รายงานออกแบบฟอนต์ลายมือ

Page 1


รายงาน เรื่อง ออกแบบฟอนต์ลายมือไทย-อังกฤษ จากโปรแกรม Font creator รายวิชา ARTD2304 ออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ กลุ่มเรียน 101

จัดทาโดย นางสาว ดิศรามาศ ดวงกระโทก รหัส 5411307324

เสนอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


คานา รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ ARTD2304 โดยมีจุดประสงค์ เพื่อการศึกษาความรู้ทั่วไปในเรื่องของการออกแบบตัวอักษรตัวหนา ตัว เอน และการปรับน้าหนักของแต่ละตัวอักษรให้มีน้าหนักเท่ากัน จากโปรแกรม Font creator ซึ่งรายงานฉบับนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้จากการปรับตัวอักษรแต่ละตัวให้มีความ หนาความเอน และตัวอย่างขั้นตอนการทางานต่างๆ ผู้จัดทาได้เลือก หัวข้อนี้ในการทา รายงาน เนื่องมาจากเป็นเรื่องที่น่าสนใจและสอดคล้องกับการออกแบบตัวอักษร ผู้จัดทาจะต้องขอขอบคุณ ผศ.ประชิด ทิณบุตร ผู้ให้ความรู้ และแนวทาง การศึกษา และคาปรึกษาในการทารายงานฉบับนี้มาโดยตลอด ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผู้ศึกษาทุกท่านจะได้รับประโยชน์จากการศึกษา จากรายงานเล่มนี้ไม่มากก็น้อยหากมี ข้อบกพร่องประการใด ผู้จัดทาขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

นางสาว ดิศรามาศ ดวงกระโทก ผู้จัดทา


สารบัญ เรื่อง

หน้า

คานา

กระบวนการทางาน -Goal เป้าหมาย -Tools เครื่องมือหลัก

1 1-2

Do Did Done -Do....มีขั้นตอนและหลักฐานแสดง ขั้นตอนการปรับน้าหนักตัวอักษรให้เท่ากัน ขั้นตอนการปรับ Bold อักษรตัวหนา ขั้นตอนการปรับ Italic ตัวอักษรเอน ขั้นตอนการปรับ Bold Italic ตัวอักษรหนาเอน -Did... ผลที่ได้รับ ทดสอบการพิมพ์ Regular ทดสอบการพิมพ์Italic ทดสอบการพิมพ์Bold ทดสอบการพิมพ์Bold Italic -Done...ได้นาไปทดสอบ-สร้าง-ประยุกต์-ใช้ประโยชน์ ตัวอย่างงาน

3-7 8-9 10-11 12 13-16 17-18 18-19 20-21 21-22 23 24


1

กระบวนการทางาน 1.Goal เป้าหมาย เป้าหมายของรายงานนี้คือ ฟอนต์ลายมือ ภาษาไทย-อังกฤษที่สมบูรณ์

2.Tools เครื่องมือหลัก - คอมพิวเตอร์

-โปรแกรม Font creator


2

-ฟอนต์ลายมือ ภาษาไทย-อังกฤษ จากโปรแกรม Font creator


3

3.Do Did Done -Do.. .มีขั้นตอนและหลักฐานแสดง ขั้นตอนที่ 1 เปิดไฟล์งานฟอนต์ลายมือในโปรแกรม Font creator โดยไปที่ File>Open>font flie เมื่อเปิดขึน้ มาให้ไปเปลีย่ นชื่อผูอ้ อกแบบที่ Fomat > Naming

เปลี่ยนชื่อ Font ในแต่ละช่องให้เรียบร้อยตามภาพ ดังนี้


4

ขั้นตอนที่ 2 เมื่อเปลี่ยนชื่อเรียบร้อยต่อไปเป็นการปรับตัวอักษรแต่ละ ตัวในมีน้าหนักของความหนาบางเท่าๆกันโดยตรวจสอบที ละตัว เพราะตัวอักษรบางตัวอาจมีความหนามากกว่าตัวอื่นๆ หากปรับทัง้ หมดทีเดียวอาจจะทาให้ตัวอักษรมีปัญหาเรื่อง ค่าน้าหนักเมื่อน้าไปพิมพ์ เช่น การตรวจสอบตัวอักษร ก ดังรูป จะสังเกตเห็นได้ว่าตัว ก จะมีความหนาที่มากกว่าตัวอักษรอื่นๆ ตัวอย่างภาพการทดสอบการพิมพ์โดย font>test


