จุลสารคณะการบัญชี

Page 1


สวัสดีค่ะนักศึกษาคณะการบัญชีที่รักทุกคน

พิ ธี

ป ระสาทปริ ญ ญาบั ต รบั ณ ฑิ ต และมหาบั ณ ฑิ ต คณะการบั ญ ชี ที่ ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาในปี การศึกษา 2554 ผ่านไปด้วยความทรงจ�ำอันมีค่ายิ่ง สายตาที่เปี่ยมไปด้วยความดีใจของผู้ปกครองเป็นสิ่งที่ย�้ำเตือน หน้าที่ความรับผิดชอบของอาจารย์ทุกคน ในการดูแลสิ่งที่มีค่ายิ่งของท่านเหล่านั้น ให้เติบโตขึ้นอย่างเข้มแข็งและ อดทน ด้วยเหตุดังกล่าวเราจึงไม่ย่อท้อในการที่จะสรรหาทรัพยากรในการเรียนการสอน รวมทั้งกิจกรรมเสริมต่างๆ เพือ่ เติมความพร้อมให้กบั นักศึกษาก้าวทันกับการเปลีย่ นแปลงสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียนทีจ่ ะมาถึงในปี 2558 นีค้ ะ่ อันดับแรก คือ การเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ในการเข้าทดสอบ TOEIC เพื่อให้นักศึกษา เพิ่มขีดความสามารถด้านภาษาอังกฤษพร้อมที่จะเข้าสู่การท�ำงานจริง นอกจากนี้ในปีการศึกษาหน้า เราจะเน้นการ ใช้ภาษาอังกฤษเป็นสือ่ การในการเรียนการสอน โดยในหลายวิชาจะมีการใช้สอื่ การสอนทีเ่ ป็นภาษาอังกฤษ ทัง้ นีเ้ พือ่ ฝึกนักศึกษาให้เคยชินกับภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษเป็นทักษะ (Skills) ที่ต้องอาศัยการฝึกฝนบ่อยๆ จึงจะพัฒนา คล้ายกันกับการหัดว่ายน�้ำ หากมีการฝึกฝนบ่อยๆก็ว่ายได้เก่งขึ้นเรื่อยๆค่ะ แต่ถ้ามัวแต่กลัวน�ำ้ ก็จะไม่มีวันที่จะ ว่ายได้เสียที ดังนั้น เราจึงควรเริ่มฝึกฝนซะแต่วันนี้ ล�ำบากเมื่อจุดเริ่มเท่านั้นค่ะ อาจารย์ขอเป็นก�ำลังใจให้นักศึกษา ทุกคน ชาวบัญชี มธบ.สู้ สู้ นะคะ อั น ดั บ ต่ อ มา คื อ การเน้ น วิ ธี ก ารเรี ย นการสอนที่ ใ ห้ นั ก ศึ ก ษาได้ ล งมื อ ปฏิ บั ติ จ ริ ง “ท� ำ บั ญ ชี จ ริ ง ” ในโครงการProgressive Accountants Academy (PAA) ซึ่งเป็นการเรียนรู้ที่เปลี่ยนไปจากการเรียนรู้จากต�ำรา ในแบบเดิม อันจะท�ำให้นกั ศึกษามีความสนุกในการเรียนและเห็นแนวทางการท�ำงานของตนในอนาคตได้ชดั เจนขึน้ ค่ะ โครงการ PAA นีใ้ นขณะนีเ้ ป็นขัน้ Pilot study ในปีการศึกษา 2556 นี้ เราจะขยายโครงการดังกล่าวให้นกั ศึกษา ทุกคนที่สนใจเข้าร่วมโครงการค่ะ มาถึงตรงนี้ นักศึกษาหลายคนคงตื่นเต้นแล้วหละที่จะได้ท�ำงานจริง ท้ายนี้ ขอให้เราทุกคนจงมีความมุ่งมั่นที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาขีดความสามารถของนักบัญชีไทยให้ ก้าวล�้ำ ตามแนวทาง Progressive University ของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ของเรา ขอให้ทุกคนมีความสุขกับ การเรียนและกิจกรรม รักษาสุขภาพทุกคนนะคะ สวัสดีปีใหม่ 2556 ค่ะ ดร.พัทธนันท์ เพชรเชิดชู คณบดีคณะการบัญชี


02

เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ UN-PRME ดร.พัทธนันท์ เพชรเชิดชู คณบดีคณะการบัญชี

PRME

มาจากค�ำว่า Principles for Responsible Management Education โดยปกติมักใช้ ค�ำว่า UN-PRME เนื่องจากเป็นกลุ่มที่จัดตั้งขึ้นในนามของสหประชาชาติ การจัดตั้ง PRME นั้น มีวัตถุประสงค์ สืบเนื่องมาจากข้อบัญญัติของ UN Global compact ที่ได้รับน�ำเสนอจากสหประชาชาติอย่างเป็นทางการ ในปี 2543 เพื่อเน้นย�้ำความส�ำคัญของความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การในด้านสิ่งแวดล้อม (Environment) และ การต้านการทุจริต (Anti-Corruption) เป็นต้น

UN-PRME นั้นประกอบด้วยภาคีสมาชิกที่เป็นสถาบันการศึกษาทั่วโลกที่จัดการศึกษาในด้านธุรกิจ โดย สถาบันการศึกษาเหล่านี้เล็งเห็นบทบาทส�ำคัญของตนในด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibility) โดยมีจุดมุ่งหมายร่วมกันที่จะสร้างผู้น�ำทางธุรกิจที่เปี่ยมล้นไปด้วยจริยธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ สถาบันการศึกษาทีเ่ ป็นภาคีสมาชิกนีจ้ ะมีคำ� มัน่ สัญญา (Commitment) ร่วมกัน ในการสร้างปรับหลักสูตรการเรียน การสอนและวิธีการสอนที่มีการฝัง (Embed) จริยธรรมและจรรยาบรรณในกระบวนการอย่างลึกซึ้ง เพื่อที่จะผลิต ผูน้ ำ� ทางธุรกิจรุน่ ใหม่ทตี่ ระหนักถึงบทบาทของตนในด้านความรับผิดชอบต่อสังคม นอกจากนีย้ งั ต้องผลิตงานวิจยั ที่ เน้นย�้ำจริยธรรมและจรรยาบรรณและความรับชอบต่อสังคม


หลักการในท�ำงานของ UN-PRME มีอยู่ 6 ประการ คือ 1)ก�ำหนดเป้าหมาย (Purpose) ร่วมกันในการผลิตผูน้ ำ� ทางธุรกิจรุน่ ใหม่ทตี่ ระหนักถึงความรับผิดชอบในการ สร้างเศรษฐกิจโลกที่ยั่งยืน (Sustainable global economy) 2)ก�ำหนดค่านิยมร่วมกันในการที่จะวางหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนที่เน้นย�้ ำความรับผิดชอบ ต่อสังคมตามแนวคิดขององค์นานาชาติ เช่น UN Global Compact เป็นต้น 3)ก�ำหนดกรอบในการจัดศึกษาร่วมกันทั้งในด้านวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ กระบวนการที่ใช้ในการจัดการเรียน การสอน รวมทั้งการจัดสภาพแวดล้อมที่เน้นการเรียนรู้เพื่อสร้างผู้น�ำทางธุรรกิจที่เต็มเปี่ยมไปด้วยจริยธรรมและ จรรยาบรรณและความรับชอบต่อสังคม 4) สร้างงานวิจยั หรือบทความวิชาการเพือ่ พัฒนาแนวคิดและทฤษฎีทเี่ สริมสร้างค่านิยมในเรือ่ งของเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมเพื่อเสริมสร้างความยั่งยืนของสังคมโลก 5) มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในการทีจ่ ะเรียนรู้ ผสมผสานและถ่ายทอด แนวคิดในด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 6)สนับสนุนการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ในหัวข้อที่เกี่ยวเนื่องกับความยั่งยืนและความรับผิดชอบต่อสังคม (Social responsibility and sustainability) ในหมู่ของนักวิชาการ นักศึกษา องค์การธุรกิจ หน่วยงานรัฐบาล สื่อมวลชน รวมทั้งกลุ่มอื่นๆที่มีความสนใจร่วมกัน

ในปัจจุบนั คณะการบัญชีของเราได้รบั การตอบรับให้เข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิกด้วยเช่นกัน โดยสถาบันการศึกษา ในประเทศไทยแห่งแรกที่เข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิก คือ Thammasat Business School ส่วนของคณะการบัญชีของ เราเป็นแห่งทีส่ อง โดยใช้ชอื่ ว่า DPU Accounting School ดังนัน้ ในปัจจุบนั คณะการบัญชีจงึ มีการพัฒนาปรับปรุง หลักสูตร วิธีการจัดการเรียนการสอนและงานวิจัยอย่างต่อเนื่องตามแนวทางของ UN-PRME ที่กล่าวไว้ 6 ประการ ข้างต้น โดยมีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะพัฒนานักวิชาชีพบัญชีให้กา้ วสูก่ ารเป็นผูน้ ำ� ทางธุรกิจทีป่ ระสบความส�ำเร็จอย่างสมบูรณ์ โดยตระหนักถึงความยั่งยืนของสังคมเป็นส�ำคัญ


03

การเตรียมตัวเข้าสู่ AEC ของนักวิชาชีพบัญชี

อาจารย์วิศิษฏ์ศรี จินตนา ที่ปรึกษาคณะการบัญชี

เมื่อ ASEAN ทั้ง 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” ในแง่ของนักธุรกิจ นั่นก็คือ - โอกาสของการขยายแหล่งลงทุน - โอกาสของการขยายแหล่งเงินทุน วัตถุดิบ สินค้า และแรงงาน - โอกาสของการขยายตลาดการค้า ค�ำถามที่เกิดก็น่าจะเป็น - ท�ำอย่างไรจึงจะเข้าถึงโอกาสเหล่านี้ ? - ใครจะเข้ามาช่วยให้นักธุรกิจตัดสินใจในการพิจารณาโอกาสเหล่านี้อย่างถูกต้อง และได้ประโยชน์ที่สุด ? ถึงตอนนี้ต้องเอาหลักการตลาดเบื้องต้นมาใช้คือ คงต้อง “รู้เขา รู้เรา” ให้มากที่สุด “รู้เขา” เป็นเรื่องของการที่จะรวบรวมข้อมูลจากแหล่งภายนอก ทั้งจากภาครัฐ และภาคเอกชนทั้งใน และ จากต่างประเทศ “รู้เรา” คือการรู้จักความพร้อม และจุดอ่อนจุดแข็งของตัวเองให้มากที่สุด ข้อมูลธุรกิจโดยเฉพาะข้อมูลทางการเงินจะเป็นประโยชน์ในการตัดสินใจของนักธุรกิจมากที่สุด และแน่นอนผู้ที่จะให้ข้อมูลในด้านนี้ได้ดีที่สุด ก็ต้องเป็น “นักวิชาชีพบัญชี” ในช่วงทศวรรตที่ผ่านมา วิชาชีพบัญชีไทยได้มีการพัฒนาการไป ในทางที่ยอมรับความเป็นอิสระ และมีมาตรฐานของนักวิชาชีพบัญชีไทย มากขึน้ เรือ่ ยๆ จะเห็นได้จากการทีม่ กี ารออกพรบ.วิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 ก�ำหนดให้นกั วิชาชีพบัญชีดแู ลกันเอง ผ่านสภาวิชาชีพบัญชีโดยหน่วยงาน ราชการ ถอยออกไปก�ำกับการท�ำงานของสภาวิชาชีพบัญชี ผ่าน คณะ กรรมการก�ำกับดูแลการประกอบวิชาชีพบัญชี (ก.ก.บ.) ดังนั้น นักวิชาชีพ บัญชีจงึ สามารถปรับเปลีย่ นบทบาท และมาตรฐานการปฏิบตั งิ านของงาน ให้สอดคล้อง หรือสนองตอบการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ และ สังคมได้รวดเร็วยิ่งขึ้น


บทบาทที่เน้นความส�ำคัญของนักวิชาชีพบัญชีในการด�ำเนินธุรกิจที่เพิ่มไปจากบทบาทเดิมๆ อันได้แก่ ผูท้ ำ� บัญชี หรือผูส้ อบบัญชี คือ ทีป่ รึกษาทางธุรกิจ ซึง่ เกิดจากการยอมรับว่านักวิชาชีพบัญชีเป็นแหล่งบูรณาการข้อมูล ธุรกิจทีส่ ำ� คัญ (Integrator) โดยการท�ำงานของนักวิชาชีพบัญชี บุคคลกลุม่ นี้ ทีจ่ ะท�ำหน้าทีห่ ลายๆ อย่างไม่วา่ จะเป็น - ผู้สร้างข้อมูล (Creator) - ผู้แปลข้อมูลให้ง่ายต่อความเข้าใจ และง่ายต่อการน�ำไปใช้ประโยชน์ต่อไป (Enabler) - เป็นผู้เก็บรักษาข้อมูล (Preserver) - เป็นผู้รายงานข้อมูล (Reporter) นักลงทุน และเจ้าของธุรกิจ จะใช้ข้อมูลจากนักวิชาชีพบัญชีในการตัดสินใจทางธุรกิจอย่างมาก โดยเฉพาะ ข้อมูลที่มีลักษณะต่อไปนี้ - ข้อมูลที่เป็นจริงสมเหตุสมผล (Being Material) - ข้อมูลที่มีความต่อเนื่องสม�่ำเสมอ (Consistent) - ข้อมูลที่ทันสมัย ทันเวลา (Timely) - ข้อมูลที่สามารถเปรียบเทียบได้ (Comparable) ดังนั้นการติดตามการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ สังคม และกฎระเบียบ จะท�ำให้นักวิชาชีพบัญชี สามารถน�ำมาวิเคราะห์ และปรับปรุงการปฏิบัติงานในความรับผิดชอบได้ตลอดเวลา เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ ธุรกิจ สร้างความเข้มแข็งในการแข่งขัน และก่อให้เกิดความยั่งยืนในการท�ำธุรกิจได้ และนักธุรกิจจะใช้นักวิชาชีพ บัญชีในบทบาทเหล่านี้มากขึ้นเรื่อย ๆ นักวิชาชีพบัญชีจึงต้องเตรียมตัวให้พร้อมส�ำหรับบทบาทดังกล่าว นั่นคือไม่ เพียงแต่จะเป็นผู้ท�ำบัญชี หรือผู้สอบบัญชีแต่จะต้องพร้อมที่จะเป็นผู้บูรณาการ ข้อมูล เศรษฐกิจ จึงจะสามารถอยู่ ในสังคม AEC ได้


