ไฟฟ้าสาร ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 มี.ค.-เม.ย.56

Page 41

(ACSR) แล้ว พบว่าสายตัวน�ำไฟฟ้าชนิด HTLS สามารถ ข้อสรุป หากพิ จ ารณาเทคนิ ค การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพใน เพิ่มประสิทธิภาพในการส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าได้สูงกว่า การส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้า ภายใต้ข้อจ�ำกัดในเรื่องของ สายตัวน�ำไฟฟ้าแบบเดิมดังตารางที่ 1 พื้นที่ Right of way และระยะห่างความปลอดภัยแล้ว ตารางที่ 1 แสดงประสิทธิภาพในการส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้า การเปลีย่ นไปใช้สายตัวน�ำไฟฟ้าชนิด HTLS จะมีความคุม้ ค่า ของสายตัวน�ำไฟฟ้าชนิด HTLS เมื่อเทียบกับแบบ ACSR มากกว่าวิธีการอื่น ๆ เนื่องจากสามารถใช้สายตัวน�ำไฟฟ้า ชนิด HTLS ที่มีขนาดพื้นที่หน้าตัดเท่ากันกับสายตัวน�ำ สายตัวน�ำไฟฟ้าชนิด % ประสิทธิภาพในการส่งจ่าย ไฟฟ้ า แบบเดิ ม ติ ด ตั้ ง ใช้ ง านบนโครงสร้ า งและอุ ป กรณ์ HTLS พลังงานไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นจากเดิม ประกอบแบบเดิ ม ได้ โ ดยไม่ ต ้ อ งมี ก ารดั ด แปลงแก้ ไ ข ACSS, GZTACSR 130-245 มากนัก แต่สามารถส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าได้มากขึน้ กว่าเดิม ZTACIR 175-200 ตั้งแต่ 1.3-3.0 เท่า โดยที่ยังคงรักษาระยะหย่อนให้อยู่ใน ACCR 180-300 เกณฑ์มาตรฐาน เนื่องจากมีสัมประสิทธิ์การขยายตัวทาง ACCFR 180-260 ความร้อนที่ตำ�่ ที่อุณหภูมิการใช้งานสูง ๆ และยังเป็นทาง หากใช้วิธี HVDC จะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพใน เลือกที่ดีในการน�ำไปใช้ส�ำหรับการก่อสร้างระบบสายส่ง การส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าได้ 141%-175% ของระบบไฟฟ้า และสายจ� ำ หน่ายใหม่ เนื่องจากสายตัวน� ำ ไฟฟ้ า ชนิ ด เดิม และถึงแม้วา่ HVDC จะใช้สายตัวน�ำไฟฟ้าเพียง 2 เส้น HTLS มีศักยภาพในการรับแรงดึงทางกลได้ดี จึงสามารถ ในการส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้า แต่ในทางเทคนิคแล้วจ�ำเป็น ออกแบบให้ระยะห่างของช่วงเสามีระยะห่างเพิ่มขึ้นได้ ต้องสร้าง Converter ทั้งสองด้านของปลายสายส่งและ ซึง่ จะช่วยให้ใช้จำ� นวนเสาไฟฟ้าและอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ เพื่อความมั่นคงของระบบไฟฟ้า จ�ำเป็นต้องเปลี่ยนวิธีการ น้อยลง จับยึดสายตัวน�ำไฟฟ้าโดยใช้ลกู ถ้วยฉนวนไฟฟ้าติดตัง้ เป็น แบบ V ซึ่งต้องใช้ลูกถ้วยฉนวนไฟฟ้าเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า เอกสารอ้างอิง [1] Makan Anvari, Farzad Razavi, Ali Akbar Nazari “Electrical จึงท�ำให้มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นประมาณ 12.5 เท่า เมื่อเทียบ and Economic Study of Apply the ACSS Conductor in TREC กับระบบไฟฟ้าแบบเดิม Sub-transmission Network”, 2013

ร า ส า ้ ฟ ไฟ [2] Dr.Hendri Geldenhuys & Mr. Rossouw Theron “HTLS and HVDC solutions for overhead lines uprating” [3] D.M.Larruskain, I. Zamora, O. Abarrategui, A Iraolagoitia “Power transmission capacity upgrade of overhead lines” ประวัติผู้เขียน

รูปที่ 8 ระบบส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าแบบ HVDC

นายกิตติกร มณีสว่าง ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น และปริญญาโท จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปัจจุบัน ท� ำ งานในต� ำ แหน่ ง หั ว หน้ า แผนกวิ จั ย อุปกรณ์ไฟฟ้า กองวิจัย ฝ่ายวิจัยและ พัฒนาระบบไฟฟ้า การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ส�ำนักงานใหญ่

รูปที่ 9 เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการส่งจ่ายพลังงาน ไฟฟ้าและค่าใช้จ่ายในแต่ละเทคนิค มีนาคม - เมษายน 2556

39


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.