5

หลังจากนั้นให้ลองสังเกตดูว่าความหนาของเส้นตามแนวตั้งกับเส้นตามแนวนอนมีขนาด เท่ากันหรือไม่ ถ้าไม่เท่าให้ปรับให้เท่ากันและดึงขาแขนของตัวอักษรให้เรียบร้อย

ในกรณีที่ตวั อักษรมีความหนามากกว่าตัวอื่นๆให้เข้าไปที่แล้วไปที่ Tool> Glyph Tranfromer >ไปที่ Effects >Thin แล้วปรับให้ตัวอักษรบางลงโดย Horizontal = แนวนอน Vertical = แนวตั้ง ความแตกต่างระหว่างก่อน ปรับค่าน้าหนัก

หลังปรับค่าน้าหนักให้บางลง


6

แต่ถ้าในกรณีท่ตี ัวอักษรมีความบางมากจนเกินไปตัวอื่นๆให้เข้าไปที่แล้วไปที่ Tool> Glyph Tranfromer >ไปที่ Effects >Bold แล้วปรับให้ตัวอักษรบางลงโดย Horizontal = แนวนอน Vertical = แนวตั้ง

จะได้ตัวอักษรที่ออกมาเป็นลักษณธดังรูป ปรับค่าน้าหนัก

หลังปรับค่าน้าหนักให้มีความหนาขึ้น


7

ขั้นตอนที่ 3 ให้ไปเปลี่ยนชือ่ ผู้ออกแบบชือ่ Font และชนิดของ Font โดยไปคลิกที่ Fomat > Naming ในแต่ละช่องให้เรียบร้อยตามภาพ ดังนี

จากนั้นลองตรวจสอบการพิมพ์โดยไปที่ font>test เพื่อทดสอบการพิมพ์ ตรวจสอบระยะ ช่องไฟของแต่ละอักษรให้เรียบร้อย แล้ว Save ชื่อให้ตรงกับแบบตัวอักษรที่ทา


8

ขั้นตอนการปรับตัวอักษรฟอนต์ลายมือให้มีตัวหนาและเอน

Bold อักษรตัวหนา ขั้นตอนที่ 1 เปิดไฟล์งานฟอนต์ลายมือในโปรแกรม Font creator โดยไปที่ File>Open>font flie เมื่อเปลี่ยนชื่อเรียบร้อยต่อไปเป็นการปรับตัวอักษรให้มีความหนาขึ้นเริ่มจาก กด CTRL+A แล้วไปที่ Tool> Glyph Tranfromer >ไปที่ Effects > Bold แล้วปรับความหนาโดย Horizontal = แนวนอน Vertical = แนวตั้ง

ขั้นตอนที่3 เมื่อปรับความหนาของตัวอักษรเรียบร้อยแล้วให้ตรวจสอบตาแหน่ง ระยะห่าง หน้าหลัง ความสูง ของตัวอักษรโดย font>test เพื่อทดสอบการพิมพ์ ตรวจสอบระยะช่องไฟของแต่ ละอักษร


9

ขั้นตอนที่ 4 จากนั้นกดบันทึกที่ Save as แล้วเปลี่ยนชื่อไฟล์งานให้ตรงกับแบบอักษรของเรา


10

Italic ตัวอักษรเอน ขั้นตอนที่ 1 เมื่อเปลี่ยนชื่อเรียบร้อยต่อไปเป็นการปรับตัวอักษรให้เอนขึ้น เริ่มจาก กด CTRL+A แล้วไปที่ Tool> Glyph Tranfromer>outline>Skew

ขั้นตอนที่2 เมื่อปรับความเอนของตัวอักษรเรียบร้อยแล้วให้ตรวจสอบตาแหน่ง ระยะห่าง หน้าหลัง ความสูง ของตัวอักษรโดย font>test เพื่อทดสอบการพิมพ์ ตรวจสอบระยะช่องไฟของแต่ ละอักษร


11

ขั้นตอนที่ 3 จากนั้นกดบันทึกที่ Save as แล้วเปลี่ยนชื่อไฟล์งานให้ตรงกับแบบอักษรของเรา


