ไฟฟ้าสาร ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 มี.ค.-เม.ย.56

Page 86

3.2 เกณฑ์การพิจารณาการติดตั้งโรงไฟฟ้าฟาร์ม กังหันลม หลักเกณฑ์ในการพิจารณาการพัฒนาโครงการ โรงไฟฟ้าฟาร์มกังหันลมนอกชายฝั่งทะเล แบ่งออกเป็น 5 ด้านด้วยกัน ดังนี้ 1. ทรัพยากรลม (Wind Resource) และปัจจัยทาง อุตุนิยมวิทยาอื่น ๆ 2. การใช้ประโยชน์พนื้ ทีท่ างทะเล (Offshore Area Usage) 3. เทคโนโลยีกังหันลมผลิตไฟฟ้านอกชายฝั่งทะเล (Offshore Wind Turbine Technology) 4. ก�ำลังการผลิตติดตั้ง (Installed Capacity) 5. ต้นทุนโครงการ (Project Cost)

ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 4 แนวปะการัง

รูปที่ 5 พื้นที่แหล่งส�ำรวจปิโตรเลียม

84

3.2.1 ทรัพยากรลม (Wind Resource) และ ปัจจัยทางอุตุนิยมวิทยาอื่น ๆ ทรัพยากรลมเป็นปัจจัยที่มีความส�ำคัญอย่างยิ่ง ส� ำ หรั บ การพั ฒ นาโครงการโรงไฟฟ้ า ฟาร์ ม กั ง หั น ลม เนื่องจากโครงการโรงไฟฟ้าฟาร์มกังหันลมเป็นโครงการ ขนาดใหญ่ที่อาศัยเงินลงทุนจ�ำนวนมาก และผลตอบแทน ของโครงการเกิ ด จากการจ� ำ หน่ า ยไฟฟ้ า ที่ ผ ลิ ต ได้ จ าก พลังงานลมนอกชายฝัง่ ทะเล ซึง่ การทีเ่ ทคโนโลยีกงั หันลม นอกชายฝั่งทะเลจะสามารถผลิตไฟฟ้าได้ปริมาณมาก หรือน้อย จะขึน้ อยูก่ บั ศักยภาพของพลังงานลมนอกชายฝัง่ ทะเลเป็นหลัก แหล่งลมดีจะหมายถึงแหล่งลมที่มีสมบัติ ดังต่อไปนี้ • มีอัตราเร็วลมเฉลี่ยตลอดทั้งปีสูง (มากกว่า Cut-In Speed แต่น้อยกว่า Cut-Out Speed) • ลมมีความต่อเนื่อง (Low Intermittent) • ลมมีความปั่นป่วนต�่ำ (Low Turbulence Intensity) • มีช่วงลมสงบต�ำ่ (Low Calm) โดยมี ป ั จ จั ย ทางด้ า นเทคโนโลยี กั ง หั น ลมผลิ ต ไฟฟ้านอกชายฝั่งทะเลเป็นปัจจัยเสริม และปัจจัยทาง อุตุนิยมวิทยาอื่น ๆ ได้แก่ ปัจจัยทางด้านบวก เช่น อุณหภูมิของอากาศ โดยอุณหภูมิของอากาศจะสัมพันธ์ กับความหนาแน่นของลมที่พัดผ่านกังหันลม โดยอากาศ ที่มีอุณหภูมิต�่ำกว่าจะมีความหนาแน่นสูงกว่าและจะส่ง


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.