04

การศึกษาขั้นอุดมศึกษาในกลุ่ม AEC กับอุดมศึกษาระดับโลก

ดร.เอกพล คงมา ผู้อ�ำนวยการสถาบันพัฒนานักวิชาชีพบัญชี

เมื่อ

ไม่กี่วันที่ผ่านมา เว็บไซต์ ไทมส์ ไฮเออร์ เอ็ดดูเคชั่น ในกลุ่มส�ำนักข่าวรอยเตอร์ ได้ท�ำการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษา ทั่วโลกประจ�ำปี 2012-2013 โดยได้จัดเป็นประจ�ำทุกปี เพื่อวัด คุณภาพและประสิทธิภาพต่างๆ ในด้านการสอน (teaching) การวิจัย (research) การถ่าย โอนความรู้ (knowledge transfer) และภาพพจน์ในสายตาของ นานาชาติ (international outlook) โดยใช้ 13 ตัวชี้วัดใหญ่ (รายละเอียดสามารถติตามได้จากเว็บไซต์) ซึ่งได้รับความไว้วางใจ จากนักนักศึกษา นักวิชาการ ผู้บริหารมหาวิทยาลัย รัฐบาล ตลอด จนภาคธุรกิจ และได้เผยแพร่ผลการจัดอันดับไปทัว่ โลก โดยผลการ จัดอันดับดังกล่าวมีความน่าเชือ่ ถือค่อนข้างสูง วัดได้จากบริษทั หรือ องค์กรต่างๆ ได้นำ� ผลดังกล่าวมาพิจารณาประกอบการเลือกในการ ให้บุคลากรไปศึกษาต่อ

จากผลการจัดอันดับ พบว่าสิบอันดับมหาวิทยาลัยชั้นน�ำของโลกยังคงอยู่ในเฉพาะสองประเทศมหาอ�ำนาจ อันได้แก่ สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร เท่านั้น ซึ่งอันดับหนึ่งได้แก่สถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย (California Institute of Technology) ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า ตามมาด้ ว ยมหาวิ ท ยาลั ย แสตนฟอร์ ด (Standford University) ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนชื่อดังของสหรัฐอเมริกาเช่นเดียวกันได้อันดับที่สอง ร่วมกับ มหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด (University of Oxford) ของสหราชอาณาจักร ส่วนอันดับอื่นๆ น�ำเสนอดังภาพ


โอกาสที่จะติด 400 อันดับแรกก็คงเป็นไปได้น้อยมาก หนึ่งในการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือที่เรารู้จักกันปากต่อปากว่า AEC ก็คือการยกระดับการศึกษาด้วยประการฉะนี้

เมื่อ

พิจารณาอันดับสถาบันอุดมศึกษาทั่วโลก ดังกล่าว ก่อให้เกิดค�ำถามกับผูเ้ ขียนว่า “แล้วประเทศใน กลุม่ อาเซียนมีตดิ อันดับกับเขาหรือไม่” เมือ่ ผูเ้ ขียนลอง ค้นข้อมูลดู ผลปรากฏว่า มีอยู่เพียงสามมหาวิทยาลัย เท่านั้นที่ติดอันดับภายใน 400 อันดับแรก ได้แก่ อันดับที่ 29 มหาวิทยาลัยแห่งชาติสงิ คโปร์ (National University of Singapores) อันดับที่ 86 มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี น านยาง (Nanyang Technological University) ประเทศสิงคโปร์ และอันดับที่ 351-400 (อั น ดั บ ไม่ ไ ด้ ร ะบุ แ น่ ชั ด ว่ า เป็ น อั น ดั บ ใด แต่ อ ยู ่ ใ น กลุ่มของอันดับ 351 ถึง 400 ซึ่งผู้จัดอันดับต้องการ ให้น�ำเสนอเป็นกลุ่ม) ได้แก่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี (King Mongkut’s University of Technology, Thonburi) ประเทศไทย เมือ่ เห็นอันดับ ดังกล่าวผูเ้ ขียนจึงไม่ลงั เลทีจ่ ะเข้าไปคลิกดูรายละเอียด ข้างในถึงผลคะแนนของมหาวิทยาลัยไทยที่ติดอันดับ ข้างต้น และพบว่าคะแนนส่วนที่ท�ำให้มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัย แห่งเดียวในเมืองไทยทีต่ ดิ 400 อันดับแรกนัน้ ได้แก่การอ้างอิงถึงงานวิจยั (Citations) ซึง่ เป็นหนึง่ ในตัวชีว้ ดั ด้านการ ถ่ายโอนความรู้ โดยคะแนนสูงถึง 68.4 ซึ่งพอส�ำรวจจากข่าวอื่นๆ ก็พบว่ามหาวิทยาลัยดังกล่าวมีงานวิจัยทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและมีการ อ้างอิงถึงงานดังกล่าวเป็นจ�ำนวนมาก ดั ง นั้ น อาจกล่ า วได้ ว ่ า ถ้ า ประเทศไทยยังไม่มกี ารปรับปรุงคุณภาพ การศึกษาหรืออ่อนแอด้านงานค้นคว้า และวิจัย โอกาสที่จะติด 400 อันดับ แรกก็คงเป็นไปได้น้อยมาก หนึ่งในการ เตรี ย มตั ว เข้ า สู ่ ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียนหรือทีเ่ รารูจ้ กั กันปากต่อปากว่า AEC ก็คือการยกระดับการศึกษาด้วย ประการฉะนี้ ที่มา http://www.timeshighereducation.co.uk ที่มา http://www.timeshighereducation.co.uk


05

วิชาชีพบัญชีที่น่าสนใจเมื่อเข้าสู่ AEC 2058 ตอนที่ 1

ดร.ศิริเดช ค�ำสุพรหม

สวัสดีครับนักศึกษาทุกท่าน เราทราบกันหรือไม่วา่ วิชาชีพบัญชีของเรานอกจากการท�ำงานด้านบัญชีโดยตรง ทีเ่ กีย่ วข้องกับ การจัดท�ำบัญชี และการตรวจสอบบัญชีแล้ว ยังมีอาชีพอีกแขนงหนึง่ ซึง่ รองรับบุคลากรทีจ่ บการศึกษา ด้านบัญชี และเป็นไปตาม พระราชบัญญัติการบัญชี ปี 2547 อีกด้วย นั่นก็คือ การตรวจสอบภายใน แนวทางการ ตรวจสอบภายในปัจจุบันนอกจากการตรวจสอบภายในทางธุรกิจแล้ว ยังรวมถึงการตรวจสอบระบบสารสนเทศอีก ด้วย ดังนัน้ บทความนีจ้ ะกล่าวถึง การตรวจสอบระบบสารสนเทศทางการบัญชี ซึง่ จะเกีย่ วข้องกับวิชาชีพทีน่ กั บัญชี สามารถเลือกท�ำได้ และสอดคล้องกับการก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 อีกด้วย

วิชาชีพบัญชีที่ว่าด้วยการตรวจสอบระบบสารสนเทศที่จะกล่าวถึงครั้งนี้ จะเป็นแนวทางให้นักบัญชีมุ่งสู่สาย วิชาชีพเพื่อเป็นไปตามหลักการสากลมากขึ้น และยังสอดคล้องกับ AEC ด้วย เมื่อมีการไหลเวียนการจ้างงานอย่าง เสรีในปี 2558 นั้น ผู้ที่ได้รับใบอนุญาตการตรวจสอบระบบสารสนเทศจากสถาบันระหว่างประเทศ (International Certification) ก็จะมีโอกาสมากยิ่งขึ้นส�ำหรับตลาดแรงงานในอนาคตอันใกล้ วิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ ระบบสารสนเทศตามสมาคมผูค้ วบคุมและการตรวจสอบระบบสารสนเทศ (The Information Systems Audit and Control Association-ISACA) ดังกล่าวนั้นประกอบไปด้วย 1. ประกาศนียบัตรผู้ตรวจระบบสารสนเทศ (The Certified Information Systems Auditor-CISA) 2. ประกาศนียบัตรการจัดการความปลอดภัยสารสนเทศ (Certified Information Security Manager-CISM) 3. ประกาศนียบัตรส�ำหรับการก�ำกับดูแลทางด้านไอทีโดยรวมขององค์กร (Certified in the Governance of Enterprise IT-CGEIT) 4. ประกาศนียบัตรส�ำหรับการควบคุมระบบสารสนเทศและความเสี่ยงทางไอที (Certified in Risk and Information Systems Control-CRISC) ตามประกาศนียบัตรที่เกี่ยวข้องข้างต้น เป็นการรับรองความเชี่ยวชาญในสายวิชาชีพการตรวจสอบระบบ สารสนเทศ ซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับสากล ดังนั้น การได้มาซึ่งประกาศนียบัตรดังกล่าว ก็สามารถเป็นการยืนยันได้ว่า เราพร้อมทีจ่ ะก้าวเข้าสูส่ ายวิชาชีพในระดับสากลมากขึน้ และเพิม่ โอกาสส�ำหรับการเลือกงานในอนาคตอีกด้วย ส�ำหรับ คราวถัดไปผมจะมากล่าวถึงรายละเอียดของประกาศนียบัตรแต่ละเรื่องใน ตอนที่ 2 ของAC News ฉบับต่อไป


06

ผู้ตรวจสอบภายใน กับการก้าวเข้าสู่ AEC

ตุลยานนท์

อ.นงนิภา ตุลยานนท์

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประกอบด้วย 10 ประเทศ ซึ่งทุกคน

ทราบอยู่แล้วนะคะ มีประเทศไทย พม่า อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ เวียตนาม ลาว กัมพูชา และ บรูไน วัตถุประสงค์ของการก่อตั้ง อาเซียน คือ เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างประเทศในภูมิภาค ธํารงไว้ซึ่งสันติภาพเสถียรภาพ และความมั่นคงทางการเมือง สร้างสรรค์ ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม การกินดีอยู่ดีของประชาชนบนพื้นฐานของความเสมอภาคและผล ประโยชน์ ร่วมกั นของประเทศสมาชิ ่งการขั บเคลื่อนการ ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซี ยนประกอบด้ วย 10 ประเทศกซึ่งโดยเฉพาะอย่ ทุกคนทราบอยู่แล้าวงยิ นะคะ มีประเทศไทย พม่า รวมตั เป็นประชาคมอาเซี น ภายในปี 2015) ตามที ่ผู้นยําน อินโดนีเซีย มาเลเซี ย สิวงคโปร์ ฟิลิปปินส์ เวียตนามยลาว กัมพูชา และ2558 บรูไน วั(ค.ศ. ตถุประสงค์ ของการก่ อตั้งอาเซี คือ เพื่อส่งเสริมอาเซี ความเข้ยานได้ ใจอันตดีตกลงกั ่อกันระหว่ าค ธ�ำรงไว้ ซึ่งสันติภตาพเสถี ยรภาพ ่นคง นไว้างประเทศในภู โดยวัตถุปมิภระสงค์ ของกฎบั รอาเซี ยน และความมั คือ ทําให้ ทางการเมือง สร้ างสรรค์ ความเจริ ญก้กาวหน้ านเศรษฐกิ จ การพั นาทางสังคมและวั นดีอยู่ดี อาเซี ยนเป็ นองค์ ารทีาทางด้ ่มีประสิ ทธิภาพ มีปฒระชาชนเป็ นศูนฒย์นธรรมการกิ กลาง และ ของประชาชนบนพื้นฐานของความเสมอภาคและผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ เคารพกฎกติกาในการทํางานมากขึ้น ซึ่งในอนาคตจะมี อาเซียน+3 เพิ่ม ขับเคลื่อนการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน ภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015) ตามที่ผู้น�ำอาเซียนได้ตกลงกันไว้ โดย ประเทศ จีนยนเกาหลี ใต้อาเซี และญี ุ่น กและอาเซี +6มีปเพิ ่ม ออสเตรเลี ย และ วัตถุประสงค์ของกฎบั ตรอาเซี คือ ท�ำให้ ยนเป็น่ปองค์ ารที่มีประสิยทน ธิภาพ ระชาชนเป็ นศูนย์กลาง นิวซีแลนด์ และอิ เดีย เคารพกฎกติกาในการท� ำงานมากขึ น้ ซึง่ นในอนาคตจะมี อาเซียน+3 เพิม่ ประเทศ จีน เกาหลีใต้ และญีป่ นุ่ และอาเซียน +6 เพิ่ม ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดีย เกริ่นถึงประวัติอาเซียนแล้ว ต่อไปก็จะกล่าวถึงการปรับตัวของผู้

ตรวจสอบภายใน ในการก้าวเข้าสู่ AEC อันดับแรกที่สําคัญที่สุดคือ


เกริ่นถึงประวัติอาเซียนแล้ว ต่อไปก็จะกล่าวถึงการปรับตัวของผู้ตรวจสอบภายใน ในการก้าวเข้าสู่ AEC อันดับแรกที่ส�ำคัญที่สุดคือ - ทักษะด้านภาษา ภาษาอังกฤษคือภาษาที่ใช้ในระหว่างการประชุม การโต้ตอบทางจดหมาย การจัดท�ำ รายงานการประชุม ผลการพิจารณา และมติที่ประชุม ตลอดจนการจัดท�ำค�ำแถลงการณ์ และการปฏิสัมพันธ์ต่างๆ ของอาเซียน ทั้งนี้ ในฐานะที่เป็นสมาคม อาเซียนไม่ได้ให้บริการด้านการแปลหรือตีความ - กระบวนการท�ำงาน ต้องปฏิบัติตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในที่มีแหล่งที่มาเดียวกันคือจาก “มาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน” จาก “International Standards for the Professional Practice of Internal Auditing” จาก สมาคมผูต้ รวจสอบภายในสากล (The Institute of Internal Auditor, USA)และยึดถือจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพตรวจสอบภายในภายใต้มาตรฐานเดียวกันเพือ่ ความเป็นสากล ใน ประเทศอาเซียนจะมี ไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ยึดถือมาตรฐานเดียวกัน - วัฒนธรรมและวัฒนธรรมองค์กร ต้องเรียนรู้เพื่อปรับตัวให้เข้ากับประเทศที่เข้าไปท� ำงาน ถึงแม้ว่าจะยึด หลักมาตรฐานสากลเดียวกัน แต่ก็ต้องถือว่า “เข้าเมืองตาหลิ่วต้องหลิ่วตาตาม”แต่ต้องไม่ผิดหลักมาตรฐานสากล - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นสิ่งที่ส�ำคัญที่ผู้ตรวจสอบภายในต้องมีความรู้ที่จะประยุกต์ใช้ในการ ตรวจสอบ ไม่วา่ จะเป็นการวางแผน การเลือกตัวอย่าง กระดาษท�ำการของผูต้ รวจสอบภายใน ตลอดจนรายงานและ การติดตามผลการตรวจสอบภายใน ต้องใช้เทคโนโลยีชว่ ยในการตรวจสอบ โดยต้องมีความรูด้ า้ นภาษาอังกฤษในการ บันทึกข้อมูลเพื่อให้ผู้ข้อมูลในการตรวจสอบ สามารถเข้าใจเป็นภาษาเดียวกัน ผูต้ รวจสอบภายในในยุคการเตรียมพร้อมเข้าสู้ AEC ในปี 2015 ต้องพร้อมทัง้ องค์ความรูแ้ ละทักษะทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนเปลี่ยนแปลงทัศนคติที่มีต่อการตรวจสอบภายใน ว่าเป็นการให้ค�ำปรึกษา และการให้ค�ำแนะน�ำ ไม่ว่าจะ เป็นชาติใดในอาเซียน ยึดหลัก ทั้งความร่วมมือ และการแข่งขัน เพื่อให้การตรวจสอบภายในของไทยเราก้าวสู่ความ เป็นสากลโดยไม่น้อยหน้าใคร


07

เมื่อก้าวสู่ AEC จะมีผลกระทบ กับโปรแกรมบัญชีไทยอย่างไร??