12

Bold Italic ตัวอักษรหนาเอน ขั้นตอนที่ 1 เมื่อเปลี่ยนชื่อเรียบร้อยต่อไปเป็นการปรับตัวอักษรให้มคี วามหนาและเอนขึ้น เริ่มจาก กด CTRL+A แล้วไปที่ Tool> Glyph Tranfromer>outline>Skewกดอีกครั้งที่ Effects>Bold แล้วตั้งค่าความหนาเอนตามที่ต้องการ

ขั้นตอนที่ 2 เมื่อปรับความหนาและความเอนของตัวอักษรเรียบร้อยแล้วให้ตรวจสอบตาแหน่ง ระยะห่าง หน้า-หลัง ความสูง ของตัวอักษรโดย font>test เพื่อทดสอบการพิมพ์ ตรวจสอบ ระยะช่องไฟของแต่ละอักษร

ขั้นตอนที่ 3 จากนั้นกดบันทึกที่ Save as แล้วเปลี่ยนชื่อไฟล์งานให้ตรงกับแบบอักษรของเรา

-Did.. ผลที่ได้รับคือ ฟอนต์ลายมือ ภาษาไทย-อังกฤษ –Bold –Italic –Bold Italic


13

Regular


14

Bold


15

Italic


16

Bold Italic


17

ทดสอบการพิมพ์ Regular ชื่อ CRU-dissaramas-Hand-Written-Regular ประเภทของไฟล์ตัวพิมพ์ OpenType Layout, TrueType Outlines ออกแบบโดย นางสาว ดิศรามาศ ดวงกระโทก รหัสนักศึกษา 5411307324 วิชาออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ ARTD2304 กลุ่มเรียน 101 สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม กรุงเทพมหานคร ตัวอย่างรูปแบบตัวอักขระภาษาลาติน(Latin Characters) ได้แก่ ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ0123456789 abcdefghijklmnopqrstuvwxyz!@#%^&*()_+|{}[]:"<>?;'",./\*-.=;' ตัวอย่างรูปแบบตัวอักขระภาษาไทย(Thai Characters) ได้แก่ กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฒณดตถทธนบปผฝพฟภมยรฤลฦวศษสหฬอฮ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙ ๆๅ฿อะอาอุึออู ิอีอึอือ่อ้อ๊ออ๋ ์อาเแโใไ? ข้อความสาหรับการทดสอบการพิมพ์รับคาสั่งพิมพ์ และเพื่อแสดงตาแหน่งการพิมพ์รูปอักขระที่ ออกแบบ-จัดช่องว่าง ช่องไฟระหว่างรูปอักขระและระหว่างคา ทั้งชุดคือภาษาอังกฤษกับภาษาไทย In typography, a font is traditionally defined as a quantity of sorts composing a complete character set of a single size and style of a particular typeface. For example, the complete set of all the characters for “9-point Bulmer” is called a font, and the “10-point Bulmer” would be another separate font, but part of the same font family, whereas “9-point Bulmer boldface” would be another font in a different font family of the same typeface. One individual font character might be referred to as a “piece of font” or a “piece of type”.Font nowadays is frequently used synonymously with the term typeface, although they had clearly understood different meanings before the advent of digital typography and desktop publishing. ในทางวงการพิมพ์น้นั กล่าวถึงฟ้อนต์โดยทั่วไปว่า หมายถึงตัวอักษรที่ใช้เป็นแบบตัวเรียงพิมพ์ เนื้อหา ที่มีขนาดและรูปแบบเป็นชุดเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่นแบบตัวอักษรที่ใช้ในการเรียงพิมพ์ เนื้อหาที่ท่านกาลังอ่านอยู่นี้ มีชื่อแบบตัวอักษรชุดนี้ว่า บางพูด(Bangpood) ที่ประกอบด้วยรูป อักขระ(Glyphs) ของตัวพยัญชนะ (Consonants) สระ(Vowels) วรรณยุกต์ (Tones) เครื่องหมายสัญลักษณ์(Signs and Symbols) วรรคตอน(Punctuation) อักษรภาษาไทย ภาษาอังกฤษ


