จุลสาร คณะการบัญชี

Page 1

จุลสาร คณะการบัญชี ปที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559

ACCOUNTING WE JUMP เร�องเดนในฉบับ

- การสรางนักบัญชีใหพรอมรับมือการเปดฉากของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน - Look before you leap - Bitcoin เงินตราเสมือนในโลกอินเตอรเน็ท - วิชาชีพบัญชีที่นาสนใจเม�อเขาสู AEC 2558 - แนวทางการบริหารความเสี่ยง - You are Possible - ความนับถือคุณคาตนเอง ความฉลาดทางอารมณ พุทธิพิสัย จิตพิสัยและเจตคติของผูเรียน - นักบัญชีจะรุกหรือจะรับ - กาวสู AEC นักบัญชีกระโดดได - กาวกระโดดอยางไรเม�อโอกาสมาถึง - งบการเงินสำหรับกิจการที่มีสวนไดเสียตอสาธารณะ - โอกาสกระโดดสูเวที ASEAN ของนักวิชาชีพบัญชี - เคล็ดลับการเกงภาษาแบบกาวกระโดด www.facebook.com/AcDpu


2

จุลสารคณะการบัญชี ปีที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559

คณะการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์


“Accounting We Jump”

CONTENT - การสร้างนักบัญชีให้พร้อมรับมือการเปิดฉากของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน - Look before you leap - Bitcoin เงินตราเสมือนในโลกอินเตอร์เน็ท - วิชาชีพบัญชีที่น่าสนใจเมื่อเข้าสู่ AEC 2558 - แนวทางการบริหารความเสี่ยง - You are Possible - ความนับถือคุณค่าตนเอง ความฉลาดทางอารมณ์ พุทธิพิสัย จิตพิสัยและเจตคติของผู้เรียน - นักบัญชีจะรุกหรือจะรับ - ก้าวสู่ AEC นักบัญชีกระโดดได้ - ก้าวกระโดดอย่างไรเมื่อโอกาสมาถึง - งบการเงินส�ำหรับกิจการที่มีส่วนได้เสียต่อสาธารณะ - โอกาสกระโดดสู่เวที ASEAN ของนักวิชาชีพบัญชี - เคล็ดลับการเก่งภาษาแบบก้าวกระโดด - คณะกรรมการนศ. - รูปกิจกรรมคณะ - เกมส์ - คุยกับบรรณาธิการ - กองบรรณาธิการ

3


4

จุลสารคณะการบัญชี ปีที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559

การสร้างนักบัญชีให้พร้อมรับมือ การเปิดฉากของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดย ดร.พัทธนันท์ เพชรเชิดชู คณบดี คณะการบัญชี

การรวมตัวของ 10 ประเทศ ในการเป็นประชาคมอาเซียน (Asean Community) จะมีผลเป็นรูปธรรม ในวันที่ 31 ธันวาคม 2558 การจับมือการอย่างเหนียวแน่นครัง้ นีจ้ ะเป็นการสร้างฐานก�ำลังทางเศรษฐกิจให้กบั ภูมภิ าค โดยผ่าน 1 ใน 3 ในเสาหลัก คือ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic community) ซึ่งระบุถึงการมี ตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน และจะมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี ผลของการรวมตัวทางเศรษฐกิจนี้จะสร้างการเปลี่ยนแปลงส�ำคัญที่น่าจับตามองต่อระบบเศรษฐกิจของโลกอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ ทั้งนี้ มีการคาดการณ์กันว่าผลของการเปลี่ยนแปลงจะเห็นได้ชัดเจนในอีก 2-3 ปีข้างหน้า ปัจจุบัน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มีจ�ำนวนประเทศ 10 ประเทศ และมีประชากรประมาณ 500 ล้านคน แต่ในอนาคตข้างหน้า มีแนวโน้มที่จะขยายเป็น Asean+3 โดยรวม จีน เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น และ Asean+6 ซึ่ง ประกอบด้วย จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดีย ดังนั้น จะเห็นได้ว่าฐานก�ำลังทางเศรษฐกิจ ที่ก�ำลังขยายใหญ่ขึ้นในอนาคต จะมีผลต่อความเติบโตของการเคลื่อนย้ายบริการ ซึ่งรวมถึงวิชาชีพบัญชี วิชาชีพบัญชี เป็นหนึง่ ในวิชาชีพบริการทีส่ ามารถเคลือ่ นย้ายได้อย่างเสรี ตามทีร่ ะบุในข้อตกลงยอมรับร่วมใน เรือ่ งคุณสมบัตขิ องนักวิชาชีพอาเซียน (ASEAN Mutual Recognition Arrangements: MRAs) ของวิชาชีพทัง้ 7 สาขา อันได้แก่ วิศวกรรม พยาบาล สถาปัตยกรรม การส�ำรวจ แพทย์ ทันตแพทย์และนักบัญชี ทั้งนี้ สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้สรุปประเด็นส�ำคัญของ MRAs ส�ำหรับวิชาชีพบัญชี เพื่อให้นักวิชาชีพบัญชีไทยเตรียมพร้อม เพื่อรองรับประชาคมอาเซียนไว้ โดยสามารถสรุปประเด็นส�ำคัญได้ดังนี้ ขอบเขตงานบริการบัญชีภายใต้ MRAs ส�ำหรับวิชาชีพบัญชี ครอบคลุมงานบริการทัง้ หมดทีเ่ กีย่ วข้องกับบัญชี แต่ไม่รวมถึงการลงนามในรายงานของผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตและการให้บริการทางบัญชีอนื่ ทีต่ อ้ งมีใบอนุญาตภายใน ประเทศ อาชีพที่สามารถปฏิบัติงานได้ภายใต้ MRAs ตัวอย่างเช่น งานผู้ช่วยนักบัญชี งานเจ้าหน้าที่การเงิน งานตรวจสอบภายใน งานบริหารจัดการความเสี่ยง งานวิเคราะห์และจัดท�ำข้อมูล งานด้านที่ปรึกษาธุรกิจ งานด้าน การศึกษา เป็นต้น


“Accounting We Jump”

น MRAs ส�ำหรับวิชาชีพบัญชี ได้ระบุคุณสมบัติของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีอาเซียน 5 ข้อ ว่า 1) ต้องส�ำเร็จ การศึกษาระดับปริญญาตรีบัญชี หรือผ่านการทดสอบในหลักสูตรที่ได้รับการยอมรับในองค์กรวิชาชีพในประเทศ แหล่งก�ำเนิด 2) มีการขื้นทะเบียนหรือมีใบอนุญาตที่ยังไม่สิ้นผลในปัจจุบัน เพื่อประกอบวิชาชีพบัญชีในประเทศ แหล่งก�ำเนิด ซึ่งออกให้โดยองค์กรวิชาชีพบัญชี 3) มีประสบการณ์ในด้านที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 3 ปี และสะสม ได้ภายในระยะเวลา 5 ปีหลังจากที่มีคุณสมบัติทางด้านการศึกษา ตามที่กล่าวในข้อ (1) 4) ปฏิบัติสอดคล้องตาม นโยบายการพัฒนาทางวิชาชีพอย่างต่อเนือ่ ง (CPD) ของประเทศแหล่งก�ำเนิด 5) ได้รบั ใบรับรองจากองค์กรวิชาชีพ บัญชี ของประเทศแหล่งก�ำเนิดและไม่มีประวัติการกระท�ำ ผิดอย่างร้ายแรงในด้านเทคนิค มาตรฐานวิชาชีพและ จรรยาบรรณระดับท้องถิน่ และระหว่างประเทศในการประกอบวิชาชีพบัญชี ส�ำหรับในประเทศไทยนัน้ องค์กรวิชาชีพ บัญชีหมายความรวมถึง สภาวิชาชีพบัญชีและกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ MRAs ส�ำหรับวิชาชีพบัญชี ยังได้ระบุขั้นตอนการจดทะเบียนเป็นนักบัญชีอาเซียน ว่าผู้มีความประสงค์ จะเข้าไปประกอบวิชาชีพบัญชีในแต่ละประเทศ ต้องผ่านการประเมินจากคณะกรรมการก�ำกับดูแล (Monitoring Committee) ในประเทศนัน้ ๆ และการด�ำเนินงานในส่วนของอาเซียนจะอยูภ่ ายใต้การดูแลของของคณะกรรมการ ประสานงานด้านวิชาชีพบัญชีอาเซียน (ASEAN Chartered Professional Accountant Coordinating Committee – ACPACC) ทั้งนี้ในการเข้าไปประกอบวิชาชีพบัญชีในต่างประเทศนั้น นอกจากการที่ผู้ประกอบ วิชาชีพบัญชีจะต้องปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ กฎหมายต่างๆภายในประเทศนั้นๆ แล้ว ยังต้องรักษากฎ ระเบียบ การเป็นผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีภายในประเทศไทยอีกด้วย แหล่งข้อมูลอ้างอิง www.fap.or.th

5


จุลสารคณะการบัญชี ปีที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559

6

Look before You Leap ศ.ดร.อรพินท์ ดวงพลอย (ที่ปรึกษาคณะการบัญชี)

We are in an age of accelerating pace. We jump when we are happy, excited, or surprised. These are normal behavior expected from our society. It is healthy to express our joy. excitement, and surprise. However, there is an axiom that we should bear in mind in our daily living. That is: “Look before you leap”.

In the other spheres of our lives, if we simply follow our peers hastily and carelessly, the consequence of which could be detrimental. For example, if our good friends enjoy fast driving and we follow their footsteps despite the fact that we are not competent drivers, we may end up having accidents.

“Look before you leap” means that we have to be thoughtful before making any commitment. If we act prior to thorough consideration of the pros and cons of a commitment, we may end up in some troubles.

In choosing a career, we have to be prudent in weighing the pros and cons of the field of interest. Look before you leap cautions us to do additional research on the career of interest and help us to find solutions to such questions that we will not regret later.

As students, we have a tendency to We know that the job market is very good follow our friends in fashion, in selecting albums, or even in choosing a drink. However, the for accountants. However, the accounting curriculum is very rigorous. One has to spend outcome of which may not be harmful.


“Accounting We Jump�

numerous hours to do homework in order to understand the underlying concepts of accounting. On the other hand, once we grasp the key concepts, accounting can be so much fun. We can actually see the numbers talk to each other from one financial statement to another financial statement. Now that we spend some time discussing the pros and cons of a profession like accounting, we have a better understanding of what to expect. We look before we leap. Hence, we can now jump with joy that we are accounting students with a bright future ahead of us.

