงเมื่อมีกระแสไฟฟาผานทําใหมองเห็นเปนภาพหรือตัวหนังสือได เครื่องแอลซีดีเปนเครื่องถายทอดสัญญาณที่ใชตอพวงตอกับจอมอนิเตอรของคอมพิวเตอร เครื่องวิชวล ไลเซอร เครื่องเลนวีดิทัศน หรือเครื่องเลนวีซีดี เพื่อเสนอภาพจากอุปกรณเหลานัน้ ขยายขนาดใหญขึ้นบน จอภาพ เครื่องแอลซีดีมีลักษณะเครื่องอยู 3 ลักษณะ คือ ก. แผงวางบนเครื่องฉายภาพขามศีรษะเพื่ออาศัยแสงจากเครื่องฉายสองผานขึ้นมาใหปรากฏขอมูลบน จอภาพ ข. เครื่องแบบตั้งโตะทีร่ วมลักษณะของแผง แหลงจายไฟ และ หลอดฉายอยูในเครื่องเดียวกัน ค. เครื่องที่มีแหลงแสงสีแดง เขียว และน้ําเงินแยกจากกันในลักษณะ “ปนอิเล็กทรอน” เพื่อยิง


ภาพแสดงเครื่องแอลซีดีรูปแบบตางๆ 2. เครื่องดีแอลพี (DLP : Digital Light Processing) เครื่องดีแอลพี เปนเครือ่ งถายทอดสัญญาณ ระบบดิจิทัลในลักษณะเดียวกับเครื่องแอลซีดีแตมีความคมชัดสูงกวา โดยใหความคมชัดมากถึง 1,280 X 1,024 จุด ในขณะที่เครื่องแอลซีดีจะใหความคมชัดไดสูงสุดเพียง 1,024 X 768 จุดเทานั้น

ภาพแสดงสวนประกอยของเครื่อง DLP


ภาพแสดงเครื่อง DLP

ภาพแสดงแผงควบคุมดานบนและชองเสียบสัญญาณชองเครื่องแอลซีดี

ประโยชนของเครื่องวีดิโอโพรเจ็กเตอร 1. สามารถใชกับอุปกรณไดหลากหลายประเภท 2. สามารถเสนอภาพขนาดใหญจากอุปกรณตาง ๆ เพื่อใหเห็นภาพไดอยางทัว่ ถึง โดยเฉพาะ อยางยิ่งการเรียนการสอนดวยคอมพิวเตอร


เครื่องเสียง (Amplifiers) ความหมายของเสียง พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ไดใหความหมายของเสียงวา "สิ่งที่รับรูไดดวยหู เสียงเพลง เสียงพูด ความเห็น เชน เรื่องนี้ฉันไมออกเสียง, ความนิยม เชน คนนี้เสียงดี มีหวังไดรับเลือกตั้ง เปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร, คะแนนเสียง เชน ลงมติกันแลวเขาชนะเพราะไดเสียงขางมาก ระบบขยายเสียง

ภาพแสดงการเชื่อมตอระบบขยายเสียง เมื่อเสีย งมี จุด กําเนิ ดจากสิ่งตางๆ ที่ เราสามารถรับฟง ไดในระยะทางที่จํากัด จึงมีความจะเปน อยางยิ่ง ที่จะตองมีระบบขยายเสียง โดยหลักการเปลี่ยนพลังงาน เสียงที่มีความถี่ 20 - 20000 Hertz (Hz) ใหอยูในรูปของสัญญาณไฟฟา แลวนําเอาพลังงานไฟฟา ที่ไดไปทําการขยาย ใหมีพลังมากขึ้นตามความ ตองการ แลวจึงนําพลังงานไฟฟา ที่ไดผานการขยายแลว มาแปลงเสียงพลังงานเสียง เชนเดิม จนทําใหผูที่ อยูในระยะทางที่ไกลขึ้น ไดรับฟงเสียงดังกลาว


องคประกอบของระบบขยายเสียง ระบบขยายเสียง ประกอบดวยสวนสําคัญ 3 สวน คือ • • •

ภาคสัญญาณเขา (Input Signal) ภาคขยายสัญญาณ (Amplifier) ภาคสัญญาณออก (Output Signal)