18

คากลอนไทยสาหรับใช้พมิ พ์ทดสอบผลการออกแบบ แสดงโครงสร้างของตัวอักษร การจัดระดับ ตาแหน่งรูปพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ เครื่องหมายวรรคตอน การจัดระยะช่องไฟรอบรูปอักขระ หรือฟ้อนต์สว่ นภาษาไทย ที่สร้าง บันทึก ติดตั้ง และหรือทดสอบในโปรแกรมฟ้อนต์ครีเอเตอร์ และัหรือด้วยโปรแกรมประยุกต์อื่นๆในระบบ เขามักใช้คากลอนนี้ ให้นักศึกษาคัดลอกไปวาง เปลี่ยนเป็นฟ้อนต์ที่เราทา ตรวจสอบระยะช่องไฟกั้นหน้า-หลัง การประสมคาตาแหน่งสระและ วรรณยุกต?ว่าตรงตาแหน่งตามหลักไวยกรณ์ของไทยหรือใหม่และบันทึกเป็นหลักฐานแสดงใน รายงาน ภาษาอังกฤษให้ตรวจสอบดูด้วยตาเองว่าระยะเป็นอย่างไร แล้วไปแก้ไขในตาราง ฟ้อนต์ และทดสอบใหม่ซ้าๆ จนแน่ใจว่าเป็นระยะและตาแหน่งที่ถูกต้องแล้ว คากลอนตรวจสอบแบบตัวอักษร ตาแหน่งพิมพ์ผสมคาไทย "เป็นมนุษย์สดุ ประเสริฐเลิศคุณค่า กว่าบรรดาฝูงสัตว์เดรัจฉาน จงฝ่าฟันพัฒนาวิชาการ อย่าล้างผลาญ ฤๅเข่นฆ่าบีฑาใคร ไม่ถือโทษโกรธแช่งซัด ฮึดฮัดด่า หัดอภัยเหมือนกีฬา อัชฌาสัย ปฏิบัติประพฤติกฎ กาหนดใจ พูดจาให้จ๊ะๆจ๋า น่าฟังเอยฯ" คาที่ควรนามาทดสอบคือ วิญูชน ภูปเตมี กตัญญู เกลื่อน เกลื้อน โหมโรง กระโปรง น้าใจ

ทดสอบการพิมพ์Italic ชื่อ CRU-dissaramas-Hand-Written ประเภทของไฟล์ตัวพิมพ์ OpenType Layout, TrueType Outlines ออกแบบโดย นางสาว ดิศรามาศ ดวงกระโทก รหัสนักศึกษา 5411307324 วิชาออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ ARTD2304 กลุ่มเรียน 101 สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม กรุงเทพมหานคร ตัวอย่างรูปแบบตัวอักขระภาษาลาติน(Latin Characters) ได้แก่ ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ0123456789 abcdefghijklmnopqrstuvwxyz!@#%^&*()_+|{}[]:"<>?;'",./\*-.=;' ตัวอย่างรูปแบบตัวอักขระภาษาไทย(Thai Characters) ได้แก่ กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฒณดตถทธนบปผฝพฟภมยรฤลฦวศษสหฬอฮ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙ ๆๅ฿อะอาอุึออู ิอีอึอือ่อ้อ๊ออ๋ ์อาเแโใไ? ข้อความสาหรับการทดสอบการพิมพ์รับคาสั่งพิมพ์ และเพื่อแสดงตาแหน่งการพิมพ์รูปอักขระที่ ออกแบบ-จัดช่องว่าง ช่องไฟระหว่างรูปอักขระและระหว่างคา ทั้งชุดคือภาษาอังกฤษกับภาษาไทย


