เมื่อปลาจะกินดาว 10

Page 1

เมื่อปลาจะกินดาว 10 ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม


‡¡◊ËÕª≈“®–°‘𥓫 10 √“¬ß“π ∂“π°“√≥å ‘Ëß·«¥≈âÕ¡ 10 ‡√◊ËÕß „π√Õ∫ªï 2553 æ‘¡æå§√—Èß·√° : 惻®‘°“¬π 2553 ISBN : 978-974-496-054-2 ∫√√≥“∏‘°“√∑’˪√÷°…“ «—π™—¬ μ—πμ‘«‘∑¬“æ‘∑—°…å « —πμå ‡μ™–«ß»å∏√√¡ √ÿ®πå ‚°¡≈∫ÿμ√ ™«√ߧå ≈‘¡ªáªí∑¡ª“≥’ ‡Õ¡æß»å ∫ÿ≠≠“πÿæß»å ®‘μμ‘¡“ ∫â“π √â“ß ∫√√≥“∏‘°“√ 摇™…∞å ™Ÿ√—°…å ºŸ‡â ¢’¬π ®—π∑√宑√“ æß…å√“¬ ‡°◊ÈÕ‡¡∏“ ƒ°…åæ√æ‘æ—≤πå π.√‘π’ ‡√◊ÕßÀπŸ Õ—≠™≈’ §ß°√ÿμ ™ÿμ‘¡“ πÿàπ¡—π Õ¿‘≠≠“ «‘¿“μ–‚¬∏‘π ‡°√’¬ß‰°√ ¿Ÿà√–¬â“ ∏‡π»πå πÿàπ¡—π «—π‡ “√å · ß¡≥’ Õ¿‘«—® ÿª√’™“«ÿ≤‘æß»å ®—¥∑”‚¥¬ ™¡√¡π—°¢à“« ‘Ëß·«¥≈âÕ¡ ¡“§¡π—°¢à“«π—°Àπ—ß ◊Õæ‘¡æå·Ààߪ√–‡∑»‰∑¬ 538/1 ∂ππ “¡‡ π ‡¢μ¥ÿ ‘μ °√ÿ߇∑æœ 10300 ‚∑√»—æ∑å 0-2243-8739 ‚∑√ “√ 0-2668-7740 Õ’‡¡≈å Thaisej@yahoo.com æ‘¡æå∑’Ë ‚√ßæ‘¡æå¡μ‘™πª“°‡°√Á¥ 27/1 À¡Ÿà 5 ∂ππ ÿ¢“ª√–™“ √√§å 2 μ”∫≈∫“ß查 Õ”‡¿Õª“°‡°√Á¥ ππ∑∫ÿ√’ 11120 ‚∑√»—æ∑å 0-2584-2133, 0-2582-0596 ‚∑√ “√ 0-2582-0597


คณะดําเนินงานการจัดทําหนังสือ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่ปรึกษา อรพินท วงศชุมพิศ รัชนี เอมะรุจิ สากล ฐินะกุล

อธิบดีกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม รองอธิบดีกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ผูอํานวยการกองสงเสริมและเผยแพร

อํานวยการ สาวิตรี ศรีสุข บรรพต อมราภิบาล ภาวินี ณ สายบุรี บุญญา ชคัตตรัย จริยา ชื่นใจชน ผกาภรณ ยอดปลอบ อานันตพร จินดา

นักวิชาการเผยแพรชํานาญการพิเศษ นักวิชาการเผยแพรชํานาญการพิเศษ นักวิชาการเผยแพรชํานาญการ นักวิชาการโสตทัศนศึกษาชํานาญการ นักวิชาการเผยแพรชํานาญการ นักวิชาการเผยแพรชํานาญการ นักวิชาการเผยแพรปฏิบัติการ

ประสานงาน เฉลิมพล วัฒนพุทธิวรรณ ฉัตรชัย อมรพรชัยกุล ฏีคชเมษฐ เรือนสังข ณิชาภา เฉยพันธ ภัทราวรรณ เชิดศักดิ์ศรี ปยนาฏ เอกชีวะ จิตติมา กียะสูตร ณิชภัทร ทองเลิศ คณารัตน เล็งเบา อาณัติ แกวเพ็ชร

นักวิชาการเผยแพร นักวิชาการเผยแพร นักวิชาการเผยแพร นักวิชาการสิ่งแวดลอม นักวิชาการเผยแพร นักวิชาการเผยแพร นักวิชาการเผยแพร เจาพนักงานธุรการ เจาพนักงานธุรการ เจาหนาที่ธุรการ


คํานํา กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ป 2553 เปนปทป่ี ระเทศไทยตองเผชิญกับวิกฤตการณนาํ้ ในหลาย รูปแบบ ทั้งขาดแคลนน้ําในชวงฤดูแลง และอุทกภัยครั้งใหญที่สง ผลตอชีวิตความเปนอยูของประชาชนกวาครึ่งประเทศ วิกฤตการณ น้ําที่เกิดขึ้นนี้ ทางหนึ่งสะทอนความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ อันเกิดจากภาวะโลกรอน อีกทางหนึ่งสะทอนถึงการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม หลายคน เริ่มตระหนักถึงความสําคัญของการมีสวนรวมของ ประชาชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทั้ง กระบวนการ ตั้งแตรวมคิด รวมวางแผน รวมลงมือทํา รวมตัดสินใจ และรวมรับผล เพราะอยางนอยที่สุดก็อาจกลาวไดวาสามารถกําหนด ชะตากรรมของตนไดในระดับหนึ่ง แนนอนวา...ความรับผิดชอบตอ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไมใชภาระหนาที่ของหนวยงาน ใดหรือกลุมคนใดแตเพียงอยางเดียว แตเปนความรับผิดชอบรวมกัน ของทุกคนในสังคม ประเด็นดังกลาวขางตน ไดถูกหยิบยกมาไวใน “เมื่อปลา จะกินดาว 10” ที่อยูในมือทานขณะนี้ รวมถึงการนําเสนอวิธี การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมโดยผานกระบวนการหรือเครื่องมือทางสังคม ในรูปแบบตางๆ รอยเรียงเปนเรื่องราว รวม 10 เรื่องที่นาสนใจ อาทิ ฉลากเขียว...สูสังคมคารบอนต่ํา สิ่งแวดลอมศึกษา... ทิศทางการพัฒนาอยางยั่งยืน การมีสวนรวมของชุมชน มิติ ใหมการกําหนดนโยบายฝาวิกฤตน้ํา หรือ ทางเลือกเทคโนโลยี พลังงานสําหรับสังคมไทย กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ขอขอบคุณชมรมนักขาว


สิง่ แวดลอม สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย ทีไ่ ด สรางสรรคผลงานที่ดี มีคุณภาพใหกับผูอานทุกทาน และหวังวาเมื่อ ปลาจะกินดาว 10 เลมนี้ จะทําใหทานผูอานไดปรับเปลี่ยนทัศนคติ ในการดํารงชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมากยิ่งขึ้น และหวังวาใน กิจกรรมการพัฒนาตางๆ จะปรับเปลี่ยนไปในทางที่สงผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมนอยที่สุด เพื่อใหการพัฒนาเหลานั้นเปนไปอยางยั่งยืน เรา อยากเห็นสังคมไทยเปนสังคมของ คนไทยหัวใจสีเขียว กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


คํานํา ประธานชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม ปนี้ครบรอบ 10 ปที่ทางชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพ แหงประเทศไทย ไดจดั ทําหนังสือ เมือ่ ปลาจะกินดาว โดยมีเจตนารมณ ใหหนังสือเลมนี้ เปนเสมือนกระจกสะทอนภาพรวมดานสิง่ แวดลอมใน รอบป และพยากรณถงึ ทิศทางในอนาคต นอกจากนีย้ งั เปนเวทีสาํ หรับ พั ฒ นาทั ก ษะของนั ก ข า วสายสิ่ง แวดล อ มในการทํ า ข า วเชิ ง สื บ สวน คนควาขอมูลทางวิชาการ และนําเสนอดวยรูปแบบสารคดีทอ่ี า นงาย ในแตละป ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมจะใหความสําคัญกับการคัด เลือกบรรณาธิการและนักเขียน ทั้งนี้ เพื่อเปดโอกาสใหนักขาวสาย สิ่งแวดลอมไดมีโอกาสแสดงความสามารถฝกปรือทักษะเชิงขาว และ พัฒนาใหเกิดความหลากหลายดานความคิด ในสวนของกระบวนการทํางาน ชมรมนักขาวสิง่ แวดลอมยังสงเสริม ใหงานเขียนในแตละเรือ่ งมีความเขมขนดานขอมูล เชน การกําหนดใหนกั เขียนลงพืน้ ทีจ่ ริง การจัดสัมมนา เพือ่ ระดมความคิดเห็นจากผูเ กีย่ วของ ในประเด็นนัน้ ๆ รวมทัง้ ไดรบั ความรวมมือจากผูเ ชีย่ วชาญเฉพาะดานใน การใหคาํ ปรึกษา และขอเสนอแนะดานขอมูล ตลอดจนวิธกี ารนําเสนอ จึงทําใหหนังสือ เมือ่ ปลาจะกินดาว ทุกเลมทีผ่ า นมา ไดรบั ความสนใจ จากผูอานเปนจํานวนมาก ในฐานะที่เปนงานเขียนสารคดีเชิงขาวที่มี เนือ้ หาสาระ อานสนุก สามารถสะทอนภาพสิง่ แวดลอมทีเ่ กิดขึน้ ไดอยาง ชัดเจน เขมขนมีหลากรส หลายแงมมุ สําหรับ เมื่อปลาจะกินดาว เลมนี้ ไดรวบรวมสารคดีขาวดานสิ่ง แวดลอมสิบเรื่อง แสดงใหเห็นถึงการจัดการดานสิ่งแวดลอม อาทิ ผาทางตันขอพิพาทที่ดินทํากินในเขตปา สิ่งแวดลอมศึกษา…ทิศทาง การพัฒนาอยางยั่งยืน ปนฝนทางจักรยาน : บทเรียนจากยุโรป ผา เปลือกเถือเนื้อแทซีเอสอาร เปนตน


ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมหวังเปนอยางยิ่งวา เนื้อหาสาระที่ ปรากฏในหนังสือเลมนี้ จะทําหนาที่ทั้งกระตุนเตือน ทําใหผูอาน ตระหนักถึงสถานการณดานสิ่งแวดลอมในบานเราวายังมีสิ่งที่ตอง แกไขเรงดวน และตองอาศัยความรวมมือจากสังคม ตลอดจนมี สวนในการปรับเปลี่ยนวิธีคิดและพฤติกรรมในระดับตัวบุคคล และ การกําหนดนโยบายในระดับองคกรทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อเอื้อ ตอการดํารงไวซึ่งสิ่งแวดลอมที่ดี สุดทายนี้ ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมขอขอบคุณวิทยากร ผูเขา รวมเสวนานักเขียนทุกทาน รวมไปถึงบุคคลและองคกรที่เอื้อเฟอ ภาพประกอบ และที่ขาดไมไดคือ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ในฐานะผูสนับสนุนการจัดพิมพหนังสือ เมื่อปลาจะกินดาว มาอยาง ตอเนื่อง วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ ประธานชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย


ความเปนมาของชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม ในชวงป 2536 เปนตนมา สื่อตางๆ ใหความสนใจในขาวสิ่ง แวดลอมมากขึ้น โดยสื่อแตละแหงมีทีมขาวสิ่งแวดลอมขึ้นมาเฉพาะ และมีพน้ื ทีค่ อ นขางแนนอน และขาวสิง่ แวดลอมมีบทบาทคอนขางมาก ในยุคนัน้ จึงเกิดแนวคิดวา การทําขาวสิง่ แวดลอมควรมีการรวมมือ กันระหวางสื่อมวลชนดวยกันเอง เพื่อใหขาวไดรับการนําเสนออยาง หลากหลาย และสามารถผลักดันใหเกิดผลกระทบตอสังคมจริง เพือ่ ใหเกิดความตระหนักและการปองกันแกไขปญหาสิง่ แวดลอม รวมทัง้ ยังเปนการเสริมศักยภาพของนักขาวสิ่งแวดลอมใหสามารถทําขาวสิ่ง แวดลอมไดลกึ ซึง้ และรอบดานมากขึน้ ป 2537 สมาคมนักขาวแหงประเทศไทย (ปจจุบันเปนสมาคมนัก ขาวนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย) จึงไดเปนตัวกลางประสานงาน กับผูสื่อขาวสายสิ่งแวดลอมในสื่อตางๆ เพื่อหาแนวทางจัดตั้งเครือ ขายผูสื่อขาวสายสิ่งแวดลอม โดยมีองคกร PACT [PRIVATE AGENCY COLLABORATION IN THAILAND] จากตางประเทศสนับสนุนงบ ประมาณ วันที่ 4 – 6 พฤศจิกายน 2537 สมาคมนักขาวแหงประเทศไทย จัดการสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารสําหรับนักขาวสิง่ แวดลอม ที่ จ.กาญจนบุรี โดยมีวัตถุประสงคหลักสองประการ คือ เพื่อเพิ่มพูนทักษะการทํา ขาวสิ่งแวดลอมแกผูสื่อขาวสายสิ่งแวดลอมและผูสื่อขาวสายอื่นๆ ที่เกีย่ วของ เพือ่ แลกเปลีย่ นความคิดเห็นในการมีเครือขายนักขาวสาย สิง่ แวดลอม การประชุมระดมความคิดเห็นในเรือ่ งการกอตัง้ องคกรของนักขาว สิง่ แวดลอมในครัง้ นัน้ สามารถสรุปถึงความจําเปนในการรวมตัวเปน เครือขายนักขาวสิง่ แวดลอมวาจะมีประโยชนดงั ตอไปนี้ 1. เพื่ อ ช ว ยเหลื อ แลกเปลี่ ย นข อ มู ล ข า วสารซึ่ ง กั น และกั น เนื่องจากทุกคนยอมรับวาการทําขาวสิ่งแวดลอม มีความซับ


ซอนกวาขาวประเภทอื่นๆ โดยเฉพาะการมีขอมูลทางวิชาการ เขามาเกี่ยวของ และความรูความเขาใจในขาวสายอื่นๆ โดย เฉพาะการเมืองและเศรษฐกิจเขามาเกี่ยวของ 2. เพื่ อ ให ข า วสิ่ ง แวดล อ มได รั บ ความสนใจจากบรรณาธิ ก ารผู ตัดสินใจเลือกขาวมากขึ้น ทั้งนี้เพราะหากชวยกันเสนอขาวที่ เกี่ยวกับปญหาสิ่งแวดลอมมากๆ ในสื่อที่หลากหลาย ขาวสิ่ง แวดลอมจะไดรับความสนใจมากขึ้น 3. การรวมตัวกันเปนกลุม นาจะทําใหเพิม่ ศักยภาพในการเขาถึงขอมูล และแหลงขาวไดดีขึ้น 4. เพื่อเปนเวทีกลางใหผูสื่อขาวสายสิ่งแวดลอม ไดมาแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นในประเด็นปญหาทางสิ่งแวดลอมมากขึ้น ซึ่งอาจ จะนําไปสูการคิดประเด็นขาวใหมๆ 5. เพื่อใหเปนเวทีกลางในการติดตอกับแหลงขาว โดยเฉพาะใน ดานการใหขอมูลความรู เพื่อเสริมความเขาใจในขาวที่กําลังอยู ในความสนใจ หลังจากนั้น จึงเริ่มมีกิจกรรมตางๆ ทั้งการประชุม เสวนา สัมมนา โดยมีแกนนําจัดตั้งชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมเปนผูดําเนินการ เชน จัด เสวนาเรื่องนโยบายสิ่งแวดลอมในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบับที่ 8 การอภิปรายเกี่ยวกับโครงการแกงเสือเตน ฯลฯ วันที่ 8 มีนาคม 2538 ไดมีการประชุมประเมินผลการทํางานของ ชมรมฯ ในรอบหนึ่งป รวมทั้งกําหนดทิศทางในการดําเนินกิจกรรมใน ปตอไป ที่ประชุมตกลงตั้งคณะกรรมการประสานงานกิจกรรมชั่วคราว ทําหนาที่กําหนดแผนการดําเนินงาน กิจกรรมและงบประมาณ เพื่อนํา เสนอตอที่ประชุมใหญของสมาชิกชมรมฯ ตอมาคณะกรรมการประสานงานกิจกรรมชั่วคราว จัดการประชุม ใหญสัมมนาการประจําปของชมรมฯ เมื่อวันที่ 27- 29 เมษายน 2539 ณ อุทยานแหงชาติเขาสามรอยยอด จ.ประจวบคีรีขันธ ในลักษณะประชุม เชิงปฏิบัติการ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อทบทวนการดําเนินงานที่ผานมา


ของชมรมฯ และกําหนดเปาหมายการทํางานของชมรมอีกครั้ง การ สัมมนาดังกลาวสรุปไดวา ใหชมรมดําเนินการตอไปตามวัตถุประสงค เดิม และใหมีคณะกรรมการประสานงานของชมรม คณะกรรมการชุดดังกลาวไดจดั กิจกรรมเสวนา เพือ่ เปนเวทีใหผูสื่อ ขาวสิ่งแวดลอมไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนกับแหลงขาวหลายครั้งดวยกัน เชน เรื่ององคการคาโลกกับสิ่งแวดลอม เรื่องการสํารวจและผลิตกาซ ธรรมชาติกบั ผลกระทบตอสิง่ แวดลอม เรือ่ งการสงเสริมอุตสาหกรรม กับฐานทรัพยากรไทยและการเปดเวทีใหผูแทนพรรคการเมืองมาแถลง นโยบายสิ่งแวดลอมกอนการลงเลือกตั้งเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2539 เปนตน อยางไรก็ตาม ในชวงเศรษฐกิจตกตําขาวสิ่งแวดลอมและนักขาว สิ่งแวดลอมตองประสบปญหาการลดพื้นที่และตนทุนในการทําขาว ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมก็ไดรับความกระทบกระเทือนในแงของการ เขามามีสวนรวมของสมาชิก แตก็ยังคงดําเนินงานเรื่อยมา ตอมาในป 2540 ที่ประชุมใหญชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม ไดเชิญ นายวสันต เตชะวงศธรรม บรรณาธิการขาวสิ่งแวดลอมและชุมชน เมือง หนังสือพิมพบางกอกโพสต เปนประธาน และมีกรรมการจากสื่อ ตางๆ อีก 6 คน มีนักวิชาการและนักขาวอาวุโสในระดับบรรณาธิการ เปนที่ปรึกษาอีก 6 คน ดําเนินกิจกรรมของชมรมตามวัตถุประสงคใน การพยามเผยแพรขอมูลขาวสารสิ่งแวดลอม เสริมศักยภาพนักขาวสิ่ง แวดลอม และสรางเครือขายใหกวางขวางมากขึ้น โดยไดรื้อฟนโครงการ จัดทําจุลสารพิราบเขียว ซึ่งเปนจุลสารเผยแพรขาวสารสิ่งแวดลอมขึ้น มาใหม ใหสามารถตีพิมพไดทุกเดือน และไดเริ่มดําเนินโครงการจัดทํา หนังสือ “เมื่อปลาจะกินดาว” ซึ่งเปนรายงานสถานการณสิ่งแวดลอม ประจําป โดยไดรับการสนับสนุนจากกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ตอเนื่องมาทุกป รวมทั้งยังคงดําเนินกิจกรรมเชิงรุกอยางตอเนื่อง คือ จัดเวทีสัมมนาเพื่อใหนักขาวสามารถเขาถึงแหลงขาวและขอมูล เมื่อ เกิดปญหาสิ่งแวดลอมสําคัญๆ ขึ้น


การประชุมใหญสามัญประจําป 2546 ที่อุทยานแหงชาติแม ฝาง จ.เชียงใหม คณะกรรมการไดเชิญนายวันชัย ตันติวิทยาพิทักษ บรรณาธิการบริหารหนังสือสารคดี ขึ้นเปนประธานแทนนายวสันต เต ชะวงศธรรม ที่หมดวาระลง พรอมเลือกคณะกรรมการและที่ปรึกษา ชุดใหม โดยเนนนโยบายที่การเสริมศักยภาพนักขาวสิ่งแวดลอมให สามารถรายงานขาวเชิงสืบสวนไดมากขึ้น และเนนการสรางเครือขาย นักขาวใหขยายวงกวางขึ้นไปยังนักขาวในภูมิภาคและนิสิตนักศึกษา ในสายสื่อสารมวลชน ปจจุบันชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมมีคณะกรรมการบริหารทั้งหมด 11 ทาน และมีคณะกรรมการที่ปรึกษาที่ปรึกษา 8 ทาน โดยจะมีการ จัดประชุมคณะกรรมการบริหารชมรมฯ เดือนละครั้งเพื่อใหการดําเนิน งานของชมรมฯเปนไปตามจุดมุงหมายที่ตั้งไว


สารบัญ 1 ผาทางตันขอพิพาทที่ดินทํากินในเขตปา

หนา 16

2 สิ่งแวดลอมศึกษา...ทิศทางการพัฒนาอยางยั่งยืน

หนา 48

3 ปนฝนทางจักรยาน : บทเรียนจากยุโรป 4 ผาเปลือกเถือเนื้อแทซีเอสอาร

หนา 72 หนา 98

5 เอ็นจีโอสิ่งแวดลอม..ผูปกปอง หรือทํารายโลก

หนา 122


6 ฉลากเขียว…..สูสังคมคารบอนต่ํา

หนา 148

7 นักขาวและพื้นที่ขาวสิ่งแวดลอม สวนทางแนวโนมวิกฤตสิ่งแวดลอม

หนา 174

8 2 นักอนุรักษตนแบบ บนเสนทางที่บรรจบกัน

หนา 198

9 ทางเลือกเทคโนโลยีพลังงาน สําหรับสังคมไทย

หนา 219

10

การมีสวนรวมของชุมชน มิติใหมการกําหนดนโยบายฝาวิกฤตน้ํา

หนา 237


บทบรรณาธิการ ความขัดแยงทางการเมืองครั้งประวัติศาสตรชวงเดือนเมษายนพฤษภาคม 2553 ไดสง ผลสะเทือนตอทุกภาคสวนของสังคมไทย รวมถึง กระบวนการผลิตหนังสือ “เมือ่ ปลาจะกิน 10” เลมนีด้ ว ย เพราะนักขาว ซึง่ เปนนักเขียนในจํานวน 10 เรือ่ งนี้ หลายคนตองลงพืน้ ทีท่ าํ ขาวการ ตอสูท างการเมืองในครัง้ นีด้ ว ย ดวยเพราะวิกฤตความขัดแยงอยางรุนแรงสงผลใหการสัญจร ไปมาบนถนนกลางใจเมืองตองเปนอัมพาต ในแทบทุกจุด มิพักตอง กลาวถึงการนัดประชุมเพื่อดําเนินกิจกรรมใดๆ ที่ตองชะงักไปโดย อัตโนมัติ การตอสูทางการเมืองในป 2553 การบาดเจ็บลมตายของผูคนที่ เขาไปมีสวนเกี่ยวของ รวมถึงผูคนที่ไมไดเขาไปยุงเกี่ยว ลวนตางได รับผลกระทบกันไปตามๆ กัน ไมมีใครรอดพนหรือหลีกเลี่ยงออกจาก ความขัดแยงในครั้งนี้ได หนังสือ “เมือ่ ปลาจะกินดาว 10” ก็เชนกันทีถ่ กู ฉุดเขาสูว งั วนนี้ อยางไมอาจปฏิเสธได การลงพืน้ ทีท่ าํ ขาวสิง่ แวดลอมตามประเด็นที่ กําหนดไวใน “เมือ่ ปลาจะกินดาว10” จึงมีอนั ตองเลือ่ นออกไป การ จัดประชุมเสวนาในกรุงเทพฯ ในแตละหัวขอ มีอนั ตองยกเลิกอยาง กะทันหัน หรือเลวรายกระทัง่ ไมมสี ถานทีอ่ นั ปลอดภัยเพียงพอสําหรับ การนัดประชุมทํากิจกรรมใดๆ ในเมืองหลวงของประเทศนีใ้ นชวงกลาง ป 2553 ปฏิเสธไมไดในฐานะบรรณาธิการที่ตองนอมรับความลาชาอัน เปนผลพวงจากบาดแผลของเหตุการณเมษายน-พฤษภาคม 2553 อยางไรก็ดี เมื่อสถานการณเริ่มคลี่คลายขึ้น การเริ่มตนการผลิต หนังสือ “เมื่อปลาจะกินดาว10” ก็เดินหนาตอมาไดเปนลําดับ


ความตั้ ง ใจและมุ ม านะมุ ง มั่ น ต อ หน า ที่ ท า มกลางวิ ก ฤตอั น รุนแรง ถือเปนความรับผิดชอบอันสูงสงของผูมีสวนในการผลักดันให หนังสือเลมนี้ออกทันตามกําหนดเนื้อหาใน 10 ประเด็นรอน ยังคงมุง กระเทาะความพิกลพิการที่ซุกซอนอยูในระบบ ไมวาจะเปนเรื่อง “ผา ทางตันขอพิพาทที่ดินทํากินในเขตปา” “ผาเปลือกเถือเนื้อแทซีเอส อาร” “เอ็นจีโอ...ผูปกปอง หรือทํารายโลก” “นักขาวและพื้นที่ขาวสิ่ง แวดลอมสวนทางแนวโนมวิกฤตสิ่งแวดลอม” ขอขอบคุณคณะกรรมการชมรมนักขาวสิ่งแวดลอมที่ยังคงยืน หยัดตออุดมการณในการทําหนาที่รักษาโลกใบนี้ไว พิเชษฐ ชูรักษ ตุลาคม 2553


ผาทางตันขอพิพาทที่ดินทํากินในเขตปา จันทรจิรา พงษราย หนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ

เมื่อปลาจะกินดาว 10 16 16


“พืน้ ทีน่ อ้ี ยูใ นความดูแลของกรมปาไม หากผูใ ดกระทําการใดในพืน้ ที่ นี้ถือวาเปนการกระทําผิดวาดวยกฎหมายการปาไม” ขอความซ้ําๆ บนปายไมสีเขียวและสีแดง นับ 10 ถูกนํามาติดไวบริเวณ ดานหนาประตูบาน และตนไมขนาดใหญที่ปลูกตลอดแนวรั้ว เปนระยะทาง เกือบ 100 เมตร ทั้งที่เมื่อ 7 ปกอนหนานี้ ชาวบานบนเขายายเที่ยง อ.สีคิ้ว จ.นครราชสีมา ตางรับรูกันดีวาหลังประตูรั้วสีเทาบานใหญนั้น เคยเปนบาน พักของ พล.อ.สุรยุทธ จุลานนท อดีตนายกรัฐมนตรี และองคมนตรี ปฏิบัติการยึดคืนพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ ปาเขาเตียน-ปาเขาเขื่อนลั่น จ.นครราชสีมา เนือ้ ทีร่ าว 21 ไร คืนมาไดสาํ เร็จเพียงชัว่ เวลาสัน้ ๆ ทัง้ ทีผ่ คู รอบ ครองรายนีใ้ นอดีต คือนายกรัฐมนตรี คนที่ 24 ของประเทศไทย จึงนับเปน “คดีประวัติศาสตร” ครั้งแรกของกรมปาไม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม (ทส.) ที่สําคัญอาจถือเปนปรากฎการณใหม ที่กําลังสงผล สะเทือนตอการตรวจสอบการถือครองที่ดินของชาวบานในผืนปาแหงอื่นตาม มาอีก หลังทางจากกรมปาไม ประกาศวาจะนําเขายายเที่ยง มาเปนโมเดล ตนแบบ แกขอพิพาทการถือครองที่ดินในเขตปา !!! เมื่อปลาจะกินดาว 10 17


สํารวจที่ดินผืนสุดทาย 320.7 ลานไร คือตัวเลขลาสุดของแผนดินขวานทอง 33% หรือพื้นที่ราว 143 ลานไรเปนปาอนุรักษทุกประเภท 55% คือพื้นที่เกษตรกรรม หากลองนําตัวเลขของคนที่อยูในปามาหักลางกันเลนๆ จะพบขอมูลที่นา ตกใจ ไมนอย เฉพาะกรณีพิพาทเรื่องปญหาที่ดินปาไม ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 30 มิถุนายน 2541 ในเขตอุท ยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืช และเขต รักษาพันธุสัตวปา มีตัวเลขคนอาศัยอยูในปา รวม 185,916 ราย คิดเปนพื้นที่ ทั้งสิ้น 2.2 ลานไร ขณะที่ปาสงวนแหงชาติทั่วประเทศ มีจํานวนผูคนอาศัย อยูสูงถึง 450,000 ราย คิด เปนพื้นที่รวม 6.4 ลานไร ในจํานวนนี้ยังไมรวมกับ ที่ราชพัสดุ อีก 161,923 ราย พืน้ ที่ 2,120,196 ไร และทีส่ าธารณะอีก 1,154,867 ไร ขอมูลชิ้นนี้ยังไมสามารถบอกถึงจุดสิ้นสุดของปญหากรณีพิพาทที่ดินใน ประเทศไทยไดชัดเจนเทากับความจริง

คนรุกปาหรือปารุกคน “คนรุกปาหรือปารุกคน” ถือเปนประโยคคลาสสิค ทีม่ กั จะไดยนิ กันเสมอ มา พอกับคําวา “ไก” กับ “ไข” อะไรเกิดกอน สําหรับชาวปาเกอญอ ราว 361 ชีวิตที่อาศัยอยูในปาสงวนแหงชาติปา แมแจม อ.กัลยานิวัฒนา จ.เชียงใหม มาเกือบ 100 ป ถึงวันนี้คงพูดไดเต็ม ปากวา พวกเขาอยูมากอนการประกาศปาแมแจม ในป 2517 อยางแนนอน หลักฐานจากภาพถายทางอากาศ ยืนยันแลววาพวกเขาเขาทําประโยชน ในทีด่ นิ กอนทีก่ รมปาไมจะเขาสํารวจ แมจะยังอยูใ นขัน้ ตอนการพิสจู นสทิ ธิ์ ส.ค. 1 ที่คาดวาจะเริ่มตนในเดือนตุลาคม ป 2553 นี้ก็ตาม แตหากผลการตรวจ สอบเสร็จสิ้น ชาวปาเกอญอกลุมนี้อาจจะเปนชาวเขากลุมแรกๆ ที่จะไดสิทธิ์ ครอบครองโฉนดที่ดิน ตามประมวลกฎหมายที่ดินของกรมที่ดินก็เปนไปได ตางกับ กําจาย ชัยทอง ชาวบาน จ.พัทลุง 1 ใน 56 ราย ที่กลายเปน ผูต อ งหาคดีอาญาแบบไมทนั ตัง้ ตัว ดวยขอหาบุกรุกพืน้ ทีป่ า อุทยานแหงชาติ เขาปูเ ขายา จ.พัทลุง แถมพวงดวยคดีแพงในขอหาทําใหเกิดโลกรอน ซึง่ ศาล เมื่อปลาจะกินดาว 10 18


เขาปูเขายา

ตัดสินใหกําจาย ตองจายเงินใหกรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืช ถึง 1.3 ลานบาท หลังจากผืนดินในเขตเขาปู-เขายา บนเทือกเขาบรรทัดที่เธอบอก วาทํากินตกทอดกันมาตั้งแตรุนปูยา นานกวา 100 ป ถูกทางการประกาศเปน อุทยานแหงชาติ “ฉันไมมีกําลังใจจะอยูตอแลว ตอนนั้นฉันมีเงินในบัญชีแค 175 บาท ก็ถูกอายัดทันที” “ฉันกําลังจะเสียที่ดินสุดทายของพอไป เพราะไมสามารถเขาไปกรีดยาง ฉันปลูกไวได” น้ําเสียงทอแทกลางวงสนทนา “คนจนกับความไมเปนธรรมในกระบวน การยุติธรรมไทย” ที่คาดวาจะมีผูตองหาและผูตองโทษในคดีปาไมที่ดิน ทรัพยากร น้ํา รวมถึงคดีผลกระทบจากโครงการพัฒนามากกวา 200 คนใน เวทีนี้ เดียม อยูทอง ชาวสวนยางพารา บานไรเหนือ อ.หวยยอด จ.ตรัง ก็เปนอีกคนที่ตกที่นั่งลําบาก คดีของเธอและครอบครัว สิ้นสุดลงดวย เมื่อปลาจะกินดาว 10 19


คําพิพากษาแรก คือ คดีอาญาเมื่อป 2549 ในขอหาบุกรุกแผวถางปาใน อุทยานแหงชาติเขาปู-เขายา เชนกัน โดยศาลตัดสินจําคุกนางเดียม 2 ป ปรับ 30,000 บาท แตเนื่องจากคํารับสารภาพที่เปนประโยชนทําใหโทษจําคุกเหลือ ใหรอลงอาญาแทน สิง่ ตามมาจากคําตัดสินทําใหครอบครัวอยูท อง ไมสามารถเขาทําประโยชน ในสวนยางพาราและสวนผลไม 4 ไร ที่เคยทํากินมาตั้งแต ป 2523 พรอม กับถูกฟองรองขอหาโลกรอนในป 2551 จากความผิดเดิมเปนวงเงินสูงถึง 545,366.26 บาท โดยมีคําพิพากษาเมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2552 ใหนางเดียม ชําระเงินตอกรมอุทยานฯ พรอมดอกเบี้ยรอยละ 7.5 ปนับจากวันฟอง ขณะนี้ อยูระหวางบังคับคดี การถูกยัดเยียดใหเปนผูบุกรุกปาเทือกเขาบรรทัดของนางกําจายและ นางเดียม ทั้งที่พวกเขาเขาทํากินและเขาทําประโยชนมากอนในสวนยางพารา ของตัวเอง รวมทั้งพื้นที่อื่นๆ ทั่วหมูบานจะถูกประกาศเปนอุทยานเขาปู-เขา ยา ดังนั้นจึงเปนเรื่องที่ไมเปนธรรมสําหรับเกษตรกรรายยอยทั่วประเทศที่ตอง เผชิญชะตาเดียวกันในฐานะผูบุกรุกทําลายปาและสรางความเสียหายตอ ทรัพยากร สองกรณีนเ้ี ปนเพียงภาพสะทอนทีเ่ กิดขึน้ จากขอมูลทางสถิตขิ องปญหา ที่ ดิน ปาไม ที่เอกชน ที่สาธารณะ ที่รวบรวมโดยเครือขายปฏิรูปที่ดินแหง ประเทศไทย (คปท.) พบวาปจจุบันมีคดีรองเรียนกวา 131 คดี ในทางกลั บ กั น มุ ม มองของภาครั ฐ ที่ มี ห น า ที่ ป กป อ งดู แ ลป า อนุ รั ก ษ สุวิทย รัตนมณี รองอธิบดีกรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืช ถึง กับโตแยงวา มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 30 มิถุนายน 2541 กลายเปนชองวางให คนมาแจงครอบครองที่ดินในเขตปาไวเพียบ “ที่อําเภอแมสรวย จังหวัดเชียงราย เห็นไดชัดเจนมาก เพราะมีชาวบาน แจงครอบครองที่ดินรวมกันแลวมากกวาพื้นที่อําเภอแมสรวย เปนการแจง ปากเปลา มติออกมาชาวบานเขาบอกมีที่ 100 ไร ก็แจงไป บางที่ก็ใชวิธีทํา กินใหหมดสภาพ เพราะหวังวาจะไดที่ดิน ที่สุดปาก็หมดไปเรื่อยๆ” “เรื่องนี้ยืนยันวา การแจงไมใชการรับรอง เปนการแจงวาใครอยูตรงไหน เมื่อปลาจะกินดาว 10 20


เพราะถาสํารวจการถือครองแลว ถือวาปดบัญชี ถาหลังจากวันนั้นถือวา บุกรุกใหม ใครทํากินใหมก็บุกรุกใหม จับกุมได นี่คือเงื่อนไขกติกาของมติ ครม. ดังกลาว” “อีกเรื่องเปนกรณี ส.ค.1 ใบเดียวติดน้ําติดปาติดเขา และบินมาแลว หลายที่ เชนแถวพัทลุง บอลอ พรุควนเคร็ง ปาเสม็ด ตอนนี้กลายเปนปาลม หมดกวาจะเพิกถอนได ซึ่งก็เปนจุดออนของเรา และยังมีสค.บวมอีกจาก สค. 50 ไร แตไปออกโฉนด นส.3 รอยไร เปนตน” สุวิทย สะทอนปญหา ขณะที่การตรวจสอบการครอบครองที่ดินตามมติครม.วันที่ 30 มิถุนายน 2541 ที่ผานมากวา 10 ป แลว สุวิทย บอกวา กรมอุทยานฯ สามารถตรวจ สอบ และรับรองการถือครองไดแค 130,000 ราย จากทั้งหมด 180,000 ราย รวมพื้นที่ 2 ลานไร สวนหนึ่งมาจากงบประมาณแตละปมีจํากัด และบางสวน ก็ไมยอมรับกระบวนการพิสูจนสิทธิ์ เถียงกันเรื่องกฎเกณฑไมจบ “กระบวนการจบที่อยูที่วาไดสํารวจการถือครอง พิสูจนสิทธิ์บางสวนแลว และรอวายังไมครบสักที พอไมครบก็ยังสรุปไมไดวาจะดําเนินงานอยางไรตอ อยางไรก็ตามทั้งหมดก็ถือวากาวหนาพอสมควร เพราะเหลือราว 30,000 กวา ราย รวมพื้นที่ไมถึงลานไร” สุวิทย ระบุ ขณะที่การตรวจสอบตามมติ ครม.เดียวกันของกรมปาไม ชลธิศ สุรัสวดี รองอธิบดีกรมปาไม ย้ําวามติ ครม. วันที่ 30 มิถุนายน 2541 ที่รัฐบาล ออกมาเพื่อสํารวจการถือครองที่ดิน มิใชชะลอการจับกุม โดยมติดังกลาวให สํารวจการถือครอง แตเนื่องจากมีปญหางบประมาณ จนถึงป 2553 สํารวจ การถือครองไดแค 350,000 ราย เหลืออีกราว 100,000 ราย และเหลือพื้นที่อีก 1 ลานกวาไร ขอพิจารณาประเด็นหนึ่งในมติเงื่อนไขหากราษฎรอยูในพื้นที่ลุมน้ํา 3, 4, 5 ใหทําตามมาตรา 16 ทวิ และหมายถึงการอนุญาตใหประชาชนเขาทํา ประโยชนไดแตตองมีการประกาศเขตปรับปรุงปาสงวนแหงชาติใหเปนปา เสื่อมโทรมกอน กระนั้นก็ตาม ในจํานวนนี้พบวาสวนใหญ 1 ใน 3 ชาวบานอาศัยในลุม น้ํา ชั้น 1 และ 2 และอีกสองสวนอาศัยในลุมน้ํา 4 และ 5 เมื่อปลาจะกินดาว 10 21


คดีคนจนที่ดินปาไมพุง-พวงคดีโลกรอน ปราโมทย ผลภิญโญ ตัวแทนกลุมปญหาที่ดินชัยภูมิ สะทอนขอเท็จ จริงวา ทางเครือขายปฏิรูปที่ดินแหงประเทศไทย (คปท.) ไดรวบรวมคดีที่ดิน ทั่วประเทศทั้งสิ้น 131 คดี มีชาวบานที่ถูกดําเนินคดีประมาณ 500 รายทั่ว ประเทศ ทั้งทางอาญาและแพง ลาสุดพบวาขอหาบุกรุกพื้นที่ปาของรัฐ ครอบคลุมปาสงวนแหงชาติ อุทยาน แหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา ทั้งหมด 131 คดี จํานวน 500 ราย จากทั่วประเทศ จําแนกเปนสมาชิกที่ถูกดํา เนินคดีแพง ตามมาตรา 97 ของ กฎหมายสิง่ แวดลอม 2535 หรือขอหาทําใหโลกรอน รวม 30 ราย มูลคาความ เสียหายรวม 17 ลานบาท ขณะนี้อยูระหวางการบังคับคดี 1 ราย ศาลชั้นตน พิพากษาใหชําระคาเสีย หาย 1 ราย และกําลังจะขึ้นศาล เพื่อสืบพยานโจทก และจําเลย รวม 16 ราย “ปริมาณที่มากขึ้นสะทอนใหเห็นวา ปญหาที่ดินที่รัฐและเอกชนมักจะใช กระบวนการยุติธรรมมารังแกชาวบาน และยังมีแนวโนมวาหลังจากชาวบาน ถูกฟองทางอาญา เชน บุกรุกปาไม ขัดขวางการปฏิบัติงานของเจาหนาที่แลว ขณะนี้ชาวบานกําลังโดนฟองรองทางแพงเพิ่ม หรือคดีทําใหโลกรอน โดยมี ชาวบานที่เทือกเขาบรรทัดถูกฟองในตอนนี้รวม 41 คดี ภาคอีสานอีก 17 คดี” เมื่อปลาจะกินดาว 10 22


ขอมูลที่สถิติของปญหาที่ดินปาไม ที่เอกชน ที่สาธารณะของเครือขาย ปฏิรูปที่ดินแหงประเทศไทย (คปท.) ภาพรวมคดีที่ดิน ปาไม ที่สาธารณะประโยชน สมาชิกเครือขายปฏิรูปที่ดินแหง ประเทศไทย ภูมิภาคตางๆ

จํานวนคดี/กรณี

จํานวนชาวบาน ที่ถูกคดีทั้งหมด

ภาคเหนือ

76

285

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสาน) ภาคใต (สุราษฎร, ตรัง, กระบี่) รวม

14 41 131

115 100 500

ภาคเหนือ ปญหาที่ดิน ปาไม ที่ดินเอกชน (สวนใหญเปนคดีอาญา)

ถูกดําเนินคดีตอ ศาลแลว ตัดสิน/พิพากษา

ที่ดินปาไม (รัฐ) คดี

ราย

ที่ดิน (เอกชน) /คดี

49

51

26

48

ราย/ ขอหาอื่น/ราย กรณี 218

1 คดี/ราย (ขับไล) 1

3 ราย

13 คดี (หมิ่น ประมาท)

26

กรณียังไมขึ้นสู ศาล

ที่มา : เอกสารประกอบเวทีสาธารณะคดีคนจนวาดวย “คนจนกับความไมเปน ธรรมในกระบวนการยุติธรรม” วันที่ 19 ก.ค.2553 ที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

“ผมตั้งขอสังเกตวา คดีที่ดินเริ่มเพิ่มมากตั้งแตตนป 2552 ซึ่งมาจาก นโยบายที่สงไปยังหนวยปฏิบัติ แตขอเท็จจริงปรากฎวา มาตรการกลับไมมี ผลในทางปฏิบัติ ดังนั้น ถารัฐบาลจะดําเนินโครงการโฉนดชุมชน ขอใหยุติคดี ความตางๆ ของชาวบานไวกอน เพราะจะรูสึกกังวลเรื่องผลการบังคับคดีที่จะ เกิดขึ้น” ปราโมทย ระบุ เมื่อปลาจะกินดาว 10 23


สิ่งที่เกิดขึ้นทําใหเกิดคําถามถึงกระบวนการปฏิบัติของรัฐ ซึ่งพลิกชอง กฎหมาย ตามมาตรา 97 ของพ.ร.บ.สิ่งแวดลอม 2535 ที่ระบุไววา “ผูใด กระทําหรือละเวนการกระทําใดโดยมิชอบดวยกฎหมาย อันเปนการทําลาย หรือทําใหสูญหายแกทรัพยากรธรรมชาติซึ่งเปนของรัฐ หรือสาธารณะสมบัติ ของแผนดิน มีหนาที่ตองรับ ผิดชอบชดใชคาเสียหายใหแกรัฐตามมูลคา ทั้งหมดของทรัพยากรธรรมชาติที่ถูกทําลาย สูญหายไปนั้น” มาเปนการเรียก คาเสียหายทางแพง หรือขอหาโลกรอน ซึ่งมีการคํานวณคาเสียหายของปา ตนน้ําลําธารตามหลักการแบบจําลองทางคณิตศาสตร เรื่องนี้กําลังเปนปญหาใหมทําให ธีรยุทธ บุญมี ผูอํานวยการสถาบัน ธรรมศักดิ์เพื่อประชาธิปไตย ตองยื่นมือเขาชวยเหลือชาวบาน เนื่องจาก เห็นวาเปนการใชกระบวนการยุติธรรมที่ไมเปนธรรมกับชาวบานรายเล็กที่อยู กับปา “ถือเปนวิธีคิดแบบตัดตอนงาย และไมเปนเหตุเปนผล เปนการคิดแบบ ตั้งใจโง ความผิดพลาดเกิดจากการพัฒนาตั้งแตตน คนที่เขาใจวิทยาศาสตร ไมนามองปญหาปลายทางเชนนี้ตองดูตนตอและภาพรวมจะดีกวา” ธีรยุทธ บอกไวในวงเสวนาที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เชนเดียวกับขอเสนอจากนักวิชาการดานเศรษฐศาสตร เดชรัตน สุขกําเนิด เห็นตรงกันวา หลักการทําแบบจําลองการคิดมูลคาความเสียหายของกรม อุทยานฯ ยังมีขอบกพรอง เนื่องจากมีการสรางแบบประเมินคาเสียหายเปน โปรแกรมสําเร็จรูปไวแลว เพียงแคกรอกขอมูลเขาไปทําใหขาดความสมบูรณ ทางเทคนิควิชาการ และขาดขอมูลความเปนจริงในเชิงพื้นที่ ทั้งที่สวนใหญ กลับพบวากรมอุทยานฯ และกรมปาไม เลือกปฏิบัติกับเกษตรกรรายยอย เทานั้น ไมไดคิดคาเสียหายคดีโลกรอนกับนายทุนที่ครอบครองที่ดินจํานวน มาก ทําใหมีขอสรุปที่ตรงกันวา จําเปนตองยกเลิกแบบจําลองดังกลาว

กฎหมายที่ดินกับสิทธิความชอบธรรม ปฏิรูปที่ดินยุครัฐบาลอภิสิทธิ์ “การถือครองที่ดินในประเทศไทยเปนรูปธรรมที่สะทอนปญหาความ เหลื่อมล้ําคอนขาง ชัด ซึ่งมีการสํารวจกวา 50 ปที่ผานมา ทั้งที่ของรัฐ เมื่อปลาจะกินดาว 10 24


ที่อนุรักษ ปาไมจะถดถอยลงไป แตที่ดินทําการเกษตรมากขึ้น และถาดูลึกลง ไปถึงการกระจายการถือครอง จะพบชัดเจนถึงความเหลื่อมล้ําเปนอยางมาก คนที่ไมมีการถือครองที่ดินเลยก็มีจํานวนมาก สวนที่มีสิทธในที่ดินก็ถือจํานวน ไมมาก แตคนกลุมนอยกลับถือครองที่ดินไดจํานวนคอนขางมากหลายแปลง เปนเรื่องความเหลื่อมล้ําและ ใชที่ดินไมสมประโยชนหรือขาดประสิทธิภาพ” คํากลาวแรกของ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ผานเวทีเสวนา ประชาชน “การจัดการที่ดินเพื่อการทํากิน : ปญหาและทางออก” เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2553 ที่ผานมา คํากลาวขางตนสะทอนชัดถึงชนวนเหตุสําคัญที่รัฐบาลประชาธิปตย เลือก “ปมที่ดิน” มาถอดสลักความขัดแยง และอาจถือเปนครั้งแรกในรอบ 12 ป ภายหลังวิกฤตที่ดินทํากินในเขตปาอนุรักษ ซึ่งติดอยูภายใตมติ ครม. วันที่ 30 มิถุนายน 2541 ถูกปดล็อกตาย ไมมีทางออก มาตั้งแตรัฐบาล พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ นายกรัฐมนตรีสมัยนั้น ทวากลับสวนทางกลับความเปนจริง การบุกรุกพื้นปาตนน้ําลําธาร เพื่อ บุกเบิก ที่ดินทํากินทั่วประเทศ ที่ถกู เสนอบนหนาหนังสือพิมพแทบไมเวน แตละวัน ตรงกันขามกับดีกรีความรอนแรงที่เปนผลพวงจากความเชี่ยวกราก ทางการเมือง “ที่ดินของนักการเมืองในรัฐบาล” กลายเปนปมที่เกิดการ ขุดคุยจากพรรคการเมืองฝายตรงขาม โดยเฉพาะกรณีที่ดินบนเขาแพง บน เกาะสมุย จ.สุราษฎรธานี และกรณีการออกเอกสารสิทธิ์บนที่ดินเกาะระ จ.พังงา ชี้ใหเห็นถึงกระบวนการอันไมชอบมาพากลและสลับซับซอน คําประกาศของนายอภิสิทธิ์ สอดคลองกับขอคนพบของ ผศ.ดร. อิทธิพล ศรีเสาวลักษณ นักวิชาการดานที่ดิน จากคณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อดีตที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา แกไขปญหาที่ดินทํากิน กฎหมายเกี่ยวกับที่ดิน และเรงรัดออกเอกสารสิทธิ์ แกประชาชน สภาผูแทนราษฎร ที่ใชเวลารวบรวมปญหาที่ดินนานถึง 6 เดือนเศษ (พฤษภาคม-พฤศจิกายน 2552) ทั้งจากขอรองเรียนจากชาวบาน รวบรวมขอกฎหมาย ลงตรวจสอบขอเท็จจริงในพื้นที่ จนไดขอสรุปที่สะทอน ปญหาเชิงโครงสรางนโยบายนําเสนอไปยังรัฐบาล เมื่อปลาจะกินดาว 10 25


กลาวคือ ปจจุบันพบมีคนอาศัย และทําประโยชนอยูในเขตสงวนหวง หามที่ดินของรัฐประเภทตางๆ กวา 10 ลานไร บางสวนรัฐไดประกาศเขต สงวนหวงหามทับที่ดินทํากินของราษฎร ขณะที่วิธีการแกปญหาที่ดินปจจุบันนั้น ไมไดชวยแกทั้งระบบอยาง มีเอกภาพ มีประสิทธิภาพ แมจะมีการตั้งคณะกรรมการแกไขปญหาการ บุกรุกที่ดินของรัฐ (กบร.) ก็ยังไมสามารถสรางความเปนธรรมแกราษฎรได อยางรวดเร็ว เพราะไมไดลดปญหาเรื่องที่ดินทํากิน และไมอาจทําใหผูไดรับ การจัดที่ดินหลุดพนจากปญหาความยากจนอยางยั่งยืน เนื่องจากมีบุคคล บางกลุมเขาสวมสิทธิในที่ดินที่จัดใหกับผูไรที่ดิน ทั้งยังมีการครอบครองที่ดิน ของรัฐเปนแปลงที่ดินขนาดใหญโดยไมชอบดวยกฎหมาย ปญหาอีกสวนหนึ่งยังเกิดจากการบริหารจัดการที่ดิน ซึ่งแบงแยกที่ดิน ปาไมออกเปนเขตตางๆ ทําใหการบังคับใชกฎหมายในพื้นที่มีความซ้ําซอน กระทบตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ซ้ํายังเกิดความขัดแยงกับราษฎร ที่ สําคัญเมื่อพลิกตัวบทกฎหมายที่มาจากหลายองคกรกระจายอยูในหลาย กระทรวง และมีอํานาจหนาที่แตกตางกัน กฎหมายแตละฉบับมีวัตถุประสงค แตกตางกัน เกิดความลักลั่น ขาดประสิทธิภาพ และไมเปนธรรมแกประชาชน แนวทางแกไขทีค่ ณะกรรมาธิการฯสรุปเปนขอเสนอถึงรัฐบาล ประกอบดวย การเร ง ออกกฎหมายจั ด ตั้ ง คณะกรรมการนโยบายที่ ดิ น แห ง ชาติ เพื่ อ ทํ า หน า ที่ กํ า หนดนโยบายและแผนการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรดิ น และที่ ดิ น ในกฎหมายควรมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการแกไขปญหาการบุกรุกที่ดินของ รัฐขึ้นมาทดแทนคณะกรรมการแกไขปญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐและผล การพิจารณาหรือมติของคณะกรรมการนโยบายที่ดินแหงชาติควรมีผลทาง กฎหมายให ห น ว ยงานของรั ฐ สามารถปฏิ บั ติ ต ามมติ ข องคณะกรรมการ นโยบายที่ดินแหงชาติตอไปไดโดยไมตองดําเนินการตามกฎหมายเฉพาะเรื่อง อีก ที่สําคัญยังมีขอเสนอใหควรปรับปรุงหรือยกเลิกมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ วันที่ 30 มิถุนายน 2541 พรอมกับทบทวนนโยบายการปาไมแหงชาติที่กําหนด จะตองใหมีพื้นที่ปาไมทั่วประเทศอยางนอยรอยละ 40 ของพื้นที่ทั่วประเทศ เมื่อปลาจะกินดาว 10 26


และเพื่อใหการจัดการปาไมของชาติเปนเอกภาพ มีประสิทธิภาพ และสงผลดี ตอการบริหารจัดการที่ดิน ควรพิจารณารวมหนวยงานที่เกี่ยวของเขาดวยกัน สวนการแกไขปญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐและการไรที่ดินทํากินทั้งระบบ ในระยะเรงดวนควรจําแนกพื้นที่ที่มีปญหาตางๆ ออกจากพื้นที่สงวนหวงหาม ของรัฐทุกประเภทแลวจัดกลุมของปญหาเพื่อวางแนวทางแกไขอยางเปน ระบบและสอดคลองกัน ในระยะยาวควรออกกฎหมายบริหารจัดการที่ดิน ของรัฐและการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทบทวนนโยบายการจัดหาที่ดินมา จัดใหกับเกษตรกร ควรนําที่ดินเอกชนและที่ดินของรัฐที่ไมไดใชประโยชนมา บริหารจัดการใหเกิดประโยชนสูงสุดตั้งศูนยขอมูลที่ดินและแผนที่แหงชาติ เพื่อเปนศูนยกลางการบริหารจัดการและบูรณาการขอมูลเกี่ยวกับทะเบียน ที่ดินและขอมูลแผนที่แปลงที่ดินของประเทศที่หนวยงานตางๆ หนึ่ ง ในข อ เสนอสํ า คั ญ คื อ ชุ ม ชนที่ อ ยู อ าศั ย และทํ า ประโยชน ในพื้ นที่ อนุรักษประเภทตางๆ มานาน และทางราชการไมสามารถผลักดันหรืออพยพ ได ซึ่งปจจุบันใชวิธีการกําหนดเขตและใชมติคณะรัฐมนตรีผอนผันแตก็ไมมี ทิศทางการดําเนินการที่ชัดเจนวาในอนาคตจะทําอยางไรรัฐบาลกําลังใช นโยบายโฉนดชุมชนแกไขปญหา แตอาจมีขอจํากัดวาไมสามารถใชกับทุก พื้นที่ จึงควรมีทางเลือก ดวยการปรับสถานภาพทางกฎหมายของชุมชนเหลา นั้นใหมาเปนผูทําหนาที่ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติแทน อาทิ การจายคาตอบแทนใหกับชุมชน ซึ่งดูแลระบบนิเวศนที่เอื้อ ประโยชนตอการผลิตและการบริโภคของมนุษย เชน การรับรองสิทธิในตนไม โดยออกหนังสือแผนที่การทําประโยชนในที่ดินของรัฐชั่วคราว โดยผูไดรับสิทธิ ในตนไมบนที่ดินนั้น ตองมีหนาที่ดูแลรักษาไมใหมีการบุกรุกเพิ่มเติม หากมี การบุกรุกเพิ่มจะตองถูกดําเนินการตามกฎหมายโดยเด็ดขาด

‘เกาะระ’ คดีรอนป 53 แม ยั ง ไม มี ข อ สรุ ป ชั ด เจนจากกระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดลอม รวมทั้งหนวยงานที่เกี่ยวของในการประกาศใหพื้นที่เกาะ ระในอุทยานแหงชาติเกาะระ-เกาะพระทอง อ.คุระบุรี จ.พังงา เนื้อที่ เมื่อปลาจะกินดาว 10 27


กวา 12,817 ไร วาจะใหเปนอุทยานแหงชาติหรือเปนสวนพฤกษศาสตร ทั้งเกาะหรือไม แต ปาแตว ทองมัน ชาวบาน ม.3 เกาะระ อายุ 58 ป ยืนยันจะไมยอมออกจากพื้นที่กวา 10 ไร ที่อาศัยมารวม 30 ป “ชาวบานตองมีที่อยูกอน” ปาแตวกลาวสั้นๆ ขณะยืนอยูบนริม ชายหาดอันขาวนวลในผืนดินบริเวณหนาบาน “ปาไมยอมเขาหรอก ถาขายแลวจะไปใหปาไปอยูที่ไหน จะทํามา หากินก็ลําบาก” ปาแตว ประกอบอาชีพประมงชายฝง ออกเรือหาปลาพอมาประทัง ชีวิตอันเรียบงาย ที่กวา 10 ไรใชทําไรนาสวนผสมปลูกมะมวง มะนาว และสะตอ เปนตน แตพื้นที่ทั้งหมดยังไมมีเอกสารสิทธิที่รับรองสิทธิทํา กินจากทางราชการ ปาแตว เลาวา ชุมชนบนเกาะระไดกอตั้งมานานกวา 100 ปโดย ชาวบ า นที่ อ าศั ย บนเกาะส ว นใหญ เป นชาวมอแกนและอี ก ส ว นหนึ่ ง อพยพมาจากบนฝง ชาวบานจะอาศัยอยูริมหาด เนื่อง จากสะดวกตอ การออกเรือไปหาปลา จนกระทั่งเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2551 ไดมี การประกาศเขตอุทยานแหงชาติเกาะระ-เกาะพระทอง ทําใหที่ทํากิน ชาวบานทับซอนกับพื้นที่อุทยานฯ อุทยานแหงชาติหมูเ กาะระ–เกาะพระทอง ตัง้ อยูท อ งทีอ่ าํ เภอคุระบุรี และอําเภอตะกั่วปา จ.พังงา หางฝงอําเภอคุระบุรี เพียง 3 กิโลเมตร ดานทิศตะวันออกเปนปาชายเลนติดกับแผนดินใหญ มีเนื้อที่รวม 642 ตารางกิโลเมตร มีทรัพยากรธรรมชาติที่มีความอุดมสมบูรณ มีความ ลาดชันสูงสูงจากระดับน้ําทะเล 235 เมตร ทิศตะวันตกมีหาดทราย เปนแนวยาวดานทิศเหนือและทิศใตเปนแหลงที่มีแนวปะการังน้ําตื้นที่ สมบูรณ ขณะที่เกาะพระทอง มีพื้นที่ 102 ตารางกิโลเมตร เปนเกาะที่มี พื้นที่ราบ และเคยทําเหมืองแรมากอนทําใหดินเปนทรายไมเหมาะทํา การเกษตรกรรม ดานตะวันออกของเกาะพื้นที่สวนใหญเปนปาชาย เมื่อปลาจะกินดาว 10 28


เลนมีลําคลองผากลาง พื้นที่ในแนวเหนือ-ใต เปนเกาะที่มีเตาขึ้นมา วางไขมากบริเวณชายหาดดานทิศตะวันตก ตั้งแตเดือนพฤศจิกายน ถึงปลายเดือนธันวาคม นอกจากไดมีการประกาศเปนเขตอุทยานแหงชาติแลวองคการ สวนพฤกษศาสตร (อสพ.) ไดขอใชพื้นที่เกาะระกับกรมปาไมเพื่อจัด ทําโครงการสวน พฤกษศาสตรทางทะเลและชายฝง เบื้องตนทางกรม อุทยานฯ ตกลงกันพื้นที่สําหรับทําโครงการสวนพฤกษศาสตร เพียง 4,400 ไร ที่เหลืออีก 6,873 ไร เปนพื้นที่อุทยานแหงชาติ ดาน กองกานดา ชยามฤต ผูอํานวยการสวนพฤกษศาสตร (อสพ.) ไดยืนยันวา จะทําสวนพฤกษศาสตรฯบนเนื้อที่ 4,400 ไรเศษ ตามนโยบายของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯไมมีสวนในการกันพื้นที่ ออกใบสิทธิทํากิน (ส.ท.ก.) เหตุที่อสพ. ตองดําเนินโครงการเพียงกวา 4,000 ไร เพราะขาดแคลนบุคลากรและปญหาขอกฎหมาย อยางไรก็ดี ประเด็นปญหาบนเกาะระยังไมไดขอสรุปวาจะดําเนิน การในรูปแบบใด เนือ่ งจากมีชาวบานทัง้ ทีอ่ าศัยมากอนประกาศอุทยานฯ และเขามาบุกรุกพืน้ ทีเ่ พิม่ เติมไดขอยืน่ ออกสทก. จํานวน 139 แปลง รวม เนือ้ ที่ 1,588 ไร แตกรมอุทยานแหงชาติ ฯ กรมปาไม และองคการสวน พฤกษศาสตร ยังไมกลาขยับวาจะหาทางออกในเรือ่ งนีอ้ ยางไร สําหรับตัวปาแตวก็ยังยืนจะไมยายไปที่ไหนอยางเด็ดขาดรวมถึงจะ ไมยอมขายที่ดินดวย

ถอดชนวนเหตุฮุบที่ดิน ชวงกลางเดือนมีนาคม 2553 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม จับมือเปนพันธมิตรกับทางสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปราม การทุจริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) เพื่อหาแนวทางเชิงนโยบายและยุทธศาสตรที่จะ นําไปสูการปองกันทรัพยากร และการปองกันการทุจริตของเจาหนาที่ในการ ฏิบัติงาน ธีรภัทร ประยูรสิทธิ์ รองอธิบดีกรมปาไม ยอมรับวาปญหาการทุจริต เมื่อปลาจะกินดาว 10 29


ยอดเขายายเที่ยง

ปาไม ที่ดิน สาเหตุใหญมาจากความยากจน ความโลภ และการถูกหลอก จากนายทุน การใชชองวางทางกฎหมายหาประโยชน รวมทั้งความตั้งใจของ เจาหนาที่รัฐ หรืออาจดําเนินการผิดกฎหมายแบบไมตั้งใจ รวมถึงการขาด ความเขาใจเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวของกับที่ดินปาไมถึง 6 ฉบับ และยังมี กฎหมายที่ดินอีก เขาบอกวา ในป 2551 มีคดีเกี่ยวกับปาไมถึง 5,833 คดี และป 2552 รวม 5,504 คดี ในจํานวนนี้มี 62 คดี ที่เจาหนาที่รัฐถูกฟองรอง และเมื่อกรมปาไม ตั้งกรรมการสอบวินัยก็มีเพียง 12 คดีที่มีมูลวาจงใจหาผลประโยชน สวนใหญ เปนเจาหนาที่ระดับปฏิบัติงาน เชน หนวยปองกันรักษาปา มีเจาหนาที่ระดับ สูงคือขาราชการระดับ 7 เพียง 1 รายเทานั้น สอดคลองกับสิ่งที่ ชัยยศ สินธุประสิทธิ์ ผูอํานวยการสํานักนโยบาย และแผนสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต แหงชาติ (ป.ป.ช.) ชี้วา ปาไมของประเทศลดลงอยางนาเปนหวง ป.ป.ช. จึงไดกําหนดยุทธศาสตรสาธารณะของแผนดินเพื่อใหหนวยงานที่เกี่ยวของ อาทิ กรมปาไม กรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืช กรมที่ดิน และอื่นๆ เมื่อปลาจะกินดาว 10 30


บูรณาการการปองกันการทําลายพื้นที่ปา พรอมกับตั้งอนุกรรมการพัฒนา ระบบข อ มู ล สารสนเทศด า นเทคนิ ค สํ า หรั บ การตรวจสอบโฉนดที่ ดิ น และ เอกสารสิทธิ์ในการครอบครอง และอนุกรรมการไตสวนเพื่อรับรองเรียนตางๆ ปจจุบันมีคดีเกี่ยวกับที่ดินและปาไมคงคางอยูทั้งสิ้น 326 เรื่อง แบงเปน เรื่องรองเรียนปญหาที่ดินของกรมที่ดิน 262 เรื่อง และปญหาปาไม ของ ทส. อีก 64 เรื่องสวนใหญเปนการออกเอกสารสิทธิ์โดยมิชอบ “กวากระบวนการตรวจสอบจะสิ้นสุดจนสามารถชี้มูลความผิดไดตอง ใชระยะเวลานานมาก อีกทั้งในแตละปมีเรื่องรองเรียนเขามาที่ ป.ป.ช. ราว 2,000-2,500 คดี แตตรวจสอบไดแคครึ่งเดียว ป.ป.ช.ก็จะทํางานใหรวดเร็วขึ้น เพื่อบรรเทาความยุติธรรม โดยเฉพาะการจัดทําฐานขอมูลเฉพาะเรื่อง เชน ปา ไม ที่ดิน จะชวยใหการพิจารณาคดีเร็วขึ้น” ชัยยศ ระบุ

เขายายเที่ยงโมเดล “เมื่อหมดภาระการเปนนายกรัฐมนตรี จะมาใชชีวิตสวนใหญบนเขายาย เที่ยง เพราะมาแลวสบายใจ อยูกับธรรมชาติ อายุมาก อยูกับตนไมตนไร มัน ไมทํารายเรา” คําพูดของ พล.อ.สุรยุทธ จุลานนท เมื่อคราวยังนั่งเกาอี้นายกรัฐมนตรี ชวงป 2550-2551 ขณะพาสื่อมวลชนประจําทําเนียบรัฐบาล เขาเยี่ยมชมตาม จุดตางๆ ของบานพักตากอากาศบนเขายายเที่ยง โดยเฉพาะบริเวณชะงอน ผาใตตนไทร มุมโปรดของอดีตนายกรัฐมนตรี เพราะสามารถมองเห็นจุดชม วิวของเขื่อนลําตะคอง และอําเภอปากชองไดทั้งหมด การเปดบานเขายายเทีย่ งอยางเปนทางการในคราวนัน้ กลับมีผลใหตอ ง ปดตํานานบานพักเขายายเทีย่ งอยางถาวรในเดือนกุมภาพันธ 2553 หลังถูกรุน พี่ จปร. พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ชีเ้ ปาวา บนบานพักเขายายเทีย่ งเปนแหลง ซุกโบกีร้ ถไฟ กระทัง่ นํามาสูก ารตรวจสอบเรือ่ งการถือครองทีด่ นิ 21 ไร ทีต่ อ มาถูกระบุวา อยูใ นเขตปาสงวนปาเขาเตียน-ปาเขาเขือ่ นลัน่ ของกรมปาไม 2 ปกวา หลังพนเกาอี้นายกรัฐมนตรี การตรวจสอบกรณีบานพักบน เขายายเที่ยง ยกระดับความเขมขนขึ้นอีกระลอก เมื่อถูกดึงเขาไปพัวพันกับ การเมืองของพรรคฝายคาน และกลุมคนเสื้อแดงอยางเต็มรูปแบบ หลังคํา เมื่อปลาจะกินดาว 10 31


กลุมคนเสื้อแดงชุมนุมบนเขายายเที่ยง

ตัดสินของอัยการสี่คิ้ว จ.นครราชสีมา มีคําสั่งไมฟองกรณีการครอบครอง ที่ดินดังกลาว โดยระบุวาเปนการไมเจตนา เพราะซื้อตอมาเปนทอดที่ 3 จน กลายเปนชนวนใหมกี ารขนทัพของคนเสือ้ แดงไปชุมชนถึงบนยอดเขายายเทีย่ ง “พวกเรายังตั้งตัวไมทันวาเกิดอะไรขึ้น จูๆ ก็เอาเขายายเที่ยงปูยี้ปูยํา ทางการเมืองกันซะเละเทะ จนชาวบานเดือดรอน และยังไมรูอนาคตดวยวา จะเจออะไรหลังจากนี้” กํานันอุทัย สังขจันทึก ยอนถึงเหตุการณที่เกิดขึ้น สิ่งที่กํานันบานเขายายเที่ยงเหนือ บอกนั้นเกิดขึ้นหลังจากการเมืองเรื่อง ที่ดินไดนําพาความวุนวายมาสูชาวบานกวา 300 ครัวเรือน บนเขาเล็กๆ ลูก นี้ จากที่เคยอยูกันอยางเงียบสงบมาชั่วอายุคน แต “บานเขายายเที่ยง” ก็ได กลายเปนชื่อคุนหูคนทั้งประเทศเพียงชั่วขามคืน ดวยเหตุผลที่วาระหวางกรมปาไมกับคนเสื้อแดงที่มีเดิมพัน คือการยึด ที่ดินเขายายเที่ยง ของพล.อ.สุรยุทธ กลับคืนมา เพื่อลบขอครหาวารัฐบาล ใช 2 มาตรฐานในแกปญหาการครอบครองที่ดินกับชาวบานรายอื่น “เจาของที่ดินที่เขามีอยูเขาจะไปอยูไหน”? กํานันตั้งคําถาม

เขายายเที่ยงอยูไหน ถนนมิตรภาพ ประตูดา นแรกทีม่ งุ สูภ าคอีสาน หากเหลียวมองดานซาย มือจะเห็นวิวของเขือ่ นลําตะคองทอดตัวยาวขนานไปแนวถนนสายนี้ แตหาก เมื่อปลาจะกินดาว 10 32


หนาบานพัก อดีตนายกรัฐมนตรีบนเขายายเที่ยง

เหลือบสายตาขยับไปทางขวามือของคนขับ ทิวเขาลูกยอมทอดแนวปรากฎตัว นอยคนนักจะรูวา ภูเขาลูกนี้คือ “เขายายเที่ยง” ซึ่งผนวกผืนปาเขา เตียน-ปาเขาเขื่อนลั่น ทองที่ ต.หนองสาหราย ต.คลองไผ อ.สี่คิ้ว และ อ.ปากชอง จ.นครราชสีมา ที่กรมปาไมไดประกาศเปนปาสงวนแหงชาติไว เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2508 รวมพื้นที่ 19,375 ไร จากปญหาการบุกรุกทีด่ นิ ทีม่ แี นวโนมขยายตัวมากขึน้ กรมปาไมไดเลือก เอาโครงการหมูบ า นปาไม ตามมติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ 29 เมษายน 2518 มาใชหวังแกปญ  หาการบุกรุกทีด่ นิ ในเขตปาไม และฟน ฟูสภาพปา ตนน้าํ ลําธารทีถ่ กู บุกรุกเสือ่ มโทรมใหคนื สูส ภาพปาตามเดิม โครงการหมูบ า นปาไมบนเขายายเทีย่ ง คือการจัดสรรทีด่ นิ นอกเขตตนน้าํ ให ครอบครัวละไมเกิน 15 ไร โดยมิใหกรรมสิทธิ์ แตใหสทิ ธิตกทอดถึง ทายาทไดถาวรตลอดไป เพือ่ ปองกันมิใหนายทุนเขามากวานซือ้ โดยกรมปาไม กระทรวงเกษตรและสหกรณ ในสมัยนัน้ จะออกใบอนุญาตชัว่ คราวใหเขาอยู ในพืน้ ที่ รวมทัง้ การใหจา งแรงงานจากหมูบ า นใหปลูกปากับทางราชการดวย “ในตอนนั้นมีมติจัดสรรพื้นที่ออกเปน 2 สวน กลาวคือ ตีผังแปลงจัดให ราษฎรทํากิน รวม 76 ราย ตกคนละ 14 ไร รวมพื้นที่ 1,020 ไร สวนผังแปลง ที่อยูอาศัยอีก 79 ไร เฉลี่ยคนละ 2 งาน รวม 161 ราย โดยบางครอบครัวก็มี เมื่อปลาจะกินดาว 10 33


ลูก มีพี่นองที่ไดสิทธิ์จากมติคณะรัฐมนตรีดังกลาว” “ขณะนี้ผานมาถึง 35 ปแลว เราตองการคําตอบวาที่ดินพวกนั้นมีการ เปลี่ยนแปลงการถือครองไปมากนอยแคไหน โดยเฉพาะกรณีของบานพักของ อดีตนายกฯ ที่ตองหาคําตอบกอนรายอื่นๆ บนเขายายเที่ยง ซึ่งเปนโจทย ที่มาของการตรวจสอบในประเด็นนี้” สุเทพ ปวเรศวิทยาฬาร ผูอํานวย การสํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 8 จ.นครราชสีมา บอกขอมูลการ ตรวจสอบเบื้องตน หลังเขาไดรับการแตงตั้งใหเปนหนึ่งในคณะกรรมการชุด นายชลธิศ สุรัสวดี รองอธิบดีกรมปาไม รวมกับกรมอุทยานแหงชาติฯ ทํา หนาที่ตรวจสอบสภาพการเปลี่ยนแปลงการถือครองที่ดินปาสงวนแหงชาติปา เขาเตียน – ปาเขาเขื่อนลั่น โดยมีระยะเวลาทํางานแค 60 วัน “ตองหาภาพถายทางอากาศมาตรวจสอบการเปลี่ยนแปลง และตรวจ สอบภาคพื้นที่ดิน แตละแปลงที่เคยไดรับจัดสรรพื้นที่ตามมติ ครม. วันที่ 29 เมษายน 2518 ไวทุกแปลงอยางละเอียด ซึ่งขณะนี้สภาพพื้นที่เปลี่ยนแปลง ไปมาก เปาหมายครั้งนี้อาจสงผลใหเกิดการจัดระเบียบการมีสิทธิ์ครอบครอง พื้นที่ใหถูกตอง และหากใครไมมีสิทธิ์ก็คงตองวากันไปตามกฎหมาย เชื่อวา รัฐคงไมถึงขั้นจะขับไลออกไปจากพื้นที่ คงจะรอมชอมมากกวาใชไมแข็ง แต ในแตละพื้นที่ก็คงไมสามารถใชเงื่อนไขเดียวกันไดดวย” สุเทพ ย้ํา ทามกลางแรงกดดันทางการเมือง กรรมการชุดนี้ถูกสบประมาทวาตั้งขึ้น มาเพื่อซื้อเวลาเทานั้น แต สมชัย เพียรสถาพร อธิบดีกรมปาไม ก็ออกมา ยืนยันวาไมไดซื้อเวลา แตจําเปนตองมีมาตรการที่ชัดเจน มีความเปนไปไดวา จะใชกรณีเขายายเที่ยงเปนโมเดล และบันทัดฐานการแกปญหาถือครองที่ดิน ในเขตปาสงวนแหงชาติทั่วประเทศ ที่มีอยูราว 4.5 แสนราย รวมพื้นที่กวา 6 ลานไร