7


8

จุลสารคณะการบัญชี ปีที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559

Bitcoin เงินตราเสมือนในโลกอินเตอร์เน็ท อาจารย์ วิศิษฏ์ศรี จินตนา

การเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ และ การค้าโลกทีม่ อี ยูต่ ลอดเวลานีส้ ว่ นหนึง่ เกิดจากการน�ำ เอาระบบอินเตอร์เน็ท มาใช้ในธุรกิจ จะเห็นได้ว่า แม้แต่การช�ำระค่าสินค้า หรือโอนเงินระหว่างธุรกิจ ก็มีการสร้างเงินตราเสมือน (Virtual Currency) ใน ระบบอินเตอร์เน็ทมาใช้แทนเงินตราปกติ เงินตรา เสมือนที่ถูกจับตามองว่าการน�ำมาใช้ในการซื้อขาย สินค้า หรือโอนเงินระหว่างกันโดยตรงไม่ต้องผ่าน สถาบันการเงินมากขึ้นตลอดมาอย่างน่าสังเกตคือ Bitcoin ซึ่ ง เป็ น เครื อ ข่ า ยการช� ำ ระเงิ น ในโลก อินเตอร์เน็ท (Open – source peer-to-peer payment network) แม้ว่า Bitcoin แทบจะไม่มีมูลค่าพื้นฐานใด ใดไม่ มี ธ นาคารกลางใดรองรั บ มู ล ค่ า พื้ น ฐานทาง กฏหมายอย่างเงินตราทั่วไป แต่ Bitcoin ใช้ง่าย สะดวกรวดเร็ว ต้นทุนต�ำ่ และทีส่ ำ� คัญการใช้จา่ ยผ่าน Bitcoin ยังไม่มีการตรวจสอบจากสถาบันการเงิน หรือหน่วยงานรัฐใดใดทั้งสิ้น Bitcion จึงได้รับความ นิยมใช้มากขึ้นเรื่อย ๆ


“Accounting We Jump”

ในปั จ จุ บั น การใช้ Bitcoin ยั ง ไม่ มี ป ั ญ หา เนื่องจากปริมาณเงินที่ใช้ยังมีจ�ำนวนไม่สูงมากนัก แต่ จากการที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ Bitcoin ทุกคนในโลก อินเตอร์เน็ทสามารถใช้ ร่วมสนับสนุนการพัฒนาระบบ และช่วยด�ำเนินการได้ ในอนาคตอาจจะเป็นไปได้ว่าจะ มีการให้กยู้ มื หรือรับฝากเงิน Bitcoin ซึง่ จะท�ำให้ปริมาณ เงิน Bitcoin เพิ่มขึ้นมากกว่าที่มีอยู่ในระบบได้ ดังนั้น คงจะเกิ ด ปั ญ หาในการควบคุ ม ปริ ม าณเงิ น Bitcoin ว่าจะสามารถควบคุมได้เพียงใด หรือมีการใช้ Bitcoin ในการท�ำธุรกิจผิดกฎหมาย เพือ่ หลบเลีย่ งการตรวจสอบ ของรัฐหรือไม่ หรือความโปร่งใสของธุรกิจ Bitcoin จะมี ได้อย่างไร การช�ำระเงินโดยใช้ Bitcoin ย่อมมีผลกระทบ ต่อการจัดท�ำบัญชี และการเปิดเผยข้อมูลของธุรกิจ แน่นอน ในฐานะของนักวิชาชีพบัญชีเราได้มีการเตรียม ตัวและเตรียมการปฏิบตั ทิ างวิชาชีพ เพือ่ รองรับกับความ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ ๆ ของการ ด�ำเนินธุรกิจในลักษณะนี้แล้วหรือยัง ? Source:thaipublica.org

9


10

จุลสารคณะการบัญชี ปีที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559

วิชาชีพบัญชีที่น่าสนใจเมื่อเข้าสู่ AEC 2558 ตอนที่ 2 ดร.ศิริเดช ค�ำสุพรหม

ประเทศทัว่ โลก ส�ำหรับในประเทศไทยจ�ำนวนผูข้ นึ้ ทะเบียน CISA นั้นมีเพียงแค่ 232 คนในปัจจุบัน (ISACA Bangkok Chapter, 2557) ยิ่งไปกว่านั้นปัจจุบัน ส�ำนักงานคณะ กรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้มีการก�ำหนดให้องค์การที่มีขนาดใหญ่ควรมีการตรวจ สอบระบบสารสนเทศ แต่อย่างไรก็ตาม ยังมิได้ก�ำหนด ให้การตรวจสอบดังกล่าวต้องได้รับรองจากผู้ตรวจสอบ ระบบสารสนเทศ แต่หน่วยงานภาครัฐเริ่มให้ความส�ำคัญ กับเรื่องนี้จึงมีการก�ำหนดคุณสมบัติของผู้ตรวจสอบระบบ สารสนเทศว่า ผู้ตรวจสอบระบบสารสนเทศควรต้องมี วุฒบิ ตั ร CISA นีด้ ว้ ย (TOR การตรวจสอบระบบสารสนเทศ ส.ป.ส.ช., 2553)

จากจุลสารคณะการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 “นักบัญชียุค AEC” ผมได้กล่าว ถึงประกาศนียบัตรวิชาชีพการตรวจสอบระบบสารสนเทศ ไว้ 4 ฉบับ ซึ่งเป็นการรับรองความเชี่ยวชาญ ในสาย วิชาการตรวจสอบระบบสารสนเทศ และเป็นที่ยอมรับใน ระดับสากล จากสมาคมการควบคุมและการตรวจสอบ ระบบสารสนเทศ (The Information Systems Audit and Control Association-ISACA) นัน้ ฉบับนีผ้ มขอกล่าว ถึงรายละเอียดของแต่ละประกาศนียบัตรว่ามีรายละเอียด เป็นอย่างไร แล้วนักบัญชีควรต้องปรับตัวอย่างไร และ ประโยชน์ทนี่ กั บัญชีจะได้รบั จากการได้รบั การรับรองความ เชี่ยวชาญตามใบประกาศนียบัตรวิชาชีพนั้น ๆ อีกด้วย ใบ 2. ประกาศนียบัตรการจัดการความปลอดภัย ประกาศนียบัตรทั้ง 4 ฉบับ ที่ยอมรับในระดับสากล และ ทางสารสนเทศ (The Certified Information Security รับรองโดย ISACA ประกอบด้วยดังนี้ Manager-CISM) เป็นวุฒิบัตรส�ำหรับการบริหารจัดการ เฉพาะด้ า น ที่ มี ก ารรั บ รองความเชี่ ย วชาญด้ า นการ 1. ประกาศนียบัตรผูต้ รวจสอบระบบสารสนเทศ ออกแบบระบบการรักษาความปลอดภัย การควบคุมดูแล (The Certified Information Systems Auditor-CISA) และการประเมินโปรแกรมการปฏิบัติงานด้านการรักษา เป็นวุฒิบัตรแรกและเป็นหลักส�ำคัญของ ISACA ที่มีการ ความปลอดภัยด้านสารสนเทศขององค์การ (ISACA, 2014) รับรองคุณสมบัติของการตรวจสอบ การควบคุม การ ซึ่ง CISM เหมาะสมผู้ที่บริหารจัดการ เนื่องจาก CISM จะ ประเมิน และการติดตามผลทางสารสนเทศ ควบคุมกับ มีการก�ำหนดความสามารถที่เป็นหลักและเป็นมาตรฐาน ระบบงานทางธุรกิจขององค์การ (ISACA, 2014). และใน ของประสิ ท ธิ ภ าพการท� ำ งานในระดั บ สากล (ISACA ปัจจุบันมีผู้ถือวุฒิบัตร CISA อยู่กว่า 75,000 คนใน 160


“Accounting We Jump”

Bangkok Chapter, 2557) ในปัจจุบันมีผู้ถือวุฒิบัตรนี้ รักษาไว้ซึ่งการควบคุมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อที่จะ แล้วกว่า 10,000 คนทั่วโลก ส�ำหรับในประเทศไทยมีผู้ขึ้น ลดความเสี่ยงทางไอที วุฒิบัตรนี้ออกแบบมาเพื่อรับรอง ผู ้ ป ระกอบวิ ช าชี พ ด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศซึ่ ง มี ทะเบียน CISM จนถึงปัจจุบัน 77 คน ประสบการณ์ท�ำงานจริงในการระบุ ประเมิน และวัดผล 3. ประกาศนียบัตรส�ำหรับการก�ำกับดูแลทาง ความเสีย่ ง ตอบสนองต่อความเสีย่ ง เฝ้าติดตามความเสีย่ ง ด้านไอทีโดยรวมขององค์การ (The Certified in the ออกแบบการควบคุมด้านระบบสารสนเทศและการน�ำไป Governance of Enterprise IT-CGEIT) เป็นวุฒบิ ตั รด้าน ใช้ เฝ้ า ติ ด ตามและบ�ำ รุ ง รั ก ษาการควบคุ ม ด้ า นระบบ การก�ำกับดูแลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยผู้เชี่ยวชาญ สารสนเทศ (ISACA Bangkok Chapter, 2557) ในปัจจุบนั ทางด้านนี้สามารถน�ำหลักการและแนวปฏิบัติด้านการ มีผู้ถือวุฒิบัตรนี้แล้วกว่า 17,000 คนทั่วโลก ส�ำหรับใน ก�ำกับดูแลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ในการบริหาร ประเทศไทยมีผู้ขึ้นทะเบียน CGEIT จนถึงปัจจุบัน 52 คน จัดการ การให้ค�ำแนะน�ำปรึกษา และการตรวจสอบ ตาม (ISACA Bangkok Chapter, 2557) แนวปฏิบัติของงานทางด้านระบบสารสนเทศ ซึ่งสามารถ ดังนัน้ จากทีก่ ล่าวข้างต้นถือเป็นโอกาสทีด่ สี ำ� หรับ ตอบสนองต่อความต้องการของธุรกิจ (ISACA, 2014) ใน ปัจจุบนั มีผถู้ อื วุฒบิ ตั รนีแ้ ล้วกว่า 5,800 คนทัว่ โลก ส�ำหรับ นักบัญชี ที่จะต้องพัฒนาตนเองให้เข้าใจระบบสารสนเทศ ในประเทศไทยมีผู้ขึ้นทะเบียน CGEIT จนถึ ง ปั จจุ บัน ระบบความปลอดภัยทางระบบสารสนเทศ การก�ำกับดูแล ทางด้านไอทีโดยรวมขององค์การ และการควบคุมระบบ 15 คน (ISACA Bangkok Chapter, 2557) สารสนเทศและความเสี่ยงทางไอที เพื่อจะมีโอกาสได้รับ 4. ประกาศนี ย บั ต รส� ำ หรั บ การควบคุ ม ระบบ การรั บ รองความเชี่ ย วชาญด้ า นการตรวจสอบระบบ สารสนเทศและความเสีย่ งทางไอที (The Certified in Risk สารสนเทศ และสามารถน�ำวุฒิบัตรดังกล่าว มาใช้ในการ and Information Systems Control-CRISC) เป็น ประกอบวิชาชีพด้านการตรวจสอบระบบสารสนเทศใน วุฒบิ ตั รด้านความเสีย่ งทางไอทีขององค์กร โดยผูเ้ ชีย่ วชาญ ระดับสากล และเพือ่ ตอบรับกับการเคลือ่ นย้ายแรงงานตาม ด้านนี้สามารถที่จะออกแบบ น�ำไปใช้ เฝ้าติดตาม และ วิชาชีพบัญชี ส�ำหรับการเปิดประชาคมอาเซียน (AEC)

11


12

จุลสารคณะการบัญชี ปีที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559

การจัดท�ำแนวทางการบริหารความเสี่ยง จากการประกอบธุรกิจ อาจารย์ นงนิภา ตุลยานนท์

หากต้องการลงทุนประกอบธุรกิจ ควรต้องต้อง แนวคิดของการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร คือ ERM ( Enterprise Risk Management )หรือ COSO ERM กันเป็น กรอบแนวคิดในการริเริม่ ในการท�ำงานโดยจะมองในองค์ ประกอบแรกคือพิจารณาและประเมินจากสภาพแวดล้อม ภายในองค์ ก รแต่ ก ารเริ่ ม จากสภาพแวดล้ อ มภายใน องค์กรท�ำให้กิจการมองความเสี่ยงเฉพาะปัจจัยจาก ภายในกิจการ และแทบจะไม่ให้ความส�ำคัญกับสภาพ แวดล้อมภายนอกกิจการ ซึ่งเป็นปัจจัยที่มีส่วนส�ำคัญ และมีอทิ ธิพลต่อความล้มเหลวของธุรกิจด้วย รวมไปถึง เงื่อนไขใหม่ ๆ และยุ่งยากทางด้านกฎหมาย แต่เราไม่ ควรมองข้ามผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกหลายภาคส่วน อาจจะมีผลในการหล่อหลอมทางวัฒนธรรมขององค์กร ตลอดจนอิทธิพลของสภาพแวดล้อมภายนอกกิจการต่อ การพัฒนาเกณฑ์ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ และการจัด ล�ำดับแนวทางการจัดการกับความเสี่ยง การทีธ่ รุ กิจต้องมีการจัดท�ำแนวการจัดการความ เสี่ยงเพื่อวัตถุประสงค์ที่ส�ำคัญคือให้ฝ่ายบริหารและฝ่าย ปฏิบตั ิการ เข้าใจหลักการและกระบวนการบริหารความ เสีย่ งของธุรกิจและเพือ่ ให้ผปู้ ฏิบตั งิ านได้รบั ทราบขัน้ ตอน และกระบวนการในการวางแผนบริหารความเสี่ยงมีการ ปฏิบตั ติ ามกระบวนการบริหารความเสีย่ งอย่างเป็นระบบ