19

In typography, a font is traditionally defined as a quantity of sorts composing a complete character set of a single size and style of a particular typeface. For example, the complete set of all the characters for “9-point Bulmer” is called a font, and the “10-point Bulmer” would be another separate font, but part of the same font family, whereas “9-point Bulmer boldface” would be another font in a different font family of the same typeface. One individual font character might be referred to as a “piece of font” or a “piece of type”.Font nowadays is frequently used synonymously with the term typeface, although they had clearly understood different meanings before the advent of digital typography and desktop publishing. ในทางวงการพิมพ์น้นั กล่าวถึงฟ้อนต์โดยทั่วไปว่า หมายถึงตัวอักษรที่ใช้เป็นแบบตัวเรียงพิมพ์ เนื้อหา ที่มีขนาดและรูปแบบเป็นชุดเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่นแบบตัวอักษรที่ใช้ในการเรียงพิมพ์ เนื้อหาที่ท่านกาลังอ่านอยู่นี้ มีชื่อแบบตัวอักษรชุดนี้ว่า บางพูด(Bangpood) ที่ประกอบด้วยรูป อักขระ(Glyphs) ของตัวพยัญชนะ (Consonants) สระ(Vowels) วรรณยุกต์ (Tones) เครื่องหมายสัญลักษณ์(Signs and Symbols) วรรคตอน(Punctuation) อักษรภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คากลอนไทยสาหรับใช้พมิ พ์ทดสอบผลการออกแบบ แสดงโครงสร้างของตัวอักษร การจัดระดับ ตาแหน่งรูปพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ เครื่องหมายวรรคตอน การจัดระยะช่องไฟรอบรูปอักขระ หรือฟ้อนต์สว่ นภาษาไทย ที่สร้าง บันทึก ติดตั้ง และหรือทดสอบในโปรแกรมฟ้อนต์ครีเอเตอร์ และัหรือด้วยโปรแกรมประยุกต์อื่นๆในระบบ เขามักใช้คากลอนนี้ ให้นักศึกษาคัดลอกไปวาง เปลี่ยนเป็นฟ้อนต์ที่เราทา ตรวจสอบระยะช่องไฟกั้นหน้า-หลัง การประสมคาตาแหน่งสระและ วรรณยุกต?ว่าตรงตาแหน่งตามหลักไวยกรณ์ของไทยหรือใหม่และบันทึกเป็นหลักฐานแสดงใน รายงาน ภาษาอังกฤษให้ตรวจสอบดูด้วยตาเองว่าระยะเป็นอย่างไร แล้วไปแก้ไขในตาราง ฟ้อนต์ และทดสอบใหม่ซ้าๆ จนแน่ใจว่าเป็นระยะและตาแหน่งที่ถูกต้องแล้ว คากลอนตรวจสอบแบบตัวอักษร ตาแหน่งพิมพ์ผสมคาไทย "เป็นมนุษย์สดุ ประเสริฐเลิศคุณค่า กว่าบรรดาฝูงสัตว์เดรัจฉาน จงฝ่าฟันพัฒนาวิชาการ อย่าล้างผลาญ ฤๅเข่นฆ่าบีฑาใคร ไม่ถือโทษโกรธแช่งซัด ฮึดฮัดด่า หัดอภัยเหมือนกีฬา อัชฌาสัย ปฏิบัติประพฤติกฎ กาหนดใจ พูดจาให้จ๊ะๆจ๋า น่าฟังเอยฯ" คาที่ควรนามาทดสอบคือ วิญูชน ภูปเตมี กตัญญู เกลื่อน เกลื้อน โหมโรง กระโปรง น้าใจ


20

ทดสอบการพิมพ์Bold ชื่อ CRU-dissaramas-Hand-Written ประเภทของไฟล์ตวั พิมพ์ OpenType Layout, TrueType Outlines ออกแบบโดย นางสาว ดิศรามาศ ดวงกระโทก รหัสนักศึกษา 5411307324 วิชาออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ ARTD2304 กลุม่ เรียน 101 สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม กรุงเทพมหานคร ตัวอย่างรูปแบบตัวอักขระภาษาลาติน(Latin Characters) ได้แก่ ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ0123456789 abcdefghijklmnopqrstuvwxyz!@#%^&*()_+|{}[]:"<>?;'",./\*-.=;' ตัวอย่างรูปแบบตัวอักขระภาษาไทย(Thai Characters) ได้แก่ กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฒณดตถทธนบปผฝพฟภมยรฤลฦวศษสหฬอฮ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙ ๆๅ฿อะอาอุอึ อู อิ อี อึ อื อ่ อ้ อ๊ อ๋ อ์ าเแโใไ? ข้อความสาหรับการทดสอบการพิมพ์รบั คาสั่งพิมพ์ และเพื่อแสดงตาแหน่งการพิมพ์รปู อักขระที่ ออกแบบ-จัดช่องว่าง ช่องไฟระหว่างรูปอักขระและระหว่างคา ทั้งชุดคือภาษาอังกฤษกับภาษาไทย In typography, a font is traditionally defined as a quantity of sorts composing a complete character set of a single size and style of a particular typeface. For example, the complete set of all the characters for “9-point Bulmer” is called a font, and the “10-point Bulmer” would be another separate font, but part of the same font family, whereas “9-point Bulmer boldface” would be another font in a different font family of the same typeface. One individual font character might be referred to as a “piece of font” or a “piece of type”.Font nowadays is frequently used synonymously with the term typeface, although they had clearly understood different meanings before the advent of digital typography and desktop publishing. ในทางวงการพิมพ์น้นั กล่าวถึงฟ้อนต์โดยทั่วไปว่า หมายถึงตัวอักษรที่ใช้เป็นแบบตัวเรียงพิมพ์ เนื้อหา ที่มขี นาดและรูปแบบเป็นชุดเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่นแบบตัวอักษรที่ใช้ในการเรียงพิมพ์ เนื้อหาที่ทา่ นกาลังอ่านอยูน่ ้ี มีช่อื แบบตัวอักษรชุดนี้วา่ บางพูด(Bangpood) ที่ประกอบด้วยรูป อักขระ(Glyphs) ของตัวพยัญชนะ (Consonants) สระ(Vowels) วรรณยุกต์ (Tones) เครื่องหมาย สัญลักษณ์(Signs and Symbols) วรรคตอน(Punctuation) อักษรภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คากลอนไทยสาหรับใช้พมิ พ์ทดสอบผลการออกแบบ แสดงโครงสร้างของตัวอักษร การจัดระดับ ตาแหน่งรูปพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ เครื่องหมายวรรคตอน การจัดระยะช่องไฟรอบรูปอักขระ หรือฟ้อนต์สว่ นภาษาไทย ที่สร้าง บันทึก ติดตั้ง และหรือทดสอบในโปรแกรมฟ้อนต์ครีเอเตอร์ และัหรือด้วยโปรแกรมประยุกต์อ่นื ๆในระบบ เขามักใช้คากลอนนี้ ให้นักศึกษาคัดลอกไปวาง เปลี่ยนเป็นฟ้อนต์ท่เี ราทา ตรวจสอบระยะช่องไฟกั้นหน้า-หลัง การประสมคาตาแหน่งสระและ วรรณยุกต?ว่าตรงตาแหน่งตามหลักไวยกรณ์ของไทยหรือใหม่และบันทึกเป็นหลักฐานแสดงใน