ภาคสัญญาณเขา (Input Signal) เปนภาคที่ทําหนาที่ เปลี่ยนคลื่นเสียงใหเปนคลื่นไฟฟาความถี่เสียง เชน ไมโครโฟน หรืออีกนัย หนึ่งภาคสัญญาณเขา เปนอุปกรณประเภทเครื่องเสียง เชน เครื่องเลนแผนเสียง เครื่องเลนคอมแพกดิสก เครื่องเลนเทปคาสเซส เปนตน ซึ่งอุปกรณทั้งหมดที่กลาวถึง ในภาคสัญญาณเขา เปนอุปกรณ ที่จะกอใหเกิด เสียง เพื่อเตรียมสงไปยัง ภาคขยายสัญญาณ ภาคสัญญาณออก อุปกรณทางอิเล็กทรอนิกสที่ทําหนาที่เปลี่ยนคลื่นเสียง ใหเปนคลื่นไฟฟาความถี่เสียง อุปกรณที่เห็น ไดชัด ไดแก ไมโครโฟน ไมโครโฟน เปนอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกส ทําหนาที่เปลี่ยนคลื่นเสียง (Sound wave) หรืออากาศจาแหลงกําเนิด เสียง เชน เสียงพูด เสียงเพลง เสียงเครื่องดนตรี เปนตน ใหเปนสัญญาณไฟฟาความถี่เสียง ไหลไปตามสาย ไมโครโฟนสูเครื่องขยายเสียง ชนิดของไมโครโฟน ที่แบงตามวัสดุที่ใชในไมโครโฟน มี 6 ชนิด คือ 1. ไมโครโฟนชนิดคารบอน (Carbon Microphone) ไมโครโฟนชนิดนี้ใหเสียงทีม่ ีคุณภาพไมคอ ยดี ปจจุบันใชในเครื่องโทรศัพทเทานั้น


2. ไมโครโฟนชนิดคริสตัล (Crystal Microphone) ไมโครโฟนที่มีราคาถูก น้ําหนักเบาแตไมทนตอสภาพความรอน หรือความชื้นสูง เพราะอาจทําให คริสตัลเสื่อมได ไมโครโฟนแบบนี้ใหกําลังไฟฟาออกมาสูง และสามารถสภาพสัญญาณไดดีจึงไมตองอาศัย หมอแปลง (Transformer) ในตัวของไมโครโฟนชวยแตอยางใด สามารถสงสัญญาณไปยังเครื่องขยายเสียง ไดโดยตรง สามารถใชสายไมโครโฟนตอยาวออกไปไดไมเกิน 25 ฟุต เพราะถาพวงสายยาวกวานี้จะทําใหมี สัญญาณอื่นมารบกวนไดและทําใหสัญญาณจากไมโครโฟนออนลงมาก

3. ไมโครโฟนชนิดเซรามิค (Ceramic Microphone) มีลักษณะการออกแบบหรือหลักการทํางานคลายกับไมโครโฟนชนิดคริสตัล ตางกันที่วัสดุเซรามิค มีคุณภาพดีกวาคริสตัล เพราะทนทานตอการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมแิ ละความชืน้ มากกวา


4. ไมโครโฟนชนิดคอนเดนเซอร (Condenser Microphone) เปนไมโครโฟนที่กําลังนิยมใชอยูในปจจุบนั สามารถรับเสียงไดไวมาก มีราคาแพงและมักติดอยูกับ เครื่องบันทึกเสียงทั่ว ๆ ไป

5. ไมโครโฟนชนิดริบบอน (Ribbon or Velocity Microphone) เปนไมโครโฟนที่บอบบาง เสียงายไมมีไดอะแฟรม การทํางานอาศัยการสั่นสะเทือนของแผนริบ บอน มี ลั ก ษณะบางเบา และขึ ง ตึ ง อยู ร ะหว า งแม เ หล็ ก ถาวรกํา ลั ง สู ง และจะทํ า งานทั น ที เ มื่ อ ได รั บ การ สั่นสะเทือนเปนไมโครโฟนที่มีคุณภาพสูงและควบคุมสัญญาณไดดีที่สุด (Highest Fidelity) แตไมคอยนิยม ใชกันมาก เพราะมีขอเสียคือ ไมเหมาะตองานสถานที่ แมแตเสียงลมพัดก็จะรับเสียงเอาไวหมดอาจแกได โดยใชวัสดุกันลม เปนกระบอกฟองน้ําสวมครอบแตก็ไมไดผลนัก นอกจากนี้ยังมีปญหาอื่น ๆ อีก เชน สัญญาณไฟฟาที่ไดออกมาคอนขางต่ํา (Low Output) ตองใชเครื่องขยายเสียงที่มีกําลังแรง และ คุณภาพสูง ถาพูดใกลมาก เสียงลมหายใจจะกลบเสียงที่พูด ไมโครโฟนชนิดนี้ไมนิยมใชนอกสถานที่ มักพบในสถานี สงวิทยุ โทรทัศนและบันทึกเสียง