อาจารย์ธีระเดช อังธีระปัญญา

เมื่อประเทศไทยจะต้องก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economics Community : AEC)

หลาย ๆ คนก็เริ่มกังวลว่าประเทศต่าง ๆ จะเข้ามาแย่งงานของคนไทยเราซึ่งในส่วนของการประกอบอาชีพนั้น AEC ก�ำหนดวิชาชีพที่สามารถย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรีในกลุ่มประชาคมอาเซียนไว้ 7 วิชาชีพประกอบด้วย แพทย์ ทันตแพทย์ นักบัญชี วิศวกร สถาปนิก พยาบาล และนักส�ำรวจ ในส่วนของมาตรฐานที่จะต้องก�ำหนดขึ้นของกลุ่ม วิชาชีพต่าง ๆ ก็คงต้องมีการก�ำหนดเงือ่ นไขต่าง ๆ เพือ่ เกิดความมัน่ ใจว่าผูท้ จี่ ะประกอบวิชาชีพต่าง ๆ มีคณ ุ ภาพและ มาตรฐานในการท�ำงานอันเป็นที่ยอมรับ ส�ำหรับสายงานบัญชีแล้วคงปฏิเสธไม่ได้เลยครับว่า จะต้องส่งผลกระทบกับประเทศไทยเราแน่นอนแต่ถ้า จะวิเคราะห์กันให้ดีแล้ว เรามองว่าแรงงานจะต้องมาแย่งงานของเราก็มีจุดให้มองแบบนี้ครับ บริษัทต่างชาติในกลุ่ม AEC ทีเ่ ข้ามาลงทุนในไทยในอดีตมักจะมีปญ ั หาในเรือ่ งการสือ่ สารการท�ำความเข้าใจของมาตรฐานบัญชีไทย แต่เมือ่ ก้าวสู่ AEC แล้วบริษัทต่างชาติจะมีทางเลือกเพิ่มขึ้น ซึ่งคาดการณ์ว่าบริษัทต่างชาติคงจะเลือกบริษัทที่ท�ำบัญชีที่มา จากชาติเดียวกันเพราะคงจะคุยกันได้ง่ายกว่า จึงเป็นไปได้ค่อนข้างมากกว่าเมื่อแรงงานบัญชีจากต่างชาติที่จะมา ด�ำเนินงานในประเทศไทยก็อาจจะน�ำเอาโปรแกรมส�ำเร็จรูปที่ตนเองถนัดหรือมีความช�ำนาญมาใช้งาน และส�ำหรับ โปรแกรมบัญชีที่สามารถจัดท�ำรายงานทางการเงินได้หลากหลายภาษาก็จะสามารถตอบโจทย์ความต้องการของผู้ จัดท�ำและผู้บริหารได้เป็นอย่างดี ในด้านของการท�ำบัญชีนั้นเป็นอันเข้าใจกันได้ว่าต่างชาติสามารถมารับท�ำบัญชีในไทยได้และยังสามารถถือ หุ้นในกิจการที่ให้บริการงานบัญชีได้ถึงร้อยละ 70 และคนไทยเราก็สามารถไปท�ำบัญชีในกลุ่ม AEC ได้เช่นกัน ใน ส่วนของการถือหุ้นสัดส่วนร้อยละจะแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ ส�ำหรับด้านการสอบบัญชีนั้นก็มีจุดให้สังเกต ว่าหากผู้ประกอบกิจการให้บริการทางบัญชีอาจจะน�ำโปรแกรมส�ำเร็จรูปทางบัญชีที่ตนมีความเชี่ยวชาญมาใช้งาน ส�ำหรับงานสอบบัญชีก็จะไม่มีผลกระทบมากนักเพราะถึงแม้ว่ากิจการต่างชาติจะจัดท�ำรายงานทางการเงินออกมา เป็นภาษาใดก็ตามสุดท้ายก็จะต้องจัดท�ำออกมาให้เป็นภาษาไทยในทีส่ ดุ หรือไม่เช่นนัน้ ก็ตอ้ งมีค�ำอธิบายทีเ่ ป็นภาษา ไทยก�ำกับ ดังนัน้ ในการสอบบัญชีกจิ การทีไ่ ม่ใหญ่มากนักคงไม่มผี ลกระทบกับงานสอบบัญชีมากนักแต่ถา้ กิจการทีม่ ี ขนาดใหญ่ ผูส้ อบบัญชีเองคงต้องศึกษาค้นคว้าและท�ำความเข้าใจระบบของโปรแกรมกันขนานใหญ่เลยทีเดียว และ นอกจากนั้นผู้สอบบัญชีจะต้องเสริมความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานทางการบัญชีก็มากขึ้น โดยเฉพาะมาตรฐานรายงาน ทางการเงิน


08

ASEAN Economics Community onomics Community กั บ นั ก บั ญ ชี ไ ทย ผศ.สงกรานต์ ไกยวงษ์ กับนักบัญชีไทย รือยั งในเรื กยภาพการแข่งขันของการเปิดเสรีแรงงาน คุณ่อพร้งของศั อมหรือยังในเรื่องของศักยภาพการแข่งขันของการเปิดเสรีแรงงานวิชาชีพไทยภายใต้ AEC

ประเทศไทยยัประเทศไทยยั งไม่มีการเตรียมการเรื่องนี้อง ย่าไม่ งจริงม จัง ีก รวมถึ งภาคแรงงานยั งไม่ทราบถึงผลกระทบและการเตรี ยมตัวงจัง ต้ AEC ารเตรี ย มการเรื อ ่ งนี อ ้ ย่ า งจริ ในการเปิดเสรี จากการท�ำการศึกษาในกลุ่มบริการวิชาชีพใน 6 สาขา ได้แก่ ทันตแพทย์ แพทย์ พยาบาล นักบัญชี ก วิชาชีพงบัผลกระทบและการเตรี ญชีเป็นสาขาหนึง่ ทีเ่ ปิดเสรีในกลุม่ AEC ดังนัน้ ในฐานะเป็ ญชีวชิ าชีพจะท�ำอย่าด งไรเสรี านยัวิศงวกรและสถาปนิ ไม่ทราบถึ ยมตันนัวกบัในการเปิ ดี เตรียมตัวอย่างไรบ้างจึงจะท�ำให้วชิ าชีพบัญชีมคี วามพร้อมทีจ่ ะท�ำงานในระดับนานาๆชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพ กษาในกลุ่มบริการวิชาชีพใน 6 สาขา ได้แก่ ทันตแพทย์ ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการเคลื่อนย้าย นักบัญชี วิศวกรและสถาปนิก วิชแรงงานวิ าชีพชาชีบัพบัญญชีชีอย่เาป็ สาขาหนึ ที่เปิด งเสรีนในความเห็ นของผู้เขี่ง ยนพอ สรุปได้ดังนี้ C ดังนั้นในฐานะเป็นนักบัญชี วิช1.นัาชีกบัพญชีจะทํ าอย่าจงไรดี ต้องเข้าใจเศรษฐกิ และธุรกิจ เพืเตรี ่อเพิ่ม ยม โอกาสการท�ำงานโดยเฉพาะทักษะการวิเคราะห์และการ งจะทําให้วิชาชีพบัญชีมีความพร้สือ่อสารในการท� มที่จะทํ างานในระดั บนานาๆ ำรายงานและการน� ำเสนองานเพื ่อให้ผู้ บริหารได้ทราบและเข้าใจ การบันทึกบัญชีต่อไปเป็น ะสิทธิภาพ IT ทั้งหมดที่มีความสะดวกและรวดเร็ว ดังนั้นในข้อนี้ นักบัญชีจะต้องสามารถก�ำหนดและควบคุมการท�ำงานของ

ที่จะเกิคอมพิ ดขึวเตอร์ ้นจากการเคลื ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ่อนย้ายแรงงานวิชาชีพบัญชีอย่างเสรีใน 2.การให้บริการงานบัญชีต้องเป็นเชิงสร้างสรรค์และเสริมสร้างมูลค่าเพิ่มให้ธุรกิจและหากเป็นผู้ประกอบ ขียนพอสรุ ปได้ วิชาชีพอิสระหรื อลูกจ้ด างต้ังอนี งเร่้ งหา Individual Brand and Identity นัน้ ก็คอื การหาจุดเด่นเฉพาะทีท่ ผี่ ใู้ ช้บริการ เรียกหาหรือต้องการ ผู้ใช้บริการในธุรกิจต่างๆมักจะกล่าวถึงในความไว้วางใจ 3. เมือ่ มีการเคลือ่ นย้ายบริษทั ต่างชาติทใี่ ห้บริการทางบัญชีโดยเสรีสงิ่ หนึง่ ทีพ่ งึ ระวังคือบุคคลกรทางการบัญชี ที่จบใหม่จะถูกให้เซ็น สปช.3 โดยการได้รับค่าตอบแทนที่ไม่คุ้มค่ากับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต 4.การเปิดโลกกว้างจะต้องเพิ่มฝีมือโดยเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและเปลี่ยนสายสัมพันธ์แบบมีเพิ่มมูลค่าในการ ท�ำงาน 5. นักบัญชีวชิ าชีพในประเทศไทยจะต้องใส่ใจในวิชาชีพเพือ่ การรองรับ AEC อย่างแม่นย�ำ รวมถึงการสือ่ สาร ด้วยภาษาต่างประเทศได้ ดังนั้นหน่วยงานก�ำกับดูแลทั้งหลายทั้งปวงควรเร่งสร้างความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์และผลกระทบต่อ วิชาชีพบัญชี ก่อนทีจ่ ะมีการตกลงเปิดเสรีแรงงานอาเซียน พร้อมทัง้ ให้ยกระดับมาตรฐานการศึกษาของไทยให้เทียบ เคียงกับต่างประเทศ รวมถึงเพิ่มเรื่องทักษะภาษาต่างประเทศ พัฒนาแรงงานให้อยู่ในระดับชั้นน�ำเพื่อให้สอดคล้อง กับภาคการผลิต และการเคลื่อนย้ายไปมาระหว่างประเทศได้

ต้องเข้าใจเศรษฐกิจและธุรกิจ เพื่อเพิ่มโอกาสการทํางานโดย วิเคราะห์และการสื่อสารในการทํารายงานและการนําเสนองาน ด้ทราบและเข้าใจ การบันทึกบัญชีต่อไปเป็น IT ทั้งหมดที่มี รวดเร็ว ดังนั้นในข้อนี้นักบัญชีจะต้องสามารถกําหนดและ นของคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


09

บริษัทในประเทศไทยกับการใช้มาตรฐาน การบัญชีสากลในการเข้าสู่อาเซี่ยน

ผศ.อัมพร เที่ยงตระกูล

ปี 2540 วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจทีเ่ กิดขึน้ มีสาเหตุ มาจากหลายประเด็น เช่นความไม่พร้อมของภาครัฐและ เอกชนในการเปิดเสรีทางการเงิน การขาดการก�ำกับดูแล ที่ ดี การทุ จ ริ ต และการบริ ห ารที่ ผิ ด พลาดของสถาบั น การเงินบางแห่ง รวมทั้งความไม่โปร่งใสของการเปิดเผย ข้อมูลทัง้ ในระดับมหภาคและจุลภาค งบการเงินของบริษทั ต่างๆโดยเฉพาะบริษัทจดทะเบียนก็เป็นข้อมูลประเภท หนึง่ ทีถ่ กู หยิบยกขึน้ มากล่าวถึงความไม่ถกู ต้องและไม่ครบ ถ้วน รวมทั้งการใช้มาตรฐานการบัญชีไทยไม่เป็นสากลว่า เป็นสาเหตุหนึง่ ของวิกฤติทเี่ กิดขึน้ ทางรัฐบาลไทยได้ตอบ สนองเรื่องความไม่เป็นสากลของมาตรฐานการบัญชีไทย โดยระบุไว้ในหนังสือเจตจ�ำนงที่ยื่นให้แก่ธนาคารโลกว่า ประเทศไทยจะท�ำการยกระดับการบัญชีของประเทศไทย สอดคล้องกับวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุดของนานาประเทศ ในปัจจุบันสภาพแวดล้อมของการท� ำธุรกิจก�ำลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การเปลี่ยนแปลงนี้ไม่ได้ เพิ่งเกิดขึ้น เพียงแต่ผลกระทบที่มีต่อประเทศไทยเริ่มเห็นชัดเจนมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวคือ การท�ำ ธุรกิจที่ไม่ได้ถูกจ� ำกัดขอบเขตเพียงภายในประเทศไทยอีกต่อไปบริษัทจ� ำนวนมากขยายขอบเขตของการท� ำ ธุรกิจไปสู่ประเทศและภูมิภาคอื่น เช่นเดียวกับต่างประเทศก็ขยายขอบเขตของการท�ำธุรกิจออกนอกประเทศ เช่นเดียวกัน ดังนั้นการลงทุนและแหล่งเงินทุนไม่ได้จ�ำกัดเพียงภายในประเทศ มีการรวมตัวของตลาดการ เงินทั่วโลก การพึ่งพากันที่เพิ่มขึ้นของเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ รวมทั้งของภูมิภาคหรือระดับโลกมากขึ้น โดยเฉพาะข้อตกลงการค้าเสรีของกลุ่มประเทศอาเซี่ยน(Asean Economic Community History : AEC : ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน )อันได้แก่ประเทศ ไทย มาเลเซีย พม่า อินโดนีเซีย ลาว บรูไน ดารุสซาลาม กัมพูชา ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และเวียดนาม