และต่อเนื่อง นอกจากนั้นยังเป็นเครื่องมือสื่อสารสร้าง ความเข้ า ใจระหว่ า งกลยุ ท ธ์ ข องกิ จ การกั บ บริ ห าร ความเสี่ยง ธุ ร กิ จ ควรมี ก ารประเมิ น ความเสี่ ย งในการ ประกอบธุรกิจมาอย่างต่อเนื่องและถือเป็นหนึ่งในปัจจัย หลักในการก�ำหนดกลยุทธ์และแผนธุรกิจในแต่ละปี โดย มีการติดตามและควบคุมความเสี่ยงอยู่อย่างสม�่ำเสมอ เพือ่ ให้เป็นไปตาม ทิศทางและนโยบายทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ าก ผู้บริหาร ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนหลักต่างๆ ดังนี้ • การระบุความเสี่ยง เป็นขั้นตอนการบ่งชี้ถึง ความเสีย่ งและปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ จะเปลีย่ นแปลงไปใน แต่ละช่วงเวลา องค์การควรมองถึงเหตุการณ์ทั้งภายใน และภายนอก ซึ่งเหตุการณ์ภายในกิจการอาจควบคุมได้ แต่ภายนอกไม่สามารถควบคุมได้ • การประเมินความเสี่ยง เป็นขั้นตอนที่จะน�ำ วิ ธี ก ารต่ า งๆ ที่ เ หมาะสมมาใช้ ป ระเมิ น ความเสี่ ย ง ซึ่งกระบวนการดังกล่าวเน้นวามมีส่วนร่วมของคณะ ผู้บริหาร เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและครอบคลุมความ เสีย่ งทัง้ หมดทีอ่ าจเกิดขึน้ โดยความเสีย่ งและการบริหาร ความเสี่ ย งทั้ ง หมดจะต้ อ งได้ รั บ ความเห็ น ชอบจาก ผู้บริหาร


“Accounting We Jump”

• การติดตามและควบคุมความเสีย่ ง เป็นขัน้ ตอนทีม่ กี ารติดตามและควบคุม การด�ำเนินการตามที่ได้รับอนุมัติจากผู้บริหารเป็นประจ�ำในทุกไตรมาส หากมีความ เสี่ยงใหม่ๆ ที่มิได้คาดการณ์ไว้ อาจจ�ำเป็นต้องทบทวนการบริหารความเสี่ยงใหม่ ทัง้ หมด หรือความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ มีแนวโน้มทีจ่ ะกระทบกับการด�ำเนินธุรกิจอย่างรุนแรง อาจต้องทบทวนแผนธุรกิจใหม่ทั้งหมดพร้อมน�ำเสนอเพื่อพิจารณาอนุมัติ แนวคิดดังกล่าวได้มาจากการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร ซึ่งถือเป็นการ บริหารปัจจัย และควบคุมกิจกรรม รวมทั้งกระบวนการด�ำเนินงานต่าง ๆ เพื่อลดมูล เหตุของแต่ละโอกาสที่องค์กรจะเกิดความเสียหายให้ระดับของความเสี่ยงและผล กระทบที่จะเกิดในอนาคตอยู่ในระดับที่องค์กรยอมรับได้ ประเมินได้ ควบคุมได้ และตรวจสอบได้อย่างมีระบบ โดยค�ำนึงการบรรลุเป้าหมาย กลยุทธ์การปฏิบัติตาม กฎระเบียบ การเงิน และชื่อเสียงขององค์กรเป็นส�ำคัญ โดยได้รับการสนับสนุนและ การมีส่วนร่วมในการบริหารความเสี่ยงจากหน่วยงานทุกระดับทั่วทั้งองค์การ

13


14

จุลสารคณะการบัญชี ปีที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559

YOU ARE POSSIBLE ผศ.เพ็ญธิดา พงษ์ธานี

สวัสดีทกุ ท่านทีเ่ ข้ามาเยีย่ มชมจุลสารคณะการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ฉบับนี้เป็นฉบับต้อนรับเปิดเรียนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ผู้เขียนขอถือโอกาส นี้กล่าวต้อนรับน้อง ๆ ปี1 คณะการบัญชี ขอให้น้อง ๆ มีความสุขและสนุกกับ การเรียนนะค่ะ วิชาชีพบัญชีเป็นวิชาชีพที่มีความส�ำคัญต่อเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ เนื่องจากนักบัญชีเป็นผู้จัดท�ำและออกแบบสารสนเทศให้องค์กรธุรกิจน�ำไปใช้ในการ ตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดหาเงิน การลงทุน และการด�ำเนินงานของธุรกิจ วิชาชีพบัญชี มีหลากหลายอาชีพ ทีส่ ำ� คัญคือเป็นวิชาชีพทีอ่ ยูใ่ นข้อตกลงประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และย่อมหมายความว่านักบัญชีอย่างเราสามารถเลือกท�ำงานด้านบัญชีทตี่ วั เองถนัดและ ชอบได้ และยังสามารถเลือกที่จะท�ำงานในประเทศไทย หรือไปท�ำงานในต่างประเทศ ทีเ่ ป็นสมาชิกประชาคมอาเซียน ดูแล้วนักบัญชีมที างเลือกมากมาย แค่เพียงเราสามารถ คิดได้ไกลกว่าคนอื่นเราก็จะได้รับโอกาสนั้นก่อนใคร....


“Accounting We Jump”

การเตรียมความพร้อมให้กบั ตัวเองในด้านความ รู้และทักษะที่จ�ำเป็นในการประกอบวิชาชีพบัญชี โดย เฉพาะทักษะทางด้านภาษาและการสื่อสาร ไม่ว่าจะเป็น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ หรือภาษาของชาติอื่นๆ ที่เรา มีความฝันจะเข้าไปท�ำงาน ซึ่งรวมถึงเทคนิคและวิธีการ ถ่ายทอดค�ำพูดที่สามารถถ่ายทอดหรือสื่อสารให้คนอื่น เข้าใจหรือน�ำความรูจ้ ากเราไปใช้ประโยชน์ได้ เป็นจุดเริม่ ต้นทีส่ ำ� คัญในการให้โอกาสตัวเองได้เรียนรูแ้ ละพัฒนาใน สิ่งที่ยังขาดอยู่ ทีค่ ณะการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เรา มีทางเลือกให้น้อง ๆ เลือกอาชีพในแบบที่ตัวเองชอบไม่ ว่าจะเป็นท�ำบัญชี สอบบัญชี วางระบบบัญชี การภาษี อากร การศึกษาและเทคโนโลยีทางการบัญชี เป็นต้น น้อง ๆ จะมีโอกาสได้ไปฝึกปฏิบัติงานทางการบัญชีกับ สถานประกอบการที่มีชื่อเสียง มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ อย่างกว้างขวางทั้งในประเทศและต่างประเทศ มีโอกาส ได้เข้ารับการอบรมบุคลิกภาพและมารยาททางสังคม อบรมทักษะการใช้ภาษาและการสือ่ สาร อบรมทักษะทาง องค์กรและธุรกิจ และอบรมทักษะทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ ฯลฯ ทางเลือกและโอกาสที่มากหมายอย่าง นี้มีไว้ให้น้อง ๆ กระโดดมาคว้าไป ทุกคนได้รับโอกาส เท่ากันอยู่ที่ว่าใครจะกระโดดได้ไกลว่า สูงกว่า และเก็บ เกี่ยวโอกาสได้มากกว่า.... และเราเชื่อว่า “ YOU ARE POSSIBLE “

15


จุลสารคณะการบัญชี ปีที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559

16

ความนับถือคุณค่าตนเอง ความฉลาดทางอารมณ์ พุทธิพิสัย จิตพิสัยและเจตคติของผู้เรียน Self Esteem Emotional Intelligence Cognitive Domain Affective Domain and Attitude ผศ.ดร.ดารณี เอื้อชนะจิต

บทน�ำ

งานวิจัยนี้ จะศึกษาถึงของความนับถือคุณค่าตนเอง ความฉลาดทางอารมณ์ และพุทธิพิสัย ที่ส่งผลกระทบ ต่อจิตพิสัยและเจตคติ โดยเก็บข้อมูลจากการส�ำรวจ ความคิดเห็นของผูเ้ รียนในวิชาการบัญชีสำ� หรับธุรกิจและ ผู้เรียนในวิชาสัมมนาการบัญชีเพื่อการบริหาร ผลลัพธ์ที่ ได้จากการวิจัยสามารถน�ำไปใช้เป็นข้อมูลแก่อาจารย์ผู้ สอนใช้เป็นแนวทางในการจัดการศึกษา วางแผนการสอน และก�ำหนดกิจกรรมทีเ่ หมาะสมส�ำหรับผูเ้ รียนในวิชาทาง ด้ า นการบั ญ ชี และยั ง สามารถใช้ เ ป็ น ข้ อ มู ล ในการ ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนในวิชา การบัญชีให้ มีความทันสมัย

ตามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 เป็นกฎหมายว่าด้วยการศึกษา แห่งชาติ ได้บญ ั ญัตคิ ำ� ศัพท์และแนวทางการจัดการศึกษา ไว้ ได้แก่ ค�ำว่า“การศึกษา” หมายถึง กระบวนการเรียน รู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคมโดยการ ถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทาง วัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทาง วิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพ แวดล้อม สังคม การเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคล นิยามศัพท์ เรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต แนวการจัดการศึกษา ต้องยึดหลักเน้นให้ความ ส�ำคัญต่อผู้เรียน ถือว่าผู้เรียนทุกคน สามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้ ดังนัน้ กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่ง เสริมให้ผเู้ รียนได้พฒ ั นาตามธรรมชาติและตามศักยภาพ การจัดการศึกษาต้องเน้นทั้งความรู้ คุณธรรม และ กระบวนการเรียนรู้ บูรณาการความรู้และทักษะด้าน ต่างๆ ให้เหมาะสมกับแต่ละระดับการศึกษา ได้แก่ด้าน ความรู้เกี่ยวกับตนเองและความสัมพันธ์ระหว่างตนเอง กับสังคม การด�ำรงชีวิตอย่างมีความสุข

1) ความนับถือคุณค่าตนเอง (Self Esteem) ความนับถือคุณค่าตนเอง หมายถึงบุคคลทีม่ คี วามรับผิด ชอบต่อการกระท�ำของตนเอง มีความซื่อสัตย์ มีความ ภูมใิ จในผลส�ำเร็จของงาน มีความคิดริเริม่ และมีความมุง่ มั่นที่จะแก้ปัญหาและรับผิดชอบปัญหาที่จะเกิดตามมา เป็นคนที่ผู้อื่นรักและรักผู้อื่น สามารถควบคุมตนเองเพื่อ ให้สามารถบรรลุเป้าหมายของงานและเกิดผลส�ำเร็จของ งานได้ ความนับถือคุณค่าตนเอง เป็นการประเมินองค์ ประกอบของแนวคิดของตนเอง รวมถึงความตระหนักรู้


“Accounting We Jump”