6. ไมโครโฟนชนิดไดนามิค (Dynamic Microphone) เปนแบบที่ไดรับนิยมมากเพราะใหคณ ุ ภาพเสียงดีเหมือนธรรมชาติ มีความทนทานเหมาะสมกับ การกระจายเสียงหรือระบบเสียงหลายประเภท แตราคาคอนขางสูง

ชนิดของไมโครโฟน ที่แบงตามลักษณะการใชงาน มี 5 ชนิด คือ 1. แบบตั้งพื้นหรือตัง้ โตะ เปนไมโครโฟนที่มาประกอบกับขาตั้งที่ทํามาเพื่อเสียบไมโครโฟนได เพื่อใหผูใชไมตองใชมือถือไมโครโฟนไวตลอดเวลาที่พดู ผูพูดยืนหรือนั่งหางจากไมโครโฟนไมมาก


2. แบบมือถือ มีลักษณะยาว สามารถถือไดอยางสะดวก เหมาะสําหรับนักรอง นักแสดงตลก หรือ รายการสนทนาที่มีการสัมภาษณไมยาวนัก

3. แบบหนี บติ ด เสื้ อ หรื อ แบบห อยคอ เป น แบบที่ นิย มใช ใ นการแสดง เช น การถ า ยทํ า รายการ โทรทัศน ทําใหผูแสดงไมตองถือไมโครโฟนไวตลอดเวลา ไมโครโฟนประเภทนี้มีขนาดเล็กมาก สามารถ ซอนไดอยางมิดชิด


4. แบบติดแขนยาว (Boom Microphone) เปนไมโครโฟนที่เหมาะกับการใชในการแสดงอีกชนิด หนึ่ง เนื่องจากผูแสดงไมตองถือไมโครโฟน คือ จะมีแขนยาวยื่นมาจนเกือบถึงผูแสดง ทําใหสามารถตัดภาพ ไมใหมองเห็นกลองถายวีดิทัศนได

5. แบบไมมีสาย (Wireless Microphone) หรือที่เรียกกันติดปากวา ไมคลอย นั่นเอง ไมโครโฟน ชนิดนี้จะบรรจุเครื่องสงวิทยุขนาดเล็กสามารถสงคลื่นไดในระยะหนึ่ง โดยอาศัยการสงตามคลื่นของระบบ F.M. คือชวงคลื่นระหวาง 88 - 108 เมกกะเฮิรตช ดังนั้นเวลารับคลื่นจึงตองอาศัยเครื่องรับที่มีคลื่นเดียวกับ ระบบ F.M. นั่นเอง


เพื่อใหไมโครโฟนสามารถทํางานรวมกับอุปกรณในระบบขยายเสียงไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด จึงควรตองทราบขอมูลของไมโครโฟนที่จะนํามาใชดังนี้ คือ 1. อิมพีแดนซ (Impedance) หมายถึงตัวเลขที่บอกคาความตานทานของไมโครโฟนที่เกิดขี้นขณะที่มีสัญญาณไฟฟาความถี่เสียง ห รื อ ก ร ะ แ ส ส ลั บ ไ ห ล ผ า น มี ห น ว ย เ ป น โ อ ห ม แ บ ง เ ป น 2 พ ว ก คื อ 1.1 อิมพีแดนซสูง หรือมีคาความตานทานสูง (High Impedance) จะมีคาอยูในชวง 5,10,50 หรือ อาจถึง 100 กิโลโอหม (KQ) จะใหกําลังใจของสัญญาณออกมาต่ํา (Low Power Output) มีเสียงรบกวนได งาย เชนเสียงฮัม ยิ่งถาตอสายยาว ๆ หรือเกินกวา 25 ฟุต ก็ยิ่งทําใหสูญเสียกําลังของสัญญาณมากขึ้น คุณภาพ ของเสียงจะลดลงดวย ใชตอรวมกับเครื่องขยายเสียงโดยตอชองที่ชอง High 1.2 อิมพีแดนซต่ําหรือมีคาความตานทานต่ํา(Low Impedance) มีคาอิมพีแดนซอยูในชวง 200 ถึง 600 โอหมซึ่งมีคุณภาพดีใหกําลังของสัญญาณออกสูง (High Power Output) ไมมีเสียงรบกวนสามารถใชกับ สายยาว ๆ ไดแตจะมีความไวในการรับเสียงต่ําใชตอรวมกับเครื่องขยายเสียงที่ชอง Low