คําตอบที่ยังรอคอย กลางเดือนพฤษภาคม 2553 ทามกลางเปลวแดดรอนระอุ ผูเขียนเดิน ทางกลับมาเขายายเที่ยงอีกครั้ง ทั้งที่ชวงเดือนมกราคมปเดียวกัน บนยอดเขา ยายเที่ยงถูกปกคลุมดวยไอหมอกหนาทึบจนแทบมองไมเห็นอะไรเลย หลัง จากเม็ดฝนโปรยปรายมาตลอดคืน เมื่อปลาจะกินดาว 10 34


ตางจากวันนี้ ทัศนวิสัยดี ทองฟาปลอดโปรง ตลอดสองขางทางถนน ลาดยางมะตอย 2 เลน ที่ถูกตัดขึ้นเมื่อไมกี่ปกอนหนานี้ พรอมกับการเขา มาของกังหันลม และโครงการเขื่อนลําตะคองของการไฟฟาฝายผลิตแหง ประเทศไทย ซึ่งตั้งบนยอดสูงสุดของเขา ยังปรากฎความรมรื่นของตนไม ในเขตปาสงวนแหงชาติผืนนี้ แมวาเปลวแดดจะแรง แตปารกครึ้มก็พลอย ทําใหอากาศไมรอนจนปรากฎเม็ดเหงื่อ จุดหมายของการสํารวจพื้นที่เริ่มตนจากปลายเขา เพื่อตามหา นายโจก สวัสดี เจาของที่ดินรายสุดทาย ซึ่งถูกระบุจากกรมปาไมวา เขาเปนเพียง คนเดียวที่ยังคงเก็บรักษาพื้นที่ราว 14 ไรที่เคยไดรับจัดสรรในป 2518 ปายราน “ตนตอ” เปนที่สะดุดตาหลังจากขับรถจากปากทางเขามาไม นานนัก เมื่อสอบถามกับเจาของรานขายอาหารตามสั่ง และของที่ระลึก ไดคํา ตอบวาแทจริงแลว “พี่เพ็ญ” เจาของรานก็คือลูกสาวคนที่ 6 สวนพี่นอย เปน ลูกสาวคนสุดทองของตาโจกนั่นเอง “หลังจากตกเปนขาวแลว ทําใหพอลมปวย เพราะแกเครียดจัด กลัว วาจะไดรับผลกระทบไปดวย ขนาดนายกฯสุรยุทธ ยังโดนใหรื้ออกเลย แลว ชาวบานจะอยูเปนสุขไดอยางไร ตอนนี้พวกปาไมมาวนกันบอยๆ บอกอยาก คุยกับพอ” พี่เพ็ญ เปดฉากเลา ขณะสาละวนกับลูกคาที่เริ่มแวะเวียนมาใชบริการ หนาตาในชวงเที่ยงวันพอดี “เคยพูดเลนๆ นะวาถาให 10 ลานขึ้นไปตอแปลงถึงจะขาย” เธอพูด ติดตลกพรอมยังยืนยันวา แมวาราคาที่ดินที่ขายเปลี่ยนมือจะแพงถึงไรละ 1-2 ลานแลวก็ตาม เหตุผลที่ตาโจก ไมยอมขายที่ผืนนี้เปนเพราะมีลูกถึง 9 คน หากนับรวมหลาน และเหลนก็ตกประมาณ 30-50 คน ดังนั้นหากตอง ไปหาซื้อที่อื่นก็คงลําบาก” “พ อ จึ ง ไม ย อมแบ ง ที่ ดิ น ในล็ อ กเกื อ บล็ อ กสุ ด ท า ยที่ ได รั บ จั ด สรรไว ให กับใครเลย ปจจุบันนําพื้นที่ทําเปนไรสวนผสม ปลูกไมผลทุกอยาง ขนุน มะมวง ลิ้นจี่ ไมยืนตนทุกชนิด สวนบริเวณที่เปดเปนรานขายของ และบานไม เมื่อปลาจะกินดาว 10 35


เรือนไทยหลังใหญ เนื้อที่ประมาณ 2 งาน ตรงนี้ก็เปนอีก 1 แปลงที่ไดรับสิทธิ์ ตามผังที่อยูอาศัยตั้งแตป 2518 เชนกัน” “พี่แหลม” กาไว สังขจันทึก หนุมใหญมาดขรึม ขอรวมวงอธิบายอีก คน เขาเปน 1 ใน 161 ราย และเปนลูกพี่ลูกนองกับครอบครัวสวัสดี ที่ใชชีวิต บนเขายายเที่ยงมาปาเขาไป 43 ปแลว “สมัยกอนแถวนี้ไมมีความเจริญอะไร ยังเปนไรขาวโพด ไรมัน ไรละหุง ตาโจกเขามาบุกเบิกทํากินตั้งแต 2502 แตอยูกันแบบกระจัดกระจายที่ใครก็ ทํากินกันตรงนั้น ตั้งแตยังใชตะเกียง ถนนลูกรัง ยังใชเกวียนกันอยูเลย เวลา เขามาก็แลกของกันกิน เชน บานนี้มีขาวก็แบงกัน กระทั่งกรมปาไมเขามาจัด ระเบียบใหชาวบานมาอยูรวมกันเปนกลุม” “บานเขายายเที่ยงใตเกิดกอน แลวคอยมีเขายายเที่ยงเหนือตามมา ใคร มีลูกเยอะก็ไดที่มาก เขาใหปลูกบานคนละ 2 งาน ที่จริงพื้นที่ก็ไมนาจะมี คาอะไร ชวนกันมาอยูชุดแรกๆ ก็ประมาณ 80 ครอบครัว ยังไมอยากมากัน เพราะลําบาก ไมมีอะไรเลย กระทั่งป 2524 ปาไมเขาก็เริ่มใหชาวบานปลูกปา และชวยดูแลดวย พอปลูกโต พวกเราก็ไมรูกันวาเขาจะมายึดเอาที่ไปประกาศ เปนปาสงวน ไมใหชาวบานเขาไปทําประโยชนในพื้นที่ตรงนั้นแลว” พี่แหลมชี้ใหดูผืนปาฝงตรงขามถนน ที่เขาเคยปลูกมากับมือ แตตอนนี้ ถูกจับจองดวยปายประกาศวาเปนปาสงวนแหงชาติของกรมปาไม ตั้งแตวันที่ อดีตนายกฯ สุรยุทธ เจอขอหารุกที่ปาสงวนเขายายเที่ยง “ผมเคยไปชวยงานที่บานทาน ตั้งแตชวงแรกๆ ที่ทานซื้อที่ตอมาจาก พระเบา ตอนนั้นยังมีแตปาหญาคา ผสมกับที่โลงๆ ไมมีตนไมสักตน พอทาน มาอยู ชาวบานแถวนี้ก็เขาไปรับจางทํางานที่บาน ถางปา ชวยปลูกตนไม ทํา สวนจนบานทานรมรื่น รูสึกเห็นใจทานมากที่ถูกการเมืองเลนงาน” เขาสรุป สําหรับ กํานันอุทัย ในฐานะผูนําหมูบาน ถึงกับถอนหายใจเฮือกใหญ เขายอมรับวายังไมสามารถหาคําตอบไปใหกับลูกบานเขายายเที่ยงเหนือทั้ง 125 ครัวเรือนที่มีสมาชิก ราว 400-500 คน วาสิทธิ์ที่เคยอยูอาศัย และทํากิน แบบเลื่อนลอย ไรหลักฐานมากวา 35 ปบนเขายายเที่ยงจะออกหัวหรือกอย เขาบอกวา การครอบครองที่ดินบริเวณนี้ สวนมากกลุมชาวบานเขามา เมื่อปลาจะกินดาว 10 36


ทําไรชุดแรกๆ บางคนก็มาซื้อตอกัน กระทั่งกรมปาไมเขามาจัดใหคนอยูรวม กัน 14 ไร คนที่ไดสิทธิ์ทํากินสวนมากจะอยูจากอางเก็บน้ําลงมาสักครึ่งเขา สวนที่อยูดานลางเปนกลุมที่ไดสิทธิ์ใหอยูอาศัย มีบางแปลงจาก 2 งานก็ซอย กันไปคนละงาน แตทั้งหมดยังอยูในโซนที่เขาตีเอาไวให เรียกวาเขาตีกรอบ เทาไหรก็อยูเทานั้น ไมใช 300-400 แปลง “ผมอยูมากอน สภาพปจจุบันก็เหมือนเดิม เพราะแคซอยแปลงเทานั้น แตที่เขามาซื้อก็อยูในจุดเดิม ไมใชเขาไปบุกรุกพื้นที่ใหม มาตั้งแตป 18 แลว ผมอยากถามวาทําไมเอาหมูบานผมไปเลนการเมืองซะเละเทะ ในเมื่อเราไม ไดขอพื้นที่เพิ่ม ไมไดบุกรุกและเรียกรองอะไรจากรัฐ การทําแบบนี้กระทบตอ สิทธิ์ของชาวบาน” “ชาวบานชวยกันดูแลปาอยางดี ที่แบงขายไปเพราะความยากจนจาก หนี้สินที่ขาดทุนจากการทําไรกับทางธ.ก.ส. ก็มี เขาซื้ออาศัยคนละ 1-2 งาน และบางคน 2-3 ไรเทานั้นเขาก็ทํารีสอรท ไมไดมีมากอะไร สวนใหญเปน ญาติพี่นองกัน ไมใชนายทุนนอกพื้นที่” “ชาวบานก็เครียด ตอนนี้ทุกคนไมทําอะไร เฝาดูวารัฐบาลจะทําอะไร เพราะมีการออกสื่อวายังมีอีก 4-5 ราย ที่เขาบอกจะเอาออกเหมือนกับอดีต นายกฯ สุรยุทธ พวกเราถูกลิดรอนมาเรื่อยๆ แตทําไมแถววังน้ําเขียว แถว ปากชอง ที่ดินและรีสอรทเปน 1,000 ไร มีแตคนรวยและนายทุนตัวจริง ครอบครอง รัฐไมกลาแตะ มาบีบบานเล็กๆ แบบเขายายเที่ยงคงไมยุติธรรม” “ขณะนี้ตองรอความชัดเจนเสียกอน ใหกรมปาไมเอาปายประกาศมาติด ใหชัดเจนวาจะใหชาวบานอยูกันแบบไหน ถาทําพรอมกันทั่วประเทศ โดยใช เขายายเที่ยงเปนโมเดล เรายอมรับได” กรณีที่ดินบนเขายายเที่ยงของอดีตนายกรัฐมนตรี ซึ่งแมจะเปนเกมทาง การเมือง แตก็สะเทือนการเดินหนาตรวจสอบตอที่ดินในเขตปาสงวนแหงชาติ ทั่วประเทศ ที่อาจเกิดปญหาตามมาไมสิ้นสุด แมแต ผศ.ดร.อิทธิพล ก็ไมเห็นดวยที่กรมปาไม จะใชโมเดลของเขายาย เที่ยงเปนแนวทางแกปญหาขอพิพาทที่ดินในเขตปาสงวนแหงชาติทั่วประเทศ เนื่องจากลักษณะของปญหา และมติที่ถูกประกาศในแตและพื้นที่แตกตางกัน เมื่อปลาจะกินดาว 10 37


แมแตการพิสูจนการครอบครองที่ดินตามมติ ครม. 30 มิถุนายน 2541 ที่ผาน มาแลว 10 ป ก็ยังไมสามารถหาขอยุติไดเลย “ถาจะจัดการแบบเดียวกัน ตองถามวากรมปาไมจะถือมาตรฐานไหน เป็นหลัก ซึ่งกรมป่าไม้ก็รับรู้ว่าขณะนี้มีหลายมาตรฐานจากมติที่รัฐบาล แตละรัฐบาลประกาศออกมา เพราะยังมีรายอื่นๆ ที่จะเกิดปญหาตามมา” นักวิชาการ ตั้งขอสังเกต

แสงสวางที่ปลายอุโมงค ทุมงบสํารวจเขตแนวปา 2.2 พันลาน “สิ่งที่จะเห็นในอีก 2 ปคือ แผนที่ความละเอียดขนาด 1 : 4,000 รวบรวม จัดทําในรูปแบบฐานขอมูลเปนดิจิตอลไฟล ลักษณะเดียวกับกูเกิ้ลเอิรธ ที่ หนวยราชการ ประชาชน เอกชน สามารถเขาไปใชประโยชนได เนื่องจากจะ จําแนกชัดวาที่ดินทั่วประเทศมีเทาไร จุดใดที่ไมอยูในเขตปา” “โครงการนี้สามารถแกไขปญหาความขัดแยงเรื่องที่ดินและปาไมของพี่ นองประชาชนอยางเบ็ดเสร็จเด็ดขาด พี่นองประชาชนจะไดมีโอกาสมีที่ดิน ทํากินอยางยั่งยืนควบคูไปกับการอนุรักษปาไมใหกับลูกหลานของเรา” คํากลาวของ สุวิทย คุณกิตติ รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตอโครงการเรงดวน เพื่อแกไขปญหาการ บุกรุกทําลายทรัพยากรปาไมของประเทศ หนึ่งในนโยบายสําคัญที่สุวิทย ผลักดันจนเปนรูปธรรม หลังจากไดกลับมานั่งเกาอี้รัฐมนตรีกระทรงนี้สมัย ที่ 2 นโยบาย “เร็ว รุก บุกถึงที่” ในยุคแรกถูกกลับมาปดฝุนใหม หลังจาก ตลอดปท่ี 2552-2553 เขาตองออกพืน้ ทีต่ รวจปญหาบุกรุกทีด่ นิ และการลักลอบ ตัดไมจนนับครั้งไมถวน ลาสุดคือกรณีปาพรุควนเคร็ง จ. นครศรีธรรมราช ซึ่งถูกไฟเผาไหมเสียหายกวา 2 หมื่นไร โดยมีนายทุนอยูเบื้องหลังการเขา ยึดครองพื้นที่รอบปาพรุ ทําสวนปาลมน้ํามัน เรื่องนี้ยังคงอยูในชั้นของการ สอบสวนการไดมาของเอกสารสิทธิ์ที่นายทุนใชกลาวอาง สอดคลองกับขอมูลผลการปฎิบัติงานศูนยปองกันและปราบปรามการ บุกรุกทําลายทรัพยากรปาไม ซึ่งตั้งวอรรูมที่ชั้น 17 อาคารกระทรวงทรัพยากร เมื่อปลาจะกินดาว 10 38


ธรรมชาติฯ พบวาเพียงแค 5 เดือน (พฤษภาคม – กันยายน 2552) มีการแจง เบาะแสการบุกรุกที่ดิน ลักลอบตัดไม และลาสัตวปา รวม 43 ครั้ง ครอบคลุม 16 จังหวัดทั่วประเทศ เชน กาญจนบุรี ตรัง ตาก นครพนม นครศรีธรรมราช เพชรบุรี ภูเก็ต มุกดาหาร ระนอง ลําปาง ลําพูน สุราษฎรธานี โดยจังหวัด ตาก มีการลักลอบแปรรูปของไมสัก 3,117 ลบ.ม. มูลคาความเสียหาย 1.7 ลานบาท สวนที่ลําปางมีการบุกรุกพื้นที่ 66 ไร 2 งาน มูลคาความเสีย หาย 3.2 ลานบาท หากพลิกขอมูลยอนหลังไปจนถึงป 2551 สถิติการบุกรุกทําลายปามีราย ใหญ และรายยอยรวม 8,776 คดี พื้นที่ปาถูกบุกรุก 59,425 ไร ไมของกลางที่ ยึดได 19,689 ลบ.ม. มูลคาความเสียหายถึง 1,540 ลานบาท หากถามกลับไปวาเหตุใดปญหาการบุกรุกที่ดิน ลักลอบตัดไม ลาสัตว จึงยังมีแนวโนมเพิ่มขึ้น นักอนุรักษ บอกวา สวนหนึ่งมาจากภาวะเศรษฐกิจ ซบเซาในชวงปที่ผานมาทําใหทรัพยากร กลายเปนซุปเปอรมาเก็ตขนาดใหญ ที่คนมุงหาผลประโยชนไดงาย บวกกับปญหาการทํางานที่ขาดประสิทธิภาพ ของหนวยงานที่เกี่ยวของ ทั้งกรมปาไม กรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุ พืช ที่มักจะมีการเปลี่ยนผูบริหาร เปลี่ยนนโยบาย ทําใหขาดความตอเนื่อง แมแตสุวิทย ยอมรับวา ไมพอใจกับการแกไขปญหาบุกรุกที่ดินพื้นที่ปา แมจะมีมาตรการในปองปราม การตรวจตรา จับกุมดําเนินคดี ทําให ทส. ตองกลับมาทบทวนถึงปญหาที่เกิดขึ้น และพบจุดออนที่ทําใหงานไมสําเร็จวา มาจาก “ขอบเขตพื้นที่ปาไมไมชัดเจน” ทําใหไมสามารถนําไปสูกระบวนการ พิสูจนสิทธิ์การใชประโยชนในที่ดินได ดวยเหตุผลดังกลาว การเดินหนาผลักดันโครงการเรงดวนเพื่อแกไข ปญหาการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไมของประเทศ จึงเริ่มตนทันที โดยมี เปาหมายเพื่อจัดทําแนวเขตปาประเภทตางๆ รวมถึงที่ดินของรัฐใหมีแนวเขต ชัดเจน ดวยการใชขอมูลแผนที่ภาพถายกอน และหลังการประกาศเขตพื้นที่ ปาไม ระหวาง ป พ.ศ. 2495-2510-2518-2540- และ 2542 เปนขอมูลพื้นฐาน ในการกําหนดแนวเขตที่ดินของรัฐประเภทตางๆ กลาวคือ แนวเขตอุทยาน แหงชาติ แนวเขตรักษาพันธุสัตวปา แนวเขตหามลาสัตวปา ปาชายเลน และ เมื่อปลาจะกินดาว 10 39


แนวเขตปาไมถาวรตามติคณะรัฐมนตรี รวมทั้งที่ราชพัสดุ นิคมสหกรณ เขต ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ที่สาธารณะประโยชน ตลอดจนที่ดินเอกชน เชน น.ส. 3 ก และ น.ส. 3 ดวย โดยตั้งเปาแลวเสร็จภายในระยะเวลาเพียง 2 ป (กุมภาพันธ 2555) แต เนื่องจากเปนโครงการขนาดใหญ ตองใชงบประมาณสูงถึง 2,254 ลานบาท ทส. จึงตองขออนุมัติจากคณะรัฐมนตรี เพื่อขอใชเงินจากกองทุนสิ่งแวดลอม ซึ่งแมจะถูกทวงติงถึงการอนุญาตใชเงินดังกลาวจากกลุมนักอนุรักษ แตทวา เสียงกลับแผวหายไป ตามแผนการใชเงินจากกองทุนสิ่งแวดลอม 2,254 ลานบาท ถูกแยก เปน ป 2552 วงเงิน 584 ลานบาท โดยขอใหสํานักงบฯสนับสนุน 480 ลาน บาท จากงบกลางป 2552 และปรับกิจกรรมภายใตโครงการเรงรัดการจัดทํา แนวเขตในพื้นที่ปาอนุรักษ ตามแผนการใชงบประมาณป 2552 จากกิจกรรม ปรับปรุงแนวเขตที่ดินของรัฐ ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช เปนกิจกรรมตามโครงการเรงดวนเพื่อแกปญหาการบุกรุกทําลายทรัพยากร ปาไมของประเทศ วงเงิน 104 ลานบาท สวนที่เหลือใหขอตั้งงบตอเนื่องป 2553 วงเงิน 767 ลานบาทและป 2554 อีก 1,054 ลานบาท ซึ่งทส.จะตั้ง วงเงินคืนกลับไปใหกับกองทุนสิ่งแวดลอม ทามกลางความเงียบเชียบตลอดป กลับปรากฎวาโครงการเดินรุดหนา อยางรวดเร็ว ถึงขั้นมีการเซ็นสัญญากับบริษัท อีเอสอารไอ (ประเทศไทย) จํากัด เปนที่ปรึกษาทางดานเทคนิคของโครงการ พรอมกับเบิกจายเงิน รวม 2 งวด จํานวน 200 กวาลานบาท สําหรับจัดซื้ออุปกรณการพิมพ และการ ตั้งศูนยสารสนเทศที่ชั้น 4 อาคาร ทส. พรอมการเปดตัวอยางเปนทางการเมื่อ วันที่ 18 มิ.ย.2553 โดยนายกฯอภิสิทธิ์ ไดเดินทางมารวมดวยตัวเอง “ปญหาที่ทํากินและปาไมเปนปญหาที่ละเอียดออน ซึ่งเปนปมขัดแยงใน หลายพื้นที่ เปนปญหาที่สะสมมานาน ไมมีสภาผูแทนฯ ยุคไหนที่ไมหยิบเรื่อง นี้มาถกเถียงและแกไขปญหาในประเด็นเดิมๆ ในเรื่องปารุกคน คนรุกปา ปา จะอยูกับคนไดหรือไม รวมทั้งมีการพิจารณากฎหมายฉบับตางๆ เพื่อจัดการ พื้นที่ในแตละยุคแตละสมัย” เมื่อปลาจะกินดาว 10 40


“ป จ จุ บั น ป ญ หาทวี ค วามรุ น แรงขึ้ น ซึ่ ง เป น ป ญ หาใหญ แ ละท า ทาย กระบวนการในอนาคตถาปลอยวิธีการแกไขปญหาที่บางสวนยังมองมิติเดียว เชน การจัดที่ทํากิน การอนุรักษปาไม การดูแลสิ่งแวดลอมในภาพรวม เชื่อวา จะไมทันตอความเปลี่ยนแปลงและไมมีคําตอบที่ยั่งยืนได เพราะความลาชา ในการแกไขปญหาทําใหชุมชนขยายตัวแบบไมธรรมชาติ ที่จะมีกลุมใหมๆ บุกรุกเขาไป ซึ่งกวาจะพิสูจนวาใครอยูกอนหลัง เวลาที่ทอดไปก็มีกลุมใหม เขาไปก็เปนปญหา” “ความขัดแยงที่ยืดเยื้อก็เปนปญหาที่นํามาสูการเรียกรองการชุมนุม กลายเปนเงื่อนไขประเด็นของความขัดแยงที่จะกระทบการเมืองและความ มั่นคงได นี่จึงเปนจุดหนึ่งที่ถูกหยิบยกมาเพื่อแกปญหาความเหลื่อมล้ําใน สังคมที่อยูในแผนปรองขณะนี้ดวย” อภิสิทธิ์ บรรยายในงานเปดตัว เขาย้ําวา จําเปนจะตองหากระบวนการทางวิทยาศาสตรที่ยอมรับจาก ทุกฝายในการหาขอเท็จจริงเพื่อความยั่งยืน

คลังขอมูลแผนที่ฉบับกูเกิลเอิรทธ “เหตุผลที่เลือกอีเอสอารไอ เนื่องจากมีประสบการณในการทํางานดาน แผนที่ และระบบภูมิสารสนเทศ ใหกับหนวยราชการของไทยมานานมาก รวมทั้งผานเกณฑทางเทคนิคตามที่ทส. ไดตั้งไว” อุดม จันทรสุข ผูอํานวยการสํานักบริหารโครงการเรงดวนเพื่อ แกไขปญหาการบุกรุกการทําลายทรัพยากรปาไมของประเทศ บอก เหตุผลที่อีเอส อารไอ ไดรับเปนที่ปรึกษาโครงการนี้ ตามสัญญาเมื่อเสร็จสิ้นโครงการจะทําใหประเทศไทยมีคลังขอมูลแนว เขตปาไม และที่ดินของรัฐที่อยูในรูปพรอมใชงานสําหรับทุกหนวยงานนําไป เปนหลักฐานอางอิง ในการแกปญหาขอพิพาทการบุกรุกถือครองไดอยาง รวดเร็ว เนื่องจากที่ผานมากวาจะหาซื้อแผนที่ภาพถายทางอากาศจากกรม แผนที่ มาตรวจสอบพิสูจนแตละกรณีตองใชขั้นตอนถึงครึ่งป ทําใหไมทันกับ สภาพปญหา คลังขอมูลที่วานี้ จะประกอบดวยแผนที่ออรโธสี ความละเอียด 1 ตอ 4,000 ฉบับใหมจากโครงการนี้ รวมทั้งสิ้น 180,000 ภาพ ครอบคลุมพื้นที่ปา อนุรักษ 1,421 ปาพื้นที่ 143 ลานไร และครอบคลุมแนวเขตที่ดินรัฐ ซึ่งจัดเปน แผนที่มีความละเอียดสูงมาก สามารถมองเห็นไดในระดับ 2 เมตร กลาวคือ เมื่อปลาจะกินดาว 10 41


เห็นตั้งแตหลังคา ตนไม แนวเขตปา แหลงน้ํา ถนน แตกวาจะไดมาตองใช เทคโนโลยีขั้นสูงในการสแกนภาพถายทางอากาศเกา 5 ชวงป คือ ป 2542 ยอนหลังจนถึงป 2495 ซึ่งถายโดยกรมแผนที่ทหารมาปรับแกสเกลใหอยูในคา พิกัดของภาพใหตรงแผนที่บนพื้นผิวโลก รวมทั้งการวัดพิกัดภาคสนาม สอบ ทานขอมูลที่ถูกตอง และยอมรับไดของผูมีสวนไดสวนเสียกอน บริษัทจะตองทําการสํารวจรังวัดและทําหมุดหลักฐานภาคพื้นดินในเขต ปาของ ทส. อยางนอยพื้นที่ละ 2 หมุด เพื่อประโยชนในการสํารวจรังวัด อางอิงพิกัดตําแหนง การทําบัญชีคาพิกัดของหมุดหลักฐานภาคพื้นดิน และ นี่เปนเหตุผลวาเม็ดเงินกวา 2,000 ลานจะเทใหกับการจัดขอมูลพื้นฐานราว 286 ลานบาท งานจัดทําขอมูลแผนที่ 1,211 ลานบาท ที่เหลือจะสรางระบบ สืบคนและศูนยใหบริการขอมูลแนวเขตฯอีกดวย ป จ จุ บั น โครงการนี้ ไ ด เ ริ่ ม นํ า ร อ งในหลายพื้ น ที่ ที่ อ ยู ใ นข า ยป ญ หา 198 จุด วิกฤตที่ ทส. ถือเปนงานเฉพาะกิจ โดยเฉพาะโครงการสวนปา วัดจันทร อ.แมแจม จ.เชียงใหม พื้นที่สหกรณนิคมกระเสียว อ.ดานชาง จ.สุพรรณบุรี นิคมสหกรณหวยขมิ้น จ.สุพรรณบุรี และการบุกรุกที่ดินในฝง ทะเลอันดามัน “หลังการทําแนวเขตปาเสร็จสิ้นจะทําใหเกิดความชัดเจนเรื่องพื้นที่ปา อนุรักษทุกประเภทที่ตรงกับขอมูลปจจุบันมากที่สุด” อุดม ระบุ ทวาในมุมมองของ สุรพล ดวงแข ประธานเครือขายสิ่งแวดลอม กลับเห็นตางกันอยางสิ้นเชิงวา การทําแนวเขตที่ดินตามนโยบายของรัฐมนตรี ทส. โดยใชเงินจํานวนมหาศาลครั้งนี้ คงไมสามารถแกปญหาบุกรุกที่ดิน ได เพราะมีความไมชัดเจนมาตั้งแตตน ทําใหหลักเขตที่รัฐเคยขีดเสนคลุม พื้นที่ของชาวบานไวแลวเกิดการไมยอมรับ จนกลายเปนความขัดแยงขึ้นทั่ว ประเทศ “เรื่ อ งนี้ มี ค วามละเอี ย ดอ อ นและซั บ ซ อ นมากเกิ น กว า จะอ า งว า นํ า เทคโนโลยีจากภาพถายทางอากาศมาตรวจพิสูจน เชื่อวาปญหาจะตามมา เปนลูกโซ ขณะที่ในชวงหลายปกอนทส. ก็เคยใชงบกวา 300 ลานบาททํา โครงการสํารวจแนวเขตและฐานขอมูลทรัพยากรที่ดินของรัฐครอบคลุมเกือบ ทั่วประเทศ แตก็แกปญหาอะไรไมได” “ที่ผานมากรณีทําถนนรอบพื้นที่เขาใหญเพื่อเปนแนวเขต แตพอไปรังวัด เมื่อปลาจะกินดาว 10 42


และกันพื้นที่ออกไปแทนที่จะไดพื้นที่เพิ่ม แตกลับตองเสียพื้นที่ใหนายทุน และผูมีอิทธิพลในพื้นที่จากการติดสินบนเจาหนาที่ ทส. จะมีมาตรการไหนที่ รองรับความเสี่ยงจากการหาผลประโยชนในการทําแนวเขตที่ดินทั่วประเทศ ใน ถาเกิดปญหาขึ้นรัฐมนตรี ทส. ตองแสดงความรับผิดชอบจากการนํา เงินกองทุนสิ่งแวดลอมมาใชแลวไมสําเร็จหรือไม” นักอนุรักษ ระบุ เม็ดเงิน 2,200 ลานบาท ที่ถูกคาดหวังใหเปน “เครื่องมือไฮเทค” ยังคงอยูระหวาง ทางวาจะใชเปนคําตอบไดจริงหรือไม

‘โฉนดชุมชน’ประชานิยมรัฐบาลมารค เดือนกรกฎาคม ป 2553 รัฐบาลอภิสิทธิ์ ไดสงนายสาทิตย วงศหนองเตย รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี ผลักดันโครงการโฉนดชุมชน หนึ่งใน นโยบายดานที่ดินที่รัฐบาลจะซื้อใจชาวบานที่ไรที่ดินทํากิน “โฉนดชุมชน” ภายใตแนวคิดทีจ่ ะใหสทิ ธิของชุมชนในการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ตามมาตรา 66 ของกฎหมายรัฐธรรมนูญ กลาวคือ เปนสิทธิรวมของชุมชนในการจัดการ การครอบครอง และการใชประโยชน จากที่ดิน แตไมไดใหสิทธิ์การครอบครอง ปจจุบัน นายสาทิตย ในฐานะประธานคณะกรรมการประสานงานเพื่อ จัดใหมีโฉนดชุมชน เปดเผยวา ไดอนุมัติใหคณะทํางานสํารวจและตรวจสอบ พื้นที่ในการจัดใหมีโฉนดชุมชน สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีจํานวน 4 ชุด ซึ่งประกอบดวยชุดจากภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และชุดภาคใต ลงพื้นที่ปฏิบัติงาน ในชวงวันที่ 1 - 22 กันยายน 2553 โดย คณะทํางานดังกลาวมีผูแทนจากสวนราชการที่เกี่ยวของ และตัวแทนภาค ประชาชนเขารวม คณะทํางานชุดนี้จะลงพื้นที่ชี้แจงนโยบายการกระจายการถือครองที่ดิน ใหแกเกษตรกรเพื่อทํากินและที่อยูอาศัยในรูปแบบโฉนดชุมชน ดําเนินการ สํารวจและเก็บขอมูลของชุมชนที่สอดคลองกับระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการจัดโฉนดชุมชน พ.ศ. 2553 รวมทั้งรวบรวมขอมูลเอกสารหลักฐาน ตางๆ ของชุมชน ซึ่งประกอบดวยตําแหนงที่ดิน ประเภทที่ดิน และการใช ประโยชนในที่ดินดังกลาว จากนั้นจะสรุปเสนอคณะอนุกรรมการสํารวจและ ตรวจสอบพื้นที่ในการจัดใหมีโฉนดชุมชนพิจารณาตอไป

เมื่อปลาจะกินดาว 10 43


‘บานตระ’ เทือกเขาบรรทัด นํารองโฉนดชุมชน เรวัตร อินทรชว ย ชาวบาน ตระ ต.ปะเหลียน จ.ตรัง สมาชิก เครือขายปฏิรปู ทีด่ นิ เทือกเขาบรรทัด ชีใ้ หดแู ผนทีโ่ บราณอายุราว 300 ป ทีท่ าํ ขึน้ ตัง้ แตสมัยอยุธยาตอนกลาง แตตอ มาในป 2457 กรมแผนที่ไดจัด ทําแผนที่ขึ้น และแสดงแผนที่บานตระ ในระวางที่ 2.47.4.9 ถือเปนหลัก ฐานชิ้นสําคัญที่แสดงวาบานตระ เปนหมูบานมีความสําคัญมาตั้งแตอดีต จากชื่ออยูในแผนที่โบราณฉบับนี้ และยังแสดงใหเห็นวาชุมชนแหงนี้อยูมา

เมื่อปลาจะกินดาว 10 44


กอนถูกประกาศเปนเขตรักษาพันธุสัตวปาเทือกเขาบรรทัด “ถาดูจากแผนที่โบราณชุมชนบานตระ อยูทางทิศตะวันออกของ เทือกเขาบรรทัด ซึ่งสวนใหญเปนที่ราบหุบเขา มีความอุดมสมบูรณ ชาวบานที่นี่อยูกันมา 100 ปแตยังยึดอาชีพดั้งเดิมคือ ทําสวนยาง สวน ผลไมจําพวกเรียน มังคุด สะตอ บานผมมีพื้นที่ 20 ไรในหมู 2 และอยู ใจกลางเทือกเขาบรรทัดก็จริง ก็ทําสวนยางผสมกับสวนผลไมเปนหลัก ไมไดขยายพื้นที่เพิ่มเติม มีแตจะรวมตัวกันดูแลปามาตั้งแต 10 ปที่แลว ซึ่งแมจะดูแลปากันแตก็ยังโดนรัฐจับอยูเรื่อยๆ ทําใหชาวบานเห็นวาถึง เวลาที่จะตองเรียกรองสิทธิในการดูแลปาดวยการทําเปนโฉนดชุมชน ครอบคลุมพื้นที่ 3000 ไร เสนอไปยังรัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ดูแลโครงการนี้” เรวัตร บอกอีกวา ขณะนี้ไดรวมกันจัดทําโฉนดชุมชนบานตระ โดย การสํารวจขอบเขตพื้นที่ทําขอมูลประวัติการถือครองและใชประโยชน ที่ดิน รวมทั้งประวัติของชุมชน รวมกับสมาชิกอีก 70 ครัวเรือนใน 10 หยอมบาน ครอบคลุมพื้นที่ปาชุมชน 5 แหงรวมพื้นที่ 200 ไร มีแมน้ํา 7 สาย รวมทั้งมีกติกาจัดการปา เชน หามทําลายปาสมบูรณ หามลาสัตว ที่กําลังสูญพันธุ และลาเพื่อการคาอยางเด็ดขาด ปลูกปาทดแทน สวน การจัดการที่ดิน เชน หากจะโคนยางพาราที่หมดสภาพเพื่อปลูกทดแทน ใหโคนปละไมเกิน 5 หยอมบานละไมเกิน 10 ไรและตองไมเปนแปลงติด กัน นอกจากนี้ยังมีการกองทุนธนาคารที่ดิน เพื่อควบคุมใหมีการเปลี่ยน มือที่ดินเฉพาะภายในชุมชนและใชที่ดินเพื่อทําการเกษตรเปนตน ขอมูลจากเครือขายปฏิรูปที่ดินเทือกเขาบรรทัด ระบุวา บานตระ อ. ปะเหลียน จ. ตรัง ชุมชนบานทับเขือ-ปลักหมู เขตรอยตอ จ. ตรัง และ พัทลุง และชุมชนบานลําขนุน ต.นาชุมเห็ด จ.ตรัง ซึ่งมีชาวบานจํานวน 22 ราย ที่ถูกฟองรองคดีโลกรอน เนื่องจากการประกาศเขตอนุรักษทับ ซอนพื้นที่ชุมชน ไดแก ปาสงวนแหงชาติ ในป 2507 และป 2510 เขต รักษาพันธุสัตวปาเทือกเขาบรรทัด ในป 2518 และอุทยานแหงชาติเขา ปู-เขายา ในป 2525 สงผลใหชาวบานที่เคยทําอาชีพสวนยาง สวนผล เมื่อปลาจะกินดาว 10 45


ไมบนเทือกเขาบรรทัด ถูกฟองรองในขอหาบุกรุก และตามมาดวยโลก รอนมาอยางตอเนื่องตั้งแตป 2548 คือ 3 พื้นที่นํารองโครงการ “โฉนด ชุมชน” “ชาวบานที่นี่ไมไดเรียกรองเพื่อครอบครองเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน แต หากทําเปนโฉนดชุมชน ชาวบานก็จะชวยกันดูแล ที่ดินก็ยังอยู เปนการ ปองกันการเปลี่ยนมือไปอยูกับนายทุน โดยขั้นตอนการประกาศโฉนด ชุมชนในพื้นที่ 3 แหงในเทือกเขาบรรทัด คาดวาอยางชาภายในเดือน ตุลาคมนาจะรูคําตอบ วิธีนี้จะเปนทางออกที่ทําใหชาวบานไมตองถูกรัฐ ฟองรองในคดีโลกรอนอยางไมเปนธรรม” บัณฑิตา อยางดี กองเลขาเครือขายปฏิรปู ทีด่ นิ เทือกเขา บรรทัด ใหขอ มูลพรอมขยายความวา กรณีทบ่ี า นตระไดเขาไปสํารวจ พืน้ ทีท่ ช่ี าวบานโดนขอหาบุกรุกและฟองรองโลกรอน ทําใหพบขอเท็จจริง ในเชิงพืน้ ที่ วิถชี วี ติ และการทํากินของชาวบานวาไมไดทาํ ใหเกิดความ เสียหายตอดิน น้าํ ปาและทรัพยากรอยางทีร่ ฐั ยัดเยียดความผิดให เฉพาะ บานตระทีส่ วนสมรมมีความหลากหลายของพันธุพ ชื คอนขางมาก พบตน ทุเรียนชือ่ ขมิน้ อายุมากถึง 113 ป และยังไมใชทเุ รียนตนแรกทีป่ ลูกขึน้ ใน หมูบ า นนี้ ขณะที่ตนยางรุนสองอายุระหวาง 60-100 ปราว 1300 ตน ตน ลางสาด มะมุด สะตอ ที่ปลูกมาเทียบเทาอายุคน จึงขอบอกวาถึงเวลา ที่กรมปาไม กรมอุทยานฯ ตองทบทวนการฟองรองชาวบานดวยขอหานี้

เมื่อปลาจะกินดาว 10 46


บรรณานุกรม 1. งานเวทีเสวนาประชาชน “การจัดการที่ดินเพื่อการทํากิน : ปญหาและทางออก” วันที่ 24 มิถุนายน ที่ตึกสันติไมตรี ทําเนียบรัฐบาล จัดโดยศูนยบริการประชาชน สํานักงานปลัด สํานักนายกรัฐมนตรี 2. เสวนาผาทางตัน ขอพิพาทที่ดินทํากินในเขตปา วันที่ 7 มิถุนายน 2553 จัดโดยชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม 3. ลงพื้นที่เขายายเที่ยงวันที่ 13 พฤษภาคม 2553 4. งานสัมมนาโครงการเรงดวนเพื่อดําเนินการแกไขปญหาบุกรุก ทําลายทรัพยากรปาไมของประเทศ เพื่อพัฒนาระบบฐาน ขอมูลแนวเขตที่ดินของรัฐ จัดโดยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม วันที่ 18 มิถุนายน 2553 5. สัมภาษณอุดม จันทรสุข ผอ.วันที่ 13 กรกฎาคม 2553 6. สัมมนาโครงการเวทีสาธารณะ คดีคนจน วันที่ 19 กรกฎาคม 2553 ที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 7. รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาแกไขปญหา ที่ดินทํากิน กฎหมายเกี่ยวกับที่ดิน และเรงรัดออกเอกสารสิทธ แกประชาชน สภาผูแทนราษฎร จาก ดร.อิทธิพล ศรีเสาวลักษณ

เมื่อปลาจะกินดาว 10 47


สิ่งแวดลอมศึกษา...ทิศทางการพัฒนา อยางยั่งยืน เกื้อเมธา ฤกษพรพิพัฒน

เมื่อปลาจะกินดาว 10 48


หากพูดถึงปญหาภาวะโลกรอนสักเมื่อ 10 ปกอน คงเปนเพียง ประเด็นสนทนากันในวงประชุมวิชาการและกลุมคนที่สนใจเพียงหยิบมือ หลังจากความสําเร็จของหนังสารคดีเรื่อง An Inconvenient Truth ที่เขา ฉายในบานเราเมื่อป 2549 คําวา “โลกรอน” ก็กลายเปนคํายอดฮิตติดปาก เปนหัวขอพูดคุยกันทั่วไป ทั้งในตลาดสดยันหองเรียน เกิดการรณรงคอยาง แพรหลายที่พบเห็นไดทั้งตามถนนหนทางและหนาสื่อ ผูคนจํานวนมากเกิด ความตืน่ ตัวพากันหิว้ ถุงผาเพือ่ ลดโลกรอน บริษทั หางรานและหนวยงานตางๆ ก็พากันสัง่ ทําถุงผากระหน่าํ ขายกระหน่าํ แจก หลายคนหันมาใสเสือ้ ยืดจําพวก “save the planet” เพื่อแสดงออกถึงหัวใจรักโลก มีการจัดคอนเสิรตรื่นเริง เพื่อปลุกจิตสํานึก ดารานักแสดงและหลากหลายองคกรหันมาเชิญชวนให รวมมือกันปลูกตนไมคนละไมคนละมือ ชวยกันประหยัดน้ํา ประหยัดไฟ ขี่จักรยาน และจิปาถะ แมชั่วพริบตา สังคมไทยจะตื่นตัวกับวิกฤตการณระดับโลก จนบางคนก็ ถึงกับตื่นกลัววาโลกจะแตก แผนดินจะจมอยูใตน้ํา ทวาคําถามที่ตามมาก็คือ วาพลเมืองไทยเรียนรูและเขาใจปญหาภาวะโลกรอนเพียงใด แลวสิ่งที่กระทํา กันนั้น มันนําไปสูการแกไขหรือเพียงพอที่จะรับมือกับปญหาภาวะโลกรอน หรือไม เมื่อปลาจะกินดาว 10 49


รศ.ประสาน ตังสิกบุตร รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัย เชียงใหม เห็นวา ปรากฏการณที่เกิดขึ้นนั้นเปนเพียงกระแส การเรียนรู ปญหาภาวะโลกรอนของสังคมไทย ยังมองแทบไมเห็น “พอพูดถึงปญหาโลกรอน คนก็จะบอกวาใหปลูกตนไม ใหขี่จักรยาน ให ประหยัดน้ําประหยัดไฟ แตกิจกรรมที่จัดขึ้นนั้นไดสะทอนถึงความคิดเบื้อง หลังไหมวาทําไมถึงตองทําอยางนั้น ภาษาเหนือเรียกวางานปอย หรืองาน ชาง จัดเพื่อโปรโมต แลวก็หายไป เดี๋ยวหนหนาคอยวากันใหม เผลอๆ กระตุน ใหเกิดการใชทรัพยากรมากกวาเดิม ลงทุนจัดงานตั้งมากมาย ผลสุดทายสิ้น เปลืองพลังงาน ขยะเกลื่อนกลาดไปหมด” เชนเดียวกับงาน “สิ่งแวดลอมศึกษา” ซึ่งเปนกระบวนการเรียนรูที่มีเปา หมายเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคมใหอยูรวมกับสิ่งแวดลอมไดอยางสมดุล และถูก คาดหวังวาจะเปนเครื่องมือในการแกไขปญหาสิ่งแวดลอม ทวาก็ตกที่นั่งไม แตกตางกันนัก เพราะถึงแมแนวคิดเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษาจะกอรูปในเวทีโลก มาไมต่ํากวา 40 ป และไดรับการเผยแพรในประเทศไทยมายาวนานไลๆ กัน ก็ตาม แตก็ยังไมสามารถเปนเครื่องมืออันทรงประสิทธิภาพในการสรางทักษะ การเรียนรูและแกไขปญหาใหกับสังคมไทยได แน น อนว า ปฏิ กิ ริ ย าของสั ง คมไทยต อ ป ญ หาภาวะโลกร อ นเป น ภาพ สะทอนไดอยางดี

อะไรคือสิ่งแวดลอมศึกษา เมื่อพูดถึงคําวาสิ่งแวดลอมศึกษาในสังคมไทย คนสวนใหญมักนึก กิจกรรมคัดแยกขยะในโรงเรียน ทําน้ําหมักชีวภาพ รณรงคประหยัดน้ํา ประหยัดไฟ การพาเด็กนักเรียนไปเขาคาย ไปเดินปา หรือไมก็การเรียนเรื่อง สิ่งแวดลอมรอบตัวในชั้นโรงเรียน เหตุผลสําคัญที่ทําใหภาพสิ่งแวดลอม ศึกษาติดกับดักของโรงเรียน นั่นเพราะการเขามาของแนวคิดจากตะวันตกนี้ ในระยะแรกเปนการเขามาขายไอเดียผานสถาบันการศึกษา ไมวาในโรงเรียน หรือในมหาวิทยาลัย แลวละเลยภาคสวนที่สําคัญ คือภาคประชาชน มัทนา ถนอมพันธุ กรรมการนโยบายองคการกระจายเสียงและ แพรภาพสาธารณะแหงประเทศไทย (ทีวีไทย) และอดีตเลขาธิการมูลนิธิ เมื่อปลาจะกินดาว 10 50


สรางสรรคไทย (ตาวิเศษ) เลาถึงการเผยแพรแนวคิดเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษา ของประเทศไทยในยุคแรกๆ เมื่อประมาณตนพุทธทศวรรษที่ 2530 วา เริ่มตน จากการที่องคกรยูเสดของสหรัฐอเมริกาใหทุนสนับสนุนรัฐบาลไทย ประมาณ 40 ลานเหรียญสหรัฐ แนวคิดในขณะนั้นตองการจะเอาสังคมไทยเปนตัวเอื้อ ชุดแนวคิดของอเมริกา ไมวาจะเปนเรื่องการลงทุน เรื่องประชาธิปไตย หนึ่ง ในนั้นคือการนําเรื่องสิ่งแวดลอมมาเปนตัวขับเคลื่อนเรื่องเศรษฐกิจและสังคม และใชเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษาเปนตัวเดินหมากผานกระทรวงศึกษาธิการของ ไทย “ตอนนั้นอเมริกาคิดวาตัวเดินหมากนาจะเปนเสนาธิการทางความคิด เพื่อที่จะปลูกฝงคนรุนใหม แตเขาไมรูวาเสนาธิการของสังคมไทยมันเชยมาก การใชกระทรวงศึกษาธิการเปนตัวเดินหมาก มันเลยจมอยูตรงนั้น งานสวน ใหญ เงินสวนใหญ เปนเรื่องการสงคุณครูไปดูงานเมืองนอก ทําหลักสูตร มี การขับเคลื่อนผานกลุมที่อยูนอกกระทรวงศึกษาธิการเพียงนิดหนอย ทําใหคํา วาสิ่งแวดลอมศึกษาถูกฝงหัววาตองอยูในหองเรียน” อันที่จริง สิ่งแวดลอมศึกษาไมใชการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม และก็ ไมใชการเรียนการสอนในชั้นเรียน แตถูกยกระดับใหเปนเครื่องมือในการแกไข ปญหาสิ่งแวดลอมมาตั้งแตคราวประชุมระดับนานาชาติเรื่อง “สิ่งแวดลอม ของมนุษย” ที่กรุงสต็อกโฮลม ประเทศสวีเดน เมื่อป 2515 สามปถัดมา มีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการสิ่งแวดลอมศึกษาขึ้นที่เมือง เบลเกรด ประเทศยูโกสลาเวีย ที่ประชุมในครั้งนั้นเห็นวา การเติบโตทาง เศรษฐกิจและเทคโนโลยีไดสรางปญหาสังคม สิ่งแวดลอม และความไมเทา เทียมระหวางคนรวยกับคนจนใหถางออกมากขึ้น ดังนั้นจึงมีการเสนอวาควร มีการปฏิรูปแนวทางการศึกษาทั้งระบบ โดยกําหนดเปาหมายของสิ่งแวดลอม ศึกษาไววา เพื่อพัฒนาประชากรโลกใหมีจิตสํานึกและหวงใยสิ่งแวดลอม มี ความรู ทักษะ เจตคติ ความตั้งใจจริง และความมุงมั่นในการแกไขปญหาที่ เผชิญอยู และปองกันปญหาใหม ทั้งดวยตนเองและรวมมือกับผูอื่น ในป 2520 การประชุมระหวางประเทศเรือ่ งสิง่ แวดลอมศึกษาทีเ่ มืองทบิลซิ ี ประเทศสหภาพโซเวียต ทีป่ ระชุมไดตอกลิม่ ทางความคิดชัดอีกครัง้ วา สิง่ แวดลอม เมื่อปลาจะกินดาว 10 51


ศึกษาไมใชเรื่องเกี่ยวกับธรรมชาติ แตเปนเรื่องที่สัมพันธกับสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการเมือง หากจะแปลความอยางงายๆ ผศ.อรรถพล อนันตวรสกุล อาจารย ประจําคณะครุศาสตร และในฐานะผูอ าํ นวยการศูนยวจิ ยั และพัฒนาการ ศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อธิบายวา สิ่งแวดลอมศึกษาเปนกระบวนที่จะชวยทําใหบุคคลเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม โดยเอาประเด็นสิ่งแวดลอมมาเปนหัวขอในการเรียนรู หัวใจของสิ่งแวดลอม ศึกษา คือการเรียนรูเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม เพื่อสิ่งแวดลอม และตองมีมุมมอง ที่เชื่อมโยงเรื่องสิ่งแวดลอมกับสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการเมือง เขาดวยกัน ดังนั้นสิ่งแวดลอมศึกษาจึงไมใชเปนการเรียนรูแคในโรงเรียน แต เปนการเรียนรูนอกหองเรียน หรือในชีวิตประจําวันก็ได ครัน้ ในป 2535 มีการจัดประชุมสิง่ แวดลอมทีส่ รางแระสะเทือนไปทัว่ โลก นัน่ คือการประชุมวาดวยสิง่ แวดลอมและการพัฒนา ทีก่ รุงริโอ เดอ จาเนโร ประเทศ บราซิล การประชุมในครัง้ นัน้ ไดหยิบยกแนวคิดเรือ่ งการพัฒนาทีย่ ง่ั ยืนมาเปน แกนหลักของการพูดคุย โดยในการประชุมตอเนือ่ งทีเ่ มืองโตรอนโต ประเทศ แคนาดา เรือ่ งการศึกษากับการสือ่ สารเกีย่ วกับสิง่ แวดลอม ไดมคี วามพยายาม ปรับบทบาทของสิง่ แวดลอมศึกษาใหมใหเปนไปเพือ่ การพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน หรือทีใ่ ช คําวา “การศึกษาเพือ่ การพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน” (Education for Sustainable Development) และมองวาการพัฒนาอยางยัง่ ยืนจะเกิดขึน้ ได สังคมจะตองเขาใจและ สนับสนุน ดังนัน้ จึงตองมีบรู ณาการการศึกษาเพือ่ การพัฒนาทีย่ ง่ั ยืนเขาไปใน ทุกภาคสวนของสังคม และในปลายป 2545 ทีป่ ระชุมสหประชาชาติกม็ มี ติใหป 2548 - 2557 เปน “ทศวรรษแหงการศึกษาเพือ่ การพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน” โดยมีความ มุง หมายใหมกี ารบูรณาการหลักการ คานิยม และแนวทางการพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน ในทุกสวนของการศึกษาเรียนรู ใหนาํ ไปสูก ารสรรคสรางพฤติกรรมทีก่ อ ใหเกิด ความยัง่ ยืน ทัง้ ดานสิง่ แวดลอม เศรษฐกิจ และความยุตธิ รรมในสังคมสําหรับ คนรุน ปจจุบนั และอนาคต ผศ.อรรถพล เห็นวา การขยับตัวของแนวคิดเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษา สะท อ นให เห็ นถึ ง สถานการณ ข องสั ง คมโลกว า เต็ ม ไปด ว ยความขั ด แย ง เมื่อปลาจะกินดาว 10 52


ในการใชทรัพยากร ชองวางระหวางคนรวยกับคนจน ปญหาตางๆ อีกมากมาย ทั้งเรื่องสตรีและเด็ก ปญหาสิทธิมนุษยชน ปญหาเรื่อง วัฒนธรรม เปนตน แนวคิดที่วานี้จึงเชื่อมโยงเรื่องสิ่งแวดลอมกับมิติตางๆ ที่หลากหลาย และไมไดมีเปาหมายเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมรายบุคคล อีกตอไป แตเปนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลเพื่อใหอยูรวมกัน ในสังคม “สิ่งแวดลอมศึกษาไมใชการใหความรูเรื่องสิ่งแวดลอม แตคือเรื่องการ ถักทอชุมชนคนทํางานรวมกัน ทําใหเกิดความยั่งยืน เกิดสิ่งแวดลอมที่ดีกวา พลังของสิ่งแวดลอมศึกษาเปนกระบวนการในการเปลี่ยนแปลงคน โดยไมใช การทํางานคนเดียว แตเปนการทํางานรวมกับคนอื่น ไมโดดเดี่ยว ตองหา เพื่อนรวมทางใหได แลวถักทอมาเปนเครือขายทางสังคม” ดาน รศ.ประสาน ก็มีความคิดเห็นที่ไมแตกตางกันนัก โดยมองวาสิ่ง แวดลอมศึกษาเปนกระบวนการที่พยายามสรางทักษะชีวิตเพื่อการพึ่งตนเอง อยางพอเพียง ฉะนั้นถาสรางบุคคลภายใตแนวคิดนี้ นั่นคือปลายทางของสิ่ง แวดลอมศึกษา สิ่งแวดลอมศึกษาจึงไมใชการพัฒนาความรูหรือระบบการ ศึกษา ไมใชการเรียนวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม แตเปนการสอนกระบวนการ คิด เปนการพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อการอยูในโลกอนาคตไดอยางยั่งยืน นั่นคือ เมื่อไมวาจะเกิดอะไรก็ตาม เขาจะไดใชกระบวนการคิดเขาไปเรียนรูวาปญหา คืออะไร มีทางเลือกในการแกไขอะไรบาง และจะตองแกไขอยางไร โดยจะ ตองยึดโยงความรวมมือกับใครบาง “เราไมรูวาในอนาคตน้ําสะอาดจะมีเพียงพอหรือไม พลังงานจะหมดไป เมื่อไร จะเกิดแผนดินไหวตอนไหน สิ่งแวดลอมศึกษาจะเปนเครื่องมือในการ สรางทักษะชีวิตใหกับมนุษยในการเอาตัวรอดภายใตขอจํากัด” รศ.ประสาน ระบุ

สิ่งแวดลอมศึกษาภายใตกับดักการศึกษาไทย ในป 2540 มีการปฏิรปู การศึกษาเกิดขึน้ หลังจากนัน้ มีการประกาศใช พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และแกไขเพิม่ เติมในป 2545 เจตนารมณ ของการปฏิรปู การศึกษานัน้ ตองการจะปฏิรปู การเรียนรูใ หเทาทันกับสภาพ เมื่อปลาจะกินดาว 10 53


ความเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และความเจริญกาวหนาทางวิทยาการ ดานตางๆ ของโลกยุคโลกาภิวัตน พรอมกับคํานึงถึงสภาพความตองการที่แท จริงของสถานศึกษาและทองถิ่น ทั้งนี้ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 ภายใตพ.ร.บ.การศึกษา แหงชาติ ไดระบุเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมศึกษาโดยใหกําหนดสาระและมาตรฐาน การเรียนรูไวในกลุมวิชาตางๆ โดยเฉพาะกลุมวิทยาศาสตร กลุมสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมสุขศึกษาและพลศึกษา นอกจากนี้ ยังใหสถาน ศึกษากําหนดสัดสวนสาระการเรียนรูทองถิ่นรอยละ 30 เงื่อนไขนี้เองทําให เกิดรายวิชาหลักสูตรทองถิ่น ตามมาดวยการเรียนรูทั้งในหองเรียนและนอก หองเรียนที่หลากหลายขึ้น เชน สํารวจลําน้ํา ศึกษาระบบนิเวศของปาไม ปา ชายเลน เรียนรูวิถีเกษตร เปนตน ผศ.อรรถพล เลาวา ผลจากการทีร่ ะบุวา สิง่ แวดลอมศึกษาในระดับการ ศึกษาขัน้ พืน้ ฐานตองเปนการเรียนรูแ บบบูรณาการ ไมไดเกาะกับรายวิชาใดวิชา หนึง่ ก็เลยเกิดคําถามวาใครจะเปนคนสอน เปนหนาทีข่ องครูวชิ าอะไร แลว ครูเหลานัน้ ตองสอนอะไร สวนทีค่ ณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ซึง่ ในขณะนั้นกําลังจะเปดวิชาเอกดานสิ่งแวดลอมศึกษาในระดับปริญญาตรีก็ เลยตองพับโครงการไป และกลายเปนวาสิง่ แวดลอมศึกษาไมมที ย่ี นื ในระดับ ปริญญาตรี ในขณะทีม่ ขี อ จํากัด ผศ.อรรถพล ก็มองวามีโอกาสทาทายแฝงอยู นัน่ คือ การเปดโอกาสใหโรงเรียนสรางหลักสูตรทองถิ่น ก็ทําใหเกิดหัวขอการเรียนรู ใหมๆ ขึน้ มากมาย โดยบางสวนเปนผลจากการทีอ่ งคกรภายนอกนําเขาไป เชน โครงการรุง อรุณทีเ่ ปนการบูรณาการการเรียนการสอนดานพลังงานโดยสถาบัน สิ่งแวดลอมไทย กระบวนการนักสืบสายน้ําโดยมูลนิธิโลกสีเขียว กิจกรรม อนุรกั ษลมุ น้าํ เจาพระยากับตาวิเศษของมูลนิธสิ รางสรรคไทย เปนตน ขณะทีบ่ างสวนก็เกิดจากการพัฒนาหลักสูตรขึน้ ในโรงเรียน เชน การเรียน รูผ า นระบบนิเวศในนาขาวของโรงเรียนใน จ.นครสวรรค เมือ่ หนวยงานภาครัฐ ไปเจอ เอ็นจีโอไปเจอ ก็จะมาเลาตอ มาพัฒนา มาขยายผล อยางไรก็ตาม หากมองในภาพรวม การบูรณาการสิ่งแวดลอมศึกษา เมื่อปลาจะกินดาว 10 54


เขาไปในหลักสูตรการศึกษาและกลุมสาระการเรียนรูอยางเปนระบบที่ตอ เนื่องยังถือวาเกิดขึ้นนอยมาก และสภาพการจัดการเรียนการสอนสิ่งแวดลอม ก็ไมแตกตางมากนักจากยุคกอนการปฏิรูปการศึกษา จากรายงาน “ถอดรหัสสิง่ แวดลอมศึกษาในโรงเรียนจากงานวิจยั ” จัดทํา โดยกรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอมในป 2549 โดยสํารวจสถานศึกษาทัง้ สิน้ 11,664 แหง พบวา รอยละ 76 มีนโยบายดานสิง่ แวดลอมและสิง่ แวดลอมศึกษา และเกือบกึ่งหนึ่งของสถานศึกษาใชงบประมาณของตนเองในการจัดการเรียน การสอน รวมทัง้ กิจกรรมดานสิง่ แวดลอมและสิง่ แวดลอมศึกษา ขอมูลนี้ชี้ใหเห็นวา ในเชิงปริมาณแลว สถานศึกษาสวนใหญใหความ สําคัญกับเนื้องานดานสิ่งแวดลอมและสิ่งแวดลอมศึกษา แตในเชิงคุณภาพ กลับพบวา มักเนนเพียงการสอนเรื่องสิ่งแวดลอมสอดแทรกเขาไปในวิชาเรียน ปกติ เชน วิชาวิทยาศาสตร วิชาสังคมศึกษา วิชาศาสนาและวัฒนธรรม หรือ ไมก็เปนไปในลักษณะทํากิจกรรมของชุมนุม เชน กิจกรรมของลูกเสือ-เนตร นารี เปนตน หรือในอีกลักษณะหนึ่ง ก็มักเกิดจากหนวยงานราชการหรือ องคกรพัฒนาเอกชนที่เขามาทําโครงการในโรงเรียนเปนคราวๆ ไป แตการ จัดการเรียนการสอนในลักษณะสรางหลักสูตรทองถิ่นยังมีนอย มิพักตองพูดถึงการสรางกระบวนการเรียนรูเกี่ยวกับประเด็นสถานการณ สิ่งแวดลอมในชุมชนดวยประสบการณตรงอยางลึกซึ้งและพัฒนาทักษะการ วิเคราะหทางเลือกเพื่อแกไขปญหา งานสิ่งแวดลอมศึกษาในลักษณะนี้ พบวา ยิ่งมีนอยมาก ซ้ํารายมีโรงเรียนจํานวนไมนอยที่มุงเนนใหความสําคัญกับการ พัฒนาสิ่งแวดลอมทางกายภาพ เชน การจัดสภาพแวดลอมในโรงเรียนและ จัดภูมิทัศนใหเขียว สะอาดและสวยงาม โดยเขาใจเอาวาเปนภาพสะทอน ความสําเร็จของงานสิ่งแวดลอมศึกษา ทวาละเลยการจัดกระบวนการเรียนรู อันจะนําไปสูการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระยะยาว งานวิจัยชิ้นนี้ยังระบุถึงอุปสรรคของการดําเนินงานสิ่งแวดลอมศึกษา ในโรงเรียนดวยวา เปนเพราะสิ่งแวดลอมศึกษาเปนนโยบายนามธรรมที่ขาด แนวทางและวิธีปฏิบัติอยางเปนรูปธรรมที่ชัดเจน อีกทั้งครูผูสอนขาดความรู ความเขาใจ และทักษะในการจัดการสิ่งแวดลอมศึกษา ประกอบมีภาระงาน เมื่อปลาจะกินดาว 10 55


มาก และขาดความรวมมือจากครูทั้งระบบโรงเรียน ทําใหการบูรณาการแบบ สหวิทยาการ และการจัดกิจกรรมนอกสถานที่เปนไปไดยาก เนนและใหความ สําคัญในการดูแลความปลอดภัยของนักเรียนในขณะทํากิจกรรมภาคสนาม นอกจากนี้ ครูยังขาดความรูในการใชแหลงขอมูล แหลงเรียนรูจากธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมใกลตัวมาสงเสริมการเรียนรูของนักเรียน รศ.ประสาน มองวา แทจริงแลวการปฏิรูปการศึกษาที่เกิดขึ้นยังคงไมใช การจัดการศึกษาเพื่อนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืน หากเปนเพียงการปฏิรูป อํานาจในการจัดการศึกษา “มันเปนเพียงแคการแบงสวนงาน จัดโนนจัดนี่ เอาเงินไปใส พูดถึงเรื่องอํานาจของคนที่จะไปดูแลในเรื่องการศึกษา แตเรื่อง การพัฒนาหลักสูตรและพัฒนาการเรียนรูมันไมอยูในกรอบของการปฏิรูป เลย ดังนั้นจึงไมใชเรื่องแปลกที่การศึกษาไทยไมไดกาวหนาไปไหน ฉะนั้น สิ่งแวดลอมศึกษาจึงเปนเหมือนหอกขางแคร มาแปะไวกับหลักสูตรทองถิ่น เพื่อไมใหหลุด แลวถามวาหลักสูตรทองถิ่นคืออะไร ที่ทํากันสวนใหญคือเอา ไปใสไวในวิชาสังคมศึกษา ประมาณ 3 หนวยการเรียนรู คือสัปดาหละ 3 ชั่วโมง แลวก็มีหนังสือเรียนออกมาวาบานฉันอยูที่ไหน มีแมน้ําอะไร มีผูใหญ บานเปนใคร เหมือนขอมูลเทศบาล สิ่งที่ควรจะเปน คือตองถามวา ทําไมบาน ฉันจึงยากจน ทําไมถนนถึงไดพัง ทําไมน้ําจึงมีไมเพียงพอ ทําไมถึงมีการใชยา

เมื่อปลาจะกินดาว 10 56


ฆาแมลงกันเยอะจัง” ในขณะที่บางโรงเรียนที่มีลักษณะการเรียนรูในหลักสูตรทองถิ่นที่แตก ตางหลายหลากออกไป รศ. ประสาน ก็ตั้งขอสังเกตวา เปนการเรียนรูที่ตอบ โจทยโลกความเปนจริงของสังคมหรือไม “อยางการใหนักเรียนทํานา ถามวาเปนเรื่องที่ดีไหม แนนอนวาเปนเรื่อง ที่ดี เด็กไดทดลองปลูกขาว มันสนุก เกิดความประทับใจ ไดรูจักวาการปลูก ขาวคืออะไร แตถาถามวาการเรียนรูเทานี้พอไหม คําตอบคือไมเพียงพอ แต ตองถามวาเมื่อเติบใหญเด็กเหลานี้จะปลูกขาวอยางนี้ตอไปไหม ดังนั้นเราจะ เตรียมคนเพื่อไปสูสังคมขางหนาไดอยางไร” “โรงเรียนไทยเปนตัวแทนอํานาจจากสวนกลาง เปนเหมือนกระโถนทอง พระโรง คือกิจกรรมทุกอยางของทุกกระทรวงทบวงกรม เมื่อหากลุมเปาหมาย ไมได ก็จะโยนเขามาที่โรงเรียน แทนที่โรงเรียนจะเปนแหลงเรียนรูเพื่อพัฒนา ทองถิ่นของตน ก็ตองตอบสนองนโยบายจากสวนกลาง หรืออยางการประกัน คุณภาพการศึกษาก็เปนตัวทําใหโรงเรียนตกอยูในกรอบ เพราะเปนการวัด จากคนขางนอก ดูที่ผลการเรียนการสอนเปนหลัก วัดดูจากเอกสาร ก็เลยเปน เหมือนละครที่ตกแตงเอกสาร” “ยิ่งเมื่อเขามหาวิทยาลัยแลวยิ่งไปกันใหญ เพราะมหาวิทยาลัยสอนแต เรื่องที่เปนอาชีพของฉัน อาชีพที่จะทําใหขึ้นไปอยูจุดสูงสุด มั่งคั่งสูงสุด ทําให วิธีคิดแบบบูรณาการหรือแกปญหาเชิงองคประกอบรวมกันมันหายไป คนจึง มองภาพซอนตางๆ ของปญหาไมเปน ไมสามารถเชื่อมโยงความสัมพันธของ มิติทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง และสิ่งแวดลอมเขาดวยกันได”

บทเรียนจากโรงเรียน ทามกลางวิกฤตสิ่งแวดลอมที่มีปญหาโลกรอนเปนหัวหอก หลายหนวย งานหันมาทํากิจกรรมและสงเสริมการเรียนรูในโรงเรียน ดวยหวังวาจะปลูก ฝงจิตสํานึกใหกับเด็กรุนใหมที่จะเติบโตเปนผูใหญในอนาคต โดยเฉพาะภาค ธุรกิจเอกชนที่มักตกเปนจําเลยสําคัญของสังคม โครงการโรงเรียนสรางสรรคสิ่งแวดลอมที่บริษัทเอเชี่ยนฮอนดา มอเตอร จํากัด ใหการสงเสริม เปนอีกหนึ่งตัวอยางที่ภาคธุรกิจเอกชนพยายามเขาไป เมื่อปลาจะกินดาว 10 57


สงเสริมใหเกิดงานสิ่งแวดลอมศึกษาขึ้นโรงเรียน โดยมีการคัดเลือกโรงเรียน เขารวมโครงการ สนับสนุนงบประมาณ แลวพยายามกระตุนใหเกิดการเรียน รูในเรื่องขยะ น้ํา และพลังงาน ดวยวิธีการนําครูและนักเรียนที่เปนตัวแทน โรงเรียนมาฝกอบรม ศึกษาดูงาน พูดคุยแลกเปลี่ยนความรู และสุดทายนําไป ลองปฏิบัติใชจริง ซึ่งโครงการดังกลาวดําเนินการมากวา 1 ทศวรรษแลว จีรนันท ชะอุมใบ เจาหนาที่มูลนิธิสรางสรรคไทย (ตาวิเศษ) ซึ่ง เปนองคกรที่ทําหนาที่ประสานงานใหกับโครงการ เลาถึงประสบการณที่พบ วา มีทั้งโรงเรียนที่ประสบความสําเร็จและทํากิจกรรมอยางตอเนื่อง จนกระทั่ง บางโรงเรียนสามารถบูรณาการกิจกรรมเขาไปในหลักสูตรการเรียนการสอน บางโรงเรียนประสบความสําเร็จในปที่เขารวมโครงการ แตหลังจากนั้นก็ขาด ความตอเนื่อง และก็มีอีกหลายโรงเรียนที่ไมประสบความสําเร็จ ดวยเหตุ ปจจัยที่หลากหลาย หากมองในภาพรวม จีรนันทยอมรับปญหาวา ยังคงมีโรงเรียนในโครงการ จํานวนมากทีท่ าํ ในลักษณะ “ก็อปปแ อนดเพสต” นัน่ หมายถึงเมือ่ ไปศึกษาดู งานมา ก็นาํ มาลอกเลียนใชในโรงเรียน “สิง่ ทีโ่ รงเรียนจะตองคิด คือตองตอบโจทยของตัวเอง ไมใชเหมือนกัน เดีย๊ ะ จะตองตอบวาโรงเรียนของตนมีปญ  หาอะไร จะแกไขแบบไหน ดวยวิธกี าร แบบไหน ปรับใชใหเหมาะกับพืน้ ที่ เชนถาพูดถึงเรือ่ งการบําบัดน้าํ และหมุนเวียน เพือ่ ใหเกิดการใชประโยชนสงู สุด มันทําไดหลายวิธี คือเราพาเขาไปดูงานทีแ่ หลม ผักเบีย้ ก็จริง แตแหลมผักเบีย้ มันเปนรูปแบบใหญ เพราะวาเขาบําบัดน้าํ เสีย ชุมชน แตถา เปนโรงเรียนก็ตอ งดูวา น้าํ เสียมีเยอะแคไหน เหมาะทีจ่ ะบําบัดแบบ ไหน ชนิดของพืชทีจ่ ะใชบาํ บัดน้าํ เสียก็อาจจะไมเหมือนกัน เพราะหลายโรงเรียน เมือ่ ไปลอกมาแลวมันใชไมได” เจาหนาทีม่ ลู นิธสิ รางสรรคไทยยกตัวอยาง ผศ.อรรถพล กลาววา ปญหาใหญประการหนึ่งคือครูจํานวนมากยังไม เขาใจเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษา และไมเขาใจปญหาของตนเอง อาจารยยกตัวอยางโรงเรียนแหงหนึ่งใน จ.เชียงรายซึ่งเขารวมโครงการ โรงเรียนสรางสรรคสิ่งแวดลอมที่ตนเคยไปประสบวา โรงเรียนนี้พบวาน้ําใน ลําธารที่อยูใกลโรงเรียนมีสาหรายเยอะ จึงไปดึงสาหรายขึ้นมาตากแหงทํา เมื่อปลาจะกินดาว 10 58


