ไฟฟ้าสาร ปีที่ 19 ฉบับที่ 6 พ.ย.-ธ.ค.55

Page 87

NA – จ�ำนวนผูใ้ ช้ไฟทัง้ หมดทีไ่ ด้รบั ผลกระทบอย่างน้อย 1 ครั้ง (Number of Customers Affected) NMi – จ�ำนวนผู้ใช้ไฟที่ถูกกระทบเนื่องจากไฟดับแบบ ชั่วครู่แต่ละครั้ง Li – ขนาดโหลด kVA จากหม้อแปลงที่ถูกกระทบ เมื่อเกิดไฟดับแต่ละครั้ง LT – ขนาดโหลด kVA ของหม้อแปลงทัง้ หมดในระบบ

2. นิยามที่เกี่ยวข้องในการค�ำนวณค่าดัชนี

เหตุการณ์ไฟดับชั่วครู่ที่นิยมในปัจจุบันมีอยู่ 2 ค่าคือ 1 นาที และ 5 นาที โดยการนิยามระยะเวลาไฟดับชั่วครู่ ให้มีค่ามาก ๆ นั้นจะส่งผลให้ค่าดัชนี SAIFI ที่คำ� นวณ ได้มคี า่ น้อยกว่าการนิยามระยะเวลาไฟดับชัว่ ครูท่ นี่ อ้ ยกว่า ตัวอย่างค่าระยะเวลาไฟดับชัว่ ครูท่ ไี่ ด้มกี ารนิยามไว้ ในบางประเทศได้แสดงไว้ในตารางที่ 2.1 ตารางที่ 2.1 ค่าระยะเวลาไฟดับชั่วครู่ ที่ได้มีการนิยามไว้ในบางประเทศ

การค� ำ นวณค่ า ดั ช นี ค วามเชื่ อ ถื อ ได้ ข องระบบ ประเทศ ระยะเวลาที่ก�ำหนด ไฟฟ้าในแต่ละประเทศนั้น อาจมีการให้ค�ำจ�ำกัดความที่ ไทย 1 นาที แตกต่างกัน ซึ่งนิยามที่มักส่งผลกระทบให้ผลการค�ำนวณ ลาว 1 นาที ค่าดัชนีของการไฟฟ้าแต่ละแห่งมีความแตกต่างกัน ได้แก่ มาเลเซีย 1 นาที “เหตุการณ์ไฟดับชั่วครู่ (Momentary Interruption)” ออสเตรเลีย 1 นาที และ “เหตุการณ์ไฟดับใหญ่ (Major Event)” โดยจาก อินโดนีเซีย 5 นาที สถิ ติ ที่ ไ ด้ จ ากการส� ำ รวจผลการค� ำ นวณ SAIFI ของ สหรัฐอเมริกา 1 นาที หรือ 5 นาที การไฟฟ้าหลายแห่งในประเทศสหรัฐอเมริกาในปี 1990 อินเดีย 5 นาที ปี 1995 และปี 1998 พบว่า การนับรวมจ�ำนวนครัง้ ไฟดับ ชั่วครู่ในการค�ำนวณดัชนี SAIFI จะท�ำให้ค่า SAIFI สูง ฟิลิปปินส์ 10 นาที ขึ้นราว 3 เท่า และจากสถิติย้อนหลังในการค�ำนวณค่า SAIDI กรณีนบั รวมและไม่นบั รวมเหตุการณ์ไฟดับใหญ่ใน 2.2 ไฟดับใหญ่ ประเทศแคนาดา ประเทศอิตาลี และประเทศออสเตรเลีย เหตุการณ์ไฟดับใหญ่ (Major Event) หมายถึง พบว่าการนับรวมเหตุการณ์ไฟดับใหญ่ในการค�ำนวณค่า เหตุการณ์ไฟดับถาวรที่มีระดับความรุนแรงเกินกว่าที่ได้ ดัชนี SAIDI จะท�ำให้ค่า SAIDI สูงกว่ากรณีไม่นับรวม ออกแบบระบบไว้ (A catastrophic event that exceeds ประมาณ 10-30% the design limits of the power system) ซึ่งเหตุการณ์ ดังกล่าวจะได้รับการยกเว้นและไม่ถูกน�ำมาคิดรวมในการ 2.1 ไฟดับชั่วครู่ ค�ำนวณค่าดัชนี SAIFI และ SAIDI บางการไฟฟ้าที่ไม่ได้ ไฟดั บ ชั่ ว ครู ่ (Momentary Interruption) มีการนิยามเหตุการณ์ดงั กล่าวไว้กจ็ ะคิดรวมเหตุการณ์ไฟ คื อ เหตุ ก ารณ์ ไ ฟดั บ ที่ มี ร ะยะเวลาไม่ เ กิ น ที่ ก� ำ หนด ดับที่เกิดขึ้นทั้งหมด ซึ่งส่งผลกระทบท�ำให้ค่าดัชนี SAIFI ซึง่ เหตุการณ์ไฟดับชัว่ ครูจ่ ะไม่นำ� มานับรวมในการค�ำนวณ และ SAIDI ที่ ค� ำ นวณได้ มี ค ่ า มากกว่ า การไฟฟ้ า ที่ มี ดั ช นี SAIFI แต่หากเหตุก ารณ์ใดมีระยะเวลาไฟดับ การยกเว้นไม่นำ� เหตุการณ์ไฟดับใหญ่มาพิจารณา เกิ น กว่ า ที่ ก� ำ หนดจะถื อ ว่ า เป็ น เหตุ ก ารณ์ ไ ฟดั บ ถาวร มาตรฐาน IEEE 1366-2003 Annex B : Major (Sustained Interruption) ซึ่งจะนับรวมในการค�ำนวณค่า events definition development ได้อธิบายวิธีการใน ดัชนี SAIFI และ SAIDI ด้วย การให้ค�ำนิยามของเหตุการณ์ไฟดับใหญ่ โดยพิจารณา การให้ค�ำจ�ำกัดความของเหตุการณ์ไฟดับชั่วครู่ จากการแจกแจงข้อมูลสถิติดัชนี SAIDI ในช่วงเวลา 5 ปี นั้นแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ ทั้งนี้ IEEE ก�ำหนด พัฒนาเป็นวิธีการที่เรียกว่า “Two Point Five Beta” ซึ่ง ระยะเวลาของเหตุการณ์ไฟดับชัว่ ครูใ่ ห้ขนึ้ อยูก่ บั แบบแผน ผลการนิยามทีไ่ ด้ตามวิธกี ารดังกล่าวอาจจะแตกต่างกันไป การท�ำงานของอุปกรณ์ปอ้ งกันอัตโนมัตใิ นระบบ (Automatic ในแต่ละประเทศ นอกจากนีก้ ย็ งั มีบทความวิจยั ต่าง ๆ ทีไ่ ด้ Reclosing Schemes) ซึ่ ง ค่ า ระยะที่ ก� ำ หนดส� ำ หรั บ มีการปรับปรุงวิธีการหาค่า MEDs (Major Event Days) ให้เหมาะสมกับข้อมูลที่อยู่ของประเทศนั้น ๆ เองอีกด้วย

ร า ส า ้ ฟ ไฟ พฤศจิกายน - ธันวาคม 2555

85


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.