ในระยะเวลาไม่ กี่ ป ี การพั ฒ นาใหม่ ๆ ของ เทคโนโลยี เช่ น เทคโนยี ด ้ า นดาวเที ย มและไฟเบอร์ ออปติค โดยเฉพาะด้านข่าวสารข้อมูล ที่ท� ำให้การ สื่อสารทั่วโลกมีความรวดเร็วมาก ดังนั้นความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยี จึ ง มี ค วามส� ำ คั ญ มากต่ อ การมี ค วาม สั ม พั น ธ์ ข องประเทศต่ า งๆทั่ ว โลก ท� ำ ให้ เ กิ ด บริ ษั ท ข้ามชาติและตลาดการเงินทีไ่ ร้พรมแดน และบริษทั ทีม่ อง โลกทัง้ โลกเป็นตลาดเดียวกันทีบ่ ริษทั จะท�ำการผลิตและ ขายสินค้าหรือบริการให้กับบริษัทนานาชาติ ซึ่งบริษัท เหล่านี้ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญในประเทศ ต่างๆอย่างมีประสิทธิผลสูงสุดกลายเป็นส่วนส�ำคัญส่วน หนึ่งของภาวะเศรษฐกิจโลก ลักษณะของการท�ำธุรกิจทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปท�ำให้ ทั้งบริษัทและผู้ลงทุนเกิดความต้องการมาตรฐานการ รายงานทางการเงินหนึง่ ชุดทีเ่ หมือนกันทัว่ โลก ดังนัน้ การ ปิดการค้าเสรีในวิชาชีพบัญชีเป็นอีกอาชีพหนึง่ ทีก่ า้ วเข้า สูอ่ าเซีย่ นเหมือนกับอาชีพบริการอืน่ ทีจ่ ะมาถึงในปี 2558 ผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชีในประเทศต่างๆรวมทัง้ ประเทศไทย ที่อยู่ในกลุ่มอาเซี่ยนจึงเห็นถึงความจ�ำเป็นของการมีแนวทางของการบัญชีที่สอดคล้องกันทั่วโลก ซึ่งที่ผ่านมา International Federation of accountants (IFAC)ก็ได้มีการตั้งคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีสากล เพื่อ พัฒนากรอบแนวคิดส�ำหรับมาตรฐานการบัญชีทเี่ ป็นสากลและเป็นแนวทางส�ำหรับประเทศต่างๆได้ใช้หรือได้เปรียบ เทียบกับมาตรฐานการบัญชีของตนเอง จะเห็นได้ว่าไม่เพียงแต่นักลงทุนเท่านั้นที่ได้ประโยชน์จากการใช้มาตรฐาน การบัญชีสากล บริษัทจ�ำนวนมากก็มีแรงจูงใจเช่นเดียวกัน ที่เห็นได้ชัดเจนก็คือมีการลงทุนในต่างประเทศหรือมีหุ้น ที่ซื้อขายในตลาดทุนนอกประเทศ บริษัทไม่จำ� เป็นต้องบันทึกรายการด้วยหลักการบัญชีที่แตกต่างกันตามจ�ำนวน ประเทศที่ตนเกี่ยวข้อง แต่ประโยชน์ที่เป็นพื้นฐานและเป็นผลตอลแทนที่เป็นตัวเงินที่ชัดเจน คือการเข้าถึงแหล่ง เงินทุน การมีขอ้ มูลทีน่ า่ เชือ่ ถือและเข้าใจได้ และต้นทุนของเงินทุนทีต่ �่ำลง ซึง่ Stonehill & Dullum ได้ท�ำการศึกษา บริษทั ทีจ่ ดทะเบียนในต่างประเทศและพบว่า การเป็นบริษทั จดทะเบียนในต่างประเทศสามารถลดต้นทุนของเงินทุน ได้อย่างมีนัยส�ำคัญ เนื่องจากความแตกต่างกันของฐานข้อมูลของผู้ลงทุน จะเห็นได้ว่าแนวทางที่บริษัทในประเทศไทยได้ใช้มาตรฐานการบัญชีสากลถือได้ว่าเป็นวิธีหนึ่งที่ท�ำให้ นักลงทุนต่างชาติเข้าใจและเชื่อมั่นในงบการเงินของไทย ทั้งนี้ผู้ที่รับผิดชอบต่อวิชาชีพการบัญชีไม่ว่าจะเป็น สภาวิชาชีพบัญชี องค์กรก�ำกับดูแลธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า รวมทั้งสถาบันการศึกษาและองค์กรอื่นๆที่ต้อง จัดท�ำงบการเงินจะต้องร่วมกันพัฒนานักบัญชีของไทยให้ก้าวหน้าและเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมนักบัญชี ผู้สอบบัญชีของประเทศไทยเข้าสู่ AEC ........


10

รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการ ลงทุน(Capital Expenditure)

อ.พรรณิภา แจ้งสุวรรณ

สวัสดีคะ่ นักศึกษาทีน่ า่ รัก เป็นครัง้ ทีส่ องทีค่ รูได้มโี อกาสเข้ามาคุยโดยผ่านสือ่ AC-Newsletter ส�ำหรับ

ปีการศึกษา 2555 นี้ ส่วนใหญ่มักจะสับสนเมื่อพูดถึงรายจ่ายในการค� ำนวณก�ำไรสุทธิว่ารายจ่ายใดบ้างที่ควรจะ น�ำมาค�ำนวณเพื่อเสียภาษีหรือไม่น�ำมารวมภาษี ดังนั้นจึงขอน�ำเรื่อง “รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน” จาก รายจ่ายที่กฎหมายก�ำหนดไม่ยอมให้ถือเป็นรายจ่ายในปัจจุบันมีทั้งสิ้น 20 รายการ ที่ส่วนใหญ่มักสับสนว่าคืออะไร กันแน่ ซึ่งความหมายและข้อมูลที่น�ำมาให้อ่านนี้เป็นข้อมูลที่ครูได้เรียบเรียงมาจากบทความในหนังสือสรรพากร สาส์น ซึง่ จากเงือ่ นไขเกีย่ วกับค่าใช้จา่ ยทีม่ ใิ ห้ถอื เป็นรายจ่ายในการค�ำนวณก�ำไรสุทธิเพือ่ เสียภาษีของบริษทั หรือห้าง หุน้ ส่วนนิตบิ คุ คล ได้ก�ำหนดไว้ในประมวลรัษฎากร มาตรา 65 ตรี การทีก่ ฎหมายต้องก�ำหนดขอบเขตจ�ำกัดรายจ่าย ไว้เพือ่ ป้องกันการหลีกเลีย่ งภาษี ไม่วา่ โดยการแสดงรายจ่ายผิดจากความเป็นจริง หรือเกินสมควร หรือน�ำรายจ่ายที่ ไม่เกี่ยวกับกิจการมาถือเป็นรายจ่ายของกิจการ เพื่อลดก�ำไรสุทธิให้ต�่ำลงหรือมีผลขาดทุนแทนก�ำไร เป็นเหตุให้เสีย ภาษีน้อยกว่าความเป็นจริงหรือไม่ต้องเสียภาษีเลย


1. หลักเกณฑ์รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน 1.1 ค� ำ ว่ า “รายจ่ า ยอั น มี ลั ก ษณะเป็ น การลงทุ น ” ตามประมวลรั ษ ฎากรไม่ ไ ด้ มี ค�ำ วิ เ คราะห์ ศั พ ท์ ไว้ จึงเกิดปัญหาว่าอย่างไรจึงจะเรียกว่า รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน มีค�ำพิพากษาฎีกาที่ 949/2509 บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จ�ำกัด โจทก์กรมสรรพากร จ�ำเลย วินิจฉัยว่า รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุนนั้น มิใช่ หมายถึง รายจ่ายทีจ่ า่ ยไปเพือ่ ให้ได้รบั ประโยชน์จากรายจ่ายเท่านัน้ ไม่ แต่ตอ้ งเป็นรายจ่ายทีบ่ งั เกิดเป็นทุนรอนขึน้ มา หรือกล่าวโดยสรุปสั้นๆว่า ราจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน เป็นรายจ่ายที่กิจการจ่ายไปเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สิน หรือประโยชน์ตอบแทนเป็นการถาวรต่อกิจการไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม ซึ่งอ�ำนวยประโยชน์แก่กิจการเป็น ระยะเวลานานเกินกว่าหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชี 1.2 รายจ่ายในการต่อเติม(Additions) เปลี่ยนแปลง(Alternation) ขยายออก(Extension) หรือท�ำให้ดีขึ้น ซึง่ ทรัพย์สนิ (Betterment) แต่ไม่ใช่เป็นการซ่อมแซมให้คงสภาพเดิม ซึง่ รายจ่ายเหล่านีเ้ ป็นราจ่ายเพือ่ ยังผลให้อายุ การใช้งานของทรัพย์สนิ เดิมยาวนานขึน้ หรือปรับปรุงสภาพของทรัพย์สนิ ทีก่ จิ การมีอยูแ่ ล้วให้มสี ภาพดีขนึ้ ประโยชน์ การใช้มากกว่าเดิม แต่ในการปรับปรุงทรัพย์สินดังกล่าวหากเป็นการซ่อมแซมให้ทรัพย์สินเหล่านั้นกลับคืนสู่สภาพ เดิมแล้วก็ถอื ว่าเป็นค่าใช้จา่ ยในการด�ำเนินงานตามปกติประเภทค่าซ่อมแซมได้โดยไม่ตอ้ งตัง้ เป็นทรัพย์สนิ ไว้ในบัญชี และให้ถือเป็นรายจ่ายในการค�ำนวณก�ำไรสุทธิได้ เช่น ก. รายจ่ายในการต่อเติม(Additions) หมายถึง รายจ่ายเพือ่ การต่อเติมส่วนต่างๆของทรัพย์สนิ ซึง่ มักเป็นการ ต่อเติมส่วนต่างๆของทรัพย์สิน เช่น รายจ่ายในการต่อเติมอาคารจากเดิมซึ่งมีสี่ชั้นเป็นหกชั้น ค่าต่อเติมหลังคา รถกระบะ ค่าต่อเติมอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ เป็นต้น ข. รายจ่ายในการเปลีย่ นแปลง(Alternation) หมายถึงรายจ่ายในการเปลีย่ นแปลงสภาพของทรัพย์สนิ เช่น รายจ่ายในการกั้นห้อง ค่าทุบท�ำลายฝากั้นห้อง เจาะประตู หน้าต่าง ค่าใช้จ่ายในการดัดแปลงรถยนต์บรรทุกหรือ รถยนต์โดยสารให้เป็นรถยนต์นั่ง เป็นต้น ค. รายจ่ายในการขยายออก(Extension) หมายถึง รายจ่ายในการขยายทรัพย์สินออกไปซึ่งมักขยายออก ไปทางขยายขนาดของทรัพย์สิน เช่น รายจ่ายในการขยายอาคารโรงงาน เป็นต้น ง. รายจ่ายในการท�ำให้ดีขึ้นซึ่งทรัพย์สิน(Betterment) แต่ไม่ใช่เป็นการซ่อมแซมให้คงสภาพเดิม หมายถึง รายจ่ายในการท�ำให้คุณภาพ หรือสภาพของทรัพย์สินดีขึ้นไปกว่าสภาพ ณ วันที่ได้ทรัพย์สินนั้นมา ที่มิใช่เป้นการ ซ่อมแซมให้คงสภาพเดิม แม้จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงสภาพทางกายภาพของทรัพย์สิน เช่น รายจ่ายในการเปลี่ยน แปลงซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ หรือโปรแกรมสั่งงานหรือควบคุมเครื่องจักร ค่าเปลี่ยนกระทะครอบล้อรถทั่วไปเป็น แมกเนติกที่ไม่เป็นสนิม เป็นต้น


2. หลักเกณฑ์รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุนตามแนวค�ำพิพากษาศาลฎีกา 2.1 รายจ่ายใดท�ำให้กจิ การได้กรรมสิทธิใ์ นทรัพย์สนิ รายจ่ายนัน้ ถือเป็นรายจ่ายอันมีลกั ษณะเป็นการลงทุน (ดูค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ 949/2509) 2.2 รายจ่ายใดท�ำให้กิจการได้รับประโยชน์เกินหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชี รายจ่ายนั้นถือเป็นรายจ่ายอันมี ลักษณะเป็นการลงทุน(ดูค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4498/2543) 3. หลักการบัญชีเกีย่ วกับรายจ่ายอันมีลกั ษณะเป็นการลงทุน สมาคมนักบัญชีแห่งประเทศไทยเสนอแนะ ว่าหลักเกณฑ์ที่จะน�ำมาพิจารณาควรพิจารณาตามหลักเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี้ ก. หลักกรรมสิทธิ์(Ownership) หมายความว่า รายจ่ายที่จ่ายนั้นต้องได้รับประโยชน์ และต้องเป็นรายจ่าย ที่เกิดเป็นทุนรอนของกิจการขึ้นมา หรือเป็นทรัพย์สินของกิจการนั่นเอง ข. หลักประโยชน์ (Benefit Principle) หมายถึง รายจ่ายนั้นเมื่อจ่ายไปแล้ว แม้จะไม่ได้รับกรรมสิทธิ์ใน ทรัพย์สินใดมาก็ตาม หากแต่ได้รับประโยชน์ตอบแทนต่อกิจการจากการใช้ทรัพย์สินนั้นก็ถือได้ว่าเป็นรายจ่ายอันมี ลักษณะเป็นการลงทุน ค. หลักความส�ำคัญ(Materiality) หมายความว่า รายจ่ายนั้นโดยทั่วไปมักจะเป็นจ�ำนวนเงินก้อนใหญ่ไม่ว่า จะเป็นการจ่ายครัง้ เดียวหรือผ่อนช�ำระก็ตาม แต่บางกรณีอาจจะเป็นจ�ำนวนเงินเล็กน้อยก็ได้ ในการปฏิบตั ทิ างบัญชี ถ้ารายจ่ายใดต�ำ่ กว่า 500 บาท แม้จะเข้าหลักเกณฑ์ตามข้อ(ก)หรือ(ข) ก็ไม่ถอื เป็นรายจ่ายอันมีลกั ษณะเป็นการลงทุน แต่ในทางภาษีอากร ไม่ถือเช่นนั้น สรุป จากการพิจารณาจะเห็นว่ารายจ่ายใดเป็นรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุนตามมาตรา 65 ตรี(5) แห่งประมวลรัษฎากรนัน้ รายจ่ายดังกล่าวต้องเป็นรายจ่ายเกิดเป็นทุนรอนหรือทรัพย์สนิ ของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วน นิตบิ คุ คลและก่อให้เกิดประโยชน์เกินกว่าหนึง่ รอบระยะเวลาบัญชี หากเข้าลักษณะเป็นรายจ่ายอันมีลกั ษณะเป็นการ ลงทุน ต้องห้ามมิให้น�ำมาหักเป็นรายจ่ายในการค�ำนวณก�ำไรสุทธิ ตามมาตรา 65 ตรี(5) แห่งประมวลรัษฎากร แต่ กฎหมายก็มขี อ้ ผ่อนปรนให้ถอื เป็นรายจ่ายในการค�ำนวณก�ำไรสุทธิโดยหักค่าสึกหรอและค่าเสือ่ มราคาได้ตามมาตรา 65ทวิ(2) ประกอบพระราชกฤษฎีกาฯ(ฉบับที่ 145) พ.ศ.2547 จากข้อสรุปและอ้างอิงตามกฎหมายนักศึกษาคงไม่สับสนแล้วใช่ไหมว่ารายจ่ายใดบ้างเราควรวิเคราะห์น�ำ มาเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนหรือจะน�ำมาหักเป็นรายจ่ายในการค�ำนวณก�ำไรสุทธิเพื่อเสียภาษี นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างให้ นักศึกษาค้นคว้าได้อีกมาก เช่นค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5857/2549 เรื่องรายจ่ายดอกเบี้ยเบิกเกินบัญชีเป็นรายจ่าย อันมีลักษณะเป็นการลงทุนตามมาตรา 65 ตรี(5)แห่งประมวลรัษฎากร เป็นต้น ขอจบเพียงแค่นี้นะคะโอกาสหน้า จะน�ำเรื่องที่น่าสนใจและมักเป็นปัญหาในการเรียนมาเล่าสู่กันฟังคะ...goodbye.