น้ําหมักชีวภาพ แลวคิดวานี่คือการแกไขปญหา โดยไมไดคิดวิเคราะหวา สาหรายจํานวนมากในลําธารเกิดจากอะไร พอกรรมการไปตรวจก็พบวาน้ํา ในลําธารไหลมาจากวัดที่มีการเลี้ยงปลาคารฟ ใชเปนจุดขายในดานการทอง เที่ยว แลวคนก็นิยมมาใหอาหารปลา ทําใหมีธาตุอาหารเยอะ สาหรายก็โต เร็ว ปรากฏวาเด็กนักเรียนตองทํางานกันหนัก ตองชักลอกสาหรายถึงเดือนละ 3 ครั้ง เพื่อนํามาตากแหง โดยเขาภูมิใจแลววาไดชวยแกปญหาสิ่งแวดลอม ซึ่งสะทอนวาเขาไมเขาใจปญหาและการแกปญหาไมตรงจุด ในขณะเดียวกันก็มีหลายโรงเรียนที่ประสบความสําเร็จในปที่เขารวม โครงการ แตหลังจากนั้นก็ขาดการทํางานตอเนื่อง โดยปญหาหนึ่งที่มักมีการ พูดถึงกันอยูเสมอๆ คือ การเปลี่ยนแปลงผูบริหารโรงเรียน ทําใหนโยบาย เปลี่ยน หรือไมครูแกนนํายายโรงเรียนไปสอนที่อื่น จีรนันท สะทอนวา โรงเรียนที่ประสบความสําเร็จ ครูและผูบริหารตอง ทํางานเปนทีม บางโรงเรียนถาผูบริหารสั่งการได แลวครูทําตามคําสั่ง งาน ก็เกิดขึ้นไดตามนั้น แตมันไมยั่งยืน หรือบางโรงเรียนครูตั้งใจทํางานมาก แต เมื่อเปลี่ยนผูบริหารโรงเรียน แลวผูบริหารคนใหมไมเอาดวย งานก็สะดุด หรือ ลมเลิกไปเลย บางโรงเรียนครูที่ทําโครงการก็เพื่อตองการผลงานเพื่อใชในการเลื่อน ตําแหนง หรือไมก็กําลังทําวิทยานิพนธ แลวทุมเทไปกับงานเอกสาร จนบาง ครั้งกระบวนเรียนรูไมเกิดขึ้นในตัวเด็ก แลวเมื่อโครงการเสร็จ ก็เลิกกันไป หรือ อยางบางโรงเรียนก็คิดแตจะทําโครงการเพื่อประกวด พอไดรางวัลแลวก็ไลลา หาโครงการใหมทํา งานสิ่งแวดลอมศึกษาจึงขาดความตอเนื่อง อยางไรก็ดี จีรนันทเห็นวาหากโรงเรียนสามารถบูรณาการกิจกรรมและ เนื้อหาสิ่งแวดลอมเขาไปในหลักสูตรได แมจะมีการเปลี่ยนแปลงผูบริหาร หรือบุคลากรในโรงเรียน งานสิ่งแวดลอมศึกษานั้นก็จะขับเคลื่อนไปได เชน โรงเรียนสา จ.นาน ที่ผูบริหารโรงเรียนยายไป แตก็ยังมีการดําเนินงานอยาง ตอเนื่อง ในขณะที่บทเรียนจากโครงการ Eco-school ของกรมสงเสริมคุณภาพ สิ่งแวดลอม ซึ่งสงเสริมใหโรงเรียนสามารถวิเคราะหและพัฒนาการบริหาร เมื่อปลาจะกินดาว 10 59


จัดการโรงเรียนไดทั้งระบบ เพื่อนําไปใชเปนเครื่องมือในการพัฒนาโรงเรียน ไปสูการใชทรัพยากรและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน ผศ.อรรถพล ในฐานะทีม พี่เลี้ยงที่รับผิดชอบดูแลโรงเรียนที่เขารวมโครงการในภาคกลาง เลาวา ถา เปนโรงเรียนขนาดใหญ ผูบริหารจะตองใหความสําคัญและผลักดันอยางเต็ม ที่ เพราะจะหวังใหครูจํานวนไมกี่คนทํานั้น ก็มีกําลังไมเพียงพอ สวนโรงเรียน ขนาดกลางและขนาดเล็ก ครูมักมีสวนสําคัญอยางมากในการริเริ่มและผลัก ดันงาน สําหรับกุญแจความสําเร็จ ผศ.อรรถพล มองวา โรงเรียนตองหาโจทยของ ตนเองใหเจอ โดยเริ่มจากปญหาที่มีอยู แลวพลิกปญหาใหเปนหัวขอการเรียน รูใหได โดยพิจารณาวาความรูเดิมที่จะนํามาใชในการจัดการเรียนรูคืออะไร อะไรที่ยังขาด แลวพยายามเติมชองวางตรงนั้น

เปลี่ยนชุมชนใหเปนเนื้อเดียวกับโรงเรียน ขอเคลือบแคลงทํานองนี้ที่มักเกิดขึ้นเสมอคือ เมื่อโรงเรียนสอนและให นักเรียนทํากิจกรรมแยกขยะในโรงเรียนแลว แตที่บานและสังคมกลับไมใสใจ หรือไมมีการจัดการกับขยะที่คัดแยกแลวอยางเปนระบบ สุดทายจะใหเด็ก เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไดอยางไร ผศ.อรรถพล เปรียบเปรยวา บางโรงเรียนคลายกับสังคม “ยูโทเปย” คือ มีการคัดแยกขยะ ไมใชถุงพลาสติก ใชกระทงใบตองขายผลไมใหกับเด็ก ใน โรงเรียนเปนเขตปลอดน้ําอัดลม ปลอดขนมกอบแกบ แตพอออกนอกโรงเรียน ก็ไมมีการแยกขยะ หนาโรงเรียนมีรานขายขนมกอบแกบเต็มไปหมด “สังคมก็ตองมีการปรับเปลี่ยนดวย” อาจารยประจําคณะครุศาสตร เมื่อปลาจะกินดาว 10 60


จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ชี้ หากมองโดยผิวเผิน “การเปลี่ยนแปลงสังคม” ดูจะเปนเรื่องเกินพละ กําลังของโรงเรียน ซึ่งในความเปนจริงหาไดเปนเชนนั้นเสมอไป เพราะใน หลายกรณีที่กระบวนการเรียนรูของเด็กนักเรียนไดกลายเปนแรงบันดาลใจให ทองถิ่นเกิดการเปลี่ยนแปลง ผศ.อรรถพล เลาถึงกรณีโรงเรียนเวียงปาเปา จ.เชียงราย โรงเรียนไดนํา เรื่องปามาเปนประเด็นในการเรียนรูของหลักสูตรทองถิ่น โดยไดรับความชวย เหลือจากคณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ในขณะนั้นครูก็ใหเด็กๆ ทําโครงงานออกไปสัมภาษณผูใหญวาทําไมปาถึงคอยๆ หายไป ก็ทําให ผูใหญในหมูบานคิดทบทวนวาเกิดอะไรขึ้นในหมูบานของตัวเอง วันที่เด็กๆ มาแสดงผลงาน ก็เลาผานละคร ปรากฏวาผูใหญหลายคนถึงกับรองไห เกิด ความคิดที่วาเมื่อกอนเราเคยรักกัน เคยใชประโยชนจากปารวมกัน แตหลัง จากที่มีคนมาจางใหตัดปา ก็เกิดการแขงกันตัดปา จนปารอยหรอลง แลว หากเปนเชนนี้ตอไป อนาคตของลูกหลานจะเปนอยางไร ในที่สุดจึงเกิดรวมกลุมกันจัดการปา ขณะที่เด็กๆ ก็พัฒนาโครงงาน หลากหลายขึ้น เชน เรื่องอาหารจากปา ไฟปา หลังจากไมนานก็เกิดการรวม กลุมของเด็กนักเรียนที่เรียนจบไปแลวเพื่อทํากิจกรรม เกิดการจัดกิจกรรม รวมกันระหวางชุมชนกับโรงเรียน มีการหาผูรูเขามาสอนในโรงเรียนบาง พา ไปเดินปาบาง ในที่สุดก็มีการพัฒนาเสนทางเดินปาศึกษาธรรมชาติ มีการ พัฒนาจุดเรียนรู แลวจุดเรียนรูของที่นี่ก็ไมเหมือนกับที่อื่นที่ตองมีจุดและมี ปาย แตเปนจุดเรียนรูที่เปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาล เชน เดือนนี้มีอะไรใหดู พอถึงฤดูแลงตองมีการทําแนวกันไฟ แนวกันไฟก็ กลายเปนจุดเรียนรู พอชวงหมดฝน มีเห็ดเยอะ เห็ดก็กลายเปนจุดเรียนรู จุด เรียนรูจึงยืดหยุนไปตามสภาพของชุมชนและเชื่อมโยงกับระบบนิเวศ ซึ่งสิ่ง เหลานี้เกิดขึ้นโดยที่ครูและเด็กไมทันคิดเลยวามันเริ่มตนมาจากโครงงานเล็กๆ แลวเกิดพลังในการเปลี่ยนแปลงทองถิ่นได

เปลี่ยนโรงเรียนใหเปนเนื้อเดียวกับชุมชน อีกปรากฏการณหนึ่งที่ไดยินการวิพากษวิจารณกันบอย คือโรงเรียนไม เมื่อปลาจะกินดาว 10 61


“หืออือ” กับโลกภายนอก ไมวา ทองถิน่ ของตนกําลังประสบปญหาสิง่ แวดลอม ประเภทใด หรือกําลังเผชิญหนากับความขัดแยงจากการแยงชิงทรัพยากรอะไร ก็ตาม ผศ.อรรถพล ยกตัวอยางความขัดแยงกรณีการกอสรางโครงการโรงไฟฟา ถานหินทีบ่ า นกรูด จ.ประจวบคีรขี นั ธ ในชวงประมาณป 2540 พบวาในชวงนัน้ ภาคประชาชนตืน่ ตัวกับปญหา แตถา ถามวา แลวโรงเรียนทําอะไร ปรากฏวา รับเงินจากเจาของโครงการมาติดแอร “บางเรื่องเปนเหมือนหญาปากคอก อยางเด็กนักเรียนเรียนเรื่องปะการัง ในโรงเรียน แตเด็กกลับไมรูวากองหินที่อยูหนาหาดของตัวเองนั้นคือปะการัง แสดงใหเห็นวาโรงเรียนขาดพลังในการเรียนรู และขาดพลังในการเปนแหลง เรียนรูใหกับชุมชน” อาจารยประสาน แสดงความเห็นในเรื่องนี้วา โรงเรียนไทยไมไดอยูใน อํานาจของชุมชน แตไปขึ้นอยูกับรัฐบาลกลาง แมจะมีการกระจายอํานาจ มาใหกับสํานักงานเขตพื้นที่ แตสํานักงานเขตพื้นที่ก็ขึ้นอยูกับรัฐบาลกลาง ฉะนั้นโรงเรียนจึงไมไดอยูกับชุมชน ความรูสึกผูกพัน การเห็นตนเองเปนสวน หนึ่งของชุมชนที่พรอมจะรอยรัดปญหาของชุมชนกับการเรียนรูในโรงเรียนจึง ไมเกิด “ผูบริหารโรงเรียนมักมองวาถาไปยุงกับเรื่องของทองถิ่น แลวรัฐบาลที่มี เครือขายโยงใยอยูไมชอบใจ เดี๋ยวฉันก็กระเด็น ฉะนั้นไมยุงดีกวา ลอยตัวดี กวา แตหารูไมวาปญหามันชนประตูรั้วโรงเรียนทุกวัน เด็กก็มองตาปริบๆ ทํา อะไรไมได แทนที่จะฉวยโอกาสตรงนั้นเปนโอกาสเรียนรู ทําใหเด็กไดเรียนรู เรื่องสิ่งแวดลอม ตระหนักถึงปญหาที่วิกฤต การที่พอแมปูยาตายายเรียกรอง เพื่อใหเขาไดมีทรัพยากรที่มีคุณภาพตอไปในอนาคต ทําไมเด็กจึงไมมีโอกาส ไดเรียนรูตรงนี้ ซ้ํารายยังบังคับไมใหเด็กไปยุงกับเรื่องพวกนี้อีก อางวาเปน เรื่องการเมือง เปนเรื่องผลประโยชนที่ขัดแยงกันของคนในชุมชนกับคนขาง นอก บวกกับครูมักไมใชคนในพื้นที่ จึงไมมีสํานึกรักทองถิ่น เมื่อเปนเชนนี้แลว โรงเรียนจึงไมหืออือกับโลกภายนอก” รศ.ประสาน มองอีกวา กรณีความขัดแยงของโครงการกอสรางโรงไฟฟา ถานหินที่ประจวบคีรีขันธเปนเหมือนตําราสิ่งแวดลอมศึกษาเลมใหญที่สังคม เมื่อปลาจะกินดาว 10 62


ตองเอาไปเรียนรู แนวคิดของชาวบานบางคนไปไกลกวาความเคลื่อนไหวทาง สังคมแลว เพราะพยายามตีความทรัพยากรในระบบคุณคา ขณะที่กลุมทุน มองทรัพยากรในระบบมูลคา ซึ่งคุณคาคือการดํารงชีวิตอยูเพื่อความยั่งยืน ในปจจุบันและในอนาคต เราตองรวมระบบมูลคาและระบบคุณคาใหเปนเนื้อ เดียวกันใหได แตทีนี้วิธีการบอกระบบคุณคาของชาวบานตอสังคมอาจจะใช วิธีการแบบหัวชนฝา สังคมจึงไมชอบใจ “หากเด็กสามารถคุยเรื่องการตอสูของพอแมได สิ่งนี้นะสุดยอดเลย แต ไมรูวานี่จะถูกมองเปนความไมมั่นคงของชาติหรือเปลานะ...ยิ่งคิดนอกกรอบ เทาไหร รัฐจะมองวาควบคุมยาก แตถาคนคิดนอกกรอบไดเมื่อไหร มันคือ ทางเลือกของสังคมที่มีมากมายไปหมด และสิ่งนี้คือความเจริญ” “โรงเรียนควรเอาประเด็นปญหาของทองถิ่นเขาไปสูการเรียนรู พอเอาไป เรียนรูไดเสร็จ เด็กก็จะรูวาทองถิ่นของตนเกิดอะไรขึ้น แตละชวงชั้นเรียนตอง ทําอะไรบาง สิ่งที่ตามมาคือความหวงแหน ตองการดูแลรักษาทรัพยากรของ ชุมชน แลวเขาไปแกไขปญหาดวยความเขาใจ” รศ.ประสาน ระบุ

ถึงเวลาที่สิ่งแวดลอมศึกษาตองออกนอกรั้วโรงเรียน อุปสรรคใหญยิ่งของงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาในสังคมไทย ตามมุม มองของ รศ.สุริชัย หวันแกว อาจารยคณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ซึ่งเคยเปนผูแทนไทยไปประชุมกับองคการสหประชาชาติเรื่อง การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เห็นวา ยังคงเปนเรื่องที่ตกรองอยูในแบบ แผนเดิมๆ นั่นคือพอมีคําวาศึกษาหอยทาย คนสวนใหญก็จะใหความสนใจ กับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมในระบบการศึกษา สถานการณ ของสิ่งแวดลอมศึกษาจึงมักเปนเรื่องที่พูดกันมากในหนวยเล็กๆ เชนโรงเรียน ขณะที่ไมสนใจสิ่งแวดลอมศึกษาในระดับการเรียนรูของสังคมไทย ตอเรื่อง นี้อดีตนักวิชาการจากรั้วจุฬาฯ ชี้เปาวา นี่คือการตกอยูในกับดักของความ เคยชิน แถมเปนศัตรูสําคัญของการเรียนรู และสุดทายก็ไมพนวาสิ่งแวดลอม ศึกษาในลักษณะตกรองแบบนี้ก็จะกลายอุปสรรคตอการบรรลุวัตถุประสงค ในตัวของมันเอง อาจารยสุริชัย ขยายความวา การศึกษาจํานวนมากไปติดอยูแคการได

เมื่อปลาจะกินดาว 10 63


ปริญญา ไดวุฒิสูงขนาดไหน ไดรางวัลและไดชื่อเสียงอะไรบาง สวนนอก เหนือไปจากนี้ก็ไมนับวาเปนการศึกษา ถือวาไมสําคัญ เอาเขาจริงการศึกษา จึงเกิดขึ้นในหมูของคนที่มีฐานะ มีโอกาส แลวใหรางวัลกันในลักษณะการ รับรองดวยคุณวุฒิ เปนระบบการใหยศใหศักดิ์กันในกลุมของคนที่พอจะเอื้อ ประโยชนกันและกันได ยิ่งนานวันเขาการศึกษาแบบนี้ซึ่งถือเปนการเรียนรู เพียงเสี้ยวเดียวของสังคม ก็กระทํากันในหมูของคนมีเงิน เปนระบบที่คนมีเงิน มีฐานะ มีอํานาจ คนที่มีปากมีเสียงเกื้อกูลกัน สําหรับคนที่ไดรับผลกระทบจากการพัฒนา คนที่ประสบปญหา นาน วันก็ยง่ิ หางไกลจากการเขาถึงการศึกษาแบบนี้ ขณะทีก่ ลุม ทีม่ กี ารศึกษาตาม แบบแผนก็จะยิ่งมั่นใจในความรูของตัวเอง แตโอกาสที่จะสัมผัสความทุกข ยากของคนอื่นกลับยิ่งนอยลง และยิ่งสรางความรูสึกไมรวมทุกขรวมสุขกัน มากขึน้ ซ้าํ รายมองพวกนัน้ วาเปนพวกตานการพัฒนา ทําใหสงั คมเรากาวหนา ชากวาประเทศเพื่อนบาน วิตกจริตวาเวียดนามจะแซงหนา อยางไรก็ดี รศ.สุริชัย มิไดปฏิเสธการเรียนรูในระบบการศึกษาเสียทีเดียว หากแต ม องว า ต อ งทํ า ให สั ง คมไทยตระหนั ก ว า การเรี ย นรู มี ห ลายรู ป แบบ หลายลักษณะ และหลายวิธีการ “สิง่ แวดลอมศึกษาทีม่ กี ารเรียนรูน อกรูปแบบเปนสิง่ ทีข่ าดไมไดโดยเฉพาะ การเรียนรูจากปญหาจริงที่มีความขัดแยงกัน สิ่งแวดลอมศึกษาประเภทที่ สนใจแตความสําเร็จ เรื่องความดีงาม เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ทองรูปแบบ หา สูตรสําเร็จ มักไมไดพาเราไปสูการเรียนรูที่มีพลัง สิ่งแวดลอมศึกษาตองเอา เรื่องจริงมาวากัน ตองสนใจปญหาความคิดที่แตกตางกันในเรื่องสิ่งแวดลอม เชน ฝายหนึ่งมองเปนโอกาสทางธุรกิจ แตอีกฝายมองสิ่งแวดลอมที่มี คุณคาตอคนที่อยูกับทรัพยากร ขอขัดแยงเหลานี้เกิดขึ้นเปนจํานวนมาก เชน จะใชที่วางเปลานี้ดีหรือไมดี ทะเลควรมีโฉนดหรือไม อาวไทยมีแทนขุดเจาะ น้ํามันแลวไดประโยชนทางธุรกิจเทานั้นเทานี้ แตมองไมเห็นและไมไดมองถึง คุณคาของทะเลกับคนที่ทําประมงรายยอยในบริเวณนั้น” “งานสิ่งแวดลอมศึกษาจะมีพลังและเปลี่ยนแปลงสังคมไทย คนทํางาน ตองไมขังตัวเองกับความคิดแบบสําเร็จรูป แตตองโยงกับปญหาความขัดแยง เมื่อปลาจะกินดาว 10 64


ไมเชนนั้นในอนาคตขางหนาก็จะยิ่งสรางคนชายขอบเพิ่มขึ้นอีกมากมาย และ เกิดความขัดแยงกับความรุนแรงซ้ําซาก” อาจารยจุฬาฯ ระบุ

วิสัยทัศนสิ่งแวดลอมศึกษา ถึงแมการสงเสริมงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาของสังคมไทยจะเทน้ําหนัก ไปที่การเรียนรูในระบบการศึกษา แตแทจริงแลวงานสิ่งแวดลอมศึกษามี กระจัดกระจายอยูทั่วไปและมักผสมผสานอยูในเนื้องานดานการจัดการสิ่ง แวดลอมขององคกรและชุมชนทองถิ่นตางๆ ภายใตความกระจัดกระจายและขาดการเชื่อมประสานอยางเปนระบบ แตก็มีจุดแข็งที่รูปแบบและเนื้อหา พื้นที่การทํางาน และกลุมเปาหมายที่ หลากหลาย โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนขององคกรพัฒนาเอกชน ซึ่งมักเปน กลุมที่ริเริ่มและพัฒนานวัตกรรมดานการเรียนรูที่สามารถนําไปใชไดทั้งในการ เรียนการสอน การเรียนรูของชุมชนทองถิ่น และบุคคลทั่วไป สวนภาคธุรกิจเอกชนนั้น ในปจจุบันมีการนําเอาแนวคิดเรื่องการดําเนิน ธุรกิจที่รับผิดชอบตอสังคม หรือซีเอสอาร (Corporate Social Responsibility) มาใชเพื่อสรางภาพลักษณ หลายหนวยงานจึงสนใจใหการสนับสนุนกิจกรรม ดานสิ่งแวดลอม ดานองคกรปกครองสวนทองถิ่นซึ่งถือเปนภาคสวนที่มี บทบาทอยางมากในการดําเนินงานพัฒนาทองถิ่น ปจจุบันหลายแหงก็เริ่ม ปรับบทบาทมาใหความสําคัญกับการพัฒนาคน พัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชาชน รวมทั้งการจัดการสวัสดิการสังคม ขณะที่สื่อมวลชนก็เปนภาคสวน ที่ถูกคาดหวังในการทําหนาที่สื่อสาธารณะที่จะชวยสรางความรูความเขาใจ ใหกับประชาชนถึงการปองกันและแกไขปญหาสิ่งแวดลอมตางๆ รวมไปการมี สวนรวมในการกําหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ สาวิตรี ศรีสุข ผูอํานวยการสวนสิ่งแวดลอมศึกษา กรมสงเสริม คุณภาพสิ่งแวดลอม เห็นวา งานสิ่งแวดลอมศึกษาจะประสบความสําเร็จ และสามารถนําคนเพื่อไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืนได ตองเกิดจากการผลักดัน และรวมมือกันของภาคสวนตางๆ ในสังคม ในการจั ด ทํ า แผนหลั ก สิ่ ง แวดล อ มศึ ก ษาเพื่ อ การพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น พ.ศ. 2551 – 2555 โดยกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม รวมกับสถาบันวิจัย เมื่อปลาจะกินดาว 10 65


สังคมจุฬาฯ เมื่อป 2550 สาวิตรี ชี้แจงวา แผนดังกลาวไดใหความสําคัญ กับบทบาทของภาคสวนตางๆ ที่จะรวมมือกันขับเคลื่อนงานดานสิ่งแวดลอม ศึกษา อันประกอบดวย หนวยงานราชการ ภาคธุรกิจเอกชน องคกรพัฒนา เอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น และรวมถึงสื่อมวลชนดวย ที่สําคัญแผน นี้ไมไดมองวาเปนแผนเฉพาะของกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมใชปฏิบัติ หรือแผนของหนวยงานใดหนวยงานหนึ่งใชปฏิบัติ หากแตเปนแผนรวมกัน ของทุกภาคสวนที่จะใชสรางความเขมแข็งใหกับพลเมืองไทย ทั้งนี้ แผนหลักสิ่งแวดลอมศึกษาฯ ที่จัดทําขึ้น เปนเหมือนเข็มทิศและ แผนที่นําทาง เพื่อใหแตละภาคสวนรูวาจะกาวเดินไปอยางไรในระยะ 5 ป แรก และจะมีชองทางความรวมมือกันอยางไรบาง โดยแผนดังกลาวได กําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาไว 7 ประการ ไดแก 1) การสื่อสารสาธารณะ เกี่ยวกับสิ่งแวดลอมศึกษาฯ 2) การพัฒนาโครงสรางเชิงสถาบันเพื่อเกื้อหนุน

เมื่อปลาจะกินดาว 10 66


การพัฒนาสิ่งแวดลอมศึกษาฯ 3) การบูรณาการสิ่งแวดลอมศึกษาฯ กับ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และนโยบายสาธารณะอื่นๆ 4) การสรางและเสริมพลังเครือขายสิ่งแวดลอมศึกษาฯ 5) การตลาดเพื่อสิ่ง แวดลอมศึกษาฯ 6) การเชื่อมโยงสิ่งแวดลอมศึกษาฯ ในและนอกสถานศึกษา 7) การจัดการความรูสิ่งแวดลอมศึกษาฯ อยางไรก็ตาม แผนหลักสิ่งแวดลอมศึกษาฯ นี้ จัดทําแลวเสร็จมาไมต่ํา กวา 2 ป แตยังไมมีการนําไปเปนแนวทางในการปฏิบัติ สาวิตรี กลาวถึงความคืบหนาวา ทางกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กําลังเรงผลักดันแผนดังกลาวผานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ เพื่อให เปนที่ยอมรับรวมกันวานี่คือทิศทางการพัฒนาในอีก 5 ขางหนา โดยหนวย งานที่เกี่ยวของก็ตองคิดและหากลไกเพื่อทํางานรวมกันใหได ผศ.อรรถพล เห็นดวยวา จําเปนทีจ่ ะตองยกระดับเรือ่ งสิง่ แวดลอมศึกษาให เปนวาระแหงชาติใหได แตดว ยขอจํากัดของกําลังคนและงบประมาณ กรมสง เสริมคุณภาพสิง่ แวดลอมควรหันมาเลนบทบาทผูจ ดั การเครือขาย คือทําอยางไร ใหเครือขายตางๆ ทีท่ าํ งานสิง่ แวดลอมศึกษาไดมาเจอกัน เพือ่ แลกเปลีย่ นเรียนรู ชวยเหลือซึง่ กันและกัน ซึง่ จะชวยใหเกิดการขยายงานสิง่ แวดลอมศึกษาใหกวาง ขวางขึน้ ดวย ดาน รศ.สุรชิ ยั มองวา หนวยงานภาครัฐทีเ่ ปนเจาภาพตองทลายกรอบการ มองแบบเดิมดวย กลาวคือตองสรางกระบวนการเรียนรูเรื่องสิ่งแวดลอมที่เปน ปญหาเชิงลบดวย อยางเชนการลักลอบทิง้ ขยะอุตสาหกรรม ปญหามลพิษจาก โรงงาน ซึง่ สิง่ เหลานีล้ ว นเปนประเด็นการเรียนรูท ส่ี าํ คัญ นอกจากนีต้ อ งสราง การเรียนรูข า มภาคสวน เชน ทํางานรวมกับกระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวง พลังงาน เพือ่ ใหเกิดความเขาใจความหมายของสิง่ แวดลอมในเชิงซอนดวย ซึง่ บางครัง้ อาจมีผลประโยชนและฐานความคิดทีแ่ ตกตางกันไปบาง ก็เปนเรือ่ งที่ ตองรวมกันกาวฝาขามไปใหได “อันทีจ่ ริงเรือ่ งการสรางความรวมมือกัน แลวคิดวาจะตองเปนแนวนัน้ แนวนี้ ตางจากนีก้ ไ็ มใชแลว เพราะตองขัดแยงกันแน ไปดวยกันไมไดแน ผมคิดวาการ คิดแบบนีม้ นั เปนปญหาในตัวมันเอง การถกและทํางานเรือ่ งสิง่ แวดลอมศึกษา เมื่อปลาจะกินดาว 10 67


ในภาวะปกติ คงไมเสียหายที่จะตั้งความหวังวาจะรวมมือกัน อยาใหลมกลาง คัน แตวาในภาวะโลกที่เต็มไปดวยความไมแนนอนมากขึ้น ภัยพิบัติก็มากขึ้น หากการเจรจายังทีใครทีมัน ทุกฝายมีขออางกันหมด ขอสรุปคือความฉิบหาย มาแน ยิ่งชายิ่งคับขัน วิกฤตที่ทุกฝายมีขอแกตัว ผลสรุปก็คือวิกฤตมากขึ้น แต ถาทุกฝายแกตัวนอยลง ปญหาสวนรวมก็จะบรรเทาลง ฉะนั้นจะมาทําใจคอ คับแคบอยางนั้นไมได เราตองยอมรับกอนวาถามีใจอยากทํางานดวยกัน ก็ ตองตรงไปตรงมาซึ่งกันและกัน ไมยึดมั่นถือมั่น มีหัวใจที่จะเรียนรูรวมกัน มี แรงบันดาลใจที่จะแกไขปญหา ผมวานี่คือสิ่งแวดลอมศึกษาในขั้นที่นาจะได รับการพูดถึง”

เมื่อปลาจะกินดาว 10 68


ยุทธศาสตรการพัฒนาของแผนหลักสิ่งแวดลอมศึกษา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน พ.ศ. 2551 – 2555 ยุทธศาสตรการพัฒนาสิง่ แวดลอมศึกษาฯ ทีจ่ ะนําไปสูก ารบรรลุ เปาหมายทีก่ าํ หนดไว ไดแก • การสื่อสารสาธารณะกับสิ่งแวดลอมศึกษา – เพื่อสรางความ เขาใจในอุดมคติรวมกันในเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษาฯ โดยเฉพาะ ความสําคัญของสิง่ แวดลอมศึกษาฯ ทีจ่ ะปองกันและแกไขปญหา ตางๆ ความจําเปนของบทบาทหนวยงาน องคกร และกลุมตางๆ อันคือจุดเริ่มตนของเครือขายความรวมมือ เปนรากฐานของการ ดําเนินงานตามยุทธศาสตรอื่นๆ • โครงสรางเชิงสถาบันกับการพัฒนาสิ่งแวดลอมศึกษาฯ – ความ เอื้ออํานวจทางโครงสรางเชิงสถาบันจะชวยใหเกิดความชัดเจน ดานนโยบาย แนวทางการพัฒนาสิ่งแวดลอมศึกษาฯ การ จัดสรรภารกิจความรับผิดชอบ กลไกและกระบวนการประสาน งาน ทรัพยากรสนับสนุน ซึ่งทําใหเครือขายเกิดความเชื่อมั่นวา จะมีฐานการสนับสนุนที่เขมแข็งเพียงพอจะขับเคลื่อนไปสูความ สําเร็จตามเปาหมาย • บูรณาการสิง่ แวดลอมศึกษาฯ กับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม และนโยบายสาธารณะอื่นๆ – เปนการนํา สิง่ แวดลอมศึกษาฯไปเจือผสมควบคูก บั การทํางานดานทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้งไปแทรกใสไวในนโยบายดาน อืน่ ๆ อาทิ นโยบายดานการทองเทีย่ ว การขนสง อุตสาหกรรม พลังงาน ฯลฯ • ภาคีเครือขายสิ่งแวดลอม – เปนเงื่อนไขความสําเร็จที่สําคัญ ของการพัฒนาสิ่งแวดลอมศึกษาฯ ของประเทศไทย รวมทั้งยัง ตอบสนองหลักการสําคัญในการพัฒนาสิง่ แวดลอมศึกษาฯ ของ ประเทศไทยใน 2 ประการ ไดแก การพัฒนาจากทุนความรู

เมื่อปลาจะกินดาว 10 69


และทุนทางสังคมที่มีอยูในภาคสวนตางๆ ของสังคมไทย และ การตระหนักถึงความหลากหลายของชุมชน สังคม และระบบ นิเวศ ซึ่งจะตอบรับและตองการสิ่งแวดลอมศึกษาที่มีจุดเนน และรูปแบบที่แตกตางกัน • การตลาดเพือ่ สิง่ แวดลอม – มีเปาหมายสําคัญ 2 ประการ คือ เนนการสรางสิ่งแวดลอมศึกษาฯ ใหเปนจุดสนใจอยางตอเนื่อง และทําใหสิ่งแวดลอมศึกษาฯ เปนกลยุทธการตลาดของภาค ธุรกิจเอกชน • สิ่งแวดลอมศึกษาฯ กับความเชื่อมโยงกับในและนอกสถาน ศึกษา – ตอบสนองหลักการสําคัญ 2 ประการ ไดแก การให ความสําคัญกับภาคสวนและภาคีในระบบการศึกษาเทาๆ กับ ภาคสวนและภาคีนอกระบบการศึกษา และการพัฒนาจากทุน ความรูและทุนทางสังคมที่มีอยูในภาคสวนตางๆ ของสังคมไทย • การจัดการความรูเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษาฯ – การพัฒนาระบบ ความรูเพื่อสนับสนุนสิ่งแวดลอมศึกษาฯ ไดแก การพัฒนาองค ความรู การเผยแพรความรู การแลกเปลี่ยนเรียนรูเกี่ยวกับ สิ่งแวดลอมศึกษาฯ โดยเชื่อมโยงระหวางผูสรางและผูใชความรู ในและนอกสถานที่ ฯลฯ และสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู ระหวางฝายตางๆ อยางกวางขวาง อานรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับแผนหลักสิ่งแวดลอมศึกษาฯ และ ยุทธศาสตร ไดที่เว็บไซตของกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม www.deqp.go.th

เมื่อปลาจะกินดาว 10 70


บรรณานุกรม เกื้อเมธา ฤกษพรพิพัฒน. (2551) “ในทามกลางวิกฤต สิ่งแวดลอมศึกษาตองเรงรีบทุกยางกาว” วารสารเสนทางสีเขียว ฉบับที่ 24 กันยายน - ธันวาคม 2551 กรมสงเสริมคุณภาพ สิ่งแวดลอม สุริชัย หวันแกว, รศ. (ไมระบุปที่พิมพ) การเดินทางสูสิ่งแวดลอม ศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ผูวิจารณ สาวิตรี ศรีสุข ผูอํานวยการสวนสิ่งแวดลอมศึกษา กรมสงเสริม คุณภาพสิ่งแวดลอม สัมมนาเรื่อง“ปฏิรูปประเทศไทยดวยสิ่งแวดลอมศึกษา” วันที่ 6 กรกฎาคม จัดโดยชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม

เมื่อปลาจะกินดาว 10 71


ปนฝนทางจักรยาน : บทเรียนจากยุโรป น.รินี เรืองหนู หนังสือพิมพมติชน

เมื่อปลาจะกินดาว 10 72


หลับตา...แลวลองนึกฝนกันดูเลนๆ วา ถาเมอื งใหญๆ ในประเทศไทย จะมีประชากรใชจักรยานเปนยานพาหนะสําหรับสัญจรไปมา เหมือนในบาน เมืองอื่นๆ อยางลอนดอน สต็อกโฮลม ออสโล เมลเบิรน ซิดนีย นิวยอรก ซี แอตเติล ซานฟรานซิสโก โตเกียว ฯลฯ จะดีแคไหน และถาลองปรับเปลี่ยน ใหกรุงเทพมหานครที่มีประชากรราว 10 ลานคน มีรถยนตกวา 6 ลานคัน มีสภาพความแออัด เต็มไปดวยมลพิษ โดยสงเสริมใหประชากรสวนหนึ่ง เปลี่ยนพฤติกรรมไปปนจักรยานกันบาง สภาพแวดลอมของกรุงเทพฯ จะเปน อยางไร... ในการประชุมของสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ โลก (UNFCCC) เพื่อแกปญหาโลกรอนที่กรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมารก เมื่อชวงเดือนธันวาคม 2552 แมจะไมไดขอสรุปใดๆ เกี่ยวกับการแกไข ปญหาตามหัวขอขางตน หรืออาจเรียกอีกอยางหนึ่งวาเปน “ความลมเหลว” ก็ตาม เรายังพบวาสื่อมวลชนจากทั่วโลกที่ไปทําขาวในขณะนั้นตางพรอมใจ กันรายงานขาวเล็กๆ เกี่ยวกับ “การใชจักรยานในกรุงโคเปนเฮเกน” ซึ่งถือ เปนการกระตุกตอม กระตุนเตือนใหผูที่เสพขอมูลขาวสารทั่วโลกตางตองหัน กลับมามองวา แทจริงแลว “จักรยาน” ตางหากคือ กาวสําคัญในการแกไข ปญหาโลกรอนอยางยั่งยืน เมื่อปลาจะกินดาว 10 73


ชาวเบอรลินปนจักรยานในการเดินทาง

ยุโรป : ตนแบบจักรยานเพื่อสิ่งแวดลอม เมือ่ 4-5 ปกอ น ประเทศในกลุม ยุโรปมีการประชุมหารือกันเรือ่ งการใช จักรยาน และไดรว มเปนพันธมิตรในการพัฒนาเสนทางจักรยานใหเปนเครือขาย ตอเนือ่ งกันทัว่ ยุโรป ใชชอ่ื โครงการวา “จักรยานเปลีย่ นโฉมหนายุโรป” แนวทาง นีค้ อื ใหแตละประเทศพัฒนาเสนทางจักรยานและสงเสริมการใชจกั รยานใน ประเทศใน 2 ลักษณะ คือ 1.เสนทางจักรยานทีใ่ ชงานในทองถิน่ 2.เสนทาง จักรยานเชือ่ มตอเปนโครงขายกับประเทศเพือ่ นบานในกลุม ยุโรป ในยุโรปนัน้ การเดินทางสวนใหญจะใชจกั รยาน โดยเดนมารกเดินทางดวย จักรยานราว 18% นอยกวาเนเธอรแลนดทม่ี มี ากถึง 27% ขณะทีส่ หรัฐอเมริกา เดินทางดวยจักรยานเพียง 1% เทานัน้ และโดยเฉลีย่ ชาวเดนมารกจะปน จักรยาน 1.6 กิโลเมตรตอคนตอวัน ถือนอยกวาเนเธอรแลนดเพียงประเทศเดียว เมื่อปลาจะกินดาว 10 74


ทีม่ กี ารปน จักรยาน 2.5 กิโลเมตรตอคนตอวัน ใชวาการใชจักรยานในยุโรปจะเพิ่งเริ่มเกิดขึ้นครั้งแรก หากแตพวกเขามี ความเห็นรวมกันวาควรสงเสริมใหจักรยานที่คนรุนกอนเคยใชกันมาตั้งแตอดีต กลับมาเปนสวนหนึง่ ของชีวติ พวกเขาอีกครัง้ ทีส่ าํ คัญเพือ่ รักษาสภาพแวดลอม ในบานเมืองของพวกเขาเอง และเพือ่ ใหเห็นภาพทีช่ ดั เจนวาประเทศเหลานีเ้ ขา ทําอะไรกันบางกวาจะไปถึงเปาหมายทีว่ า นัน้ ขอยกตัวอยางเฉพาะ 2-3 ประเทศ ทีม่ กี ารใชจกั รยานเพือ่ รักษาสภาพแวดลอมชนิดทีต่ อ งเรียกวา “ตัวพอ” “ตัวแม” กันเลยทีเดียว

เนเธอรแลนด : เมืองหลวงของโลกจักรยาน กลาวกันวา ฮอลแลนดหรือเนเธอรแลนด คือ “เมืองหลวงของโลก จักรยาน” ก็วาได เพราะถือเปนประเทศที่มีจํานวนจักรยานมากพอๆ กับ จํานวนประชากรของประเทศ เปนประเทศที่ถือวามีทางจักรยานที่สวยที่สุด มีประชากรที่นิยมปนจักรยานมากกวาขับหรือนั่งรถยนต ที่สําคัญยังมีนโย บายการพัฒนาประเทศดวยการทําใหรถยนตใชงานไดสะดวกนอยกวาใช จักรยาน และเรียกเก็บคาใชจายสูงกวา เพื่อใหประชากรหันไปใชจักรยาน หรือระบบขนสงสาธารณะอื่นๆ แทน เนเธอรแลนด เปนประเทศที่ใชจักรยานกันมานานกวารอยป ตั้งแตเริ่ม มีการประดิษฐจักรยานใชเปนครั้งแรกในโลก แตเมื่อประมาณ ป ค.ศ.1970 จํานวนรถยนตในเมือง โดยเฉพาะกรุงอัมสเตอรดัมซึ่งเปนเมืองหลวงเริ่มมาก ขึ้นจนผิดหูผิดตา และคนใชจักรยานเริ่มไดรับผลกระทบจากจํานวนรถยนตที่ เพิ่มมากขึ้น ในป ค.ศ.1975 ชาวเนเธอรแลนดกลุมหนึ่งที่เริ่มมองเห็นปญหาและมี ความคิดวาหากไมดําเนินการใดๆ วัฒนธรรมการปนจักรยานของพวกเขาที่ สั่งสมกันมานานอาจตองถูกกลืนหายไปกับรถยนตเหลานั้นเปนแน พวกเขา จึงรวมตัวกันตั้งองคกรชื่อวา “กลุมสหพันธจักรยานแหงดัทช” (The Dutch Union of Cyclists : ENFB) กลุมนี้ตั้งขึ้นมาเพื่อดําเนินกิจกรรม เชน ใหความรวมมือกับหนวยงาน ตางๆ ของเมือง สํารวจและจัดทําเสนทางเพื่อคนใชจักรยาน ใหขอคิดเห็น เมื่อปลาจะกินดาว 10 75


อาคารจอดรถจักรยานในกรุงอัมสเตอรดัม

และใหคําปรึกษาตางๆ เพื่อสงเสริมใหเกิดการใชจักรยานมากขึ้น เปนตน ระหวางที่กลุมสหพันธฯ ดําเนินกิจกรรมเหลานั้น ในป ค.ศ.1978 ทางกลุม ก็ไดใหการสนับสนุน Michael Van de Vlis ลงสมัครรับเลือกตั้งเปนผูบริหาร เมือง ซึ่งหลังจากไดรับการเลือกตั้ง Michael Van de Vlis คนนี้เองที่เปนผู กําหนดนโยบายการจราจร ทําใหกลุมสหพันธฯ สามารถอาศัยชองทางผลัก ดันนโยบายจักรยานจนสําเร็จ เนื่องจากมีการจัดสรรงบประมาณไวสําหรับ โครงการจักรยานโดยเฉพาะ จนสามารถสรางทางจักรยานและจัดกิจกรรม รณรงคใหประชาชนหันกลับมาใชจักรยานไดสําเร็จอีกครั้ง เนเธอรแลนดใหความสําคัญกับการใชจักรยานในการเดินทางเปนอันดับ 2 รองจากการเดินเทา ทําใหทุกเมืองของประเทศนี้มีสภาพแวดลอมและสิ่ง อํานวยความสะดวกที่เอื้อตอการเดิน และปนจักรยาน โดยเฉพาะในสวนของ การใชจักรยานนั้น หากใครไดมีโอกาสเดินทางไปทองเที่ยวที่นั่นจะพบเห็น ทางจักรยานอยูทั่วเมือง มีทั้งปายบอกเสนทาง ปายจราจร จุดจอดจักรยาน ฯลฯ ทุกเสนทางของจักรยานนั้นจะสามารถเชื่อมตอกับระบบขนสงสาธารณะ อื่นๆ ทั้งรถไฟ รถประจําทาง เรือ ไดอยางสะดวก ผิดกับผูขับขี่รถยนตซึ่งจะ เมื่อปลาจะกินดาว 10 76


ตองใชเสนทางที่วกวนกวาจะถึงที่หมาย เสียเวลา เสียคาจอดรถแพง มีจุด จอดรถนอย แถมยังอยูไกลออกไปถึงชานเมือง นอกจากนี้ยังจัดชองทางรถยนตเพียง 1 ชองจราจร ขณะที่ทางเทาและ ทางจักรยานรวมกันแลวไดถึง 2 ชองจราจร และมีการแบงกั้นพื้นที่ไวอยาง ชัดเจน โดยรถยนตไมสามารถเขาไปใชทางรวมกันได และหากขี่จักรยานผาน จุดที่เปนทางแยกจะมีปุมกดสัญญาณไฟจราจร โดยรถยนตตองจอดใหทาง แกจักรยานเสมอ หลังใชมาตรการเขมขนเชนนี้ ทําใหปจจุบันโดยเฉพาะยาน ใจกลางเมืองแทบจะไมมีรถยนตใหเห็นเกะกะสายตา แตกตางกับเมืองไทย ราวฟากับเหว การใช จั ก รยานของชาวเนเธอร แ ลนด ก ลายเป น วั ฒ นธรรมที่ เข ม แข็ ง ชาวเนเธอรแลนดปนจักรยานโดยไมจําเปนตองสวมใสชุดนักปนจักรยานหรือ สวมหมวกกันน็อค แตพวกเขาสามารถสวมใสเสือ้ ผาปกติปน จักรยานออกจาก บานไปยังจุดหมายตางๆ ไดอยางสะดวก คลองแคลว ที่สําคัญกวานั้นคือ รั ฐ บาลเนเธอแลนด มี วิ สั ย ทั ศ น ด า นการจั ด การจราจรที่ ม องการณ ไ กล โดยวางแผนการจราจรในเมื อ งด ว ยการใช จั ก รยานเป น ระบบขนส ง ส ว น บุคคล เชื่อมตอกับรถประจําทางและเรือโดยสาร สวนโครงขายสถานีรถไฟจะ เปนการขนสงคนระหวางเมืองกับเมือง ทําใหชาวเนเธอรแลนดแทบไมจําเปน ตองพึ่งพารถยนตสวนบุคคลเลย

เยอรมนี : พันธมิตรจักรยานเปลี่ยนโฉมหนายุโรป เยอรมนีเปน 1 ในประเทศทีร่ ว มเปนพันธมิตรในโครงการจักรยานเปลีย่ น โฉมหนายุโรป โดยมีการพัฒนาโครงขายเสนทางจักรยานในประเทศ 2 ลักษณะ คือ โครงขายจักรยานในเมือง และโครงขายจักรยานระหวางเมือง และใหความ สําคัญกับโครงการนีอ้ ยางมาก มีการพัฒนาสภาพพืน้ ผิวถนนสําหรับคนเดิน รถ จักรยาน และรถราง ปูพน้ื ถนนดวยอิฐเพือ่ ไมใหรถยนตวง่ิ ไดสะดวก และจํากัด จุดจอดรถยนต ไมขยายถนนเพิม่ หมายความวา อนุรกั ษถนนเดิมเพือ่ จํากัด การเขาออกของรถยนต โดยมีถนนเพียงชองทางเดียว ซึง่ เทากับเปนการจํากัด ความเร็วรถไปในตัวดวย นอกจากเสนทางจักรยานแลว เยอรมนียังมีระบบเชาจักรยาน เรียกวา เมื่อปลาจะกินดาว 10 77


วิถีชีวิตปรกติของชาวเบอรลิน ประเทศเยอรมนี

“จักรยานตามสัง่ ” (Call a bike) โดยใชรถจักรยานสีแดง มีระบบขับเคลือ่ นดวย สายพาน ควบคุมและติดตามตัวดวยระบบ GPRS วิธกี ารเรียกใชบริการจักรยาน คันนีจ้ ะตองโทรศัพทเขาศูนยจกั รยาน จากนัน้ ศูนยจะใหรหัสปลดล็อคจักรยาน เมือ่ ใชเสร็จก็นาํ สงคืนตามจุดจอดตางๆ ทีม่ อี ยูท ว่ั เมือง เยอรมนีใหความสําคัญกับการใชจกั รยานอยางมาก ซึง่ รัฐบาลไดจดั สรรงบ ประมาณในการจัดเครือ่ งอํานวยความสะดวกเพิม่ เติม ยกตัวอยางเชน มีการติด ตัง้ สัญญาณไฟจราจรสําหรับจักรยานโดยเฉพาะ พรอมขีดสีตเี สนเพือ่ กันพืน้ ที่ ใหจักรยานจอดรอสัญญาณไฟ โดยใหจักรยานทุกคันจอดดานหนารถยนต ทุกสี่แยก จะใหจกั รยานไปกอนเสมอ นอกจากนีย้ งั ทําทางลาดและสะพานลอย ขามสีแ่ ยกทุกแหงสําหรับจักรยาน ทีส่ าํ คัญมีจดุ จอดจักรยานเปนสัดเปนสวนให เห็นไดทว่ั ไป สรุปคือ เยอรมนีมวี ฒ ั นธรรมในการใชจกั รยานกันมายาวนานตัง้ แตเริม่ ตัง้ ถิน่ ฐาน จึงไมแปลกทีป่ ระชาชนยังนิยมใชจกั รยานในการเดินทางกันถึงปจจุบนั และดวยนโยบายที่เขมแข็งในการอนุรักษชุมชนเกาแก รถยนตจึงหมดโอกาส ครอบครองเมืองอยางสมบูรณ เมื่อปลาจะกินดาว 10 78


โคเปนเฮเกน : วิสัยทัศนจักรยานเพื่อสิ่งแวดลอม ในชวงป ค.ศ.1960-1970 การใชจกั รยานในเดนมารกเริม่ ลดลงอยางมาก หลังจากทีร่ ถยนตเขามาแทนที่ ตอมาจึงมีการรณรงคใหใชจกั รยานเปนพาหนะ มากขึน้ โดยเฉพาะในเมืองใหญๆ ทําใหปจ จุบนั การใชจกั รยานในเดนมารกถือ เปนเรือ่ งปกติสาํ หรับประชาชนทุกคน เพราะไมวา จะเปนคนรวยหรือคนจนก็ ลวนแตใชจกั รยานเปนพาหนะในการเดินทางทัง้ สิน้ ทุกวันนีค้ นทีใ่ ชจกั รยานใน เดนมารกสวนใหญโดยเฉลี่ยจะเปนกลุมที่มีการศึกษาสูงกวาคนที่ขับรถยนต สวนบุคคล หรือคนทีใ่ ชระบบขนสงมวลชน ดวยความทีเ่ ดนมารกเปนประเทศทีต่ ง้ั อยูใ นพืน้ ทีร่ าบ จึงทําใหงา ยตอการ ปน จักรยาน ดังนัน้ ในเมืองหลวงอยางโคเปนเฮเกน รวมไปถึงนอกเมืองจึงมีทาง จักรยานโดยเฉพาะ และผูขับขี่รถยนตก็จะระมัดระวังคนที่ปนจักรยานเสมอ เหตุใดกรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมารก จึงกลายเปนเมืองที่ถูก หยิบยกขึ้นมาเปนตัวอยางของการใชจักรยานอยางยั่งยืน ทั้งๆ ที่เมืองนี้ ไมใชเมืองอันดับ 1 ของโลกที่มีประชากรใชจักรยานเปนยานพาหนะมาก ที่สุดเสียดวยซ้ํา นั่นก็เพราะวาปจจุบันผูบริหารเมืองของกรุงโคเปนเฮเกน มีนโยบายและเปาหมายชัดเจนที่จะทําใหโคเปนเฮเกนกลายเปนเมืองที่มี การใชจักรยานใหไดมากที่สุด โคเปนเฮเกน มีวิสัยทัศนในการใชจักรยานเพื่อสิ่งแวดลอม หรือ Copenhagen : CPH 2015 โดยมีเปาหมาย 3 ประการคือ 1. คนวัยทํางานในโคเปนเฮเกนไมต่ํากวา 50% จะตองใชจักรยานใน การเดินทาง หลังจากสํารวจพบวา ในป ค.ศ.2008 มีเพียง 37% เทานั้น 2. ลดจํานวนผูบาดเจ็บสาหัสจากการปนจักรยานใหไดครึ่งหนึ่งของป ค.ศ.2005 ซึ่งมีจํานวน 118 ราย และในป ค.ศ.2008 ที่มีมากถึง 121 ราย 3. ผูใชจักรยานไมต่ํากวา 80% จะตองเกิดความรูสึกปลอดภัยในการ ขับขี่ ซึ่งในป ค.ศ.2008 พบวามีเพียง 51% เทานั้น ดังนั้นโคเปนเฮเกนจึงมีแผนวาดวยจักรยานป ค.ศ.2002-2016 ถือเปน เมื่อปลาจะกินดาว 10 79


นโยบายสําคัญอันดับตนๆ และในแตละปรัฐบาลจะสนับสนุนงบประมาณ สําหรับโครงการจักรยานมากถึง 8 ลานเดนนิชโครน การสรางทางจักรยาน 1 กิโลเมตร บนถนนทีม่ อี ยูแ ลวจะใชงบประมาณราว 8 ลานเดนนิชโครน ซึง่ ราคาถูกกวาสรางถนนใตดนิ ในระยะทาง 1 กิโลเมตร ที่ ตองใชงบประมาณถึง 1,000 ลานเดนนิชโครน วันนีโ้ คเปนเฮเกนมีทางจักรยาน ทีเ่ ชือ่ มตอกันมากถึง 350 กิโลเมตร บนถนนทุกสายมีการติดตัง้ สัญญาณไฟ จราจรเพือ่ ใหจกั รยานบนทองถนนทีใ่ ชความเร็วประมาณ 20 กิโลเมตรตอชัว่ โมง สามารถผานไปไดโดยไมตอ งติดไฟแดง นอกจากนี้ สะพานคนเดินและสะพานจักรยานไดถูกสรางขึ้นตามถนน ยานธุรกิจทั่วไป มีรานเชาจักรยานผุดขึ้นราวกับดอกเห็ด มีการเชื่อมตอถนน คนเดินกับถนนสําหรับจักรยานในลักษณะสะพานเขาดวยกันทั่วบริเวณอาว ทางตอนใตของกรุงโคเปนเฮเกน และมีแผนที่จะสรางสะพานแหงที่ 2 ที่อาว ทางตอนเหนือของเมือง คาดวาจะแลวเสร็จในป ค.ศ.2012 ไมเพียงเทานั้น เมืองโคเปนเฮเกนยังมีการสรางที่จอดจักรยานไวทั่วทุก แหง โดยในป ค.ศ.2006 มีที่จอดจักรยานทั้งสิ้น 29,500 แหง และเพิ่มขึ้นเปน 34,800 แหง ในป ค.ศ.2008 อีกทัง้ มีนโยบายชัดเจนวาอาคารหรือสิง่ ปลูกสราง เมื่อปลาจะกินดาว 10 80


ใหมทกุ แหงจะตองจัดเตรียมพืน้ ทีส่ าํ หรับจอดจักรยานไวดว ย เพราะปญหาใหญ ที่สุดของกรุงโคเปนเฮเกนในขณะนี้คือ ขาดแคลนพื้นที่สําหรับจอดจักรยาน ปจจุบนั ชาวโคเปนเฮเกนปน จักรยานเฉลีย่ คนละ 3 กิโลเมตรตอวันความเร็ว เฉลีย่ 16 กิโลเมตรตอชัว่ โมง แตละคนใชเงินดูแลรักษาจักรยาน 1 คันประมาณ 0.33 เดนนิชโครนตอกิโลเมตร ซึ่งถูกกวาขับรถยนตสวนบุคคลที่ตองจายคา ซอมบํารุงประมาณ 2.2 เดนนิชโครนตอกิโลเมตร เมื่อมีเสนทางจักรยานมาก ขึ้นจึงทําใหจํานวนจักรยานบนทองถนนเพิ่มมากขึ้นถึง 20% ขณะที่จํานวน รถยนตกลับลดลงถึง 10% ที่สําคัญการใชจักรยานมีอัตราการตายนอยกวา ผูที่ไมใชจักรยานถึง 30% ทุกๆ วันประชากรชาวเดนมารกที่เดินทางไปทํางานหรือเรียนหนังสือใน กรุงโคเปนเฮเกนราว 37% หรือประมาณ 150,000 คน จะใชจักรยานในการ เดินทาง สวนผูที่อาศัยอยูในกรุงโคเปนเฮเกนราว 55% ก็ไปทํางาน เรียน หนังสือ จายกับขาว ดูหนัง ดูคอนเสิรต ฯลฯ ดวยจักรยานเชนกัน เรียกวา มีวิถีชีวิตผูกพันอยูกับจักรยาน เพราะพวกเขาทั้งเด็ก ผูใหญ ผูสูงอายุ คนวัย ทํางาน แมบาน นิยมปนจักรยานออกนอกบานเพื่อไปทํากิจกรรมตางๆ ในวิถี ชีวิตจริง ไมใชปนเลนกินลมชมวิวเทานั้น มีการสํารวจความคิดเห็นของชาวเดนมารกตอเรื่องการใชจักรยานในกรุง โคเปนเฮเกน พบวา 57% ชอบเพราะเร็วและงายตอการเดินทาง 51% ชอบ เพราะรูสึกปลอดภัย 22% ชอบเพราะไดออกกําลังกาย 13% ชอบเพราะใชเงิน นอย 5% ชอบเพราะเห็นวาสะดวก สบายดี อยางไรก็ตาม ยังมีบางสวนที่ยัง กังวลเมื่อใชจักรยานคือ เปนหวงรถยนต และจําเปนตองทิ้งจักรยานไวที่บาน เมื่อพบเจอกับสภาพที่ย่ําแย ดร.แดเนียล โอบลัค อดีตผูรับทุนหลังจบปริญญาเอกสถาบันนีลส บอหร (Niels Bohr Institute) มหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน ปจจุบันเปน ผูช ว ยนักวิจยั หลังปริญญาเอกทีส่ ถาบันสารสนเทศแหงควอนตัม มหาวิทยาลัย คาลแกรี อัลเบอรตา ประเทศแคนาดา เลาวา กวา 10 ปที่รัฐบาลเดนมารก ไดสรางแรงจูงใจใหคนในเมืองทิ้งรถยนตสวนบุคคล และหันมาใชจักรยาน อยางจริงจังควบคูไปกับการใชบริการระบบขนสงมวลชนอื่นๆ นั้น รัฐบาล เมื่อปลาจะกินดาว 10 81


เดนมารกใชมาตรการเก็บภาษีรถยนตในราคาที่สูง เก็บคาจอดรถในราคาแพง ทําใหประชากรเดนมารกสวนใหญไมมกี าํ ลังซือ้ รถยนตไปใชสว นตัว ขณะเดียวกัน รัฐบาลเดนมารกก็อาํ นวยความสะดวกในการสรางระบบขนสงมวลชน รถไฟฟา และทางจักรยาน ฯลฯ กระจายไปทัว่ ทุกพืน้ ที่ ใครสะดวกแบบไหนก็ใชแบบนัน้ เมื่อ 2-3 ปที่ผานมา เทศบาลกรุงโคเปนเฮเกนไดทุมงบประมาณไป เกือบ 2,000 ลานบาท เนรมิตทางจักรยานเพิ่มเติม และสงเสริมใหมีการ กวดขันวินัยจราจรเพื่อความปลอดภัยของผูที่ปนจักรยาน ซึ่งสรางแรงจูงใจ ใหกับประชากรในเมืองทิ้งรถยนตสวนตัวออกมาปนจักรยานกันมากขึ้น หาก วันใดเกิดหิมะตกหนัก หนาที่หลักของพนักงานเทศบาลก็คือ เก็บกวาดหิมะ บนทางจักรยาน เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับนักปนอันดับแรก แดเนียล เลาอีกวา ปจจุบนั หากใครไดเดินทางไปกรุงโคเปนเฮเกน จะพบ วาชองเดินรถยนตในถนนบางสายแคบกวาทางจักรยาน หรือทางเทาเสียอีก นั่นเพราะวารัฐบาลใหความสําคัญกับทางจักรยานและทางเทามากกวาทาง รถยนต ทําใหทุกวันนี้จึงมีชาวกรุงโคเปนเฮเกนเพียง 30% เทานั้นที่ยังใช รถยนตสวนบุคคล สวนอีก 70% หันไปใชระบบขนสงมวลชนและจักรยาน และในอีก 5 ปขางหนา เทศบาลกรุงโคเปนเฮเกนตั้งเปาไววาจํานวนผูใช จักรยานเพียงอยางเดียวจะสูงขึ้นไปถึง 50% เลยทีเดียว เมื่อปริมาณรถยนตบนถนนนอยลง การใชน้ํามันก็ลดลงตาม อีกทั้งยัง ชวยลดปริมาณการปลอยกาซคารบอนมอนอกไซดในชั้นบรรยากาศ ทําให ประชาชนไมตองหงุดหงิดกับสภาพรถติดบนทองถนน คุณภาพอากาศดีขึ้น อุบตั เิ หตุบนทองถนนลดนอยลง ทีส่ าํ คัญผูท ป่ี น จักรยานเปนประจําจะมีสขุ ภาพ รางกายทีส่ มบูรณแข็งแรง เพราะเหมือนไดออกกําลังกายทุกวันเหลานี้ ลวนสง ผลใหคุณภาพชีวิตดีขึ้นอยางชัดเจน วันนี้จักรยานกําลังอยูในกระแสความนิยมของเมืองใหญๆ หลายแหงทั่ว โลก เพราะพวกเขาเชื่อวาจักรยานคือ เครื่องมือสําคัญและมีตนทุนตําที่สุดใน การลดปญหาโลกรอน ลดการขาดดุลจากการนําเขานํามันที่กําลังมีราคาแพง มากขึ้นทุกวันได เชน เทศบาลนครนิวยอรก ตัดสินใจสรางชองทางจักรยาน เพิ่มขึ้นอีก 300 กวากิโลเมตร เปลี่ยนอาคารที่จอดรถใหเปนสวนสาธารณะ เมื่อปลาจะกินดาว 10 82


ทําใหชาวนิวยอรกหันไปใชจักรยานเพิ่มสูงขึ้นถึง 26% ขณะที่ประเทศเนเธอรแลนดเปนประเทศแรกของโลกที่มีนโยบายจักรยาน แหงชาติ และสงเสริมการสรางทางจักรยานทัว่ ประเทศเชือ่ มโยงเปนโครงขาย แลว 19,000 กิโลเมตร มีจาํ นวนจักรยานในสัดสวนทีพ่ อๆ กับประชากร และได รับการยกยองวามีทางจักรยานทีส่ วยและปลอดภัยทีส่ ดุ ในโลก สวนประเทศญี่ปุนนั้นมีนโยบายชวยเหลือนายจางที่สงเสริมใหพนักงาน ปนจักรยานไปทํางาน และพยายามสกัดกันการใชรถยนตดวยการขึ้นภาษี และเพิ่มคาตรวจสภาพรถยนตปละ 66,000 บาท ดานออสเตรเลียก็ไมนอยห นา เพราะนับตั้งแตป 2547 เปนตนมา ก็มีนโยบายรณรงคใหประชาชนใช จักรยานเพิ่มขึ้นเปนสองเทา โดยมีทั้งกลยุทธระดับชาติและกลยุทธระดับกลุม จังหวัด

ทางจักรยาน : ฝนของคนเมือง (ไทย) ในเนเธอรแลนด ประชากรกวา 75% ใชจักรยานเปนยานพาหนะในการ เดินทาง คิดเปน 1.6 คนตอจักรยาน 1 คัน เรียกวาทุกครอบครัวตองมีจักรยาน ประจําบาน รองลงมาคือ เดนมารก เยอรมนี สวีเดน ญี่ปุน และสหรัฐอเมริกา แตประเทศที่มีจักรยานมากที่สุดในโลก กลับเปนสหรัฐฯ ที่มีจักรยานมากถึง 73 ลานคัน รองลงมาคือ ญี่ปุน 44 ลานคัน และเยอรมนี 28 ลานคัน สําหรับในประเทศไทยมีอัตราเฉลี่ยการใชจักรยาน 24.9 คนตอจักรยาน 1 คัน วันนี้เราสามารถพบเห็นจักรยานตามทองถนนไดมากขึ้น และพบเห็น ทางจักรยานในเมืองใหญๆ และเมืองทองเที่ยว อาทิ กรุงเทพฯ ขอนแกน เชียงใหม ตาก นครสวรรค นครราชสีมา ฯลฯ ไดมากขึ้น เมื่อหันมามองเมืองหลวงของไทย หนวยงานกรุงเทพมหานคร (กทม.) ได มีแนวคิดวา การใชจักรยานเปนอีกแนวทางหนึ่งที่จะทําใหกรุงเทพฯ เปนเมือง นาอยู เนื่องจากการใชจักรยานแทนการใชรถยนตทําใหลดปริมาณการจราจร บนทองถนน ลดมลพิษในอากาศและเสียง ลดการใชพลังงาน ทําใหคุณภาพ ชีวิตของประชาชนดีขึ้น กทม.จึงสนับสนุนและสงเสริมใหมีการใชจักรยาน มากขึ้น เสนทางจักรยานในกรุงเทพฯ แหงแรก สรางเมื่อป 2535 ริมคลองประปา เมื่อปลาจะกินดาว 10 83


ถนนประชาชื่น จนถึงปจจุบันเวลาผานไป 18 ป กทม.เพิ่งสรางเพิ่มเติมได เพียง 25 เสนทาง รวมระยะทางทั้งสิ้น 193 กิโลเมตร นอกจากนี้ ไดติดตั้ง ที่จอดจักรยานกระจายในพื้นที่เพื่ออํานวยความสะดวกใหผูใชสามารถรองรับ จักรยานได 21,298 คัน และจะติดตั้งเพิ่มเติมที่ใตสถานีรถไฟฟาอีก 26 จุด พรอมทั้งกําหนดใหหนวยราชการในสังกัด กทม.จัดเตรียมลานจอดจักรยาน ใหกับผูเขาไปติดตอราชการ อยางไรก็ตาม แมวาในสมัยของ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ บริพัตร ผูวาฯ กทม. จะคิดขยายเสนทางอีก 5 เสนทาง ภายในป 2554 แตยังไมถือวาเปนโครงขาย ที่เชื่อมโยงถึงกันจนสามารถจูงใจใหคนกรุงเทพฯ หันมาใชจักรยานเพิ่มขึ้นได ในงานเสวนาเรื่อง “ทางจักรยาน ถึงเวลาปนฝนใหเปนจริง” ที่ชมรมนัก ขาวสิ่งแวดลอม สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย จัดขึ้นเมื่อ วันที่ 28 มิถุนายน 2553 ที่ไดเชิญ อรวิทย เหมะจุฑา รองผูอาํ นวยการ สํานักการจราจรและขนสง กทม. และ ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ อดีต ประธานชมรมจักรยานเพือ่ สุขภาพแหงประเทศไทย มารวมถกในประเด็น นี้ พอจะไดขอ สรุปวา โอกาสที่จะเกิดเสนทางจักรยานที่เชื่อมโยงเปนโครงขาย สําหรับใชงานจริงในบานเรานั้นคอนขางริบหรี่และยากเย็นแสนเข็ญ อรวิทย บอกวา งบประมาณสรางทางจักรยานเฉลี่ยกิโลเมตรละ 800,000 เมื่อปลาจะกินดาว 10 84


บาท ถูกกวาการกอสรางถนนลาดยางหรือซีเมนตที่ตกประมาณกิโลเมตรละ 8 ลานบาท ซึ่งถูกกวาหลายเทาตัว แตทุกครั้งที่มีการจัดสรรงบประมาณ ประจําป กลับไมเคยมีการบรรจุงบประมาณสําหรับสรางทางจักรยาน ทุกวัน นี้หากจะสรางทางจักรยานเพิ่มก็ตองใชวิธีเกลี่ยงบประมาณจากสวนอื่นมา ดําเนินการ ซึ่งคิดเปนสัดสวนของงบประมาณประจําป กทม.แลวไมถึง 1% “ผูบริหาร กทม.มีผลงานมากมาย แตในจํานวนภารกิจหลักทั้งหมด ทาน ยังไมไดใหความสําคัญกับเรื่องการสงเสริมใหใชจักรยานอยางจริงจัง เวลามี การเสนอเรื่องของบประมาณดําเนินการเรื่องนี้ ทานบอกวาเอาไวกอนเพราะ คนยังใชนอ ย ดังนัน้ งบประมาณสวนใหญจงึ หมดไปกับการตัดถนน ขีดสีตเี สน ชองจราจร และการกอสรางโครงการขนสงขนาดใหญแทน” รองผูอํานวย การสํานักการจราจรและขนสง กลาว สอดคลองกับ สรอยทิพย ไตรสุทธิ์ ผูอ าํ นวยการสํานักงานนโยบาย และแผนการขนสงและจราจร (สนข.) กระทรวงคมนาคม ยอมรับวา ไม เคยมีเรือ่ งเหลานีอ้ ยูใ นแผนแมบทของ สนข.เชนกัน ทัง้ ๆ ทีเ่ ปนหนวยงานทีด่ แู ล ดานระบบการจราจรและขนสงของประเทศในภาพรวมทัง้ ระบบ เพราะปญหา ของการสงเสริมใหคนไทยใชจกั รยานนัน้ ขึน้ อยูก บั “การตีความ” และ “ความ สนใจ” ของผูบ ริหารบานเมืองวาจะใหความสําคัญหรือไมและมากนอยแคไหน หากผูบ ริหารเหลานัน้ เห็นความสําคัญของจักรยาน งบประมาณก็จะถูกจัดสรร และนําไปใชอยางถูกทีถ่ กู ทาง “โดยสวนตัวเขาใจดีวาจักรยานเปนสวนหนึ่งของแนวคิดในการจัดการ จราจรและขนสงที่ยั่งยืน แตเมื่อผูบริหารไมไดใหความสําคัญ เมื่อ สนข. เสนอใหพิจารณาก็จะถูกชะลอไว แตยืนยันวาจะพยายามผลักดันแนวคิดนี้ให สําเร็จ อาจจะเริ่มตนดวยการแนะนําใหจังหวัดภูมิภาคจัดทําแผนแมบทของ เมือง โดยบรรจุเรื่องเสนทางจักรยานและการใชจักรยานไวในแผนดวย” สรอย ทิพย กลาวและวา อันที่จริงเรื่องการทําเสนทางจักรยานนั้น กรมทางหลวง และกรมทางหลวงชนบท ก็มีการใชงบประมาณสวนหนึ่งในการกอสราง แต สวนใหญจะเนนเสนทางที่ผานจุดทองเที่ยวหรือเมืองทองเที่ยว ที่สําคัญทาง จั ก รยานหลายสายเมื่ อ สร า งแล ว กลั บ ไม ค อ ยมี จั ก รยานเข า ไปใช เ ส นทาง เมื่อปลาจะกินดาว 10 85


เพราะไมมั่นใจเรื่องความปลอดภัย ดาน อาจารยธงชัย ไดวิพากษวิจารณเรื่องนี้แบบตรงไปตรงมา โดย เปรียบเปรยวาเปนเพราะ “บัวยังไมพนน้ํา” หมายถึง ผูบริหารเมืองหรือผูมี อํานาจในการตัดสินใจยังคิดไมได หรือยังไมปรับเปลี่ยนวิธีคิดเพื่อใหทันกับ กระแสโลก “ที่โครงการจักรยานไมเกิด เพราะนักการเมืองที่มีอํานาจตัดสินใจมองวา เรื่องนี้ไมสามารถแกปญหาสิ่งแวดลอม สังคม และพลังงานได เขามองไมเห็น วากระสุนนัดเดียวไดนกหลายตัว สาเหตุที่มองไมเห็นก็เพราะเขาไมไดใชยาน พาหนะพวกนี้ ซึ่งผิดกับนักการเมืองตางประเทศ บางคนยังปนจักรยานไป ทํางาน เมื่อไมไดใชจักรยานจึงไมรูวามันมีประโยชนอยางไร ดังนั้นคงตองอาศัยแรงกดดันจากภาคประชาสังคมวาปจจุบันโลกไปถึง ไหนแลว ถาจะแกใหไดตองเปลี่ยนวิธีคิดคนเหลานี้” อาจารยธงชัย กลาวและ วา ทางจักรยานที่ พิจิตต รัตตกุล อดีตผูวาฯ กทม.เคยทําไว ทั้งหมดอยูบน ถนนที่คนมองเห็น หมายความวาทําใหรูวานี่คือผลงาน แตถายอนกลับไปเมื่อ 30 กวาปที่แลว ทางจักรยานไมใชไมมี แตปจจุบันหายไป” เขากลาว อาจารยธงชัย บอกวา ทางจักรยานไมใชคําตอบสุดทาย แตเปนสวนหนึ่ง ของการสงเสริมใหใชจักรยานมากขึ้นเทานั้น เพราะวันนี้หลายพื้นแมจะไมมี ทางจักรยาน แตประชาชนก็ยังใชจักรยานในการสัญจรไปมา ฉะนั้นการทํา โครงสรางทางกายภาพของเสนทางจักรยาน จึงจําเปนตองมีมาตรการดาน สังคมควบคูกันดวย

เมื่อปลาจะกินดาว 10 86


“หากเนนดานกายภาพอยางเดียวโดยไมปลูกจิตสํานึก ไมเปลี่ยนวิธีคิด มันก็ไมเกิด เวลาเราพูดทางจักรยาน คนจะมองภาพวาเปนทางจักรยานที่ เพรียบพรอม ตองใชงบประมาณกอสรางตารางเมตรละ 7 แสนบาท แตผม คิดวาตารางเมตรละ 500 บาทก็พอ เพราะมันไมไดอยูที่วาตองทําใหเพรียบ พรอม แตอยูที่วาจะใชงานไดจริงหรือไม ซึ่งเทศบาลหรือเจาของพื้นที่มักจะ มองงายเกินไป คิดแควาเมื่อทําเสร็จจะมีคนมาใช ซึ่งความจริงไมใช” “ผมคอนขางเชื่อวา กทม.เวลาขีดสีตีเสนทางจักรยาน ไมไดถามชาวบาน หรอกวาเสนทางนั้นเขาอยากใชหรือเปลา ทําใหไมสามารถตอบโจทยที่แทจริง ได เพราะบางทีชาวบานอาจแคตองการขี่จักรยานจากบานไปซื้อกวยเตี๋ยว ปากซอย ซึ่งเปนเสนทางเล็กๆ ระยะสั้นที่ใชงานไดจริง แตไมเคยมีเทศบาล ไหนคิดทํา” “สรุปวา ควรเนนเสนทางจักรยานชุมชนมากกวาบนถนนสายหลัก และ ผมก็ไมเห็นดวยกับการทําเปนโครงขาย เพราะนั่นเปนวิธีคิดของชาวตะวัน ตกที่เดินทางดวยจักรยานจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง ไปทํางานเปนระยะทาง กวา 20 กิโลเมตร ผิดกับวิถีชีวิตบานเราที่ตองการขี่จักรยานไปซื้อกวยเตี๋ยว เทานั้น ถาจะทําเสนทางจักรยานที่สามารถตอบโจทยของสังคมทองถิ่นนั้น ได ขอเสนอใหเริ่มทําในซอย ระยะทางสั้นๆ 2 กิโลเมตร เมื่อมีทางจักรยาน เพิ่มมากขึ้นก็จะสามารถเชื่อมกับถนนสายหลักและเกิดเปนโครงขายทันที” อาจารยธงชัย กลาว

ทางจักรยาน : ประโยชนมากอุปสรรคก็มี ปญหาการจราจรเปนปจจัยหลักที่สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมของเมือง เหตุเพราะปริมาณรถยนตเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วเกินกวาที่พื้นผิวจราจรในเมือง จะรองรับไดเพียงพอ แตหากหันมาใชจักรยานในการเดินทางจะเกิดประโยชน อยางมหาศาล จากเอกสารเรื่อง “จักรยานกับการมีสวนรวมของประชาชนในการแก ปญหาสิ่งแวดลอม” ของชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแหงประเทศไทย ระบุ ถึงประโยชนของจักรยานไว ดังนี้ 1. มีประโยชนตอตัวผูใช คือ ลดภาระคาใชจายในการใชพาหนะ เมื่อปลาจะกินดาว 10 87