21

รายงาน ภาษาอังกฤษให้ตรวจสอบดูดว้ ยตาเองว่าระยะเป็นอย่างไร แล้วไปแก้ไขในตารางฟ้อนต์ และทดสอบใหม่ซ้าๆ จนแน่ใจว่าเป็นระยะและตาแหน่งที่ถูกต้องแล้ว คากลอนตรวจสอบแบบตัวอักษร ตาแหน่งพิมพ์ผสมคาไทย "เป็นมนุษย์สดุ ประเสริฐเลิศคุณค่า กว่าบรรดาฝูงสัตว์เดรัจฉาน จงฝ่าฟันพัฒนาวิชาการ อย่าล้างผลาญ ฤๅเข่นฆ่าบีฑาใคร ไม่ถอื โทษโกรธแช่งซัด ฮึดฮัดด่า หัดอภัยเหมือนกีฬา อัชฌาสัย ปฏิบตั ปิ ระพฤติกฎ กาหนดใจ พูดจาให้จะ๊ ๆจ๋า น่าฟังเอยฯ" คาที่ควรนามาทดสอบคือ วิญชู น ภูปเตมี กตัญญู เกลื่อน เกลื้อน โหมโรง กระโปรง น้าใจ ทดสอบการพิมพ์Bold Italic ชื่อ CRU-dissaramas-Hand-Written ประเภทของไฟล์ตวั พิมพ์ OpenType Layout, TrueType Outlines ออกแบบโดย นางสาว ดิศรามาศ ดวงกระโทก รหัสนักศึกษา 5411307324 วิชาออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ ARTD2304 กลุม่ เรียน 101 สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม กรุงเทพมหานคร ตัวอย่างรูปแบบตัวอักขระภาษาลาติน(Latin Characters) ได้แก่ ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ0123456789 abcdefghijklmnopqrstuvwxyz!@#%^&*()_+|{}[]:"<>?;'",./\*-.=; ตัวอย่างรูปแบบตัวอักขระภาษาไทย(Thai Characters) ได้แก่ กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฒณดตถทธนบปผฝพฟภมยรฤลฦวศษสหฬอฮ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙ ๆๅ฿อะอาอุอึ อู อิ อี อึ อื อ่ อ้ อ๊ อ๋ อ์ าเแโใไ? ข้อความสาหรับการทดสอบการพิมพ์รบั คาสั่งพิมพ์ และเพื่อแสดงตาแหน่งการพิมพ์รปู อักขระที่ ออกแบบ-จัดช่องว่าง ช่องไฟระหว่างรูปอักขระและระหว่างคา ทั้งชุดคือภาษาอังกฤษกับภาษาไทย In typography, a font is traditionally defined as a quantity of sorts composing a complete character set of a single size and style of a particular typeface. For example, the complete set of all the characters for “9-point Bulmer” is called a font, and the “10-point Bulmer” would be another separate font, but part of the