Impedance

2. ผลในการตอบสนองความถีของเสียง (Frequency Response) คือความสามารถของไมโครโฟนในการรบความถี่ของคลื่นเสียงไดกวางและมีความเรียบมากนอย ซึ่งไมโครโฟนแตละชนิดก็จะออกแบบมาเพื่อใชในลักษณะงานตาง ๆ กัน ฉะนั้น จึงมีความสามารถในการ ตอบสนองความถี่ตาง ๆกัน มีหนวยเปน เฮิรตซ (Hertz: Hz) เชน ไมโครโฟน สําหรับพูดในที่ชุมนุมชน ประกาศ สั่งงาน การเรียนการสอนในหองเรียน จะใชชวงการตอบสนองความถี่ต่ํา ๆ และแคบ ๆ ก็พอ เชน 300-5,000 เฮิรตซ แตถาตองการคุณภาพของเสียงเรียบและแยกความถี่ไดกวางขึ้น ควรอยูในชวง 70-10,000 เฮิ ร ต ซ ถ า ต อ ง ก า ร คุ ณ ภ า พ ข อ ง เ สี ย งที่ ดี เ ยี่ ย ม น อ ก จ า ก เ สี ยงพู ด แ ล ว ยั ง มี เ สี ย ง ด น ต รี ด ว ย ควรต อ งใช ไ มโครโฟนที่ ใ ห ผ ลตอบสนองความถี่ ที่ ก ว า งและเก็ บ ความถี่ ไ ด ล ะเอี ย ดยิ่ ง ขึ้ น ควรอยู ในชวง 50-15,000 เฮิรตซ แตราคาก็จะคอนขางแพงตามคุณภาพไปดวย 3. ความไวในการรับเสียงของไมโครโฟน(Sensitivity) คือความสามารถในการรับความแรงของคลื่นเสียงที่มาจากแหลงกําเนิดเสียงจากระยะทางใกลไกล ตาง ๆ กัน นั่นเองไมโครโฟนที่มีความไวสูงจะสามารถรับเสียงเบา ๆ และอยูไกลออกไปไดไมโครโฟน ความไวต่ํา ตองปอนคลื่นเสียงดัง ๆ และใกล ๆ มีหนวยเปน เดซิเบล (Decibel: dB) โดยวัดจากสัญญาณที่ได ออกจากไมโครโฟนผานไปเขาเครื่องขยายเสียง เชน -90 dB -60dB -45dB เปนตน คาติดลบมาก จะมีความ ไวกวา คาติดลบนอย เชน -90dB มีความไวต่ํากวา -60dB เปนตน