สวนตัว ไดชวยชาติชวยสังคม อุบัติเหตุที่เกิดจากจักรยานไมรุนแรง สงเสริมสุขภาพ ไมเสียเวลาบนทองถนน ไมตองใชเชื้อเพลิง 2. ประโยชนตอ สวนรวม ไมรบกวนผูอ น่ื ลดอุบตั เิ หตุรนุ แรง การจราจร คลองตัว 3. ประโยชนตอสิ่งแวดลอม ไมมีเขมาควันพิษจากทอไอเสีย ไมสง เสียงดัง ไมปลอยความรอน วัสดุ อุปกรณ และชิ้นสวนในการ ประกอบตัวรถมีนอย ไมตองใชนํามันหลอลื่นจึงเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม 4. ประโยชนตอการจราจร จักรยานเปนลอขนาดเล็ก ใชพื้นผิวจราจร นอย ไปไดทุกสภาพถนน ลดความคับคั่งบนทองถนน ไมจําเปน ตองใชเจาหนาที่ตํารวจจราจรไปคอยอํานวยความสะดวกในชั่วโมง เรงดวน และทําใหระบบขนสงมวลชนอื่นๆ เชน รถไฟ รถไฟฟา รถประจําทาง แท็กซี่ เรือ สมบูรณมากยิ่งขึ้น 5. ประโยชนตอชาติ ลดการขาดดุลการคาในการนําเขานํามันเชื้อ เพลิง หยุดการสรางเขื่อนเพื่อผลิตกระแสไฟฟา ประหยัดงบ ประมาณในการกอสรางถนนเพิ่มเติม สงเสริมสถาบันครอบครัว เพราะเมื่อไมตองเสียเวลาบนทองถนนก็จะมีเวลาอยูบานมากขึ้น การใชจักรยานใหประโยชนมากมาย จึงนาจะเปนเหตุผลเพียงพอที่ผู บริหารบานเมืองจะคิดปดฝุนนโยบายใหมีการนําจักรยานมาใชกันใหมาก ขึ้น แตก็ใชวาจะไมมีปญหาและอุปสรรคเสียทีเดียว เพราะในบานเรายัง เมื่อปลาจะกินดาว 10 88


มีทางจักรยานไมเพียงพอ ไมครอบคลุมเปนโครงขาย ทั้งๆ ที่ประเทศไทย หลายพืน้ ทีม่ สี ภาพภูมปิ ระเทศเปนทีร่ าบ เหมาะสมอยางยิง่ ในการปน จักรยาน แตปจจุบันจักรยานกลับไมเปนที่นิยมเหมือนในอดีต เพราะบนทองถนนมี รถยนตหนาแนนจนแทบจะไมเหลือชองทางสําหรับจักรยาน ยกเวนถนน บางสายของกรุงเทพฯ และจังหวัดที่เปนเมืองทองเที่ยว ปญหาที่พบก็คือ 1. แผนการจราจรไมถูกตอง การจัดระบบการจราจรดวยการสราง ถนน ทางดวน ทางยกระดับ สะพานลอย เพื่อรองรับปริมาณ รถยนต เปนการสนับสนุนใหมีการใชรถยนตมากขึ้น และถนนเหลา นั้นไมอนุญาตใหรถเล็กหรือจักรยานเขาไปมีสวนแบงในการใชพื้นที่ ขณะที่ระบบขนสงมวลชนก็ไมสามารถใหบริการไดครอบคลุมทั่วถึง และเชื่อมตอกันเปนโครงขาย 2. คานิยม อิทธิพลในการทําประชาสัมพันธของบริษัทผูผลิตรถยนต ที่เนนความหรูหรา สะดวก สบาย ทําใหคนสวนใหญทิ้งจักรยานหัน ไปซื้อรถยนตขับแทน 3. มลพิษในอากาศ เนื่องจากสภาพการจราจรที่ติดขัด ทําให เครื่องยนตปลอยกาซพิษและฝุนละอองจํานวนมาก ผูที่อยูบนทอง ถนนไมวาจะเดิน อยูในรถยนตสวนตัว รถประจําทาง หรือ ปนจักรยาน จึงมีโอกาสสูดเอามลพิษเหลานั้นเขารางกายได เชน คารบอนมอนอกไซด ซึ่งความเชื่อของคนที่ไมนิยมใชจักรยานมัก เขาใจวาเมื่อปนจักรยานไปบนทองถนนจะไดรับสารพิษมากกวาคน ที่อยูในรถยนต ซึ่งถือเปนความเขาใจที่คลาดเคลื่อน เพราะโดยขอ เท็จจริงจักรยานสามารถลัดเลาะเสนทางไปไดเรื่อยๆ โดยไมจําเปน ตองจอดนิ่งเพื่อสูดดมกาซพิษบนทองถนน 4. สภาพอากาศ ประเทศไทยอยูในเขตมรสุม ตองเผชิญทั้งฝนตกและ แดดออก แตสภาพอากาศเหลานั้นไมใชเรื่องใหญสําหรับคนที่นิยม การปนจักรยาน เนื่องจากพวกเขาเชื่อวา เมื่อฝนตก หากไมหนัก มากก็ยังสามารถสวมเสื้อกันฝนปนไปจนถึงจุดหมายปลายทางได เพียงแตตองเตรียมอุปกรณเสริมไวยามจําเปน แตหากเกิดน้ําทวม รถใหญไมสามารถผานเสนทางไปได แตจักรยานยังสามารถลัด เลาะ หลบฝน หนีน้ําทวมได สวนกรณีแดดรอนจัด การปนจักรยาน เมื่อปลาจะกินดาว 10 89


ก็ไมใชเรื่องยาก เพราะถือวาไดออกกําลังกาย และในหลายๆ ประเทศที่มีการสงเสริมใหประชาชนใชจักรยานในการเดินทาง เชน ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา จีน อาคารสํานักงาน โรงงาน สถานประกอบ การตางๆ ก็มักจะจัดเตรียมหองอาบน้ําไวอํานวยความสะดวกให พนักงานดวย 5. ความปลอดภัย เนื่องจากถนนในประเทศไทยสวนใหญรองรับ เฉพาะรถยนต และจักรยานยนต เมื่อจักรยานเขาไปรวมใชพื้นที่ ผิวจราจรดวย แมจะเปนชองทางสําหรับจักรยาน ไมวาจะเปนถนน ในตรอก ซอย จึงมักประสบอุบัติเหตุบอยครั้ง ทําใหคนที่เคยมี ความคิดจะใชจักรยานรูสึกขยาดกลัวการปนจักรยานบนทองถนน ทั่วไป ในเอกสารจักรยานกับการมีสวนรวมของประชาชนในการแกปญหาสิ่ง แวดลอม ยังเสนอไววา การจะใหจักรยานกลับมามีบทบาทบนทองถนนของ ประเทศไทยอีกครั้ง จะตองสรางทางจักรยานโดยเฉพาะ เพื่อใหคนใชจักรยาน รูสึกปลอดภัย พรอมทั้งยกตัวอยางประเทศออสเตรเลียที่มีการออกแบบทาง จักรยานไว 3 ประเภท โดยขึ้นอยูกับปริมาณจักรยาน ปริมาณการจราจร และ เมื่อปลาจะกินดาว 10 90


ความจํากัดของขอบเขตทาง ดังนี้ 1. ทางจักรยานแบบปนสวน (Share Bikeway) แบงสวนมาจากชอง จราจรรถยนต โดยการตีเสนหรือทําเครื่องหมายบนผิวจราจรของ ชองจราจรที่ไดออกแบบไวเผื่อสําหรับจักรยานกอนแลว ซึ่งจะ ประหยัดงบประมาณ ปลอดภัย และผูชจักรยานสะดวกสบาย เพราะทางจักรยานจะกวางกวาชองจราจรทั่วไปอีกประมาณ 1 เมตร เหมาะสําหรับบริเวณยานที่พักอาศัย หรืออาจประยุกตกับ ถนนในเมืองหากปริมาณการจราจรบริเวณดังกลาวไมหนาแนน มากนัก 2. ทางจักรยานแบบแยกสวน (Restrieted Bikeway) ใชสําหรับถนนที่ มีผิวจราจรหรือเขตทางกวางพอ สามารถกําหนดใหชองทาง จักรยานอยูขางใดขางหนึ่ง หรือทั้งสองขางของถนนก็ได โดยอยู ระหวางขอบทางเทาหรือชองจอดรถยนต (Parking Lane) มีคันหิน (Barrier) กั้นระหวางชองทางจักรยานหรือชองจราจรแยกขาดออก จากกัน พรอมมีปายจราจรประกอบ สวนบริเวณทางแยก ทาง ขามอาจจําเปนตองทําแบบปนสวน ซึ่งอาจเกิดความสับสนหรือ อุบัติเหตุไดงายในจุดนี้ จึงตองมีปายกํากับชัดเจน ซึ่งเหมาะกับยาน ในเมือง โรงเรียน โรงงาน ฯลฯ 3. ทางจักรยานเฉพาะ (Exclusive Bikeway) เปนการแยกทางจักรยาน ออกจากถนนทั่วไปอยางเด็ดขาด ใหความปลอดภัยแกผูปน จักรยานสูงที่สุด เหมาะสําหรับบริเวณที่มีปริมาณจักรยานสูง หรือ สถานที่ทองเที่ยว สถานที่พักผอน สวนสาธารณะ ซึ่งอาจใหมีทาง คนเดินรวมดวย โดยใชเครื่องหมายจราจรหรือทาสีบนผิวจราจร แต ราคาคากอสรางจะสูงกวา 2 แบบแรก อาจารยธงชัย เลาวา ในประเทศเนเธอรแลนดมที างเรียบคลายไฮเวย มี ทางจักรยานกวาง 2 เมตร จากเมืองหนึง่ ไปอีกเมืองหนึง่ บางเสนทางก็จะคู ขนานเหมือนกับไฮเวยขนาดใหญ บางเสนทางอาจลึกเขาไปในชุมชน ซึง่ ใน กรุงเทพฯ เหมาะทีจ่ ะทําทางจักรยานในเสนทางชุมชน โดยเทศบาลหรือทอง ถิน่ จะตองทําอยางจริงจัง เขาเห็นวา รัฐบาลควรจัดงบประมาณใหกบั กรมทางหลวงหรือกรมทางหลวง เมื่อปลาจะกินดาว 10 91


ชนบทสวนหนึ่งเพื่อใชสําหรับสรางทางจักรยาน ถนนทุกสายที่จะตัดเพิ่มเติม ในอนาคตควรจะมีไหลทางเพื่อเปนชองทางจักรยานดวย ดังนั้น ในเรื่องนี้ กระทรวงคมนาคมควรจะมีบทบาทสําคัญในการเขียนแผนพัฒนาเสนทาง โครงขายถนนทั่วประเทศ ซึ่งตองมีการบรรจุเรื่องทางจักรยานไวในแผนดวย เพราะการเพิ่มทีละเล็กละนอยก็ยังดีกวาไมทําอะไรเลย

นักปน : ฝนปนทางจักรยาน ผูที่ใชจักรยานในปจจุบันมีทั้งหมด 4 ประเภท คือ 1.กลุมคนใชจักรยาน 2.กลุมนักจักรยาน (Cyclist) 3.กลุมนักแขงจักรยาน (Racer) และ 4.กลุมผูที่ ชื่นชอบจักรยาน ในจํานวนนี้กลุมแรกจะมีมากที่สุด และจะมีความชํานาญ ในการใชจักรยานบนถนน ซึ่งสิ่งที่พวกเขาตองการคือ ความตอเนื่อง และ สามารถใชงานไดจริง อาจารยธงชัย ย้ําวา คนที่ปนจักรยานในบานเราตางกับในตางประเทศ อยางมาก ในตางประเทศ เชน ออสเตรเลีย เนเธอรแลนด จะปนจักรยานทาง ไกลไปกลับถึง 20-40 กิโลเมตร และในประเทศที่ใชจักรยานกันในชีวิตประจํา วัน เชน จีน อินเดีย ญี่ปุน จะเห็นวาไมจําเปนตองสวมหมวกกันน็อค เพราะ ไมใชนักแขงจักรยาน การรณรงคใหใชจักรยานจึงไมใชแคผลักดันใหมีทางจักรยานเทานั้น แต ยังตองสรางเสนทางจักรยานที่เหมาะสมกับคนไทย คือเสนทางยานแหลง ชุมชน จากบานไปสูรานคา ตลาดสด ศูนยการคา โดยผูใชจักรยานสามารถ ขี่จักรยานไปจับจายซื้อของหรือทํากิจกรรมอื่นๆ ได และหากจะใหดียิ่งๆ ขึ้น ไปอีก สถานที่เหลานั้นจําเปนตองมีพื้นที่สําหรับจอดจักรยาน ฉะนั้น กทม. หรือองคกรปกครองสวนทองถิ่นควรออกเปนกฎกติกาวา เมื่อมีศูนยการคา ตลาดสด หรือแหลงชุมชน ตองมีพื้นที่จอดจักรยานอยูดวยเสมอ “ทัง้ หมดนีข้ น้ึ อยูก บั วิธคี ดิ ของผูบ ริหาร ไมใชขน้ึ อยูก บั เรือ่ งทางกายภาพ หรืองบประมาณ แตผบู ริหารบานเมืองจะตองทําใหเปนตัวอยางกอน และจะ ตองทําเปนนโยบายอยางจริงจัง แมวนั นีจ้ ะมีเสนทางจักรยานมากกวาทีค่ าด แตกย็ งั ไดไมเทาทีห่ วัง เพราะไมมใี ครใหความสําคัญ แตหากเปนไปไดขอเสนอ แนะวา ทางจักรยานทีจ่ ะสรางขึน้ ในอนาคตควรมีการปอนเขาสูร ะบบขนสง สาธารณะอืน่ ๆ ดวย เชน รถไฟฟาบีทเี อส รถไฟฟาใตดนิ รถบีอารที รถประจํา ทาง แท็กซี่ เพือ่ ลดการใชรถยนตสว นบุคคลใหมากทีส่ ดุ ” อาจารยธงชัย กลาว เมื่อปลาจะกินดาว 10 92


เขาบอกดวยวา การใชจกั รยานจะชวยอํานวยความสะดวกไดชนิดทีเ่ รียก วา “ดอรทดู อร” ซึง่ หมายถึงจากประตูบา นถึงประตูทท่ี าํ งาน และจุดหมาย ปลายทางอืน่ ๆ ตามทีต่ อ งการ แตสาํ หรับพืน้ ทีเ่ ขตเมืองอยางกรุงเทพฯ ที่เติบโต ไปอยางไรทศิ ทาง ทัง้ ในดานของผังเมืองและระบบการจราจรและขนสง จําเปน อยางยิง่ ทีต่ อ งมีการวางแผนเปนลําดับขัน้ ตอน กลาวคือ “แผนระยะสั้น” ใหดัดแปลงทางเทาหรือบาทวิถีที่มีอยูเดิมใหเปนทาง จักรยาน โดยปรับพื้นผิวใหเรียบ และปรับใหมีเชิงลาดขึ้นลงตามหัวทาย ของบาท วิถีทุกทางเชื่อมทางแยก เพื่อใหเกิดความตอเนื่องในการเดินทาง ดวยจักรยาน และไมตองกังวลวาคนเดินเทาจะใชทางรวมกับจักรยานไมได เพราะจักรยานใชความเร็วตําจึงเกิดอุบัติเหตุไดยาก นอกจากนี้ควรจัดพื้นที่ สําหรับจอดจักรยานใหกระจายทุกมุมเมือง ซึ่งเบื้องตนเพียงลงทุนทําราว เหล็กสําหรับ คลองโซไดเทานั้น หรือหากบริเวณใดมีความหนาแนนของการ ใชจักรยานมาก ใหจัดสรางเปนลานจอดจักรยาน 2 ชั้น สําหรับ “แผนระยะกลาง” การสรางทางจักรยานเฉพาะ เพื่อใหเกิดความ สะดวกและปลอดภัยแกผูใชจักรยาน สามารถจัดสรางไดตามแหลงที่วาง เชน ทางจักรยานเลียบคลอง โดยเฉพาะในกรุงเทพฯ ซึ่งในอดีตไดชื่อวาเปนเวนิช ตะวันออก สามารถสรางใหเชื่อมตอกันไดเกือบครอบคลุมพื้นที่ นอกจากนี้ ยังมีพื้นที่วางใตทางดวน ใตสายสงไฟฟาแรงสูง สรางทางจักรยานเชื่อมตอ สวนสาธารณะ พรอมทั้งจัดสรางสถานที่จอดจักรยานตามสถานีขนสง เพื่อ เปนการเชื่อมระบบการเดินทาง และสรางศูนยบริการซอมบํารุงจักรยานไว ตามแนวเสนทางจักรยาน สวน “แผนระยะยาว” คือ พิจารณาสรางทางจักรยานใหครบวงจรทั้ง ระบบ สวนรูปแบบใหพิจารณาตามความเหมาะสมของแตละพื้นที่ หรืออาจ ตองพิจารณาจากตนแบบในตางประเทศที่ไดลงมือปฏิบัติอยางจริงจังจน ประสบความสําเร็จดวยดี ขอเพียงแคเปลี่ยนวิธีคิดใหมและมีความเชื่อมั่นวา จักรยานสามารถเปลี่ยนแปลงโลกได เพราะทางจักรยานไมใชแคความฝน...แตตองรวมกันพัฒนา

เมื่อปลาจะกินดาว 10 93


นโยบายเมืองตางๆ ทัว่ โลก เนเธอรแลนด

ประเทศแรกที่มีนโยบายจักรยานแหงชาติ ปจจุบันมีทางจักรยาน เกือบ 19,000 กิโลเมตร

สหรัฐอเมริกา

จัดสรรงบประมาณเกือบ 3,000 เหรียญสหรัฐ ลงทุนในโครงการ เพื่อพัฒนาทางจักรยานและคนเดินเทา ระหวางป 2541-2546 ภายใตโครงการ Transportation Equity Act for 21st Century

ออสเตรเลีย

วางแผนเพื่อใหมีการใชจักรยานเพื่มขึ้นเปน 2 เทา ในป ค.ศ. 2004 โดยทําการพัฒนาโครงขายทางจักรยาน สิ่งอํานวยความ สะดวก และเพิ่มความปลอดภัยในการใชจักรยาน

ฝรัง่ เศส

กระทรวงสิ่ ง แวดล อ มและกระทรวงคมนาคมได ร ว มกั นกํ า หนด แผนจักรยานแหงชาติในป 2537 และจัดงบประมาณ 2 ลาน เหรียญสหรัฐ ลงทุนโครงการจักรยาน 10 โครงการ โดยใช ตนแบบจากเนเธอรแลนด

ญีป่ นุ

กําหนดตนทุนการครอบครองรถยนตสูง เชน เก็บภาษีนํามันสูง กวาในสหรัฐอเมริกา 2 เทา เก็บภาษีและคาตรวจสภาพรถยนต คิดเปนคาใชจายสูงถึงประมาณ 2,000 ลานเหรียญสหรัฐตอป นอกจากนี้ มีการชวยเหลือนายจางที่สนับสนุนใหลูกจางเดินทาง โดยจักรยานเพิ่มขึ้น 2 เทา และลดเงินชวยเหลือสําหรับผูเดิน ทางดวยรถยนตครึ่งหนึ่ง

โคลัมเบยี

มีทางจักรยานยาว 300 กิโลเมตร และมีมาตรการหามรถยนต เขาถนนสายหลักในตัวเมืองโบโกตา เปนระยะทางกวา 120 กิโลเมตร ในวันอาทิตยและวันหยุด และมีมาตรการหามรถยนต ในชั่วโมงเรงดวนในอีก 12 ปขางหนา

เปรู

ใหครอบครัวที่มีรายไดตําสามารถกูเงินซื้อรถจักรยานเพื่อกระตุน ใหเกิดการเดินทางโดยตั้งเปาวา เมืองลิมา จะมีผูใชจักรยานเพิ่ม ขึ้นจาก 2% เปน 10% ในป 2538 รวมทั้งมีการสรางทางจักรยาน กวา 60 กิโลเมตร ขนานไปกับถนนสายหลัก

ที่มา : Janet Larsen, Earth Policy Institute, 2545

เมื่อปลาจะกินดาว 10 94


ปนจักรยานแลวดีอยางไร? เมื่ อ ครั้ ง ที่ ผ มตั้ ง ชมรมจั ก รยาน ใหมๆ มีพนักงานระดับลางในจุฬา ลงกรณมหาวิทยาลัย ซึ่งตองนั่งรถ มอเตอร ไซค รั บ จ า งจากบ า นในซอย เล็กไปที่ถนนในซอยใหญ จากนั้นก็ นั่งสองแถวตอไปยังถนนใหญ จาก ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ อดีตประธานชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแหง ถนนใหญก็ตองนั่งรถประจําทางไปที่ ประเทศไทย ทํางาน วันหนึ่งเขาซื้อจักรยาน มา 1 คันราคาขณะนั้นประมาณ 6,000 กวาบาท ซึ่งแพงมากสําหรับคนเงิน เดือนนอย แตหลังจากนั้นก็สามารถคืนทุนไดภายใน 8 เดือน เมื่อหัก จากคามอเตอรไซค คาสองแถว คารถเมล ที่ดีกวานั้นเขาสามารถตื่น สายไดอีกครึ่งชั่วโมง มีเวลาอยูกับบาน รดนําตนไม อีกครึ่งชั่วโมง พรอม กับคํานวณไดวาจะถึงที่ทํางานตอนกี่โมง บวกลบไมเกิน 10 นาที ขณะ ที่วิธีเดิมไมรูวาจะถึงที่ทํางานกี่โมง แตพอมีจักรยานเขาสามารถกําหนด วิถีชีวิตได มีคนถามผมวา ปนจักรยานในเมืองใหญจะดีกับสุขภาพไดอยางไร ปนไปสูดมลพิษไป ผมเปนวิศวกรดานสิ่งแวดลอม ผมรูวาเวลาคุณนั่งรถ เกงติดแอร แลวไปจอดตอทายรถเมล ถึงแมมันจะไมมีกลิ่นเขามาในรถ แตคุณรูหรือไมวา ไอเสียก็ยังเขารถอยูดี เพียงแตเราชินกับกลิ่นจนไมรู สึก กรมควบคุมมลพิษเคยตรวจวัดคุณภาพอากาศภายในหองโดยสาร พบวา มันแยยิ่งกวาขางนอกรถเสียอีก แตเราไมรู ถามวาผูจักรยานจะทําอยางไรเมื่อตองไปจอดตอทายรถเมล งาย นิดเดียว คุณก็แคกลั้นหายใจแลวปนแซงรถเมลไปก็จบแลว ขณะที่คน นั่งรถตุกตุกไมสามารถหลบเลี่ยงไปไหนได ทําไดอยางเดียวคือ ควัก ผาเช็ดหนามาปดจมูก แตก็ไมไดชวยอะไรมาก สิ่งนี้เปนสิ่งที่คนไมเขาใจ ถาคุณปนจักรยานดวยความเร็วสูง และหายใจถี่แบบนักแขงก็อาจมี เมื่อปลาจะกินดาว 10 95


ปญหา แตการปนจักรยานแบบชาวบาน ไมเปนไร คําถามตายตัวสําหรับคนใชจักรยานมีอยางเดียวคือ ไมเชื่อวาปน จักรยานแลวจะปลอดภัย เขาเลยไมใช ผมถามกลับวา คุณเคยเห็นสาว ยาคูลทถูกรถชนบางหรือไม ก็ไมมีใครเคยเห็น ทั้งๆ ที่ก็มีกระบะใสของ และปนตลอดทั้งวัน นั่นเพราะเขามีทักษะในการปนจักรยาน รูวาจะจอด ตรงไหน จะปนอยางไง จะหลบซายหรือขวาเขาจึงปลอดภัย ในบานเราคนปนจักรยานคือคนจน ไมมีเงิน ผิดกับในตางประเทศที่ คนปนจักรยานมักจูงหมา ใสสูทเรียบรอย ซึ่งนั่นคือวิถีชีวิตหรือไลฟสไตล ของเขา หากในบานเราจะสงเสริมใหคนใชจักรยานในการเดินทาง อาจ จะตองมีการใหพื้นที่หรือสิทธิพิเศษบางประการ เชน เพิ่มทางจักรยาน หองอาบนํา ตูเก็บสัมภาระ ที่จอดจักรยาน ลดภาษีใหกับสถานประกอบ การที่สงเสริมใหพนักงานใชจักรยาน เปนตน

เมื่อปลาจะกินดาว 10 96


บรรณานุกรม Trafc counts and other trafc surveys 2003-2007 Copenhagen City of Bicycles-Bicycle Report 2008 Copenhagen bicycle policy 2002-2012 เอกสารอางอิง ชาวกรุงเทพฯ กับการเดินทางในทศวรรษหนา, สํานักการจราจรและ ขนสง กรุงเทพมหานคร เอกสารประกอบการสัมมนา การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดลอมของประเทศไทย ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 18-19 ธันวาคม 2536 Janet Larsen, Earth Policy Institute 2545 เว็บไซต Copenhagen: city of bicycles/homepage http://www.bloggang.com สัมภาษณ ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ อดีตประธานชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแหงประเทศไทย ดร.แดเนียล โอบลัค อดีตผูรับทุนหลังจบปริญญาเอก ของสถาบันนีลส บอหร (Niels Bohr Institute) มหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน ปจจุบันเปนผูชวยนักวิจัยหลัง ปริญญาเอกที่สถาบันสารสนเทศแหงควอนตัม มหาวิทยาลัยคาลแกรี อัลเบอรตา ประเทศแคนาดา นางสรอยทิพย ไตรสุทธิ์ ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) กระทรวงคมนาคม นายอรวิทย เหมะจุฑา รองผูอํานวยการสํานักงานการจราจรและขนสง (สจส.) กรุงเทพมหานคร ที่ปรึกษา นายทวีศักดิ์ บุตรตัน ผูชวยบรรณาธิการขาว หนังสือพิมพมติชน สัมมนาเรื่อง “ทางจักรยาน...ถึงเวลาปนฝนใหเปนจริง” วันที่ 28 มิถุนายน 2553 จัดโดยชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม

เมื่อปลาจะกินดาว 10 97


ผาเปลือกเถือเนื้อแทซีเอสอาร อัญชลี คงกรุต หนังสือพิมพบางกอกโพสต

เมื่อปลาจะกินดาว 10 98


นาทีนค้ี งไมมใี ครทีไ่ มเคยไดยนิ คําวา “ซีเอสอาร” ซึง่ ยอมาจากคําวา Corporate Social Responsibility (CSR) ที่หากแปลตรงตัวก็คือ ความรับผิด ชอบตอสังคมของภาคธุรกิจ ขณะที่บริษัทใหญๆ รวมไปถึงขนาดกลางและเล็กตางก็เข็นกิจกรรม ซีเอสอาร ของตนออกมา สวนใหญมักมาในรูปของการชวยเหลือสังคม เชน การบริจาคเงินเพื่อชวยสรางโรงเรียน วัด และสาธารณูปโภคตางๆ การแจก ของใหชุมชนที่ยากไรหรือผูประสบภัยพิบัติ นอกเหนือจากการใหทานแลว กิจกรรมซีเอสอารยอดนิยมของภาคธุรกิจในประเทศไทยก็คือ โครงการฟนฟู สิ่งแวดลอม ไมวาจะเปนการพัฒนาแหลงน้ํา การสงเสริมการลดขยะและ หมุนเวียนมาใชใหม ในขณะเดียวกัน สังคมก็ไดตง้ั คําถามถึงความจริงจังและจริงใจของบริษทั ที่ดําเนินกิจกรรมซีเอสอารเหลานั้นวา สิ่งที่บริษัทลงทุนลงแรงไปเปนเพียงการ สรางภาพลักษณเทานั้น เพราะธุรกิจบางประเภทที่สรางผลกระทบตอสังคม หรือสิ่งแวดลอมอาจตองการทํากิจกรรมซีเอสอารเพียงเพื่อกอบกูภาพลักษณ เบี่ยงเบนความสนใจ รวมไปถึงการไถบาป เมื่อปลาจะกินดาว 10 99


แมวาการจับผิดบริษัทที่พยายามทําความดี ดูจะเปนสิ่งที่ไมสรางสรรค และบั่นทอนจิตสาธารณะ แตคงจะปฏิเสธไมไดวากิจกรรมซีเอสอารไดกลาย มาเปนสวนหนึ่งของการตลาดและการสรางภาพลักษณขององคกรไปแลว สิ่งที่สําคัญสําหรับกิจกรรมซีเอสอารคือ การแสดงความรับผิดชอบตอ สังคมและผูมีสวนไดสวนเสียตอผลกระทบจากธุรกิจ คําถามก็คือ ซีเอสอาร ที่ทํากันไปไดไกลแคไหน เปนเพียงแคเรื่องของความใจบุญสุนทาน เพราะ ทายที่สุดก็เปนที่รูกันดีวา การจายเงินทําบุญงายกวาการแสดงความรับผิด ชอบ ตัวอยางของความขัดแยงระหวางผลกระทบที่เกิดจากกระบวนการผลิต กับการใชซีเอสอารในการแสดงความรับผิดชอบมีอยูใหเห็นเสมอ เชน บริษัท ผูผลิตและจําหนายสุราบริษัทหนึ่งไดทําโครงการซีเอสอารโดยปลูกปาและ สรางฝาย ทั้งๆ ที่สินคาของบริษัทนั้นก็เปนสิ่งที่ไมกอใหเกิดผลดีตอสุขภาพ และสังคม ทําใหเกิดขอสงสัยวา กิจกรรมซีเอสอารเชิงรักโลกนั้นจะรับผิด ชอบตอผลกระทบทางสังคมและตอสุขภาพไดอยางไร อีกกรณีคอื บริษทั พลังงานยักษใหญของประเทศหนึง่ ทีเ่ คยเปนจําเลยของ สังคมและมีปญหากับหลายชุมชนในการใชพ้นื ที่ปาและที่ทํากินของชุมชนเพื่อ วางทอกาซ และลาสุดเกิดปญหาคราบน้าํ มันรัว่ ในนานน้าํ ประเทศเพือ่ นบาน ก็ไดแปลงรางมาเปนนักอนุรกั ษธรรมชาติ โดยมีการระดมเงินเพือ่ ปลูกปาใน หลายจังหวัดทัว่ ประเทศ บริษัทปูนซีเมนตช่ือดังที่ไดระเบิดภูเขาไปมากมายหลายลูกก็ไดสราง ความฮือฮาในวงการซีเอสอาร โดยการจับมือกับชุมชนทีอ่ าศัยในเขตภูเขาและ ลุม น้าํ สรางฝายขนาดเล็ก สวนการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) รัฐวิสาหกิจยักษใหญทม่ี ปี ญ  หากับชาวบานใน จ.อุบลราชธานี กรณีการ  หากับชาวบานในแถบ สรางเขือ่ นปากมูลเมือ่ เกือบ 20 ปทแ่ี ลว และเคยมีปญ อ.แมเมาะ จ.ลําปาง เนือ่ งจากเกิดมลพิษทางอากาศจากโรงไฟฟาถานหิน สุดทายก็ดนั โครงการปลูกปาขึน้ มา และล า สุ ด บริ ษั ท ยาสู บ ต า งชาติ ชื่ อ ดั ง ก็ พ ยายามวิ่ ง เข า หาโครงการ อนุรักษสิ่งแวดลอมเพื่อผลักดันโครงการซีเอสอารของบริษัท ขณะที่ในมุม เมื่อปลาจะกินดาว 10 100


มองของผูเชี่ยวชาญดานซีเอสอารมองวา กฎเหล็กที่มากอนขออื่นใดในการ ทําซีเอสอารคือ การเสนอสินคาที่สงผลดีตอชีวิตผูบริโภค ดังนั้นกิจกรรม ซีเอสอารที่เหมาะสมที่สุดคือ ผลิตบุหรี่ที่สูบแลวรางกายแข็งแรง หรือสูบแลว ไมเปนมะเร็ง

ซีเอสอารคืออะไร? คําวาซีเอสอารก็ไมตางไปจากคําศัพทภาษาอังกฤษที่ใชทับศัพทไดโดย ไมตองแปล แมแตราชบัณฑิตยสถานก็ยังไมมีการบัญญัติคําแปล ขณะที่ทาง ราชการก็ยังไมมีคําจํากัดความ สถาบันไทยพัฒน องคกรพัฒนาเอกชนที่ใหการอบรมการทําซีเอสอาร กับบริษัทที่มีชื่อเสียงมากมาย และใหคําปรึกษาดานซีเอสอารกับตลาดหุน แหงประเทศไทย ไดใหนิยามวา ซีเอสอาร หมายถึง “บรรษัทบริบาล” ที่มีราก ศัพทมาจากคําวา “บรรษัท” รวมกับคําวา “บริ” ที่แปลวา ทั้งหมด ออกไป โดยรอบ เชื่อมกับคําวา “บาล” ที่แปลวาการดูแลรักษา ซึ่งก็หมายถึงการที่ บริษัท “ดูแลรักษาไมเฉพาะในสวนที่เปนกิจการ แตยังแผขยายกวางออกไป ครอบคลุมผูมีสวนไดสวนเสียทั้งหมดที่อยูรอบกิจการ ดวยเงื่อนไขของความ สํานึกรับผิดชอบตอสังคมในฐานะพลเมืองบรรษัท (Corporate Citizen) การมี คุณธรรม โดยคํานึงถึงผูมีสวนไดเสียทั้งในและนอกกิจการอยางเทาเทียมกัน” เรื่องของบรรษัทบริบาลจึงเปนกลไกการดําเนินงานและกระบวนการ ภายนอกขั้นกาวหนา ที่จัดใหมีขึ้นภายใตจุดมุงหมายที่ตองการสรางสรรค ประโยชนแกกิจการและสวนรวมบนพื้นฐานของการไมเบียดเบียนกัน การ สงเคราะหชวยเหลือสวนรวมตามกําลังและความสามารถของกิจการ อันจะ นําไปสูความยั่งยืนของกิจการในระยะยาว ไชยยศ บุญญากิจ รองประธานสถาบันสิ่งแวดลอมไทย มองวา ซีเอสอารเปนแนวคิดในการทําธุรกิจแนวใหมที่จะนําพาทั้งสังคมและธุรกิจ ไปสูความยั่งยืน ซึ่งเกี่ยวโยงทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ตอง แสดงความรับผิดชอบตอการตัดสินใจและกิจกรรมของตน ดวยการลดผลก ระทบของกิจกรรมที่มีตอสังคมและสิ่งแวดลอม หลักสําคัญคือตองทําอยาง เปนระบบและมีที่มาที่ไป กลาวคือ การลดผลกระทบตองทําในจุดที่เกิดผล กระทบ เมื่อปลาจะกินดาว 10 101


“ถากิจกรรมการผลิตมีผลกระทบตอแหลงน้ํา การแสดงความรับผิดชอบ ก็ตองตรงจุด โดยแกไขเรื่องผลกระทบมลพิษทางน้ําและอนุรักษทรัพยากร น้ํา สิ่งที่จะตองทําเปนอันดับแรกคือ การปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยการ ปองกันมลพิษอยางเครงครัด หลังจากนั้นจึงคอยทําใหมากกวาที่กฎหมาย กําหนด เชน การปรับปรุงแหลงน้ํา สรางแหลงน้ําเพิ่มเติม อนุรักษปาตนน้ํา นําเทคโนโลยีใหมๆ มาลดการใชน้ําในการผลิต และการนําน้ํากลับไปใชซ้ํา เปนตน” ดังนั้น การทําซีเอสอารจึงมากกวาการใหทานหรือการคืนกําไรแกสังคม ไมใชแคการเอาของไปแจกในลักษณะการทําบุญ สรางถนน สรางวัด สราง โรงเรียน แลวจะถือวาเปนการลดผลกระทบหรือเปนการลบลางความผิด ของบริษทั ทัง้ ทีบ่ ริษทั ไดสรางผลกระทบอยางรุนแรง เชน แยงแหลงน้าํ ไปใช ทําลายทรัพยากรปาไมและทีด่ นิ อันเปนตนทุนการทํามาหากินของชุมชน สุทธิชยั เอีย่ มเจริญยิง่ กรรมการผูจ ดั การบริษทั วันเดอรเวิลด จํากัด เมื่อปลาจะกินดาว 10 102


และประธานกรรมการเครื อ ข า ย ธุ ร กิ จ เพื่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล อ ม หรือ Social Network Venture (SVN-Asia Thailand)มองวา ซีเอสอาร คือปรัชญาและแนวคิดในเรื่องความรับ ผิดชอบ สุ ท ธิ ชั ย เป น เจ า ของบริ ษั ท ผลิ ต ของเลนเด็กที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ที่มีลูกคา เชน มารค แอนด สเปน เซอร (Mark & Spencer) ของอังกฤษ และท็อปทอยส (TOP TOYS) บริษัท จํ า หน า ยของเล นชื่ อ ดั ง ในแถบยุ โรป ตอนเหนือ เขาไดเปรียบเทียบแนวคิด เรื่ อ งความรั บ ผิ ด ชอบในกรอบของ

อนันตชัย ยูรประถม

ซีเอสอารกับการจัดการรถเข็นกระเปาของสนามบินในประเทศเยอรมันไว อยางนาสนใจ กลาวคือ เมื่อผูโดยสารมาถึงสนามบินในประเทศเยอรมัน จะตองหยอดเงินประมาณ 1 ยูโรทีร่ ถเข็นกระเปาและจะไดเงินคืนก็ตอ เมือ่ เข็น รถไปคืนในจุด ที่กําหนดไว ถาไมรับผิดชอบหรือทิ้งรถเข็นไวก็จะไมไดเงินคืน และผูโดยสารรายอื่นที่นํารถเข็นกระเปาไปเก็บก็จะไดเงินไปใชฟรีๆ “นี่คือการคิดแบบครบวงจรหรือในอีกมุมหนึ่งมันเปนการปลูกฝงแนวคิด ในความรั บ ผิ ด ชอบว า เมื่ อ คุ ณ เป น คนเริ่ ม กิ จ กรรมคุ ณ ก็ ต อ งเป น คนป ด กิจกรรมนั้นๆ” สําหรับ อนันตชัย ยูรประถม ผูอ าํ นวยการสถาบันพัฒนาอยางยัง่ ยืน มองวา ซีเอสอารเปนปรัชญาที่มองไปที่การพัฒนาอยางยั่งยืน “สําหรับผมแลวมันเปนเรื่องของการสรางความรับผิดชอบ มีคุณธรรมซึ่ง มากไปกวาการทําตามกฎหมาย และตองทําไปเรื่อยๆ ไมมีวันจบ” อนันตชัย กลาววา บริษทั ทีท่ าํ ซีเอสอารถกู ตองและไดผลนัน้ จะตองมี นโยบายมาจากผูบ ริหารระดับสูง ตัวอยางทีช่ ดั เจนมากทีส่ ดุ คือ บริษทั โตโยตา เมื่อปลาจะกินดาว 10 103


และเครือปูนซีเมนตไทย ทีผ่ บู ริหารไดผนวกนโยบายซีเอสอารและการพัฒนา อยางยัง่ ยืน (Sustainable Development) เขาไปเปนสวนหนึง่ ของวิสยั ทัศนและ แผนปฏิบตั กิ ารขององคกรนัน้ ๆ “องคกรอยางปูนซีเมนตไทยเขาเขาใจแกน เขามองซีเอสอารวาเปนการ พัฒนาอยางยั่งยืน ธุรกิจในอนาคตจะอยูไมไดถาปราศจากชุมชน ปรัชญา ขององคกรจึงรวมไปถึงการดูแลชุมชนดวย”

ทําไมถึงตองมีซีเอสอาร คําถามนี้จริงๆ แลวไมควรถาม เพราะในอีกมุมหนึ่งคําถามนี้ก็แปลวา ทําไมธุรกิจตองมีความรับผิดชอบตอสังคม ซึ่งความหมายลึกๆ ก็คือ ทําไม ธุรกิจตองมาทําความดีเพื่อสังคมดวย คําถามและขอสงสัยนี้สะทอนใหเห็นวา ภาพพจนของธุรกิจในสายตาสังคมนั้นคงไมนาพิสมัยนัก มิลตัน ฟรีดแมน (Milton Friedman) นักเศรษฐศาสตรชอ่ื ดัง เจาของ รางวัลโนเบล สาขาเศรษฐศาสตร ไดกลาวอมตะวาจาทีไ่ ดกลายมาเปนหัวใจ และปรัชญาของการทําธุรกิจวา “ความรับผิดชอบอยางเดียวทีธ่ รุ กิจมีตอ สังคมก็ คือ การรับผิดชอบตอผูถ อื หุน เทานัน้ ” ปรัชญาที่เนนการดูแลแตเฉพาะประโยชนของผูถือหุน สะทอนใหเห็นถึง ปญหาทางดานสังคมและสิ่งแวดลอมในชวง 3 ทศวรรษที่ผานมา ซึ่งเปนชวง เวลาปลอดสงครามและเปนชวงที่เศรษฐกิจโลกเติบโตแบบกาวกระโดด และมี ลักษณะเปนโลกาภิวัตนมากขึ้น สฤณี อาชวานันทกุล อดีตวาณิชธนกิจของสถาบันการเงิน ที่ผัน ตัวเองมาเปนนักคิดนักเขียนและเปนอาจารยดานธุรกิจเพื่อสังคมของคณะ พาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มองวา ซีเอสอารคือ การตั้งรับของภาคธุรกิจตอความไมไววางใจของสังคมและผูบริโภค “สมัยกอนภาคธุรกิจจะรับผิดชอบเฉพาะ Contractual Agreement (ขอตกลง ตามสัญญาที่ระบุไว) กระทั่งเกิดเหตุการณ เชน การระเบิดของโรงงานสาร เคมีของบริษัท ยูเนียน คารบายด (Union Carbide) ที่เมืองโบพาล (Bhopal) ประเทศอินเดีย เมื่อวันที่ 2-3 ธันวาคม ค.ศ.1984 และกรณีนํามันรั่วจากเรือ ขนสงนํามันเอกซซอน วาลเดซ (Exxon Valdez) ในทะเลแถบอลาสกา เมื่อวัน เมื่อปลาจะกินดาว 10 104


ที่ 24 มีนาคม ค.ศ.1989) เปนจุดเปลี่ยนที่ทําใหธุรกิจรูสึกวาตองรับผิดชอบ เพราะกฎหมายใชไมไดเต็มที่ ธุรกิจเริ่มเรียนรูวาการไมตระหนักตอปญหา สังคมและสิ่งแวดลอมที่ภาคธุรกิจเปนผูกอ จะทําใหผูบริโภคคว่ําบาตรไมซื้อ สินคา ชื่อเสียงจะเสื่อมเสีย แลวบริษัทก็จะอยูยากขึ้น” สฤณี มองวา ความลมเหลวในการแกใขปญหาของภาครัฐเปนอีกหนึ่ง สาเหตุที่ทําใหสังคมและผูบริโภคเรียกรองใหภาคธุรกิจแสดงความรับผิดชอบ มากขึ้น ในหลายทศวรรษที่ผานมาระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเขามามีสวน สําคัญในการกําหนดกิจกรรมทางธุรกิจ หลักใหญของทุนนิยมก็คือ การลด ตนทุนเพื่อเพิ่มผลกําไร ซึ่งวิธีลดตนทุนที่งายที่สุดก็คือ การประหยัดคาใช จายดานแรงงานและการผลิต ลดตนทุนดานการจัดการสิ่งแวดลอม เชน การ ประหยัดคาไฟโดยปดเครื่องบําบัดน้ําเสีย ทั้งๆ ที่ตามกฎหมายแลวตองเดิน เครื่องบําบัด และการลดคาการจัดการขยะหรือของเสียเปนพิษโดยนําไปทิ้ง ในที่ๆ ไมมีใครรูเห็น “ในระบบทุนนิยม ภาคธุรกิจมักจะผลักภาระตนทุนออกไป ซึ่งรัฐบาลจะ ตองรับมือดวยการบังคับใชกฎหมายที่จะทําใหธุรกิจรับภาระตนทุนทางสังคม และสิ่งแวดลอม” ทวารัฐบาลโดยทั่วไปกลับลมเหลวในการบังคับใชกฎหมาย ผลก็คือเกิด ปญหาสังคมและสิ่งแวดลอมตามมา ไมวาจะเปนปญหาโรคระบบทางเดิน หายใจในกลุม ชาวบานทีอ่ าศัยอยูร อบโรงไฟฟาถานหินแมเมาะ ปญหาสุขภาพ ของชุมชนกะเหรี่ยงที่ตองบริโภคน้ําปนเปอนสารตะกั่วที่ไหลมาจากโรงแตงแร คลิตี้ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี อีกหนึง่ ปญหาทีเ่ ห็นเดนชัดทีส่ ดุ ในการผลักภาระของภาคธุรกิจก็คอื ปญหา มลพิษในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด นําไปสูการที่ภาคประชาชนรวมตัวกัน ฟองศาลปกครองใหระงับ 76 โครงการที่กําลังจะสรางขึ้น แมศาลปกครองจะ ตัดสินวาหนวยงานรัฐไดมีการละเมิดรัฐธรรมนูญโดยเรงออกใบอนุญาตให 76 โครงการ แตรัฐก็ไดเอาอกเอาใจภาคอุตสาหกรรมโดยจัดสรรงบประมาณเรง ดวนฉุกเฉิน 877 ลานบาท เพือ่ เยียวยาชุมชนโดยรอบ แทนทีจ่ ะมาไลดสู าเหตุ ของปญหาและหาตัวผูรับผิดชอบ เมื่อปลาจะกินดาว 10 105


ตั ว อย า งนี้ แ สดงให เห็ นถึ ง ความล ม เหลวของกลไกรั ฐ ในการบั ง คั บ ใช กฎหมาย และย้ําวารัฐลมเหลวในการบังคับใหภาคธุรกิจรับภาระตนทุนดาน ผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดลอม และกลับนําเงินภาษีที่นาจะนําไปใชใน กิจการเพื่อประชาชนมาจายแทน สาเหตุหลักอีกประการที่เรงใหภาคธุรกิจหันมาทําซีเอสอารมากขึ้นก็คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูบริโภค ในหนังสือประจําปของสถาบันไทย พัฒนที่ชื่อ “ทิศทางซีเอสอาร ป 2553” มีบทวิเคราะหเรื่องซีเอสอารกับความ จําเปนทางธุรกิจอยางนาสนใจ ในรายงานไดกลาวอางถึงผลสํารวจของ Penn Schoen Berland’s Survey on Sustainability in the 2009 วา นอกจากเรื่องราคา คุณภาพ ความสะดวก สบาย และคุณธรรมในการประกอบการแลว ปจจัยที่มีผลในการตัดสินใจ ซื้อของผูบริโภคคือ เรื่องของสิ่งแวดลอม โดยผลสํารวจพบวา กระแสหวงใย สิ่งแวดลอมมีผลตอการตัดสินใจซื้อถึง 22% เทียบกับชวงกอนวิกฤตเศรษฐกิจ ที่กระแสโลกสีเขียวมีสวนในการตัดสินใจซื้อเพียง 15% สถาบันไทยพัฒนยังมองวา การทําซีเอสอารจะชวยใหธุรกิจสามารถ ปฏิบัติตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญป 2550 มาตรา 67 เรื่องการดําเนิน โครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมและ ชุมชนอยางรุนแรงได เพราะเนื้อแทของซีเอสอารนั้นจะเนนเรื่องการเคารพ สิทธิมนุษยชน ความโปรงใส การมีธรรมาภิบาล การเปดเผยขอมูลตอชุมชน การมีสวนรวมของชุมชน และการทํามากกวาที่กฎหมายกําหนด พิพัฒน ยอดพฤติการ ผูอํานวยการสถาบันไทยพัฒน วิเคราะหวา ซีเอสอารจะชวยใหภาคธุรกิจสามารถรับมือกับมาตรการกีดกันทางการคา ใหมๆ ที่ประเทศผูนําเขากําหนดมาตรการเหลานี้ โดยเนนทั้งเรื่องสิ่งแวดลอม สุขภาพ แรงงาน สิทธิมนุษยชน รวมไปถึงที่มาและกรรมวิธีการผลิตที่ตอง ไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสังคม ซึ่งมาตรการกีดกันทางการคาแบบ ใหมนี้เกี่ยวเนื่องกับแนวทางปฏิบัติซีเอสอารโดยตรง

ISO 26000 เช็คลิสตซีเอสอาร เนื่องจากซีเอสอารมีความหมายที่เปนนามธรรม เปดทางใหผูปฏิบัติตี เมื่อปลาจะกินดาว 10 106


ความและกําหนดกิจกรรมแตกตางกันไป แตก็ไดมีหลายองคกรหลายสถาบัน กําหนดกรอบการดําเนินการทําซีเอสอารขึ้น โดยกรอบที่ดูจะชัดเจนที่สุดคือ ISO 26000 ที่รางโดย International Organization for Standardization สถาบัน นานาชาติที่รับผิดชอบการจัดทํามาตรฐานการผลิตและการใหบริการ เชน ISO 9000 ISO 14000 การราง ISO 26000 เมื่อป 2544 โดยมีตัวแทนจาก 72 ประเทศ มีผูชํานาญ การ 355 คนในดานการผลิต สังคม สิ่งแวดลอม สิทธิมนุษยชน ดานแรงงาน ภาคธุรกิจ ภาครัฐ และภาคชุมชน โดยกระทรวงอุตสาหกรรมตองการสงเสริม ภาคอุตสาหกรรมและโรงงานใหทําซีเอสอาร ก็ไดใช ISO 26000 เปนแนวทาง การใหรางวัลใหกับโรงงานหรืออุตสาหกรรมที่ทําซีเอสอารไดดี อยางไรก็ดี ISO 26000 ที่จะมีการนํามาใชปลายป 2553 จะแตกตางไป จาก ISO ที่มีมากอนหนานี้ กลาวคือ ISO 26000 จะมีฐานะเปนเพียงแนว นโยบายปฏิบัติ เปนเรื่องของความสมัครใจ ไมใชขอบังคับ และสิ่งที่นาเปน หวงก็คือ ความเขาใจของภาคธุรกิจและการนําไปปฏิบัติ นอกจากนี้ก็ยังไมมี การตรวจสอบและรับรองมาตรฐานแตอยางใด ผลการสํารวจผูประกอบการที่ดําเนินกิจกรรมซีเอสอารโดยสถาบันไทย พัฒนในป 2552 พบวา ผูประกอบการจํานวน 3,355 ราย ใน 75 จังหวัด ยังขาดความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับ ISO 26000 มากถึง 57% ของจํานวน ผูประกอบการทั้งหมดที่ไดมีการสํารวจ

7 กุญแจไขหัวใจซีเอสอาร จากเอกสาร “มาตรฐานความรับผิดชอบของผูประกอบการอุตสาหกรรม ตอสังคม พ.ศ. 2553” (Standard for Corporate Social Responsibility (CSRDIW) 2010) ที่จัดพิมพโดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม หนวยงานรัฐที่กํากับดูแล โรงงาน ไดระบุถึงแนวทางปฏิบัติตาม ISO 26000 โดยมีหลักดังตอไปนี้ 1) การกํากับดูแลองคกร (Organizational Governance) หมายถึง องคกรตองมีโครงสรางและกระบวนการการตัดสินใจที่เอื้อตอ การแสดงความรับผิดชอบตอสังคม นอกจากนั้นตองมีการใชทรัพยากรดาน การเงิน ทรัพยากรบุคคล และทรัพพยากรธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพ เมื่อปลาจะกินดาว 10 107


โปรงใส และตรวจสอบได องคกรจะตองกระตุนใหเกิดการสื่อสารแบบสอง ทางระหวางองคกรกับผูมีสวนไดสวนเสีย และคํานึงถึงประโยชนของผูมีสวน ไดสวนเสียทุกภาค ไมใชเฉพาะผูถือหุน การกํากับดูแลองคกรเปนเรื่องที่ยากกวาการทําซีเอสอารทุกขอ เพราะ เกี่ยวของกับการบริหารงานโดยตรง เกี่ยวของกับการบริหารบัญชี การจาย ภาษี และอํานาจของผูบริหารในการตัดสินใจ ประเด็นขอนี้จึงเปนความ ทาทายของการดําเนินงานของบริษัทใหญๆ ทั่วโลก ตัวอยางความลมเหลวของการกํากับดูแลองคกรคือ การลมสลายของ บริษัน เอนรอน (Enron) บริษัทดานพลังงานชั้นนําในสหรัฐอเมริกา ซึ่งนิตยสาร ธุรกิจชั้นนําอยาง Fortune เคยโหวตใหเอนรอนเปนบริษัทที่มีการพัฒนาดาน นวัตกรรมมากที่สุดในอเมริกา (America’s Most Innovative Company) ติดตอ กันถึง 6 ป (ค.ศ.1996-2001) สิ่งหนึ่งที่ไมไดมีการกลาวถึงเอ็นรอนมากนักคือ เอนรอนเปนบริษัทที่ให ความใสใจตอการทําซีเอสอารมากโดยเฉพาะดานสิ่งแวดลอม และเอนรอนก็ ใหความสนใจเรื่องพลังงานที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม แตการทําซีเอสอารของ บริษัทเอนรอนไดละเลยและละเมิดกฎหลักคือ การกํากับดูแลองคกร การขาด ความโปรงใส นําไปสูการปลอมแปลงบัญชีและการลมละลายในป ค.ศ.2001 2) การดูแลสิทธิมนุษยชน (Human Right) หมายถึง การทีอ่ งคกรดําเนินกิจการโดยยึดหลักการเคารพสิทธิมนุษยชน การใหสทิ ธิอยางเทาเทียมดานเพศ เชือ้ ชาติ ไมมกี ารเลือกปฏิบตั ิ มีการจางผู ทุพพลภาพเขาทํางาน ไมกดี กัน้ ทางเพศหรือชนชัน้ วรรณะ แตในมิตขิ อง ISO 26000 การปฏิบตั ติ ามหลักสิทธิมนุษยชนยังรวมไปถึงการทีผ่ ปู ระกอบการตอง หลีกเลีย่ งการละเมิดสิทธิมนุษยชน และการระมัดระวังไมใหธรุ กิจเขาไปเกีย่ ว พันกับความขัดแยงทางการเมือง เชน การทีบ่ ริษทั น้าํ มันชือ่ ดังเขาไปลงทุนใน ประเทศไนจีเรีย ซึง่ ในทีส่ ดุ ก็เขาไปมีสว นในความขัดแยงทางการเมือง หรือการ ทีบ่ ริษทั น้าํ ขามชาติเขาไปผูกขาดการจัดหาน้าํ ประปาในประเทศโบลิเวีย อันนํา ไปสูส งครามกลางเมือง เนือ่ งจากประชาชนไมสามารถจะจายคาน้าํ ไดและไมมี น้าํ จะบริโภค เมื่อปลาจะกินดาว 10 108


การปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชนยังรวมไปถึงการใหภาคธุรกิจหลีก เลี่ยงกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติอยางมีนัย สําคัญ เชน แหลงน้ํา ปาไม หรือชั้นบรรยากาศ และกิจกรรมที่กระทบตอ ชุมชน ประเพณี วัฒนธรรม ภาษา ตัวอยางที่เห็นไดชัดคือ การที่บริษัทผลิต อุปกรณเสื้อผากีฬาไนกี้ (Nike) เคยมีปญหาการจางผลิตในโรงงานในประเทศ อินโดนีเซียโดยมีการใชแรงงานอยางทารุณ หรือการที่อุตสาหกรรมเพชรมี สวนในการสนับสนุนรัฐบาลเผด็จการในทวีปแอฟริกา 3) การปฏิบัติดานแรงงาน (Labour Practices) ประเด็นนี้เนนในเรื่องการจางงานที่เปนธรรมและเคารพกฎหมายการ จางงานอยางเครงครัด การใหคาลวงเวลาที่เปนธรรม สภาพการทํางานที่ ถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย มีสวัสดิการใหอยางพอเพียง แต ISO 26000 และ แนวคิดซีเอสอารนั้นกาวไปไกลกวากฎหมาย โดยจะรวมไปถึงการสนับสนุน ใหมีการจัดตั้งและรวมกลุมของแรงงานเพื่อการตอรองอยางเปนธรรม การ พัฒนาฝมือและชวยเหลือลูกจาง และรับผิดชอบตอครอบครัวของพนักงาน 4) การดูแลสิ่งแวดลอม (Environmental Practices) นอกจากบริษัทตองปฏิบัติตามกฎหมายอยางเครงครัดแลว ISO 26000 ยังเนนหนักในการปองกันมลพิษโดยมีการบงชี้จุดกําเนิดมลพิษในการผลิต และหาวิธีการปองกัน ใหองคกรที่นาเชื่อถือและชุมชนเขามาตรวจสอบได นอกจากนี้ ISO 26000 ยังใหความสําคัญกับการปรับตัวตอการเปลีย่ นแปลง ของสภาพภูมอิ ากาศ (Climate Change Mitigation and Adaption) โดยเนนใหมกี าร บงชีแ้ หลงกําเนิดกาซเรือนกระจกทัง้ ทางตรงและทางออม รวมถึงการสนับสนุน ใหมีการซื้อขายคารบอนเครดิตที่ไดมาจากโครงการลดการปลอยกาซเรือน กระจก ภายใตขอ ตกลงของอนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา ดวยการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมอิ ากาศ (United Nations Framework Convention of Climate Change: UNFCCC) ปจจุบันหลายบริษัทไดนําเรื่องการจัดการสิ่งแวดลอมที่ดีมาเปนจุดขาย ผานทางกลไกตางๆ เชน สินคาที่ติดฉลากเขียวเพื่อดึงดูดผูบริโภคและชวยให บริษัทสามารถสงสินคาไปขายในกลุมประเทศยุโรป ญี่ปุน หรือสหรัฐอเมริกา เมื่อปลาจะกินดาว 10 109


ที่มีการใชมาตรฐานดานสิ่งแวดลอมในการกีดกันทางการคา ยิ่งกวานั้นการ คิดคนและพัฒนาสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมก็ไดกลายมาเปนจุดขาย เชน รถยนตของโตโยตารุนพรีอุสไดสรางจุดแข็งใหกับโตโยตาในฐานะบริษัทผลิต รถยนตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม จริงอยูที่รถรุนนี้แมจะมีปญหาจากอุบัติเหตุ ในสหรัฐเมื่อชวงตนป 2553 แตหลังจากผูบริหารโตโยตาไดแสดงความรับ ผิดชอบดวยการเรียกรถคืนรถรุนพรีอุสและเล็กซัส จํานวนกวา 400,000 คัน ความนิยมของบริษัทและตัวสินคาก็คอยพัฒนาขึ้น จากนั้นโตโยตาก็เดินหนา พัฒนาและผลิตรถรุนนี้ ไมไดมีการเลิกผลิต และรถรุนนี้ก็ยังคงเปนที่ตองการ ของผูบริโภค ISO 26000 ยังเนนการปกปองและฟนฟูแหลงที่อยูตามธรรมชาติ ตองนํา คาเสียหายทางสิ่งแวดลอมเขาไปในกลไกการตลาดโดยการยอมรับภาระคา ใชจายดานสิ่งแวดลอมหากเกิดผลกระทบตอระบบนิเวศวิทยา 5) การดําเนินธุรกิจอยางเปนธรรม (Fair Operating Practices) หมายถึง การตอตานคอรัปชั่น และสนับสนุนใหองคกรและพนักงานมี สวนรวมทางการเมืองอยางถูกตองและเปนธรรม ยึดมั่นการแขงขันที่เปนธรรม ในธุรกิจ เชน ไมกีดกันคูแขงโดยบังคับใหรานคาปลีกรับซื้อสินคาพวง เชน ถา อยากขายสุรายี่หอหนึ่งก็ตองรับเบียรจากบริษัทเดียวกันไปขายดวย ตอตาน การผูกขาดและการทุมตลาด รวมไปถึงการเคารพตอสิทธิในทรัพยสิน ซึ่งรวม ไปถึงทรัพยสินและภูมิปญญาทองถิ่น 6) ความรับผิดชอบตอผูบริโภค (Consumers Issues) นอกจากบริษทั ตองใหขอ มูลทีเ่ ปนจริง ไมเบีย่ งเบน และปฏิบตั ติ ามสัญญา แลวนั้น ตองดูแลผูบริโภคดวยการใชวัตถุดิบการผลิตที่ปลอดภัยตอสุขภาพ และสิ่งแวดลอมของ การใหขอมูลขาวสารดานความปลอดภัยแกผูบริโภค กรณีที่พบวาผลิตภัณฑที่วางจําหนายในทองตลาดอาจเปนอันตรายหรือมีขอ บกพรองรายแรง องคกรจะตองเรียกคืนผลิตภัณฑและสื่อสารไปยังผูบริโภค ใหไดรับทราบ เชน กรณีบริษัท จอหนสัน แอนด จอหนสัน (Johnson & Johnson) เรียกคืนยาแกปวดลดไขไทลีนอลจากรานขายยาทั่วสหรัฐในป ค.ศ.1982 เมื่อพบวามีผูประสงครายแอบใสยาพิษในยาบางขวด และมีผูบริโภคเสียชีวิต เมื่อปลาจะกินดาว 10 110


7 คน ลาสุดในปนี้บริษัทก็ไดเรียกคืนสินคาประเภทยา รวมไปถึงยาไทลีนอ ลบางรุน เนื่องจากสวนผสมของยามีปญหา การดูแลผูบริโภคยังหมายถึงการสนับสนุนใหมีมาตรการรับฟง แกไขขอ รองเรียนของผูบริโภค การดูแลปกปองขอมูลของผูบริโภค กําหนดคาบริการ สัญญา การเก็บภาษีสินคาและบริการที่โปรงใส เปนธรรม รวมถึงการรักษา สิทธิของผูบริโภคในการเขาถึงบริการที่จําเปน เชน ไมตัดสิทธิการใหบริการ หากผูบริโภคยังไมไดชําระเงินตามเวลาที่เหมาะสม 7) การมีสว นรวมและการพัฒนาชุมชน (Community Involvement and Development) หมายถึง โครงการชวยเหลือสังคม การบริจาค โครงการพัฒนาดานการ ศึกษา สาธารณสุข ชุมชน และสิ่งแวดลอม การทําซีเอสอารในจุดนี้เปนหัวขอ ที่บริษัทนอยใหญทั่วโลกรวมทั้งในประเทศไทยนิยมกันมากที่สุด อยางไรก็ดี ISO 26000 ก็มีแนวทางการจัดการโครงการพัฒนาชุมชน เหลานี้ หลักสําคัญคือ บริษัทจะตองรวมปรึกษาหารือกับชุมชนอยางเปน ระบบ และเคารพสิทธิของกลุมชนทุกกลุม พิจารณาผลกระทบของกิจกรรม ดํ า เนิ นการร ว มกั บ องค ก รส ว นท อ งถิ่ น และนั ก การเมื อ งท อ งถิ่ นด ว ยความ โปรงใส รวมถึงมีการติดตามตรวจสอบและประเมินผลแผนการพัฒนาชุมชน

ซีเอสอารแบบไทยๆ ในประเทศไทยบริษัทตางๆ มักใชฝายประชาสัมพันธขององคกรในการ ดูแลโครงการซีเอสอาร และมักเปนโครงการนอกรั้วโรงงาน โดยไมเกี่ยวของ กับการดําเนินการภายในของบริษัท สงผลใหงานซีเอสอารกลายเปนเพียงงาน ประชาสัมพันธ อยางไรก็ดี การทําซีเอสอารในประทศไทยเริม่ เขามาสูจ ดุ เปลีย่ นทีส่ าํ คัญ โดยบริษทั ใหญทท่ี าํ เรือ่ งซีเอสอาร ไมวา จะเปนปูนซีเมนตไทย โตโยตา ธนาคาร ไทยพาณิชย ไดตง้ั แผนกซีเอสอารขน้ึ มาดูแลงานโดยเฉพาะ ขณะเดียวกัน ภาคธุรกิจก็ใหความสนใจในการทํากิจกรรมซีเอสอารมากขึน้ ตัวชีว้ ดั ทีช่ ดั ทีส่ ดุ ก็คอื เมือ่ วันที่ 29 กันยายน 2552 ตลาดหุน แหงประเทศไทย รวมกับ 27 บริษทั จาก 500 บริษทั ในตลาดหุน จัดตัง้ ชมรมบริษทั ในตลาดหุน ทีท่ าํ กิจกรรมดานซีเอสอาร กิจกรรมหลักก็คอื การใหความรูใ นการทําซีเอสอาร เมื่อปลาจะกินดาว 10 111


และเผยแพรการทําซีเอสอารเพื่อเปนเครื่องมือไปสูการเติบโตทางธุรกิจที่ย่งั ยืน และเกิดภาพพจนทด่ี ขี องตลาดหุน ในประเทศไทย แตกน็ บั วายังชากวาประเทศ อื่น เมื่อเทียบกับตลาดหุนของมาเลเซียที่ไดออกแนวปฏิบัติดานซีเอสอารของ บริษทั ในตลาดหุน เมือ่ ป ค.ศ.2006 และในป ค.ศ 2008 ตลาดหุน มาเลเซียก็ได ออกระเบียบใหบริษทั ในตลาดหุน เปดเผยรายงานเรือ่ งผลกระทบเรือ่ งสังคมและ สิง่ แวดลอม ไมเฉพาะแวดวงตลาดหุนเทานั้นที่บุกเบิกเรื่องซีเอสอารอยางเปนรูปธรรม ในป 2542 เครือขายนักธุรกิจ นักวิชาการทีเ่ ปนหวงเรือ่ งผลกระทบของภาคธุรกิจ ตอสังคมและสิ่งแวดลอม ไดกอตั้งเครือขายธุรกิจเพื่อสังคม และสิ่งแวดลอม (Social Venture Network Asia (Thailand) หรือ SVN Asia (Thailand) โดยมีผูนํา ในการกอตั้งคือ สุลักษณ ศิวรักษ ปญญาชนสยาม และปรีดา เตียสุวรรณ ผูกอตั้งแพรนดา จิวเวลรี่ ปจจุบัน SVN Asia (Thailand) มีสมาชิก 137 องคกร โดยสวนมากเปน บริษัทขนาดเล็กและกลาง กิจกรรมหลักๆ ของ SVN Asia (Thailand) ก็คือ การ จัดสัมมนาแลกเปลี่ยนความรู การเยี่ยมเยียนระหวางสมาชิกเพื่อศึกษาวิธี การและตัวอยางที่ดีของสมาชิก การจัดทําวารสารเผยแพร การจัดอบรม และ เมื่อปลาจะกินดาว 10 112


การใหรางวัลบริษัทที่มีผลงานซีเอสอารดีเดน นอกจากนี้ยังมีคณะกรรมการนักธุรกิจเพื่อสิ่งแวดลอมไทย หรือ Thailand Business Council for Sustainable Development (TBCSD) ตั้งขึ้นเมื่อป 2536 โดยอานันท ปนยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรี ขณะนี้มีสมาชิก 33 องคกร สวน มากเปนบริษัทชั้นนําและมีชื่อเสียงในภาคอุตสาหกรรม เชน บริษัทพลังงาน ปตท. บางจาก ปโตรเลียม เครือปูนซีเมนตไทย และสถาบันสิ่งแวดลอมไทย ที่มาชวยใหบริษัทเหลานี้ใชกระบวนการผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และให คําแนะนําในการทําธุรกิจอยางยั่งยืน

แกตรงที่คัน บริษัท วันเดอรเวิลด โปรดัคส จํากัด ผูผลิตของเลนที่ทําจากไมเปนอีก บริษัทหนึ่งที่มีโครงการปลูกปาประจําป ซึ่งคลายกับบริษัทใหญๆ เชน ปตท. การไฟฟาฝายผลิต ที่มีประเพณีการอนุรักษสิ่งแวดลอมโดยการปลูกปา แตสําหรับ สุทธิชัย เอี่ยมเจริญยิ่ง กรรมการผูจัดการบริษัท วันเดอร เวิลด กิจกรรมการปลูกปาของบริษัทถือเปนการลดการใชไมยางพาราและลด ผลกระทบจากใชวัตถุดิบของบริษัทโดยตรง ซึ่งแตละปจะใชไมจํานวน 14,100 ตน เพื่อผลิตทําของเลน อีก 1,300 ตน สําหรับทํากลองบรรจุภัณฑ โครงการ ปลูกปาของบริษัทจึงมีเปาหมายเพื่อปลูกทดแทนไมยางพาราที่ไดใชไป “ตนยางทุกตนที่ถูกโคน ถึงแมวาชาวสวนยางพาราจะปลูกแทนตนตอตน ทั้งหมด แตวันเดอรเวิลดก็จะมีการปลูกเพิ่มมากกวาเดิมเปนจํานวนทั้งหมด 15,400 ตน ซึ่งกิจกรรมซีเอสอารที่ทํานั้นจะตองมีความเกี่ยวพันกับกิจกรรม การผลิตของบริษัท เพื่อเปนการลดผลกระทบจากสิ่งที่บริษัทกอขึ้น” สุทธิชัย กลาวถึงที่มาที่ไปของโครงการ การปลูกปาในแบบวันเดอรเวิลดเปนมากกวาการขนพนักงานไปปลูก ปาแลวก็จบกันไป โดยบริษัทไดรวมกับมูลนิธิกระตายในดวงจันทร องคกร พัฒนาเอกชนที่ทํางานรวมกับชุมชนในพื้นที่มาเปนเวลานาน รวมไปถึงใหชาว บานและสวนราชการเขามามีสวนรวม ทําใหเกิดความรูสึกเปนเจาของ เพราะ ในที่สุดปาก็เปนของชุมชน และปาจะอยูไมไดถาชาวบานไมรูสึกหวงแหน สิ่งที่นาสนใจอีกประการของโครงการปลูกปาของบริษัทนี้คือ การที่บริษัท เมื่อปลาจะกินดาว 10 113


ทอปทอยส (TOP TOYS) จากประเทศสวีเดน หนึ่งในลูกคาที่สั่งซื้อสินคาจาก วันเดอรเวิลดก็ไดเดินทางมาปลูกปาดวย เวอโรนิค บริจติ บาคเกอร (Veronique Brigitte Bagge) ผูอ าํ นวยการ ดานซีเอสอารของบริษทั ทอปทอยสประจําภาคพืน้ เอเชียกลาววาโครงการ ปลูกตนไมของบริษทั วันเดอรเวิลด ตรงกับปรัชญาของบริษทั ทีต่ ง้ั มัน่ จะลดผล กระทบตอสิง่ แวดลอม บาคเกอรกบั ทีมงานไดเดินทางมาจากฮองกง เพือ่ เขา รวมกิจกรรมปลูกตนไม โดยจะปลูกตนไม 1,750 ตน ซึง่ เทากับจํานวนไมทใ่ี ชทาํ ของเลนจํานวน 20 ตูค อนเทนเนอร “เราไมตองการแคบริจาคเงินใหมันจบๆ ไป แตเราตองแนใจวาบริษัทได คืนสิ่งที่เราไดเอาไปจากโลกใบนี้ โครงการนี้จะนําไปสูความสมดุลระหวาง การพัฒนาทางเศรษฐกิจและการอนุรักษธรรมชาติ” บาคเกอร กลาวระหวาง เขารวมงานปลูกตนไมกับวันเดอรเวิลด แนนอนที่สุดคือ ทอปทอยสจะตองบอกกับลูกคาถึงที่มาของไมที่นํามา ผลิตของเลน เพราะผูบริโภคในยุโรปใหความสนใจมากเกี่ยวกับที่มาและ กระบวนการผลิตสินคา และตองแนใจดวยวาสินคาจะปลอดภัยตอผูบริโภค ไมสรางผลกระทบกับชุมชนหรือเอาเปรียบแรงงาน เมื่อปลาจะกินดาว 10 114


“ซีเอสอารเปนมากกวาเรื่องการลดผลกระทบดานสิ่งแวดลอม บริษัทจะ ตรวจสอบไปถึงกระบวนการและสายพานการผลิต เชน โรงงานในประเทศจีน จะตองทํารายงานการตรวจสอบดานจริยธรรมในการทําธุรกิจ เพื่อนําเสนอ องคกรธุรกิจของเลนที่บริษัทเราเปนสมาชิกอยู” สําหรับบาคเกอร ซีเอสอารเปนสวนหนึ่งของการดําเนินธุรกิจ ไมใชแค การทําสาธารณะกุศล หรือการสรางภาพพจนองคกร แตยังเปนการบริหาร ความเสี่ยงของภาคธุรกิจ แมการทําซีเอสอารในทุกขั้นตอนจะมีราคาสูง แต บริษัทก็ยอมจายแพงกวาเพื่อที่จะไดสินคาที่มาจากวัตถุดิบที่มีคุณภาพและ ถูกตองตามหลักคุณธรรม