พฤติ ก รรม การวั ด ผลและความชอบในสิ่ ง ที่ ก ระท� ำ ตอบสนองต่อเหตุการณ์ ประกอบด้วยองค์ประกอบที่ (Briggs, Landry, and Wood, 2007) ส�ำคัญ 3 ประการได้แก่ องค์ประกอบด้านความคิด องค์ประกอบด้านอารมณ์ความรู้สึก องค์ประกอบด้าน 2) ความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Intelli- การกระท� ำ พฤติ ก รรมการแสดงออกของบุ ค คล gence) ความฉลาดทางอารมณ์ ประกอบด้วยองค์ (เมธาวี อุดมธรรมานุภาพ และภักดี ปรีวรรณ, 2554) ประกอบหลัก 5 ประการ ได้แก่ ความตระหนักรู้ตนเอง การจัดการกับอารมณ์สามารถถ่วงดุลอารมณ์ตนเองได้ สถิติที่ใช้ในงานวิจัย การจู ง ใจตนเองสามารถมองโลกในแง่ ดี ใ นขณะที่ มี ผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ อุปสรรค ความเห็นอกเห็นใจผู้อื่นเอาใจใส่ผู้อื่น และ ประการสุดท้ายได้แก่ ทักษะทางสังคม (Koczwara, (Multiple Regression Analysis) ด้วยวิธแี บบ Enter เพือ่ ทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรอิสระทั้ง 3 ตัวแปร Tavabie, and Patterson, 2011) ได้แก่ ความนับถือคุณค่าตนเอง (Self Esteem) ความ 3) พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) หมายถึง ฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Intelligence) และพุทธิ การกระท�ำทีเ่ กีย่ วข้องกับกระบวนการทางสมอง ประกอบ พิสัย (Cognitive Domain) กับตัวแปรตาม 2 ตัวแปร ด้วย 6 ระดับ ได้แก่ ความรู้ - ความจ�ำ ความเข้าใจ ได้แก่ จิตพิสัย (Affective Domain) และเจตคติ การน�ำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และการ (Attitude) ประเมินค่า(กรองได อุณหสูต, 2555) 4) จิตพิสัย (Affective Domain) หมายถึง อารมณ์หรือความรู้สึกที่ได้แสดงออกมา ประกอบด้วย คุณลักษณะ 5 ประการได้แก่ คุณลักษณะที่เกี่ยวข้องกับ ความรู้สึก คุณลักษณะเฉพาะบุคคล คุณลักษณะที่มี ทิ ศ ทางของการแสดงออกสองทางที่ ต รงข้ า มกั น คุณลักษณะทีม่ รี ะดับแตกต่างกัน และประการสุดท้ายคือ คุณลักษณะที่มีเป้าหมาย (กรองได อุณหสูต, 2555) 5) เจตคติ (Attitude) แนวคิดที่มีความส�ำคัญ ทางจิตวิทยาสังคมและการสื่อสาร มีรากฐานมาจาก ความเชื่อที่อาจส่งผลถึงพฤติกรรมในอนาคต แสดงออก ถึงความชอบในสิง่ ทีก่ ระท�ำ เป็นแนวทางก�ำหนดปฏิกริ ยิ า

ผลการวิจัยและการอภิปรายผล

ลักษณะทั่วไปของผู้เรียนวิชาการบัญชีส�ำหรับ ธุ ร กิ จ และวิ ช าการสั ม มนาการบั ญ ชี เ พื่ อ การบริ ห าร จ�ำนวน 75 คน พบว่าผู้เรียนส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิด เป็นร้อยละ 61.30 ผูเ้ รียนในวิชาการสัมมนาการบัญชีเพือ่ การบริหาร เป็นนักศึกษาคณะการบัญชี คิดเป็นร้อยละ 52.00 ของจ�ำนวนประชากรส�ำหรับงานวิจยั นี้ ส่วนผูเ้ รียน ในวิชาการบัญชีส�ำหรับธุรกิจเป็นนักศึกษาที่ไม่ใช่คณะ การบัญชี ประกอบด้วย นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ คิดเป็นร้อยละ 45.30 และนักศึกษาคณะเทคโนโลยี สารสนเทศ คิดเป็น ร้อยละ 2.70 ภูมิล�ำเนาส่วนใหญ่อยู่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล คิดเป็นร้อยละ 54.67

17


18

จุลสารคณะการบัญชี ปีที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559

ผลการวิเคราะห์ความถดถอยของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ 3 ตัวแปร คือ ความนับถือคุณค่าตนเอง (Self Esteem) ความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Intelligence) และพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) กับตัวแปรตาม 2 ตัวแปรได้แก่ จิตพิสัย (Affective Domain) และเจตคติ (Attitude) ผลการวิจัยพบว่า พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ส่งผลกระทบเชิงบวกต่อจิตพิสัย (Affective Domain) อย่าง มีนัยส�ำคัญ (b3 = 0.909, p < 0.01) โดยมีค่า Adjusted R2 = 0.746 หมายความ ว่า ตัวแปรอิสระที่เป็นพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ท�ำนายตัวแปรตามที่เป็นจิต พิสัย (Affective Domain) ได้ร้อยละ 74.60 แสดงให้เห็นว่าผู้เรียนที่มีความรู้ ความ เข้าใจ สามารถน�ำเอาความรู้ และความเข้าใจนั้นไปแก้ปัญหาโจทย์ค�ำถาม วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่าเนื้อหาวิชาการบัญชีได้ จะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความชอบใน การเรียนวิชาการบัญชีเพิ่มมากยิ่งขึ้น และผลการวิจัยยังพบว่าพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ส่งผลกระทบเชิงบวกต่อเจตคติ (Attitude) อย่างมีนัยส�ำคัญ (b6 = 0.769, p < 0.01) โดยมีค่า Adjusted R2 = 0.688 หมายความว่า ตัวแปรอิสระที่เป็นพุทธิ พิสัย (Cognitive Domain) ท�ำนายตัวแปรตามที่เป็นเจตคติ (Attitude) ได้ร้อยละ 68.80 แสดงให้เห็นถึงผูเ้ รียนทีม่ คี วามรู้ ความเข้าใจ สามารถน�ำเอาความรู้ และความ เข้าใจนัน้ ไปแก้ปญ ั หาโจทย์คำ� ถาม วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่าเนือ้ หาวิชาการ บัญชีได้ จะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจในการเรียนวิชาการบัญชีเพิ่มมากยิ่งขึ้น ในการศึกษาผลการวิจยั นีส้ รุปได้วา่ พุทธิพสิ ยั ส่งผลกระทบเชิงบวกต่อจิตพิสยั และเจตคติ กล่าวคือผู้เรียนที่มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถน�ำเอาความรู้ และความ เข้าใจนัน้ ไปแก้ปญ ั หาโจทย์คำ� ถาม วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่าเนือ้ หาวิชาการ บัญชีได้ จะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความชอบและเกิดความพึงพอใจในการเรียนวิชาการ บัญชีเพิม่ มากยิง่ ขึน้ สอดคล้องกับ Kurt (2013) ศึกษาวิจยั พบว่าเจตคติทเี่ กิดจากพุทธิ พิสัย อารมณ์และพฤติกรรม จะมีบทบาทส�ำคัญต่อการเรียนรู้ของแต่ละบุคคล (Kurt, 2013)


“Accounting We Jump”

ส�ำหรับความนับถือคุณค่าตนเอง (Self Esteem) และความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Intelligence) พบว่า ไม่ส่งผลกระทบต่อจิตพิสัยและเจตคติของผู้เรียนที่เรียน วิชาการบัญชี สะท้อนให้เห็นว่า คุณลักษณะของกลุม่ ตัวอย่างทีต่ อบแบบสอบถาม ยังขาดความ นับถือคุณค่าตนเอง หมายถึงผู้เรียนยังขาดความตระหนักในการกระท�ำของตนเอง ขาดความ เชื่อมั่นในความคิดและความสามารถของตนเอง และยังพบว่าผู้เรียนขาดความฉลาดทาง อารมณ์ กล่าวคือผู้เรียนยังขาดความตระหนักรู้ถึงความรู้สึกของตนเองและผู้อื่น ยังบริหาร จัดการอารมณ์ต่างๆไม่ได้ รวมถึงการถ่วงดุลอารมณ์ตนเองไม่ได้ อันได้แก่ความวิตกกังวล ความตืน่ เต้น ความกลัวหรือความโกรธ ความสามารถสร้างความสัมพันธ์ในทางบวกและความ เอาใจใส่ผู้อื่นยังมีน้อย สรุปได้ว่าในสภาพปัจจุบัน ผู้เรียนส่วนใหญ่ยังขาดความนับถือคุณค่า ตนเองและความฉลาดทางอารมณ์ สอดคล้องกับงานวิจัยของ Elias, Bruene-Butler, Blum, and Schuyler (2000) กล่าวว่า นักเรียนในปัจจุบันมีปัญหาทางพฤติกรรมและสังคมมากกว่า อดีต (Elias and others, 2000) อาจกล่าวสรุปได้ว่าในการจัดการทางการศึกษาตั้งแต่การ ศึกษาขั้นพื้นฐานจนถึงระดับอุดมศึกษา ซึ่งผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายจะต้องตระหนักและให้ความ ส�ำคัญต่อสิ่งเหล่านี้เป็นอย่างมาก

ข้อเสนอแนะส�ำหรับการน�ำผลการวิจัยไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ควรจัดให้มีกิจกรรมส่งเสริมผู้เรียนที่ท�ำให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาบทเรียน เป็นพื้นฐานเบื้องต้นแล้ว จะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดจิตพิสัยที่ดีและเจตคติที่ดี อันจะน�ำไปสู่ความ ชอบและเกิดความพึงพอใจในการเรียนวิชาการบัญชีเพิ่มมากยิ่งขึ้น

19


20

จุลสารคณะการบัญชี ปีที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559

บรรณานุกรม

กรองได อุณหสูต. ผศ.ดร. 2555. การประเมินผลตามพฤติกรรมการเรียนรู้, ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ. 2542. พระราชบัญญัติการศึกษา พ.ศ.2542 เมธาวี อุดมธรรมานุภาพ. รศ.ดร. และภักดี ปรีวรรณ. 2554. ธรรมชาติของผู้เรียน, มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต กรุงเทพมหานคร Aaker, Son, A., Kumar, V. and Day, S. 2001. Marketing research, John Wiley and

New York. Briggs E., Landry T., and Wood C., 2007. Beyond Just Being there: An Examination of the Impact of Attitudes, Materialism, and Self-Esteem on the Quality of Helping Behavior in Youth Volunteers. Journal of Nonprofit & Public Sector Marketing, 18 (2): 27-45. Elias M. J., Bruene-Butler L., Blum L., and Schuyler T., 2000. Voices From the Field: Identifying and Overcoming Roadblocks to Carrying Out Programs in Social and Emotional Learning/Emotional Intelligence. Journal of Educational and Psychological Consultation, 11 (2): 253-272. Koczwara A., Tavabie A., and Patterson F., 2011. Evaluation of GP appraiser development centres using emotional intelligence: can positive learning outcomes be transferred to practice?. Education for Primary Care, 22: 399-408. Kurt H., 2013. Determining Biology Teacher candidates’ conceptual structures about energy and Attitudes towards energy. Journal of Baltic Science Education, 12 (4): 399-423. Lee, F., Lee, C. and Lee, A 2000. Statistics for Business and Financial Economics. 2nd Ed., World Scientific, Singapore. Nunnually, C. 1978. Psychometric theory. McGraw-Hill, New York. Plunkett, W. and Attner, R. 1989. Introduction to Management. SWS Pub. Co.