วิธีใชและรักษาไมโครโฟน •

เลือกไมโครโฟนชนิดที่เหมาะสมกับสถานการณโดยพิจารณาทั้งในเรื่องทิศทางการรับเสียง ชวง การตอบสนองความถี่เสียงความไวในการรับเสียงและลักษณะการใชงาน ระยะหางจากไมโครโฟนถึงผูพูด ถาเปนไมโครโฟนที่มีความไวตอการรับเสียงมากควรอยูหาง ประมาณ 4 นิ้ว ถึง 1 ฟุต หากใกลมากจะทําใหเสียงเพี้ยนหรือฟงไมรูเรื่อง อยาเคาะหรือเปาไมโครโฟนเปนอันขาด อาจทําใหไมโครโฟนขาดชํารุด และระวังอยาใหลมหรือ ตกหลนจากที่สูง และระวังอยาใหถูกน้ํา อยาวางสายไมโครโฟนควบคูหรือใกลชิดหรือตัดผานกับสายไฟฟากระแสสลับ ( AC. Cord) เพราะ จะทําใหมีสัญญาณความถี่ของกระแสไฟฟาไปรบกวนสัญญาณเสียง ขณะใชไมโครโฟน หากมีเสียงหวีดหรือเสียงหอน อาจเปนเพราะใชไมโครโฟนใกลกับลําโพงมาก เกินไป หรืออาจจะหันดานหนาของไมโครโฟนไปตรงกับทิศทางดานหนาของลําโพง ทําใหเสียง เกิดการยอนกลับ (Feedback) ตองเปลี่ยนตําแหนงการตั้งไมโครโฟนใหมใหถูกตอง การใชไมโครโฟนนอกสถานที่หรือกลางแจงมักจะมีเสียงรบกวนจากลมพัดและเสียงรอบขางมาก โดยเฉพาะไมโครโฟนที่มีความไวในการรับเสียงสูง ควรใชอุปกรณกันเสียงรบกวน (Wind Screen) สวมปองกัน จะทําใหเสียงมีความชัดเจนแจมใสมีคุณภาพดีขึ้น

ภาคขยายสัญญาณ (Amplifier) ภาคขยายสัญญาณ (Amplifier)เปนภาคที่รบั สัญญาณไฟฟาความถี่เสียง จากภาคสัญญาณเขา แลว นําไปขยายสัญญาณใหมีความแรงขึ้นเพื่อเตรียมสงตอไปยัง ภาคสัญญาณออก ภาคขยายสัญญาณเปนภาคที่รับสัญญาณไฟฟาความถี่เสียง จากภาคสัญญาณเขา แลวนํามาปรับแตง และขยายสัญญาณใหมีความแรงขึ้นเพื่อเตรียมสงตอไปยัง ภาคสัญญาณออก ภาคขยายแบงออกเปน 2 วงจร คือ 1. วงจรกอนการขยาย (Pre amplifier) เนื่องจากสัญญาณที่ถูกสงเขามาจากภาคสัญญาณเขามีความ แตกตางกันมากบางนอยบาง เชน ไมโครโฟน เครื่องบันทึกเสียง เครื่องเลนคอมแพกดิสก เปนตน ดังนั้นภาคกอนการขยายจะชวยในการปรับแตงเสียงใหมีสัญญาณมากนอยพอๆ กัน กอนจะสงไป วงจรขยายกําลัง


2. วงจรขยายกําลัง (Power Amplifier) ทําหนาที่รับสัญญาณจากวงจรกอนขยาย (Pre Amplifier) เขามา เพื่อทําการขยายใหมกี ําลังแรงเพิ่มขึ้นอุปกรณที่ใชในขั้นตอนนี้ ก็ไดแก เครื่องขยายเสียง(Amplifier)

เครื่องขยายเสียง นิยมแบงชนิดตามกําลังของการขยายเสียง คือ การแบงตามความดังของภาคขยาย เชนเครื่องขยายเสียงที่นยิ มใชกัน มีกําลังตัง้ แต 10 วัตต ไปจนถึง หลายรอยวัตตเลยทีเดียว กําลังวัตตของ เครื่องขยายเสียงจะบอกถึงความดังที่ออกทางลําโพงกลาวคือ เครื่องขยายเสียงที่มีกําลัง 200 วัตต จะดังกวา เครื่องขยายเสียงที่มีกําลัง 150 วัตตนั่นเอง

สวนประกอบดานหลังของเครื่องขยายเสียง ไดแก 1. ชองรับสัญญาณเขา ใชเสียบ Jack ตอสัญญาณที่มาจากภาคสัญญาณเขา เชน ไมโครโฟน เครื่องเลน แผนเสียง เปนตน 2. จุดสําหรับตอสัญญาณออก ใชตอสายเพื่อสงกําลังไฟฟาความถี่เสียงไปยังภาคสัญญาณออก อัน ไดแก ลําโพง นั่นเอง 3. สายไฟฟาเขาเครื่อง เปนสายตอเพื่อใชไฟฟาภายในบาน ซึ่งในประเทศไทยจะใชไฟฟา 220 Volts