11

สมรรถนะของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ไทย.....กับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน อาจารย์เพ็ญธิดา

พงษ์ธานี

จากการเจรจาการค้าขององค์การการค้าโลก (World Trade Organization : WTO) ในปี 2538 ก่อให้เกิดความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าบริการ (General Agreement on Trade in Services : GATS) ซึ่งจัดว่า เป็นความตกลงระดับพหุภาคีว่าด้วยการค้าบริการระหว่างประเทศฉบับแรก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีการร่างกฎ ระเบียบข้อบังคับและวินัยเกี่ยวกับการค้าบริการระหว่างประเทศ รวมทั้งเพื่อขยายการค้าภายใต้เงื่อนไขของความ โปร่งใส และให้มีการเปิดเสรีตามล�ำดับ ทั้งนี้จะต้องไม่ละเมิดกฎหมายและข้อบังคับภายใน และค�ำนึงถึงการด�ำเนิน งานขององค์การระหว่างประเทศ ซึ่งจะเป็นเครื่องมือในการส่งเสริมความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจของประเทศ คู่ค้าทั้งหลาย และเพื่อการพัฒนาของประเทศก�ำลังพัฒนา (กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ, 2546) การบริการด้านบัญชีและสอบบัญชี จัดเป็นสาขาธุรกิจวิชาชีพ (Professional Services) ภายใต้ สาขา บริการด้านธุรกิจ (Business Services) ซึ่งหลังจากการเจรจาสิ้นสุดลง ประเทศสมาชิก 54 ประเทศ ได้ จัดท�ำตารางผูกพันเฉพาะ ในสาขาบริการด้านการบัญชีและการสอบบัญชีขึ้น ซึ่งมี 4 รูปแบบ คือ 1) การ เข้ า สู ่ ต ลาดโดยให้ บ ริ ก ารข้ า มพรมแดน (Cross Border Supply) 2) การออกไปใช้ บ ริ ก ารนอกประเทศ (Consumption Abroad) 3)การเปิดให้ตงั้ ธุรกิจภายในประเทศ (Commercial Presence) และ 4)การให้บคุ ลากร เข้ามาให้บริการภายในประเทศ (Presence of Natural Persons) โดยในขณะนัน้ ประเทศทีย่ อมรับข้อผูกพันการเปิด เสรีดา้ นการบัญชีและการสอบบัญชี ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญีป่ นุ่ ออสเตรเลีย มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลปิ ปินส์ อินโดนีเซีย และประเทศไทย ซึ่งส่งผลต่อการบังคับใช้กรอบข้อตกลงว่าด้วยการค้าบริการของอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Services: AFAS) ของกลุ่มสมาชิกในเขตอาเซียน (ASEAN) หรือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่ปี 2538 โดยในระยะแรกนั้น มีสมาชิกเริ่มแรกจ�ำนวน 6 ประเทศ ได้แก่ บรูไนดารุสซาลาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ภายหลังได้มีสมาชิกเพิ่มขึ้นอีก 4 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม (ส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหว่างประเทศ,2554)


ปัจจุบนั AFAS ได้ด�ำเนินการเจรจาลดข้อจ�ำกัดด้านการค้าบริการระหว่างกันและได้ลงนามในกรอบข้อตกลง ยอมรับการให้ความร่วมมือในวิชาชีพแต่ละสาขาแล้วโดยสาขาวิชาชีพบัญชี(ASEAN Mutual Recognition Arrangement Framework on Accountancy Services : MRA) ได้ลงนามเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2552 และจะ เริ่มมีผลบังคับใช้ในปี 2558 โดยกรอบของ MRA จะครอบคลุมเกี่ยวกับการก�ำหนดแนวทางเพื่อใช้เป็นพื้นฐานใน การเจรจา MRA ด้านบัญชีในอนาคตของอาเซียน ไม่ว่าจะเป็นการเจรจาสองฝ่ายหรือหลายฝ่าย โดยวางหลักเกณฑ์ พื้นฐานส�ำหรับการยอมรับ ซึ่งประกอบด้วยหลักเกณฑ์เรื่อง การศึกษา การสอบ ประสบการณ์ กระบวนการให้การ ยอมรับ ระบบข้อมูลเอกสาร ระเบียบวินัยและหลักจริยธรรม มาตรฐานและแนวปฏิบัติสากล ทั้งนี้ MRA ที่จะจัด ท�ำขึ้นในอนาคตจะต้องไม่ลดทอนสิทธิ อ�ำนาจ หน้าที่ของสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศในการก�ำกับดูแลและออก กฎ ระเบียบ หรือกฎหมายภายใน แต่ตอ้ งไม่สร้างอุปสรรคทีเ่ กินจ�ำเป็น และการออกใบอนุญาตและการขึน้ ทะเบียน ของวิชาชีพบัญชีอาเซียนจะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในของแต่ละประเทศด้วย นอกจากนี้ กรอบข้อตกลงได้ ก�ำหนดกรอบการด�ำเนินการและขอบเขตความรับผิดชอบของหน่วยงานที่รับผิดชอบสาขาบัญชี ดังนั้นจึงเป็นสิ่ง ที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ส�ำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในประเทศไทยไม่ว่าจะเป็นผู้ท�ำบัญชีหรือผู้สอบบัญชีที่ต้องพัฒนา สมรรถนะของตนเองให้มีความโดดเด่นและแตกต่างจากคนอื่นเพื่อสร้างจุดแข็งและเพิ่มโอกาสในการแข่งขันกับ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในต่างประเทศ สมรรถนะ (Competence) แบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม ประกอบด้วย 1) สมรรถนะขั้นพื้นฐาน (Threshold Competencies) หมายถึงความรู้ ทักษะพื้นฐานที่จ�ำเป็น และคุณลักษณะของบุคคลที่ต้องมีเพื่อให้สามารถที่จะ ท�ำงานที่สูงกว่า หรือ ซับซ้อนกว่าได้ 2) สมรรถนะที่ทำ� ให้เกิดความแตกต่าง(Differentiating Competencies) หมายถึงปัจจัยทีท่ �ำให้บคุ คลมีผลการท�ำงานทีด่ กี ว่าหรือสูงกว่ามาตรฐาน สูงกว่าคนทัว่ ไป จึงท�ำให้เกิดความ ส�ำเร็จที่แตกต่างสามารถน�ำองค์ความรู้ไปถ่ายทอดได้ และ มีทักษะในการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ได้ (David Mc Clelland,1993:อ้างถึงสุกญ ั ญา รัศมีธรรมโชติ) ดังนัน้ สมรรถนะของผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชีนา่ จะ หมายถึงขีดความ สามารถที่แสดงถึงการท�ำหน้าที่หรืองานที่เกี่ยวข้องให้ได้ระดับตามที่มาตรฐานก�ำหนดไว้ โดยต้องสามารถน�ำองค์ ความรู้ในวิชาชีพบัญชีประกอบด้วย 1) ความรู้ทางการบัญชี การเงิน และความรู้ที่เกี่ยวข้อง 2) ความรู้ทางองค์กร ธุรกิจ และ 3) ความรูท้ างเทคโนโลยีสารสนเทศ (มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศส�ำหรับผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 2 เรื่องเนื้อหาของโปรแกรมการศึกษาส�ำหรับวิชาชีพบัญชี) ไปถ่ายทอดให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม


รวมไปถึงการมีทกั ษะในการคิดวิเคราะห์เพือ่ น�ำไปสูก่ ารสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ เกีย่ วกับแนวคิดทางบัญชี และทีส่ ำ� คัญ คือต้องสามารถใช้ดลุ พินจิ ทางวิชาชีพและปฏิบตั ติ นอย่างมีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ เพือ่ ประโยชน์สงู สุดต่อสังคมและ วิชาชีพ โดยครอบคลุมถึง 1) ประโยชน์สาธารณะ และความอ่อนไหวที่มีต่อความรับผิดชอบต่อสังคม 2) การพัฒนา อย่างต่อเนื่องและการเรียนรู้ตลอดชีวิต 3) ความเชื่อถือได้ ความรับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา ความมีมารยาท และ ความเคารพนับถือ และ 4)กฎหมายและกฎเกณฑ์ข้อบังคับ (มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศส�ำหรับผู้ประกอบ วิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 4 เรื่องคุณค่า จรรยาบรรณ และทัศนคติในวิชาชีพ) จะเห็นว่าการพัฒนาตนเองของผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชีให้มสี มรรถนะในการปฏิบตั งิ านไม่ใช่เรือ่ งง่ายแต่กไ็ ม่ได้ หมายความว่าผู้ประกอบวิชาชีพจะปฏิบัติไม่ได้ หากแต่ต้องอาศัยเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพของตนเอง และจิตส�ำนึกของ ความรับผิดชอบต่อสังคม หากผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในประเทศไทยสามารถปฏิบัติได้ ก็จะท� ำให้เกิดความน่าเชื่อ ถือต่อผู้ใช้บริการ และแน่นอนที่สุดย่อมส่งผลต่อเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ รวมไปถึงภาพลักษณ์ที่ดีต่อประเทศ เพื่อนบ้านของเราด้วย


12

แนวคิดของกรมสรรพากร เกีย่ วกับภาษี ในการก้าวเข้าสู่ AEC ในปี 2558 อาจารย์สุปราณี

หรรษาจักรตรี

สรรพากร จ่อคิวเก็บภาษี VAT ซื้อขายผ่านเน็ต โดยกรมสรรพากรก� ำ ลั ง ปรั บ ระบบการ จัดเก็บภาษีใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับระบบการค้า และการด�ำเนินธุรกิจต้อนรับการเปิดประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC)โดยระบบภาษีที่ปรับใหม่ นี้ต้องเชื่อมโยงกับการซื้อขายทางอินเทอร์เน็ต ( E-commerce ) ที่จะเพิ่มมากขึ้นหลังจากเปิด ตลาด AEC ทั้งนี้ กรมสรรพากรจะก�ำหนดว่าการซื้อ ขายสินค้าผ่านอิเล็กทรอนิกส์หากเกิดขึ้นในประเทศไทยควรจะต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) ในอัตรา 7% ด้วย แม้ ไม่สามารถเก็บจากผู้ขายได้เพราะอยู่ต่างประเทศ ก็จะใช้วิธีให้ผู้ซื้อเป็นผู้จ่ายภาษีแทน ซึ่งจะจัดเก็บทั้งจากสินค้า และบริการโดยขณะนี้ก�ำลังศึกษาถึงวิธีการที่เหมาะสม และจะเสนอแนวทางการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มให้กระทรวง การคลังพิจารณา 2-3 แนวทาง ขณะนี้ กรมสรรพากรได้รับการอนุมัติจากกระทรวงการคลังให้ด�ำเนินการเพื่อเชื่อมโยงระบบไอทีภาษีทั้ง ระบบ ต่อจากนีไ้ ปหากเกิดการซือ้ ขายขึน้ ทีใ่ ดกรมสรรพากรจะทราบทันทีวา่ มีการเสียภาษีอย่างถูกต้องหรือไม่ ซึง่ จะ ช่วยท�ำให้จัดเก็บภาษีมีประสิทธิภาพมากขึ้น แม้จะไม่ปรับอัตราขึ้นมา แต่ก็มั่นใจว่าในปีงบประมาณ 2556 การจัด เก็บรายได้จะเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ 1.77 ล้านล้านบาท ทางกระทรวงการคลัง ยังไม่มีนโยบายปรับขึ้นหรือ ลดภาษีสรรพากร ส่วนการปรับลดภาษีนิติบุคคลเหลือ 20% ในปี 2556 จะเป็นไปตามแผน ซึ่งท�ำให้รัฐบาลสูญเสีย รายได้ช่วงปี 2555-2556 ประมาณ 8 หมื่นล้านบาท


ทิศทางการปรับโครงสร้างภาษีเพื่อรองรับเสรี อาเซียน กรมสรรพากร มีแนวคิดว่า ในปี 2558 ประเทศในกลุ่มอาเซียนจ�ำนวน 10 ประเทศ จะได้มีการรวมตัวกัน เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN Economic Community AEC) ซึ่งการรวมตัวดังกล่าวนี้จะส่งผลกระทบ ต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของสินค้า บริการ การลงทุนการเคลื่อนย้ายเงินทุน และ แรงงาน ส่วนเรือ่ งของภาษีอากรนัน้ ก็จะได้รบั ผลกระทบเช่นกัน เนือ่ งจากการเคลือ่ นย้ายสินค้าบริการ การลงทุน เงิน ทุน และแรงงานฝีมืออย่างเสรี เพื่อเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน จะส่งผลให้เกิดการแข่งขันระหว่างประเทศ ในกลุ่มเพื่อเป็นศูนย์กลางของอาเซียน ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างและระบบภาษี ตลอดจนการบริหารจัดเก็บ ภาษีของแต่ละประเทศ ดังนัน้ กรมสรรพากรในฐานะหน่วยงานหลักทีร่ บั ผิดชอบในการจัดเก็บภาษีของประเทศจึงต้องมีการปรับปรุง ระบบภาษีอากรให้เอือ้ อ่านวยต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ รวมถึงต้องสามารถแข่งขันกับประเทศอืน่ ใน ภูมิภาคได้ ขณะเดียวกันก็ต้องมีความพร้อมที่จะรองรับผู้เสียภาษีที่เป็นชาวต่างชาติและกิจการข้ามชาติ จึงได้มีการ ด�ำเนินการดังนี้ 1. การปฏิรูปโครงสร้างภาษีทั้งระบบเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 1.1 การปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากร้อยละ 30 เหลือร้อยละ 23 ในปี 2555 และ ร้อยละ 20 ตั้งแต่ปี 2556 เป็นต้นไป 1.2 การเตรียมการปรับปรุงโครงสร้างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา โดยเน้นเรื่องการกระจายภาระภาษีเพื่อลด ความเหลื่อมล�้ำ และขณะเดียวกันการปรับอัตราภาษีให้แข่งขันกับต่างประเทศได้ 2. การเชือ่ มโยงตลาดทุนไทยกับตลาดทุนอืน่ ในภูมภิ าคอาเซียน เพือ่ รองรับการเคลือ่ นย้ายเงินทุนอย่างเสรี โดยออก มาตรการภาษีดังนี้ 2.1 การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาให้แก่การขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ต่างประเทศที่มีการ ซื้อขาย ผ่านระบบที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจัดให้มีขึ้น ทั้งนี้เพื่อเชื่อมโยงการซื้อขายกับตลาดหลักทรัพย์ ต่างประเทศที่เป็นประเทศสมาชิกอาเซียน 2.2 การก�ำหนดให้ผู้มีเงินได้ซึ่งอยู่ในประเทศไทยและได้รับเงินปันผลจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ ซึ่งได้น�ำหลักทรัพย์เข้ามาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ ยอมให้หกั ภาษี ณ ทีจ่ า่ ยร้อยละ 10 เมือ่ ถึงก�ำหนดยืน่ รายการได้รบั ยกเว้นไม่ตอ้ งน�ำเงินปันผลดังกล่าวมารวมค�ำนวณ เพื่อเสียภาษีเงินได้