ซีเอสอารเพื่อผลกําไร ในทางธุรกิจแลวการทําซีเอสอารอาจดูเหมือนเปนการแบกภาระตนทุน เพิ่มขึ้น แตแนวทางการทําธุรกิจสมัยใหมไดเปลี่ยนไป เมื่อปญหาสิ่งแวดลอม และสุขภาพเขามาเปนปจจัยในการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค ความเปนโลกาภิ วัตนทําใหผูคนเริ่มคํานึงถึงมาตรฐานที่สูงขึ้น นําไปสูการเรียกรองใหผูผลิตยก ระดับการผลิตสินคาที่ดี ขณะเดียวกัน ประเทศที่พึ่งพิงอุตสาหกรรมสงออกอยางประเทศไทยก็ ตองปรับปรุงมาตรฐานการผลิต เพื่อใหสามารถขายสินคาในตลาดประเทศที่ มีขอกําหนดเรื่องมาตรฐานสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ซีเอสอารจึงเปน ตัวแปรสําคัญในการสรางความไดเปรียบ ไมใชการเพิ่มตนทุนที่ไมกอใหเกิด ประโยชนแตอยางใด “ผมมีสูตรวา opportunity (โอกาส) เทากับ crisis (วิกฤต) บวกกับ CSR” สุทธิชัย เลาใหฟงถึงกรณีของเลนจากประเทศจีนที่สงเขาไปขายที่ สหรัฐอเมริกา แตมีผลกระทบตอสุขภาพ ทําใหบริษัทตางชาติหันมาสั่งซื้อ ของเลนไมจากบริษัทวันเดอรเวิลดแทน แมจะมีราคาสูงกวาก็ตาม” “ขณะเดียวกัน opportunity ลบ CSR ก็เทากับ CRISIS ไดเชนกัน ยก ตัวอยางประเทศจีนที่กําลังเปนดาวเดนในการผลิตของเลน แตโรงงานในจีน ยังไมไดทําซีเอสอาร ผลก็คือเกิดวิกฤตภาพลักษณ ซึ่งถือเปนบทเรียนราคา แพงมาก” เมื่อปลาจะกินดาว 10 115


การมองซี เ อสอาร ใ นฐานะ ทีเ่ ปนกลยุทธทางธุรกิจนัน้ ไมได เปนเพียงความเชื่อในหมูนักธุรกิจ เทานัน กูรดู า นการบริหารจัดการ ชือ่ ดังระดับโลก อยางปเตอร ดรัค เกอร (Peter Drucker) ผูท ไ่ี ดชอ่ื วา เปน “บิดาแหงการบริหารยุคใหม” ได พู ด ถึ ง ความจํ า เป นที่ ผู บ ริ ห าร ระดับสูงจะผนวกเรื่องความรับผิด ชอบต อ สั ง คมเข า ไปเป น ปรั ช ญา และเปนแผนปฏิบตั กิ ารขององคกร เพราะนั่นคือหนทางแหงความอยู รอดของธุรกิจ ในหนังสือคูม อื การบริหารธุรกิจ ชือ่ Drucker on Leadership เขาไดยก ตัวอยางกรณีของ จูเลียส โรเซนวอลด (Julius Rosenwald) ประธานบริษทั เซียร โรบัค (Sears Roebuck and Company) ผูจ าํ หนายเครือ่ งจักรทางการ เกษตร โรเซนวอลดไดแบงปนผลกําไรจํานวนมากถึง 70 ลานเหรียญสหรัฐ (ชวงประมาณป ค.ศ.1910 หรือ 100 ปทแ่ี ลว) ใหกบั การพัฒนาการศึกษาและ การพัฒนาชุมชนเกษตรกรทั่วสหรัฐ เชน โครงการฝกอาชีพ ใหความรูใหม ดานเทคโนโลยี ซึ่งโรเซนวอลดมองวา เปนสิ่งที่ควรกระทําและจําเปนอยาง ยิ่ง ผลลัพธที่ไมคาดคิดคือ โครงการชวยเหลือสังคมนั้นสามารถสรางความนา เชื่อถือและขยายฐานลูกคาไดอยางกวางขวางมากขึ้น ภายใน 10 ป บริษัทได เปลี่ยนจากบริษัทที่ใกลลมละลายมาเปนบริษัทรายใหญและเติบโตเร็วที่สุด ของสหรัฐในยุคนั้น ไมเคิล อี พอตเตอร (Michael E. Porter) กูรูดานการตลาดชื่อดัง ที่รัฐบาลไทยเคยวาจางใหมาศึกษาความสามารถในการแขงขันของ ประเทศไทย ไดพดู ถึงซีเอสอารในฐานะเครือ่ งมือทีเ่ พิม่ ความสามารถทางการ แขงขันใหกับสินคา โดยรวมเขียนบทวิเคราะหที่ชื่อวา Strategy and Society: เมื่อปลาจะกินดาว 10 116


The Link Between Competitive Advantage and Corporate Social Responsibility ใน Harvard Business Review ในเดือนธันวาคม ค.ศ.2006 หัวใจของขอเขียนชิ้นนี้คือ การพูดถึงกระบวนการทําซีเอสอารที่ชวยสง เสริมและสรางความแตกตางใหกับบริษัทและผลิตภัณฑ แตการทําซีเอสอาร ที่ขาดกลยุทธจะทําใหบริษัทไมไดประโยชนอยางเต็มที่ นอกเสียจากชวย ปองกันความเสี่ยงจากการที่สินคามีปญหาหรือโดนสังคมประณาม หรือเอา ไวตอกรกับเหลาเอ็นจีโอ และเปนไดมากที่สุดก็แคการสรางภาพพจน มุมมองของเขาอาจไมถูกใจนักอนุรักษสิ่งแวดลอมหรือองคกรคุมครอง สิทธิ์ของผูบริโภคนัก เพราะพอตเตอรมองวาหนาที่หลักของภาคธุรกิจคือ การทํากําไร ซึ่งก็หมายถึงการจายภาษีใหรัฐกลับคืนมากขึ้น การใหคาจาง ที่ดีขึ้น สวัสดิการที่ดีขึ้น และเศรษฐกิจโดยรวมที่แข็งแรงขึ้น (ตองอยาลืม วา พอตเตอรไดวิเคราะหจากรากฐานหลักที่บริษัทเหลานี้ทําธุรกิจอยางถูก ตอง โปรงใส ไมคอรรัปชั่น) พอตเตอรมองตางมุมวา การทีภ่ าคสังคมและองคกรพัฒนาเอกชน บีบภาค ธุรกิจจนทําธุรกิจไมได จะเปนแคชยั ชนะระยะสัน้ ๆ แตจะสงผลเสียในระยะยาว เมือ่ ธุรกิจสะดุด การจางงาน การเพิม่ เงินเดือน และการพัฒนานวัตกรรมใหมๆ ก็จะลดลง ในภาพรวมก็จะหมายถึงเศรษฐกิจทีถ่ ดถอย การลงทุนหดตัว เขามองเรื่องกิจกรรมซีเอสอารวา เปนเรื่องการตั้งรับทางธุรกิจ จริงอยูที่ ภาพพจนที่ดียอมหมายถึงยอดขายที่เพิ่มขึ้น รวมไปถึงการไดใจผูบริโภค แต ปญหาก็คือ ไมมีกลไกที่จะวัดไดอยางถูกตอง วาการลงทุนดานซีเอสอารจะมี ผลในการชวยในการดําเนินธุรกิจไดมากนอยเพียงใด แนวคิดของเขาอาจฟงดูนารังเกียจ แตสิ่งหนึ่งที่ไมมีใครปฎิเสธไดก็คือ ในที่สุดภาคธุรกิจจะลงทุนกับสิ่งที่เปนประโยชนกับธุรกิจของตนเทานั้น ทาย สุดแลวกิจกรรมซีเอสอารที่ไมไดสรางมูลคาเพิ่มหรือสรางจุดขาย ก็เปนไดแค กิจกรรมสรางภาพที่จะออนแรงลงไปเรื่อยๆ ไมมีพลังที่จะขับเคลื่อนใหภาค ธุรกิจและสังคมเดินไปดวยกันได พอตเตอรเสนอใหบริษทั มองซีเอสอารในมุมใหม โดยเนนใหกจิ กรรมซีเอสอาร สัมพันธกับผลกระทบจากกระบวนการการผลิตสินคา บริษัทตองแยกแยะ ประเด็นทางสังคมและจัดลําดับผลกระทบที่มาจากการผลิตใหถูกตองเสีย กอนเปนอันดับแรก แลวจึงคอยออกแบบกิจกรรมซีเอสอารที่สอดรับกัน เมื่อปลาจะกินดาว 10 117


ในเรื่องของการบริจาคหรือการทําโครงการสาธารณะกุศล เขาไดยก ตัวอยางบริษัทเครดิตการดชื่อดัง American Express ที่ไดเปนสปอนเซอร สนับสนุนเทศกาลการแสดงบัลเลตวา เปนการบริจาคที่ฉลาดในแงของการทํา ซีเอสอาร กลาวคือ American Express เปนธุรกิจทีเ่ กีย่ วของกับการใชชวี ติ เพือ่ หาความสุข ความสนุก การใชชีวิตแบบหรูหรา ฉะนั้นการสนับสนุนเทศกาล บัลเลตกส็ อดคลองกับแนวทางการใชชวี ติ ของกลุม ลูกคา และยังเปนการสราง ภาพพจนที่มีระดับใหกับ American Express ในทางสังคมการสนับสนุนศิลปะ เปรียบไดกับการใหของขวัญที่สวยงามจรรโลงใจใหแกสังคมเลยทีเดียว (ถึงจุด นี้ใครหละจะไมอยากมีเครดิตการดของ American Express ไวประดับกระเปา) จริงๆ แลว พอตเตอรชื่นชมบริษัทที่ “เขียว” จริงๆ แต “เขียว” อยางเดียว ไมพอตองมีกึ๋นในทางการทําธุรกิจดวย พอตเตอรโปรดปรานบริษัท เชน Ben & Jerry ที่ผลิตไอศครีมรสชาติดีอยางเดียวไมพอ ยังเปนผูนําในเรื่องการใช วัตถุดิบที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และเลือกใชวัตถุดิบจากเกษตรกรรายยอยที่ ทําฟารมอยางเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ผูกอตั้ง Ben & Jerry ใชจุดขายนี้สราง ความโดดเดนใหกับสินคาจนทําใหไอศครีมเจาเล็กนี้แขงกับทุนขนาดใหญได

เมื่อปลาจะกินดาว 10 118


ปญหาการทําซีเอสอารในประเทศไทย ถึงจุดนีอ้ าจกลาวไดวา ซีเอสอารในประเทศไทยไมใชเรือ่ งใหม หลายบริษทั ไดทาํ กิจกรรมนีอ้ ยูอ ยางไมรตู วั ไมวา จะเปนการทําตามกฎหมาย การทําธุรกิจ อยางโปรงใส การดูแลลูกจาง การรับผิดชอบตอลูกคา หรือการทําสาธารณะกุศล สุทธิชยั วิเคราะหวา หลายบริษทั ยังไมไดทาํ กิจกรรมซีเอสอารทส่ี อดคลอง กับผลกระทบทีบ่ ริษทั ของตนเองกอขึน้ เชน กิจกรรมการปลูกปาก็ปลูกไปโดย ไมมคี วามสัมพันธกบั กิจกรรมของบริษทั และบอกไมไดวา กิจกรรมทีท่ าํ นัน้ ลด ผลกระทบทีธ่ รุ กิจตนเองกอไวอยางไร สาเหตุหลักคือ การขาดความเขาใจ ซึง่ ไมใชปญ  หาของทางภาคธุรกิจเพียง อยางเดียว แตยงั เปนปญหาของแวดวงวิชาการและสือ่ สารมวลชนทีไ่ มสามารถ ใหความรูค วามเขาใจกับสังคมได เมือ่ สังคมและผูบ ริโภคขาดความเขาใจก็จะ ขาดพลังในการขับเคลือ่ นใหภาคธุรกิจทําซีเอสอารอยางถูกตอง เพราะรากฐาน ของซีเอสอารเกิดจากการทีผ่ บู ริโภคเรียนรูส ทิ ธิข์ องตน และกดดันใหผผู ลิตทํา ธุรกิจอยางมีความรับผิดชอบ ขณะที่ สฤณี อาชวานันทกุล อาจารยดานธุรกิจเพื่อสังคม คณะ พาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มองปญหา เรื่องนี้ไวอยางแหลมคมวา “ในภาคการศึกษาคือ มหาวิทยาลัยที่สอน เรื่องธุรกิจ ประเทศเราสอนแตเรื่องการตลาด การสรางภาพพจนใหสินคา คนทําโฆษณาบานเรานี่เกงมาก แตไมมีใครจะทําใหสังคมเห็นถึงความแตก ตางระหวางภาพพจนกับความเปนจริง” สฤณีวิเคราะหถึงสาเหตุที่ทําใหซี เอสอารในประเทศไทยยังมีฐานะแคการโฆษณาองคกร “อีกสาเหตุคอื วัฒนธรรมการทําธุรกิจของไทยทีค่ ดิ เปนแตการขายของถูก แรงงานถูก และการลอกเลียนแบบผลิตภัณฑ วัฒนธรรมการทําธุกจิ แบบฟน กําไรเชนนี้ เปนสิง่ ทีอ่ ยูต รงกันขามกับการทําซีเอสอารอยางสิน้ เชิง” เธอกลาว สิ่งที่นาผิดหวังมากสําหรับสฤณีก็คือ บทบาทของสื่อมวลชนที่นอกจาก ไมสามารถฉายภาพใหสังคมเขาใจเรื่องซีเอสอารไดแลว ยังเขามาเปนสวน หนึ่งในการชวยประชาสัมพันธกิจกรรมซีเอสอารเทียมๆ เหลานั้น โดยไมมี การตั้งคําถามแตอยางใด

ปลุกพลังผูบริโภคขับเคลื่อนซีเอสอาร บริษัทที่ทําซีเอสอารไมวาแทหรือเทียมตางก็เก็บเกี่ยวผลประโยชนที่ เมื่อปลาจะกินดาว 10 119


ไดจากการยกระดับภาพลักษณใหผูบริโภคจดจําไดดี อนันตชัย ยูรประถม ผูอํานวยการสถาบันพัฒนาธุรกิจอยางยั่งยืน มองวา สิ่งที่ผูบริโภคจะวัดวา บริษัทใดทําซีเอสอารอยางแทจริง จะตองมองในมุมที่เกี่ยวของกับผูริโภค ซึ่งก็คือคุณภาพและการแสดงความรับผิดชอบตอลูกคา นอกเหนือจากนั้น ผูบริโภคก็อาจมองที่การดํารงอยูของบริษัท ประวัติการดําเนินการ วามีการ เอาเปรียบชุมชนผูบริโภค แรงงาน หรือเกี่ยวของกับการทุจริตหรือไม “สิ่งที่วัดไดวาบริษัทนั้นรับผิดชอบตอสังคมหรือไมก็ตองดูจากความรัก ความไววางใจที่ประชาชนหรือสังคมมีให มีโจทยวัดงายๆ วา ถาวันใดบริษัท ปดไปแลวสังคมไมเสียใจ ไมมีประชาชนมาเรียกรองขอใหดําเนินการตอ ก็ หมายถึง โครงการซีเอสอารที่ทํามานั้นลมเหลว” ในประเทศไทยอาจยังไมมีองคกรใดที่มาทําหนาที่ตรวจสอบจับจองการ ทําซีเอสอารของภาคธุรกิจ ที่เห็นชัดก็มีเพียงมูลนิธิเพื่อผูบริโภคที่เปนหัวหอก สําคัญในการคุมครองสิทธิผูบริโภค ในกรณีที่ถูกเอารัดเอาเปรียบจากการซื้อ สินคาและบริการ ศศิวรรณ ปริญญาตร หัวหนาฝายตางประเทศ มูลนิธิเพื่อผูบริโภค เห็นวา บริษัทในประเทศไทยสวนใหญยังทําซีเอสอารเพื่อการประชาสัมพันธ กันอยู ซึ่งมูลนิธิเพื่อผูบริโภคเริ่มมีการตีพิมพบทความเรื่องการจับผิดการทํา ซีเอสอารลงใน “วารสารฉลาดซื้อ” และในปที่แลวไดทําสํารวจบริษัทกาแฟ ที่โฆษณาวามีการทําซีเอสอารมากกวาคูแขงรายอื่น อยางไรก็ดี ผลสํารวจกลับพบวา บริษทั กาแฟเหลานีไ้ มคอ ยสบายใจนักที่ จะตอบคําถาม เรือ่ งนโยบายการทําซีเอสอาร ศศิวรรณตัง้ ขอสังเกตวา บริษทั มักจะสือ่ สารเรือ่ งซีเอสอารผา นการโฆษณา ซึง่ เปนการพูดดานเดียว ทัง้ ทีก่ ารทํา ซีเอสอารนน้ั เปนเรือ่ งของการมีสว นรวมตอสังคม อันหมายถึงการทีต่ อ งเปดเผย ขอมูลตอสังคมนัน่ เอง ทายสุดคงจะพอสรุปไดวา กิจกรรมซีเอสอารในประเทศไทยยังเปนเพียงการ ประชาสัมพันธกนั เปนสวนมาก ซึง่ ก็ไมใชสง่ิ ทีผ่ ดิ เพราะการโฆษณาในเรือ่ งการ ทําดีกเ็ ปนสิง่ ทีท่ าํ ได อยางนอยบริษทั เหลานีก้ ไ็ ดพยายามทําสิง่ ทีถ่ กู ตอง หากแต ยังทําไดไมครบทุกดาน นีค่ อื โจทยอนั ทาทายตอกระแสซีเอสอารในประเทศไทย และเปนการบานทีผ่ มู สี ว นไดสว นเสียทุกคนตองชวยกันขบคิดหาคําตอบ

เมื่อปลาจะกินดาว 10 120


บรรณานุกรม มาตราฐานความรั บ ผิ ด ชอบของผู ป ระกอบการอุ ต สาหกรรมต อ สังคม (Standard for Corporate Social Responsibility: CSR DIW B.B 2553) พิมพเมื่อ พ.ศ 2553 กรมโรงงาน, กระทรวงอุตสาหกรรม หนา 9-20เอกสารเผยแพรของหนวยงานราชการ (กรมโรงงาน, กระทรวง อุตสาหกรรม) ผูประกอบการสังคม พลังความคิดใหมเพื่อการเปลี่ยนแปลงโลก. (How to Change the World) เดวิด บอรนสตีน , เขียน เจริญเกียรติ ธน สุขถาวร และวิไล ตระกูลสิน, แปล บริษัทสวนเงินมีมา จํากัด พิมพครั้ง ที่ 2, พ.ศ. 2551 บทที่ 8 หนา 146-157 Strategy and Society: The Link Between Competitive Advantage and Corporate Social Responsibility By Michael E Porter Harvard Business Review, monthly magazine December, year 2006 issue P.86-98 Drucker on Leadership : New Lessons from the Father of Modern Management. By William A. Cohen Ph.D. First Edition. Year 2009 HB Printing P. 125-131 สัมภาษณ พิพัฒน ยอดพฤติการ ผูอํานวยการสถาบันไทยพัฒน, 23 มิถุนายน พ.ศ. 2553 สัมภาษณอนันตชัย ยูรประถม ผูอํานวยการสถาบันธุรกิจอยาง ยั่งยืน, 8 มิถุนายน พ.ศ. 2553. สัมภาษณ สฤณี อาชวานันทกุล, 21 มิถุนายน พ.ศ 2553 สัมภาษณ ดร.ไชยยศ บุญญากิจ รองประธานสถาบันสิ่งแวดลอม ไทย, 25 มิถุนายน พ.ศ 2553 สัมภาษณ สุทธิชัย เอี่ยมเจริญยิ่ง กรรมการผูจัดการ ปริษัท วันเด อรเวิรล โปรดัคส จํากัด, 3 กรกฎาคม พ.ศ 2553 สัมภาษณ เวอโรนิค บริจิต บาคเกอร (Veronique Brigitte Bagge) ผู อํานวยการดานซีเอสอาร บริษัท ท็อป ทอยส สัมภาษณ ศศิวรรณ ปริญญาตรี หัวหนาฝายตางประเทศ มูลนิธิ เพื่อผูบริโภค 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 สัมมนาเรื่อง “CSR ไทย ของจริงหรือสรางภาพ” วันที่ 2 กรกฎาคม 2553 จัดโดยชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม เมื่อปลาจะกินดาว 10 121


เอ็นจีโอสิ่งแวดลอม..ผูปกปอง หรือทํารายโลก ชุติมา นุนมัน หนังสือพิมพมติชน

เมื่อปลาจะกินดาว 10 122


รองรอยปายโฆษณาขนาดยอม ถูกทุบทิ้งอยางไมใยดี เศษไม เกลื่อนกลาด รวงระเกะระกะยังมองเห็นประปรายอยูริมน้ําโขง บริเวณปาก งาว คอนผีหลง แขวงบอแกว สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มันเริ่ม ผุพังไปตามระยะเวลา ชาวบานในพื้นที่ บอกวา รองรอยที่เห็นนี้คือซากอัปยศ ที่เอ็นจีโอตางชาติ มาสรางเอาไว พวกเขา บอกอีกวา กอนหนานี้เอ็นจีโอตางชาติ หรือกลุมคน ไทยกลุมหนึ่งที่เรียกตัวเองวาเอ็นจีโอ แตไปขอทุนจากตางชาติมาทํางานใน ประเทศไทยกลุมหนึ่ง เคยคิดจะเอาปายลักษณะดังกลาวนี้ไปติดไวที่ริมแมน้ํา โขง พื้นที่จับปลาบึก บริเวณหาดไคร อ.เชียงของ จ.เชียงราย เชนเดียวกัน ขอความประมาณวา พวกเขาเปนเจาของโครงการอนุรักษ ดูแลปลาบึก และ แมน้ําโขง ในบริเวณตรงนั้น แตถูกชาวบานกลุมหนึ่งในพื้นที่ตอตาน ไมยอม ใหเอาปายดังกลาวขึ้น นิวัติ รอยแกว หรือ ครูตี๋ ประธานกลุมรักษเชียงของ ไดระบาย ความอึดอัดในใจสําหรับการทํางานของเอ็นจีโอตางชาติกลุมหนึ่งที่เขามา ทํางานในพื้นที่วา คนกลุมนี้เขามาทํางานเรื่องแมน้ําโขงในพื้นที่ อ.เชียงของก็ จริง แตไมเคยศึกษาวิถีชีวิตของคนในทองถิ่นอยางแทจริง อีกทั้งยังพยายาม เมื่อปลาจะกินดาว 10 123


เอาวิธีคิดของตัวเองเขามาครอบงําชาวบานในพื้นที่อีกดวย “เชน เรือ่ งการอนุรกั ษปลาบึก และการดูแลแมนาํ้ โขง พวกเราชาวบานคุย กันมาตลอดวาเราจะทํากันอยางไรดีใหมปี ลาบึกอยูก บั เรามากๆ และนานๆ เรา ไดขอ สรุปคือ ตองชวยกันอนุรกั ษและดูแลแมนาํ้ โขงไมใหใครมาทําใหมนั ไหลผิด เพีย้ น หรือมีสง่ิ กอสรางอะไรมากีดขวางทางไหลของน้าํ พอไดขอ สรุป เอ็นจีโอ กลุม นีก้ ลับทําเรือ่ งเสนอแหลงทุนของพวกเขา ซึง่ เราเขาใจวามาจากตางประเทศ วา งานทีช่ าวบานเคยคุยกันเปนงานของพวกเขา เขาคิดเขาทําเองทัง้ หมด” ครูต๋ี ยังบอกอีกวา ความจริงแลว ไมมชี าวบานกลุม ไหนหรือคนใด รังเกียจ การเขามาทํางานของเอ็นจีโอ ไมวา จะเปนเอ็นจีโอทีม่ แี หลงทุน หรือไดเงินจากใน ประเทศ หรือเอ็นจีโอทีร่ บั เงินเพือ่ ทํางานมาจากตางประเทศ หากเอ็นจีโอเหลา นัน้ เรียนรูว ถิ กี ารดํารงชีวติ ของชาวบานในพืน้ ทีท่ จ่ี ะเขาไปทํางานดวย “ที่เราพบนั้นมีทั้งดีและไมดี ที่ไมดีที่อยากจะบอกเอาไวเพื่อเปนอุทาหรณ คือนอกจากไมเรียนรูแลวเขายังพยายามครอบงําชาวบาน สรางความแตก แยกใหกลุมชาวบาน โดยเอาวิธีคิดของเขามาใสใหชาวบานที่นี่ดวย” วิธีการเขามาทํางานของเอ็นจีโอตางชาติ (ขอสงวนนาม) กลุมดังกลาวคือ จะมาคุยกับชาวบานเรื่องการอนุรักษแมน้ําโขง อนุรักษปลาบึก จัดประชุม ชาวบาน โดยใหคาตอบแทนเปนเบี้ยเลี้ยงสําหรับการประชุมแตละครั้ง และ เรียกประชุมในชวงเวลาที่ชาวบานทํางานประจําวัน ใหเงินเดือนชาวบานบาง คนที่มาทําหนาที่ผูประสานงานเรื่องการอนุรักษปลาบึก “วิธีการของเขา ทําใหชาวบานแบงแยกออกเปนสองฝกสองฝาย ทําให พวกเราบางคนลืมไปวา การดูแลทองถิ่นของเรา เปนหนาที่ที่จะตองทํา ไม ตองใหใครมาจางวาน และเมื่อมีเงินมีคาตอบแทนเขามา คนที่ไมไดก็จะเกิด คําถามขึ้นวาทําไมเขาถึงได แตคนนั้นได เขาไมได เขาไมทํา ใหคนที่ไดเงินทํา อะไรเหลานี้เปนตน” นี่เปนปญหาที่ชาวบานกลุมหนึ่งประสบ จากการเขาไปทํางานของเอ็นจีโอ ขณะที่ เอ็นจีโออีกกลุมที่เขาไปทํางานรวมกับชาวบาน และเจาหนาที่ของ รัฐที่ทํางานอยูในปาไกลโพน อยางเขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญนเรศวร กลับ มีแตเสียงชื่นชม เมื่อปลาจะกินดาว 10 124


เจาหนาที่ของมูลนิธิสืบนาคะเสถียร นําทีมโดย อาจารยรตยา จันทร เทียร ประธานมูลนิธิ วัยยางเขา 80 ป และ อาจารยศศิน เฉลิมลาภ เลขาธิการมูลนิธิ กับรถขับเคลื่อน 4 ลอ ขับจากสํานักงานมูลนิธิสืบฯ เขา ปาทุงใหญ เพื่อนําเอาเปล ยาสามัญประจําบานรักษาโรคเบื้องตน เสื้อผา ตัดเย็บอยางดีสําหรับเดินและทํางานในปา และอาหารแหง ไปฝากพนักงาน พิทักษปา ที่ออกลาดตระเวนปา ในพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญนเรศวร พื้นที่ปาตะวันตก เปนพื้นที่หลักในการทํางานของมูลนิธิสืบฯ งานหลักๆ ที่กําลังดําเนินการอยูเวลานี้ เชน โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนําชุมชนเพื่อ การอนุรักษ โครงการสนับสนุนการดํารงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ การอนุรักษธรรมชาติ แผนงานเฝาระวังผืนปาตะวันตกรวมกับกรมอุทยาน แหงชาติสัตวปาและพันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แผนงานชวยเหลือเจาหนาที่พิทักษปา โครงการจอมปา ฯลฯ อาจารยรตยา บอกวา การทํางานของมูลนิธิสืบฯ เหมือนกับการเติมเต็ม ในการชวยระหวางชาวบานและภาครัฐดูแลปา ซึ่งการเติมเต็มในที่นี้อาจจะ หมายถึงการคัดคาน การชี้แนะ การประสานงาน รวมทั้งการลงไปชวยเหลือ บางสิ่งบางอยางที่มูลนิธิฯพอจะทําได “การลงพื้นที่ทําใหเราเห็นภาพจริง วาบริเวณนั้นมีปญหาอะไร มีอะไร ขาด มีอะไรเหลือ และชาวบานในพื้นที่เขาทําอะไรถูก ทําสิ่งไหนผิด เราก็จะ คอยแนะนําตามความถูกตอง สําคัญเลยนะคะ คือการพูดคุยทําความเขาใจ กับชาวบาน รวมทั้งทําความเขาใจกับภาครัฐดวย ที่ผานมา มูลนิธิสืบฯ ไม เคยมีปญหากับใคร เราทํางานไดทั้งฝายรัฐและชาวบาน เรามั่นใจวา ปาไม และสัตวปา จะอยูได ไมใชขึ้นอยูกับฝายใดฝายหนึ่งเทานั้น ตองทํางานรวม กันทั้งหมดไมวาจะเปนภาครัฐหรือภาคประชาชน แมกระทั่งเอ็นจีโอ” ภาพทีเ่ ห็นระหวางการลงพืน้ ทีไ่ ปทํางานรวมกับเจาหนาทีม่ ลู นิธสิ บื ฯ ก็คอื ทั้งชาวบาน และเจาหนาที่ของรัฐ ลวนใหความรวมมือ และเต็มใจทํางานดวย ผูเฒา หมองเป ปราชญประจําหมูบาน ทิไลปา ต.ไลโว อ.สังขละบุรี บานกลางปาลึก ในปาตะวันตก จ.กาญจนบุรี รีบบอกใหลูกหลาน เอาน้ํามา ตอนรับแขกคนสําคัญที่มาจากแดนไกล พวกเขาแสดงความยินดีอยางออก เมื่อปลาจะกินดาว 10 125


นอกหนา สําหรับผูมาเยือน เรานั่งมองผูเฒาหมองเป คุยกับประธานมูลนิธิ สืบฯ อยูมุมหนึ่งของบานดวยความสนใจ 2 ผูเฒา คุยกันดวยเรื่องการดูแลพื้นที่ปาตะวันตกอยางออกรสชาติ ผู เฒาหมองเป บอกอาจารยรตยาวา เจาหนาที่ภาคสนามของมูลนิธิสืบฯ ขยัน ขันแข็งเขามาในพื้นที่ทุกอาทิตย ชาวบานเห็นอะไรไมชอบมาพากลที่เกิดขึ้น ในปา ก็ไดเจาหนาที่ของมูลนิธิสืบฯ ชวยประสานงานกับเจาหนาที่ของรัฐให อยางดี ยิ่งเวลานี้มีหัวหนาเขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญฯ คนใหมเปนผูหญิง ที่ทํางานเกง และฟงชาวบานมากขึ้น ทุกคนก็สบายใจขึ้น “มีเด็กๆ มาบอกวา เขาเห็นรอยเทาแรดในทายปาดวยนะ แจงเจาหนาที่ ไปแลว ไมรูวาเขาไปตรวจดูแลวหรือยัง คิดวา 2-3 วันนี้ เขาก็จะแวะเขามาที่นี่ แหละ จะไดบอก ไดถามรายละเอียดกันเพิ่ม” ผูเฒา หมองเป แจงขาว ผูอํานวยการมูลนิธิสืบฯยิ้ม ดวยความปลาบปลื้ม แลวบอกวา ปาแถบนี้ ก็ตองใหคนแถวนี้ชวยกันดู มูลนิธิสืบฯเปนเพียงคนชวยทํางานเทานั้น เหมือน กับเจาหนาทีพ่ ทิ กั ษปา ของเขตรักษาพันธุส ตั วปา ทุง ใหญนเรศวร ทีอ่ อกอาการ ปลื้มอกปลื้มใจอยางเห็นไดชัด เมื่อทีมงานของมูลนิธิสืบฯ ดั้นดน ขับรถฝา สายฝนและเสนทางขรุขระ ทุลักทุเลเขาไปเยี่ยม พรอมกับของฝากที่พวกเขา ถูกใจ “ที่ดีใจไมใชเพราะของฝากนะครับ แตเราดีใจที่พวกเขาคิดถึงเรา ของ ฝากที่พวกเขาเอามาให ไมไดมีคาอะไรมากมาย แตแสดงใหเห็นถึงความใสใจ วาพวกเราขาด หรืออยากไดอะไรบาง” เจาหนาที่พิทักษปาคนหนึ่งบอก เขาบอกอีกวา ขาวของทั้งหมดใชวาหนวยราชการตนสังกัดจะไมจัดให ระหวางการทํางาน จัดใหเหมือนกัน แตดวยความลาชาของขั้นตอนราชการ ตางๆ ทําใหการทํางานของเจาหนาที่ระดับลางอยางพวกเขาไมไดรับความ สะดวกนัก การที่มีองคกรพัฒนาเอกชน หรือเอ็นจีโอ อยางมูลนิธิสืบนาคะ เสถียรเขามาทํางานดวย ทําใหงานสะดวก และสบายใจขึ้น ในวันที่ประเทศไทยมีความเจริญกาวหนาทั้งดานเทคโนโลยี และการ พัฒนาทางเศรษฐกิจมากขึ้นเทียบชั้นกับประเทศที่กําลังพัฒนาและพัฒนา แลวทั้งหลาย บทบาทของคนกลุมหนึ่งที่เรียกตัวเองวา “เอ็นจีโอ” ก็มีมาก เมื่อปลาจะกินดาว 10 126


ขึ้น คําวา เอ็นจีโอ ยอมาจากภาษาอังกฤษมีชื่อเต็มๆวา Non-Governmental Organization แปลวาวา องคการพัฒนาภาคเอกชน โดยความหมายคือ การ รวมตัวของกลุมคนจากสาขาอาชีพตางๆ เพื่อรวมทํากิจกรรมใหสังคม ไม แสวงหาผลกําไร และเพื่อลดชองวางของสังคมในสวนที่รัฐเขาไปชวยเหลือ ไมทั่วถึงใหมีสภาพเปนอยูที่ดีขึ้น สวนใหญเกิดขึ้นเพื่อตอบสนองปญหา ของชาวบาน ที่รัฐบาลดูแลไมทั่วถึงหรือไมใหความสําคัญ ดังนั้นชาวบาน จึงตองแกไขปญหาตัวเอง เรียกรองและตอรองกับรัฐบาลกันเอง เอ็นจีโอ เริ่มเปนที่รูจักตั้งแตกอนชวงสงครามโลกในฐานะกลุมชวยเหลือ และบรรเทาทุกขในพื้นที่ยากจนและกลุมคนดอยโอกาส ประเทศที่ประสบภัย ธรรมชาติ ขาดแคลนอาหารและสาธารณสุข ตอมาในชวงสงครามโลกครั้ง ที่ 2 องคกรเอกชนเหลานี้ทํางานชวยเหลือเหยื่อสงคราม ผูบาดเจ็บและเริ่ม ขยายงานไปสูการพัฒนา งานยกระดับคุณภาพชีวิต อนุรักษสิ่งแวดลอม เอ็นจีโอในประเทศไทยเกิดขึน้ มากวา 40 ปแลว เริม่ จากป 2512 อาจารย ปวย อึง้ ภากรณ อดีตผูว า การธนาคารแหงประเทศไทย และปูชนียบุคคล ของประเทศไทย กอตัง้ มูลนิธบิ รู ณชนบท อบรมนักพัฒนาชนบท และบัณฑิต อาสา ใหไปทํางานกับชาวบานในชนบททัว่ ประเทศ ถือเปนยุคแรกของประเทศ ทีม่ ผี อู าสาเขาไปทํางานกับชาวบาน ใหชาวบานไดคดิ และมีสว นรวมกับทอง ถิน่ ในการพัฒนาพืน้ ทีข่ องตัวเอง ตลอดจนการเคารพในศักดิศ์ รีความเปนมนุษย ของตัวเอง “ครูแดง” เตือนใจ ดีเทศน อดีต สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) เชียงราย เลาวา หลังจากเรียนจบจากคณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ก็ไป สมัครเปนบัณฑิตอาสา รุนที่ 6 7 และ 8 ติดตอกัน กอนเปนบัณฑิตอาสา ไดไปอบรมกับมูลนิธิบูรณชนบท เมื่อป 2517 โดยอาจารยปวย เปนผูทุมเท และเสียสละตัวเองในการทํางานดานนี้อยางมาก บัณฑิตอาสาแตละรุนจะ มีประมาณ 36-40 คน อาจารยปวย จะจําทั้งชื่อจริงและชื่อเลนของบัณฑิต อาสาไดทง้ั หมด สิง่ ทีอ่ าจารยปว ยเนนย้าํ กับบัณฑิตอาสาทุกคนกอนไปทํางาน กับชาวบานคือ ความเขาใจในพืน้ ทีแ่ ละการใหชาวบานมีสว นรวมในการทํางาน ถือเปนแนวคิดยุคใหมอยางมากสําหรับการพัฒนาในยุคนั้น เมื่อปลาจะกินดาว 10 127


“บัณฑิตอาสาก็ทาํ งานคลายกับเอ็นจีโอในยุคนี้ คือไปทํางานกับชาวบาน ทําความเขาใจกับปญหาของชาวบาน ชวยชาวบานแกปญ  หา เพียงแตบณ ั ฑิต อาสานัน้ ไดรบั การสนับสนุนเงินเดือนจากรัฐบาลเดือนละ 800 บาท ใหเราไปอยู กับชาวบาน แตไมเบียดเบียนชาวบาน” ครูแดง เลา การทุมเทในงานนี่เองทําใหอาจารยปวย ไดรางวัลแมกไซไซ สาขาบริการ สาธารณะและลูกศิษฐ ลูกหา อดีตบัณฑิตอาสาของอาจารยก็ยังคงทํางาน ในแวดวงเอ็นจีโอ เปนที่รูจักหนาคาตากันหลายคน เชน พิศิษฐ ชาญเสนาะ เลขาธิการสมาคมหยาดฝน ที่ จ.ตรัง หรือ บุญเรือง สุขสวัสดิ์ ผูก อ ตัง้ ธนาคารวัว ธนาคารควาย และธนาคารขาว ที่ จ.ชัยนาท หรือกระทั่ง ครูแดง เตือนใจ ดีเทศน เดช พุมคชา อดีตเลขาธิการคณะกรรมการ ประสานงานองคกรพัฒนาเอกชน (กป.อพช.) สําหรับเอ็นจีโอดานสิ่งแวดลอมนั้น ความหมายอาจจะแคบลงมา คือ เนนการทํางานดานสิ่งแวดลอมเปนหลัก ซึ่งปจจุบันนี้ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่ง แวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ทส.) ไดขึ้นทะเขียน เอ็นจีโอสิ่งแวดลอมเอาไว 192 องคกร เอ็นจีโอดานสิ่งแวดลอมเริ่มเกิดขึ้นอยางชัดเจน เมื่อป 2529 อันเนื่องมา จากสถานการณที่ชี้ชัดวาทรัพยธรรมชาติ ไมวา ปาไม ที่ดิน ถูกทําลายและ มีการแยงชิงกันมากขึ้น นอกจากนี้ รัฐบาลไดทําโครงการขนาดใหญ เชน การสรางเขื่อน ซึ่งนําไปสูการตัดไมทําลายปาในพื้นที่กวางขวางมหาศาล อัน นําไปสูการคัดคาน เพราะมีผูเห็นวาจะเปนการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ มหาศาล และเอ็นจีโอก็ไดเขามามีบทบาทในเรื่องนี้เพิ่มขึ้น กระทั่งในปจจุบัน เอ็นจีโอดานสิ่งแวดลอมกลายเปนกลุมที่ใหญและมี บทบาทคอนขางมาก และในปจจุบัน จากการรวบรวมของผูเขียนสามารถ แยกแยะกลุมเอ็นจีโอเอาเองตามประสบการณ ไดดั้งนี้ กลุมแรก เปนองคกรเล็กๆ และไมไดจดทะเบียนเปนนิติบุคคล อาจเปน โครงการที่ตั้งขึ้นมาเฉพาะกิจ คนที่ทํางานในองคกรเหลานี้บางคนอาจมาจาก รัฐบาลหรือภาคธุรกิจที่ตองการจะชวยเหลือสังคม เชน กลุมอนุรักษกาญจน ชมรมอนุรักษสิ่งแวดลอม ที่มีอยูในหลายพื้นที่ หลายจังหวัด คนเหลานี้สวน เมื่อปลาจะกินดาว 10 128


มากจะทําดวยความรัก เสียสละทั้งแรงกายและแรงเงิน กลุมที่สอง เปนโครงการ หรือกลุม หรือชุมชน แตเปนกลุมที่ใหญกวา กลุมแรก มีเจาหนาที่ประจํา อาจมี 2-3 คน หรือบางแหงอาจขออาสาสมัคร จากที่อื่นมาชวย โดยไมมีคาจายคาตอบแทนใหหรือจายบางสวน เชน การขอ สมัครจากมูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคมมาชวย หรือบางหนวยงานก็จะมีอาสา สมัครจากตางประเทศมาชวยทํางาน โดยไมรับคาตอบแทน แตระยะเวลาการ ทํางานมักไมนานนัก กลุมที่สาม เปนองคกรที่พัฒนามาจากกลุมที่หนึ่งและกลุมที่สอง และ จะมีเจาหนาที่ประจํามากขึ้น มีโครงการ มีงบประมาณที่ไดจากการเสนอ โครงการมาสนับสนุน การทํางานมีทั้งไดรับจากภาครัฐ เชน จากกองทุน สิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และแหลงทุนจาก ตางประเทศ เชน สถานทูตตางๆ กลุมที่สี่ เปนองคกรที่คนของรัฐหรือหนวยงานรัฐเปนผูจัดตั้งขึ้น ซึ่งมีทั้ง ที่ตั้งเปนโครงการ เปนชมรม และที่จดทะเบียนเปนทางการเปนมูลนิธิ หรือ สมาคม และที่ตั้งขององคกรเหลานี้มักอยูในหนวยงานของรัฐนั้นเอง รวมทั้ง บางครั้งก็จัดสรรเงินจากหนวยงานรัฐนั้นมาใหทํางานคนของรัฐ ซึ่งสวนมาก มีตําแหนงสูงๆ จะเขามาสวมหมวกอีกใบ เชน เปนประธานมูลนิธิบาง เปน นายกสมาคมบางจะอาศัยชื่อเสียงหรือตําแหนงหนาที่การงานเปนเครดิตใน การขอทุนจากตางประเทศบาง จากองคกรระหวางประเทศที่มีที่ตั้งอยูในและ นอกประเทศบางมาทําโครงการเฉพาะกิจ อาจมีการจางเจาหนาที่มาทํางาน เฉพาะโครงการ ตามระยะเวลาของโครงการทีไ่ ดรบั เงินสนับสนุนมา เจาหนาที่ มาทํางานเต็มเวลานี้มักเรียกวา ผูประสานงาน กลุมสุดทาย คือ องคกรระหวางประเทศ องคกรเหลานี้มักมีองคกร แมอยูในประเทศที่พัฒนาแลว เชน องคกรแครนานาชาติ ประเทศไทย ที่มี องคกรแมอยูสหรัฐอเมริกา วายเอ็มซีเอ (Young Men Christian Association) กรีนพีซ (Green Peace) เครือขายแมน้ําเพื่อชีวิต เปนตน ซึ่งองคกรเหลานี้มีทั้ง ที่เขาสนับสนุนหรือรวมมือกับเอ็นจีโอในประเทศไทยและที่เขามาทํากิจกรรม เอง โดยการจัดจางคนในประเทศเปนเจาหนาที่ แตสวนมากระดับหัวหนายัง เมื่อปลาจะกินดาว 10 129


วนิดา ตันติวิทยาพิทักษ

หาญณรงค เยาวเลิศ

เปนชาวตางประเทศ และสวนมากจะไดรับงบประมาณจากองคกรแมในตาง ประเทศ ซึ่งสวนมากไดทุนมาจากการรณรงครับบริจาคทั่วไป

2010 เอ็นจีโอสิ่งแวดลอมอุดมการณอยูแตพฤติกรรมเปลี่ยน กลุมสมัชชาคนจน เอ็นจีโอที่มีความชัดเจนมาตลอดวา ทํางานดานสิ่ง แวดลอม คือ เรียกรองความเปนธรรมใหกับชาวบานที่ไดรับผลกระทบจาก การสรางเขื่อนในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะเขื่อนปากมูล ที่ มีแกนนําเปนคนเมืองอยาง วนิดา ตันติวิทยาพิทักษ อดีตนักขายประกัน ชาวกรุง ที่ทิ้งความสะดวกสบายและอนาคตทางธุรกิจที่รุงเรือง ไปทํางานกับ ชาวบาน นอนกลางดิน กินกลางทราย ชาวบานอยูที่ไหนเธอก็จะอยูดวย ทั้งๆ ที่ระดับแกนนําไมจําเปนจะตองทําเชนนั้นก็ได หนาที่ของวนิดาในกลุมสมัชชาคนจน นอกจากเปนแกนนํา เปนที่ปรึกษา ใหชาวบานสูกับความไมเปนธรรมที่ไดรับแลว พวกเธอยังชวยกันสรางใหชาว บานในพื้นที่ใหรูถึงสิทธิ หนาที่ เพื่อใหสามารถยืนหยัดไดดวยลําแขงของตัว เอง ไมใหราชการ หรือความอยุติธรรมเขาไปรังแก หรือลิดรอนสิทธิใดๆ ไดอีก ผลที่ไดรับก็คือ เวลานี้ผูที่ทํางานในกลุมสมัชชาคนจนจํานวนมาก รวมทั้งแกน เมื่อปลาจะกินดาว 10 130


นําในปจจุบันมีชาวบานที่ไดรับความเดือดรอนรวมอยูดวย วันนี้ วนิดา ไดจากกลุมสมัชชาคนจนไปแลวอยางไมมีวันกลับ ดวยโรค รายที่รุมเรา แตเธอเปนผูหญิงตัวเล็กๆ ที่จะถูกบันทึกเอาไวในใจของชาวบาน ยากไร ที่เธอรวมตอสูมาดวยตลอดวาเปนวีรสตรีของพวกเขา วนิดาไดทุมเท ทั้งแรงกาย แรงใจทํางานเพื่อชาวบานจนวินาทีสุดทาย งานครบรอบวันจาก ไปของวนิดาทุกปจะมีผูไปรวมงานโดยไมมีใครที่ไมเสียน้ําตา ถ า เปรี ย บเที ย บการต อ สู ข องชาวบ า นสมั ช ชาคนจนที่ มี วิ ถี ชี วิ ต อยู กั บ สิ่งแวดลอมที่บริสุทธิ์มาตลอด กระทั่งความเจริญทางวัตถุที่ทําใหทุกอยาง เปลี่ยนไป กับชาวบานในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จ.ระยอง ที่ไดรับ ผลกระทบจากการพัฒนาอุตสาหกรรมแบบสุดๆ ถาเปรียบระหวางมาบตาพุด และชาวบานที่ไดรับผลกระทบจากการสรางเขื่อนปากมูลนั้น คลายๆ กัน แต ก็ไมเหมือนกันทั้งหมด ชาวบานมาบตาพุดสวนใหญเปนคนเมือง แตชาวปากมูลเปนชาวบาน พูดใหชัดๆ คือคนบานนอก วิถีการตอสูคลายกัน แตชาวบานปากมูลดูจะ แข็งแกรงวา เพราะมีพื้นฐานการเรียนรูการตอสูที่สั่งสมความทุกขแปลงมา เปนกําลัง เอ็นจีโอที่ปากมูลเปลี่ยนสภาพจากแกนนํา เปนที่ปรึกษา และให เมื่อปลาจะกินดาว 10 131


ชาวบานวางหมากเดินเกมการทํางานกันเอง ขณะทีช่ าวมาบตาพุดยังแบงเปน หลายฝาย มีทั้งชาวบานที่ไดรับผลกระทบจากโรงงานอุตสาหกรรมเปนผูเดิน เกม และใหผูนําที่อยูขางนอกเขามาชวย สุทธิ อัชฌาศัย แกนนําเครือขายประชาชนภาคตะวันออก คนหนุม ไฟแรง แมจะไมใชชาวมาบตาพุดทีไ่ ดรบั ผลจากการขยายความเจริญของนิคม อุตสาหกรรมมาบตาพุดโดยตรง แตขยันขันแข็งในการศึกษาหาขอมูล ทําการ บาน และทุมกําลังกายเพื่อผลักดันใหชาวบานมาบตาพุดไดรับการดูแลใหมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ในเวลาตอมาเมื่อสุทธิทํางานกับชาวบานมาบตาพุดพัก ใหญ ทามกลางสถานการณทางการเมืองในประเทศที่ระอุขึ้น สุทธิไปมีราย ชื่อปรากฏในกรรมการบริหารพรรคการเมืองใหม ภายใตการนําของ สนธิ ลิ้มทองกุล หรือกลุมคนเสื้อเหลือง ซึ่งพื้นที่ จ.ระยอง ถือเปนชัยภูมิสําคัญ ของพรรคการเมืองพรรคนี้ ทําใหชื่อ สุทธิ อัชฌาศัย ถูกตอตานจากชาวบาน มาบตาพุดอีกกลุมหนึ่ง ลาสุดนี้ เมื่อกฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 มาตรา 67 วรรค สอง ถูก ประกาศใช กําหนดให โครงการทุกโครงการที่เขาขายอาจจะกอใหเกิดผล กระทบรุนแรงจะตองทําทั้งรายงานการวิเคราะหผลกระทบดานสิ่งแวดลอม (อีไอเอ) และรายงานผลกระทบดานสุขภาพ (เอชไอเอ) และตองใหคณะ กรรมการองคการอิสระ (กอสส.) ซึ่งเปนองคกรอิสระหนวยงานใหม ที่เกิดขึ้น ภายในรัฐธรรมนูญฉบับนี้ กอสส.มาจากการสรรหาคณะบุคคล 13 คน จาก เอ็นจีโอดานสิ่งแวดลอม เอ็นจีโอดานสุขภาพ นักวิชาการดานสิ่งแวดลอม และนักวิชาการดานสุขภาพ กอนหนานี้ไมมีการพูดถึงวา ทั้ง 13 คนที่เขามาทํางานจะมีคาตอบแทน อะไรจํานวนเทาไรบาง แตเมื่อจะเขามาทํางาน มีขาวออกมาหนาหูวา บาง คนในคณะเรียกรองคาตอบแทนใหตัวเอง มากกวาเบี้ยประชุมที่ไดรับสําหรับ การประชุมครั้งหนึ่งๆ จนในที่สุดรัฐบาลจึงตั้งงบประมาณสําหรับเปนคาเงิน เดือน หรือคาตอบแทนใหคณะทํางานคณะนี้คนละ 45,000 บาท ตอเดือน ศศิน เฉลิมลาภ เลขาธิการมูลนิธสิ บื นาคะเสถียร ผูป ระกาศตัววาเปน เอ็นจีโอหนาใหม เพราะผันตัวจากอาจารยคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย เมื่อปลาจะกินดาว 10 132


รังสิต มาทํางานทีม่ ลู นิธสิ บื นาคะเสถียร เพียงแค 6 ป ก็ยอมรับวา รวมงานกับ เอ็นจีโอหนาเกา ในวงการเอ็นจีโอมานานพอสมควร ซึง่ ศศิน ยอมรับวา เปน เรือ่ งปกติทก่ี ารทํางานของเอ็นจีโอโดนวิพากษวจิ ารณ เพราะเปนเรือ่ งปกติของ ในทุกวงการทีม่ ที ง้ั คนทํางานทีม่ อื ถึง และมือไมถงึ มีทง้ั ตัวจริง และตัวปลอม รวมทัง้ บางครัง้ คนทีเ่ ปนตัวจริงมือไมถงึ ก็มี เพราะรากฐานการทํางานไมแนน พอ ซึง่ ในวงการเอ็นจีโอก็เชนเดียวกัน สิง่ หนึง่ คอนขางสําคัญที่ ศศินตัง้ คําถามและตัง้ ขอสังเกตเกีย่ วกับเอ็นจีโอ สิง่ แวดลอมก็คอื ทุกวันนีย้ งั มีเอ็นจีโอดานสิง่ แวดลอม ทีท่ าํ งานเพือ่ สิง่ แวดลอม ในอุดมคติจริงๆ อยูห รือไม ขอสังเกตและการตั้งคําถามของเอ็นจีโอหนาใหมรายนี้นาสนใจมาก เพราะเขาบอกวา ขอมูลที่พยายามคนหามานั้น พบวา คําวาเอ็นจีโอสิ่ง แวดลอมในขณะนี้ มีการใหคําจัดกัดความ หรือกําหนดสถานะอยู 2 กลุมคือ กลุมที่จดทะเบียนกับกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ปจจุบันมีจดทะเบียน อยู 192 องคกร อยูระหวางรอลงนามในประกาศรับรองอีก 3 องคกร ที่ยื่นขอ จดทะเบียนแลวอยูระหวางตรวจสอบเอกสารอีกประมาณ 6-7 องคกร และที่ คณะกรรมการประสานงานองคกรพัฒนาเอกชน (กป.อพช.) บันทึกเอาไว พบ วา มีเอ็นจีโอสิ่งแวดลอมที่ทํางานดานสิ่งแวดลอมจริงๆ 100 องคกร จากฐาน ขอมูลลาสุดที่บันทึกไวเมื่อป 2546-2547 เขาไปดูในขอมูลของกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม พบวา ในจํานวน 192 องคกรที่ขึ้นทะเบียนเปนเอ็นจีโอสิ่งแวดลอม พบวา มีหลายองคกร ไมนาจะทํางานดานสิ่งแวดลอม แตกลับไดรับการขึ้นทะเบียนเปนเอ็นจีโอ สิง่ แวดลอม เชน องคการพัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ การสาธารณสุข สมาคมแพทย แผนไทย จ.พัทลุง สมาคมอนามัย มูลนิธิเสถียรโกเศศ-นาคะประทีป เปนตน โดยเฉพาะองคกรหลังสุดที่ยกตัวอยางนั้น พบวา กิจกรรมที่ดําเนินการนั้น เปนเรื่องของวัฒนธรรมลวนๆ ไมมีเรื่องสิ่งแวดลอมเลย ประเด็นที่จะพูดถึงก็คือ เอ็นจีโอที่ขึ้นทะเบียนกับกรมสงเสริมคุณภาพ สิง่ แวดลอม สามารถขอรับเงินสนับสนุนการทํากิจกรรมจากกองทุนสิง่ แวดลอม ได ขณะที่เอ็นจีโอสิ่งแวดลอมที่ กป.อพช. บันทึกเอาไวนั้น ใน 100 องคกร เมื่อปลาจะกินดาว 10 133


จะรวมไปถึงกลุมอนุรักษบอนอก-บานกรูด ที่ออกมาตอสูกับกลุมนายทุนเพื่อ ปกปองทองถิ่นไมใหเอาที่ดิน คือปาพรุ มาสรางโรงไฟฟาดวย ทั้งนี้ จินตนา แกวขาว แกนนํากลุมอนุรักษบอนอก-บานกรูด เคย ปฏิเสธชัดเจนวา ตัวเองไมใชเอ็นจีโอสิ่งแวดลอม แตเปนชาวบานที่ออกมาทํา หนาที่ปกปองบานเกิดของตัวเองไมใหนายทุนเอาไปสรางโรงไฟฟา เหมือนที่ ครูตี๋ นิวัติ รอยแกว ประธานกลุมรักษเชียงของ จ.เชียงราย ที่ทํางาน ดูแลเรื่องสิ่งแวดลอมในชุมชน ตอตานการระเบิดแกง และสรางเขื่อนในแมน้ํา โขงมาตลอด ก็ไมไดยอมรับเชนกันวาตัวเองเปนเอ็นจีโอสิ่งแวดลอม แตเปน ชาวบานที่มีหนาที่ปกปองสิ่งแวดลอมไมใหถูกทําลายจากน้ํามือของคนนอก พื้นที่ ขณะเดียวกัน ตัวเองก็ยังเปนคนที่ไดรับผลกระทบจากการทํางานของ เอ็นจีโอสิ่งแวดลอมที่ทํางานไมเอาไหนอีกดวย เลขาธิการมูลนิธิสืบฯยังตั้งประเด็นตอไปวา นอกจากตนเองสับสนกับคํา วา เอ็นจีโอสิ่งแวดลอม คืออะไรแลว ยังรูสึกวา ทุกวันนี้เอ็นจีโอสิ่งแวดลอมมี นอยลง และไมไดเกิดขึ้นใหมเลย เนื่องจากมีคนอื่นเขามาทํางานแทนเอ็นจีโอ สิ่งแวดลอมหมด คนอื่นที่วานี้ก็คือ องคกร บริษัทใหญ ที่ตั้งมูลนิธิขึ้นมาทํางานแทน เชน ปตท. ก็สรางมูลนิธิลูกโลกสีเขียว หรือ กลุมที่เรียกตัวเองวาเอ็นจีโอ สิ่งแวดลอมเหมือนกันคือ สถาบันสิ่งแวดลอมไทย ซึ่งคนที่ทํางานในหนวย งานดังกลาว มีหลายระดับ หาญณรงค เยาวเลิศ เอ็นจีโอสิ่งแวดลอมรุนใหญ มีหนาที่รับผิด ชอบลายตําแหนงทั้งภาครัฐและเอกชน ขอใหเขาเขามาชวยงานคลี่คลาย สถานการณดานสิ่งแวดลอม ที่วิกฤต ครุกรุนในเวลานี้ เชน งานในคณะ กรรมการ 4 ฝายเพื่อแกปญหาการปฏิบัติตามมาตรา 67 วรรค 2 ของ รัฐธรรมนูญ 2550 คณะอนุกรรมการแกปญหาที่ดิน ในคณะกรรมการสิทธิ มนุษยชนแหงชาติ และตําแหนงประธานมูลนิธิเพื่อการบริหารจัดการน้ําแบบ บูรณาการ (ประเทศไทย) หาญณรงค เลาเรื่องของตัวเองใหฟงวา กอนจะมาทํางานเปนเอ็นจีโอ สิ่งแวดลอมนั้น ครั้งที่เรียนมหาวิทยาลัย นอกจากเรียนหนังสือแลว ยังทํา เมื่อปลาจะกินดาว 10 134


กิจกรรมควบคูไปดวย กิจกรรมที่ทําสม่ําเสมอคือ การออกคายอาสาพัฒนา ชนบท ตลอดระยะเวลาที่เรียนหนังสือเขาออกคายมามากกวา 20 ครั้ง “ผมเริ่มทํางานเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม ป 2536 ผมรูสึกวาเวลาทํางานก็ เหมือนไปคาย เพราะตองทํางานกับชาวบาน ตองเรียนรูวิถีของชาวบาน คาย อาสาสรางใหผมรูจักการวางแผนงานทุกอยาง เริ่มแรกเลยผมทํางานกับชาว บานที่บานสะเอียบ อ.สอง จ.แพร ตอนนั้นจะมีการสรางเขื่อนแกงเสือเตน ไป อยูกับชาวบานใชเวลา 2 ป ทําใหชาวบานทํางานเปนคิดเปน แลวถอยออกมา ผมตั้งใจวา การทํางานแตละพื้นที่ของผมจะใชเวลาไมเกิน 2 ปเทานั้น เพราะ หลังจากนั้นชาวบานตองเรียนรูวิธีการคิด การดําเนินการไดดวยตัวเองแลว เราจะไมใชวิธีชี้นําหรือเอาความคิดเราไปใสหัวพวกเขา แตจะแคชี้ชองทาง เปนที่ปรึกษาใหเขาคิดเองไดเทานั้น” ถึงกระนั้นหาญณรงคก็ยอมรับวา เอ็นจีโอมีหลายกลุม บางกลุมมีองคกร บางกลุมเปนนักวิชาการ วิธีการทํางานของแตละกลุมยอมไมเหมือนกัน บาง กลุมก็ประสบความสําเร็จ ชาวบานยอมรับ รัฐบาลเกรงใจ แตมีอีกหลายกลุม ที่ไมมีใครเอาเลยสักกลุม ขึ้นกับวิธีการและรูปแบบการทํางาน เอ็นจีโอที่ถูกวิจารณ หรือดาวาจากสังคม เรื่องการเขาไปครอบงําความ ติดชาวบาน หรือไมเขาใจความรูสึกที่แทจริงของชาวบานนั้น อาจจะมาจาก พื้นฐานของการไมเขาถึงชุมชนจริงๆ เชน เปนนักวิชาการที่มาทํางานเอ็นจีโอ ก็ทําแตงานวิชาการตัวเอง ซึ่ง กลุมนี้ก็จะทํางานไดไมนาน เพราะตอไปก็จะไมมีใครเอาดวย ไมมีใครยอมรับ คือ ชาวบานก็ไมเอา รัฐบาลก็ไมยอมรับ จึงอยูลําบาก “เอ็นจีโอสิ่งแวดลอมหลายองคกร วิจารณคนอื่นไดเปนฉากๆ แตไม ชอบใหคนอื่นมาวิจารณตัวเองหรือไมชอบถูกวิจารณ ซึ่งผิดหลักการทํางาน ชัดเจน” หาญณรงคบอกวา เอ็นจีโอที่ดี ตองไมดีแตติอยางเดียว แตตองหา ทางออก หรือทําใหเห็นดวยวาแนวทางที่เหมาะสมจริงๆ เปนอยางไร เชน ครั้ง ที่มูลนิธิคุมครองสัตวปาและพรรณพืช ไมเห็นดวยกับวิธีจัดการพื้นที่เขาแผง มาของกรมอุทยานแหงชาติฯ พรอมกันนั้น ก็ไดลงมือทําในสิ่งที่มูลนิธิคิดวา เมื่อปลาจะกินดาว 10 135


เปนเรื่องที่ถูกตอง จนกระทั่งเขาแผงมาเปนพื้นที่ปาพื้นที่แรกของประเทศไทย ที่มีปริมาณวัวกระทิงเพิ่มขึ้นได ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ อดีตประธานสถาบันสิ่งแวดลอมไทย และนักวิชาการสิ่งแวดลอม บอกวา ในความรูสึกของตัวเองแลว คําวา เอ็ น จี โ อคื อ คนที่ มี จิ ต อาสาเข า มาทํ า งานรั บ ใช สั ง คมเพื่ อ ให สั ง คมดี ขึ้ น เอ็นจีโอสิ่งแวดลอมก็เชนเดียวกัน แตทํางานดานสิ่งแวดลอม “สมัยกอนสมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดลอมจะมีการนั่งคุยกันเพื่อชวยกัน ออกมาตรฐานวิชาชีพ เพื่อใหงานในวิชาชีพวิศวกรรม ออกมาดี มาตรฐาน และปลอดภัย เราคุยกันหลังเลิกจากงานประจํา หรือชวงวันหยุด จนสามารถ ออกมาตรฐานวิชาชีพมาไดจนใชกันในปจจุบัน ไมมีคาใชจายใดๆ ทั้งสิ้น ไมมี เบี้ยเลี้ยงใหใคร ไมมีเบี้ยประชุม ทุกคนทําดวยใจ ดวยจิตอาสา แต 10 ปผาน ไปทุกอยางเปลี่ยน องคกรยังมีเหมือนเดิม แตวิธีการทํางานเปลี่ยนไป ตองใช เงินทํางาน ไมมีเงินงานก็ไมคอยเกิด และเปนแบบนี้แทบจะทุกองคกร” อาจารยธงชัย ระบุวาคนทั่วไปมองวา เอ็นจีโอเปนกลุมองคกรที่ถวงดุล ใหกับภาครัฐ ซึ่งตนเองก็เห็นดวย แตอยากจะถามกลับไปวา แลวเอ็นจีโอเอง สรางดุลยภาพในองคกรตัวเองไดมากแคไหน “สมัยที่เคยเปนประธานสถาบัน สิ่งแวดลอมไทยนั้นมีการประเมินการทํางานขององคกร มีอยูทานหนึ่งเขา พูดวา สถาบันสิ่งแวดลอมไทยเปนที่ปรึกษาดานสิ่งแวดลอมในคราบเอ็นจีโอ เรื่องนี้นาคิดมาก เอ็นจีโอสิ่งแวดลอมองคกรไหนที่เปนองคกรขนาดใหญ การ ทํางาน การจัดการก็จะยุงยาก ทั้งเรื่องการจัดการคน จัดการงาน บางองคกร ที่ตองพึ่งพาเงินบริจาค หรือเขียนโครงการเพื่อขอเงินมาทํางานความรูสึกเรื่อง จิตอาสาก็ลดลง กลายเปนวา เขียนโครงการเพื่อเอาใจแหลงทุนก็มี ที่พูดวาก็ มีคือ มี แตอาจจะไมทุกองคกร แตเชื่อวามีแนนอน” มีหนุมสาวจํานวนมากที่มีอุดมการณอันแรงกลา ความคิดความรูสึกยัง สดใส มองโลกในแงดี เขาไปทํางานเปนเอ็นจีโอ แตพอเขาไปแลวจะรูสึกวา... ไมใช เพราะโลกแหงการทํางานมีขอจํากัดมาก ตัวอยางที่กลาวไวขางตนก็คือ เอาเงินมาทํางานมากกวาใหคนทํางานจริงๆ

เมื่อปลาจะกินดาว 10 136


เอ็นจีโอ-นักการเมือง นักการเมือง-เอ็นจีโอ เมื่อกอนมีคนบอกวา เอ็นจีโอกับนักการเมืองจะตองอยูกันคนละฝาย เทานั้น แตวันนี้คําพูดดังกลาวเห็นจะขาดน้ําหนักไปเสียแลว เพราะนักการ เมืองกับเอ็นจีโอในยุคนี้อาจจะตองพึ่งพากันก็ได นักการเมืองหลายคนไม กลาทําอะไร หรืออนุมัติโครงการอะไรที่หมิ่นเหม ลอแหลมตอการถูกตอ ตานจากชาวบานและเอ็นจีโอมากนัก เพราะหากถูกตอตาน หมายถึงการ เสียคะแนนความนิยมของตัวเอง แตเพื่อผลประโยชนของตัวเองแลว นักการเมืองหลายกลุมมีวิธีการ ดําเนิน การกับเอ็นจีโอที่ลุมลึกกวานั้น คือ การไปสนับสนุนชาวบานอีกกลุม ให อยูฝายเดียวกับตัวเอง หรือตอตานเอ็นจีโอ หรือชาวบานที่ไมเห็นดวยกับการ กระทําของตัวเอง วิธีการแบบนี้เปนที่มาของการกลาวหากันวา ใครเปนเอ็นจีโอจริง เอ็นจีโอ ปลอม ประพัฒน ปญญาชาติรักษ 2 บทบาท จากอดีตนักการเมือง ใน ตําแหนงรัฐมนตรีชว ยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ กับรัฐมนตรีวา การ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม กระทัง่ หันหลังใหพรรคการเมือง ใหญ มาเปนเกษตรกร และผันตัวมาทํางานดานประชาสังคมดานเกษตรกร มี ประสบการณมากมายกับการทํางานรวมกับเอ็นจีโอดานสิ่งแวดลอม ประพัฒน บอกวา ขอเท็จจริงที่เอ็นจีโอทํา คือการเติมเต็มปญหาสังคม ไทยและสังคมโลก หลังจากโลกพัฒนาที่ทําใหเกิดชองวางในสังคม ประชาชน มักจะตกกระบวนการพัฒนา และมีปญหากับรัฐ เอ็นจีโอจะเปนตัวเติมเต็ม ปญหาและแกไขชองวาง สมัยเปนรัฐมนตรีมักจะไดขอมูลปญหาจากเอ็นจีโอ เชนเรื่อง ปญหาจีเอ็มโอ “แตเอ็นจีโอก็ไมใชพหุสูต ไมใชเทวดาที่จะรูทุกเรื่อง เอ็นจีโอจะตอง สะทอนปญหาประชาชน แตบางกลุมยังตองไปรับเงินสนับสนุนจากที่ตางๆ บางปญหาเอ็นจีโอก็จะทําใหใหญเกินจริง การทํางานแบบนี้จะทําใหเอ็นจีโอ มีปญหาเรื่องความนาเชื่อถือ” อดี ต รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม เมื่อปลาจะกินดาว 10 137


กลาวดวยวา นับแตนี้ไปนโยบายกระแสหลักทั้งไทยและโลกเรื่องการเดินหนา ประเทศดวยวัตถุ เอ็นจีโอก็จะมีบทบาทสําคัญอยางยิ่ง ทุกครั้งที่เศรษฐกิจจีดี พีบวกหนึ่ง จะมีผลกระทบดานสิ่งแวดลอมใหโลกรอนขึ้นปญหาสิ่งแวดลอมก็ จะแรงขึ้นแนนอน ในบางประเทศอาจจะเขาใจปญหาเหลานี้ เชน ภูฏาน ใชตัวชี้วัดทาง ความสุขไมใชตัวเลข ถาเอ็นจีโอ ศึกษาเรื่องปรากฏการณตางๆ ในโลกก็ จะเปนประโยชนตอองคกร แตก็ตองเขาใจปญหาและประเมินปรากฏการณ แตละครั้งดวย “เคยมีปญหากับเอ็นจีโอไหม” เขาหัวเราะกับคําถามนี้ กอนจะบอกวา “เอ็นจีโอชวยผมเยอะ แตผมไมไดชวยเอ็นจีโอทุกกลุมนะ บางกลุมมาเสนอ ในสิ่งที่ผมชวยไมได ผมก็ไมทํา เชน การพัฒนารัฐหลายโครงการทุกเรื่อง เอ็นจีโอจะคัดคาน ผมจะเลือกดูบางเรื่องที่เปนอยางนั้นจริงๆ ไมไดทําทุก เรื่อง เชน เขาคัดคานเรื่องการทําเหมืองแรโปแตสที่อุดรฯ ผมในฐานะรัฐมนตรี สิ่งแวดลอมตอนนั้น ก็ทําหนังสือทวงไปที่กระทรวงอุตสาหกรรม เพราะผมเชื่อ ในขอมูลของเขา และก็มีหลายเรื่องนะที่ไมเชื่อ และไมทําตามที่เขาคานมา”

เอ็นจีโอ-ชาวบาน ครูตี๋ นิวัติ รอยแกว ประธานกลุมรักษเชียงของ ผูที่บอกวา เปน ชาวบานไมใชเอ็นจีโอ และเปนชาวบานที่ไดรับผลกระทบจากการทํางานของ เอ็นจีโอดวย พูดถึงเอ็นจีโอสิ่งแวดลอมที่เขาไปสรางปญหาในพื้นที่วาเอ็นจีโอ สิ่งแวดลอมที่ชาวบานมองและสัมผัสได ซึ่งเปนเรื่องใหญที่สุดคือไมไดทบทวน ตัวเอง จะติดวาเขาจะกําหนดยุทธวิธีในการจัดการปญหาเอง การตอสูแบบนี้ ทําใหมีชองวางมาก ปญหาของชาวบานจะไมไดรับการแกไข รัฐบาลจะเขา แทรกแซงได “เอ็นจีโอไมไดมองวาโลกเปลี่ยนแปลงไปเยอะ พวกเขาไมไดรูคนเดียว ชาวบานก็รูดวยเหมือนกัน เอ็นจีโอตองปรับตัวในเรื่องมุมมอง ปญหานี้คารา คาซังมานาน มีเอ็นจีโอมากมาย พยายามกําหนดวิธีคิด ใหชาวบาน จะติดวา กําหนดยุทธศาสตร ยุทธวิธี และเสนอองคความรูใหชาวบานเอง ทําใหมีชอง วาง รัฐสามารถจัดการได ปญหาชาวบานไมไดรับการแกไข เพราะรัฐจะบอก เมื่อปลาจะกินดาว 10 138


วาเอ็นจีโอพูดชาวบานไมไดพดู ไมใชปญ  หาชาวบาน แตเปนปญหาของเอ็นจีโอ เอง” ครูตี๋ บอกวา การแกไขปญหาทรัพยากรตองใหสอดรับกับการขับเคลื่อน ของประชาชน ที่อําเภอเชียงของนั้น เมื่อพูดเรื่องแมน้ําโขงมีมีเอ็นจีโอจํานวน มากเขาไปและพยายามกําหนดวิธีคิดใหมากมาย แตชาวบานในทองถิ่นก็ ศึกษาเรื่องราวของตัวเองดวย และคิดวาสิ่งที่เอ็นจีโอซึ่งเปนคนขางนอกมาคิด ใหเหลานั้นมันไมใชก็ไมอยากจะรับเอาไว “พวกเขาตองสนับสนุนที่ชาวบานขาด แตไมใชเขาไปนําทัพ ซึ่งจะแก ปญหาไมได” ประธานกลุมรักษเชียงของบอกทิ้งทายวา เอ็นจีโอตองเขาใจทั้งขางบน ขางลาง และเขาใจแนวทางดวย ตองทํางานอยางมีวฒ ั นธรรมและเขาใจชุมชน ของชาวบานดวย เรือ่ งสําคัญทีส่ ดุ คือ เอ็นจีโอตองเสียสละ เอาเปรียบชาวบาน และชุมชนไมได ตองพรอมทุกเรื่องทั้งปจจัยการเงินและเวลา เอ็นจีโอ บาง กลุมเขาไปทํางานยังไมสําเร็จหรือเปนรูปเปนรางอะไรเลย เงินหมดแลวก็ไป เลย หายไปเลย ทิ้งชาวบานไวขางหลัง

ราชการกับเอ็นจีโอ เรียกวาเปนไมเบื่อไมเมาที่ขัดแยงกันมาทุกยุคทุกสมัยระหวางเอ็นจีโอ สายสิ่งแวดลอมกับหนวยงานราชการ โดยเฉพาะราชการสายพัฒนา หรือ สายที่ตองดูแลทรัพยากรของประเทศ และกรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและ เมื่อปลาจะกินดาว 10 139


พันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมก็จะเปนหนวยงาน หลักในอันดับตนๆ ที่มักจะถูกบรรดาเอ็นจีโอสิ่งแวดลอม ออกมาติติง หรือขัด ขวางการทํางานเสมอ จตุพร บุรุษพัฒน อดีตอธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและ พันธุพืช ที่ปจจุบันยายไปนั่งตําแหนงอธิบดีกรมทรัพยากรน้ําพูดถึงเอ็นจีโอ สิ่งแวดลอมวาขอดีของเอ็นจีโอก็คือ ชวยกระตุกการทํางานของรัฐบาลวาสิ่งที่ ทําไปนั้นมีจุดบกพรอง จะตองแกไขอะไรตรงไหนบาง แตปญหาหลักและคอน ขางจะใหญก็คือ ขอมูลทีเ่ อ็นจีโอออกมาพูดนัน้ ชัดเจน เพียงพอ และถูกตอง หรือไม มีอะไรอยูเ บือ้ งหลัง คําติติงเหลานั้นหรือไม อธิบดีจุตุพร ยอมรับวา หลายกรณีเมื่อกรมอุทยานฯ จะทําอะไรใหมๆ ออกมาเขาอาจจะอธิบายไมหมด ซึ่งก็ยอมรับวาเปนเรื่องความบกพรองของ สวนราชการในแงของการสื่อสารระหวางกัน สิ่งนี้นี่เองจึงทําใหเอ็นจีโอบาง กลุมนําไปสรางเปนเรื่องราวใหญโต เพื่อโจมตีการทํางาน “ที่เขาทําแบบนี้เพราะขอมูลของเขาไมรอบดาน ฟงอะไรมานิดหนอย หรืออานขาวอะไรมานิดหนอยแลวก็พูดเลย ผมรูสึกวา ถาเปนเอ็นจีโอมือ อาชีพจริงๆ เขาจะไมทําแบบนี้ ตองศึกษาขอมูล ดูรายละเอียดใหแนใจเสีย กอน อยางกรณีที่อุทยานจะทําที่พัก 5 ดาว เขาก็ดาวาไมเหมาะสม จะทําไป ทําไม ทําเพื่อสนองคนมีเงินอยางเดียวใชไหม แตเขาไมดูในรายละเอียด เพราะเรื่องของอุทยาน 5 ดาวนั้นเราไมไดทําทั้งอุทยานฯ ทําบางอุทยานฯ ที่พรอมเทานั้น และไมไดสรางอะไรใหมเลย ทุกอยางยังเหมือนเดิมอยูที่เดิม เพียงแตปรับปรุงเทานั้น และปรับปรุงแคยูนิตเดียว คือ ทําในอุทยานที่เหมาะ สม และเลือกบานหลังที่ดีที่สุดในอุทยานนั้นมาปรับปรุงใหดูดีที่สุดเทียบกับ โรงแรม 5 ดาว เทานั้น” จตุพร บอกวา ในเรื่องนี้ เอ็นจีโอสิ่งแวดลอมบางคนวิพากษวิจารณเสีย ใหญโตวากรมอุทยานฯ ทําเรื่องไมเหมาะสม ไมสมควร ทําลายวัฒนธรรมของ ความเปนอุทยานแหงชาติ ซึ่งหากเอ็นจีโอกลุมนั้น ศึกษาขอมูลรอบดาน ก็จะ ไมออกมาพูดแบบนี้ “ความจริงแลว กรมอุทยานแหงชาติฯ หรือราชการหนวยงานไหนก็แลวแต เมื่อปลาจะกินดาว 10 140


เมื่อจะทําอะไรยอมคิดถึงผลประโยชนของประเทศชาติเปนหลักอยูแลว และ พรอมจะฟงคําวิจารณ หรือขอชี้แนะ แตตองเปนขอชี้แนะที่มีขอมูลรอบดาน ไมอิงอยูกับผลประโยชนสวนตัว หรือมีผลประโยชนแอบแฝง ตอนนี้การ ทํางานทุกอยางของกรมอุทยานแหงชาตินั้นตองใหชาวบานเขามามีสวนรวม รวมทั้งตองอาศัยขอมูลหลายอยางที่สวนราชการเองไมรูและเขาไมถึง ซึ่งหาก มีเอ็นจีโอเขามารวมทํางานดวยก็จะดีมาก” ขณะที่เกษมสันต จิณณวาโส อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม บอกวา เทาที่ เกี่ยวของและเคยทํางานรวมกับเอ็นจีโอ เห็นวาเอ็นจีโอเปนเหมือนองคกรคู ขนานที่ตองทํางานรวมกับภาครัฐบาล อะไรที่รัฐทําบกพรอง เอ็นจีโอก็จะชี้ ชองทางใหทําใหถูก แตบางเรื่องที่เอ็นจีโอเสนอใหทําและรัฐทําไมได เพราะไม ไดอยูในขอบเขตที่จะทําได “เรื่องหนึ่งที่ผมรูสึกตั้งคําถามกับเอ็นจีโอมาก คือ เรื่องของทาที คําพูด หลายครั้งที่ฟงจากขาว และประสบมากับตัวเอง คือการใชถอยคําที่เสียๆ หายๆ แตสวนตัวผมมีความอดทนสูงอยูแลวใครจะดาวาอะไรก็ไมเปนไร ผม พรอมจะอธิบาย ถาผิดก็พรอมจะแก แตทําไมเราไมมาคุยกันดีๆ พูดกันดีๆ แตนั่นแหละอาจจะเปนบทบาทหรือรูปแบบการเรียกรองของเขาก็ได แตผม เห็นวา การตะโกน การพูดหยาบใสกัน ไมมีประโยชน สูเราคุยกันดีๆ ดวย เหตุผลไมดีกวาหรือ” เกษมสันต กลาวเชิงตั้งคําถาม

บทสงทาย เมื่อเวลา และสถานการณเปลี่ยน ทุกสิ่งทุกอยางก็ยอมปรับตัวเปลี่ยน ตาม ไมเวนสิ่งใดๆ ทั้งสิ้น การทํางานของเอ็นจีโอสิ่งแวดลอมก็ไมตาง กัน จากที่เคยทํางานดวยจิตอาสาลวนๆ ในอดีต คงหาไมไดอีกแลวใน ยุคนี้ ตองใหเงิน มามีสวนรวมในงาน ตัวอยางที่เกิดขึ้นมาลาสุดกับคณะ กรรมการองคการอิสระภายใตมาตรา 67 วรรคสอง ซึ่งเลือกตั้งมาจากนัก วิชาการและเอ็นจีโอดานสิ่งแวดลอม กับเอ็นจีโอดานสุขภาพ จํานวน 13 คน เสร็จมาตั้งแตเดือนพฤษภาคม แตยังไมสามารถทํางานได เพราะไมมี เมื่อปลาจะกินดาว 10 141


เงิน ไมมีสํานักงานทํางาน ทางกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมในฐานะ องคกรพี่เลี้ยง จึงตองทําเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี ใหพิจารณาอนุมัติการ ใชงบประมาณสําหรับเปนคาตอบแทนคณะกรรมการองคการอิสระ คนละ 45,000 บาท คาเชาสํานักงานอีกเดือนละ 300,000 บาท เอ็นจีโอสิ่งแวดลอมก็เหมือนกับการทํางานของคนทั่วไป ตองทํามาหา เลี้ยงชีพ เพียงแตคําวาเอ็นจีโอสิ่งแวดลอมที่เปนตัวจริงนั้นตองมีคุณสมพิเศษ เฉพาะ เรื่องของความรูสึกนึกคิด วิถีการทํางาน ความทุมเทตองาน เสียสละ มีความรูเฉพาะทางในเรื่องที่ตัวเองทํา ที่สําคัญคือ ซื่อสัตยตอตัวเอง ซื่อสัตยตอวิชาชีพ ไมมีเบื้องหนาเบื้องหลัง ที่เปนผลประโยชนเขามาเกี่ยวพันกับงานที่ทํา เชื่อวาเอ็นจีโอสิ่งแวดลอมที่เปนตัวจริงแบบนี้ ถึงจะมีนอย แตก็ยังมีอยูใน สังคมไทย ยังดีที่ยังมี

ขอหาและคําถามของเอ็นจีโอสิ่งแวดลอม ทุกวันนี้ มีคําถามที่เกี่ยวของกับเอ็นจีโอมากมาย ที่หลายคนอยากรู สวนใหญจะเปนการตั้งคําถามในแงลบ คําถามนั้นคือ เอ็นจีโอรับเงินจากตาง ชาติจริงหรือไม

เมื่อปลาจะกินดาว 10 142


หาญณรงค เยาวเลิศ เอ็นจีโอรุนใหญที่ทํางานเอ็นจีโออยางเดียว กวาครึ่งชีวิต รวมทั้งเปนบุคคลที่ไดรับการยอมรับทั้งจากสื่อมวลชนดานสิ่ง แวดลอม และหนวยงานราชการที่ทํางานดานสิ่งแวดลอม มีเอ็นจีโอรับเงิน จริง ทั้งนี้ เอ็นจีโอ เกิดจากกระบวนการทํางานที่ภาครัฐบาล หรือราชการ ไมทํา หรือเขาไปทําไมถึง เชน ทํางานวิจัย การศึกษาดานสิ่งแวดลอม โดย แหลงทุน หรือผูใหเงินสวนใหญจะเปนสถานทูต เชน สถานทูตออสเตรเลีย ที่ใหทุน ภายใตชื่อ ดานีดา หรือ เดนเซ็ท ของสถานทูตเดนมารก โดย เดิมที ทั้ง 2 องคกรนี้สนับสนุนเงินทํางานในสวนที่งบประมาณราชการ เขาไปไมถึงทั้ง รัฐบาล และเอ็นจีโอ แตสวนใหญจะใหรัฐบาลมากกวา “แตตอมาในชวงหนึ่งของรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ไดมีมติ คณะรัฐมนตรี (ครม.) ออกมาวา หากหนวยงานรัฐจะขอใชงบประมาณ ที่มาจากตางประเทศ ตองใหระดับอธิบดี หรือหัวหนาหนวยงานสูงสุดให ความเห็นชอบกอน เมื่อรัฐบาลมีนโยบายออกมาอยางนี้ จึงไมมีหนวยงาน ใดกลาทําเรื่องเพื่อขอเงินสนับสนุนจากตางประเทศอีก องคกรเหลานั้นจึง หันมาสนับสนุนทางดานการเงินใหกับองคกรพัฒนาเอกชน หรือเอ็นจีโอ ทั้งหมด” หาญณรงค แจง เขาอธิบายเพิ่มเติมดวยวา สาเหตุหลักที่ทางสถานทูตเหลานี้ ตอง ใหการสนับสนุนดานการเงินใหกับเอ็นจีโอ หรือภาครัฐกับประเทศไทย เพราะตองการทําตามเจตนารมณของคนที่จายภาษีในประเทศ โดยกอน จายภาษี คนในประเทศเหลานั้น ตองระบุวา เงินที่เหลือจากการพัฒนา ประเทศตนเองแลว จะนําไปทําอะไร ซึ่งคนเหลานั้นระบุวา บริจาคใหกับ การทํางานของเอ็นจีโอ หรือรัฐบาล กรณีที่งบประมาณจากภาครัฐของ ประเทศในเอเชียตะวันอกเฉียงใต หรือบางทีก็ระบุเลยวา ประเทศไทย หาญณรงค บอกดวยวา หลายแหลงทุนที่มาจากตางประเทศนั้น สนับสนุนการทํางานที่เปนการทํารวมกันระหวางเอ็นจีโอ ภาครัฐ และชาว บานในพื้นที่ เชน ทางสถานทูตเดนมารก ที่สนับสนุนดานการเงินใหกับ มูลนิธิสืบนาคะเสถียร ทํางานรวมกับกรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุ พืช และชาวบานที่อาศัยอยูรอบปาตะวันตก และพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตว เมื่อปลาจะกินดาว 10 143


ปาทุงใหญนเรศวร นอกจากสถานทูตตางๆ แลว องคกรสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ หรือ ยูเอ็นอีพี ก็จะมีงบประมาณเอาไวจํานวนหนึ่ง เพื่อใหทั้งหนวยงานรัฐ และเอ็นจีโอ เขียนโครงการดานการศึกษาและจัดการสิ่งแวดลอมขึ้นมา นอกจากนัน้ ก็ยงั รับเงินจากภาคเอกชน เชน มูลนิธิ และ บริษทั ตาง ๆ เชน มูลนิธิฟอรด รอคกี้เฟลเลอร World Vision อยางบริษัทธุรกิจใหญๆ ที่ เรารูจักเปนบริษัทระดับโลก ลวนแลวมีมูลนิธิ หรือมีกองทุนในการพัฒนา สังคมทั้งสิ้น เชน NOKIA Microsoft เปนตน “ยูเอ็นอีพีก็คือแหลงทุนจากตางชาติเชนกัน ผมรูสึกวา คนที่ตั้งคําถาม ทํานองนี้ มักจะตั้งคําถามดวยความรูสึกลบกับการทํางานของเอ็นจีโอ แต ไมเปนไร ในฐานะเอ็นจีโอคนหนึ่งที่ทํางานดานสิ่งแวดลอมมาทั้งชีวิต และ ตั้งใจทําอยางจริงจังคนหนึ่ง พรอมที่จะอธิบาย และชี้แจงที่มาที่ไปของ แหลงทุนที่ไดรับมาทํางาน ถามวา ทํางานแลวตองมีคาตอบแทนใหคนทํางานไหม ผมวา เอ็นจี โอก็คืออาชีพหนึ่ง สําหรับผมแลว เมื่อทําอาชีพแลวตองไดรับคาตอบแทน เพียงแตอาชีพเอ็นจีโอนั้นมีความพิเศษกวาอาชีพอื่น คือ อยาไดหวังวา ทํา แลวจะรวย หรือมาทําเพื่อกอบโกยเงินทอง กอนทําอาชีพนี้ผมก็คิดดีแลว วา ชาตินี้ไมมีทางรวยแนนอน แตเราก็อยูได อาชีพเอ็นจีโอตองสละความ สุขสวนตัว ตองหาความรู มีขอมูลขาวสารในงานที่เราทําตลอดเวลา รวมทั้งการเขาถึงชาวบานในพื้นที่ทํางาน เขาถึงในที่นี้ไมใชแครูจัก แต ตองเขาใจวิถีการดํารงชีวิตของเขาดวย การรูจักและเขาใจในเรื่องเหลานี้ จะทําใหแนวทางการทํางานของเราถูกทาง และแกปญหา นําเสนอปญหา ไดตรงจุด” หาญณรงค กลาว เขาบอกอีกวา แหลงทุนเปนแหลงสําคัญที่ทําใหเอ็นจีโอจะมีบทบาท วาจะนาเชื่อถือหรือไม เชน เมื่อกอน บางกลุมเคยใชเงินจากการบริจาค เอาเงินนั้นไปฝากธนาคาร แลวเอาดอกเบี้ยมาทํางาน ดอกเบี้ยเมื่อกอน รอยละ 7-8 บาท สามารถทําได แตเวลานี้ทําแบบนั้นไมไดอีกแลว ดอกเบี้ย เหลือไมถึงบาท ทําแบบนั้นไมได เมื่อปลาจะกินดาว 10 144


กองทุนสิ่งแวดลอมเอ็นจีโอก็พึ่งไมได เอ็นจีโอที่ชอบวิพากษนโยบาย รัฐก็ไมคอ ยจะได เคยขอไปเรือ่ งเกาะพระทอง ทําจดหมายตอบโตกนั 15 ครัง้ เลยหมดความพยายามที่จะขอ ซึ่งก็ตรงกับขอมูลจาก www.thaingo.org ที่ระบุวา นอกจากมีเงินสนับสนุนจากตางประเทศแลว เอ็นจีโอดาน สิง่ แวดลอม ในประเทศไทย ยังรับเงินสนับสนุนจากรัฐบาลไทยดวย เชน กองทุนสิ่งแวดลอม สํานักงานกองทุนสนับสนุนวิจัยแหงชาติ (สกว.) สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) สํานักงาน สลากออมสิน รวมถึงเงินบริจาคจากประชาชนทั่วไป หรือบางแหงมีราย ไดจากการดําเนินกิจกรรม หรือ ขายของที่ระลึก รวมถึงเงินดอกเบี้ยที่ฝาก ธนาคาร แลวนําเงินปนผลมาดําเนินการ คําถามตอมา มีขอสงสัยกันมากวา เอ็นจีโอ ตองทํางานเพื่อตอตาน รัฐบาลใชหรือไม หาญณรงค ก็อธิบายอีกวา เพราะวาการพยายามที่ จะพัฒนาประเทศของรัฐบาลที่ผานมาทําอยางไมรอบดาน เชน เมื่อมี โครงการสรางเขื่อน รัฐบาลก็มักจะใหขอมูลกับชาวบานและชุมชนที่จะ ไดรับผลกระทบเฉพาะดานดี แตไมคอยจะพูด หรือใหขอมูลในดานที่ไม ดี หรือที่มีผลกระทบเลย จึงเปนหนาที่ของเอ็นจีโอที่ทํางานดานนี้ ตอง นําเอาขอมูลอีกดานเสนอแกชาวบาน “ใช ว า เราต อ งคั ด ค า นทุ ก โครงการที่ เป น โครงการพั ฒ นาของรั ฐ เพราะหลายโครงการเราไมเคยแตะ เราตองมองรอบดาน ดีกวาการมอง ดานเดียว โครงการไหนที่ทําประโยชนใหชาวบาน ไมสงผลกระทบตอสิ่ง แวดลอม และมาโดยถูกตอง ไมมีผลประโยชนของนักการเมืองมาเอี่ยว เราก็ยินดีจะสนับสนุน การลงไปชวยเหลือใหชุมชนสามารถมีพื้นที่ของ ตนเอง ในการบอกเลา ผลกระทบของการพัฒนาตางๆ ซึ่งนักพัฒนา ภาครัฐ อาจมองไมเห็น หรือไมไดบอกเรื่องราวเหลานั้นตอสาธารณะ” หาญณรงค ชี้แจงเพิ่มเติม เกี่ยวกับขอกังขาจากคนเมืองที่เอ็นจีโอ มักจะถูกกลาวหาวา เปนพวก ม็อบรับจาง นํากลุมพลังมวลชนที่ออกมา เคลื่อนไหวเพื่อรับผลประโยชน เอาเงินเขากระเปาตัวเอง เชน ชาวบาน ที่ตอตานเขื่อนปากมูล สมัชชาคนจน หรือภาคใต ที่ตอตานทอกาซไทยเมื่อปลาจะกินดาว 10 145


มาเลเซีย “ชาวบานกลุมนี้เดิมไมรูเรื่องอะไรเลย รัฐเอาโครงการเขื่อนมาใหแลว บอกวาดี กระทั่งวันนี้ ชาวบานนอกจากไมไดรับผลประโยชนจากเขื่อนแลว ยังไดรับความทุกขอยางแสนสาหัสดวย สิ่งที่เอ็นจีโอกลุมหนึ่งเขาไปทํางาน จุดนี้คือ ใหขอมูล นํานักวิชาการที่มีความรูความเขาใจในสิ่งที่เกี่ยวของ เขาไปใหขอมูลกับชาวบาน หลายคนมากไดเรียนรูจากชายชรา หญิงชราคนหนึ่งที่ชั่วชีวิตทํา แตนา ไมเคยรูเรื่องอะไรเลย ไมตองคิดไปถึงการพูดในชุมชนตอหนาคน เยอะแยะ แตเมื่อเขาเกิดการเรียนรูบวกกับความกดดันและความทุกขที่ ไมมีใครชวยได พวกเขาตองเรียนรูเพื่อชวยเหลือตัวเอง จึงไมแปลกที่วัน นี้เราเห็นภาพผูเฒา ผูแกหลายคนที่ปากมูลกลายเปนนักพูดในที่ชุมชน บางทีพวกเขาก็เจ็บปวดกับการถูกกลาวหาวา รับเงิน รับคาจางจาก ตางชาติมาคุกคาม มาดิสเครดิตรัฐบาล ทุกคนก็อดทน เพราะไมรูจะหา ทางออกอยางไร ในเมื่อรัฐบาลไมไดฟงเสียงพวกเขา มีเพียงเอ็นจีโอ ที่ เขาใจ” หาญณรงค กลาว

เมื่อปลาจะกินดาว 10 146


บรรณานุกรม www.thaingo.org สัมมนา เอ็นจีโอ ปกปองผลประโยชนเพื่อใคร จัดโดย ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพ แหงประเทศไทย สัมภาษณ เตือนใจ ดีเทศน ธงชัย พรรณสวัสดิ์ เกษมสันต จิณณวาโส จตุพร บุรุษพัฒน ลงพื้นที่ ปาตะวันตกรวมกับทีมงานมูลนิธิสืบนาคะเสถียร

เมื่อปลาจะกินดาว 10 147


ฉลากเขียว…..สูสังคมคารบอนต่ํา อภิญญา วิภาตะโยธิน หนังสือพิมพบางกอกโพสต

เมื่อปลาจะกินดาว 10 148


เราทราบหรือไมวา โลกมีการเปลี่ยนแปลงอยางไรในทุก 1 วินาที การเติบโตประชากร 2.4 คน (267,360 คน/วัน) การปลอยกาซคารบอนไดออกไซด 390,000 ลบ.ม. การละลายของธารน้ําแข็ง 1,629 ลบ.ม. การสูญหายของพื้นที่เพาะปลูก 2,300 ตารางเมตร การสูญหายของพื้นที่ปา 5,100 ตารางเมตร และคน 532 คนไปรานแมคโดนัลด เพื่อรับประทานเบอรเกอร มากกวา 500 ชิ้น ขอมูลดังกลาวเปนขอมูลที่สถาบันสิ่งแวดลอมไทย ไดรวบรวมมานํา เสนอ เพือ่ แสดงใหเห็นการบริโภคอยางไรขดี จํากัดของประชากรโลกราว 6,000 ลานคนในปจจุบนั ซึง่ เปนสาเหตุหนึง่ ทีท่ าํ ใหเกิดภาวะกาซเรือนกระจก ทําให อุณหภูมขิ องโลกพุง สูงขึน้ น้าํ แข็งบริเวณขัว้ โลกละลาย ทําใหระดับน้าํ ทะเล สูงขึน้ กอใหเกิดความวิตกวาหลายประเทศ มีแนวโนมทีจ่ ะจมอยูใ ตนาํ้ ทะเล เชน ประเทศในหมูเ กาะมัลดีฟ เปนประเทศหมูเ กาะทีม่ คี วามเสีย่ งสูงมากทีส่ ดุ แหงหนึง่ ในโลก ทีท่ ง้ั หมูเ กาะจะจมหายไปในทะเล ซึง่ ความกังวลนีเ้ อง ทําให คณะรัฐบาลของมัลดีฟตองเรียกรองใหประเทศรวมโลกหันมาใหความสนใจกับ ปญหาภาวะโลกรอน ถึงขัน้ “ประชด” โดยการจัดประชุมคณะรัฐมนตรีกนั ใต ทองทะเลเพือ่ หาวิธลี ดโลกรอนกันเลยกันทีเดียว เมื่อปลาจะกินดาว 10 149


หันกลับมาดูประเทศไทย สยามเมืองยิ้มกันบาง ในอีก 100 ป ขางหนา นักวิชาการตางออกมาคาดการณเพื่อสยบรอยยิ้มวา กรุงเทพมหานคร และ จังหวัดใกลเคียงจะจมน้ํา เนื่องจากระดับน้ําทะเลที่สูงขึ้น งานวิจัยลาสุดของ รศ.ดร.ธนวัฒน จารุพงษสกุล หัวหนาศูนย ศึกษาพิบัติภัยและขอสนเทศเชิงพื้นที่ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ไดทําแบบจําลองทางคณิตศาสตร เพื่อหาผลกระทบจาก ปญหาการกัดเซาะที่เกิดจากระดับน้ําทะเลที่สูงขึ้น และการยุบตัวของพื้น ดิน พบวา ในอีก 100 ป ขางหนา พื้นที่จะหายไปประมาณ 400,000 ไร โดยพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบมากที่สุด คือบริเวณอาวไทยตัวกอ หรืออาวไทย ตอนบน ซึ่งหมายรวมถึง กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร และฉะเชิงเทรา จากผลกระทบดังกลาว รัฐบาลไทยเริ่มใหความสนใจกับปญหาภาวะ โลกรอนมากยิ่งขึ้น โดยพยายามใหความสําคัญกับการลดใชพลังงาน และ ใชสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เปนตน นอกจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 ซึ่งกําลังรางโดยสภาพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ ไดกําหนดเปาหมายเอาไววา การพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศตองมุงเนนไปที่สังคมคารบอนต่ํา

ฉลากเขียวพี่ใหญวงการฉลากเพื่อสิ่งแวดลอม สถาบันสิ่งแวดลอมไทยถือวาเปนหนวยงานแรกของประเทศที่ไดริเริ่ม การทําฉลากเพื่อสิ่งแวดลอม โดยมีพื้นฐานแนวคิดอยูที่วา ตองการให ประชาชนทุกภาคสวนมีสวนรวมกันรักษาสิ่งแวดลอม โดยในป 2536 สถาบัน สิ่งแวดลอมไทย รวมมือกับสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม จัด ทําโครงการ “ฉลากเขียว” เพื่อเปนสัญลักษณใหผูบริโภคไดรับรูวา สินคาชิ้น นั้นมีมาตรฐานการผลิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม แนวคิดของฉลากเขียวไดใชกันมาอยางแพรหลายในกวา 30 ประเทศ และประเทศไทยก็ไดนําแนวคิดนี้มาใชในประเทศดวยเชนกัน หลักเกณฑการ ออกสินคาฉลากเขียวนั้นจะตองผลิตภายใตขอกําหนดของ ISO 14020 นั่น ก็คือจะตองดูทั้งกระบวนการผลิต การขนสง การใช และการกําจัดวาทุกขั้น เมื่อปลาจะกินดาว 10 150


ตอนนั้นเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมหรือไม ดร.ไชยยศ บุญญากิจ รองประธานผูอํานวยการสถาบันสิ่งแวดลอม ไทย กลาววา ในแตละผลิตภัณฑตองมาดูวาขั้นตอนไหนกอใหเกิดผล กระทบกับสิ่งแวดลอมมากที่สุดก็ตองหากฎระเบียบวิธีการผลิตที่จะลดผล กระทบใหเกิดขึ้นนอยที่สุดเทาที่จะเปนไปได ยกตัวอยางเชน เครื่องใชไฟฟา จะสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมมากที่สุด นั่นก็คือ ขั้นตอนการใชไฟฟา ดังนั้น เครื่องใชไฟฟาที่ไดฉลากเขียว ตองสามารถลดอัตราการใชพลังงานไดอยาง ชัดเจน หรือหลอดไฟฟา สิ่งที่กอใหเกิดผลกระทบ คือขั้นตอนการยอยสลาย ซึ่งมักจะมีสารโลหะหนัก เชน ปรอทปนเปอนสูสิ่งแวดลอม ดังนั้นหลอดไฟ ฉลากเขียว จึงมีการจํากัดปริมาณการใชสารโลหะหนัก เปนตน “เราพูดไดวา ฉลากเขียวประสบความสําเร็จในระดับหนึ่ง คนรูจักกันมาก ขึ้น แตปญหาคือ ผูบริโภคไมไดใชปจจัยความเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เปน ปจจัยนําในการตัดสินใจเลือกซื้อสินคา ซึ่งก็เขาใจได เพราะมีเพียง 10% ของ ผูบริโภคเทานั้น ที่ใชฉลากเขียวเปนตัวนําในการตัดสินใจซื้อสินคา” ดร.ไชยยศ อธิบายเพิ่มเติมวา เมื่อประชาชนผูบริโภค ยังไมสามารถขับ เคลื่อนสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม จึงตองอาศัยภาครัฐ และภาคเอกชน เปนตัวขับเคลื่อนที่สําคัญของสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ในสวนของภาครัฐเองมีการทําโครงการจัดซื้อ-จัดจางสินคาและบริการที่ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม หรือที่รูจักกันในชื่อสั้นๆ วาจัดซื้อจัดจางสีเขียวนั่นเอง และในสวนของภาคเอกชนก็มีการรณรงคในเรื่องนี้เชนกัน “เราไดเคยทําบันทึกความเขาใจกับสภาหอการคา เพื่อขอความรวมมือ ใหภาคเอกชนเขารวมโครงการจัดซื้อ-จัดจางสีเขียว ซึ่งก็ไดรับความรวมมือ ในระดับหนึ่ง แตในอนาคตอันใกลเราคาดวาจะมีผูประกอบการเขามารวม กันมากขึ้น เพราะการจัดซื้อ-จัดจางสีเขียว จะถูกบรรจุใหเปนสวนหนึ่งของ การทํากิจกรรมความรับผิดชอบตอสังคมขององคกร” ขณะนี้กําลังมีการรางมาตรฐาน ISO 26000 เพื่อกําหนดบทบาทและ ทิศทางของกิจกรรมความรับผิดชอบตอสังคมขององคกร (Corporate Social Responsibility- CSR) ซึ่งหนึ่งในขอกําหนดดังกลาวจะรวมถึงกิจกรรมที่เนนการ เมื่อปลาจะกินดาว 10 151


ใชทรัพยากรอยางคุมคา และทางสถาบันสิ่งแวดลอมไทยกําลังผลักดันใหการ จัดซื้อ-จัดจางสีเขียวอยูในขายของกิจกรรมดังกลาว ดร.ไชยยศ มองวา ฉลากสิ่งแวดลอมกําลังเพิ่มบทบาทที่สําคัญในการคา ทัง้ ในและนอกประเทศ จึงไมแปลกใจวาทําไมปจจุบนั จึงมีฉลากเพือ่ สิง่ แวดลอม ตัวใหมๆ เขามาเปนตัวเลือกใหกบั ผูบ ริโภคมากขึน้ ไมวา จะเปนฉลากคารบอน ฟุตพริ้นต ฉลากลดคารบอนที่ออกโดยองคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก หรือแมแตฉลากที่ออกโดยผูผลิตสินคาเอง เชน SCG Eco Value เปนตน “ในขณะนี้กําลังมีฉลากตัวใหมที่กําลังออกมา และไทยเราก็ตองเตรียม ตัวทําฉลากตัวนี้ดวยเชนกัน นั่นคือ Water Footprint Label หรือฉลากการใช น้ํานั่นเอง ซึ่งคลายกับฉลากคารบอน ฟุตพริ้นต ที่จะบอกใหผูบริโภคทราบวา ผลิตภัณฑนั้นใชน้ําในการผลิตเทาไหร” เขามองวาการออกฉลากสิ่งแวดลอมในรูปแบบใหมๆ เปนการเตรียม ตัวสูการผลิตรูปแบบใหมที่ใชพลังงานทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูอยางจํากัด ในปจจุบันใหเกิดประโยชนและคุมคามากที่สุด ซึ่งในที่สุดแลวก็จะเปนกาว ที่สําคัญที่จะนําไปสูฐานเศรษฐกิจคารบอนต่ํา ที่มุงเนนใหทุกภาคสวนของ กิจกรรมการผลิตลดการปลอยกาซคารบอนหรือกาซเรือนกระจกที่เปนปจจัย สําคัญที่ทําใหอุณหภูมิของโลกสูงขึ้น

องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจกนองใหมไฟแรงกับ ฉลากคารบอน ฟุตพริ้นต ถึงแมวาองคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจกจะเพิ่งเปดตัวมาไดไม นาน แตตองยอมรับวาสามารถตอบโจทยผูบริโภคสมัยใหมที่ตองการความ แปลกใหมไดเปนอยางดี ดวยการเปนผูนํา ในการนําเสนอสินคาที่เปนมิตร กับสิ่งแวดลอม ภายใตฉลากที่กําลังไดรับความนิยมไปทั่วโลก นั่นก็คือ ฉลาก คารบอน ฟุตพริ้นต แคเปดตัวก็เปนทีฮ่ อื ฮาในหนาสือ่ สิง่ พิมพตา งๆ โดยการแนะนําผลิตภัณฑ รุน แรกๆ ทีไ่ ดฉลากคารบอน ฟุตพริน้ ต นัน่ ก็คอื สายการบินแหงชาติ การบินไทย ไดรบั ฉลากคารบอน ฟุตพริน้ ตในรายการอาหาร 2 รายการ นั่นคือ ขาวหอม มะลิราดแกงเขียวหวานไก และขาวหอมมะลิราดแกงมัสมั่น และตามมาดวย เมื่อปลาจะกินดาว 10 152


ผลิตภัณฑอาหารจากเครือซีพี และเครือเบทาโกร เปนตน ซึ่งถือวาเปนบริษัท แรกๆในอาเซียน ที่ไดรับฉลากคารบอน ฟุตพริ้นต โดยองคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจกทํางานรวมกับศูนยเทคโนโลยี โลหะและวัสดุแหงชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหง ประเทศไทย เพื่อทําการตรวจสอบคาของปริมาณกาซคารบอนไดออกไซด และกาซเรือนกระจกอื่นๆ ที่ปลดปลอยสูชั้นบรรยากาศในวัฏจักรชีวิตของ สินคานั้นๆ ที่มาที่ไปของฉลากคารบอน ฟุตพริ้นตเปนมาอยางไรนั้น ดร.พงษวิภาได อธิบายใหฟงวา ความนิยมของฉลากคารบอน ฟุตพริ้นตไดรับความนิยมเปน อยางมากในกลุมประเทศที่พัฒนาแลว เชน กลุมประเทศยุโรป อเมริกา และ ญี่ปุน ในบางแหงสินคาจะสามารถนําไปวางขายในหางสรรพสินคาไดนั้นจะ ตองมีฉลากคารบอน ฟุตพริ้นต เพื่อใหผูบริโภคทราบวาทั้งวัฏจักรการผลิต สินคาชนิดนั้นๆ มีการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดออกมาเทาไหร เพื่อเปน ทางเลือกใหผูบริโภคเกิดการเปรียบเทียบวาสินคาชนิดเดียวกัน สินคาชนิดใด มีการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดนอยกวา องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก มองวา ประเทศไทยถึงแมวา การรับรูของผูบริโภคในดานฉลากเพื่อสิ่งแวดลอมจะยังมีนอย แตจุดเดนของ คนไทยคือ มีความพรอมที่จะเรียนรูกับสิ่งใหมๆ เสมอ จึงมีแนวความคิดวา การนําเสนอฉลากคารบอนฟุตพริ้นตนาจะไดรับการตอบรับที่ดีจากสังคม จึง ไดเริ่มเปดตัวฉลากคารบอน ฟุตพริ้นตขึ้นเมื่อป 2552 โดยกําหนดใหฉลาก มีอายุ 2 ป สินคาติดฉลากคารบอน ฟุตพริ้นต ยังชวยลดการกีดกันทางการคา เนื่อง จากสินคาสวนใหญทผ่ี ลิตภายในประเทศมีเปาหมายเพือ่ การสงออก ซึง่ ประเทศ เหลานี้ลวนมีความเขมในมาตรฐานสินคาและบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ดังนั้นจึงจําเปนอยางยิ่งที่ผูผลิตจะตองมีทางเลือกที่มากขึ้นในการรับรอง คุณภาพของสินคาวาเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม นอกจากฉลากเขียว ซึ่งเปน ฉลากเพื่อสิ่งแวดลอมที่รูจักกันมากที่สุดในขณะนี้ “จุดมุงหมายของเราคือ ตองการใหผูผลิต และผูบริโภคในประเทศรับรูวา เมื่อปลาจะกินดาว 10 153


นอกจากฉลากเขียวแลว ยังมีฉลากเพื่อสิ่งแวดลอมประเภทอื่นที่กําลังไดรับ ความสนใจจากทั่วโลก มันไมใชการแขงขันกันเพื่อออกฉลาก แตเปนการเพิ่ม โอกาสการแขงขันกันทางการคามากกวา” ดร.พงษวิภา อธิบายเพิ่มวา ถึงแมวาในความเปนจริงฉลากคารบอน ฟุต พริ้นตไมใช “ฉลากเขียวโดยกําเนิด” แตก็เปนฉลากสําคัญที่สามารถ “กดดัน” ใหผูผลิตพยายามลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดใหไดมากขึ้น ถาจะอธิบายอยางงายๆ ถึงความตางระหวางฉลากเขียว และคารบอน ฟุตพริ้นทนั้น ดร. พงษวิภา สาวมั่นขององคการกาซเรือนกระจกอธิบายให ฟง วา ฉลากคารบอน ฟุตพริ้นต คือ ฉลากที่แสดงปริมาณกาซเรือนกระจกที่ ปลอยออกมาจากผลิตภัณฑแตละหนวย ตลอดวัฎจักรชีวิตของผลิตภัณฑ ตั้งแตการไดมาซึ่งวัตถุดิบ การขนสง การประกอบชิ้นสวน การใชงาน และ การจัดการซากผลิตภัณฑหลังใชงาน โดยคํานวณออกมาในรูปของคารบอน ไดออกไซดเทียบเทา ในขณะที่ฉลากเขียวคือฉลากที่บงบอกวาสินคาชนิดนั้นเปนสินคาที่เปน มิตรกับสิ่งแวดลอมอยางแทจริง เชน เปนสินคาที่ประหยัดพลังงาน เปน สินคาที่ถูกตองตามเกณฑมาตรฐานที่ออกโดยสถาบันสิ่งแวดลอมไทย ไมวา จะเปนการใชสารเคมีที่ไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ใชทรัพยากรใหเกิดผล ประโยชนสูงสุด หรือใชวัสดุที่สามารถยอยสลายไดตามธรรมชาติ เปนตน ดร.พงษวิภา ซึ่งครําหวอดมากับการทําฉลากเขียวมา 15 ปเต็ม มอง วาการจะนําสังคมไทยไปสูการบริโภคสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอยาง ยั่งยืนนั้น จะตองนําไปสูการผลิตและบริโภคอยางยั่งยืนกอน “มันเหมือนกับไกกับไขอะไรเกิดกอน ผูบริโภคบอกวาผูผลิตไมผลิตจะ ไปหาสินคาสีเขียวไดที่ไหน สวนผูผลิตก็บอกวา ก็ผูบริโภคไมสนในจะผลิตไป ทําไม มันเถียงกันไปก็ไมจบ ดังนั้นไมตองเถียงกัน เพียงแควาทุกภาคสวนให ความสําคัญกับสิ่งแวดลอมเปนที่ตั้งปญหาก็จบ” “ประเทศเยอรมันนี เปนประเทศแรกที่มีการออกฉลากสีเขียวใหกับสินคา และบริการ เนื่องจากคนของประเทศเขาใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอมมาก มี การสอนกันมาตั้งแตวัยเด็ก เมื่อเทียบกับประเทศไทย เรายังหางไกลกันอีกมาก” เมื่อปลาจะกินดาว 10 154


ในเมืองไทยฉลากสิ่งแวดลอมที่ประสบความสําเร็จเปนอยางมาก ติดหู ตลาดเปนอยางมาก นั่นก็คือ ฉลากประหยัดไฟเบอร 5 ซึ่งออกโดยการไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทย สาเหตุที่ประสบความสําเร็จเปนอยางสูงก็เนื่องมา จากงบโฆษณาที่มีอยูสูง และที่สําคัญคือ ผูบริโภคสามารถสัมผัสไดทันทีวา เขาไดประโยชนจากการจายคาไฟที่ลดนอยลง เปนผลลัพธที่เปนรูปธรรม ผู บริโภคสามารถรับรูไดจริง ตางจากฉลากเพื่อสิ่งแวดลอมประเภทอื่นๆ ที่ผู บริโภคไมสามารถรับรูไดทันทีวาไดประโยชนอะไรจากการมีสิ่งแวดลอมที่ดี แตกตางจากฉลากประหยัดไฟเบอร 5 ที่สามารถประหยัดเม็ดเงินในการจาย คาไฟ หลังจากใชผลิตภัณฑดังกลาว “ทางออกของเรื่องนี้คือ การสรางจิตสาธารณะ ในเรื่องของการรับผิด ชอบตอสังคม ตอสิ่งแวดลอม ซึ่งนั่นก็คือตองเริ่มตนที่การศึกษา ไมใชการจัด งานอีเวนตตางๆ ซึ่งจัดตอนเชา ความรับรู การเขาใจก็หายหมดไปแลวในชวง บาย” ดร. พงษวภิ า ยังกลาวตอไปอีกวา นอกจากนีต้ อ งสรางตนทุนทางสิง่ แวดลอม ในการผลิตสินคา ใหเห็นไดอยางชัดเจนวา กวาจะไดผลิตภัณฑมาสักชิ้น จะ มีตนทุนทางสิ่งแวดลอมเทาไหร ตัวอยางเชน ทุกๆ การปลูกผัก 1 กิโลกรัม ใช น้าํ ไปฟรีๆ แลว 3 ลิตร การผลิตปูนซีเมนต 1 ตัน ใชนาํ้ 4,500 ลิตร ในขณะ ทีก่ ารผลิตเหล็ก 1 ตัน ใชนาํ้ มากกวา 4.3 ตัน แตโดยขอเท็จจริง คนสวนใหญ ไมทราบขอมูลในสวนนี้ “เราไมสามารถทําฉลากเขียวใหเปนที่รับรูและติดอยูในใจของผูบริโภค เหมือนกับฉลากเบอร 5 ไดเลย ถาสังคมยังไมเขาใจการรับผิดชอบตอสังคม และสิ่งแวดลอมอยางลึกซึ้ง” ขณะที่ในประเทศฝรั่งเศส รัฐบาลไดออกกฎหมายวา ประชาชนมีสิทธิ รับรูในการปลอยกาซเรือนกระจกในผลิตภัณฑตางๆ ในป 2554 ซึ่งนั่นก็ หมายความวา สินคาทุกชิน้ ในฝรัง่ เศสจะตองมีการติดฉลากคารบอน ฟุตพริน้ ต เพื่อบอกปริมาณวาสามารถลดการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดสูชั้น บรรยากาศไดมากนอยขนาดไหน หลายคนเป น ห ว งว า สิ น ค า ฉลากเขี ย วหรื อ สิ น ค า ที่ มี ฉ ลากคาร บ อน เมื่อปลาจะกินดาว 10 155


ฟุตพริน้ ต จะเปนสินคาทีร่ าคาแพงกวาปรกติ ดร. พงษวภิ า อธิบายวา 80-90% ของสินคา ฉลากเพื่อสิ่งแวดลอมมีราคาเทากับสินคา ปรกติ แตคนสวนใหญมกั คิดไปเองวาราคา จะแพงกวาสินคาทัว่ ไป จากการสํารวจกลุม ผูบ ริโภคทัว่ ประเทศในปจจุบนั ปจจัยหลักที่ ทําใหเกิดการตัดสินใจในการซือ้ สินคาชนิดนัน้ ๆ คือ ราคา คุณภาพ และความ เปนมิตรกับสิง่ แวดลอม ซึง่ เปนแนวคําตอบทีไ่ มแตกตางกับเมือ่ 10 ปทแ่ี ลว ซึง่ ผูบ ริโภคใชปจ จัยดานราคาเปนตัวเลือกสําคัญในการซือ้ สินคา พรรรัตน เพชรภักดี ผูอ าํ นวยการ สถาบันสิง่ แวดลอมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ยังคงมองอนาคตของฉลากเพือ่ สิง่ แวดลอมในประเทศไทยในแงดวี า ยังมีโอกาสทีผ่ บู ริโภคในประเทศ จะมีความตระหนักและรับรูม ากขึน้ ตอความรับผิดชอบตอสิง่ แวดลอม “เรายังคงมองเห็นความหวังที่ปลายอุโมงค ทํางานดานสิ่งแวดลอมมา 15 ป อุตสาหกรรมสะอาดเกิดขึ้นนอยมาก เมื่อเทียบกับปจจุบันภาพตางๆ ก็ดีขึ้น ในยุคนี้ภาคอุตสาหกรรมเปลี่ยนไปมาก เปดประตูมากขึ้น อาจมีกลไก หรือแรงผลักดันหลายอยางทําใหเขาปรับตัว” พรรรัตน ไดยกตัวอยางของรานสะดวกซื้ออยาง ราน Seven-11 ที่เปดชอง ทางใหผูบริโภค มองหาสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมไดงายขึ้น โดยจัดพื้นที่ พิเศษที่เรียกวา กรีน คอนเนอร (พื้นที่สีเขียว) เพื่อใหลูกคาสามารถซื้อสินคา ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมไดงายยิ่งขึ้น ทําใหเริ่มมีความหวังวา สักวันหนึ่ง การเลือกซื้อสินคาของคนไทยจะเลือกสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมาเปน อันดับแรก แทนการตัดสินใจเลือกราคาเปนตัวเลือกอันดับแรก เธอมองวา กลไกสําคัญที่ทําใหภาคอุตสาหกรรมขยับไปสูฐานเศรษฐกิจ คารบอนตํา คือกลไกทางการตลาด ที่มีการแขงขันกันสูง และกอใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม ขณะนี้อาจจะเรียกไดวา อุตสาหกรรมของไทยอยูใน ชวงเปลี่ยนผานสูอุตสาหกรรมสีเขียวที่ใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอมกันมาก ขึ้น และเนนการมีสวนรวมในการรับผิดชอบตอสังคม เมื่อปลาจะกินดาว 10 156


เนือ่ งจากภาคธุรกิจสวนใหญเริม่ ตระหนักแลววา กําไรของผูป ระกอบการ ทีย่ ง่ั ยืน คือกําไรทีเ่ กิดจากสิง่ แวดลอมทีส่ ะอาด ลดการกอใหเกิดปญหามลพิษ ตัวอยางของความลมเหลวในการจัดการปญหาสิ่งแวดลอมที่เขตอุตสาหกรรม มาบตาพุด ทําใหหลายภาคสวน โดยเฉพาะผูผ ลิต กลับมาใหความสําคัญกับ ชุมชน และสิง่ แวดลอมมากยิง่ ขึน้ การผลิตสินคาตองเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม และขัน้ ตอนการผลิตตองเปนมิตรกับชุมชน “เมื่อ 4 ปที่แลว ถาเราพูดกับภาคอุตสาหกรรมเรื่องเทคโนโลยีสะอาด การผลิตสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม สีหนาเขาจะแสดงคําถามขึ้นมาทันที วา มาพูดเรื่องนี้กับเขาทําไม แตเมื่อโลกเปลี่ยน ความตองการของผูบริโภค เปลี่ยน ภาคอุตสาหกรรมกลับวิ่งเขามาหาเราแทน เพื่อขอความชวยเหลือใน เรื่องอุตสาหกรรมสะอาด” “ถ า จะถามว า ต นทุ น ในการออกฉลากเพื่ อ สิ่ ง แวดล อ มในสิ นค า และ บริการนั้น มีตนทุนหรือไม ก็คงตองบอกวา แนนอน ของทุกอยางยอมมี ตนทุนในการผลิต ในสวนของตนทุนของการขอฉลากคารบอน ฟุตพริ้นทนั้น จะอยูที่ 200,000-300,000 บาทตอผลิตภัณฑ” นอกจากภาคเอกชนจะสามารถขออกฉลากที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมได แลวนั้น เธอมองวาทางภาคเอกชนจะตองมีการจัดซื้อจัดจางสีเขียว เฉกเชน เดียวกับภาครัฐที่ทําสําเร็จมาแลว “การจัดซื้อจัดจางสีเขียวนับวาเปนตัวอยางที่ดี เปนเหมือนเวค อัพ คอล ใหภาคการผลิตใหความใสใจกับการผลิตสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม มากยิ่งขึ้น และถาภาคเอกชนทําไดเหมือนกับภาครัฐก็จะสรางประโยชนให ไดอยางเต็มที่กับประเทศชาติ” นอกจากองค ก ารบริ ก ารจั ด การก า ซเรื อ นกระจกจะมี ฉลากเด น อย า ง ฉลากคารบอน ฟุตพริ้นตแลว ยังมีผลิตภัณฑนองใหมลาสุด เชน ฉลากลด คารบอน เปนตน

การบินไทยกับฉลากคารบอนฟุตพริน้ ตมติ ใิ หมดา นสิง่ แวดลอม การบินไทย สายการบินแหงชาติ เริ่มใหความสนใจกับฉลากดานสิ่ง

เมื่อปลาจะกินดาว 10 157


แวดลอม หลังจากที่อุตสาหกรรมการบิน โดยเฉพาะในยุโรปเริ่มออกกฏเกณฑ ในการลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกในภาคขนสง ภายใตเงื่อนไขของ EU Emission Trading System โดยเริ่มจากป 2555 เปนตนไป ทุกเที่ยวบินที่ตองใชบริการของทาอากาศ ยานใดๆ ในสหภาพยุโรป ซึ่งมีมากกวา 3,000 เที่ยวบิน จะถูกจํากัดการปลอย กาซเรือนกระจก 97% และลดลงอีกเปน 95% ในป 2556 เมื่อเทียบจากป ฐาน พ.ศ. 2547-2549 โดยเฉลี่ยหากสายการบินใดไมสามารถบรรลุพันธกรณี ไดก็จะถูกปรับโดยการลดปริมาณโควตาของการปลดปลอยกาซเรือนกระจก ในปถัดไป สายการบินไทย รวมทั้งสายการบินอื่นๆ ทั่วโลกที่ตองผานนานฟายุโรป จําเปนตองปรับตัว และนั่นก็เปนจุดแรกเริ่มที่ทําใหการบินไทยหันมาสนใจ ฉลากคารบอน ฟุตพริ้นต พศวีร รัชพงศศิริกุล เจาหนาที่กองประกันคุณภาพ ฝายครัวการบิน ผูคลุกคลีและปลุกปนใหสายการบินเอื้องหลวงประสบความสําเร็จ โดยเปน สายการบินแรกในประเทศที่ไดฉลากคารบอน ฟุตพริ้นตในผลิตภัณฑประเภท อาหาร “เรามองวาฉลากคารบอน ฟุตพริ้นตสามารถตอบโจทยเราไดในระดับ หนึ่ง เนื่องจากมันบอกวาในกระบวนการผลิตอาหารแตละชนิด มีปริมาณ การปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดเทาไหร ซึ่งจะเปนขอมูลพื้นฐานใน การเปรียบเทียบใหเห็นชัดเจนวา จะสามารถลดปริมาณของกาซเรือนกระจก ในขั้นตอนหรือกระบวนการผลิตที่เหมือนกันไดมากนอยขนาดไหน และถาลด ปริมาณการปลดปลอยกาซไดมาก ก็ถือวาประสบความสําเร็จในระดับหนึ่ง ในการจัดการกับปญหากาซเรือนกระจก” พศวีร กลาว โดยในเริ่มแรก การบินไทยเสนออาหาร 6 ประเภท เพื่อยื่นขอฉลาก คารบอน ฟุตพริ้นตประกอบไปดวย 1) แกงมัสมั่นไก กับขาวหอมมะลิ 2) แกง เขียวหวานไก กับขาวหอมมะลิ 3) กะเพราไกกับขาวหอมมะลิ 4) พะแนงหมู กับขาวหอมมะลิ 5) ฉูฉี่ปลาทับทิมกับขาวหอมมะลิและ 6) แกงเผ็ดเปดยาง มะเขือเทศกับขาวหอมมะลิ เมื่อปลาจะกินดาว 10 158


หลั ง จากที่ ไ ด แ นวคิ ด ว า อาหารประเภทใดที่ ค วรจะมี ฉลากคาร บ อน ฟุตพริ้นต บริษัทการบินไทยไดรวมมือกับศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหง ชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ หรือเนคเทค ได รวมมือกันศึกษาปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด และกาซเรือน กระจกตัวอื่นๆ ในกระบวนการผลิตอาหาร จนกระทั่งเมื่อชวงกลางปที่ผานมา องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก ไดมอบฉลากคารบอน ฟุตพริ้นต ให กับอาหารสองเมนูหลักของสายการบินแหงชาติ นั่นคือ แกงมัสมั่นไก กับขาว หอมมะลิ และ แกงเขียวหวานไก กับขาวหอมมะลิ ซึ่งอาหารทั้งสองชุดมีการ ปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด 1.39 กิโลกรัมคารบอนตอปริมาณการ เสิรฟ 250 กรัม/ชุด และ 1.39 กิโลกรัมคารบอนตอปริมาณการเสิรฟเดียวกัน ตามลําดับ จากหลักเกณฑเบื้องตนของการประเมินการปลดปลอยกาซคารบอน ไดออกไซด จะตองมีการศึกษาตั้งแตขั้นตอนการไดมาของวัตถุดิบ กระบวน การขนสงสูโรงงานผลิต กระบวนการผลิต การขนสงจนถึงมือผูบริโภค และ จนถึงวัฏจักรขั้นสุดทายของผลิตภัณฑ นั่นคือ การทําลายหรือการจัดการกับ กากของเสีย เปนตน พัศวีย เลาอีกวา ครัวของบริษัทการบินไทยเปนครัวขนาดใหญที่ไมได ผลิตอาหารเพื่อสายการบินไทยอยางเดียว แตตองผลิตสงใหกับลูกคาอีก 55 สายการบิน ดวยปริมาณการผลิตอาหารมากกวา 50,000 ชุด/วัน และกําลัง การผลิตสูงสุดถึงเทาตัว ทําใหปริมาณการใชพลังงานในการผลิตอาหารยอม ใชพลังงานจํานวนมาก ซึ่งแนนอนวา เปนการแปรผันโดยตรงกับการปลอย กาซเรือนกระจกสูชั้นบรรยากาศ จากขอมูลของฝายครัวการบิน บริษัทการบินไทย เมื่อป 2551 พบวา มี การใชพลังงานไฟฟา 2,893,409 กิโลวัตต/เดือน ใชระบบปรับอากาศน้ําเย็น ประมาณ 1,619,638 ตันความเย็น/เดือน และใชน้ําประปาทั้งสิ้น 54,431 ลบ.ม/เดือน “จากการประเมิน เราพบวาจุดที่มีการปลอยกาซเรือนกระจกมากกวา 45% อยูที่พลังงานไฟฟาที่ใชในเครื่องปรับอากาศ และเพื่อใหเกิดแสงสวางอีก เมื่อปลาจะกินดาว 10 159


37% อยูที่การขนสงวัตถุดิบและอีก 14% อยูที่การจัดการของเสีย เมื่อรูจุด หลักของปญหา เราก็สามารถแกปญหาในแตละจุดไดอยางมีประสิทธิภาพ ไมวาการรณรงคใหพนักงานปดไฟที่ไมใชแลว หรือแมกระทั่งการเลือกซื้อ วัตถุดิบที่ไมอยูไกลจากโรงครัวมากเทาใดนัก เปนตน” พัศวีย ระบุ อธิวัตร จิรจริยาเวช จากหองปฎิบัติการการประเมินวัฎจักรชีวิต ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ ซึ่งเปนหนึ่งในสิบคนของเมือง ไทย ที่ประเมินปริมาณการเกิดกาซเรือนกระจกตลอดวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ เลาใหฟงวา การบินไทยตองการใหอาหารไทยเปนสัญลักษณที่แสดง ใหเห็นวาประเทศไทยใหความใสใจ และตระหนักถึงปญหาภาวะโลกรอน จึง เลือกเมนูอาหารไทยมาทําการศึกษาปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกสูชั้น บรรยากาศ ยกตัวอยางเชน แกงมัสมั่นไกกับขาวหอมมะลิ กระบวนการคิดเริ่มตน จากทางทีมงานตองไปศึกษาวา ในปริมาณไก 1 กิโลกรัม จะมีการปลอย กาซเรือนกระจกเทาไหร นั่นคือตองไปดูขั้นตอนการเลี้ยงไกจนไดขนาด การ ขนสงเขาสูโรงเชือด และการจัดจําหนายเนื้อไกใหกับลูกคา เชนเดียวกับขาว หอมมะลิ ในจํานวน 1 กิโลกรัม ตองคํานวณการปลอยกาซเรือนกระจกตั้งแต กระบวนการปลูกจนถึงการเก็บเกี่ยว ขั้นตอนขนสงจากทุงนาสูโรงสี ขั้นตอน การสีขาว การบรรจุหีบหอ และการขนสงจนถึงมือผูบริโภค หลังจากมีการคํานวณการเกิดกาซเรือนกระจกในขั้นตอนการไดมาซึ่ง วัตถุดิบแลวก็มาถึงการคํานวณการปลอยกาซในกระบวนการปรุงอาหาร จนถึงการขนสงอาหารไปเสิรฟใหผูโดยสารบนเครื่อง และขั้นตอนการคํานวณ สุดทายอยูที่ขั้นตอนการกําจัดขยะ เมื่อไดผลการคํานวณในทุกขั้นตอนแลว ก็ นํามาเทียบบัญญัติไตรยางศเพื่อหาวา แกงมัสมั่นไก กับขาวหอมมะลิ ในน้ํา หนัก 250 กรัมจะมีการปลอยกาซเรือนกระจกเทาไหร อธิวัตร อธิบายเพิ่มเติมวา วัตถุดิบบางตัวยังไมมีการศึกษาการปลอย กาซเรือนกระจก จึงตองอาศัยฐานขอมูลจากตางประเทศ แตปจจุบันศูนย เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ รวมมือกับอีก 4 หนวยงานของรัฐ นั่น คือ กรมโรงงานอุตสาหกรรม สํานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย สภา เมื่อปลาจะกินดาว 10 160


อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และสถาบันสิ่งแวดลอมไทย ไดรวมกันจัดทํา “โครงการฐานขอมูลสิ่งแวดลอม ของวัสดุพื้นฐานและพลังงานของประเทศ” เพื่อใชเปนฐานขอมูลในการศึกษาวา กิจกรรม หรือวัตถุดิบตางๆ ซึ่งเนนสิ่งที่ เปนโครงสรางพื้นฐานของประเทศ มีการปลอยกาซเรือนกระจกมีการปลอย กาซเรือนกระจกมากนอยขนาดไหน โครงการดังกลาวเริ่มขึ้นตั้งแตป 2550 และสามารถเก็บฐานขอมูลไดมากกวา 400 ชนิด “ลูกเลนของฉลากคารบอน ฟุตพริ้นตคือ ผูผลิตกลาที่จะแสดงขอมูลขอ เท็จจริงวา สินคาของตนปลอยกาซเรือนกระจกมากนอยแคไหน ลูกคาจะเปน คนตัดสินใจวาจะเลือกซื้อสินคานั้นๆหรือไม ในขณะเดียวกันก็เปนการสราง ขอผูกพันใหผูผลิตวา จะสามารถลดกาซเรือนกระจกใหนอยกวาที่เปนอยูได หรือไม” ฉลากคารบอน ฟุตพริน้ ต ทีอ่ อกโดยองคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก มีอายุ 2 ป หลังจากหมดอายุกต็ อ งเริม่ เขาสูก ระบวนการประเมินใหม ในปจจุบนั ยังไมมีหนวยงานเอกชนใดสามารถทําการประเมินการปลอยกาซเรือนกระจก ของผลิตภัณฑได แตในอนาคตอันใกลอาจมีบริษัทเอกชนเขามา เนื่องจาก ฉลากคารบอน ฟุตพริ้นต เปนฉลากนองใหมที่ไดรับการตอบรับอยางสูงใน ขณะนี้

SCG Eco Value ฉลากสิง่ แวดลอมออกโดยบริษทั ผูผ  ลิตราย แรกของประเทศ โฆษณาชิ้นลาสุดของบริษัท SCG ลาสุด ออกมาตอกย้ําใหผูบริโภคได รับรูวา ทางบริษัทประสบความสําเร็จเปนอยางมากในการใชเทคโนโลยีที่เปน มิตรกับสิ่งแวดลอม ทําใหลดการใชทรัพยากรธรรมชาติ และที่สําคัญคือลด การกอใหเกิดมลพิษ ภายใตแนวคิดของ 3R นั่นคือ Reduce, Reuse และ Recycle ขอมูลทางตัวเลขที่นาตื่นเตน เปรียบเทียบกับสิ่งที่เปนรูปธรรมไดอยาง ชัดเจน ไมวาจะเปน การลดการใชน้ํา การลดการใชเยื่อกระดาษจากตนไม ทําใหโฆษณาชิ้นนี้ ไดรับความสนใจเปนอยางมาก และนั่นเทากับเปนการเนน ย้ําการสรางภาพลักษณสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเปนอยางดี เมื่อปลาจะกินดาว 10 161


กลยุทธอีกอยางที่สําคัญของกลุม SCG ที่สรางความโดดเดนใหกับตัวเอง ในดานสิ่งแวดลอม นั่นก็คือ การเคลมตัวเองวา เปนบริษัทที่ผลิตสินคาที่เปน มิตรกับสิ่งแวดลอม ภายใตเครื่องหมายสัญลักษณของ SCG Eco Value คําถามตอมา ก็คือ SCG Eco Value คืออะไร และมีความนาเชื่อถือมาก นอยขนาดไหน คําอธิบายอยางงายๆ ก็คือ เปนฉลากที่บริษัทออกใหกับกลุมสินคาที่ผลิต ในเครือของ SCG ที่มีขั้นตอน และกระบวนการผลิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม แตสิ่งที่ยากยิ่งกวานั้น ก็คือกระบวนการขั้นตอนที่กวาจะไดมาซึ่ง SCG Eco Value เปนเรื่องที่สําคัญมากในการที่จะสรางความนาเชื่อถือ และการยอบรับ ของผูบริโภคกับเครื่องหมายของ SCG Eco Value อาทิตยา จําปา ผูจัดการแผนกวางแผนและวิเคราะหการตลาด อธิบายวา กระบวนการเริม่ จากแตละกลุม ผลิตภัณฑจะมานัง่ คิดกันวา ผลิตภัณฑ ตัวไหนนาจะมีขั้นตอนการผลิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม สามารถตอบโจทย และขอกําหนดทีเ่ ครงครัดของฉลากดังกลาวไดอยางสมบูรณแบบทีส่ ดุ เมือ่ คัด เลือกผลิตภัณฑไดแลวก็นําเสนอคณะกรรมการพิจารณาการออกฉลาก SCG Eco Value ซึ่งประกอบไปดวยผูทรงคุณวุฒิ และผูเชี่ยวชาญในดานตางๆ ของ บริษัท ทําหนาที่ในการพิจารณา “ขัน้ ตอนทีย่ ากทีส่ ดุ อยูท ต่ี รงนี้ คณะกรรมการแตละทานลวนมีประสบการณ การทํางานที่นี่มาอยางยาวนาน จึงมีความรูและความเขาใจในขั้นตอนการ ผลิต รวมทั้งการเลือกใชวัตถุดิบ ดังนั้นคําถามที่ถามเรามา จึงละเอียดมาก เราตองทําการบานมาเปนอยางดี ถาเราตอบคําถามไมได ก็ตองถูกตีตกไป เราก็ตองไปทําการบานมาใหม เพื่อใหผานการพิจารณาของคณะกรรมการชุด นี้ไปใหได งานชิ้นหนึ่งอาจจะตองเสนอมากกวา 3-4 ครั้งกวาจะผาน แตนั่นก็เปน การสรางความเชื่อมั่นไดอยางดีวา การออกฉลากของเราทําตามมาตรฐานที่ เขมขน เพือ่ สรางความเชือ่ มัน่ ใหกบั ลูกคา ยิง่ เราออกฉลากของเราเอง เราเนน ทีท่ กุ อยางตองสูงกวามาตรฐานเดิม เพือ่ สรางความเชือ่ มัน่ ใหกบั ผูบ ริโภค และ ขณะเดียวกันก็สรางความเชื่อมั่นใหกับบริษัทของเราเองอีกดวย” เมื่อปลาจะกินดาว 10 162


หลักเกณฑที่ใชกําหนดมาตรฐานของ SCG Eco Value แบงออกไดเปน 3 ประเภทคือ 1) ผลิตภัณฑที่มีการออกแบบ หรือที่มีกระบวนการผลิตที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม (ECO Process) นั่นคือ การออกแบบที่สามารถแยก ประกอบใหมได ใชทรัพยากรลดลง ใชน้ําลดลง ลดของเสีย และ สามารถนําพลังงานกลับมาใชใหมได 2) ผลิตภัณฑทส่ี ง ผลกระทบตอสิง่ แวดลอมนอย หรือไมสง ผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมเลย (Eco Use) เนนสินคาที่มีอายุการใชงานที่นานขึ้น ใชพลังงานลดลง สามารถนํากลับมาใชซ้ํา ดีตอสุขภาพอนามัย และมีความสามารถในการยอยสลายไดงาย 3) ผลิตภัณฑที่สามารถนํากลับมาเวียนใชใหมได หลังจากสิ้นอายุ ผลิตภัณฑ หรือมีสวนประกอบของวัสดุที่เวียนกลับมาใชใหมได (Recycle) ผลิตภัณฑกระดาษ Idea Green เปนหนึ่งผลิตภัณฑของบริษัทในเครือที่ ไดรับฉลาก SCG Eco Value โดยมีแนวคิดในการผลิตกระดาษที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม นั่นก็คือการลดการใชวัตถุดิบที่มาจากธรรมชาติ และเพิ่มการใช กระดาษรีไซเคิล โดยเนนคุณภาพของสินคาเปนระดับพรีเมี่ยม อาทิตยา บอกวาโจทยที่ยากที่สุดคือ จะทําอยางไรที่จะทําใหสินคาที่ไม ไดทําจากวัตถุดิบจากธรรมชาติ 100% ใหมีคุณภาพสูงเทียบเทาจากสินคา ที่วัตถุดิบมาจากธรรมชาติลวน หลักการผลิตกระดาษ Idea Green คือ 30% ของวัตถุดิบมาจากการใชเยื่อกระดาษที่ผานการใชงานมาแลว หรือที่รูจักกัน ดีวา eco ber และอีก 70% มาจากเยื่อไมยูคาลิปตัส กระดาษ Idea Green สวนใหญมักจะไปใชเปนกระดาษถายเอกสาร ซึ่ง ที่ผานมาผูบริโภคมักคุนเคยกับกระดาษถายเอกสารแบบเกา ที่มักจะทําจาก เสนใยตนยูคาลิปตัส 100% ดังนั้นจึงจําเปนตองสรางความเชื่อมั่นใหกับผู บริโภควา สินคาที่ทํามาจากวัสดุรีไซเคิลมีคุณภาพไมแตกตางจากสินคา พรีเมี่ยมทั่วไป นั่นก็คือ ไมมีปญหาเรื่องกระดาษติดเครื่องถายเอกสาร และคง ความเปนมาตรฐานความขาวนวลของกระดาษ เปนตน นั่นก็หมายความวา เมื่อปลาจะกินดาว 10 163


ทางบริษัทเอง ตองมีการลงทุนในดานการพัฒนาและวิจัยเพื่อใหไดสินคาที่มี คุณภาพ ภายใตแนวคิดที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ขอมูลของ SCG ระบุวา จากการลดการใชเยื่อไมจากธรรมชาติ พบ วา ในการผลิตกระดาษ Idea Green 1 ตัน พบวาสามารถลดการปลอยกาซ คารบอนไดออกไซดได 1.10 ตันคารบอน ลดการตัดตนไมได 21 ตน และลด พลังงานที่ใชในการขับรถยนตกวา 900 กิโลเมตร กระดาษ Idea Green เริ่มผลิตมาตั้งแตป 2551โดยกําลังการผลิตประมาณ 260 ตันตอวัน หรือความยาวกระดาษประมาณ 75 กิโลเมตร หรือถาจะพูดกัน ใหเห็นภาพชัดเจน นั่นก็คือระยะทางจากกรุงเทพฯถึงนครปฐมนั่นเอง รเมศ สโมสร วิศวกรสวนผลิตกระดาษ บริษัท ผลิตภัณฑกระดาษ ไทย จํากัด ซึ่งเปนบริษัทในเครือของ SCG ผูผลิตกระดาษ Idea Green เลาวา การผลิตกระดาษโดยทั่วไปเปนอุตสาหกรรมที่ใชน้ําเปนจํานวนมาก ดังนั้นในกระบวนการผลิตจึงตองมีการบําบัดน้ําเพื่อนําน้ํามาใชในกิจกรรม อื่นๆ ของโรงงาน นอกจากนี้ทางโรงงานยังผลิตกระดาษประเภทอื่นๆ เชน กระดาษหอผลิตภัณฑ กระดาษแข็งบรรจุหีบหอไมตองการความขาวนวลของ เนื้อกระดาษ ซึ่งสามารถที่นําน้ําจากการผลิตกระดาษ Idea Green มาใชใน กระบวนการผลิตของกระดาษประเภทดังกลาวได “เราสามารถกลาวไดวา โรงงานของเราเปนโรงงานที่ไมมีการปลอยน้ํา เสียออกภายนอกตัวโรงงาน จึงไมมีปญหาเรื่องกาเกิดมลพิษของแหลงน้ํา” รเมศ อธิบายเพิม่ เติมวา กระบวนการผลิตกระดาษทีใ่ ชพลังงานมากทีส่ ดุ คือ ขั้นตอนการทํากระดาษใหแหง ซึ่งปริมาณการใชพลังงานกวา 50% เกิด จากขั้นตอนนี้ ทางโรงงานจึงตองสรางโรงงานผลิตไฟฟาขนาดเล็กมาเสริม กระบวนการผลิตกระดาษ ซึ่งวัตถุดิบในการผลิตไฟฟาก็คือ เปลือกไมตน ยูคาลิปตัสที่เหลือจากการผลิตนั่นเอง นอกจากกระบวนการผลิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม การใชสารเคมีใน การผลิต ก็เลือกใชสารเคมีที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ตามมาตรฐานที่กําหนด โอบบุญ แยมศิรกิ ลุ ผูจ ดั การงานสือ่ สารการตลาด บริษทั เอสซีจี เปเปอร จํากัด (มหาชน) มองวาสิ่งที่สําคัญในการผลิตสินคาที่เปนมิตรตอ เมื่อปลาจะกินดาว 10 164


สิ่งแวดลอม ก็คือจะตองใหผูบริโภคไมรูสึกวา เมื่อใชสินคาที่เปนมิตรกับสิ่ง แวดลอมแลว คุณภาพของสินคานั้นดอยลง ความเคยชิน หรือความคุนเคย ของการใชสินคาหรือผลผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมไมไดทําใหชีวิต เขาเปลี่ยน “ลองยกตัวอยางงายๆ เชน กระดาษถายเอกสาร ถาเราเนนจุดขายวา สินคาเราเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม แตการใชงานมีปญหา เชน กระดาษติด เครือ่ งถายเอกสารบอยครัง้ ความนวลขาวของกระดาษไมเปนไปตามมาตรฐาน สินคาเราก็ขายไมได ลูกคาก็ไปเลือกสินคาที่สะดวกตอการใชงานมากกวา ถึง แมวาสินคาชิ้นนั้นจะไมมีการชูจุดขายวาเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเลยตาม” สําหรับตลาดของกระดาษที่ใชในการถายเอกสาร มีมูลคากวา 6,300 ลาน บาทตอป และ Idea Green มีสวนแบงการตลาดมากกวา 10% ในขณะที่ อัตราการใชกระดาษของคนไทยคาเฉลี่ยอยูที่ 56 กิโลกรัมตอคนตอป ในแงการรับรูของผูบริโภคนั้น โอบบุญ อธิบายวา มีการทําวิจัยในการรับรู ของฉลาก SCG Eco Value ตอผูบริโภค พบวา ผูบริโภคมีความเขาใจและการ รับรูที่ถูกตองวา ฉลาก SCG Eco Value เปนฉลากที่เนนสินคาที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม เนื่องจากคําวา Eco อาจแปลความไดวา สินคาราคาประหยัด (Economy) หรือสินคาที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอม (ecology) ก็ได Idea Green นอกจากจะเปนกระดาษชนิดแรกของประเทศที่ไดฉลากเขียว ของสถาบันสิ่งแวดลอมไทยแลว ยังเปนหนึ่งใน 87 ผลิตภัณฑในเครือ SCG ที่ ไดรับฉลาก SCG Eco Value อีกดวย

ภาครัฐผูบริโภครายใหญของฉลากเขียว หลังจากกอนหนานี้ ฉลากเพื่อสิ่งแวดลอมหลากหลายประเภทตางไดเริ่ม ทยอยเปดตัวกันออกมา เพื่อใหเปนทางเลือกแกผูที่รักสิ่งแวดลอม ภาครัฐนํา โดยกรมควบคุมมลพิษก็เริ่มขยับ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2551 ใหหนวยงาน ภาครัฐระดับกรม หรือเทียบเทาในแตละกระทรวง ดําเนินการจัดซื้อจัดจาง สินคาและบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยมีเปาหมายการดําเนินงาน อยูที่รอยละ 25, 50, 75 และ 100 ของจํานวนหนวยงานภาครัฐทั้งหมดใน เมื่อปลาจะกินดาว 10 165