“Accounting We Jump”

นักบัญชีจะรุกหรือจะรับในวิชาชีพบัญชี ผศ.อัมพร เที่ยงตระกูล

สภาวิ ช าชี พ บั ญ ชี ไ ทยในปั จ จุ บั น ได้ มี ก าร เคลือ่ นไหวตลอดเวลากับการพัฒนาวิชาชีพบัญชีสปู่ ระชา คมเศรษฐกิขอาเซียน เพื่อรองรับกับ AEC ปี 2558 ซึ่ง จะเห็นได้จากการท�ำวิจยั ของสภาวิชาชีพบัญชีฯ ทีไ่ ด้แจก แบบสอบถามให้ กั บ สมาชิ ก สภาวิ ช าชี พ ฯ เกี่ ย วกั บ สถานการณ์ ข องวิ ช าชี พ บั ญ ชี ใ นปั จ จุ บั น ตั้ ง แต่ เ ดื อ น มกราคมถึงเดือนพฤษภาคม 2556(สวัสดิการกรมพัฒนา ธุรกิจการค้า , 2556) ซึง่ มีสมาชิกสภาวิชาชีพบัญชีฯตอบ แบบสอบถามกลับมาจ�ำนวน 315 คน ผลการวิจัยพบว่า สมาชิกสภาวิชาชีพบัญชีฯ ที่ตอบแบบสอบถามกลับมา เป็นเพศชาย 16 %เพศหญิง 84 % ช่วงอายุมากที่สุดอยู่ ในช่วงอายุ 31-40ปีคิดเป็นร้อยละ 34% ระดับการศึกษา มากทีส่ ดุ อยูใ่ นระดับปริญญาตรีรอ้ ยละ 63% ซึง่ ประกอบ อาชีพทางด้านการท�ำบัญชี 47% ด้านการสอบบัญชี 35% ด้านการบัญชีบริหาร 11% ด้านการบัญชีภาษีอากรและ ด้านการวางระบบบัญชี 6% และ ด้านการศึกษาและ เทคโนโลยีทางบัญชี 1% โดยมีประสบการณ์การท�ำงาน ด้านบัญชีระหว่าง 4-6ปี 42% และประสบการณ์มากกว่า 10ปี 28% ซึ่งมีต�ำแหน่งในความรับผิดชอบต่องานเป็น ระดับผู้บริหาร 15% ระดับปฏิบัติการ 39% และระดับ บังคับบัญชา 46% ขนาดองค์กรที่ปฏิบัติงานมีขนาดเล็ก 56% ขนาดกลาง 19% และขนาดใหญ่ 25% ส�ำหรับ

ประเภทอุตสาหกรรมส่วนใหญ่บริการด้านอื่นๆ 27% ด้านการค้า 29% ด้านบริการทางด้านวิชาชีพบัญชี 24% ด้านการผลิต 19%และด้านเกษตรกรรม 1% ตามล�ำดับ ดังนั้นผลจากการวิจัยของสภาวิชาชีพบัญชีฯ อาจจะเป็นตัวสะท้อนให้เห็นถึงทางเลือกของนักบัญชีไทย โดยเฉพาะการประกอบวิชาชีพบัญชี ว่าจะเน้นวิชาชีพ ด้านไหน และควรที่จะเพิ่มคุณวุฒิทางการศึกษาหรือไม่ เพือ่ จะได้เพิม่ พูลความรูแ้ ละศักยภาพของตนรวมทัง้ เพือ่ ให้ได้เปรียบในวิชาชีพ ดังนั้นปัญหาอยู่ที่ว่านักบัญชีไทย มีความพร้อมในการรุกหรือรับ ท่านเป็นนักบัญชีลองตอบ ค� ำ ถามก่ อ นว่ า ท่ า นได้ ท ราบแล้ ว หรื อ ยั ง ว่ า เมื่ อ เป็ น ประชาคมอาเซียน จะมีการน�ำสินค้าเข้าส่งออกได้อย่าง เสรี ท่านมีความพร้อมทีจ่ ะรับมือหรือไม่พร้อมทีจ่ ะรับมือ กลุ ่ ม เป้ า หมายหากประชาคมอาเซี ย นจะเริ่ ม ต้ น ในปี พ.ศ.2558 ท่านคิดว่าตัวท่านเอง จะได้รับผลกระทบจาก การเป็นประชาคมอาเซียนหรือไม่หรือไม่แน่ใจ ยังมีอีก หลายปัจจัยทีเ่ ป็นปัจจัยในการหาทางเลือกเพือ่ ให้ได้เป็น นักบัญชที่ก้าวกระโดดไปข้างหน้า เช่นท่านควรท�ำการ ศึกษาต่อในระดับสูงขึ้น มีการอบรมหลักสูตรบัญชีอย่าง ต่อเนือ่ ง มีการอบรมภาษาอังกฤษส�ำหรับนักบัญชี มีการ อบรมการวิเคราะห์ ส�ำหรับวิชาชีพบัญชี เป็นต้นสิ่งเหล่า

21


จุลสารคณะการบัญชี ปีที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559

22

นีอ้ าจเป็นทางเลือกทีท่ ำ� ให้เกิดกลยุทธ์เชิงรุกเพือ่ รองรับการแข่งขันข้ามแดนได้งา่ ย และ เพื่อรองรับกับ Outsourse ที่มีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้น ประเด็นทีส่ ำ� คัญของข้อผูกพันในส่วนการบริการด้านการบัญชีของไทยภายใต้ AFAS ได้แก่ Mode1 การบริการไร้พรมแดน Mode 2 การบริการในต่างประเทศ ซึ่ง ทั้ง2 Mode ไม่มีข้อจ�ำกัด ในการบริการ ส่วน Mode 3 การจัดตั้งธุรกิจ สัดส่วนหุ้น ต่างชาติเป้าหมายไม่เกิน 70% และ Mode 2 การให้บริการโดยบุคคลธรรมดาไม่มีข้อ ผูกพัน แต่การบริการวิชาชีพบัญชีทอี่ ยูใ่ น Mode3 การจัดตัง้ ธุรกิจภายใต้บริการวิชาชีพ บัญชี(www.fap.0r.th) ประกอบด้วย เป็นวิชาชีพที่นักบัญชีต้องคิดล่ะว่าจะรุกหรือ จะรับ ซึ่งรายละเอียดของการบริการวิชาชีพใน Mode 3 ปรากฏตามตารางข้างล่างนี้ CPC CPC862.1

CPC862 : บริการสาขาวิชาชีพบัญชี CPC863 : บริการภาษีอากร Accounting and Auditing Services

CPC862.2

Bookkeeping Services, except Tax Returns

CPC862.3

Taxation Services

จากตารางข้างต้น CPC862.1 Accounting and Auditing Services ได้แก่ Financial Auditing Service , Accounting Review Services, Compilation of Financial Statements Services และ Other Accounting Services. ที่ผูกพันตาม Package 8 แล้ว ไม่เกิน 49% ส่วน CPC862.2 Bookkeeping Services, except Tax Returns ได้แก่การ จัดท�ำบัญชี ที่ไม่ใช่งานบริการคืนภาษีตาม CPC 863 ที่ผูกพันตาม Package 8 ไม่ เกิน 51% และ CPC863 Taxation Services ได้แก่ Business tax planning and consulting services, Business tax preparation and review services, Individual tax preparation and planning servicesและ Other tax related services.ที่ผูกพันตาม Package 8 ไม่เกิน 49%


“Accounting We Jump”

(Package 8 หมายถึง บริการจัดท�ำบัญชี ส�ำหรับยืน่ แบบภาษีให้กบั บริษทั ในเครือหรือบริษทั ในกลุม่ ของต่างชาติ ) จะเห็นได้ว่าประเด็นของข้อผูกพันในส่วนการ บริการด้านบัญชีจะมีผลกระทบต่อผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชี ได้แก่ กรณีนักลงทุนต่างชาติถือหุ้นใหญ่ในกิจกรรมที่ ผู ก พั น ถึ ง ร้ อ ยละ 70% ผลกระทบของการลงทุ น ใน ส�ำนักงานขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ การ ตามทันมาตรฐานวิชาชีพบัญชีทเี่ ป็นสากล และความเป็น เจ้าของกิจการ/ เงินลงทุน ฐานลูกค้าและความมีชอื่ เสียง ของส�ำนักงาน(Branding) แล้ ว ท่ า นเป็ น นั ก บั ญ ชี ท ่ า นจะรุ ก หรื อ จะรั บ ดี...................

23


24

จุลสารคณะการบัญชี ปีที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559

ก้าวสู่ AEC นักบัญชีกระโดดได้ ดร.เอกพล คงมา

นักศึกษาทราบหรือไม่ว่า เมื่อนักศึกษาเรียนจบ หลักสูตรปริญญาตรีทางบัญชีที่สภาวิชาชีพบัญชีรับรอง นั้น สามารถเข้าท�ำงานในสายอาชีพต่าง ๆ ได้อย่าง มากมายไม่ใช่เป็นเพียงแค่ผู้ท�ำบัญชี ยกตัวอย่างเช่น ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ผู้สอบบัญชีภาษีอากร นักบัญชี บริหาร นักบัญชีภาษีอากร ที่ปรึกษาด้านการวางระบบ สารสนเทศ ที่ปรึกษาด้านการบริหารความเสี่ยงและ การควบคุมภายใน ผูต้ รวจสอบระบบสารสนเทศ อาจารย์ นักวิจัย ตลอดจนอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง ซึ่งส่วนใหญ่ องค์กรจะพิจารณารับนักศึกษาทีจ่ บบัญชีเป็นล�ำดับต้น ๆ โอกาสในอาชีพต่าง ๆ ที่หลากหลายเหล่านี้ท�ำให้อาจ กล่าวได้ว่านักศึกษาบัญชีเรียนจบแล้วมักไม่ค่อยตกงาน

วิ ช าชี พ บั ญ ชี เ ป็ น หนึ่ ง ในเจ็ ด วิ ช าชี พ ที่ อ ยู ่ ใ นข้ อ ตกลง ร่ ว มกั น ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ งการเคลื่ อ นย้ า ยแรงงานฝี มื อ เสรี (อีกหกวิชาชีพที่เหลือ ได้แก่ วิศวกร พยาบาล สถาปนิก แพทย์ ทั น ตแพทย์ แ ละช่ า งส� ำ รวจ) นั่ น คื อ เมื่ อ ประเทศไทยก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 นักวิชาชีพบัญชีจากประเทศใดประเทศหนึ่ง ในกลุ่ม อาเซี ย นจะสามารถเข้ า มาประกอบวิ ช าชี พ บั ญ ชี ในประเทศไทยได้อย่างเสรี ในทางกลับกันนักวิชาชีพ บั ญ ชี ไ ท ย ก็ ส า ม า ร ถ ไ ป ป ร ะ ก อ บ วิ ช า ชี พ บั ญ ชี ในประเทศกลุ่มอาเซียนได้อย่างเสรีเช่นกัน โดยผ่านการ จั ด ท� ำ ข ้ อ ต ก ล ง ร ่ ว ม กั น ( M R A : M u t u a l Recognition Arrangement)

ในอนาคตอันใกล้นี้ ทุกท่านคงทราบแล้วว่า หลายหน่วยงานมีการตืน่ ตัวกับการเปิดเสรีทางการค้ากับ ประเทศในกลุ ่ ม อาเซี ย น โดยใช้ ค� ำ ที่ แ พร่ ห ลายว่ า “ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น” (AEC: ASEAN Economic Community) หรือ “ประชาคมอาเซียน” (AC: ASEAN Community) ซึง่ จะเริม่ ต้นในปลายปี 2558 ซึ่งการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนดังกล่าวส่งผลกระทบกับ การค้าเสรีทเี่ ปิดกว้างกับทุกประเทศสมาชิกมากขึน้ และ วิชาชีพบัญชีก็ถือเป็นส่วนหนึ่งของแผนในการเปิดเสรี ดังกล่าว

หนึ่งในตัวอย่างของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ซึ่ ง เป็ น โอกาสของนั ก ศึ ก ษา คื อ การได้ เ ป็ น นั ก บั ญ ชี อาเซี ย นตามความตกลงยอมรั บ ร่ ว มกั น ของอาเซี ย น ส�ำหรับสาขาบริการบัญชี ซึ่งนักศึกษาที่ต้องการเป็นนัก บัญชีอาเซียนอาจต้องมีคุณสมบัติโดยคร่าว ๆ ดังต่อไป นี้ 1. ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาทางบัญชีหรือ ผ่านการทดสอบในโปรแกรมทางบัญชี ทีไ่ ด้รบั การยอมรับ โดยองค์ ก รวิ ช าชี พ บั ญ ชี ใ นประเทศแหล่ ง ก� ำ เนิ ด หรื อ ประเทศผู้รับ ว่าเทียบเท่ากับระดับการศึกษาดังกล่าว


“Accounting We Jump”

2. มีการขึน้ ทะเบียนหรือมีใบอนุญาตทีย่ งั ไม่สนิ้ ผลในปัจจุบนั เพือ่ ประกอบวิชาชีพบัญชีในประเทศแหล่ง ก�ำเนิด ซึง่ ออกให้โดยองค์กรวิชาชีพบัญชี และสอดคล้อง กับนโยบายภายในประเทศด้านการขึ้นทะเบียน การ อนุญาต และการรับรองในการประกอบวิชาชีพบัญชี 3. มีประสบการณ์ในด้านที่เกี่ยวข้องไม่น้อย กว่า 3 ปี สะสมได้ภายในระยะเวลา 5 ปี หลังจากมี คุณสมบัติทางด้านการศึกษาตามข้อ 1 4. ปฏิบัติสอดคล้องตามนโยบายการพัฒนา วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง (CPD: Continuing Professional Development) ของประเทศแหล่งก�ำเนิด 5. ได้รบั ใบรับรองจากองค์กรวิชาชีพบัญชีของ ประเทศแหล่งก�ำเนิดและไม่มปี ระวัตกิ ารกระท�ำผิดอย่าง ร้ายแรงด้านเทคนิค มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณ ในระดับท้องถิ่นและระหว่างประเทศในการประกอบ วิชาชีพบัญชี