3. การเร่งรัดให้มีอนุสัญญาภาษีซ้อนระหว่างประเทศในภูมิภาค อาเซียน เพื่อส่งเสริมความร่วมมือในการขจัดภาระภาษีซำ�้ ซ้อนและ การบริหารการจัดเก็บภาษี โดยเร่งรัดการจัดท�ำอนุสญ ั ญาภาษีซอ้ นกับ ประเทศทีย่ งั ไม่มอี นุสญ ั ญาภาษีซอ้ นกับประเทศไทย และให้ความช่วย เหลือทางวิชาการเกีย่ วกับการจัดท�ำอนุสญ ั ญาภาษีซอ้ นแก่ประเทศอืน่ ในภูมภิ าคอาเซียน เพือ่ ให้ทกุ ประเทศมีอนุสญ ั ญาภาษีซอ้ นระหว่างกัน ครบถ้วน 4. การป้องกันการหลีกเลี่ยงภาษีของบริษัทข้ามชาติ โดยเตรียม การออกมาตรการต่างๆ เช่น มาตรการก�ำหนดราคาโอน (Transfer Pricing) มาตรการป้องกันการตั้งทุนต�่ำ (Thin Capitalization) มาตรการป้องกันการกักเก็บก�ำไรไว้ในประเทศที่มี อัตราภาษีตำ�่ (Controlled Foreign Company) รวมทัง้ มาตรการป้องกันการหลบเลีย่ งภาษีเป็นการทัว่ ไป (General AntiAvoidance Rule) โดยที่มาตรการเหล่านั้นจะต้องไม่เป็นอุปสรรคต่อการลงทุนระหว่างประเทศ 5. การพัฒนาสมรรถนะทางภาษาอังกฤษของบุคลากรกรมสรรพากร เพื่อให้สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการ ติดต่อสื่อสารกับชาวต่างชาติ โดยมีโครงการฝึกอบรมภาษาอังกฤษแก่บุคลากรทุกระดับ 6. การอ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้เสียภาษีที่เป็นชาวต่างชาติ โดยการแปลเอกสารภาษีและข้อมูลต่างๆ เป็น ภาษาอังกฤษ เช่น แบบแสดงรายการภาษี คู่มือการเสียภาษี รวมทั้งเว็บไซต์ของกรมสรรพากร สรรพากรปรับใหญ่รับAEC เร่งปรับปรุงขั้นและอัตราภาษีเงินได้ เป็นการเปิดเผยของ กรมสรรพากรว่า ได้จัดท�ำแผนยุทธศาสตร์เพื่อเชื่อมโยง กับยุทธศาสตร์ของกระทรวง การคลังภายใต้ AEC Blueprint เพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) โดยจัดท�ำแผน จัดระบบภาษีของ กรมสรรพากร มีเป้าหมายผสมผสานการบริหารจัดเก็บและบริการ ผู้เสียภาษี เพื่อมุ่งสู่กาเป็นประชาคมเดียวกัน ยุทธศาสตร์ทสี่ �ำคัญ คือ ต้องท�ำให้ผปู้ ระกอบการไทยแข่งขันกับผูป้ ระกอบการในกลุม่ ประเทศAEC เพือ่ เข้าสูก่ ารเป็น ตลาดและฐานการผลิตเดียว ภายใต้การเคลื่อนย้าย สินค้า บริการ แรงงานฝีมือ การลงทุนและเงินทุนที่เสรีขึ้น จึง ต้องน่าท�ำการปรับปรุงโครงสร้างภาษีแบบมีส่วนร่วมเข้ามาใช้ กรมสรรพากรได้ปรับลดอัตราภาษีนิติบุคคลธรรมดา จาก 30% ลงมาอยู่ 23 % ในปีนี้ และ 20% ในปี 2556 ช่วยให้ผู้ประกอบการไทยแข่งขันกับชาติอื่นในประชาคม อาเซียนได้ เพราะยังมีหลายประเทศที่มีอัตราภาษีนิติบุคคลสูงกว่าไทย เช่น มาเลเซีย กับ เวียดนาม อยู่ที่ 25 % บรูไน 27.5% ฟิลิปปินส์ 30% และลาว 35% ซึ่งการที่อัตราภาษีนิติบุคคลของไทยอยู่ในระดับต�่ำกว่าหลายประเทศ ในอาเซียน จะช่วยจูงใจให้ตา่ งชาติเข้ามาลงทุนในไทยมากขึน้ ด้วยขณะเดียวกันยังมีมาตรการภาษีเพือ่ เสริมสร้างความ สามารถในการแข่งขันของประเทศ คือ ปรับปรุงขั้นและอัตราภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา นิติบุคคล รวมทั้งปรับเพิ่ม Chapter International Taxation ในประมวลรัษฎากร และมาตรการภาษีดา้ นตลาดทุน เพือ่ รองรับการเคลือ่ นย้าย การลงทุนและเงินทุนเสรีส�ำหรับการปรับปรุงโครงสร้างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดายังอยู่ในระหว่างศึกษาถึงแนวทาง ที่เหมาะสม ผลกระทบเพื่อให้เกิดความสมดุลทั้งอัตราภาษีและยังแข่งขันได้ ขณะที่มาตรการภาษีด้านตลาดทุนก็ยัง ต้องหารือกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอย่างรอบด้าน เพื่อรองรับการเคลื่อนย้ายการลงทุนและเงินทุนเสรี


นอกจากนี้ จะต้องมีการเชื่อมความสัมพันธ์กับหน่วยงานด้านการจัดเก็บภาษีในกลุ่มประเทศAEC เพื่อเตรียม ความพร้อม ทั้งการขยายการจัดเก็บภาษีหรือท่าอย่างไรให้อัตราภาษีเสมอภาคกันและสร้างความเข้มแข็ง SMEs ไทย สู่สากล สร้างเวทีการประชุม หน่วยงานบริหารจัดเก็บภาษีในประเทศประชาคม AEC (AEC Tax Forum) และสร้าง พืน้ ฐานการรับรูท้ เี่ ท่าเทียมกัน โดยจัดท�ำประมวลรัษฎากรและระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องเป็นภาษาอังกฤษ กรมสรรพากรอยูร่ ะหว่าง ปรับปรุงประมวลรัษฎากรและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการเสียภาษีของไทยให้เป็นปัจจุบันมากขึ้น เพื่อให้ชาติอื่นใน AEC รับรู้กฎระเบียบของไทย เพื่อสะดวกแก่การประกอบธุรกิจร่วมกันด้วย ซึ่งจะมีเผยแพร่ทั้งเป็นเอกสารและในเว็บไซต์ ขณะที่นวัตกรรมที่น่ามาบริหารการจัดเก็บภาษี เพื่อจัดเก็บภาษีให้ได้เต็มเม็ดเต็มหน่วยขึ้น และป้องกันการ หลีกเลี่ยงการเสียภาษี กรมสรรพากรได้พัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลกับส่านักงานตรวจคนเข้าเมือง หรือตม. และข้อมูล การขอใบอนุญาตการท่างานของคนต่างชาติในไทย (work permit) ที่ออกโดยกระทรวงแรงงาน เพื่อติดตามตรวจสอบ ข้อมูลการหักภาษี ณ ที่จ่าย ของภาษีแรงงานในกลุ่ม Lebreton skill หรือแรงงานฝีมือ เช่น แพทย์ วิศวกร จากข้อมูล ผู้ขอ work permit และข้อมูลการเดินทางเข้าออกประเทศจาก ตม. ว่าได้มีการเสียภาษีครบถ้วนถูกต้องหรือไม่ นอกจากนี้ ได้เตรียมให้บริการ Call Center ของกรมฯ เป็นภาษาอังกฤษ รวมทั้งปรับปรุง Website แบบแสดง รายการภาษี และการยื่นแบบผ่าน Smart phone and tablet. เป็นภาษาอังกฤษด้วย ซึ่งแบบแสดงรายการเสีย ภาษีจะเริ่มใช้ในปีนี้แล้ว และในอนาคตจะศึกษาคามเป็น ไปได้ในการพัฒนาฐานข้อมูลและระบบคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือ VAT ให้นักท่องเที่ยวร่วมกันของประเทศกลุ่ม AEC พร้อมจัด Roadshow เพื่อประชาสัมพันธ์เชิงรุกเกี่ยวกับ ภาษีไปในภูมิภาคด้วย กรมสรรพากร ระบุวา่ 3 กรมจัดเก็บภาษี ประกอบ ด้วย กรมสรรพากร กรมศุลกากร และกรมสรรพสมิต ยังได้ร่วมกันพัฒนาระบบและให้ลูกค้าของตน ให้ใช้เลข ประจ�ำตัวผู้เสียภาษีอากรเดียว คือ เลข 13 หลัก ได้เช่น ถ้าเป็นนิติบุคคล ก็ให้ใช้เลขจดทะเบียนนิติบุคคล ที่ออกโดย กระทรวงพาณิชย์ ถ้าเป็นบุคคลธรรมดา ให้ใช้เลขบัตรประจ่าตัวประชาชน ทีอ่ อกโดยกระทรวงมหาดไทย ซึง่ เป็นตามการ ก�ำหนดให้ใช้ข้อมูลแบบ Single number ทั้งประเทศตามนโยบายของรัฐบาล เพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน หรือAEC ขณะเดียวกันจะมีการบูรณาการท่างาน 3 กรมจัดเก็บภาษี ที่อยู่ภายใต้ก่ากับของกระทรวงการคลัง ในการให้ บริการ โดยจัดท�ำเว็บไซต์ศนู ย์กลางในการเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสาร เพือ่ ให้ความรูป้ ระชาชน ผูเ้ สียภาษี และผูป้ ระกอบการ โดยรหัสเข้าใช้บริการเดียว เช่น ประชาชนหรือผู้เสียภาษีทั่วไปใช้เลขประจ่าตัวประชาชน 13 หลัก ส่วนผู้ประกอบการ หรือนิติบุคคลใช้เลขที่ จดทะเบียนกับออกโดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ รวมทั้งพัฒนาระบบการสืบค้น ข้อมูล ทีช่ ว่ ยอ�ำนวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าทีท่ งั้ 3 กรมภาษี สามารถเชือ่ มโยงข้อมูลกัน ทัง้ 3 กรม เพือ่ ประโยชน์ในการ ตรวจสอบ และก�ำกับดูแลการเสียภาษีทั้งรายบุคคลและผู้ประกอบการได้


13

การบัญชีตามมูลค่ายุติธรรม อ.รัชดาภรณ์ เสมาขันธ์

จาก

การที่สภาวิชาชีพบัญชีได้ปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีของไทยให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี ระหว่างประเทศตั้งแต่ปี 2542 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน ประกอบกับมีการใช้แนวคิดวิธีการวัดมูลค่ารายการเพื่อ แสดงในงบการเงินโดยใช้วิธีมูลค่ายุติธรรม(Fair Value)ท�ำให้มาตรฐานการบัญชีของไทยมีความเป็นสากล เพิ่มขึ้น ซึ่งมูลค่ายุติธรรม (Fair Value) อาจเรียกว่า ราคาตลาดปัจจุบัน (Fair Market Value) ตามมาตรฐานการบัญชีได้ ก�ำหนดค�ำนิยามของมูลค่ายุตธิ รรมไว้คอื “จ�ำนวนเงินทีผ่ ซู้ อื้ และผูข้ ายตกลงแลกเปลีย่ นสินทรัพย์กนั ในขณะทีท่ งั้ สอง ฝ่ายมีความรอบรู้และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มี ความเกี่ยวข้องกัน” การวัดมูลค่ายุติธรรมหรือราคาตลาดปัจจุบันไม่ใช่เรื่องง่ายแต่ก็ไม่ยากเกินความสามารถของ นักบัญชี โดยมีวิธีที่นิยมใช้วัดราคาตลาดปัจจุบัน 3 วิธีคือวิธีราคาตลาด (Market Approach) วิธีรายได้ (Income Approach) และวิธตี น้ ทุนปัจจุบนั ของสินทรัพย์ (Cost Based Approach) การวัดราคาตลาดปัจจุบนั ทัง้ 3 วิธจี ำ� เป็น ต้องใช้ดุลยพินิจเป็นอย่างมาก ท�ำให้ความน่าเชื่อถือของตัวเลขจากมูลค่ายุติธรรมลดลง ตัวอย่างการใช้วิธีมูลค่ายุติธรรมในการวัดค่ารายการ ในงบแสดงฐานะการเงิน มีดังนี้ รายการเงินสด แสดง ด้วยจ�ำนวนเงินสดที่คงเหลือจริงจากการตรวจนับ ลูกหนี้การค้า แสดงด้วย มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน (FMV) คือ จ�ำนวนลูกหนีท้ หี่ กั ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญแล้ว สินค้าคงเหลือแสดงด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั (FMV) แล้ว แต่ราคาใดจะต�ำ่ กว่า เงินลงทุนในหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดแสดงด้วยราคาตลาดปัจจุบนั (ราคาเสนอซือ้ ) รายการ “ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์” แสดงด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ หรือ ราคาเปลี่ยนแทน (FMV) อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนแสดงโดยใช้ราคาทุนหรือราคาตลาดปัจจุบัน (FMV) หนี้สินระยะสั้นแสดงด้วยมูลค่า ที่ต้องจ่ายช�ำระในปัจจุบัน (FMV) เป็นต้น นอกจากนั้ น ในปั จ จุ บั น มาตรฐานการบั ญ ชี ข องไทยยั ง มี ก ารรั บ รู ้ ร ายการในงบการเงิ น ให้ เ ป็ น ราคา ตลาดปัจจุบันเพิ่มมากขึ้น เช่น พยายามวัดมูลค่ารายการต่างๆ ที่ไม่เคยวัด ได้แก่ หนี้สินผลประโยชน์พนักงาน (TAS # 19) สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (TAS # 12) ท�ำให้งบการเงินน�ำ เสนอตัวเลขตามเกณฑ์คงค้างเพิ่มขึ้น และยังอยู่ระหว่างการก�ำหนดมาตรฐานการบัญชีที่เกี่ยวกับเครื่องมือทางการ เงิน (TAS # 39) ซึ่งจะบังคับใช้ในอนาคต ท�ำให้งบการเงินมุ่งเข้าสู่มูลค่ายุติธรรมเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ ผู้ท�ำบัญชีต้องใช้ ประมาณการตัวเลขในงบการเงินมากกว่าเดิม และท�ำให้วิธีปฏิบัติทางบัญชีมีความยากขึ้น ซับซ้อนขึ้น แต่จะช่วย ท�ำให้งบการเงินสะท้อนข้อมูลที่สอดคล้องกับความเป็นจริงในปัจจุบันมากขึ้น อันจะเป็นประโยชน์ต่อการน�ำข้อมูล ไปใช้ตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจของผู้ใช้งบการเงินเพิ่มมากขึ้นด้วย