22

same font family, whereas “9-point Bulmer boldface” would be another font in a different font family of the same typeface. One individual font character might be referred to as a “piece of font” or a “piece of type”.Font nowadays is frequently used synonymously with the term typeface, although they had clearly understood different meanings before the advent of digital typography and desktop publishing. ในทางวงการพิมพ์น้นั กล่าวถึงฟ้อนต์โดยทั่วไปว่า หมายถึงตัวอักษรที่ใช้เป็นแบบตัวเรียงพิมพ์ เนื้อหา ที่มขี นาดและรูปแบบเป็นชุดเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่นแบบตัวอักษรที่ใช้ในการเรียงพิมพ์ เนื้อหาที่ทา่ นกาลังอ่านอยูน่ ้ี มีช่อื แบบตัวอักษรชุดนี้วา่ บางพูด(Bangpood) ที่ประกอบด้วยรูป อักขระ(Glyphs) ของตัวพยัญชนะ (Consonants) สระ(Vowels) วรรณยุกต์ (Tones) เครื่องหมาย สัญลักษณ์(Signs and Symbols) วรรคตอน(Punctuation) อักษรภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คากลอนไทยสาหรับใช้พมิ พ์ทดสอบผลการออกแบบ แสดงโครงสร้างของตัวอักษร การจัดระดับ ตาแหน่งรูปพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ เครื่องหมายวรรคตอน การจัดระยะช่องไฟรอบรูปอักขระ หรือฟ้อนต์สว่ นภาษาไทย ที่สร้าง บันทึก ติดตั้ง และหรือทดสอบในโปรแกรมฟ้อนต์ครีเอเตอร์ และัหรือด้วยโปรแกรมประยุกต์อ่นื ๆในระบบ เขามักใช้คากลอนนี้ ให้นักศึกษาคัดลอกไปวาง เปลี่ยนเป็นฟ้อนต์ท่เี ราทา ตรวจสอบระยะช่องไฟกั้นหน้า-หลัง การประสมคาตาแหน่งสระและ วรรณยุกต?ว่าตรงตาแหน่งตามหลักไวยกรณ์ของไทยหรือใหม่และบันทึกเป็นหลักฐานแสดงใน รายงาน ภาษาอังกฤษให้ตรวจสอบดูดว้ ยตาเองว่าระยะเป็นอย่างไร แล้วไปแก้ไขในตารางฟ้อนต์ และทดสอบใหม่ซ้าๆ จนแน่ใจว่าเป็นระยะและตาแหน่งที่ถูกต้องแล้ว คากลอนตรวจสอบแบบตัวอักษร ตาแหน่งพิมพ์ผสมคาไทย "เป็นมนุษย์สดุ ประเสริฐเลิศคุณค่า กว่าบรรดาฝูงสัตว์เดรัจฉาน จงฝ่าฟันพัฒนาวิชาการ อย่าล้างผลาญ ฤๅเข่นฆ่าบีฑาใคร ไม่ถอื โทษโกรธแช่งซัด ฮึดฮัดด่า หัดอภัยเหมือนกีฬา อัชฌาสัย ปฏิบตั ปิ ระพฤติกฎ กาหนดใจ พูดจาให้จะ๊ ๆจ๋า น่าฟังเอยฯ" คาที่ควรนามาทดสอบคือ วิญชู น ภูปเตมี กตัญญู เกลื่อน เกลื้อน โหมโรง กระโปรง น้าใจ


23

-Done.. ได้นาไปทดสอบ-สร้าง-ประยุกต์-ใช้ประโยชน์ คือ นามาติดตั้งเพื่อใช้เป็นแบบ พิมพ์ในรายงานของวิชาออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ การนามาติดตั้งใน control Pane > Fonts เพื่อใช้เป็นแบบพิมพ์ในรายงานของวิชาออกแบบ ตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ในโปรแกรมสร้างเอกสารต่างๆเช่น Microsoft Word

นา Font ไปสร้างหน้าปกของรายงานในโปรแกรม Adobe Illustrator CS3


24

ตัวอย่างผลงานที่ได้มาจากFont CRU-dissaramas-Hand-Written



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.