หลังจากที่ขึ้นทะเบียนเป็นนักบัญชีอาเซียนแล้ว ยังมีอีกเล็กน้อยส�ำหรับผู้ที่ต้องการเข้าไปท�ำงานต่าง ประเทศ (ประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียนที่ไม่ใช่ ประเทศแหล่งก�ำเนิด) นั่นคือ จะต้องยื่นขอเป็นนักบัญชี ต่างด้าวจดทะเบียน (RFPA: Registered Foreign Professional Accountant) กับประเทศผู้รับให้ท�ำงาน ได้ โดยผ่านคณะกรรมการก�ำกับดูแลเช่นเดียวกัน โดย นั ก บั ญ ชี ต ่ า งด้ า วจดทะเบี ย นจะไม่ ส ามารถประกอบ วิชาชีพเพียงล�ำพังในประเทศผู้รับ แต่จะต้องปฏิบัติงาน ร่วมกับนักบัญชีของประเทศผู้รับอย่างน้อยหนึ่งคนหรือ มากกว่าด้วย ภายใต้ข้อบังคับของกฎหมายและระเบียบ ภายในและที่สามารถน�ำมาใช้บังคับได้ จากขั้นตอนที่กล่าวมาทั้งหมดสามารถเปรียบ เทียบแบบสรุปสั้น ๆ ตามที่สภาวิชาชีพบัญชีได้แนะน�ำ ไว้ก็คือ ก่อนจะไปท�ำงานในประเทศกลุ่มประชาคม อาเซียนนัน้ จะต้องมี พาสปอร์ต ซึง่ ได้แก่การจดทะเบียน เป็นนักบัญชีอาเซียน (ACPA) ในประเทศของตนเสียก่อน จากนั้นก็ไปขอ วีซ่า กับประเทศที่ตนจะไปท�ำงาน นั่นก็ คือการขอเป็นนักบัญชีต่างด้าวจดทะเบียน (RFPA) และ สามารถไปท�ำงานร่วมกับนักบัญชีประเทศที่ต้องการได้ เป็ น อั น จบ เชื่ อ หรื อ ยั ง ครั บ ว่ า การก้ า วเข้ า สู ่ AEC นักบัญชี.....กระโดดได้

เมื่ อ มี คุ ณ สมบั ติ ค รบตามข้ อ ตกลงร่ ว มกั น ก็ สามารถขึ้ น ทะเบี ย นเป็ น นั ก บั ญ ชี อ าเซี ย น (ACPA: ASEAN Chartered Professional Accountant) ได้โดย จะต้องผ่านการประเมินจากคณะกรรมการก�ำกับดูแล (MC: Monitoring Committee) ในแต่ละประเทศ ซึ่ง ในอาเซี ย นจะอยู ่ ภ ายใต้ ก ารดู แ ลของคณะกรรมการ ประสานงานด้ า นวิ ช าชี พ บั ญ ชี อ าเซี ย น (ACPACC: ที่มา : สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ (http:// ASEAN Chartered Professional Accountant www.fap.or.th/) Coordinating Committee)

25


26

จุลสารคณะการบัญชี ปีที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559

ก้าวกระโดดอย่างไรเมื่อโอกาสมาถึง ผศ.สงกรานต์ ไกยวงษ์

ยุคทองของวิชาชีพบัญชีไทยจากผลสรุปจากการศึกษาหรือส�ำรวจของ แมนพาวเวอร์ กรุ๊ป ประเทศไทยได้พบว่า ในปัจจุบัน บุคลากรสายงานการบัญชียังคงเป็นที่ต้องการของภาค องค์กรธุรกิจอย่างหรือนักศึกษาที่เรียนได้เกียรตินิยมอันดับ 1 และ 2 จะถูกจองตัวจากบริษัท ใหญ่ค่อนข้างแน่นอน ในขณะเดียวกันเงินเดือนโดยเฉลี่ยของกลุ่มสายงานด้านนี้ ค่อนข้างสูง และมีการก้าวกระโดดถึงร้อยละ 60 ถือว่าสูงมาก เมื่อเทียบกับสายงานด้านอื่น ดังนั้นจากผล การส�ำรวจนีน้ กั บัญชีจะต้องเตรียมตัวให้พร้อมเพือ่ เข้าสูต่ ลาดสากลหรือท�ำงานกับบริษทั ต่างชาติ ทักษะที่จ�ำเป็นของนักวิชาชีพบัญชีอันได้แก่ ภาษาโดยเฉพาะภาษาอังกฤษซึ่งเป็นภาษาสากล การพัฒนาตนให้มคี วามรูค้ วามสามารถเพือ่ ให้ตนได้ปฏิบตั งิ านได้ตามมาตรฐานแห่งวิชาชีพ อีก องค์ความรู้หนึ่งที่จ�ำเป็นมากต่อองค์กรคือการเป็นผู้เชี่ยวชาญด้าน Tax Specialist ที่มีการ การันตีดว้ ยใบ Certificate Public Account หรือ CPA เข้ามามีบทบาทต่อองค์กร การวิเคราะห์ ภาษี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการได้ก�ำไร หรือขาดทุน และจุดเด่นที่ส�ำคัญของนักบัญชีวิชาชีพไทย คือ เรื่องจรรยาบรรณในวิชาชีพ ซึ่งสภาวิชาชีพบัญชีให้ความส�ำคัญอย่างมาก และการเรียน การสอนในระดับอุดมศึกษาจะเน้นส่งเสริมและปลูกฝังในเรื่องจรรยาบรรณ ความโปร่งใส ยุตธิ รรมแก่นกั ศึกษา ไม่ให้มองเรือ่ งผลประโยชน์มากกว่าคุณธรรม ซึง่ ตรงจุดนี้ จะช่วยลดปัญหา การทุจริตคอร์รปั ชัน่ ได้ และการตรวจสอบนักบัญชีไทยก็จะมีสภาวิชาชีพบัญชีฯ เป็นผูค้ อยตรวจ สอบอยูแ่ ล้ว ซึง่ ปัจจุบนั ก็จะมีการร้องเรียนเข้ามา หากพบว่านักบัญชีรายไหนท�ำงบการเงินบริษทั ส่อไปในทางไม่ถูกต้อง ทางสภาวิชาชีพบัญชีจะมีบทลงโทษ ไล่ตั้งแต่เบา จนถึงหนัก เช่น ตักเตือน ระงับใบอนุญาตชั่วคราว จนถึงถอนใบอนุญาตถาวร ในอณาคตอันไกล้นี้ประเทศไทยจะเข้าร่วมเป็นกลุ่มประเทศ AEC จ�ำนวน 10 ประเทศ และก�ำลังอยู่ในกระบวนการเจรจาตามกรอบความตกลงร่วมกันไม่ว่าจะเป็น ASEAN+3 (จีน ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้)ASEAN+6 (จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์) หรือตามกรอบการค้าการลงทุนทั่วทุกภูมิภาคอย่าง องค์กรการค้าโลก หรือ World Trade Organization (WTO) ดังนั้นการปรับตัวของนักบัญชีไทยในระยะยาวควรรองรับการเปิดเสรีใน


“Accounting We Jump”

ระดับต่างๆ ที่มากไปกว่าการเปิดเสรีในระดับ AEC ภาษาทางการตามข้อตกลงร่วมกันใน กลุ่มประเทศ AEC ก�ำหนดให้เป็นภาษาอังกฤษที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในระดับนานาชาติ การเตรียมความพร้อมทางด้านภาษาอังกฤษจึงเป็นการเตรียมความพร้อมส�ำหรับการเปิดเสรี ในทุกระดับของทุกสาขาวิชาชีพไม่เพียงแต่เฉพาะวิชาชีพบัญชีเท่านัน้ และนักบัญชีควรศึกษา เพิ่มเติมภาษาที่สามในกลุ่มประเทศ AEC เช่น เวียดนาม พม่า หรืออินโดนีเซีย ถือเป็นการ สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับตัวเอง เป็นการสร้างโอกาสความก้าวหน้าในอนาคตยิ่งๆขึ้น สรุปว่าถ้า นักบัญชีไทยเตรียมตนเองให้พร้อมทีจ่ ะกว้าต่อไปอย่างโดเด่นในนานาชาติภาษาสือ่ สารมีความ ส�ำคัญอย่างมาก

27


28

จุลสารคณะการบัญชี ปีที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559

งบการเงินส�ำหรับกิจการที่มีส่วนได้เสียต่อสาธารณะ อาจารย์ รัชดาภรณ์ เสมาขันธ์

งบการเงิน เป็นการน�ำเสนอฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานทางการเงินของกิจการอย่างมี แบบแผน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการด�ำเนินงาน และกระแส เงินสดของกิจการ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจของผู้ใช้งบการเงินกลุ่มต่างๆ นอกจากนี้ งบการเงินยังแสดงถึงผลการบริหารงานของฝ่ายบริหารซึ่งได้รับมอบหมายให้ดูแล ทรัพยากรของกิจการ (สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์, 2555) ดังนั้นงบการเงินจึงต้องมี ลักษณะเชิงคุณภาพกล่าวคือ ต้องเข้าใจได้ เกีย่ วข้องกับการตัดสินใจ เชือ่ ถือได้ และต้องสามารถ เปรียบเทียบกันได้ ซึ่งเป็นไปตามลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงินตามกรอบแนวคิดทางบัญชี (Conceptual Framework) ที่สภาวิชาชีพบัญชีฯ ประกาศใช้ กิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะคือกิจการที่เข้าลักษณะเป็นกิจการที่ 1) มีตราสารทุน หรือตราสารหนี้ของกิจการซึ่งมีการซื้อขายต่อประชาชน หรือ 2) ด�ำเนินธุรกิจหลักในการดูแล สินทรัพย์ของกลุ่มบุคคลภายนอกในวงกว้าง หรือ 3) เป็นกิจการที่จดทะเบียนเป็นบริษัทมหาชน จ�ำกัด ตามทีส่ ภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้กำ� หนดมาตรฐานการจัดท�ำและน�ำเสนอ งบการเงินจ�ำแนกเป็น 2 กลุ่มกิจการส�ำหรับรอบระยะเวลารายงานที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป โดยจ�ำแนกเป็นกลุ่มกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียต่อสาธารณะ (Non-Publicly Accountable Entities : NPAEs) และกลุ่มกิจการที่มีส่วนได้เสียต่อสาธารณะ (Publicly Accountable Entities :PAEs) ซึง่ กิจการทีไ่ ม่มสี ว่ นได้เสียต่อสาธารณะต้องจัดท�ำและ น�ำเสนองบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินส�ำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียต่อ สาธารณะ(Thai Financial Reporting Standard :TFRS for NPAEs) เพียง 1 ฉบับเท่านั้น ส่วนกิจการที่มีส่วนได้เสียต่อสาธารณะต้องจัดท�ำและน�ำเสนองบการเงินตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน(Thai Financial Reporting Standard :TFRSs) ทุกฉบับตามที่สภาวิชาชีพ บัญชี ฯ ประกาศใช้


“Accounting We Jump”

การมีมาตรฐานการจัดท�ำและน�ำเสนองบการเงิน จ�ำแนกเป็น 2 กลุม่ กิจการข้างต้น ส่งผลท�ำให้การน�ำเสนองบการเงินของกลุม่ กิจการ 2 กลุม่ แตกต่างกัน กล่าวคือ การน�ำเสนอ งบการเงินของกิจการที่มีส่วนได้เสียต่อสาธารณะ จะประกอบด้วย งบแสดงฐานะการเงิน งบก�ำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ และหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน ในขณะทีง่ บการเงินส�ำหรับกลุม่ กิจการทีไ่ ม่มสี ว่ นได้เสียต่อสาธารณะจะ ประกอบด้วย งบแสดงฐานะการเงิน งบก�ำไรขาดทุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของ เจ้าของ และหมายเหตุประกอบงบการเงิน ความแตกต่างกันก็คือกิจการที่มีส่วนได้เสียต่อ สาธารณะต้องน�ำเสนองบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ และงบกระแสเงินสด ให้กบั บุคคลภายนอก โดยทีก่ จิ การทีไ่ ม่มสี ว่ นได้เสียต่อสาธารณะ ไม่ตอ้ งน�ำเสนองบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ และงบ กระแสเงินสด ตามข้อก�ำหนดของพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 และตามมาตรฐาน การบัญชีที่เกี่ยวข้องโดยท่านสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่1 เรื่องการน�ำเสนองบการเงินจาก www.fap.or.th และพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 จาก www.dbd.go.th