14

ผลกระทบนักบัญชีไทย ในการก้าวสู่ AEC

อ.สุพิชา ศรีสุคนธ์

สวัสดีค่ะนักศึกษาทุกคน ตอนนี้ทุกคนคงได้ยินค�ำว่า AEC ไม่มากก็น้อยนะคะ อาจารย์อยากขยายความให้เข้าใจใน AEC มากขึ้นนะคะ เรานักบัญชีต้องเตรียมตัวอย่างไร และจะได้รับผลกระทบอย่างไรบ้าง และอยากจะไปตั้งส�ำนักงานบัญชีหรือส�ำนักงานสอบบัญชี ในกลุ่ม AEC จะเตรียมตัวอย่างไร ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน AEC : ASEAN Economic Community มีที่มาอย่างไร ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน ASEAN จัดตั้งเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 โดยมีสมาชิก 10 ประเทศ ดังนี้ ประเทศบรูไน เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อปี ค.ศ.1984 ประเทศอินโดนีเซีย เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อปี ค.ศ.1967 ประเทศมาเลเซีย เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อปี ค.ศ.1967 ประเทศฟิลิปปินส์ เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อปี ค.ศ.1967 ประเทศสิงคโปร์ เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อปี ค.ศ.1967 ประเทศไทย เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อปี ค.ศ.1967 ประเทศกัมพูชา เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อปี ค.ศ.1999 ประเทศลาว เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อปี ค.ศ.1997 ประเทศพม่า เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อปี ค.ศ.1997 ประเทศเวียดนาม เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อปี ค.ศ.1995 ใครบ้างที่อยู่ในกลุ่ม AEC และกลุ่ม CLMV 1. กลุ่ม AEC ได้แก่ประเทศสมาชิก ASEAN 10 ประเทศ ดังนี้ ประเทศบรูไน ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศมาเลเซีย ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศสิงคโปร์ ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา ประเทศลาว ประเทศพม่า ประเทศเวียดนาม


2. กลุ่ม CLMV ได้แก่ประเทศสมาชิก ASEAN ที่มีรายได้ต่อหัวต�่ำกว่า 6 ประเทศ ASEAN ประเทศกัมพูชา ประเทศลาว ประเทศพม่า ประเทศเวียดนาม ธุรกิจจะต้องเตรียมรับมืออย่างไร จะแข่งขันอย่างไร 1. ต้องมีความมุ่งมั่น 2. มีภูมิปัญญา 3. ต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต 4. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 5. มีมนุษยสัมพันธ์และทักษะการสื่อสาร 6. มีทักษะการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ 7. บริหารเวลา ปัญหาด้านแรงงานเมื่อเปิดการค้าเสรีตามกฎเกณฑ์ของ AEC 1. แรงงานทั่วไป : ประเทศไทยจะขาดแคลน เนื่องจากจะออกไปท�ำงานต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ 2. แรงงานฝีมือ : เป็นแรงงานที่กลุ่ม ASEAN ขาด เมื่อ AEC บังคับใช้ มีอาชีพที่เปิดเสรี ได้แก่ แพทย์ พยาบาล ทันตแพทย์ วิศวกร ช่างส�ำรวจ สถาปนิก บัญชี วิชาชีพบัญชีกับผลกระทบเมื่อ AEC เริ่มบังคับใช้จะต้องเตรียมตัวอย่างไร 1. การเปิดเสรีด้านบริการ - ต่างประเทศสามารถให้บริการในไทยได้ - คนไทยสามารถให้บริการต่างประเทศได้ - สามารถเพิม่ สัดส่วนผูถ้ อื หุน้ ของชาวต่างชาติ คือ เมือ่ AEC บังคับใช้ ชาวต่างชาติมสี ทิ ธิถอื หุน้ ได้รอ้ ยละ 70 - ต่างประเทศมีสิทธิเข้ามาท�ำงานได้มากขึ้น 2. การเปิดเสรีด้านธุรกิจบัญชี - อาชีพบัญชีใน AEC แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ 1) ท�ำบัญชี 2) สอบบัญชี 3) ภาษีอากร - บริการบัญชีระหว่างประเทศ - ต่างชาติสามารถเข้ามาให้บริการท�ำบัญชีในประเทศไทยได้ - คนไทยไปให้บริการท�ำบัญชีในต่างประเทศได้ - ถือหุ้นในธุรกิจบัญชีได้ร้อยละ 70


เงื่อนไขในการตั้งส�ำนักงานบัญชีในแต่ละประเทศ AEC มีดังนี้ ประเทศสิงคโปร์ - ธุรกิจบัญชีที่สามารถท�ำได้ คือ บริการท�ำบัญชี บริการสอบบัญชี และบริการภาษี - ต้องมีผู้ร่วมหุ้นอย่างน้อย 1 คน ที่มีถิ่นพ�ำนักอยู่ที่สิงคโปร์ ประเทศอินโดนีเซีย - ธุรกิจบัญชีที่สามารถท�ำได้ คือ บริการท�ำบัญชี และบริการสอบบัญชี - ตามกฎหมายการลงทุนต่างชาติของประเทศอินโดนีเซีย ให้ถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 49 และท�ำงานได้ ครั้งละ 2 ปีเท่านั้น ประเทศมาเลเซีย - ธุรกิจบัญชีที่สามารถท�ำได้ คือ บริการท�ำบัญชี บริการสอบบัญชี และ บริการภาษี - ต้องร่วมลงทุนกับคนมาเลเซียโดยถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 49 และท�ำงานได้ไม่เกินส�ำนักงานละ 8 คน ครั้งละ 2 ปี (สามารถต่ออายุได้) - บริการด้านภาษีได้ไม่เกิน 2 ราย ประเทศฟิลิปปินส์ - ธุรกิจบัญชีที่สามารถท�ำได้ คือ บริการท�ำบัญชี - ต้องร่วมลงทุนกับคนฟิลิปินส์โดยถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 30 - บริการสอบบัญชี ต้องจดทะเบียนเป็นผู้สอบบัญชีของประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศเวียดนาม - ธุรกิจบัญชีที่สามารถท�ำได้ คือ บริการท�ำบัญชี บริการสอบบัญชี และบริการภาษี - มีถิ่นพ�ำนักอยู่ที่เวียดนามไม่น้อยกว่า 1 ปี - จดทะเบียนเป็นผู้สอบบัญชีของประเทศเวียดนาม - บริการด้านภาษี ถือหุ้นได้ร้อยละ 100 ประเทศกัมพูชา - ธุรกิจบัญชีที่สามารถท�ำได้ คือ บริการท�ำบัญชี บริการสอบบัญชี และบริการภาษี - สามารถถือหุ้นได้ร้อยละ 100 ประเทศพม่า - ธุรกิจบัญชีที่สามารถท�ำได้ คือ บริการท�ำบัญชี และบริการสอบบัญชี - ต้องร่วมลงทุนกับประเทศพม่า นักบัญชีจะต้องเตรียมความพร้อมในเรื่องใดบ้าง หากต้องแข่งขันกันในกลุ่ม AEC นักบัญชีจะต้องเรียนรู้มาตรฐานการบัญชีดังนี้ - มาตรฐานการบัญชี IAS - มาตรฐานรายงานการเงิน IFRS นักบัญชีจะต้องเรียนรู้ประมวลรัษฎากร นักบัญชีจะต้องเรียนรู้ภาษาอังกฤษ Source: fi.pwa.co.th/


15

ท�ำไมเกิดแผ่นดินไหวบ่อย????? อ.สุพิชา ศรีสุคนธ์

แผ่นดินไหว เป็นปรากฏการณ์สนั่ สะเทือนหรือเขย่าของพืน้ ผิวโลก เพือ่ ปรับตัวให้อยูใ่ นสภาวะสมดุล ซึง่ แผ่นดิน ไหวสามารถก่อให้เกิดความเสียหายและภัยพิบตั ติ อ่ บ้านเมือง ทีอ่ ยูอ่ าศัย สิง่ มีชวี ติ ส่วนสาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหว นัน้ ส่วนใหญ่เกิดจากธรรมชาติ โดยแผ่นดินไหวบางลักษณะสามารถเกิดจากการกระท�ำของมนุษย์ได้ แต่มคี วามรุนแรง น้อยกว่าทีเ่ กิดขึน้ เองจากธรรมชาติ นักธรณีวทิ ยาประมาณกันว่าในวันหนึง่ ๆ จะเกิดแผ่นดินไหวประมาณ 1,000 ครัง้ ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็นแผ่นดินไหวทีม่ กี ารสัน่ สะเทือนเพียงเบาๆ เท่านัน้ คนทัว่ ไปไม่รสู้ กึ

แผ่นดินไหวเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติทเี่ กิดจากการเคลือ่ นทีข่ องแผ่นเปลือกโลก (แนวระหว่างรอยต่อธรณี ภาค) ท�ำให้เกิดการเคลื่อนตัวของชั้นหินขนาดใหญ่เลื่อน เคลื่อนที่ หรือแตกหักและเกิดการโอนถ่ายพลังงานศักย์ ผ่านในชั้นหินที่อยู่ติดกัน พลังงานศักย์นี้อยู่ในรูปคลื่นไหวสะเทือน แหล่งก�ำเนิดแผ่นดินไหวหรือบริเวณต�ำแหน่งศูนย์กลางแผ่นดินไหวส่วนใหญ่จะอยู่ตรงบริเวณ ขอบของ แผ่นเปลือกโลก แนวรอยเลื่อนต่างๆ และบริเวณที่มนุษย์มีกิจกรรมกระตุ้นให้เกิดแผ่นดินไหว เช่น เหมือง เขื่อน บ่อน�้ำมัน บริเวณที่มีการฉีดของเหลวลงใต้พื้นดิน บริเวณที่มีการเก็บกากรังสีเป็นต้น


สาเหตุการเกิดแผ่นดินไหว แผ่นดินไหวจากธรรมชาติเป็นธรณีพิบัติภัยชนิดหนึ่ง ส่วนมากเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดจาก การสั่นสะเทือนของพื้นดิน อันเนื่องมาจากการปลดปล่อยพลังงานเพื่อระบายความเครียด ที่สะสมไว้ภายใน โลกออกมาอย่างฉับพลันเพื่อปรับสมดุลของเปลือกโลกให้คงที่ โดยปกติเกิดจากการเคลื่อนไหวของรอยเลื่อน สาเหตุก้น ารเกิ ดแผ่อนกโลกที ดินไหว ่อยู่ด้านนอกสุดของโครงสร้างของโลก มีการเคลื่อนที่หรือเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ อยู่ ภายในชั เปลื เสมอ (ดู การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก) แผ่นดินไหวจะเกิดขึ้นเมื่อความเค้นอันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลง แผ่นดินไหวจากธรรมชาติเป็ นธรณี พิบตั ิภยั ชนิดหนึ่ ง ส่ วนมากเป็ นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดจากการสัน่ สะเทือนของพื้นดิน อัน มีมเนืากเกิ น ไป ภาวะนี ดขึ้น่อระบายความเครี บ่อยในบริยเดวณขอบเขตของแผ่ นเปลื ่ที่แลบ่ของเปลื งชั้นอเปลื อกโลกออกเป็ ่องมาจากการปลดปล่ อยพลั้ เงกิงานเพื ที่สะสมไว้ภายในโลกออกมาอย่ างฉับอพลักโลก นเพื่อปรับทีสมดุ กโลกให้ คงที่ โดยปกติ น ธรณี เกิดจากการเคลื ่อนไหวของรอยเลื น ภายในชั อกโลกที ดของโครงสร้างของโลก มีนกเปลื ารเคลือ่อกโลกนี นที่หรื อเปลี้ว่ย่านแปลงอย่ ๆ อยู่ ภาค (lithosphere) เรีย่อกแผ่ นดิน้ นเปลื ไหวที ่เกิด่อขึยูด่ ้นา้ นนอกสุ บริเวณขอบเขตของแผ่ แผ่นดิางช้นาไหวระหว่ างแผ่น เสมอ (ดู การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก) แผ่นดินไหวจะเกิดขึ้นเมื่อความเค้นอันเป็ นผลจากการเปลี่ยนแปลงมีมากเกินไป ภาวะนี้ เกิดขึ้นบ่อยใน (interplate earthquake) ซึ่งเกิดได้บ่อยและรุนแรงกว่า แผ่นดินไหวภายในแผ่น (intraplate earthquake) บริ เวณขอบเขตของแผ่นเปลือกโลก ที่ที่แบ่งชั้นเปลือกโลกออกเป็ นธรณี ภาค (lithosphere) เรี ยกแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นบริ เวณขอบเขตของแผ่น เปลือกโลกนี้ วา่ แผ่นดินไหวระหว่างแผ่น (interplate earthquake) ซึ่ งเกิดได้บ่อยและรุ นแรงกว่า แผ่นดินไหวภายในแผ่น (intraplate earthquake) ขนาดของแผ่นดินไหว หมายถึง จ�ำนวนหรือปริมาณของพลังงานทีถ่ กู ปล่อยออกมาจากศูนย์กลางแผ่นดินไหว

ในแต่ละครั ้ง การหาค่ าขนาดของแผ่ นอดิปรินมไหวท� ำได้งงานที โดยวั่ถูกดปล่ความสู งของคลื ่นแผ่นนดินดิไหวในแต่ นไหวทีล่บะครั​ัน้ งทึการหาค่ กได้ดา้วขนาด ยเครื่องตรวด ขนำดของแผ่ นดินไหว หมายถึง จานวนหรื าณของพลั อยออกมาจากศู นย์กลางแผ่ วัดของแผ่ แผ่นนดิดินนไหว แล้โวดยวั ค�ำดนวณจากสู รการหาขนาด ดค้่ อนงตรวดวั โดย ดชาลส์ ฟรานซิ ส ริกเตอร์ และนิยมใช้ ไหวทาได้ ความสู งของคลืต ่นแผ่ นดินไหวที่บนั ทึกได้ซึด่งว้ คิยเครื แผ่นดินไหว แล้วคานวณจากสู ตรการหาขนาด ซึ่ งคิดหค้น่ น วยวัดขนาด โดย ชาลส์ ฟรานซิส ริ กเตอร์ และนิยมใช้หน่วยวัดขนาดของแผ่นดินไหวคือ "ริ กเตอร์ " โดยสู ตรการคานวณมีดงั นี้