สวนประกอบดานหนาของเครื่องขยายเสียง ไดแก - ปุมควบคุม (Control Knobs) Mic.1 Mic.2 Mic.3 เปนปุมควบคุมการรับสัญญาณไฟฟาความถี่เสียงจาก ไมโครโฟน แตละตัวเพื่อทําการปรับความดังของไมโครโฟนแตละตัวแยกอิสระจากกัน - ปุมควบคุม Phono เปนปุมควบคุมสัญญาณที่มาจากเครื่องเลนแผนเสียง (Phonograph) - ปุมควบุคม Aux. เปนปุมควบคุมสัญญาณที่มาจาก Auxiliary เชนเครื่องบันทึกเสียงที่มีการขยายสัญญาณ กําลังต่ํามากอนแลว หรืออาจใชควบคุมอุปกรณรับสัญญาณเขาอื่นๆ ที่ไมมีปุมควบคุมอยูดานหนาดวย - ปุมควบคุมการปรับแตงเสียงทุม (Bass) และแหลม (Treble) หรือปุม Tone Control ใชเพื่อปรับเสียงทุม แหลม ของเสียงใหมากขึ้น ในเครื่องขยายเสียงบางรุนอาจรวม ปุมปรับแตทุมแหลมนีไ้ วในปุมเดียวกันก็ เปนได - ปุมควบคุมการขยายกําลัง (Master volume) ทําหนาทีค่ วบคุมสัญญาณใหมีเสียงดังเบา กอนจะออกทาง ลําโพง ซึ่งปุมนี้จะทําหนาทีร่ วมกับปุมอื่นๆ ทุกปุมขางตนดวย ดังนั้นการที่ปรับปุม Master volume ดังเบา ก็ จะทําใหเสียงที่ออกทางลําโพงดังเบาตามปุมนี้เปนสําคัญ - สวิตชไฟฟา (Switch) ใชเปด (On) เมื่อตองการเริ่มใชงาน และใชปด (Off) เมื่อเลิกใชงาน - หลอดไฟหนาปด (Pilot lamp) หลอดไฟฟาแสดงใหทราบวา มีไฟฟาเขาเครื่องฯ หรือไม


ลักษณะของเครื่องขยายเสียงที่ดี o o o o o o o o o o

มีชองรับสัญญาณเขาหลายวงจรและหลายชอง เพื่อสามารถเลือกใชใหเหมาะสม มีกําลังขยายสูง โดยที่ไมมีเสียงเพีย้ น (Distortion) และเสียงฮัม (Hum) สามารถขยายเสียงไดทุกชวงความถี่ของเสียง ตั้งแต 20 - 20,000 ไซเคิลอยางสม่ําเสมอ ใหความไพเราะ ชัดเจน (high fidelity) สามารถปรับเสียงทุมและเสียงแหลมไดมาก สามารถเคลื่อนยายสะดวก สามารถตอเขากับเครื่องมืออื่นๆ ที่นิยมใชกนั ทั่วไปไดสะดวก บํารุงรักษาและซอมแซมงาย มีความทนทานและปลอดภัยในการใช มีจุดสําหรับสัญญาณออกทีจ่ ะเลื่อนใหเหมาะกับความตานทานของลําโพงหลายชุด


ภาคสัญญาณออก (Output Signal) ภาคสัญญาณออก (Output Signal)เปนภาคที่ทําหนาที่รับสัญญาณไฟฟา ความถี่เสียงที่ไดรับ การ ขยาย จากภาคขยายสัญญาณ (Amplifier) นํามาเปลี่ยน เปนคลื่นเสียง อุปกรณ ของภาคสัญญาณออก ไดแก ลําโพง ภาคสัญญาณออก เปนภาคที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟาความถี่เสียง เปนพลังงานเสียง ซึ่งไดแก ลําโพง ลําโพงมีการแบงประเภท ไดหลายลักษณะ เชน การแบงตามลักษณะ โครงสรางภายในของลําโพง การแบง ตามลักษณะ การตอบสนองความถี่ของคลื่นเสียง การแบงตามลักษณะการใชงาน