29


30

จุลสารคณะการบัญชี ปีที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559

โอกาสกระโดดสู่เวที ASEAN ของนักวิชาชีพบัญชี อาจารย์ ชุตินุช อินทรประสิทธิ์

การก้าวเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 สร้างโอกาสให้กับทุกคนในมิติที่แตกต่างกัน แต่โอกาส ในด้านอาชีพเพื่อเลี้ยงปากเลี้ยงท้องดูจะเป็นที่กล่าวถึง มากที่ สุ ด เพราะภายหลั ง การรวมตั ว เป็ น ประชาคม อาเซียนแล้วการเปิดเสรีดา้ นการเคลือ่ นย้ายแรงงานฝีมอื ใน 7 อาชีพ คือ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล วิศวกรรม สถาปัตยกรรม การส�ำรวจ และบัญชี จะเป็นปรากฏการณ์ ทีส่ ำ� คัญ ดังนัน้ นักบัญชีอย่างพวกเราเมือ่ โอกาสมาอยูต่ รง หน้าเราอย่างนี้ถ้าเราไม่คว้าไว้คงเป็นเรื่องที่น่าเสียดาย อย่างยิ่ง จากผลการส�ำรวจความรู้ความเข้าใจเรื่อง เออี ซี เกี่ ย วกั บ ข้ อ ตกลงด้ า นการเคลื่ อ นย้ า ยวิ ช าชี พ 6 สาขา จัดท�ำโดยศูนย์การศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เมือ่ ปี 2555 ระบุวา่ เมือ่ เทียบ กับอาชีพอื่นๆในกลุ่มแรงงานฝืมือที่จะมีการเปิดเสรี บัญชีเป็นอาชีพทีร่ งุ่ ทีส่ ดุ เพราะประเทศไทยมีความพร้อม ด้านจ�ำนวนนักบัญชี โดยในปัจจุบันประเทศไทยน่าจะ มีนักบัญชีมากที่สุดในอาเซียน จากข้อมูลของสภาวิชาชี พบัญชีฯ มีผู้ขึ้นทะเบียนประกอบวิชาชีพบัญชีประมาณ 5.8 หมื่นคน และมีผู้ถือใบอนุญาตเป็นผู้สอบบัญชีรับ อนุญาต (CPA) 8,700 คน สถาบันผลิตนักบัญชีทั่ว ประเทศมีกว่า 300 แห่ง ผลิตนักบัญชีปีละไม่ต�่ำกว่า 20,000 คน ประกอบกั บ ประเทศในกลุ ่ ม CLMV

(กัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียตนาม) ยังขาดแคลน นักวิชาชีพบัญชี จากเหตุผลข้างต้นท�ำให้โอกาสเติบโตในเวที อาเซียนของนักบัญชีไทยเด่นชัดยิ่งขึ้น ดังนั้นเราจะมา พิจารณากันว่าการเราจะกระโดดให้ไกลกว่าคนอืน่ ในเวที อาเซียนได้อย่างไร เตรี ย มความพร้ อ มในด้ า นวิ ช าชี พ ได้ แ ก่ การพัฒนาความรูเ้ กีย่ วกับมาตรฐานรายงานทางการเงิน ระหว่างประเทศ การภาษีอากร และด้านเทคโนโลยี สารสนเทศทางบัญชี เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบันสภาวิชาชี พบัญชีฯ ได้เปิดอบรมหลักสูตรที่หลากหลายเพื่อเตรียม ความพร้ อ มให้ กั บ นั ก บั ญ ชี เช่ น หลั ก สู ต ร 1 ปี ประกาศนียบัตรพิเศษนักบัญชีเพื่อเพิ่มทักษะด้านบัญชี ขั้นสูง พัฒนาความรู้ภาษาอังกฤษและภาษาในกลุ่ม อาเซียน เนื่องจากตามที่ระบุในกฎบัตรอาเซียนข้อ 34 ว่า “The working language of ASEAN shall be English” “ภาษาทีใ่ ช้ในการทางานของอาเซียน คือ ภาษา อังกฤษ” ภาษาอังกฤษจึงเป็นภาษาทีส่ องของชาวอาเซียน เคียงคูภ่ าษาทีห่ นึง่ อันเป็นภาษาประจ�ำชาติของแต่ละคน


“Accounting We Jump”

ส่วนภาษาทีส่ ามของชาวอาเซียนนัน้ ก็คอื ภาษาอืน่ ในอาเซียนภาษาหนึง่ ภาษาใดหรือมากกว่าหนึง่ ภาษา เช่น ภาษามาเลย์ ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาจีน ภาษาลาว ภาษาขแมร์ ภาษาเวียดนาม ภาษาพม่า ภาษาฟิลิปปิ โน ภาษาฮินดี และ ภาษาทมิฬ ศึกษากฎระเบียบข้อบังคับต่างๆและความรูเ้ กีย่ วกับองค์กรวิชาชีพและหน่วยงานราชการทีเ่ กีย่ วข้อง ในกลุ่มประเทศสมาชิก ศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับความรูท้ จี่ ำ� เป็นส�ำหรับการจัดตัง้ ธุรกิจใน 10 ประเทศสมาชิก เช่น กฎหมาย ทางด้านธุรกิจ และกฎระเบียบต่างๆ ของแต่ละประเทศในกลุ่มอาเซียน ในด้านรูปแบบของธุรกิจ ลักษณะ การดาเนินธุรกิจ และการจดทะเบียนจัดตั้งธุรกิจที่มีความแตกกัน แสวงหาโอกาสด�ำเนินธุรกิจด้านบริการวิชาชีพบัญชีในกลุ่มประเทศที่มีการผ่อนปรนข้อก�ำหนดใน การลงทุนตามเป้าหมายของ AEC Blueprint ก่อน ได้แก่กลุ่ม CLMV ( กัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และ เวียตนาม) ประเทศสิงคโปร์ และบรูไน ส�ำหรับผู้ที่เป็นเจ้าของส�ำนักงานบัญชีควรพัฒนาส�ำนักงานบัญชีของตนให้มีมาตรฐานตามที่ หน่วยงานก�ำกับดูแลได้ก�ำหนด เพื่อเพิ่มความสามารถเชิงแข่งขันในระดับสากล พัฒนาหรือสร้างเครือข่าย พันธมิตรทางธุรกิจในภูมิภาค เรียนรู้เพื่อปรับตัวให้เข้ากับสังคม และวัฒนธรรมของกลุ่มประเทศสมาชิกเพื่อให้การด�ำเนินธุรกิจ ร่วมกันเป็นไปอย่างราบรื่นและประสบความส�ำเร็จไปด้วยกัน ถ้าเริม่ ต้นนับเวลาถอยหลัง ณ เวลานี้ ส�ำหรับการก้าวเข้าสูป่ ระขาคมอาเซียนก็คงเหลือเวลาไม่มาก นัก แต่อย่าไรก็ตามก็คงไม่สายไปส�ำหรับการเริม่ ต้น ผูเ้ ขียนจึงขอเชิญชวนให้พวกเราตืน่ ตัวและเตรียมพร้อม กันดีกว่าเพือ่ โอกาสประสบความส�ำเร็จร็จในวิชาชีพของตัวท่านเอง นอกจากนีย้ งั เป็นการช่วยพัฒนาวิชาชีพ บัญชีในประเทศไทยให้ก้าวไกลในเวทีนานาชาติด้วย

เอกสารอ้างอิง วีรยุทธ สุขมาก และ กนกศักดิ์ สุขวัฒนาสินิทธิ์. (2555) ความคิดเห็นของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีเกี่ยวกับ ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการเพิม่ มูลค่าของผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชีเพือ่ เตรียมความพร้อมสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีปทุม, กรุงเทพฯ). กระทรวงพาณิชย์. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. (2555). ธุรกิจบริการ:วิชาชีพบัญชี. กรุงเทพฯ:ผู้แต่ง. ชุลีพร บุตรโคตร. (2556, 21 สิงหาคม). 7อาชีพเออีซีกระทบ’พยาบาล’มากที่สุด ไทยมีนักบัญชี’อื้อแต่ท�ำ งานตปท.ไม่ได้. ศูนย์ข้อมูลและข่าวสืบสวนเพื่อสิทธิพลเมือง. สืบค้นจาก http://www.tcijthai. com/tcijthai/view.php?ids=2973.

31


32

จุลสารคณะการบัญชี ปีที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559

เคล็ดลับถ้าอยากเก่งภาษาแบบก้าวกระโดด อาจารย์ สุพิชา ศรีสุคนธ์

AEC ใกล้จะมาถึง ตอนนี้นักศึกษาของเราเตรียมตัว ลงเรียนวิชาที่เป็นภาษาต่างประเทศ กับการเปลี่ยนแปลงมากแค่ไหนคะ?

ลองเลือกลงทะเบียนเรียนวิชาที่เป็นภาษาต่าง ส�ำหรับนักศึกษา ปัจจุบัน เราไม่ใช่แค่เก่งด้าน ประเทศ ทีเ่ ราสนใจ ถึงแม้ตอนเลือกอาจไม่แน่ใจ กลัวๆ บัญชี แต่ทักษะ ความรู้ที่จ�ำเป็นไม่แพ้กัน คือ ด้าน IT ว่าจะเรียนได้ไหม แต่ไม่มอี ะไรยากเกินกว่าทีค่ ดิ หรอกค่ะ และ ภาษา นะคะ นักศึกษายิ่งเก่ง Accounting Soft- เราท�ำได้อยู่แล้ว หรือหากิจกรรมท�ำที่เป็นภาษาอังกฤษ ware การเขี ย น Program หรื อ การใช้ ง านด้ า น คอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็น Word Excel Microsoft มนุษยสัมพันธ์เป็นเลิศช่วยได้ Office มากเท่ า ไหร่ ยิ่ ง ได้ เ ปรี ย บที่ จ ะได้ ง านดี ๆ ท� ำ ลองคิดดูสิว่าจะดีแค่ไหนถ้าคุณได้ฝึกภาษากับ มากมาย และถ้าอยากได้เงินเดือนสูงๆมากขึ้นอีก ก็ควร เพื่อนชาวต่างประเทศ ลองหาเพื่อนใหม่ที่เป็นชาวต่าง จะรู้หลายๆภาษานะคะ ดังนั้น สภาพแวดล้อมจึงเป็น ประเทศสิคะ ในห้องเรียนที่มหาวิทยาลัยก็ได้ เค้าอาจ ปัจจัยที่ส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการฝึกภาษา นี่แหละเคล็ดลับ ท�ำให้คุณได้ฝึกภาษาโดยไม่รู้ตัว หรือเพื่อนบ้านชาวต่าง ข้อแรกที่เราอยากจะบอกต่อ! ชาติก็ได้ค่ะ เช่น นักศึกษาชาวจีน ซึ่งมหาวิทยาลัยของ เรา มีนักศึกษาชาวจีนอยู่มากทีเดียวนะคะ สานสัมพันธ์ ให้โอกาสตนเองในการไปใช้ชีวิตอยู่ในประเทศที่ เอาไว้ค่ะ สื่อสารด้วยภาษาที่คุณอยากเรียนรู้ นักศึกษาอาจจะไป ตอนภาคฤดูรอ้ น ทีไ่ ม่มกี าร เรียนการสอน ไปเที่ยวหรือไปเรียนภาษาหลักสูตรสั้นๆ เมื่ออยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่มีใครสื่อสารกันด้วยภาษา ไทยเลย สถานการณ์จะบังคับให้คุณต้องพูดภาษาของที่ นั่นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และการได้ฟังภาษานั้นบ่อยๆ ก็จะท�ำให้สมองจดจ�ำส�ำเนียงต่างๆ เหล่านั้นไปโดย อัตโนมัติ