กาหนดให้ ของแผ่ นดินไหวคือ “ริกเตอร์” โดยสูตรการค�ำนวณมีดังนี้ ก�ำหนดให้M = ขนาดของแผ่นดินไหว (ริ กเตอร์) A = ความสูนงของคลื ่นแผ่(ริ นดิกนไหวที M = ขนาดของแผ่ ดินไหว เตอร์่ส)ูงที่สุด ความสู งของคลื นไหวที่ร่สะดัูงที บศู่สนุดย์ A = ความสูง=ของคลื ่นแผ่​่นนแผ่ดินนดิไหวที A0โดยขนาดของแผ่ = ความสูงนของคลื ่นแผ่ละระดั นดินบจะปล่ ไหวทีอยพลั ่ระดังงานมากกว่ บศูนย์ า 30 เท่าของขนาดก่อนหน้า เช่น 4 กับ 5 ริ กเตอร์ แผ่นดินไหวขนาด 5 ริ กเตอร์จะ ดินไหว ในแต่ ปล่อยพลังงานออกมามากกว่า 4 ริ กเตอร์ 30 เท่า, แผ่นดินไหวขนาด 7 ริ กเตอร์จะปล่อยพลังงานออกมามากกว่า 5 ริ กเตอร์ = 30x30 = 900 เท่า เป็ น ต้น โดยขนาดของแผ่นดินไหว ในแต่ละระดับจะปล่อยพลังงานมากกว่า 30 เท่าของขนาดก่อนหน้า เช่น 4 กับ 5 ริควำมรุ กเตอร์ แผ่นดินนดินไหวขนาด 5 ริกเตอร์ทีจ่เะปล่ อยพลั งงานออกมามากกว่ ริกมเตอร์ า, ้ นแผ่ กิดขึ้นในแต่ ละครั ากน้อยเพี30 ยงใดเท่ และขึ อยูก่ นบั ดินไหวขนาด 7 นแรงของแผ่ ไหว (อังกฤษ: Intensity) ้ งนั้นขึ้นอยูก่ บั ความรุ นแรงทีา่รู้ส4ึ กได้ ลางแผ่งนงานออกมามากกว่ ดินไหว ความเสี ยหายจะเกิดาขึ้น5ในบริ เวณใกล้เ=คียงกั บศูนย์กลางแผ่ นดินไหว ริกระยะทางจากศู เตอร์จะปล่นย์อกยพลั ริกเตอร์ 30x30 = 900 เท่าและจะลดหลั เป็นต้น น่ ลงไปตามระยะทางที่ห่าง ออกไป ดังนั้น การสูญเสี ยจะมากหรื อน้อยขึ้นอยูก่ บั ความรุ นแรงของแผ่นดินไหวโดยตรง สาหรับการวัดขนาดของแผ่นดินไหวมีหลายวิธี เช่น มาตรา วัดขนาดของแผ่นดินไหวแบบริ กเตอร์ และแบบเมอร์แคลลี่ ความรุนแรงของแผ่นดินไหว (อังกฤษ: Intensity) ที่เกิดขึ้นในแต่ละครั้งนั้นขึ้นอยู่กับความรุนแรงที่รู้สึกได้ มากน้อยเพียงใด และขึ้นอยู่กับระยะทางจากศูนย์กลางแผ่นดินไหว ความเสียหายจะเกิดขึ้นในบริเวณใกล้เคียงกับ ศูนย์กลางแผ่นดินไหว และจะลดหลั่นลงไปตามระยะทางที่ห่างออกไป ดังนั้น การสูญเสียจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่ กับความรุนแรงของแผ่นดินไหวโดยตรง ส�ำหรับการวัดขนาดของแผ่นดินไหวมีหลายวิธี เช่น มาตราวัดขนาดของ แผ่นดินไหวแบบริกเตอร์ และแบบเมอร์แคลลี่


ขนาดและความสัมพันธ์ของขนาดโดยประมาณกับความสั่นสะเทือนใกล้ศูนย์กลาง ริกเตอร์

ความรุนแรง

ลักษณะที่ปรากฏ

1 - 2.9

เล็กน้อย

ผู้คนเริ่มรู้สึกถึงการมาของคลื่น มีอาการวิงเวียนเพียงเล็กน้อยในบางคน

3 - 3.9

เล็กน้อย

4 - 4.9

ปานกลาง

5 - 5.9

รุนแรง

ผู้คนที่อยู่ในอาคารรู้สึกเหมือนมีอะไรมาเขย่าอาคารให้สั่นสะเทือน ผู้ที่อาศัยอยู่ทั้งภายในอาคาร และนอกอาคาร รู้สึกถึงการ สั่นสะเทือน วัตถุห้อยแขวนแกว่งไกว เครื่องเรือน และวัตถุมีการเคลื่อนที่

6 - 6.9

รุนแรงมาก

อาคารเริ่มเสียหาย พังทลาย ดการสั่นสะเทือนอย่างมากมาย ส่งผลท�ำให้อาคารและสิ่งก่อสร้างต่างๆ 7.0 ขึ้นไป รุนแรงมากมาก เกิ เสียหายอย่างรุนแรง แผ่นดินแยก วัตถุบนพื้นถูกเหวี่ยงกระเด็น SOUCE: 1. ^ Possible Link Between Dam and China Quake by SHARON LaFRANIERE, นิวยอร์กไทม์ส, 5 กุมภาพันธ์ 2008. 2. ^ จันทร์ครบ, พัชรา (2543), เจาะโลกมหัศจรรย์, กรุงเทพมหานคร: บริษัท นานมีบุ๊คส์ จ�ำกัด, ISBN 974-471-456-5 3. เทอร์รี, เจนนิงส์ (2538), ภูเขาไฟและแผ่นดินไหว, กรุงเทพมหานคร: ส�ำนักพิมพ์ บริษัทโรงพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช จ�ำกัด, ISBN 974-08-1867-6 4. กนก จันทร์ขจร และถนัด ศรีบุญเรือง, วิทยาศาสตร์กายภาพ ม.4 - ม.6, ส�ำนักพิมพ์ บริษัทไทยร่มเกล้า จ�ำกัด, 2549, หน้า 15, สืบค้นวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2553 5. พิบัติภัยแผ่นดินไหวในประเทศไทย 6. เจาะพื้นธรณีวิทยา หาที่มาแห่ง ‘พสุธากัมปานาท’” — บทความจากผู้จัดการออนไลน์ 7. แผ่นดินไหวบริเวณสุมาตรา-อันดามัน 8. หนังสืออุตุนิยมวิทยา เรื่องแผ่นดินไหว — จากกรมอุตุนิยมวิทยา 9. ข้อปฏิบัติให้ปลอดภัยจากแผ่นดินไหว — จากกรมทรัพยากรธรณี 10. ศูนย์ยุโรปส�ำหรับการเกิดแผ่นดินไหวเมดิเตอร์เรเนียน - EMSC


ประมวลภาพกิจกรรมคณะการบัญชี ประจาปีการศึกษา 2555

16

ประมวลภาพกิจกรรมคณะการบัญชี ประจ�ำปีการศึกษา 2555 มีการอบรมโครงการ Smart monny ในวันที่ 25 กรกฏาคม 2555 ผู้เข้าอบรมตั้งใจ กันน่าดู ทุกคนชอบการอบรมครั้งนี้มาก มีการอบรมโครงการ Smart monny ในวันที่ 25 กรกฏาคม 2555 ผู้เข้ าอบรมตั้งใจ กันน่ าดู ทุกคนชอบการอบรมครั้งนีม้ าก วันที่ 16 สิ งหาคม 2555 เป็ นวันทาบุญครบรอบ วันที่ 16 สิ งหาคม 2555 เป็ นรบั งเช้ามีกบารทาบุญเลี้ยง 40 ปี คณะกา วันญทชีาบุช่ญวครบรอ 40 ปี คณะการบัญชี ช่วงเช้ามีแ์ กละนั เลี้ยวงมกันทาบุญตัก ศึกญษาร่ พระ อาจารย ารทกาบุ

วันที่ 16 สิงหาคม 2555 เป็นวันท�ำบุญครบรอบ 40 ปี คณะการบัญชี ช่วงเช้ามีการท�ำบุญเลี้ยง พระอาจารย์ และนักศึกษาร่วมกันท�ำบุญตักบาตร และพอช่วงสายก็ได้ฟังธรรมะ บาตร และพอช่วงสายก็ได้งฟในรสพ พวกม และตกตอนบ่าย ระธรร นักศึกษาซึ้ ังธรรมะ พวกนักศึกษาซึ้งในรสพระธรรม และตกตอนบ่ายนักศึกษา และอาจารย์ได้แต่งตัวประกวดกัน นักศึกษาซึ้งในรสพระธรรและอา ม และตก ได้แาต่ยงตัวประกวดกัน นักศึกษา เพืจารย์ ่อเป็ตอนบ่ นนางในวรรณคดี ท�ำให้สนุกมากเลย มีการแข่งขันกีฬาพื้นบ้านท�ำให้นึกถึงตอนสมัย นักศึกษา และอาจารย์ได้แนางใน วประกว วรรณค เพื่อเป็ น ต่งตัเป็ นเด็กดกัดีนทวัาให้นเกิสนุดกมากเลย คณะการบัญชีช่างมีความสุขมากเลย จัดแบบนี้ทุกปีชอบมาก ๆๆๆๆๆๆๆๆ พระ อาจารยแ์ ละนักศึกษาร่ วมกั ทาบุญไ็ ตัด้กฟังธรรมะ พวก บาตร และพอช่วนงสายก

เพื่อเป็ นนางในวรรณคดี ท่ าให้ กมากเลย ้นบ้านทาให้นึกถึงตอนสมยั มีการแขงขันกีสฬนุาพื มีการแข่งขันกีฬาพื้นบ้านทาให้ ถึงตอนสม รบัญยั ชีช่างมีความสุ ขมาก เป็ นเด็ก วันเกินดึกคณะกา เป็ นเด็ก วันเกิดคณะการบัญชีช่างมี ขมาก ก ๆๆๆๆๆๆๆๆ ชอบมา เลย จัดแบบนี้ทุกคปีวามสุ เลย จัดแบบนี้ทุกปี ชอบมาก ๆๆๆๆๆๆๆๆ



งานอบรมบัญชี PAA วันที่ 13-20 กันยายน 2555


วันที่ 4 – 5 ตุลาคม 2555 เป็ นการอบรม

งานชนะเลิศตอบปัญหาทางด้าน บัญชี วันที่ 21 กันยายน 2555

โปรแกรม AMOS บัญชี เป็ นการอบรมทมี่ ี ่ 4 – 5 ตุลาคม 2555 เป็ นการอบรม วันที ประโยชน์มากและทาให้ ได้ เรียนรู้ การทา โปรแกรม AMOS บัญชี เป็ นการอบรมทมี่ ี โปรแกรม ได้ ง่ายขึน้

วันที่ 4 – 5 ตุลาคม 2555 เป็นการอบรม โปรแกรม AMOS บัญชี เป็นการอบรมที่มี ประโยชน์มากและท�ำให้ได้เรียน รู้การท�ำ โปรแกรม ได้ง่ายขึ้น

ประโยชน์ มากและทาให้ ได้ เรียนรู้ การทา โปรแกรม ได้ ง่ายขึน้


งานอบรมบัญชี PAA วันที่ 13-20 กันยายน 2555


พวกเราชาวบัญชีดีใจมากทีไ่ ด้ ไปสั มมนาที่ คาเมรอน เก้นตึง้ มาเลเซีย (ปี นัง) ในวันที่ 2 – 4 พฤศจิกายน 2555 อาจารย์ และนักศึกษา ปริญญาโท ได้ เดินทางไปครั้งนีช้ ่ างมีความสุ ข กมากเลยเก้นตึ้ง มาเลเซีย (ปีนัง) กสนุ่ คาเมรอน จัดมอีมนาที อยากให้ มาก ๆๆๆๆๆ พวกเราชาวบั ญชีดีใจมากที ่ได้ไปสั ในวันที่ 2 – 4 พฤศจิกายน 2555 อาจารย์และนักศึกษา ปริญญาโท ได้เดินทางไปครั้งนี้ช่างมีความสุขมาก ๆๆๆๆๆ อยากให้จัดอีกสนุกมากเลย


บทบรรณาธิการ สวัสดีนักศึกษาทุกคนค่ะ ฉบับนี้เรามีหัวข้อเรื่องที่น่าสนใจ คือ “นักบัญชียุค AEC” นักศึกษาของคณะการบัญชี ยุคนีต้ อ้ งเตรียมพร้อมต่อ ASEAN มีทกั ษะหลายด้าน คือ ด้านภาษา ด้านวิชาการ และด้านเทคโนโลยี มนุษย์สัมพันธ์ที่ดีด้วย เพื่อที่อนาคตเราจะได้ไม่ตกงาน ปัจจุบัน ทางคณะการบัญชีเรามีการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้งในการพัฒนาวิชาชีพต่อตลาดแรงงาน โดยเรา สร้างนักบัญชีที่ดีพร้อม ทั้งด้านคุณธรรม ความมีวินัย ความเข็มแข็งในวิชาชีพ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โปรแกรม ส�ำเร็จรูปทางการบัญชี และความรู้ด้านภาษาอังกฤษ เมื่อนักศึกษาจบแล้วสามารถน�ำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติงาน จริงได้ เป็นที่ต้องการและยอมรับในสังคมการท�ำงาน จะเห็นว่าอาชีพนักบัญชีอย่างเรามีความส�ำคัญต่อสาธารณชน อย่างมาก จึงเป็นอาชีพที่มีรายได้ดีและเป็นอาชีพที่มีเกียรติและยอมรับต่อสังคม ในเนื้ อ หาของ AC NEWS ฉบั บ ที่ 2 ปี 55 จะน� ำ เสนอหั ว ข้ อ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ นั ก บั ญ ชี ใ นยุ ค AEC การเตรียมตัวเข้าสู่ AEC มาตรฐานการบัญชี การตั้งส�ำนักงานใน ASEAN ภาพกิจกรรมของคณะการบัญชี และสาระ น่ารู้อื่นๆมากมายค่ะ แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้าค่ะ

อาจารย์สุพิชา ศรีสุคนธ์ บรรณาธิการ


กองบรรณาธิการ อาจารย์สุพิชา อาจารย์ธีระเดช อาจารย์พรรณิภา อาจารย์เพ็ญธิดา

ศรีสุคนธ์ อังธีระปัญญา แจ้งสุวรรณ พงษ์ธานี

บรรณาธิการ ประชาสัมพันธ์ กองบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ

คณะที่ปรึกษา ดร.พัทธ์นันท์ อาจารย์วิศิษฎ์ศรี ดร.ศิริเดช อาจารย์นงนิภา อาจารย์ธีระเดช ดร.เอกพล

เพชรเชิดชู จินตนา ค�ำสุพรหม ตุลยานนท์ อังธีระปัญญา คงมา

คณบดีคณะการบัญชี ที่ปรึกษาคณะการบัญชี รองคณบดีฝ่ายวิชาการ รองคณบดีฝ่ายบริหาร รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา ผู้อ�ำนวยการสถาบันพัฒนานักวิชาชีพบัญชี


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.