ชนิดของลําโพง การแบงลําโพงตามลักษณะการตอบสนองความถี่ของคลื่นเสียง 3 ชนิด คือ 1. ลําโพงเสียงทุม (Woofer) เปนลําโพงกรวยกระดาษแบบไดนามิก ขนาดใหญ มีเสนผาศูนยกลาง ตั้งแต 6 นิ้วขึ้นไป มีความไวตอการสั่นสะเทือน ตอบสนองความถี่เสียงในชวง 20 - 250 Hz 2. ลําโพงเสียงกลาง (Midrange / Squawked) เปนลําโพงที่ตอบสนอง ความถี่ในชวงกลางๆ เปนลําโพง กรวยกระดาษ แบบไดนามิก เสนผาศูนยกลาง 4 &ndash 6 นิ้ว ตอบสนองความถี่เสียงในชวง ประมาณ 500 - 5,000 Hz 3. ลําโพงเสียงแหลม (Tweeter) เปนลําโพงกรวยรูปโดม ขนาดเล็ก แบบไดนามิก ซึ่งมีเสียงแหลม ตอบสนองความถี่ประมาณ 5,000 Hz ขึ้นไป มีเสนผาศูนยกลางประมาณ 2 - 3 นิ้ว


การแบงลําโพงตามลักษณะการใชงาน ได 3 ประเภท คือ 1. ลําโพงใชภายในอาคาร (Indoor speaker) ใชติดตั้งภายในอาคาร สวนมากนิยมใชเปนลําโพง กระดาษเพื่อใหไดเสียงที่ชัดเจนนุมนวล เนื่องจากการฟงเสียงภายในอาคารหากมีเสียงไมนุมนวล หรือมีเสียงแทรกอาจทําใหเสียสมาธิในการฟงได ลําโพงที่ใชภายในอาคารนี้นิยมใชเปนลําโพงตู อาจเปนแบบตัง้ โตะ ติดผนัง หรือเปนแบบฝงไวบนฝาเพดานเลยก็มี 2. ลําโพงใชภายนอกอาคาร (Outdoor speaker) โดยมากมักเปนลําโพงที่มีแผนสั่นเปนพวกโลหะหรือ ไฟเบอร เพื่อใหความคมชัดของเสียงสูง สามารถสงกระจายเสียง ไปใหผูฟงที่อยูไกลๆ ไดยินได แตผูฟงที่อยูใกลจะรําคาญเสียงที่ออกมา ลําโพงประเภทนี้เปน ลําโพงที่มีความแข็งแรงทนแดดทนฝน อันไดแก ลําโพงปากแตร หรือลําโพงฮอรน (Horn) 3. ลําโพงใชภายในและภายนอกอาคาร เปนลําโพงที่สามารถใชไดทั้งภายในและภายนอกอาคาร ซึ่ง มิไดเนนใหมีเสียงและความคงทนที่ดีมาก แตเนนเปนกลางๆ สวนใหญจะมีเสียงกลาง (Midrange) ใสในตูลําโพงรูปยาวๆ หรือสูง ประมาณ 4 - 12 ตัว เหมาะสําหรับงานโฆษณา การกระจายเสียง ใช ในหองประชุมใหญ เปนตน การตอลําโพงเขากับเครื่องขยายเสียง เครื่องขยายเสียงจะมีจุดตอสัญญาณออก อยูดานหลังของเครื่องฯ อาจมีหลายลักษณะ แตลักษณะ หนึ่งที่นยิ ม ใชจะเปนลักษณะที่มี จํานวน โอหม มาใหเลือกตอ เพื่อความเหมาะสม ระหวางตัวลําโพงกับ เครื่องขยายเสียง การตอลําโพงอาจแบงเปน 2 วิธี คือ การตอลําโพงตัวเดียว และการตอลําโพงหลายตัว การตอลําโพงตัวเดียว การตอลําโพงตัวเดียวเปนการตอตรง เชน ลําโพงมีคาความตานทาน 8 โอหม ก็ใหตอสายเสนหนึ่ง ของลําโพงเขากับ 0 โอหม อีกเสนตอที่ 8 โอหม


การตอลําโพงหลายตัว การตอลําโพงหลายตัวกับเครื่องขยายเสียงอาจกระทําได 3 วิธี คือ การตอแบบอนุกรม การตอแบบ ขนาน และการตอแบบผสม ซึ่งการตอแตละแบบมีความจําเปนตองรูจกั คิดคํานวณคา ความตานทานกับ พลังงานไฟฟาความถี่เสียงทีอ่ อกมาจากเครือ่ งขยายเสียง ดังนี้