ใจกล้าเข้าไว้ อย่าอาย! ลบความกลัวออกไปจากใจซะ คุณไม่ ได้เสียเงินมาอยู่เมืองนอกเพื่อพูดจาพึมพัมอยู่กับตัวเอง นะ ไม่ตอ้ งกลัวพูดผิดหรือกลัวว่าคูส่ นทนาจะฟังไม่รเู้ รือ่ ง จ�ำไว้วา่ ผิดเป็นครู ยิง่ พูดบ่อยทักษะของคุณก็จะยิง่ พัฒนา มากขึ้น ภาษาคือเรื่องของการสื่อสารบางครั้งไวยากรณ์ อาจจะไม่ ถู ก เป๊ ะ ก็ ไ ม่ ใ ช่ เ รื่ อ งที่ ต ้ อ งกั ง วลกั บ มั น


“Accounting We Jump”

33

มากเกินไป ถ้าคู่สนทนาของคุณแอบท�ำหน้ามึนใส่เล็ก น้อย ถามเขาไปตรงๆ เลยว่าคุณพูดผิดตรงไหนและที่ ถูกควรพูดอย่างไร เรือ่ งแค่นไี้ ม่ใช่อาชญากรรมร้ายแรงที่ คุณต้องรู้สึกผิด คุณก�ำลังอยู่ในขั้นตอนของการเรียนรู้ และทุกคนพร้อมจะช่วยเหลือคุณอย่างเต็มที่ ขอเพียงคุณ มีความกล้าและมุ่งมั่นตั้งใจจริง

ใช้ภาษาต่างประเทศในชีวิตประจ�ำวันให้มากที่สุดเท่าที่ จะท�ำได้ ไม่ว่าจะเป็นการดูหนัง ฟังเพลง ตั้งสเตตัส เฟซบุค๊ ฯลฯ ขอให้คณ ุ พยายามหาโอกาสใช้ภาษาทีอ่ ยาก เรียนรู้ให้เยอะเข้าไว้ ในแต่ละวันอาจจะลองเขียนไดอารี่ สัน้ ๆ เป็นภาษานัน้ ด้วยก็ได้ เมือ่ เราท�ำซ�ำ้ ๆ จนเป็นความ เคยชิน รู้ตัวอีกทีทักษะด้านภาษาของคุณจะพัฒนาขึ้น อย่างไม่คาดคิดเลยทีเดียว ทั้งนี้ทั้งนั้นคุณควรระลึกไว้ เสมอว่ า การฝึ ก ภาษาต้ อ งใช้ ค วามอดทนอย่ า งมาก หลายคนต้องใช้เวลาฝึกฝนติดต่อกันเป็นปี แต่ผลลัพธ์ที่ ได้นั้นก็คุ้มค่าแก่ความทุ่มเท หากไม่ย่อท้อหรือล้มเลิก กลางคันไปเสียก่อน สักวันคุณจะฟังพูดได้ไฟแลบไม่แพ้ เจ้าของภาษาอย่างแน่นอน :อ้างอิงข้อมูล จาก web-site


34

จุลสารคณะการบัญชี ปีที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559

คณะกรรมการนักศึกษา

นายณัฏฐพร เชาวน์ฤทธิ์ (ประธานคณะกรรมการ คณะการบัญชีปี 57) (คนที่น่าชื่นชมไม่ใช่คนที่ไม่เคยล้มแต่เป็นคนที่ลุกขึ้นได้ทุกครั้งที่ล้ม)

นางสาวพิชญ์สินี ภู่ศิลป์

นางสาวชนากานต์ จันทร์น้อย

(รองประธานคณะกรรมการ คณะการบัญชีปี 57) (ค่าของคนอยู่ที่การกระท�ำ)

(เลขานุการคณะกรรมการ คณะการบัญชีปี 57) (ไม่มีอะไรที่เราท�ำไม่ได้ หากไม่ลงมือท�ำ)


“Accounting We Jump”

นายกานต์นิธิ โชติธรรมพัฒน์ (ประสานงานสโมสรนักศึกษา คณะการบัญชีปี 57) (ความพยายามอยู่ที่ไหน ความส�ำเร็จอยู่ที่นั่น)

นางสาวอริสา ศรีชัยนาท

นางสาวณิชกุล แสนพรม

(เหรัญญิก คณะการบัญชีปี 57) (ความขยันและตั้งใจ จะน�ำพาไปสู่ความส�ำเร็จ)

(ฝ่ายประชาสัมพันธ์ คณะการบัญชีปี 57) (วันนี้กับพรุ่งนี้ มันต่างกันที่วันนี้ต้องท�ำให้ดี ที่สุดเพื่อวันนี้และวันพรุ่งนี้)

35


36

จุลสารคณะการบัญชี ปีที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559

กิจกรรมวันล�ำลึกการก่อตั้ง คณะการบัญชี ในรูปแบบการสืบสานประเพณีไทย


“Accounting We Jump”

37


38

จุลสารคณะการบัญชี ปีที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559

กิจกรรมปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ปีการศึกษา 2557 ด้วยรักจากอาจารย์สายใยรักจากพี่หญิงชายถึงน้องชายหญิงใหม่ ตอนรับสู้บ้านบัญชี


“Accounting We Jump”

กิจกรรมวันวิสาสะ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

39


40

จุลสารคณะการบัญชี ปีที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559


“Accounting We Jump”

โครงการแข่งขันตอบปัญหาทางบัญชี “สัมมาอาชีวบัญชี มหาจักรีสิรินธร” ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดีที่ 29 มกราคม 2558 เวลา 8.00 - 16.30 น. ณ ห้องประชุมปรีดี พนมยงค์ ชั้น 6 อาคารเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

คณบดี คณะการบัญชีกล่าวเปิดงาน

ขบวนเสรี่ยงโดยนักศึกษาคณะการบัญชี

คณะกรรมการตรวจข้อสอบ อาจารย์คณะการบัญชี

ประชาสัมพันธ์การส่งงบการเงิน On-line กรมพัฒนาธุรกิจการค้าการค้า

ถ่ายภาพรวมผู้ได้รับรางวัล

กิจกรรมนักศึกษาคณะการบัญชีได้รับรางวัล

41


42

จุลสารคณะการบัญชี ปีที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559

Word - Gorgeous อาจารย์ อรัญญา นาคหล่อ

ในปัจจุบนั เราไม่อาจปฏิเสธได้วา่ การท�ำธุรกรรมกับธนาคารเป็นส่วนหนึง่ ในการด�ำเนินชีวติ ไม่วา่ จะเป็นการ ท�ำธุรกรรมผ่านเคาเตอร์ธนาคาร หรือธุรกรรมออนไลน์ผ่าน Application ธนาคารเป็น Partner ใหญ่ที่เราใช้เป็น ช่องทางในการรับเงินเข้าและจ่ายเงินออก เพือ่ ช�ำระค่าใช้จา่ ยต่างๆ ประจ�ำเดือน ดังนัน้ ฉบับนีจ้ งึ ขอน�ำเสนอค�ำศัพท์ และตัวย่อทางการเงินของธนาคารที่น่าสนใจจ�ำนวน 10 ค�ำมาให้ลองลับสมองเติมตัวย่อค�ำศัพท์ พร้อมแล้ว ลุยกันเลย!!!

1. Dividend – เงินปันผลกองทุน 2. Non-Performing Loan – สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ของธนาคารพาณิชย์ 3. Interest – ดอกเบี้ย 4. Minimum Loan Rate – อัตราดอกเบี้ยส�ำหรับลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี ประเภทเงินกู้แบบมีระยะเวลา 5. Minimum Overdraft Rate – อัตราดอกเบี้ยส�ำหรับลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี ชนิดเงินกู้เบิกเกินบัญชีขั้นต�่ำ


“Accounting We Jump”

6. Customer Product Rate – อัตราดอกเบี้ยขั้นต�่ำส�ำหรับสินเชื่อส่วนบุคคล 7. Deposit – การฝากเงินเข้าบัญชีด้วยเงินสดโดยใช้สมุดคู่ฝาก 8. Share Payment – เงินได้จากการขายคืนหุ้นหรือกองทุน 9. System for Managing Automated Retail Funds Transfer – บริการเงินโอนรายย่อยระหว่าง ธนาคารผ่านการส่งค�ำสั่งออนไลน์ 10. Standing Order – ค�ำสั่งโอนเงินอัตโนมัติตามก�ำหนดโดยผู้ฝาก

เฉลย 1 2 3 4 5

DIV NPL INT MLR MOR

6 7 8 9 10

CPR DEP SHR SMT STO

43


จุลสารคณะการบัญชี ปีที่ 11 เดือน สิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559

44

บทบรรณาธิการ

สวัสดีนกั ศึกษาทุกคนค่ะ ฉบับนีเ้ รามีหวั ข้อเรือ่ งทีน่ า่ สนใจ คือ “Accounting We Jump”

นักศึกษาหลายๆคน คงสงสัยว่าหมายถึงอะไร อาจารย์ขอสรุปสั้นๆนะคะว่า คือการที่เรา เรียนจบบัญชีนั้นไม่ได้เรียนรู้แค่ทฤษฎีบัญชีนะคะ แต่เรารู้มากกว่านั้นค่ะ เพื่อสามารถที่ท�ำงานได้ หลากหลาย เก่งทั้งด้าน IT ภาษาอังกฤษ และเข้าใจในธุรกิจที่หลากหลายด้วยค่ะ นักศึกษา คณะการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ของเราจะต้องก้าวกระโดดในวิชาชีพอย่างรวดเร็วและมี ต�ำแหน่งในหน้าที่การงานในระดับสูงในระยะเวลาอันสั้นนะคะ ปัจจุบัน ทางคณะการบัญชีเรามีการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้งในการพัฒนาวิชาชีพต่อตลาด แรงงาน โดยเราสร้างนักบัญชีทดี่ พี ร้อม ทัง้ ด้านคุณธรรม ความมีวนิ ยั ความเข็มแข็งในวิชาชีพ ด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ โปรแกรมส�ำเร็จรูปทางการบัญชี และความรู้ด้านภาษาอังกฤษ และเมื่อจะ ก้าวเข้าสูก่ ารเปลีย่ นแปลง เราต้องมีความเข้มแข็งและมีศกั ยภาพ จะท�ำให้เราได้เปรียบและมีโอกาส ก้าวหน้าในหน้าทีก่ ารงาน ไม่ใช่แค่รทู้ ฤษฎีและเก่งในด้านปฏิบตั ิ การวืเคราห์ดว้ ย ท�ำงานได้รวดเร็ว โดยใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

ในเนื้อหาของ AC NEWS ปีที่ 11 ประจ�ำปี 2558 จะน�ำเสนอหัวข้อที่น่าสนใจหลายๆเรื่องๆ นะคะ แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้าค่ะ

อาจารย์สุพิชา ศรีสุคนธ์

บรรณาธิการ


“Accounting We Jump”

กองบรรณาธิการ อาจารย์สุพิชา อาจารย์ธีระเดช อาจารย์พรรณิภา อาจารย์เพ็ญธิดา

ศรีสุคนธ์ บรรณาธิการ อังธีระปัญญา ประชาสัมพันธ์ แจ้งสุวรรณ กองบรรณาธิการ พงษ์ธานี กองบรรณาธิการ

คณะที่ปรึกษา ดร.พัทธ์นันท์ อาจารย์วิศิษฎ์ศรี ดร.ศิริเดช อาจารย์นงนิภา

เพชรเชิดชู จินตนา ค�ำสุพรหม ตุลยานนท์

คณบดีคณะการบัญชี ที่ปรึกษาคณะการบัญชี รองคณบดีฝ่ายวิชาการ รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา

45


จุลสาร คณะการบัญชี

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย

110/1-4 ถนนประชาช�น หลักสี่ กทม 10210 โทรศัพท 02-954-7300 โทรสาร 02-589-9605 E-mail : contact@dpu.ac.th

ACCOUNTING WE JUMP


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.