ป 2551-2554 และปริมาณการจัดซื้อจัดจางสินคาและบริการที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม ตองไมนอยกวารอยละ 25, 30, 45, และ 60 ของสินคาและ บริการในแตละประเภท ตามลําดับ วรศาสน อภัยพงษ รองอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ ผูที่มีหนาที่ดูแล โดยตรงเกีย่ วกับโครงการ จัดซือ้ จัดจางสินคาและบริการทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม กลาววา ในชวงแรกก็มีปญหาอยูบาง เนื่องจากเปนของใหม ทางภาครัฐเอง ยังไมเคยทํามากอนก็ตองมานั่งรางคูมือการจัดซื้อจัดจางสินคาและบริการที่ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม หรือเปนที่เรียกติดปากกันวา คูมือจัดซื้อจัดจางสีเขียว ซึ่งเขาใจงาย เรียกงาย รูไดทันทีวามีแนวคิดเปนอยางไร “แตไมใชวา มันจะไมมีปญหา เนื่องจากไมไดมีทุกบริษัทที่มีสินคาฉลาก เขียว เราจึงตองมีการอนุโลมกันวา ใหบริษัทไปทําหนังสือรับรองวาผลิตภัณฑ ที่ผลิตนั้นไมมีสารเคมีตองหามมาใชในการผลิต ยกตัวอยาง เชน ตลับหมึก สําหรับเครื่องถายเอกสาร บริษัทที่ไมไดรับฉลากเขียว ตองทําหนังสือรับรอง ผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมาใหเราดูวาผงหมึกของบริษัทไมมีการใช สารประกอบของพวก ปรอท ตะกั่ว โครเมียม และแคดเมียม และไมใชสาร เคมีที่เปนอันตรายตอสุขภาพ และสารกอมะเร็ง เปนตน” “เราอยากใหทุกคนตระหนักวาสินคาและบริการทุกประเภทมีตนทุนทาง ดานสิ่งแวดลอม ไมวาการใชนํา พลังงาน หรือวัสดุจากธรรมชาติ มาเปนตน ทุนในการผลิต เมื่อสินคากลายเปนของเสียก็กลายเปนขยะ และอีกเชน เดียวกันมีตนทุนในการกําจัดขยะ การใชผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม สามารถตอบโจทยการดูแลรักษาสิ่งแวดลอมไดสวนหนึ่ง แมวาจะไดไมเต็ม รอย แตถาทุกคนรวมใจกันโอกาสที่จะสิ่งแวดลอมที่ดีกลับคืนมาก็เปนไปได” ถาถามวา ผลตอบรับจากโครงการจัดซื้อจัดจางของภาครัฐเปนอยางไร ก็ตองตอบวาเหนือเอาไวกวาที่คาด เพราะความตื่นตัวของภาครัฐเอง สวน ผูผลิตก็ตองทํางานหนักมากขึ้น เพื่อพยายามผลักดันตัวเองใหเขามาตรฐาน ตามที่กําหนดเอาไว เพราะมูลคาผลตอบแทนในการจัดซื้อจัดจางของภาครัฐ ที่มีมากกวา 15% ของ GDP ถือวาเปนแรงดึงดูดใจไมนอยเลย สําหรับภาค ผูผลิต เมื่อปลาจะกินดาว 10 166


“เดิมเราตั้งเปาเอาไววาในป 2553 การจัดซื้อจัดจางสีเขียวตองได 75% แตปรากฏวาเราทําไดมากกวาเปาหมายที่วางไว 1% ถึงแมจะเกินไปไมมาก แตก็เปนตัวชี้วัดที่ดีวาภาครัฐมีการปรับตัวในแนวโนมที่ดี” สวนสินคาและบริการแบบใดบางทีอ่ ยูใ นบัญชีรายชือ่ การจัดซือ้ จัดจาง สินคาและบริการทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอมนัน้ ทางกรมควบคุมมลพิษไดจดั ทํารายการสินคาและบริการในบัญชีจัดซื้อจัดจางสีเขียว รวมทั้งหมด 17 ประเภทดังนี้ 1) กระดาษคอมพิวเตอร กระดาษสีทําปก 2) กระดาษชําระ 3) กลองใส เอกสาร4) เครื่องถายเอกสาร 5) เครื่องพิมพ 6) เครื่องเรือนเหล็ก 7) ซองบรรจุ ภัณฑ 8) ตลับหมึก 9 ) แบตเตอรี่ปฐมภูมิ10) ปากกาไวทบอรด11) ผลิตภัณฑ ลบคําผิด12) แฟมเอกสาร 13) สีทาอาคาร14) หลอดฟลูออเรสเซนต15) บริการ ทําความสะอาด 16) บริการโรงแรม 17) บริการเชาเครื่องถายเอกสาร ในหนั ง สื อ คู มื อ การจั ด ซื้ อ จั ด จ า งสิ น ค า และบริ ก ารที่ เป น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดลอม (ฉบับปรับปรุง) ที่จัดทําขึ้นโดยกรมควบคมมลพิษ ไดใหรายละ เอียดและกฏเกณฑที่นาสนใจในการเลือกซื้อสินคาและบริการใหถูกตองตาม หลักเกณฑที่กําหนด เชน เกณฑขอกําหนดสําหรับกระดาษคอมพิวเตอร และ กระดาษสีทําปกที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยมีการกําหนดเอาไวอยางชัดเจนวา ผลิตภัณฑตองทําจากเยื่อเวียน ทําใหมไมนอยกวารอยละ 30 สวนสีที่เปนสวนประกอบของผลิตภัณฑนั้นจะ ตองไมมีโละหะหนักจําพวก ตะกั่ว ปรอท แคทเมียม โครเมียมเฮ็กซาวาเลน ท เปนสวนประกอบ หรือเปนไปตามกฏเกณฑของสํานักงานคณะกรรมการ อาหารและยาของไทย กระดาษถูกบรรจุลงไปเปน 1 ใน 17 สินคาและบริการสีเขียวของกรม ควบคุมมลพิษ เนื่องจากกระบวนการผลิตกระดาษ 1 ตัน ตองใชตนไม 17 ตน น้ํา 20 ลูกบาศกเมตร น้ํามัน 300 ลิตร กระแสไฟฟา 1,000 กิโลวัตตชั่วโมง (Econews, 2541) และมีการปลอยมลพิษออกมาเปนจํานวนมาก โดย เฉพาะมลพิษทางน้ํา กระบวนการผลิตในขั้นตอนตางๆ จะกอใหเกิดอันตราย ตอสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูในแหลงน้ํานั้น จากการเปลี่ยนแปลงของคากรดดางใน เมื่อปลาจะกินดาว 10 167


น้ํา และคาออกซิเจนในน้ําที่ลดลง นอกจากนี้ยังมีสารพิษไดออกซิน ซึ่งเปนสารพิษเหลือคางในอากาศและ น้ําจากการใชกาซคลอรีนสําหรับฟอกเยื่อ และกาซซัลเฟอรไดออกไซดจาก การผลิตเยื่ออีกดวย อีกทั้งยังกอใหเกิดขยะมูลฝอย ซึ่งคิดเปนรอยละ 8.19 ของน้ําหนักขยะมูลฝอยทั้งหมด (รายงานสถานการณมลพิษของประเทศไทย, 2547) ดังนั้น เพื่อเปนการลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมดังกลาว จึงตองมีการ หมุนเวียนกระดาษเพื่อนํากลับมาใชใหม การปรับตัวของภาครัฐที่ใหความสําคัญกับการใชสินคาที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม ถือเปนการปรับตัวครั้งสําคัญของประเทศในการใหความสําคัญ กับสิ่งแวดลอม เพราะทราบกันดีวา ภาครัฐเปนภาคสวนของสังคมที่มีการ ปรับตัวไดชาที่สุด เมื่อเทียบกับภาคประชาชน และภาคผูผลิต แตเมื่อมีการ ปรับตัว ยอมหมายถึงวา ประเทศไทยเราเริ่มสงสัญญาณวาจะเคลื่อนที่ไปใน ทิศทางใด รองอธิบดีวรศาสน มองวา ในรางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ ฉบับที่ 11 ไดใหความสําคัญกับสังคมสีเขียว หรือที่นิยมพูดกันวา เปน สังคมคารบอนต่ํา ซึ่งเนนในการลงทุนที่กอใหเกิดมลพิษสูสิ่งแวดลอมให นอยที่สุด ซึ่งหมายความวาทุกภาคสวนในสังคมจะตองรวมมือกัน และปรับ เปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อกอใหเกิดลกระทบทางสิ่งแวดลอมใหนอยที่สุด ภาคพลังงาน ถือวาเปนสวนที่มีการปลดปลอยกาซเรือนกระจกมากที่สุด คิดเปนรอยละ 56.10 รองลงมาคือภาคเกษตรกรรม คิดเปนรอยละ 24.10 และ ภาคอุตสาหกรรม คิดเปนรอยละ 5.40 และในสวนของขยะที่กรมควบคุม มลพิษมีหนาที่จัดการดูแลโดยตรงนั้น มีการปลดปลอยกาซเรือนกระจกรอย ละ 7.8 ดังนั้นภาครัฐตองออกมาตอบโจทยใหไดวา การจะเปนสังคมคารบอน ต่ํา จะตองทําอยางไร และแนนอนเมื่อดูปญหาที่ตนเหตุ ภาคขนสงมีการ ปลดปลอยกาซเรื่อนกระจกมากที่สุด ดังนั้นอาจจะตองมีการลงทุนในการ บริหารจัดการระบบการขนสงมวลชนขนาดใหญ เชนการลงทุนในระบบ รถไฟฟา หรือระบบรถไฟรางคู เปนตน เมื่อปลาจะกินดาว 10 168


“ถาเปรียบเทียบกับประเทศที่ทําเรื่องคารบอนต่ํา ยังถือวาเรายังหางไกล เขาอีกเยอะ แตก็นับวาตอนนี้เปนจุดเริ่มตนที่ดี เพราะกระแสเรื่องภาวะโลก รอนมาแรงมาก เราตองเริ่มจากการใหความรูกับเยาวชน ซึ่งจะเปนผูบริโภค ยุคใหม ที่จะใหความสําคัญกับสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม มากกวาดาน ราคาหรือคุณภาพ” เขายังมองอีกวา ในอนาคตกลุมธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก หรือเอส เอ็มอีจะตองมีการปรับตัวเปนอยางมากในการใชเทคโนโลยีที่เปนมิตรกับสิ่ง แวดลอม ไมใชการพึ่งพาเทคโนโลยีจากตางประเทศ แตหมายถึงการประดิษฐ คิดคน การวิจัย และพัฒนาโดยคนไทย เพื่อลดตนทุน และที่สําคัญจะตองมี มาตรฐานใหเปนที่ยอมรับตามมาตรฐานสากล ในอนาคตอาจจะตองมีกองทุนสําหรับธุรกิจเอสเอ็มอีเพื่อพัฒนาระบบ เทคโนโลยีที่สะอาด เพื่อทําใหสินคาของกลุมธุรกิจเอสเอ็มอีเปนสินคาประเภท อีโค โพรดักสใหมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะเปนขอไดเปรียบของผูผลิต และเปนอีกทาง เลื อ กที่ สํ า คั ญ ของผู บ ริ โภคในยุ ค ที่ ก ระแสสิ นค า ที่ เป น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล อ ม มาแรง

เมื่อปลาจะกินดาว 10 169


ประเภทฉลากเพื่อสิ่งแวดลอม ฉลากสิง่ แวดลอมนับเปนกลยุทธอยางหนึง่ ในเชิงการตลาด เพือ่ สราง แรงจูงใจใหกบั ประชาชนไดตระหนักถึงความสําคัญของสิง่ แวดลอม และ เปนการเสริมสรางภาพลักษณของบริษทั โดยสรางความรูส กึ วาผลิตภัณฑ ทีน่ าํ ไปใช เปนเครือ่ งมือ หรืออุปกรณสาํ คัญในการปกปองสิง่ แวดลอม ซึง่ เนนการมีสว นรวมของผูบ ริโภค และผูผ ลิตอยางสมัครใจ ผลิตภัณฑทส่ี ามารถติดฉลากสิง่ แวดลอมตองผานกระบวนการประเมิน จากหนวยงานทีใ่ หการรับรองในประเทศไทยตองผานการประเมินจากสํานัก งานมาตรฐานอุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรมวาผลิตภัณฑ ดังกลาวสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมโดยรวมนอยกวา เมื่อเปรียบเทียบ กับผลิตภัณฑประเภทเดียวกัน และมีคุณภาพการใชงานอยูในมาตรฐาน เดียวกัน ซึ่งในที่นี้หมายถึงสินคา และบริการทั่วๆ ไป ยกเวน อาหาร ยา และเครื่องดื่ม เพราะเปนผลิตภัณฑที่เกี่ยวของดานสุขภาพ และ ความปลอดภัยมากกวาดานสิ่งแวดลอม ปจจุบันฉลากเพื่อสิ่งแวดลอม จัดอยูในมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดลอม ISO 14001 จําแนกไดเปน 3 ประเภท ประกอบดวย ประเภทที่ 1 (Type I) เปนฉลากที่ดําเนินการโดยองคการอิสระ มอบใหผลิตภัณฑที่มีคุณสมบัติตรงตามขอกําหนดขององคกรนั้นๆ โดย อยูในอนุกรมมาตรฐาน ISO 14020 ซึ่งเปนหลักการขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับ การพัฒนา การใชฉลากสิ่งแวดลอม และ ISO 14024 เปนแนวทางหลัก ขอกําหนดของวิธีการรับรองผลิตภัณฑที่ใชฉลากผลิตภัณฑประเภทที่ 1 ฉลากสิ่งแวดลอมประเภทที่ 1 ของประเทศไทยคือ ฉลากเขียว ใหการรับรองโดยสถาบันสิ่งแวดลอมไทย โดยในปจจุบันมีผลิตภัณฑที่ไดรับฉลากเขียวจํานวน 303 รุน จาก 22 กลุมผลิตภัณฑและ 57 ผูผลิต (ขอมูล ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2553) ประเภทที่ 2 (Type 2) เปนฉลากผลิตภัณฑที่ผูผลิตเปนผูออก ฉลากเอง เพื่อความมุงหมายเฉพาะดาน โดยอยูในอนุกรมมาตรฐาน เมื่อปลาจะกินดาว 10 170


ISO 14021 ซึ่งเปนขอกําหนดเกี่ยวกับนิยาม และคําศัพทเกี่ยวกับการใช ฉลากผลิตภัณฑประเภทที่ 2 ฉลากสิ่งแวดลอมประเภทที่ 2 ของประเทศไทย คือ ฉลาก SCG Eco Value จัดทําโดยบริษทั ปูนซิเมนต ไทย จํากัด (มหาชน) โดยปจจุบนั มีสนิ คาในเครือบริษทั ฯ ไดรับรองฉลากสิ่งแวดลอมจํานวน 87 ผลิตภัณฑ ประเภทที่ 3 (Type 3) เปนฉลากที่บอกรายละเอียดเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑในการใชทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน ปริมาณมลพิษที่เกิด ขึ้น ซึ่งมีลักษณะคลายกับฉลากโภชนาการของอาหาร เปนสวนหนึ่ง ของอนุกรมมาตรฐาน ISO/TR 14025 เปนแนวทาง หลักการและขอ กําหนดของวิธีการรับรองผลิตภัณฑที่ใชฉลากสิ่งแวดลอมประเภทที่ 3 ฉลากสิ่งแวดลอมในประเภทที่ 3 ของไทย คือ ฉลากคารบอน ฟุตพริ้นตใหการรับรองโดย องคการ บริหารจักดารกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) โดยในปจจุบันมีผลิตภัณฑที่ไดฉลากคารบอน ฟุต พริ้นต จํานวน 25 ผลิตภัณฑ (ขอมูล ณ วันที่ 11 มิถุนายน 2553) นอกจากนีย้ งั มีฉลากสิง่ แวดลอมประเภทอืน่ ๆ ซึง่ อยูน อกเหนือฉลาก ในระบบมาตรฐาน การจัดการสิ่งแวดลอมดังกลาวขางตน โดยมีวัตถุ ประสงคเพื่อแสดงเจตนาเฉพาะอยาง เพื่อสื่อหรือจูงใจใหผูบริโภคเห็น ความสําคัญของการเลือกใชผลิตภัณฑดังกลาว ฉลากสิง่ แวดลอมประเภทอืน่ ๆ ของประเทศไทยไดแก 1. ฉลาก Green Leaf ของมูลนิธิใบไมเขียว โดยให ก ารรั บ รองบริ ก ารที่ เป น มิ ต รกั บ สิ่งแวดลอมในดานการจัดการสิ่งแวดลอม ในโรงแรมโดยในป จ จุ บั น มี โรงแรมที่ ได รับฉลาก Green leaf จํานวน 405 แหง

เมื่อปลาจะกินดาว 10 171


2. ฉลาก Carbon Reduction ใหการรับรองโดย องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) และสถาบันสิ่งแวดลอม ไทย โดยมุงเนนเรื่องการ ลดปริมาณกาซ เรือนกระจกทีป่ ลอยสูส ง่ิ แวดลอมในกระบวน การผลิต โดยปจจุบนั มีผลิตภัณฑทไ่ี ดรบั ฉลาก carbon reduction จํานวน 56 ผลิตภัณฑ จาก 14 ผูผลิต 3. ฉลากประหยัดไฟเบอร 5 ดําเนินการโดย การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย เปนถึง การฉลากที่บงบอกถึงระดับการใชไฟฟา และขอมูลเบื้องตนของเครื่องใชไฟฟา เชน ประสิทธิภาพคาใชจายตอป โดยที่เบอร 5 หมายถึงประหยัดไฟมากที่สุด ISO 14001 คือ มาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดลอม (Environmental management System) ซึ่งเปนสวนหนึ่งของมาตรฐานการจัดการสิ่ง แวดลอม ISO 14000 ที่ใชเปนแนวทางใหองคกรหรือหนวยงานสามารถจัด ระบบการจัดการของตนเพื่อใหบรรลุนโยบายดานสิ่งแวดลอมที่กําหนดไว ดังนั้นระบบการจัดการสิ่งแวดลอมจึงเปนระบบที่มีโครงสรางหนาที่ ความ รับผิดชอบที่ชัดเจน มีวิธีการ กระบวนการและทรัพยากรอยางเพียงพอใน การดําเนินการ ภายใตหลักเกณฑ คือ การวางแผน (Planning) การนําแผน ไปปฏิบัติ (Doing) การตรวจสอบ (Checking) และการทบทวน (Action)

เมื่อปลาจะกินดาว 10 172


บรรณานุกรม คูมือการจัดซื้อจัดจางสินคาและบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (ฉบับปรับปรุง) เสวนาเรื่อง “ฉลากเพื่อสิ่งแวดลอม สูฐานเศรษฐกิจคารบอนต่ํา” จัดโดยชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพแหง ประเทศไทย, 2553 เอกสารประกอบการสัมมนา โครงการคารบอนฟุตพริ้นทใน อุตสาหกรรมการพิมพ จัดโดย ภาควิชาวิทยาศาสตรทางภาพถาย และเทคโนโลยีทางการพิมพ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2553 เอกสารประกอบการสัมมนา ฉลากคารบอน กระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เอกสารรวบรวมประเภทของฉลากเพื่อสิ่งแวดลอมของไทย รวบรวมโดย สถาบันสิ่งแวดลอมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย www.siamcement.com

เมื่อปลาจะกินดาว 10 173


นักขาวและพื้นที่ขาวสิ่งแวดลอม สวนทางแนวโนมวิกฤตสิ่งแวดลอม เกรียงไกร ภูระยา หนังสือพิมพไทยรัฐ

เมื่อปลาจะกินดาว 10 174


ในวงสนทนา–วิวาทะ ของนักขาวสิ่งแวดลอม ซึ่งสวนใหญมาจาก หนังสือพิมพ หลากหลายฉบับ ที่สงมาประจําการในหองนักขาวกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หรือที่เรียกกันในหมูนักขาววาเปนฐาน ปฏิบัติการ หรือฐานที่มั่น ที่เกิดขึ้นเปนประจําทุกวัน เนื่องจากในแตละวัน มีเรื่องราวของขาวสารเกิดขึ้นมากมาย โดยเฉพาะเรื่องขาวสิ่งแวดลอมตาม หนาที่รับผิดชอบ ซึ่งที่มาของขาวก็ทั้งจากตัวรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง ตลอด จนบรรดาอธิบดีกรมตางๆ รวมทั้ง “แหลงขาวผูไมประสงคจะเอยนาม – แตประสงคจะใหขาว” มากมายตามแตสายสัมพันธระหวางแหลงขาวกับนัก ขาวแตละราย เมื่อปลาจะกินดาว 10 175


ทีส่ าํ คัญขาวสําคัญไมนอ ยมาจากคนทํางานกับชุมชน เรียกวา องคกร พัฒนาพัฒนาเอกชนดานสิง่ แวดลอม หรือทีเ่ รียกวา เอ็นจีโอ หรือนักพัฒนา เอกชน ทีว่ า กันวามีบทบาทสําคัญในยุคที่ “ไทย” กําลังพัฒนาประเทศ ทามกลางกระแสรณรงคใหใสใจและใหความสําคัญกับปญหาสิง่ แวดลอม

แนนอนมุมมอง วิธีคิดของนักขาวแตละคนยอมไมเหมือนกัน แตจูๆ วันหนึ่งในวงสนทนา – วิวาทะ ก็มีนักขาวรายหนึ่งตั้งคําถามขึ้น มาวา “ชีวิตของนักขาวสิ่งแวดลอม ทํางานเหมือนตกอยูระหวางเขาควาย” พรอมกับขยายความวา เขาดานหนึ่ง คือ การพัฒนาหรือนโยบาย ขณะที่เขา อีกดาน คือ การตอตานการพัฒนาหรือทักทวงโครงการทีม่ ผี ลกระทบบทบาท ของนักขาวสิ่งแวดลอม บอยครั้งถูกกลาวหาและตั้งคําถาม ทั้งจากภาครัฐ และภาคอุตสาหกรรม การลงทุนตลอดจนนักธุรกิจ นักลงทุนวา “นักขาว สิ่งแวดลอม เปนพวกเดียวกับชาวบานและเอ็นจีโอ” คือ เห็นการพัฒนาไมได ตองนําเสนอขาวที่ตอตานไวกอน นอยครั้งที่จะเห็นดีงามกับการพัฒนาของรัฐ หรือภาคอุตสาหกรรม หรือพูดงายๆ ในสายตาหรือทัศนะของภาครัฐ ภาคอุตสาหกรรม นักธุรกิจ นักลงทุนนั้น นักขาวสิ่งแวดลอมคือ “ผูราย” ขณะที่ในสายของชาวบานหรือ เอ็นจีโอ บทบาทของนักขาวสิ่งแวดลอม กลับกลายเปน “พระเอก” เพื่อนหรือ คนกันเอง แมจะมีชาวบานบางบทเรียน บางกรณีมองวา นักขาวสิ่งแวดลอม บางทีก็ไมใช “พระเอก” เสียทีเดียว เปนผูรายก็มี ขณะที่พื้นที่ขาวของขาวสิ่ง แวดลอมในหนาหนังสือพิมพหรือในหนาสื่อก็มีนอยมาก แถมในระยะหลังๆ บริษทั ธุรกิจ นักลงทุน ก็ใชวธิ ซี อ้ื โฆษณาประชาสัมพันธ ผลดีของการลงทุนในหนาหนังสือพิมพ โดยเฉพาะหนาทีน่ าํ เสนอขาวสิง่ แวดลอม เสียเลย จะไดไมเหลือพื้นที่ขาวใหนําเสนอ มิพักตองกลาวถึงกลยุทธมากมาย ของนักธุรกิจ นักลงทุน ทีค่ าํ นึงถึงผลกําไรถายเดียว โดยไมไดคาํ นึงถึงผลกระทบ ตอทรัพยากรดิน - น้ํา - ปาและประเทศชาติ ประชาชนเลย คําถามในวงสนทนานั้น จึงไดเกิดการแลกเปลี่ยนทางความคิดวา นักขาว สิ่งแวดลอม นี่สรุปวามันเปนพระเอกหรือผูรายกันแน (วะ)

เมื่อปลาจะกินดาว 10 176


นักขาวสิ่งแวดลอมคือใคร? นี่ดูจะเปนคําถาม หรืออาจจะเปนขอกังขาของใครตอใครในการทําหนาที่ ของนักขาวสายสิ่งแวดลอมวา เหมือนหรือตางกับนักขาวสายตางๆ หรือไม อยางไร ไมวาจะเปนนักขาวสายอสังหาริมทรัพย นักขาวสายตลาดหลักทรัพย นักขาวการเมือง นักขาวขายตรง เปนตน “นั ก ข า วสิ่ ง แวดล อ มคื อ นั ก ข า วที่ ทํ า หน า ที่ เ สนอข า วด า นสิ่ ง แวดล อ ม เหมือนกับนักขาวสายอื่นๆ ที่มีหนาที่ในการสรางทําแตกตางกันไป แตบทบาท ของนักขาวสิ่งแวดลอม คอนขางจะแตกตางกับนักขาวสายอื่นคือตองสัมผัส กับชาวบาน ซึ่งสวนใหญเปนกลุมที่ไดรับผลกระทบจากการพัฒนาประเทศ คอนขางมาก ทั้งจากปญหาการจัดการน้ํา การสรางเขื่อน การทําลายปา การ บุกรุกครอบครองที่ดิน การทําลายแหลงน้ําและทรัพยากรธรรมชาติสําคัญๆ” ฐากูร บุนปาน บรรณาธิการบริหารหนังสือพิมพขาวสด กลาวและวา ที่สําคัญพลังของขาวสารดานสิ่งแวดลอมที่กอใหเกิดผลกระทบตอการ เปลี่ยนแปลงมีคอนขางมาก ยกตัวอยางงายๆ กรณีของนิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด จ.ระยอง หรือโครงการบอบําบัดน้ําเสียคลองดาน จ.สมุทรปราการ ที่กอปญหามลพิษใหกับประชาชน เมื่อถูกเปดโปงตรวจสอบถึงความไมชอบ มาพากล โครงการถึงกับตองหยุดชะงัก เพื่อทบทวนความเหมาะสม “ในป 2535 สมัยรัฐบาลอานันท ปนยารชุน สมัยที่ 2 หนังสือพิมพขา วสด ซึง่ ขณะนัน้ ยังเปนหนังสือพิมพฉบับเล็กๆ เคยนําเสนอขาวสิง่ แวดลอม ยาว มากประมาณ 1 เดือนหลังจากกองบรรณาธิการประชุมกันแลวคิดวาปญหาสิง่ แวดลอมทีจ่ ะนําเสนอไมนา จะจบภายใน 1–2 วัน นัน่ ก็คอื ขาวเกีย่ วกับโครงการ ตัดถนนผาอุทยานแหงชาติปางสีดา ทีม่ พี น้ื ทีค่ รอบคลุมทองทีอ่ าํ เภอตาพระยา อําเภอวัฒนานคร อําเภอเมือง จ.สระแกว และอําเภอนาดี จ.ปราจีนบุรี มี สภาพปาอุดมสมบูรณ ซึง่ การตัดถนนจะสงผลกระทบตอชางปาแนนอน เพราะ เปนเสนทางชางเดิน” “ขาวสดนําเสนอจนคุณอานันท ปนยารชุน นายกรัฐมนตรีและคุณนุกูล ประจวบเหมาะ รัฐมนตรีคมนาคม ตองลงไปดูพื้นที่กอนสั่งยุติโครงการ ขาว ชิ้นนี้ทําใหเรามั่นใจวาขาวสิ่งแวดลอมมีพลังและที่สําคัญไมเกี่ยววาขาวจะ เมื่อปลาจะกินดาว 10 177


ฐากูร บุนปาน บรรณาธิการบริหารหนังสือพิมพขาวสด

ผาสุข พงษไพจิตร อาจารยคณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ถูกนําเสนอผานหนังสือพิมพฉบับเล็กหรือใหญ แตถามีขอมูลถูกตองแมนยํา หนักแนน ขาวชิ้นนั้นๆ จะมีพลังมาก” บรรณาธิการบริหารขาวสด ระบุ ขณะที่รัฐกร อัสดรธีรยุทธ ประธานบริหารหนังสือพิมพดอกเบี้ย อดีตนักขาวประชาชาติรายวัน ในยุคหลังเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 เนชั่น และไทยรัฐ กลาววา ยอนกลับไปสัก 30 ป นักขาวสิ่งแวดลอมยัง ไมมีโครงสรางของนักขาวหลักๆ ในยุคแรกๆ จะมีแคนักขาวการเมืองที่ทํา ขาวทหาร ตํารวจ นักขาวตระเวน นักขาวอาชญากรรม ตอมาก็มีนักขาว ธุรกิจ ขาวสิ่งแวดลอม ยังไมมีใครใหความสนใจมากนักและยังไมสําคัญ สิ่ง แวดลอมไมใชปญหาใหญ อาจเพราะประเทศยังไมพัฒนาอยางเต็มรูปแบบ “โรงงานอุตสาหกรรมมีไมกี่แหง ใหญๆ ก็มีนิคมอุตสาหกรรมบางปูของ นายอุเทน เตชะไพบูลย เจาของธนาคารศรีนครสมัยนั้น ขณะที่โรงกลั่น น้ํามันก็มีแค 3 ทหารที่ตอมาคือ บริษัท ปตท. ปจจุบันเทานั้น” “แมแตกรณีทุงใหญนเรศวร ที่มีการนําเฮลิคอปเตอรทหารไปลาสัตวใน พื้นที่ปาสงวนจนสรางความไมพอใจกั้บนักศึกษาและประชาชนจํานวนมาก ถึงขนาดที่นิสิต นักศึกษากลุมอนุรักษ 4 สถาบัน ออกหนังสือบันทึกลับจาก ทุงใหญเปดโปงความไมชอบมาพากล จนเปนชนวนนํามาสูเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 ในสมัยนั้นยังไมถือวาเปนขาวสิ่งแวดลอม แตมองเปนเรื่อง การเมืองที่ทหารนําทรัพยสินราชการไปใชในประโยชนสวนตัว” “แมแตกรณีการที่ประชาชนออกมาตอตานการขุดแรของเรือเท็มโกที่ จ.ภูเก็ตจนถึงขั้นบุกขึ้นเผาเรือขุดแร จนทําใหตองยุติการขุดแรในทะเลหรือ เมื่อปลาจะกินดาว 10 178


การเผาโรงงานผลิตแทนทาลั่มของกลุมซิโน-ไทย ที่จังหวัดเดียวกัน เมื่อเดือน มิถุนายน ป 2529 จนกลายเปนตํานานการตอสูของประชาชนยังไมถือวาเปน ขาวสิ่งแวดลอมเลย แตเปนเรื่องที่ตางชาติเขามาแสวงหาผลประโยชนในแผน ดินไทย” รัฐกร กลาว เขามองวา เปนไปไดวาสภาพสังคมหลังเดือนตุลาคม 2519 ที่มีการ ลอมปราบนักศึกษาในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จนถึงยุคตนของรัฐบาล พล.อ.เปรม ติณสูลานนท ป 2523 ที่ถือวาเปนยุคการพัฒนาประเทศ จน มีคําวา “โชติชวงชัชวาลย” แมจะมีปจจัยหลายประการทําใหสื่อสาร มวลชนมีความสําคัญขึ้น แตขาวของประเทศไทยยังอยูในวงเวียนของการ รัฐประหาร วิกฤตการณทางการเมือง วิกฤตเศรษฐกิจ ขณะที่ขาวสิ่งแวดลอม ยังไมไดรับความสําคัญเหมือนเดิมและเปนขาว เล็กๆ ซุกอยูในขาวการเมืองหรือขาวสังคมเทานั้น ผาสุข พงษไพจิตร อาจารยคณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กลาววา บทบาทของนักขาวสิง่ แวดลอม นาจะเริม่ ตนในยุคทีก่ ารเมืองมีความ ผอนคลายลง ประกอบกับการเกิดขึ้นขององคการพัฒนาเอกชนที่ไดรับการ จัดตั้งขึ้นหลายแหง หลังการพายแพของพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทย มีนักเคลื่อนไหวดานสิ่งแวดลอมเกิดขึ้น ที่ชัดเจนที่สุดคือการตอตานโครงการ กอสรางเขือ่ นน้าํ โจน จ.กาญจนบุรี ทีจ่ ะสงผลกระทบน้าํ ทวมในพืน้ ทีป่ ระมาณ 223 ตารางกิโลเมตร ในเขตทุงใหญนเรศวร ซึ่งเปนเขตสงวนพันธุสัตวปาและ เปนปาสมบูรณที่ใหญที่สุดแหงหนึ่งในแผนดินใหญของเอเชียตะวันออกเฉียง ใต รวมทั้งผลกระทบตอสัตวปา การลักลอบตัดไมที่เพิ่มขึ้น “มี ก ารนํ า เสนอข า วต อ ต า นการสร า งเขื่ อ นน้ํ า โจนจนไปสู ค วามสนใจ ระดับนานาชาติ จนรัฐบาลเลื่อนโครงการ และตอมารื้อฟนโครงการใหมขึ้นใน ป 2529 แตไดรับการตอตานอยางกวางขวางมากที่สุดจนเดือนมีนาคม 2531 รัฐบาลตัดสินใจยกเลิกโครงการ” ผาสุข ระบุ กรณีน้ําโจนทําใหสังคมสนใจปญหาสิ่งแวดลอมมากขึ้น แตการมีนักขาว สิ่งแวดลอมเปนการเฉพาะของสื่อสารมวลชนหรือหนังสือพิมพ อาจารยผาสุก คิดวา นาจะยังไมเปนกิจลักษณะมากนัก เพราะนักขาวที่ทํางานสิ่งแวดลอม เมื่อปลาจะกินดาว 10 179


ชวรงค ลิมปปทมปาณี หัวหนาศูนยขอมูล หนังสือพิมพไทยรัฐ และผูอํานวยการบริหาร สถาบันอิศรา

ยังเปนนักขาวจากสายการเมืองหรือไมก็สายสังคมหรือสายคุณภาพชีวิต ทั่วๆ ไป อาจกลาวไดวาไมมีนักขาวสิ่งแวดลอม เปนการเฉพาะที่เจาะขาวเรื่อง ปญหาสิ่งแวดลอมเพียวๆ ขณะที่สถานการณสิ่งแวดลอมยังคงเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง มีการประทวง คัดคานโครงการปลูกปาใหม การลักลอบตัดไมในหลายจังหวัดไปจนถึงการ เรียกรองใหมีการยกเลิกสัมปทานปาไมในภาคเหนือ ขณะที่นักเคลื่อนไหว ดานสิ่งแวดลอมรวมกับชาวบาน พระสงฆ ออกมาปกปองปาไมดวยวิธีการ บวชตนไม การหอตนไมดวยจีวรในหลายพื้นที่ จนถึงเหตุการณที่สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม 2 เหตุการณสําคัญ ซึ่งดู เหมือนจะเปนที่มาของนักขาวสิ่งแวดลอม นั่นก็คือ การเสียชีวิตของชาวบาน กวา 300 คน ที่อําเภอกระทูน จ.นครศรีธรรมราช เพราะมีการลักลอบตัดไม ในเขตปาตนน้ําในชวงปลายป 2531 กับการเสียชีวิตของสืบ นาคะเสถียร เจา หนาที่ปาไมที่ฆาตัวตายประทวงที่ไมสามารถปองกันการลักลอบตัดไมและ ตานทานอิทธิพลของพอคาได เมื่อเดือนกันยายน 2533 ถือไดวาเปนขาวที่ทุก คนใหความสําคัญและทําใหวงการสิ่งแวดลอมตื่นตัวเปนอยางยิ่ง จ า ก นั้ น เป นต น ม า ก ร ะ แ ส ก า ร มี ก า ร ตื่ นตั ว เรื่ อ ง ก า ร อ นุ รั ก ษ ทรัพยากรธรรมชาติ และไดขยายวงกวางขวางออกไปมากขึ้น โดยเฉพาะการ ตายของสืบ นาคะเสถียร ที่ใชชีวิตเปนเดิมพันเพื่อเรียกรองใหสังคมไทยหันมา เมื่อปลาจะกินดาว 10 180


สนใจการอนุรักษธรรมชาติ ไดปลุกกระแสการอนุรักษ และไดรับการขานรับ จนถึงปจจุบันนี้ ก็เปนเวลาครบ 20 ปพอดี การจากไปของสืบ ยังไดกอใหเกิดมูลนิธิสืบ นาะเสถียร ที่ไดทํางานดาน การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติอยางเขมขนจนถึงทุกวันนี้เชนกัน รวมทั้งการ เกิดขึ้นของนักขาวสิ่งแวดลอมเปนการเฉพาะอีกดวย ชวรงค ลิมปปทมปาณี หัวหนาศูนยขอมูลหนังสือพิมพไทยรัฐ และ ผูอํานวยการบริหาร สถาบันอิศรา ถึงกับกลาววา “หลังจากการเสีย ชีวิตของคุณสืบ ถือเปนยุคทองของขาวสิ่งแวดลอม เนื่องจากประชาชนและ สังคมตื่นตัวเรื่องปญหาสิ่งแวดลอมมาก ขณะเดียวกันก็มีนักขาวสิ่งแวดลอม ทีท่ าํ งานดานสิง่ แวดลอมเกิดขึน้ ดวย แมจะยังไมเปนกิจลักษณะเหมือนปจจุบนั ” ชวรงค มองวา การเกิดขึ้นของนักขาวสิ่งแวดลอมในยุคนั้นที่ยังไมชัดเจน อาจเปนเพราะโครงสรางของรัฐบาลทีส่ มัยนัน้ มีไมกก่ี ระทรวง และเรือ่ งสิง่ แวดลอม ไปหอยหรือเปนแคสวนหนึ่งอยูในกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และ สิ่งแวดลอม ตางจากปจจุบันที่มีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่ทํางานเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมเปนการเฉพาะหลังการปฎิรูประบบราชการสมัย รัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เมื่อป 2545

ทุงใหญนเรศวรถึงมาบตาพุดและยุคทองขาวสิ่งแวดลอม? แมเมื่อไมนานมานี้จะยังไมมีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ แตยุคทอง ของขาวสิ่งแวดลอมที่ ชวรงคเอยถึงอาจจะนับจากชวงปลายป 2533 หลังสืบ นาคะเสถียร เสียชีวิต ก็ไดเกิดปรากฎการณขาวสิ่งแวดลอมที่สงผลกระทบ ตอประเทศชาติและประชาชาชนจํานวนไมนอย ในป 2534 หลังการรัฐประหารของคณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ (รสช.) ขาวของหลวงพอประจักษ ธัมมปทีโป พระนักอนุรกั ษแหงปาดงใหญ อําเภอปะคํา จ.บุรรี มั ย ดังเปนขาวพาดหัวตามหนาหนังสือพิมพไมเวนแตละ วัน ในฐานะพระตัวแสบสําหรับราชการ และนายทุนทีต่ อ งการทําลายปา ขณะที่ในสายตาของชาวบานแลว พระประจักษคือพระนักอนุรักษผูไม ยอมกมหัวใหกับการทําลายปาดงใหญอยางเด็ดเดี่ยว จนถูกอํานาจรัฐคุกคาม ชีวติ ถูกบีบใหสกึ ขณะทีช่ าวบานทีร่ ว มกันสูก บั หลวงพอประจักษถูกเจาหนาที่ เมื่อปลาจะกินดาว 10 181


รัฐ ทั้งทหารในเครื่องแบบ ตํารวจ ทําราย บังคับใหชาวบานและหลวงพอออก จากพื้นที่ โดยอางวาปาแหงนี้เปนปาเสื่อมโทรม สุดทายพระนักอนุรักษผูนี้ถูกทางการแจงขอหาบุกรุกปาสงวนฯ และคดี อื่นๆ อีก 7 คดี และในวันที่ 7 เมษายน 2534 ทานถูกจับและถูกกสงเขาเรือน จําในเวลาตอมา ตอมา ป 2535 การเคลื่อนไหวครั้งใหญของชาวบานปากมูน ที่ตอสูกับ รัฐบาลและการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) โดยนําเสนอขอมูล ขาวสารผานสื่อสารมวลชนแขนงตางๆ “คําวานักขาวสิง่ แวดลอมนาจะเกิดขึน้ ชัดเจนในชวงนัน้ หนังสือพิมพอยาง ผูจ ดั การรายวัน เนชัน่ บางกอกโพสต กรุงเทพธุรกิจ ถือเปนหนังสือพิมพทม่ี ี นักขาวสิง่ แวดลอมคอนขางชัด รวมทัง้ มีพน้ื ทีใ่ นหนาหนังสือพิมพ ขณะทีไ่ ทยรัฐ ขาวสด มติชน ยังไมชดั เจน แตมนี กั ขาวคุณภาพสังคม หรือนักขาวสายสังคมไป ทําขาว” ชวรงค ระบุ นอกจากนั้นยังมีปญหาสิ่งแวดลอมเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง ไมวาจะเปน กรณีผลกระทบจากสารเคมีระเบิดทาเรือคลองเตย เมื่อป 2534 ตอเนื่องมา ถึงป 2537 ผูปวยกวา 500 ราย เต็มไปดวยอาการที่หนักแทบทั้งสิ้น เหมือน ซากศพที่เดินได แตก็ไมไดรับคาตอบแทนใดๆ จากการทาเรือฯ และรัฐบาลใน ทุกกรณี ป 2534 เกิดกรณีผลกระทบจากโรงงานผลิตไฟฟาจากลิกไนตขึ้นที่อําเภอ เมื่อปลาจะกินดาว 10 182


แมเมาะ จ.ลําปาง จากสารที่เรียกวา “ซัลเฟอรไดออกไซด” หรือ “ฝนกรด” ชาวบานในอําเภอแมเมาะ เริ่มคนพบความผิดปกติมากขึ้นเรื่อยๆ นอกจาก หลังคาสังกะสีของบานเรือนราษฎรเริ่มผุกรอน ก็มีการเจ็บปวยกันดวยโรค แปลกๆ เชน โรคทางเดินหายใจ โรคปอด โรคมะเร็ง ขณะเดียวกันปริมาณ สั ต ว ป า ที่ เคยมีอ ยูในบริเวณนั้นไดอ พยพหลบหนี ไปและแม กระทั่ ง ปลาใน ลําน้ํา ที่ถูกจับขึ้นมาเปนอาหารก็มีกลิ่นกํามะถันเจือปนอยางชัดเจน ป 2535 เกิดกรณีน้ําพองเนา แมน้ําที่เปนเสนเลือดหลอเลี้ยงพื้นที่เพาะ ปลูกประมาณ 500,000 ไรของ จ.ขอนแกน เนาเสีย สงผลกระทบตอการทํานา และแหลงพันธุปลา สาเหตุมาจากโรงงานน้ําตาลขอนแกน ปลอยน้ําเสียออก มา โดยที่คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ซึ่งตั้งขึ้นในสมัยรัฐบาลอานันท ปนยารชุน ไมสามารถเอาผิดกับโรงงานดังกลาวได สวนกฎหมายสิ่งแวดลอม ที่ตราขึ้นในป 2535 ก็ไมไดมีบทบัญญัติเอาโทษแตประการใด ไมเพียงแตกรณีโรงงานน้าํ ตาลขอนแกนเทานัน้ โรงงานฟนกิ ซ พัลพ แอนด เพเพอร ทีเ่ คยถูกคําสัง่ ปดโรงงานมาถึง 2 ครัง้ ไดเกิดไฟไหมโรงงานในป 2538 อีก 2 เดือนตอมามีการระบุขอ กลาวหาวา โรงงานฟนกิ ซฯ ปลอยน้าํ เสียลงหวย โจดแหลงบําบัดน้าํ เสียของโรงงานลงสูแ มนาํ้ พอง ทําใหปลาตายลอยเปนแพ ในระยะทางประมาณ 15 กิโลเมตร ป 2536 คนงานในโรงงานอิเล็คโทร เซรามิคส ที่ตั้งอยูในนิคมอุตสาหกรรม ลําพูน จ.ลําพูน ไดพบวาตัวเองมีอาการผิดปกติอยางชาๆ นั่นก็คือปวดศรีษะ บอยครั้ง มีอาการออนแรง แขน ขา ชา จึงไดเขารับการตรวจรักษาในโรง พยาบาล แพทยระบุถึงความปวยไขของของคนงานจํานวนไมนอยในโรงงาน วาเปนเพราะไดรับ “สารพิษ” ที่ชื่อวา “สารอลูมินา” เขาไปในรางกายเกิน กวาปกติ ป 2537 เกิดกรณี ส.ป.ก.4 – 01 พรรคประชาธิปต ย นําทีด่ นิ ไปแจกจายให กับคนรวย จนรัฐบาลตองยุบสภาในทีส่ ดุ และนําไปสูป ญ  หาการปฎิรปู ทีด่ นิ เพือ่ เกษตรกร ความเคลือ่ นไหวของขาวสารสิง่ แวดลอม ทีเ่ กิดขึน้ เปนระลอกๆ ดังทีป่ รากฎ ทําใหเกิดนักขาวสิง่ แวดลอมขึน้ จํานวนมาก รวมทัง้ สือ่ ดานสิง่ แวดลอมอีกดวย เมื่อปลาจะกินดาว 10 183


“ป 2535 – 2538 ถือเปนยุคทองของขาวสิง่ แวดลอมและนักขาวสิง่ แวดลอม ไมเพียงหนังสือพิมพจะมีพ้นื ที่ขาวสิ่งแวดลอมหรือหนาเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมขึ้น มาเทานัน้ แตยงั มีนติ ยสารขาวสิง่ แวดลอมออกมาหลายฉบับ เพราะสังคมไทย กําลังเขาสูก ารพัฒนา ขณะทีเ่ ศรษฐกิจมีการเติบโต มีการลงทุนกันขนานใหญ ทัง้ จากนักลงทุนไทยและตางประเทศ ซึง่ ตองใชฐานทรัพยากรธรรมชาติหรือไม ก็ตอ งสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมอยางหลีกเลีย่ งไมได” ชวรงค กลาว ในยุคทองของขาวสิ่งแวดลอม ปญหาที่ตามมาคือความเสื่อมของระบบ นิเวศนและวิกฤตการณดานสิ่งแวดลอมในหลากหลายรูปแบบ ทั้งการทําลาย ปา สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป มลพิษทางอากาศ น้ําเสียจากโรงงาน อุตสาหกรรม เปนตน แตไมรวู า โชคดีหรือโชคราย ประเทศไทยเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ป 2540 ขาว สิง่ แวดลอมและนักขาวสิง่ แวดลอม ไดรบั ผลกระทบ หนังสือพิมพหลายฉบับ ปดตัวลง นักขาวหันไปทําอาชีพอืน่ ขณะทีห่ นังสือพิมพทย่ี งั อยู พืน้ ทีข่ องขาว สิง่ แวดลอมก็ถกู ยุบหนาบาง ถูกปรับบาง เชนเดียวกับนักขาวสิง่ แวดลอม ขณะ ทีป่ ญ  หาสิง่ แวดลอมยังคงมีความรุนแรงอยางตอเนือ่ งจนกลายเปนวิกฤตการณ “ตั้งแตป 2540 จนถึงวันนี้ ยังไมมีหนังสือพิมพสักฉบับเลยนะที่มีหนา ขาวสิ่งแวดลอม ถาไมมีเกิดเหตุการณภัยพิบัติรุนแรง หรือการทุจริตเกี่ยวกับ ปญหาสิ่งแวดลอม เชน น้ําทวม ไฟไหมปาขนาดใหญหรือการลาเสือ ลาชาง การทุจริตการสรางฝายกั้นน้ํา เปนตน โอกาสที่ขาวสิ่งแวดลอมจะขึ้นหนา 1 เมื่อปลาจะกินดาว 10 184


ยากมาก กระทั่งเปนขาวในหนาหรือหนาในก็ยังยาก เพราะตองไปเบียดชิง พื้นที่กับขาวอื่นๆ อีกมากมาย ขณะที่นักขาวสิ่งแวดลอม นับตัวไดเลย มีไมกี่ คนและการเปลี่ยนหนาคนทําก็มีไมมาก” ชวรงค ระบุ เขาบอกวา ปญหาขาวสิ่งแวดลอม กลายเปนปญหาที่มีคําตอบซ้ําซาก วา ที่ไมไดรับความสนใจ แมจะเปนเรื่องใกลตัวคนก็ตาม แตในเชิงขาวแลว ถือวาขาวสิ่งแวดลอมเปนเรื่องไกลตัว นาเบื่อ จับตองไมได ไปจนถึง เสนอ ไปก็ “ขายไมได” ฐากูร บุนปาน บรรณาธิการหนังสือพิมพขาวสด ระบุวา เหตุที่ขาวสิ่ง แวดลอมไมคอยไดรับความสนใจ เพราะเปนเรื่องไกลตัว นาเบื่อหรือไมก็เปน เรื่องของเอ็นจีโอ หากมองในแงการตลาด ถือวาขายไมคอยได แตก็ไมได หมายความวาเปนขาวไมดี “แนนอนขาวสิ่งแวดลอมมีประโยชน แตการนําเสนอตองถูกที่ ถูกเวลา ถูกจังหวะ รวมทั้งมีวิธีการนําเสนอที่นาสนใจ ยกตัวอยางเรื่องโลกรอน ที่ทุก คนใหความสนใจ แตขณะเดียวกันกลับถูกมองวาเปนเรื่องที่ไกลตัว จับตอง ไมได แตกตางจากขาวการสรางเขื่อนหรือสรางบันไดปลาโจนในแมน้ํามูล ที่ มีการตอตานมาก เพราะกระทบกับชีวิตผูคนโดยตรง” บรรณาธิการบริหาร หนังสือพิมพขาวสด กลาว นอกจากนี้ นักขาวสิ่งแวดลอมไมมีประจํา แตจะใชนักขาวจากโตะจเรไป ทําเปนกรณีๆ ไป เพราะขาวสิ่งแวดลอมก็แทรกอยูในขาวอื่นๆ แลว เชน ขาว ทองเที่ยว หรือถาเปนขาวใหญก็ขึ้นหนา 1หรือไมก็ทําเปนสกูป ขณะที่ชวรงค ก็ยอมรับในทํานองใกลเคียงกันวา ขาวสิ่งแวดลอม ถา เสนอเรื่องใกลตัวไป มองไมเห็นปญหาชัดเจนก็ขายไมได นิตยสารสิ่งแวดลอม หลายฉบับที่ตองปดตัวลง ไมใชขาวไมดีหรือนักขาวใชไมได แตขอเท็จจริงคือ ขายไมได “นาเสียดายมาก ที่ประเทศไทยยังไมมีนิตยสารขาวเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม ดีๆ ทําใหคนที่จะมาเปนนักขาวสิ่งแวดลอมนอยไปดวย เพราะนักขาวที่จะมา ทําขาวสิ่งแวดลอมตองใจรักจริงๆ” ดาน รตยา จันทรเทียร ประธานมูลนิธิสืบ นาคะเสถียร ที่ผันตัวเอง เมื่อปลาจะกินดาว 10 185


จากผูว า การเคหะแหงชาติ มาทํางานดานสิง่ แวดลอม กลาววา นักขาวสิง่ แวดลอม มีความสําคัญมากในชวงกวา 10 ปที่ผานมา ในหลายสมรภูมิขาว ไมวาจะ เปนการตอตานการสรางเขื่อนปากมูลหรือการเปดโปงความไมชอบธรรมหรือ ฉอฉลของหนวยงานรัฐที่ทํางานดานสิ่งแวดลอม แมวาโดยขอเท็จจริงขาวสิ่ง แวดลอมจะขายไมไดหรืออาจจะมีนักขาวนอยไป เมื่อเทียบกับนักขาวสาย อื่น แตถาไมมีนักขาวสิ่งแวดลอม คอยเปดโปงทําหนาที่อยางมั่นคง เชื่อวาสิ่ง แวดลอมของไทยจะย่ําแยกวานี้ “นักขาวสิ่งแวดลอม คือ ฝายคานที่ทรงพลังที่สุด เทาที่สังเกตมานะ และเมื่อเทียบกับนักขาวสายอื่นๆ นักขาวสิ่งแวดลอม คอนขางทํางานจริงจัง การนอกลูนอกทางเหมือนนักขาวสายอื่นๆ มีนอย ในอดีตที่ผานมากรณี การลาสัตวปาที่ทุงใหญนเรศวร จนเปนที่มาของเหตุการณประวัติศาสตร 14 ตุลาคม 2516 และอีกหลายเหตุการณไมวาการเปดโปงการขยายถนนธนะรัช ต ปากชอง – เขาใหญ ซึ่งเปนเสนทางที่จะขึ้นสูอุทยานแหงชาติเขาใหญ หรือแมแตปญหาที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง จะเปน ปญหาสิ่งแวดลอมที่สําคัญ เนื่องจากเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจของประเทศ และชี วิ ต ของประชาชนที่ สั ง เวยกั บ มลพิ ษ ที่ ถู ก ปล อ ยออกมาจากนิ ค ม อุตสาหกรรมมาบตาพุด นี่แหละจะเปนบทพิสูจนวานักขาวสิ่งแวดลอมคือ ฝายคานที่ทรงพลังที่สุดในสายตาของรัฐบาลที่ตองการพัฒนาประเทศหรือแม กระทั่งกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่ทําหนาที่ปกปองรักษา ทรัพยากรของชาติ” รตยา ระบุ

การปฏิรูประบบราชการและกระทรวงสิ่งแวดลอม การปฎิรูประบบราชการในป 2545 ยุครัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ทําใหเกิดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่ทํางานเชื่อมโยง กับนักขาวสิ่งแวดลอมโดยตรง และดูเหมือนการเกิดของกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติฯ จะทําใหมีคําเรียกนักขาวสิ่งแวดลอมชัดเจนขึ้นเหมือนกับนักขาว ประจํากระทรวงตางๆ การเกิดขึน้ ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ แนนอนเกีย่ วของและสัมพันธ กับการทํางานของนักขาวสิง่ แวดลอมโดยตรง เพราะโครงสรางของกระทรวงได เมื่อปลาจะกินดาว 10 186


รวบรวมงานดานสิง่ แวดลอม ทัง้ ดานปาไม อุทยานแหงชาติ ทะเลและชายฝง ทรัพยากรน้าํ ทรัพยากรธรณี เปนตน แตดเู หมือนวาภายใตโครงสรางดังกลาว การตอบสนองการพิทักษปกปองทรัพยากรธรรมชาติของประเทศยังไมเปนรูป ธรรมตามทีห่ ลายฝายคาดหวังมากนัก ความเสื่อมของระบบนิเวศนเปนสัญญลักษณอยางหนึ่งของการพัฒนา ทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็วของประเทศไทย ที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วและตอ เนื่องในหลายรูปแบบ ไมวาจะเปนการทําลายปา สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง ไป มลพิษทางอากาศและน้ําเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม สัตว์น้ําชายฝงที่ลด ลง เปนตน ขณะที่การทํางานของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ ไมเทาทันตอ การลุกลามของปญหา แถมถูกภาคประชาชนและเอ็นจีโอมองวาเปนสวนหนึ่ง ของปญหาดวยซ้ํา “บทหนักจึงตกอยูกับนักขาวสิ่งแวดลอม ที่ตองขุดคุยเปดโปง เพราะ ขาราชการไมทาํ หนาที”่ ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ รองหัวหนาพรรคประชาธิปต ย และอดีตนักเคลื่อนไหวดานสิ่งแวดลอม กลาว ไกรศักดิ์ ระบุวา นับตั้งแตมีการกอตั้งกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ มา จนปจจุบัน การแกปญหาสิ่งแวดลอมไมไดดีขึ้นเลย ปาไมยังถูกทําลาย ใน หลายๆ พื้นที่การปลูกปาไดกลายเปนเครื่องมือในการทําลายปา และการ ปลูกปาไดกลายเปนการตมตุนหลอกลวง โดยเครือขายทุจริตและการขมขู ซึ่ง โยงใยหนาของรัฐ กลุมผลประโยชนและผูมีอิทธิพลทองถิ่นเขาดวยกัน “ยกตัวอยางในหลายพืน้ ที่ ทีด่ นิ ทีไ่ มมโี ฉนดถูกขายใหกบั กลุม ผลประโยชน ในราคาครึง่ หนึง่ ถึงหนึง่ สวนสามของราคาทีด่ นิ ทีม่ โี ฉนด ยิง่ ไปกวานัน้ ในหลาย กรณีการปลูกปาไดกลายเปนเครือ่ งมือในการทําลายปา เพราะปาดัง้ เดิมนัน้ ใน แงการตลาดไมมมี ลู คาเทากับการปลูกปาในเชิงพาณิชย ทีม่ กี ารนําไมทม่ี มี ลู คา ในเชิงพาณิชย เชน ยูคาลิปตัส ปลูกล้าํ เขาไปในเขตปาและตัดปาทีย่ งั บริสทุ ธิอ์ ยู รวมทัง้ ปาชุมชนดวยหรือบางกรณีนกั ธุรกิจคาไม ก็กลายเปนผูต ดั ตนไมในปา ธรรมชาติเสียเอง โดยจางชาวบานใหถางปาเพื่อที่วาพื้นที่ดังกลาวจะไดถูก จัดสรรใหเปนพืน้ ทีป่ า เสือ่ มโทรมทีเ่ หมาะแกการปลูกไมเชิงพาณิชย ดังนัน้ นัก ขาวสิง่ แวดลอมตองทําหนาทีข่ ดุ คุย มาตีแผใหเห็นถึงความฉอฉล” ไกรศักดิ์ ระบุ เมื่อปลาจะกินดาว 10 187


ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ รองหัวหนาพรรคประชาธิปตย และอดีตนักเคลื่อนไหวดานสิ่งแวดลอม

จันทรจิรา พงษราย อดีตนักขาวกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม หนังสือพิมพไทยรัฐ ปจจุบันสังกัดหนังสือพิมพกรุงเทพ ธุรกิจ ซึ่งปฏิบัติหนาที่ชวงรอยตอการเลี่ยนแปลงจากกระทรวงวิทยาศาสตรฯ มาสูก ระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ กลาววา การเกิดขึน้ ของกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติฯ ทําใหงานดานสิง่ แวดลอมชัดเจนขึน้ นักขาวสิง่ แวดลอมมีตวั ตน ชัดเจน เพราะโครงสรางงานของกระทรวงชัดเจนในเรือ่ งของการอนุรกั ษทรัพยากร ของชาติ โดยเฉพาะตัวรัฐมนตรี เรียกไดวา 5 ใน 8 ปของกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติฯ รัฐมนตรีที่เขามาบริหารประเทศลวนนํากระทรวงเขาไปเกี่ยวพัน กับการเมืองเปนหลักมากกวาจะใหความสําคัญกับปญหาสิ่งแวดลอม “ตั้งแต คุณประพัฒน ปญญาชาติรักษ เปนรัฐมนตรีคนแรก ตอมาถึง คุณยงยุทธ ติยะไพรัช กระทรวงนี้เขาไปเกี่ยวกับการเมืองตลอดขาราชการ บางสวนไมทํางาน แตไปเดินตามนักการเมืองแทน เลนการเมืองตั้งแต ระดับชาติลงมาถึงระดับกระทรวง ทําใหปาไมถูกทําลายมากขึ้น น้ําเสีย มากขึ้น มลพิษก็แย ไมตองพูดถึงการทํางานของนักขาวที่รับรูปญหา แตมัก ไมคอยไดรับความรวมมือในเรื่องขอมูล ทําใหการทํางานยาก เมื่อเทียบกับ กระทรวงอื่นๆ ที่มีขาวคอนขางมาก สามารถเขาถึงแหลงขาวไดงาย แตที่ กระทรวงทรัพย แหลงขาวไมกลา กลัวโดนยาย” จันทรจิรา ระบุ

เมื่อปลาจะกินดาว 10 188


มากทีส่ ดุ และใหญทส่ี ดุ ในภาคอีสาน เปนแมนาํ้ สาขาทีใ่ หญทส่ี ดุ ของแมนาํ้ โขง แตสภาพของแมน้ํามูลปจจุบัน มีการทําลายแหลงที่อยูของปลากวา 1,000 ชนิด กระทรวงทรัพยากรฯ มองเห็นปญหาที่เกิดขึ้นอยางไร” ที่ปรึกษาสมัชชา คนจน ระบุ เขายอมรับวา นักขาวสิ่งแวดลอม ไดทําหนาที่หลายกรณีในการชวย เหลือชาวบานไวมาก แตขึ้นอยูกับจุดยืนของนักขาวคนนั้นๆ ดวย ไมใชทุกคน นั ก ข า วสิ่ ง แวดล อ มหลายคนก็ ยิ น ยอมพร อ มใจไปรั บ ใช นั ก การเมื อ งหรื อ ขาราชการเพื่อผลประโยชนของตัวเองก็มาก

พื้นที่ขาวสิ่งแวดลอม : การตอสูชวงชิง ขาวสิง่ แวดลอม ยังคงไมเปนขาวหลักในหนาหนังสือพิมพหรือไมมหี นา ขาวทีเ่ กีย่ วกับสิง่ แวดลอมโดยตรง จะมีกเ็ พียงเปนขาวเฉพาะทีร่ วมอยูก บั ขาว อืน่ ๆ อาทิ ในหนังสือพิมพไทยรัฐ ขาวสิง่ แวดลอมจะอยูร วมกับขาวการศึกษา ขาววิทยาศาสตร ขาวสาธารณสุข เปนตน ขณะทีห่ นังสือพิมพมติชน ขาว สิง่ แวดลอม จะอยูภ ายในหนาชีวติ คุณภาพ ทีม่ ที ง้ั ขาวสาธารณสุข แรงงาน วิทยาศาสตร เปนตน สวนหนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ ขาวสิง่ แวดลอม รวมอยู ในหนาคุณภาพชีวติ ทีม่ ที ง้ั ขาวสาธารณสุข แรงงาน การศึกษา เปนตน ในหนังสือพิมพเดลินิวส ขาวสิ่งแวดลอม รวมอยูกับขาวการเมือง ใน หนังสือพิมพคม ชัด ลึก กับขาวสด ไมมีหนาขาวสิ่งแวดลอม ในหนังสือพิมพทุกฉบับที่วา ขาวสิ่งแวดลอมที่จะขึ้นหนา 1 ไดตองเปน ขาวใหญจริงๆ ถาไมใหญ ไมสําคัญก็แทบจะไมไดลงหรือไมไดลงตีพิมพเลย เพราะตองไปตอสูชวงชิงกับขาวจากหนวยงานอื่นๆ ซึ่งก็สําคัญไมแพกัน สุชิน ติยวัฒน หัวหนาขาวหนา 1 หนังสือพิมพไทยรัฐ กลาววา ขาว สิ่งแวดลอมถือเปนขาวสําคัญเหมือนกับขาวการศึกษา วิทยาศาสตร แตจะ ใหขึ้นหนา 1 ตองเปนเรื่องนาสนใจและมีความสําคัญ อยางกรณีขาวหนา 1 ในหนังสือพิมพไทยรัฐ แตละวันจะมี 8 ขาว หลักสําคัญที่จะทําใหขาวไดลง หนา 1 ก็ตองมีองคประกอบ เชน ตองเปนเรื่องใกลตัว มีประโยชนตอคนหมู มากและสังคมจะไดอะไรจากขาวชิ้นนั้นๆ ที่สําคัญตองขายได ที่ผานมาขาว สิ่งแวดลอมก็ไดขึ้นหนา 1 ไมนอย เพราะปจจุบันสิ่งแวดลอมคอนขางวิกฤต เมื่อปลาจะกินดาว 10 190


ที่สําคัญนักขาวสิ่งแวดลอม ถูกมองจากขาราชการะดับสูงวาเปนพวก เดียวกับเอ็นจีโอและชอบทําขาวเขาขางชาวบาน “นักขาวสิ่งแวดลอมถูกตําหนิมากวามีแหลงขาวเปนเอ็นจีโอ ขณะที่เอ็น จีโอก็บอกวาถาไมมีเอ็นจีโอ นักขาวสิ่งแวดลอมก็ไมไดขาว สวนชาวบานไม นอยก็มองวาการทํางานของนักขาวสิ่งแวดลอม คอนขางเอื้อประโยชนกับ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทั้งขึ้นทั้งลอง” จันทรจิรา กลาว ชุติมา นุนมัน ผูสื่อขาวสิ่งแวดลอม จากหนังสือพิมพมติชน ที่ มี ป ระสบการณ ก ารทํ า ข า วตั้ ง แต ง านด า นสิ่ ง แวดล อ มยั ง อยู ที่ ก ระทรวง วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม จนถึงการเกิดขึ้นของกระทรวง ทรัพยากรฯ กลาววา นักขาวสิ่งแวดลอม อาจจะเรียกวาเปนปรปกษหรือคู ขนานกับกระทรวงทรัพยากรฯ เพราะกระทรวงทรัพยากรฯ ทํางานโดยเอาการ เมืองนําดานสิ่งแวดลอม ที่สําคัญขาราชการบางคนในหลายหนวยงานหวาดระแวงตอการทํา หนาที่ของนักขาว กรณีลาสุดที่ตัวเองถูกขึ้นแบล็กลิสตหามเดินทางไปทําขาว ประชุมผูน าํ แมนาํ้ โขง ทีอ่ าํ เภอหัวหิน จ.ประจวบคีรขี นั ธ ดวยเหตุผลทีฟ่ ง ไม ขึน้ ทัง้ ๆ ทีบ่ ทบาทจริงๆ ของกระทรวงคือตองเผยแพรขา วสารดานสิง่ แวดลอม ไมใชจา งใหบริษทั พีอารมาชวยเผยแพร ปญหาสิง่ แวดลอมก็เลยกลายเปนเรือ่ ง ไมสาํ คัญ เพราะทีม่ าของคนใหขา วไมนา เชือ่ ถือ “8 ปของกระทรวงทรัพยในสายตาดิฉัน ถือวาลมเหลว ไมสามารถ จัดการแกปญหาสิ่งแวดลอมได ขาวที่ปรากฏตามหนาสื่อทั้งหลาย มาจาก การสืบเสาะหามาเองของนักขาวแทบทั้งสิ้น” ชุติมา กลาว ขณะที่ บารมี ชัยรัตน ปรึกษาสมัชชาคนจน มองวาบทบาทของกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติฯ คือบทบาทของการสมยอมตอการเมือง นายทุน เพราะ ฉะนั้นไมตองแปลกใจที่พื้นที่ปา หรืออุทยานแหงชาติ จะถูกกินเนื้อที่ในนาม ของการบุกรุกเพื่อการพัฒนา ปาหรือน้ําธรรมชาติหรืออาจจะเปนชีวิตของ คนจนคือรายจายเพื่อการพัฒนา เพราะกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ ไมได ทําหนาที่ปกปองทรัพยากรธรรมชาติตามบทบาทหนาที่ “ยกตัวอยางงายๆ แมน้ํามูนเปนแมน้ําที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ เมื่อปลาจะกินดาว 10 189


ขณะที่ประชาชนก็ใหความสนใจเรื่องสิ่งแวดลอมมากขึ้นดวย “ข า วสิ่ ง แวดล อ มจะได รั บ ความสํ า คั ญ หรื อ ไม ขึ้ น อยู กั บ มุ ม มองของ นักขาวและหนังสือพิมพดวย ถามุมมองของนักขาวสิ่งแวดลอมตอปญหา สิ่งแวดลอมมีความคมชัดก็จะสงผลใหขาวสิ่งแวดลอมมีความแหลมคม เมื่อ ขาวมีความแหลมคม หัวหนาขาวหรือหนังสือพิมพ ก็ยากที่จะปฎิเสธขาวชิ้น นั้นๆ หรืออาจจะเรียกไดวา ขาวสิ่งแวดลอมจะไดลงหรือไมไดลง จะเปนขาว หนา 1 หรือไม ขึ้นอยูกับวิธีคิดของนักขาววามองปรากฎการณที่เกิดขึ้นดวย สายตาแบบไหน” ถาประนีประนอมก็เปนขาวเรียบๆ งายๆ แตถาคิดถึงประโยชนของ สังคม ประโยชนชาติ ผลกระทบตอประชาชน ขาวนั้นๆ ก็นาสนใจ เพราะ อยาวาแตขาวสิ่งแวดลอมเลย ขาวศาสนาที่วาไมคอยจะมีอะไร แตถาไป อยูในมือของนักขาวที่เกงๆ ขาวชิ้นนั้นก็จะมีประโยชนมาก” หัวหนาขาว หนา 1 หนังสือพิมพไทยรัฐ ระบุ เชนเดียวกัน ฐากูร บุนปาน บรรณาธิการบริหารหนังสือพิพมขาวสด ที่ ระบุวา การที่ขาวสิ่งแวดลอมจะไดลงหนา 1 หรือไม หรือแมจะเปนแคขาว เล็กๆ ในหนา แตก็ถือวามีความสําคัญทั้งสิ้น ขึ้นอยูพลังของขาวสารที่ถูกนํา เสนอมากกวา การไมมีหนาสิ่งแวดลอมในหนาหนังสือพิมพ ไมใชเรื่องแปลก เพราะในหนังสือพิมพขาวสด ก็มีการแทรกขาวสิ่งแวดลอมอยูในขาวอื่นๆ เชน ขาวทองเที่ยว ขาวเกษตร หรือนําเสนอเปนสกูป เปนตน แตเมื่อมีเรื่อง สําคัญทางสิ่งแวดลอม หนังสือพิมพขาวสดก็ไมเคยรีรอหรือลังเลที่จะนํา เสนอดวยขอมูลที่รอบดาน “พืน้ ทีข่ า วสิง่ แวดลอมไมใชเรือ่ งสําคัญ ถาขาวดีจริงๆ ไดลงแนนอน เพราะ ปจจุบนั ประชาชนใหความสนใจเรือ่ งของสิง่ แวดลอมมาก” บรรณาธิการบริหาร หนังสือขาวสด กลาว ขณะที่ กุลธิดา สามะพุทธิ หัวหนาขาวสิ่งแวดลอม หนังสือพิมพ บางกอกโพสต กลาววา หนังสือพิพมบางกอกโพสต ไมมีหนาขาว สิ่งแวดลอมประจํา แตมีโตะขาวสิ่งแวดลอม มีนักขาว แตขาวสิ่งแวดลอม อยูรวมกับขาวสาธารณสุข ขาวเกษตร ขาวภูมิภาค ฉะนั้นขาวสิ่งแวดลอม เมื่อปลาจะกินดาว 10 191


พยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย

ตองไปชวงชิงกับขาวอื่นๆ เพื่อใหไดนําเสนอ และก็ขึ้นอยูกับการคัดเลือกของ หัวหนาโตะวาจะใหความสําคัญกับขาวสิ่งแวดลอมหรือไม ทีผ่ า นมาในชวง 2 – 3 ป ขาวสิง่ แวดลอม คอนขางไดรบั ความสําคัญได มีการนําเสนอบอยขึน้ สวนขาวหนา 1 ถาเปนขาวสิง่ แวดลอมก็ตอ งเปนขาว แปลกจริงๆ เชน การคนพบสัตวหรือพืชพันธุใ หม แหลงทองเทีย่ วหรืออยาง กรณีของการเกิดปรากฎการณปะการังฟอกขาวในทะเลอันดามัน หรืออาวไทย “อาจเรียกไดวาปญหาสิ่งแวดลอมเขาใกลตัวเรามากขึ้นทุกวัน มีวิกฤต มากขึ้น ขาวสิ่งแวดลอมจึงกลายเปนขาวที่ไดรับความสําคัญมากขึ้น” หัวหนา ขาวสิ่งแวดลอม หนังสือพิมพบางกอกโพสต กลาว ดาน สิรินาถ สิริสุนทร หัวหนาขาวสิ่งแวดลอม หนังสือพิมพ กรุงเทพธุรกิจ กลาววา ขาวสิ่งแวดลอมของหนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ รวม อยูกับขาวสาธารณสุข แรงงาน โดยจะเนนนําเสนอขาวเกี่ยวกับนโยบาย เปนหลัก เนื่องจากเปนหนังสือพิมพเชิงธุรกิจ ขาวสิ่งแวดลอมเปนเพียงองค ประกอบหนึ่ง พื้นที่ขาวจึงไมมากนัก ขาวที่จะไดขึ้นหนา 1 ตองเกี่ยวของกับ ธุรกิจ เชน เรื่องมาบตาพุด หรือโลกรอน สวนเรื่องผลกระทบของชุมชน จะ เปนขาวในหนาหรืออาจเปนสกูป อยางไรก็ตามแมจะเปนขาวในหนา ก็ตอง มีการแขงขันกันในหนาพอสมควร ใชวาทุกขาวจะถูกนําเสนอเสมอไป ตองดู ประเด็นและความสําคัญของขาวดวย

นักขาวสิ่งแวดลอม “พระเอก” หรือ “ผูราย” การทํางานของนักขาวสิ่งแวดลอมอยางที่ไดเกริ่นในตอนตนวาทํางาน เมื่อปลาจะกินดาว 10 192


เหมือนอยูระหวาง “เขาควาย” ทามกลางความผันผวนของกระแสการเมือง – สิ่งแวดลอม ที่เต็มไปดวยความสลับซับซอน แนนอนนักขาวสิ่งแวดลอมดู จะพยายามทําหนาที่สังเกตการณ วิพากษวิจารณ ติติงเสนอแนะ โดยไมยึด ความเปนฝกฝาย ฉวยโอกาสหรือทําไปเพราะความสะใจหรือความเกลียดชัง ในกระแสธุรกิจสือ่ สารมวลชนทีต่ อ งตอสูก นั อยางดุเดือด ภายใตการแขงขัน การนําเสนอขอมูลขาวสาร บทบาทของนักขาว อุดมการณของสือ่ มวลชน จรรยาบรรณวิชาชีพ ฐานันดร 4 ถูกมองจากสายตาของกลุม คนทีท่ าํ งานใกลชดิ กับนักขาวสิง่ แวดลอมอยางไร พยุงศักดิ์ ชาติสทุ ธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย กลาววา นักขาวสิง่ แวดลอม มีความสําคัญในแงการเสนอขาวสารใหขอ มูลกับ สังคม โดยเฉพาะเมือ่ เกิดเหตุการณรา ยๆ หรือรุนแรงขึน้ ก็มกั จะเปนประเด็นที่ ไดรบั ความสนใจ แมขา วนัน้ จะเปนขาวแคขา งเดียว “ตัวอยาง เชน มีระเบิดหรือไฟไหมที่ไหนก็มีการพูดกันไดไปอีก 5-10 ป ขางหนา แตพอมีขาวเกี่ยวกับการพัฒนา การทําเรื่องดีๆ ตางๆ มันเปนเรื่องที่ อธิบายยาก และขาวพวกนี้คนก็ไมคอยอยากอานเพราะวาอานแลวมันยุงยาก และไมนาสนใจ นั่นเปนลักษณะเฉพาะของเรื่องขาวที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอม ฉะนั้นในการนําเสนอขาวนักขาวจะตองมีความรู ซึ่งหมายถึง เรื่องของ เทคนิคและขอมูลที่เกิดขึ้นจริงๆ” “หลายครัง้ หลายกรณีทข่ี อ มูลในเบือ้ งตนทีเ่ กิดขึน้ มักจะสับสน ทําใหความ เขาใจคลาดเคลือ่ น จนเขาไปอยูใ นความรูส กึ ของคนทัว่ ไป เคยมีนกั สํารวจได สํารวจไววา คนทีไ่ มอยากไดอตุ สาหกรรมเปนยังไง สวนใหญจะเปนคนนอก วงการทัง้ นัน้ ทีจ่ ะใหความเห็นวาอุตสาหกรรมนีม่ นั อันตรายมากนะ รุนแรง มี แตปญ  หาเรือ่ งสิง่ แวดลอม แตขอ เท็จจริงวาอุตสาหกรรมในแงดๆี ไมมกี ารนํา เสนอ” พยุงศักดิ์ กลาว เขาบอกวา การนําเสนอขาวสิ่งแวดลอมที่ผานมา มีขอมูลจริงเท็จผสม ปนเปกันอยู ฉะนั้นการนําเสนอขาวไปในทิศทางที่สรางสรรค จะตองมีทัศนะ คติที่ดีตอกัน มีหลายคนในแวดวงนักอนุรักษหรือนักขาวมีคนที่มีความคิดไม เปลี่ยนแปลง ไมรับรู ไมรับฟงอะไรทั้งสิ้น เมื่อปลาจะกินดาว 10 193