1. การตอแบบอนุกรม เปนวิธีที่งายทีส่ ุด แตหากมีลําโพงตัวหนึ่ง ตัวใดชํารุดจะทําใหลําโพง ทุกตัวเงียบหมด เนื่องจาก การ ตัดตัวเชื่อมตอ ของวงอนุกรม นั่นเอง สูตรในการคิดการตอแบบอนุกรม คือ

หากมีลําโพง 3 ตัว คือ 8 , 8 , 16 จะคํานวณได การตอโดยการนําเสนหนึ่งของลําโพง ตอที่ 0 โอหม อีกเสนตอที่ 32 โอหม


2. การตอแบบขนาน เปนวิธีการตอนิยมมาก เนื่องจากหากลําโพงตัวใดตัวหนึ่งชํารุดตัวที่เหลือยังคงใชงานไดตามปกติ หากมีลําโพง 2 ตัว คือ 8 , 8 จะคํานวณได สูตรในการคิดการตอแบบขนาน คือ

นําคาของการตอแบบอนุกรมมาคิดการตอแบบขนานรวมกับตัวที่เหลืออีกหนึ่งตัว การตอโดยการนําเสนหนึ่งของลําโพง ตอที่ 0 โอหม อีกเสนตอที่ 4 โอหม

3. การตอแบบผสม เปนการใชการตอลําโพงแบบอนุกรมและแบบขนานรวมกัน สําหรับสูตร ในการคิดคํานวณ ใหคดิ คา ของความตานทาน ของการตอลําโพงแบบอนุกรมกอน แลวจึงนํามาตอลําโพงแบบขนาน เชน มีลาํ โพง 3 ตัว สองตัวมีความตานทานตัวละ 4 โอหม นํามาตอแบบอนุกรม และ อีกตัวเปน 8 โอหม นํามาตอเขากับ สองตัวแรกแบบขนาน หาคาความตานทานวา เปนจํานวนทั้งสิ้นกี่โอหม


สูตรในการคิดการตอแบบอนุกรม คือ

หากมีลําโพง 2 ตัว คือ 4 , 4 จะคํานวณได

นําคาของการตอแบบอนุกรมมาคิดการตอแบบขนานรวมกับตัวที่เหลืออีกหนึ่งตัว

ดังนั้นหลังจากคิดคํานวณไดจะตอโดยการนําเสนหนึ่งของลําโพง ตอที่ 0 โอหม อีกเสนตอที่ 4 โอหม นั่นเอง


สรุป สื่อการสอนประเภทอุปกรณ หรือ โสตทัศนูปกรณมหี นาที่หลักคือ ฉายเนื้อหาภาพที่เปนภาพใหมี ขนาดใหญ และขยายเสียงใหดังขึ้น ไดแกเครื่องฉาย เครื่องอุปกรณแปลงสัญญาณ และเครื่องเสียง เครื่องฉายที่ใชในวงการศึกษา ปจจุบันมีหลายชนิด เชน เครื่องฉายขามศีรษะ เครื่องฉายสไลด เครื่องฉายแอลซีดี และเครื่องฉายดีวดี ี เปนตน โดยเครื่องฉายมีสวนประกอบที่สําคัญ ไดแก หลอดฉาย แผนสะทอนแสง เลนสรวมแสง แผนกรองความรอน เลนสฉาย เลนสเกลี่ยแสง พัดลม เครื่องอุปกรณแปลงสัญญาณเปนเครื่องทีไ่ มสามารถใชงานไดดว ยตัวของมันเองได ตองตอพวงกับ อุปกรณเครื่องฉายหรือเครื่องเสียง เชน เครื่องวิชวลไลเซอร เครื่องเลนวีดีทัศน เครือ่ งเลนวีซีดี และเครื่อง เลนดีวดี ี เปนตน เครื่องเสียงมีหนาที่รับเสียง ขยายเสียง และสงออก สวนประกอบของการขยายเสียง ที่สําคัญ ประกอบดวย ภาคสัญญาณเขา ไดแก ไมโครโฟน ภาคขยายเสียง ไดแกเครื่องขายเสียง และภาคสัญญาณ ออก ไดแก ลําโพง


บรรณานุกรม http://www.edu.nu.ac.th/wbi/355201/Index.html http://pookpik30-7.blogspot.com/ http://sps.lpru.ac.th/script/show_article.pl?mag_id=5&group_id=23&article_id=194 http://www.ipecp.ac.th/wbi/ed-techno/program/unit8/page5.html


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.