“จะพูดอะไรยังไงเหตุผลยังไงฉันไมรับฟง ตอตานอยางเดียว ฉะนั้นจะ ตองจะมีความรู มีทัศนคติที่ดีตอกัน จะตองมีพื้นฐาน นักขาวดานสิ่งแวดลอม ทํางานยากกวานักขาวดานอื่นๆ เพราะในแงสิ่งแวดลอมมันมีสารอะไรตางๆ ที่มีอันตราย มีขอมูลปลีกยอยลงไป หลายคนเขาใจยาก เพราะเปนเรื่องทาง เทคนิค หลายเรื่องมีความซับซอน คนอานจะเขาใจยาก การเขียนขาวเขียน ดวยเนื้อที่จํากัดมันไมสามารถที่จะอธิบายอะไรได” “ในแงผูสื่อขาวที่ทําขาวสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในหลายๆ กรณีมีความ เขาใจที่อาจจะคลาดเคลื่อนยังเขาใจไมถูกตอง เชน กรณีมาบตาพุด มีหลาย ครั้งที่บอกใหเขาไปดูในโรงงานวามันมีอะไร หลายคนไมคิดวาจะมีการบริหาร จัดการที่ดี มีการดูแลดี แมแตเรื่องสารระเหยเราก็มีการปองกันอยางดี เพราะ ในแงอุตสาหกรรมก็มีแนวทาง เคยนําเสนออุตสาหกรรมในเชิงนิเวศน และ เรื่อง ECO Town แตพอมันถูกปฏิเสธโดยไมมีการไปหาขอเท็จจริงก็ทํางานกัน ลําบาก” พยุงศักดิ์ กลาว ขณะที่ ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ ระบุวา นักขาวสิ่งแวดลอมจําเปนอยาง ยิ่งที่จะตองมีวิธีคิดและหลักการ ใชความรูของตัวเองในการทําหนาที่ ไมใช แครายงานขาวการโยกยายขาราชการ หรือ การตัดไมทําลายปา แตปญหา สิ่งแวดลอมใหญเชื่อมโยงไปถึงระหวางประเทศ เชน ระหวางชายแดนไทยกับ กัมพูชาที่จะมีการตัดถนนเพื่อลําเลียงไมเขามา เปนตน “นักขาวสิ่งแวดลอมตองเขาใจหลายๆ อยางมากขึ้น ไมไดมีหนาที่มานั่ง ทําในเรื่องปา เรื่องปาชายเลนหรือภูเขา อยางเรื่องมาบตาพุดก็ตองมีความรู ในดานเทคนิค เชน รูผลที่จะมาจากสารเคมีบางชนิดกระทบตอกายภาพของ มนุษยอยางไร ตอชุมชนอยางไร” “ขณะเดียวกันผมขอประธานสภาอุตสาหกรรมวาอยามองเอ็นจีโอวา มันหัวดื้อ หรือนักขาวมันหัวรั้น ไมใช มันมีไมกี่คนในโลกนี้ ในสังคมไทย มี นักขาวและเอ็นจีโอไมกี่คนจริงๆ ที่จะทํางานในเรื่องนี้ และเสียสละในเรื่องนี้ เพราะรายไดก็ไมมาก แตตองเสี่ยงสูง” ไกรศักดิ์ ระบุ ศศิน เฉลิมลาภ เลขาธิการมูลนิธสิ บื นาคะเสถียร กลาววา นักขาวสิง่ แวดลอมเปนพันธมิตรทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ของเอ็นจีโอดานสิง่ แวดลอม เพราะเอ็นจีโอ เมื่อปลาจะกินดาว 10 194


สิ่งแวดลอมยังไมมีเครื่องมือในการทํางานเลย ถาไมมีนักขาวสิ่งแวดลอม การ เคลื่อนไหวเพื่อปกปองสิ่งแวดลอมหรือปกปองสิทธิชุมชนจะไมมีพลังถานัก ขาวสิ่งแวดลอมไมเอาดวย “ดังนัน้ นักขาวสิง่ แวดลอมสําคัญทีส่ ดุ และถาถามวานักขาวสิง่ แวดลอม ปจจุบนั มีนาํ้ ยาแคไหน คือตองลองมองสํารวจตรวจสอบตัวเองวาเขาไปตรวจ สอบเพือ่ ใหสงั คมรับรูห รือหยุดโครงการทีส่ ง ผลกระทบตอสงแวดลอมไดแคไหน ในทัศนะผมมองวา นักขาวสิง่ แวดลอมมีบทบาทเปนพระเอกมาโดยตลอด ใน การถวงดุลการพัฒนาทีไ่ มเห็นหัวชาวบาน ขณะทีข่ า วสิง่ แวดลอมหลายชิน้ มี ผลมากตอการหยุดโฉนดของอุตสาหกรรมตางๆ ทีท่ าํ ลายสิง่ แวดลอม ซึง่ บางที ประเด็นตางๆ ชุมชนไมมสี ทิ ธิจะเขาไปยุง เกีย่ ว แตนกั ขาวสิง่ แวดลอมไปขุดคุย ลงไปในพืน้ ทีข่ า วกระจายออกไปทําใหสง ผลตอผูม อี าํ นาจพอสมควร” “นักขาวสิง่ แวดลอมถือเปนปากเปนเสียงแทนสัตวปา แทนปาไม แทน สิ่งแวดลอม หลายโครงการที่นักขาวสิ่งแวดลอมสามารถหยุดได ผมถือวา คุณเปนพระเอกนะ แตทผ่ี มพบมากทีส่ ดุ คือ พลังนักขาวสิง่ แวดลอมมีเฉพาะ นักขาวสวนกลาง สวนนักขาวตางจังหวัดในพืน้ ที่ ไมสามารถหยิบจับประเด็น ขาวสิง่ แวดลอมไดเลย” “ที่ผานมาเราพบวานักขาวสิ่งแวดลอมภูมิภาคหลายแหงมีความสัมพันธ เชื่อมโยงกับกลุมนายทุนภาคอุตสาหกรรมหรือภาคที่ทําใหเกิดปญหา บาง ครั้งยังเปนตัวยุใหเอ็นจีโอไปประทวงและนักขาวก็ไปรับซอง ดังนั้น ตัวนักขาว ตองสะทอนใหเห็นถึงประสิทธิภาพของการทํางานของนักขาวสิ่งแวดลอมใน ทองถิ่นดวย” “ผมอยู ว งการนี้ม าหลายปก็ยังเห็นวานัก ข า วสิ่ ง แวดล อมยั ง เป นกลุ ม นักขาวที่เชื่อมั่นไดวายังอยูเคียงขางคูสังคม นักขาวบางคนผมไมรูจัก แต ดูจากการนําเสนอขาวมันจะมีอยู 2 ฝาย 2 ดานเสมอ นักขาวสิ่งแวดลอม 80-90% ผมคิดวามีความเปนกลาง ยังอยูเคียงขางชุมชน อยูขางผูเสียเปรียบ อยูขางธรรมชาติ” “แตอนาคตไมแน เพราะในทางการเมือง เมื่อกอนผูที่ตอสูเพื่อคนยาก คนจนก็อยูฝายเดียวกัน แตปจจุบันมันแยกกลุมกันอยู เอ็นจีโอก็เหมือนกัน เมื่อปลาจะกินดาว 10 195


พอหลังจัดตั้งชุมชนเพื่อจะทวงติงกันในเรื่องการพัฒนาที่ผิดแนวทาง ปจจุบัน เมื่อสังคมมีการพัฒนา เอ็นจีโอบางคนก็เขาไปเปนฝายประชาสัมพันธใหกับ ฝายตรงกันขาม วันนี้ตอนนี้ภาพของนักขาวสิ่งแวดลอมยังอยูเคียงขางความ ถูกตองในสังคมพัฒนาอยูคือมันเปนพระเอกในดานเดียว” “ขณะเดียวกันมันก็พรอมจะเปนผูรายไดเสมอสําหรับผูดอยโอกาสหรือ ผูเสียเปรียบ ดังนั้นนักขาวสิ่งแวดลอมยังเปนคนที่ชวยไดมาก แตไมคอยเปน พระเอกหรือนางเอก บางครั้งจะอยูตรงสวนกลางไปหนอย แตถาในอนาคต ทางฝายที่เขาเสียผลประโยชน ลุกขึ้นมาตอสู เขามีนักขาวสิ่งแวดลอมอยู ขางๆ คอยแกไขหรือแกตางให มันก็ไมแนวาตอไปมันจะเกิดอะไรขึ้นในสังคม ขาวสิ่งแวดลอม และสิ่งแวดลอมในบานเมืองเรา” เลขาธิการมูลนิธิสืบ ระบุ

เมื่อปลาจะกินดาว 10 196


บรรณานุกรม สัมภาษณ ฐากูร บุนปาน บรรณาธิการบริหารหนังสือพิมพขาวสด รัฐกร อัสดรธีรยุทธ ประธานบริหารหนังสือพิมพดอกเบี้ย ผาสุข พงษไพจิตร อาจารยคณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ชวรงค ลิมปปทมปาณี หัวหนาศูนยขอมูลหนังสือพิมพ ไทยรัฐ และผูอํานวยการบริหาร สถาบันอิศรา รตยา จันทรเทียร ประธานมูลนิธิสืบ นาคะเสถียร ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ รองหัวหนาพรรคประชาธิปตยและอดีต นักเคลื่อนไหวดานสิ่งแวดลอม จันทรจิรา พงษราย อดีตนักขาวกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม หนังสือพิมพไทยรัฐ ชุติมา นุนมัน ผูสื่อขาวสิ่งแวดลอม จากหนังสือพิมพมติชน บารมี ชัยรัตน ปรึกษาสมัชชาคนจน สุชิน ติยวัฒน หัวหนาขาวหนา 1 หนังสือพิมพไทยรัฐ กุลธิดา สามะพุทธิ หัวหนาขาวสิ่งแวดลอม หนังสือพิมพ บางกอกโพสต สิรินาถ สิริสุนทร หัวหนาขาวสิ่งแวดลอม หนังสือพิมพ กรุงเทพธุรกิจ พยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย ศศิน เฉลิมลาภ เลขาธิการมูลนิธิสืบ นาคะเสถียร สัมมนาเรื่อง “บทบาทนักขาวสิ่งแวดลอม พระเอกหรือผูรายในสังคมพัฒนา” วันที่ 6 กรกฎาคม 2553 จัดโดยชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม

เมื่อปลาจะกินดาว 10 197


2 นักอนุรักษตนแบบ บนเสนทางที่บรรจบกัน ธเนศน นุนมัน หนังสือพิมพโพสตทูเดย

เมื่อปลาจะกินดาว 10 198


เมื่อ “สถาปนิก” หรือนักออกแบบวางแผนการกอสรางไดรับ มอบหมายใหรังสรรคงานสถาปตยกรรมใดๆ ก็ตาม สิ่งที่ตองใหความสําคัญ เปนลําดับตนๆ กับผลงานทุกชิ้นก็คือ ความสวยงาม สงางาม ตอมาคือ ประโยชนใชสอย และความพึงพอใจของเจาของสถานที่ ทวา กอนจะได มาซึ่งสิ่งที่กลาวมา พวกเขาตองวาดภาพขึ้นในอากาศ วากันวาสายตาของ สถาปนิกจะคนหาจุดสมดุลทุกจุดที่เริ่มตนดวยจินตนาการ กอนจะออกแบบ ขึ้นตามนั้น กระทั่งกอรูปเปนผลงานที่มีความสมดุล ลงตัว ตั้งแตเสาตนแรก จนถึงตะปูตัวสุดทาย ขณะที่ “วิศวกร” ซึ่งมีหนาที่ศึกษา วิเคราะห คํานวณ ออกแบบ และ ควบคุมการผลิตทั้งระบบ โดยเฉพาะในเชิงโครงสรางซึ่งตองมีความแมนยํา ชัดเจน และขจัดปจจัยที่จะกอใหเกิดขอผิดพลาดออกไปใหหมด หากพบขอ ผิดพลาดตองสามารถตรวจสอบและแกไขปญหานั้นไดอยางตรงจุด แมเปาหมายหมายของทัง้ สองอาชีพจะเปนเรือ่ งใดหรือสิง่ ใดก็ตาม สิง่ หนึง่ ที่ยากจะปฏิเสธก็คือ ภารกิจหนาที่ที่ตองมีความเชื่อมโยงเกี่ยวพันกับการใช ทรัพยากรธรรมชาติโดยตรง ซึ่งหมายถึงตองดึงทรัพยากรที่มีอยูนั้นมาแปร เปนชิ้นงาน เปลี่ยนกอนดิน กอนหิน เม็ดทราย ตนไม ใหกลายเปนวัสดุสิ่งของ ที่สามารถตอบสนองความตองการดานตางๆ ของมนุษยได เมื่อปลาจะกินดาว 10 199


อีกดานหนึ่งหากมีการใชสอยทรัพยากรธรรมชาติอยางฟุมเฟอยไรขีด จํากัด ไมมีการวางแผนในการใชทรัพยากรเหลานั้นใหเกิดประโยชน และ คุณคาสูงสุด จนกลายเปนการรุกรานหรือตักตวงประโยชนจากธรรมชาติจน เกินพอดี ผลที่ตามมายอมทําใหขาดความสมดุลและสงผลกระทบดานอื่นๆ ตามมาเปนลูกโซ แนนอนที่สุด ทั้งสองอาชีพนี้ไมอาจหลีกเลี่ยงหรือปฏิเสธความรับผิดชอบ อันเกิดจากภาระหนาที่ของตนเองได จึงจําเปนอยางยิ่งที่ตองสรางความมี สวนรวมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ตั้งแตจุดเล็กๆ ไปจนถึงเรื่องใหญที่ สงผลกระทบในวงกวาง งานของสถาปนิก อาจหมายถึงงานออกแบบสรางบานที่เพรียบพรอมไป ดวยความสวยงาม ทันสมัย และนาอยู ขณะเดียวกันก็สามารถออกแบบให มีระบบจัดการพลังงานได โดยแทบจะไมตองพึ่งพาพลังงานอื่นๆ นอกเหนือ จากที่มีอยูในธรรมชาติเลย แมกระทั่งงานออกแบบสรางตึกสูงระฟาหลาย สิบชั้น ก็ยังพอมีวิธีการในการออกแบบโดยมิใหแปลกแยกและอยูรวมกับสิ่ง แวดลอมได วิศวกรก็เชนกัน หากสามารถควบคุมการออกแบบกอสรางดวยการเติม ความเอาใจใสตอ สิง่ แวดลอมสักนิด เชน การคิดคนกลไกภายในของเครือ่ งยนต ใหมีสวนในการลดการใชพลังงาน หรือคนหาวิธีที่จะลดการปลอยมลพิษ จากเครื่องยนต ก็นับไดวาเปนการแสดงความรับผิดชอบอยางหนึ่งของอาชีพ วิศวกร หากไมมัวแตคํานึงถึงการเก็บเกี่ยวผลกําไรทางธุรกิจมากจนเกินไป อาจ ทําใหมีบางหวงเวลาที่พอจะไดหวนกลับมามองถึงการใชทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมดวยความตระหนักรูมากขึ้น หากเปรียบเทียบเสนทางของอาชีพสถาปนิกและวิศวกรเปนเหมือนเสน ทางที่ลากมาบรรจบกันในนามของการพัฒนา นํามาซึ่งสิ่งกอสรางและตึก รามที่ผุดขึ้นใหเห็นอยูทั่วทุกมุมเมือง พรอมจะเปลี่ยนผืนโลกใหเปนเมือง คอนกรีต จะมีบางหรือไมที่จะมีบุคลากรบางคนจากทั้งสองอาชีพที่ยอนเสน ทางสวนกลับไปอีกดานหนึ่ง ดวยการหยุดยั้งหรือพยายามทําในสิ่งที่ตรงขาม เมื่อปลาจะกินดาว 10 200


สถาปนิกของผืนปา หลายคนอาจรูจักชื่อ รตยา จันทรเทียร จากตําแหนงประธานมูลนิธิ สืบ นาคะเสถียร จากหลากหลายสื่อ แตนอยคนที่จะรูวารตยาเคยสวม หมวกอีกใบหนึ่งในบทบาทของสถาปนิก รตยาเรียนจบสาขาสถาปตยกรรมศาสตร จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สิ่งที่นาสนใจอยางยิ่งก็คือ เหตุใดสถาปนิกอยางอาจารยจากรั้วจามจุรีจึงเบน เข็มมาทํางานอนุรักษอยางเอาจริงเอาจัง อาจเปนเพราะสัญชาตญาณของสถาปนิกที่เฝามองและสังเกตการณถึง ความเปลี่ยนแปลงของผืนปามาโดยตลอด จึงเปนที่มาของฉายา “นางสิงห เฝาปาตะวันตก” ที่หลายคนยกยองขนานนามให เมื่ อ มี โอกาสได นั่ ง คุ ย ถึ ง ประเด็ นที่ ว า ด ว ยจิ ต วิ ญ ญาณของสถาปนิ ก รตยาเริ่มตนเกริ่นใหฟงวา อันที่จริงแลวสถาปตยนั้นเปนศาสตรที่ครอบคลุม ประกอบดวยทางเลือกที่คอนขางหลากหลาย ขึ้นอยูกับสิ่งที่สถาปนิกคนนั้น สนใจหรือใหความสําคัญ โดยสวนตัวรตยาสนใจในเรื่องของการออกแบบ บานใหกลมกลืนหรือเขากับสิ่งแวดลอมมาโดยตลอด เชน การสรางบานโดย อาศัยหลักการพึ่งพิงธรรมชาติ การคํานวณทิศทางของแสง การลดอุณหภูมิ สิ่งกอสรางดวยการปลูกตนไมเพื่อใหรมเงา ซึ่งตองใสใจในทุกรายละเอียด ของการออกแบบ โลกทัศนในวัยเยาวของรตยา เติบโตขึ้นมาพรอมกับสภาพแวดลอม แบบชนบทที่ยังคอนขางอุดมสมบูรณ โดยเฉพาะที่ จ.จันทบุรีซึ่งเปนบาน เกิดนั้น เธอยังจดจําไดดีและมีภาพความทรงจําที่แจมชัด ไมวาจะเปนภาพ ของภูมิประเทศที่รมรื่น รายรอบไปดวยธรรมชาติที่สะอาดบริสุทธิ์ เห็นความ สมบูรณของแมกไมพนั ธุไ มนานาชนิด แนนอนทีส่ ดุ เมืองจันทบุรใี นความทรงจํา ของรตนาก็คือผืนปาดีๆ นี่เอง “จําไดวาบานอยูไกลจากตลาดเมืองจันทรประมาณ 6 กิโลเมตร ตอน นั้นมีรถผานหนาบานวันละแคเที่ยวเดียวเทานั้น ถาพลาดหรือไมทันรถแลว จะเขาไปธุระในตลาดแตละครั้งตองเดิน สมัยนั้นสองขางทางไมมีรานคา ไมมี อะไรขาย ระหวางเสนทางทีเ่ ดิน เกิดหิวขึน้ มาก็อาศัยเก็บลูกไมขา งทางทีม่ ี ใหกิน เมื่อปลาจะกินดาว 10 201


ตลอดเสนทาง และอีกภาพหนึ่งที่จําไดแมนคือ จะมีดอกไมสวยๆ พวกดอก บานบุรีตามหัวสะพาน ทางเดินจะมีรมไมปกคลุมตลอด พื้นถนนเปนทราย ถาถอดรองเทาเดินจะรูสึกเย็น เรียกไดวาอยูในสิ่งแวดลอมที่เปนธรรมชาติมา โดยตลอด แคเดินไปหนาบาน ทอดสายออกไปก็เห็นภูเขาอยูเบื้องหนา...” เธอเลา ในสมัยวัยเด็ก รตยายังชอบขีดๆ เขียนๆ เมื่อเห็นสิ่งที่อยูรายรอบตัวก็ มักบันทึกไวทั้งในรูปแบบของตัวหนังสือและวาดเปนภาพสเกตช ซึ่งในสมัย นั้นหากผูใหญเห็นแววของเด็กที่ชอบขีดๆ เขียนๆ ก็จะสงเสริมวาควรไปเรียน ตอดานสถาปตย หลังจากนั้นก็เปนแรงบันดาลใจใหเธอมุงหนาสูเสนทางสาย นี้อยางเต็มตัว หลังจากเรียนจบ รตยาก็เริ่มทํางานตามสายงานที่ร่ําเรียนมาทันที โดย เขาทํางานที่สํานักงานอาคารสงเคราะห กรมประชาสงเคราะห 2 ป จาก นั้นก็เปลี่ยนสายงานไปเปนอาจารยสอนแผนกชางกอสราง วิทยาลัยเทคนิค กรุงเทพ หรือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ในปจจุบัน แตสอน ไดเพียงระยะหนึ่ง ก็ทราบขาวดีวาตัวเองไดทุนฟูลไบรท ตองเดินทางไปศึกษา เมื่อปลาจะกินดาว 10 202


ตอระดับปริญญาโทดานสถาปตยกรรมเขตรอนที่ Pratt Institute นิวยอรก ประเทศสหรัฐอเมริกา หลังกลับจากอเมริกา นักเรียนนอกหมาดๆ ไมเคยคิดที่กระโจนเขาสู วงการสถาปนิกเพื่อสรางเนื้อสรางตัวเหมือนเพื่อนรวมอาชีพคนอื่นๆ แมวา ดีกรีนักเรียนนอกจะมีสวนอยางยิ่งที่จะชวยผลักดันใหมีโอกาสไดงานดีๆ เงิน เดือนสูงๆ แตอาจารยรตยากลับเลือกที่จะมาสอนหนังสือตออีกระยะหนึ่ง กอนตัดสินใจเขาทํางานกับ วทัญู ณ ถลาง ผูอํานวยการศูนยวิจัยและ พัฒนาการกอสรางแหงชาติ ในขณะนั้น ณ ที่ทํางานใหมแหงนี้ แมจะเปนงานที่ไดกลองมากกวาไดเงิน มีเกียรติ และศักดิ์ศรีมากกวารายไดคาตอบแทน แตรตยาก็ยืนยันวา ที่แหงนี้มีสวน อยางยิ่งที่ชวยบมเพาะประสบการณใหเธอไดเรียนรู ซึบซับ และเขาใจถึง ความสําคัญระหวาง “คนกับสถานที่” และยังไดเก็บเกี่ยวความความรูจาก ประสบการณตรง “ตัวอยางงานชิ้นแรกๆ ที่ทํา เริ่มตั้งแตถวายความรูใหแกพระสงฆวา ควร จะดูแลบูรณะวัดอยางไร หรือการอนุรักษพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร เชน การวาง กติกาไมใหมีการกอสรางอาคารสูง หรืออยางงานดานสวนสาธารณะ ก็เปน ผูที่ใหความคิดและแนะนําใหเปลี่ยนโฉมสวนจตุจักรเปนสวนสาธารณะ จาก เดิมเคยเปนสถานที่ทิ้งขยะ รวมไปถึงงานบูรณะสถานที่สําคัญและเกาแกทาง ประวัติศาสตร เชน งานบูรณะหอไตรวัดระฆัง เปนตน” ตอมา รตยากาวขึ้นมารับหนาเลขานุการศูนยวิจัยและพัฒนาการ กอสรางแหงชาติ ซึ่งรตยาเรียกเอาเองวาเปนงานเสมียน ซึ่งจะตองจดทุกราย ละเอียดที่จําเปนสําหรับงานทุกเรื่อง กอนจะขยับไปสูงานอื่นๆ กระทั่งเขาไปมี สวนในการดูแลสิ่งแวดลอมในที่สุด

มิสเตอรไบซิเคิล นักวิชาการดานสิ่งแวดลอมคนสําคัญ ผูกอตั้งชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพ แหงประเทศไทย ใชเวลากวา 20 ป เพื่อรวมบุกเบิก ริเริ่มความคิด ในการ ปลุกใหคนหันมาใชจักรยานเดินทาง เพื่อลดปญหาภาวะมลพิษทางอากาศ ชื่นชอบและหลงใหลการปนจักรยานเปนชีวิตจิตใจ เมื่อปลาจะกินดาว 10 203


แมฉายาซึง่ เปนทีร่ จู กั ในหมูเ พือ่ น นัก วิชาการ เอ็นจีโอ สื่อมวลชนสายสิ่ง แวดลอม และแนนอนที่สุด แนวรวมนัก ปนจักรยานเพื่อสิ่งแวดลอม ซึ่งเรียกขาน เขาผูนี้วา “มิสเตอรไบซิเคิล” จะเปนเพียง เสี้ ย วเดี ย วของกิ จ วั ต รด า นสิ่ ง แวดล อ ม แต ก็ ช ว ยยื น ยั นจุ ด มุ ง หมายและจุ ด ยื น ของวิศวกรผูนี้ไดเปนอยางดี ยังไมนับชื่อ ตําแหนงทางวิชาการดานสิ่งแวดลอมที่ พวงทายอีกมากมาย ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ อดีตประธานชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพ แหงประเทศไทย กลาวออกตัววา ฉายามิสเตอรไบซิเคิลที่เขาไดรับมานั้น แมจะกลบภาพลักษณของความเปนนักวิชาการผูเชี่ยวชาญดานสิ่งแวดลอม ไปเกือบหมด แตก็นับเปนสวนสําคัญอยางหนึ่งที่ทําใหหลายคนรูจัก และ จดจําไดงาย “ผมเคยคุยกับคุณมีชัย วีระไวทยะ อดีตรัฐมนตรีประจําสํานักนายก รัฐมนตรีวา ผมอยากจะเปลี่ยนภาพพจนของตัวเองใหสังคมเห็นวา ผมเปน โปรเฟสเซอรทางดานสิ่งแวดลอม เพราะทุกวันนี้คนสวนใหญรูจักผมในนาม ของมิสเตอรไบซิเคิลมากกวา แตคุณมีชัยกลับบอกผมวา อยาเปลี่ยนเลย เปน มิสเตอรไบซิเคิลนี่แหละดีแลว เพราะเปนเอกลักษณและเปนตัวนําเสนอไดดี ทุกอยางมันอยูที่สิ่งที่เรากระทําตางหาก” “สมัยนี้ใครๆ ก็เขาใจคําวา SD หรือ Success able Development หรือการ พัฒนาอยางยั่งยืนมากขึ้น เขาใจวามันมี 3 ขา คือ เศรษฐศาสตร สิ่งแวดลอม และสังคม ผมพยายามจะมองทั้ง 3 ขา ไมมองดานใดดานหนึ่ง เพราะฉะนั้น จึงตองมีการถวงดุลกัน ซึ่งมันก็ไมใชเรื่องงาย เพราะดุลของแตละคนก็ไมเทา กัน แตผมจะพยายามไมไปขางใดขางหนึ่งมากจนเกินไป เพราะมันจะทําใหมี ปญหาอยางอื่นตามมา” เขาบอก นั่นคือมุมมองที่มีตองานดานสิ่งแวดลอมสําหรับธงชัยที่ตองประคองให เมื่อปลาจะกินดาว 10 204


หลักการทั้ง 3 ดาน เดินควบคูกันไปไดอยางสมดุล เขาบอกอีกวา วิกฤตการณ ดานสิ่งแวดลอมในปจจุบันสงผลใหผูคนในทุกอาชีพตางตระหนักถึงปญหาที่ เกิดขึ้นทั่วโลก ทั้งวิศวกรและสถาปนิกเองจึงไมอาจหลีกเลี่ยงความจริงขอนี้ได โดยทั้งสองอาชีพจําเปนตองมีความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมและผลกระทบ ที่ที่มีตอสังคมมากขึ้น “สมัยนีว้ ศิ วกรตองมีตาํ แหนงทีด่ แู ลเรือ่ งสิง่ แวดลอมโดยเฉพาะ แมกระทัง่ สภาวิศวกรที่ดูแลวิศวกรทั่วประเทศก็ใสใจเรื่องนี้ ทําใหวิศวกรรุใหมๆ ตองมี ความสนใจเรื่องสิ่งแวดลอมมากขึ้น ไมวาจะถูกบังคับหรืออยางไรก็ตาม ขณะ เดียวกันนักธุรกิจ ผูประกอบการ ก็สนใจเรื่องสิ่งแวดลอมมากขึ้นดวย จึงได เกิดกระบวนการที่เรียกวาซีเอสอาร หรือบรรษัทบริบาล ที่ดําเนินกิจกรรม ภายในและภายนอกองคกรโดยคํานึงถึงผลกระทบตอสังคมทุกระดับ มีการใช ทรัพยากรโดยไมใหกระทบตอสังคม” เขากลาว อาจารยธงชัย มองวา ศาสตรดานสิ่งแวดลอมในทุกวันนี้ไดขยายขอบเขต ไปมากขึ้น กระทั่งมีการบัญญัติขอกฎหมายที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอม มีการ กําหนดเนื้อหาและความหลากหลายของหลักวิชาการมากขึ้น อยางไรก็ตาม คนที่เรียนดานวิศวกรรมสิ่งแวดลอมอาจไมจําเปนตองเปนนักสิ่งแวดลอม สวนคนที่เรียนเศรษฐศาสตรสิ่งแวดลอมก็อาจไมเปนนักสิ่งแวดลอมเชนกัน ฉะนั้น ผูที่สมัครใจเขามาทํางานดานสิ่งแวดลอมอยางเอาจริงเอาจัง จึงนา จะเกี่ยวของกับเรื่องของอุดมการณหรือความชอบสวนตัวเปนปจจัยหลัก มากกวา ดร.ธงชัย อธิบายเพิ่มวา สาเหตุที่ทําใหเขากาวเทาเขามายืนอยู ณ จุด นี้ เปนเพราะความชอบและความสนใจเปนการสวนตัว เพราะหากพินิจ พิเคราะหไปแลว แมบางคนจะมีหนาที่ดูแลดานสิ่งแวดลอม แตหลังหมด ภาระหนาที่จากการงานประจําวันลงแลว ก็อาจจะใชชีวิตหรือปฏิบัติตัวไป คนละทางกับงานประจําก็เปนไปไดเชนกัน สิ่งที่เปนปจจัยเรงเราใหเขาหันมาสนใจและชื่นชอบงานดานสิ่งแวดลอม จึงเปนอยางอื่นไปไมไดนอกเสียจากจิตสํานึกและความตระหนักตอปญหา วิกฤตการณสิ่งแวดลอมที่กําลังเกิดขึ้นอยูตรงหนา และอีกสวนหนึ่งก็คือการ เมื่อปลาจะกินดาว 10 205


ถูกบมเพาะดวยวิถีชีวิตในวัยเยาวที่ใกลชิดผูกพันอยูกับธรรมชาติ “คงเปนเรื่องยากที่จะบอกไดวา ความชอบในเรื่องนี้เริ่มตนตรงจุดไหน ทําไมถึงชอบเรื่องสิ่งแวดลอม ซึ่งผมก็ยังไมแนใจนักวาเปนเพราะตัวเองชอบ หรือเปนอิทธิพลของโรงเรียน เพราะหากยอนกลับไปตั้งแตสมัยกอนเขาเรียน ตอนนั้นจําไดวา บานของผมแมจะอยูในกรุงเทพฯ แตถัดออกไปไมไกลใน ละแวกนั้นก็ยังเปนทุงนา ยังพอมีปาใหเห็น มีบึงใหไปจับปลากัด จับจิ้งหรีด ตอนที่ยังเปนเด็กผมเคยนั่งดูมดไดเปนชั่วโมงๆ ไมรูเหมือนกันวามีอะไรดลใจ ใหทําอยางนั้น อานเจอตอนหลังวานักวิทยาศาสตรดังๆ ก็เคยทําอะไรทํานอง นี้ (หัวเราะ) จนกระทั่งมาเปนนักเรียนประจําที่โรงเรียนอัสสัมชัญ ศรีราชา ก็ ตั้งหนาตั้งตาเรียนหนังสือเหมือนเด็กทั่วๆ ไป” “สําหรับชีวิตวัยเด็ก ในสายตาของผมมองวา จักรยานเปนพาหนะที่ ทําใหเราทองโลกไดกวาง สมัยนั้นจักรยานเปนสิ่งฟุมเฟอย ผมจึงไมมีเปน ของตัวเอง แตมักไปยืมจักรยานคนขางบาน โดยที่เขาไมรูวาผมเปนคนยืม ไป (หัวเราะ) ชวงที่ผมเริ่มโตขึ้นก็พบวาจักรยานเปนพาหนะที่สามารถพา เราไปในที่ไกลๆ ได ใชจักรยานไปเที่ยวได เปลี่ยนจากที่ตองวิ่งซนไปไกลๆ มาใชจักรยานแทน ก็ทําใหไปเลนซนไดไกลขึ้น นี่แหละที่เปนที่มาที่ไปของ ความชอบจักรยาน” เขายังจําไดแมนวา ทุกๆ วันอาทิตย ครูจะปลอยใหออกไปนอกรั้ว โรงเรียน ใหไปเดินเที่ยวตลาดหรือไปเที่ยวทะเล สัปดาหตอมาก็ไปตลาด หรือภูเขา หรือไมก็อยูที่โรงเรียน นั่งอานหนังสือ สลับกันอยูอยางนี้ ก็เลย ฝงอยูในวิธีคิดวา นั่นคือสิ่งที่เราตองรักษาและหวงแหนไว

สถาปนิกชุมชน สิ่งที่รตยาใหความสําคัญเปนพิเศษตลอดมาตั้งแตเริ่มงานสถาปตย คือ 3 หัวใจหลักที่ตองอยูอยางสอดประสานกันหรืออยูรวมกันอยางมีสมดุล นั่น ก็คือ คน-อาคารสถานที่-ธรรมชาติ หากมีสิ่งใดมากกวาหรือเกินสมดุล ยอม หนีไมพนที่จะเกิดปญหาอื่นๆ ตามมา “จริงๆ สมัยเรียน เราเรียนในเรื่องที่ครอบคลุมมาก ตั้งแตโครงสราง ของตนไม รวมถึงรูปรางของพืช ยิ่งกวานั้นตอนที่เรียนอยู อาจารยแสงอรุณ เมื่อปลาจะกินดาว 10 206


รัตกสิกร ทานเปนคนสอนวิชาเอกดานสถาปตย ทานมีแนวคิดสําคัญๆ มากมาย เปนคนบัญญัติศัพทคําวา ทัศนะอุจาด เพื่อใชเรียกมลภาวะทาง สายตา เราเรียนมาก็นั่งฟงเรื่องที่แกสอน หลายเรื่องก็เห็นวาเปนอยางที่แก วามาจนถึงทุกวันนี้ โดยเฉพาะเรื่องฝงเมือง สิ่งกอสราง ที่ถือวาเปนหนา เปนตาของเมือง เพราะฉะนั้นถาพูดถึงงานสถาปตยกรรม สิ่งที่ไดรับการ ปลูกฝงมาตั้งแตแรกก็คือ ตองมองใหออกวาจะกอสรางอะไร ตองมอง เรื่อง สิ่งแวดลอมเปนสวนประกอบสําคัญ แมจะไมไดมีวิชาสิ่งแวดลอมโดยตรง” หลังจากทําหนาที่เลขานุการศูนยวิจัยและพัฒนาการกอสรางแหงชาติ ประมาณ 4 ป รตยาไดเก็บเกี่ยวประสบการณไวมากมาย ทั้งงานประจําและ กิจกรรมนอกเหนือจากหนาที่รับผิดชอบหลักๆ งานสําคัญที่ทาทายประสบการณของอาจารยรตยาในชวงเวลานั้นก็ คือ การแกไขปญหาที่อยูอาศัย รวมทั้งการริเริ่มและประสานงานการจัดตั้ง การเคหะแหงชาติ เพื่อชวยเหลือผูมีรายไดนอยและรายไดปานกลาง ใหมีที่ อยูอาศัยเปนของตนเอง ป 2516 หลังรัฐบาลตั้ง “การเคหะแหงชาติ” ขึ้น รตยาไดเขามามี บทบาทสําคัญในฐานะผูอํานวยการสํานักผูวาการ โดยมีวทัญู ณ ถลาง ดํารงตําแหนงผูวาการการเคหะแหงชาติคนแรก ขณะที่รตยามุงมั่นทํางาน อยางเต็มที่ เพราะเปนสายงานที่คุนเคยและมีความเชี่ยวชาญอยูแลว จนมี ความกาวหนาในการงานและตําแหนงตามลําดับและขวบปที่ผานเลย ระหวางเปนผูอ าํ นวยการนัน้ รตยามีโอกาสสรางผลงานใหเปนทีป่ ระจักษ มากมาย โดยเฉพาะเรือ่ งความสามารถในการจัดการและแสดงวิสยั ทัศนใน การแกปญ  หา หลายสิง่ ทีเ่ ธอริเริม่ ระหวางนัน้ ทําใหไดชอ่ื วา เปนหนึง่ ในผูบ กุ เบิก เปนตนธารสําคัญในการสรางความเขมแข็งและเติบโตใหกบั การเคหะแหงชาติ แฟลตการเคหะทีม่ อบโอกาสในชีวติ ใหกบั คนจนจํานวนมากไดมที อ่ี ยูอ าศัย ก็ เกิดขึน้ ในยุคทีร่ ตยาเปนผูอ าํ นวยการนัน่ เอง รตยา เล็งเห็นวา การปรับปรุงชุมชนแออัดและพัฒนาที่อยูอาศัยในชุมชน นั้น จําเปนตองดําเนินการอยางครอบคลุมทุกมิติ ทั้งเรื่องสาธารณูปโภค สาธารณูปการ การปรับปรุงสิ่งแวดลอม สังคม ชุมชน กอนจะประกอบกัน เมื่อปลาจะกินดาว 10 207


เปนชีวิตความเปนอยูของพวกเขา กวา 15 ป นับจากวันที่ไดชื่อวาเปนหนึ่งในผูบุกเบิกหลายสิ่งใหการ เคหะฯ ในที่สุดรตยาก็กาวขึ้นสูตําแหนงผูวาการการเคหะแหงชาติ ในป 2531 โดยตลอดชวงเวลาที่อยูในตําแหนงไดริเริ่มโครงการใหมๆ อยางตอเนื่อง ซึ่ง ลวนแตมีสวนแกปญหาคนในชุมชนมากมาย แนวคิดเรื่องการจัดตั้ง “สํานักงานพัฒนาชุมชนเมือง” เปนอีกแนวคิด หนึ่งที่รตยาเปนผูริเริ่ม จนสําเร็จเมื่อป 2535 กลายเปนองคกรที่รวมชุมชน แออัดในเมืองใหมีความเขมแข็ง มีความมั่นคง ในลักษณะเครือขายที่เกื้อกูล กันและกัน ตอมาในป 2543 สํานักงานพัฒนาชุมชนเมืองไดรวมกับกองทุนพัฒนา ชนบทของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และจัดตั้งเปน “สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน” โดยขยายงานครอบคลุมการ พัฒนาชุมชนทั้งเมืองและชนบททั่วประเทศ แนวคิดของอาจารยรตยามีสวนอยางยิ่งในการเปลี่ยนทัศนคติของคนใน ชุมชนเล็กๆ ในเขตเมือง หรือกระทั่งชุมชนแออัดในมุมตางๆ ของกรุงเทพฯ ใหหันมาใสใจในสภาพแวดลอมที่ตนเองอาศัยอยู และรวมมือกันสรางสิ่ง แวดลอมที่ดีใหเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม ประสบการณระหวางที่รับตําแหนงเปนผูวาการเคหะฯ เปนอีกหนึ่งแรง หนุนที่ทําใหเธอมองเห็นสภาพของเมืองใหญที่เจริญเติบโตอยางไรทิศทาง โดยเชื่อมโยงและสะทอนถึงปญหาเรื่องคนกับความตองการและสิ่งจําเปนใน การดํารงชีวิต ที่กําลังลุกลามเพิ่มขึ้นอยางไมสิ้นสุด และพรอมที่จะขยายตัว ออกไปในนามของการพัฒนา หากไมมีใครเขาไปดูแลหรือจัดการอยางจริงจัง ก็ยอมสุมเสี่ยงที่จะทําใหความสมดุลในทุกพื้นที่ถูกทําลายลง “ทั้งคนรุนปจจุบันและรุนตอๆ ไปจะตองตระหนักถึงความสําคัญของ สิ่งแวดลอมอยางสมําเสมอ โดยสิ่งที่ควรจะดังกองสะทอนอยูในสํานึกของ ทุกคนคือ คน-ชุมชน-สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ ตองยึดโยงกัน อยางมีเหตุผล ออนไหวตอผลกระทบซึ่งกันและกัน หากมุงหวังจะใหสังคม มนุษยเขมแข็ง ยอมเลี่ยงไมไดที่ตองใหความสําคัญกับเรื่องการรักษาทรัพยา เมื่อปลาจะกินดาว 10 208


กรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหคงอยูสืบไป สิ่งใดที่นับเปนปาจะแยกออกจาก กันไมได” นั่นคือสิ่งที่อยูในใจของสถาปนิกผูนี้เสมอมาตราบจนกระทั่งวัยยาง 80 ป ในปจจุบัน

วิศวะสิ่งแวดลอม จากประสบการณที่คลุกคลีอยูทั้งแวดวงวิศวกรและสิ่งแวดลอมมานาน เคยเปนอาจารย สอนคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ขณะ ที่งานซึ่งอยูในความรับผิดชอบเรื่อยมา จนกระทั่งถึงปจจุบัน สวนใหญเปน เรื่องของนโยบายดานมลพิษและสิ่งแวดลอมเปนหลัก สิ่งที่ดร.ธงชัย ประสบพบเห็นมาตลอดชวงชีวิตการทํางานนั้น หากไล เรียงลําดับกอนหลังกวาที่จะบมเพาะขึ้นมาเปนตัวตนของเขาในวันนี้ หลาย เรื่องมีความซับซอนเกินกวาจะอธิบายได เห็นไดจากกองเอกสารดานวิชาการ และขอมูลดานวิศวกรรมที่กองพะเนิน ซึ่งเปนแถบขอมูลที่พุงไปคนละทิศละ ทางกับเรื่องสิ่งแวดลอม และเมื่อเวลาผานเลยไปปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นและ สั่งสมอยูตามรายทาง ก็กลายเปนปญหาหมักหมมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ วิศวกรผูนี้จึงตระหนักในที่สุดวา หากเลี่ยงที่จะเขาไปมีสวนรวมคิดหา ทางแกไข หรือปลอยใหปญหาดํารงอยูเชนนี้ตอไปคงยากลําบากมากขึ้น และ การจะปลดล็อคปญหาลงไดตองเริ่มตนจากนโยบายหรือวิสัยทัศนของผูมี อํานาจที่มีสวนสําคัญในการกําหนดชี้ใหวิศวกรปฏิบัติไปตามนั้น “เมื่อกอนวิศวสิ่งแวดลอมไมไดอยูในขอบขายงานควบคุม ไมมีการ กําหนดชัดวาผูเชี่ยวชาญสาขาจะตองเขามารับงานอะไร ดานไหน ใครจะ ทําก็ได โดยหลักการสมัยแรกๆ นั้นวิศวกรสิ่งแวดลอมแทบไมตองรับผิด ชอบตอผลการกระทําของตนเองมาก เชน ถาทําระบบบําบัดน้ําเสียพังแลว คนไมตาย ก็ถือวาไมผิด ซึ่งผมวามันผิดหลักการแลว เพราะถามันไปสราง ปญหาใหน้ําเนาแลว ปลาตาย คนก็ตองไดรับผลกระทบดวย เพราะถา สิ่งแวดลอมเสียหาย คนก็ตาย ไมมีแหลงทํารายได และตายเปนวงกวาง สุดทายผมไดตอสูเรื่องนี้อยูนานถึง 20 ป เพื่อจะผลักดันใหวิศวกรเปน วิชาชีพที่ตองมีหลักการควบคุม” “งานที่ผมทําอยูขณะนี้เปนการประยุกตทางวิศวกรรมศาสตร ซึ่งเปนเรื่อง เมื่อปลาจะกินดาว 10 209


ที่ประชาชนตองเขามามีสวนรวมดวยการเขาไปรับฟงความเห็น ทําประชา พิจารณ กอนหนานี้ผมเคยเปนประธานกรรมการรื้อโครงการโฮปเวลล เคย เปนประธานที่ปรึกษา โรงไฟฟาราชบุรี เปนคณะวิชาการของการทําประชา พิจารณโครงการทอกาซไทย-มาเลเซียที่ อ.จะนะ จ.สงขลา ซึ่งแมปจจุบันไม ไดทําประชาพิจารณกันแลว เพราะเกิดปญหามาก แตผมก็เคยมีสวนรับทราบ เรื่องทั้งหมด” เขากลาว หากอธิบายใหเขาใจงายๆ งานที่ธงชัยทําก็คือ การใชฐานวิชาการดาน วิศวกรรมสิ่งแวดลอมมาตั้งเปนกฎกติกาขึ้น เพื่อไมใหมีผลกระทบตอสิ่ง แวดลอมและมนุษยเอง แลวจึงนํากติกานั้นไปอธิบายทําความเขาใจกับ ประชาชนในพื้นที่วายอมรับหรือไม ตางจากการทําประชาพิจารณที่ตองอิง กับระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี “วิศวกรรมสิ่งแวดลอมถือเปนงานวิศวกรรมประเภทหนึ่ง ไมวาจะเกี่ยว ของกับเรื่องน้ําเสีย เรื่องขยะ หรืออะไรก็ตาม ซึ่งจําเปนตองอาศัยความมี จิตวิญญาณดานสิ่งแวดลอมเพื่อที่จะแกปญหามลพิษ แนนอนวาเปาหมาย สุดทายคือจะตองทําใหสิ่งแวดลอมดีขึ้น” เขาบอกอีกวา ในทางกลับกันอาจมีวิศวกรที่ปฏิเสธความรับผิดชอบ หรือไรสํานึกดานสิ่งแวดลอม หรืออาจมีคําถามวา ในการพัฒนาทําไมตอง เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอมมาเกี่ยวของ เพราะการพัฒนาตองคํานึงถึงจุดคุม ทุนเปนหลัก และอาจตองยอมแลกกับการสูญเสียอะไรบางอยางไปบาง ซึ่ง ความคิดลักษณะเชนนี้ถือเปนความลาหลังไปแลว “ตอนนี้ เราต อ งทํ า ความเข า ใจกั น ใหม เพราะความเข า ใจเรื่ อ งของ นิ เวศวิ ท ยาขยายวงกว า งออกไปมากขึ้ น ผู ที่ ได ชื่ อ ว า จะเข า มาพั ฒ นาหรื อ เปลี่ยนแปลงตองคิดเรื่องนี้ดวย ผมเองก็ถูกตอวามาเยอะ โดยเฉพาะเรื่อง มาบตาพุด บางครั้งหาวาเขาขางผูประกอบการมากเกินไป ในขณะเดียวกันก็ ถูกผูประกอบการตําหนิวาพยายามจะเขาใจเอ็นจีโอมากเกินไป” สําหรับกรณีขอขัดแยงที่เกิดขึ้นกับนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด บทบาท สําคัญลาสุดของธงชัยคือ การเขารวมเปนกรรมการ 4 ฝาย ซึ่งนับวาเปนโจทย ใหญของประเทศ แตหากคลี่คลายปญหามาบตาพุดลงไดก็แทบจะเรียกไดวา เมื่อปลาจะกินดาว 10 210


ปญหาอื่นๆ ระดับชาติก็จะแกไดงายลง “ผมไดรับมอบหมายใหเปนประธานคณะอนุกรรมการรับฟงความคิดเห็น ของประชาชน เพื่อปรับปรุงรายการโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผล กระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ในคณะกรรมการ 4 ฝาย ตรงนี้เปนงานที่ไมงายเลย เพราะทั้ง ฝายชาวบานและฝายผูประกอบการก็ยังเขาใจไมตรงกันในหลายประเด็น โดยเฉพาะการกลั่นกรองและคัดเลือกวาโครงการลักษณะใดบางที่เขาขายสง ผลกระทบรุนแรงตอชุมชน” “ดวยความที่เขาใจไมตรงกันนี่เอง ทําใหเกิดการแบงออกเปน 2 ขั้ว ใน ขณะเดียวกัน ถาตองการใหโครงการประเภทใดประเภทหนึ่งถูกระบุอยูใน บัญชีรายชื่อกิจการที่เปนอันตรายตอชุมชน ทั้งสองฝายก็ตองเห็นพองตรง กันดวย ซึ่งหนาที่ของผมคือจะตองรับฟงทั้งสองฝายแลวมาประมวลความ คิดกัน ที่สําคัญเมื่อมีการประกาศวากิจการหรือกิจกรรมใดที่เปนอันตราย ตอชุมชนแลว มันตองปฏิบัติใหไดดวย”

เสียงเพรียกจากพงไพร ศศิน เฉลิมลาภ เลขาธิการมูลนิธิสืบ นาคะเสถียร บอกวา จากการ ที่ไดรูจักอาจารยรตยามานาน สามารถกลาวไดวา สิ่งที่ไดรับการถายทอด ความรูใหฟงอยูเสมอ ทั้งเรื่องการรักษาปา มุมมองและแนวคิดตางๆ นั้น เปน สิ่งที่กลั่นกรองมาจากทั้งชีวิตของอาจารย ดวยอุปนิสัยละเอียดออน ความ เปนศิลปนและนักวิชาการในตัวคนคนเดียวกัน รวมถึงประสบการณตรงที่ คอยๆ ถูกซึมซับหรือไดพบเจอ ทั้งจากชุมชนเมืองและปา บูรณาการกันขึ้น เปน “นางสิงหเฝาปาตะวันตก” ที่ยังมีพลังปกปองผืนปาและทํางานรวมกับ ผูคนหลากหลายกลุมอยางไมรูจักเหน็ดเหนื่อย ทุกวันนี้ นอกเหนือจากงานประจําที่มูลนิธิสืบฯ ซึ่งอาจารยรตยายังคง เดินทางไปทํางานทุกวันโดยไมรับเงินเดือน อีกกิจกรรมหนึ่งที่ยังปฏิบัติอยาง ตอเนื่อง โดยถือเปนภารกิจประจําอยางนอยเดือนละ 2 ครั้ง ก็คือ การเดินปา ทําไมประธานมูลนิธิสืบฯ ถึงไดหลงใหลชื่นชอบการเดินปาเปนชีวิตจิตใจ ศศิน บอกวา แมจะไดยินไดฟงเหตุผลในความหลงใหลการเดินปาของเธอมา เมื่อปลาจะกินดาว 10 211


บาง แตสิ่งที่เชื่อวาเปนเหตุผลหลัก นาจะมาจากเหตุผลสวนตัว หลัง จากที่รตยาคนพบวา ผืนปาตะวัน ตกที่ เ ธอแวะเวี ย นไปเยี่ ย มเยี ย น บอยครั้งจนแทบจะเรียกไดวาเปน บานหลังที่สองนั้น อุดมไปดวยสิ่งที่ เรียกวา แรงบัลดาลใจ... หลังจากสืบ นาคะเสถียร หัวหนาเขตรักษาพันธุสัตวปาหวย ขาแขง ฝากเจตจํานงสุดทาย ให คนรุนหลังรับรูถึงความสําคัญของ ศศิน เฉลิมลาภ ผืนปาตะวันตก ดวยการตัดสินใจ กระทําอัตวินิบาตกรรม ในเชาวันที่ 1 กันยายน 2533 สิ้นเสียงแผดกองของกระสุนปนนัดนั้น วากันวา ผืนปาที่เขารักสุดลม หายใจพลันเงียบลงชั่วขณะ ราวกับกําลังไวอาลัยกับสิ่งที่เกิดขึ้น ตอมาไม นาน คําถามที่ระคนไปดวยน้ําเสียงเศรา ถามขึ้นพรอมๆ กันหลังจากทราบ ขาวรายนั้นวา เกิดอะไรขึ้น? ผานไปกวา 2 สัปดาห ความโศกเศราจากการสูญเสียครั้งสําคัญเริ่ม คลายลง ผูที่เคยรวมงานและมีอุดมการณเดียวกับสืบ ลอมวงปรึกษากันวา จะหาทางชวยกันสานตอแนวคิดของสืบใหคงอยูตอไปอยางไร แนวคิดหนึ่งที่ผุดขึ้นขณะนั้นคือ ตั้งมูลนิธิเพื่อสานเจตนาในการปกปอง ปา ดําเนินรอยตามสิ่งที่สืบไดเริ่มตนไว แตการตั้งมูลนิธิจําเปนอยางยิ่งที่จะ ตองมีใครสักคนสวมวิญญาณเดียวกับเจาของชื่อมูลนิธิ เพื่อสืบทอดภารกิจ ในฐานะประธาน ทุกคนที่อยูรวมเหตุการณในวันนั้น เห็นพองตองกันในชื่อหนึ่งอยางเปน เอกฉันท วาเหมาะสมที่จะนั่งเกาอี้ตัวนี้ แลวชื่อของรตยาก็ถูกเสนอขึ้นเปน ประธานมูลนิธิสืบ นาคะเสถียร ตั้งแตวันที่ 18 กันยายน ปเดียวกันนั้นเอง หากจะกลาวถึงความผูกพันระหวางรตยา-สืบ-และผืนปาตะวันตก อาจ เมื่อปลาจะกินดาว 10 212


ตองตองยอนกลับไปที่วีรกรรมการเคลื่อนไหวปกปองผืนปาแหงนี้ จากการตอ ตานโครงการสรางเขื่อนที่รูจักกันในชื่อ “เขื่อนน้ําโจน” ดวยเปาหมายที่วางไววา ประเทศไทยตองผลิตกระแสไฟฟาใหได 3.6% ตามการประมาณการความตองการพลังงานไฟฟาเมื่อป 2532 ทําใหการ ไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย พยายามผลักดันใหมีโครงการกอสรางเขื่อน ผลิตไฟฟา โดยปดกั้นลําน้ําแควตอนบน บริเวณเขาน้ําโจน เขตรักษาพันธ สัตวปาทุงใหญนเรศวร จ.กาญจนบุรี เขื่อนนี้จะทําใหเกิดอางเก็บน้ําขนาดใหญ 85,625 ไร ที่ระดับความสูง 370 เมตร นั่นหมายความวา น้ําจะทวมใจกลางปาทุงใหญนเรศวรเปนพื้นที่ นับหมื่นไร ประมาณการกันวา ตองใชเวลาในการกอสรางและตัดไมออกจาก บริเวณที่จะกลายเปนอางเก็บน้ํานานถึง 3 ปครึ่ง โดยตองใชเงินทุนในการ กอสรางกวา 1.2 หมื่นลานบาท ผลลัพธจากการเปลี่ยนผืนปาเปนเขื่อนก็คือ ปาทุงใหญนเรศวรผืนใหญ ที่สุดในประเทศไทย (ไดรับการประกาศจากองคการยูเนสโกใหเปนพื้นที่มรดก ทางธรรมชาติของโลก ในป 2534) จะถูกทําลายลงทันที “โดยสวนตัวเริ่มรูจักชื่อคุณสืบในชวงที่คัดคานการสรางเขื่อนน้ําโจนนี่เอง คุณสืบเคยไปทํางานการเคหะฯ ตอนนั้นยังไมไดรูจักกัน กระทั่งมารูจักภาย หลัง แตก็ไมไดถือวารูจักตัว รูจักแคผลงาน เพราะคุณสืบจะเขียนขอมูลสงมา ใหวา พื้นที่ตรงนี้มันสําคัญอยางไร มีสัตวปา มีตนไมอยางไร ถาสรางเขื่อน จะเสียทรัพยากรไปอยางไร” รตยา เลายอนถึงเมื่อครั้งที่รูจักสืบเปนครั้งแรก กอนจะเลาตออีกวา “การคัดคานเขื่อนน้ําโจนในตอนนั้นมีบุคคลเขามารวมหลายกลุม ตั้งแต ระดับนักเรียนมัธยม ระดับมหาวิทยาลัย พอคาแมคาในตลาด บรรดาผู พิทักษปา กลุมคนทํางานดูแลรักษาปา ทุกกลุม ตางเห็นตรงกันหมดวา ตอง ไมสรางเขื่อน ตอนนั้นที่ตลาดเมืองกาญจนบุรี รานคาหลายรานสมัครใจติด ปายประทวงหนารานกันเลย เรียกไดวาเกิดความสามัคคีรวมพลังกันหลาย วัย หลากสาขาอาชีพ เปนภาพของพลังบริสุทธิ์ในการเรียกรองเพื่อสวนรวม อยางแทจริง” เมื่อปลาจะกินดาว 10 213


ผลก็คือ หนาหนึ่งของประวัติศาสตรดานสิ่งแวดลอม การเมือง และ การเคลื่อนไหว ไดบันทึกเหตุการณสําคัญไววา วันที่ 4 เมษายน 2531 คณะ รัฐมนตรีมีมติระงับการสรางเขื่อนน้ําโจน เพราะการเรียกรองในครั้งนั้นนั่นเอง และสืบเนื่องจากเหตุการณดังกลาวเกิดขึ้นในชวงรอยตอระหวางป 25302531 ซึ่งเปนชวงเวลาเดียวกันกับการกําลังดํารงตําแหนงเปนผูวาการเคหะฯ ของรตยา การที่เธอตัดสินใจเขารวมเปนหนึ่งในแกนนําคัดคานโครงการเขื่อน น้ําโจน จึงกลายเปนสิ่งที่ถูกมองวา เธอสวมหมวกสองใบในเวลาเดียวกัน ทั้ง ที่เปนเรื่องที่เธอสนใจมาโดยตลอด หมวกใบหนึ่ ง คื อ การบริ ห ารจั ด การเพื่ อ ใช ท รั พ ยากรที่ มี อ ยู ใ ห เ ป น ประโยชนกับคนมากที่สุด ขณะที่อีกเรื่องหนึ่งที่สนใจเปนการสวนตัวก็เห็นอยู เต็มอกวา ทรัพยากรที่มีอยูนั้นลวนมาจากธรรมชาติทั้งสิ้น และเปนสิ่งที่สราง ขึ้นทดแทนไมได สิ่งที่เธอทํามาทั้งหมด จึงเปนการตัดสินใจดวยคํายืนยันที่หนักแนนและ เด็ดเดี่ยววา “...เลือกแลว ในชีวิตเราตองเลือกวาอะไรสําคัญ อะไรไมสําคัญ” จนถึงทุกวันนี้ ยังไมมีใครกลาประเมินวา หากการคัดคานในครั้งนั้นไม สําเร็จ จะเกิดอะไรขึ้นบางในวันนี้

ปนจักรยานกูโลก ผานไปแลวเกือบ 20 ป สิ่งที่อาจารยธงชัยพยายามผลักดันใหจักรยานมี ความสําคัญยิ่งกวาการเปนเพียงพาหนะสําหรับเดินทาง สัมฤทธิ์ผลเกินคาด ปจจุบันจักรยานถูกมองในภาพลักษณใหมและเปนที่ยอมรับกันในวงกวาง กลาวไดวาทั่วโลกตางใหการยอมรับรวมกันวาจักรยานมีสวนสําคัญในการแก ปญหาสิ่งแวดลอม มลภาวะ และลดปญหาโลกรอน ซึ่งไมใชเรื่องที่ไกลเกิน จินตนาการ “เมื่อประมาณ 15 ปที่แลว ผมเคยขอทุนจากองคกรหนึ่ง โดยบอกวา มีโครงการที่จะใชจักรยานไปแกปญหาโลกรอน แตก็ถูกตอกกลับมาวา มัน เกี่ยวอะไรกันดวย ตอนนั้นปญหาวิกฤตสิ่งแวดลอมโดยเฉพาะเรื่องโลกรอน ยังเปนเรื่องที่ไกลตัวสําหรับหลายๆ คน ตอนที่ผมขอทุนจึงเขาใจไดวา คนที่ พิจารณาโครงการอาจยังมองไมเห็นวาทั้งสองสิ่งมันมีความเชื่มโยงตอเนื่อง เมื่อปลาจะกินดาว 10 214


กัน ทั้งในดานสรางโครงสรางทางกายภาพและการสรางกระแสสังคม” บทบาทของชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแหงประเทศไทย ซึ่งในปจจุบัน เติบโตเปนสมาคมที่นักปนจักรยานทั่วประเทศรูจักกันดี และยังชวยปลุก กระแสใหสังคมไทยเกิดความตื่นตัวในการใชจักรยานกันมากขึ้น ทําใหจักร ยานคอยๆ ถูกซึมซับเขาไปสูวิถีชีวิตประจําวันของคนไทยทีละเล็กละนอย ซึ่ง ธงชัยเคยระบุไวในเอกสารบอกเลาประวัติของชมรมจักรยานฯ ดังที่ปรากฏอยู ในเว็บไซต www.thaicycling.com วา... ชมรมจักรยานฯ เคยมีคําขวัญวา “สองขาปน สองลอหมุน เกื้อหนุน กัน สรางสรรคสังคม” และ “ปนจักรยานไปเที่ยวนะเที่ยวแน แตจะแกปญหา สังคมไปพรอมกัน” ซึ่งก็เปนการแสดงจุดยืนและสะทอนถึงปรัชญาของชมรม ไดเปนอยางดี จุดยืนที่วานั้นบรรลุเปาหมายไปพอสมควร หากวัดจากจํานวนผูใช จักรยานที่มีจุดยืนเดียวกัน กระทั่งเขามาเปนแนวรวมของชมรมที่ขยันมา รวมตัวกันทุกครั้งที่มีการจัดกิจกรรม โดยชมรมจักรยานในจังหวัดตางๆ ทั่ว ประเทศ ยังมีบทบาทประสานงานกับหนวยงานของรัฐ และใหความรูแก ผูที่เกี่ยวของวา รัฐควรมีหนาที่อยางไรในการสงเสริมและรณรงคดานนี้ใน ระยะยาว ตามความเชื่อมั่นอยางแรงกลาของธงชัย เขาเชื่อวาการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการใชชีวิตของมนุษย แมจะเปนเพียงเรื่องเล็กๆ หรือเปน พฤติกรรมที่อาจไมสลักสําคัญอะไรเลย แตหากเรื่องนั้นนํามาซึ่งการลด ปริมาณการใชทรัพยากรในทางใดทางหนึ่ง การกระทําดังกลาวก็ยอมถือ เปนการขับเคลื่อนกลไกการอนุรักษสิ่งแวดลอมดวยเชนกัน

แรงหนุนจากคนรอบขาง “ทุกวันนี้เวลาเขาปา อยางมากที่สุดก็ใหพวกเด็กๆ ก็ชวยกางเต็นท เพราะไมตองการใหตัวเองเปนภาระของใคร” นี่คือสิ่งที่อาจารยรตยา พยายามจะสื่อสารใหกับผูที่อยูรอบขาง เพราะเขาใจดีวาเปนงานประจําที่ พวกเขาทํากันอยูก็ลนมือแลว สําหรับครอบครัวของรตยามีสมาชิกสําคัญคือ ลูก 3 คน คนโตเปน เมื่อปลาจะกินดาว 10 215


ลูกสาว อีก 2 คนเปนลูกชาย รตยา เลาวา ลูกสาวนั้นชอบอะไรคลาย ๆ แม หากมีเวลาวาง แมไปไหนก็จะตามติดไปไมหาง สวนลูกชายก็เลือกที่จะเปน กําลังสนับสนุนอยูที่บาน นั่นคือบทบาทของแมที่ตองเลี้ยงลูก 3 คนโดยลําพัง เพราะสามีเสียชีวิตตั้งแตป 2518 รตยา บอกวา ความรักที่มีตอลูกก็เหมือนแมทั่วไป โดยจะเลี้ยงใหพวก เขามีอิสระในการคิด ขณะเดียวกันก็ทําใหลูกๆ เห็นอยูตลอดเวลาวาแมทํา อะไรบาง แมไปสํารวจปา ไปคุยกับชาวบาน ไปประสบพบเจอกับเรื่องใดก็มัก มาเลาใหลูกๆ ฟง “ลูกๆ ไมเคยหามไมใหเขาปา แตอาจมีปรามๆ บาง ซึ่งสําคัญคือเรา ตองรูศักยภาพและเรี่ยวแรงของตัวเอง ขณะที่เรี่ยวแรงอีกสวนหนึ่งก็มีที่มา จากบรรยากาศแบบธรรมชาติที่ผืนปามอบให ซึ่งลูกๆ ก็เขาใจตรงนี้ หลังจาก ลงพื้นที่พวกเขามักจะถามวา แมไหวมั้ย ไมไหวก็พักบางนะ” อาจารยรตยา กลาว “หากมีคนถามวาระหวางงานกับครอบครัว สิ่งไหนมากอน สําหรับผม แลวประเทศชาติตองมากอน คําวาสวนรวมจึงหมายถึงคนทั้งประเทศดวย หรือบางครั้งอาจจะแคระดับเล็กๆ ซึ่งหากครอบครัวเสียหายแตประเทศก็พอ ไปได สวนทุกเรื่องนั้นทางครอบครัวก็เขาใจ แตก็ไมไดหมายความวาไมได ดูแลที่บาน” ธงชัย เลาถึงเรื่องครอบครัวใหฟง ทุ ก วั นนี้ ธ งชั ย ยั ง คงพยายามปลู ก ฝ ง ให ค นรุ น หลั ง ขี่ จั ก รยานกั นตั้ ง แต เด็กๆ โดยเริ่มตั้งแตเมื่อ 20 ปที่แลว เขาเคยพาเด็กเหลานั้นไปขี่จักรยานแถว จ.ชลบุรี “เมื่อ 20 กวาปที่แลว ผมเคยชวนลูกๆ ไปขี่จักรยานแถวบานที่ยานรังสิต เขาไมอยากไปเทาไหรนัก แตผมก็คะยั้นคะยอ วันนั้นผมเลยพาไปนั่งรถไฟ เกือบ 20 กิโลเมตร แลวขี่ขามจังหวัดระหวางปทุมธานีกับพระนครศรีอยุธยา ตอนหลังเมื่อลูกเขาสูวัยทํางานก็จะระดมความคิดความเห็นกันไดงายมากขึ้น ทุกวันนี้ภรรยาผมขี่จักรยานทางไกลประเภทขามจังหวัดมาแลว เชน จากภาค ใตมาภาคกลาง ซึ่งถือวาเยอะกวาผมอีก เพราะบางทีถาผมติดงาน เขาก็ไป กับกลุมอื่น เรียกไดวาเชี่ยวชาญกวาผมเยอะ” เขาเลา เมื่อปลาจะกินดาว 10 216


สิ่งที่วาดหวัง อาจารยรตยาทิ้งทายวา เมื่อตัดสินใจทําหนาที่รักษาปา สิ่งที่ทําจึงชัดเจน ในตัวของมันเอง มีคนเคยถามวา ทําไมถึงตองมาทําเรื่องนี้ ก็เพราะวาปาใน ประเทศไทยเหลืออยูนอยเต็มที ฉะนั้นเธอจึงพูดอยูเสมอวา การรักษาปาจะ ตองรักษาสัตวปาดวย เพื่อใหเกิดสมดุล ตองรักษาระบบนิเวศที่มีอยู เดิมให คงความสมบูรณไวใหมากที่สุด “หลายคนบอกวาประเทศไทยตองมีปา 40% แตเทาที่ดูแลวมันเหลือแค 20% เทานั้น ซึ่งชัดเจนวาสิ่งที่ทําเปนสิ่งที่เกิดจากศรัทธาและเชื่อวาเปนสิ่งที่ ถูกตอง จึงควรที่จะใหคนรุนหลังไดสืบสานแนวคิดตอไป” เธอกลาว สวนอาจารยธงชัย บอกวา จํานวนผูที่รูถึงประโยชนของจักรยานเพิ่มขึ้น มากก็จริง แตหากจะหวังใหกิจกรรมนี้ขยายวงกวางออกไป ผูที่เกี่ยวของและ รับผิดชอบในระดับนโยบาย ตองตระหนักถึงการนําไปใชจริงในชีวิตประจําวัน อยางครบวงจร “ถาถามวาทุกวันนี้การรณรงคใหขี่จักยานประสบความสําเร็จแลวหรือไม ก็คงจะตอบไดวา การใชจักรยานในประเทศไทยตอนนี้มีมากกวาที่คาด แตก็ ไมไดมากเทาที่คาดหวัง หากเปนไปไดควรมีคนขี่จักรยานกันมากกวานี้ และ ขับขี่ดวยความมั่นใจในความปลอดภัย ไมรูสึกวาการเดินทางดวยจักรยาน ลําบากยากเข็ญเกินกําลัง” ดร.ธงชัย กลาว

เมื่อปลาจะกินดาว 10 217


บรรณานุกรม - เว็บไซต สมาคมจักยานเพื่อสุขภาพ www.thaicycling.com - เว็บไซต มูลนิธิสืบ นาคะเสถียร - เว็บไซต มูลนิธิโลกเขียว

เมื่อปลาจะกินดาว 10 218


ทางเลือกเทคโนโลยีพลังงาน สําหรับสังคมไทย วันเสาร แสงมณี หนังสือพิมพขาวสด เมื่อปลาจะกินดาว 10 219


ปริมาณความตองการใชพลังงานที่เพิ่มมากขึ้นทั่วโลกกับวิถีแหง การรักษาสภาพแวดลอม ถาเปรียบไปแลวก็เหมือนกับถนนทีต่ ดั ไปสูเ ปาหมาย กันคนละทิศละทาง ยากแกการมาบรรจบเปนสายเดียวกัน ดวยเหตุนี้ ความกาวหนาดาน “เทคโนโลยี” การผลิตพลังงานรูปแบบ ใหมๆ ซึ่งไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม จึงไดรับการจับตามองวา อาจเปน “เครื่องมือ” ที่ชวยผาทางตัน หาทางออกใหกับทั้งวิกฤตการณขาดแคลน พลังงาน ไปพรอมๆ กับชวยบรรเทาปญหามลพิษ-ผลกระทบดานสิ่งแวดลอม ที่ “พลังงานยุคเกา” เชน ฟอสซิลและน้ํามันเชื้อเพลิง ไดกระทําตอโลกใบนี้ เอาไว เมื่อปลาจะกินดาว 10 220


เมื่อพิจารณาอยางกวางๆ เราสามารถแบงแยกลักษณะของเทคโนโลยี พลังงานเพื่อสิ่งแวดลอมตามขอบเขตการพัฒนาออกเปน 3 ระดับ ประกอบ ดวย 1. ระดับอยูระหวางการวิจัย ทดลองประสิทธิภาพ หรือเริ่มมีใชงานบาง แลว แตยังไมแพรหลาย นักวิชาการตางประเทศใหคําจํากัดความเทคโนโลยีกลุมนี้วา “Emergings Environmetal Technologies” หรือ เทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดลอมเกิดใหม โดย ผลงานการวิจัยที่ไดรับการจับตาจากสื่อสารมวลชนสาขาขาววิทยาศาสตวิทยาการ อยางแพรหลาย ก็เชน พลังงานคลื่น เซลลเชื้อเพลิง กระบวนการ Thermo-depolymerization ซึ่งสามารถเปลี่ยนธาตุคารบอนในวัตถุ-วัสดุตางๆ ใหกลายเปนปโตรเลียมและระบบเปลี่ยนความรอนในมหาสมุทร-ใตพิภพให เปนกระแสไฟฟา ในภาพรวมแลว อาจกลาวไดวา เทคโนโลยีเหลานี้มีจุดเดนตรงที่นํา “พลังงานหมุนเวียน” ที่มีอยูแลวตามธรรมชาติมาใชผลิตกระแสไฟฟาเพิ่ม เติมนั่นเอง ซึ่งจะไดอธิบายถึงรายละเอียดตอไป 2. ระดับที่ผานการพัฒนาเสร็จสมบูรณ เริ่มดําเนินการใชจริง และเปน “ตนแบบ” ใหหลายๆ ชาติดูเปนตัวอยางเพื่อพัฒนาตอยอด ในรายงาน ฉบับนี้ขอยกตัวอยางนําเสนอใหเห็นทิศทางเนนหนักไปยัง 2 เรื่อง คือ โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยระบบใหมลา สุดทีเ่ รียกวา “หอคอยพลังงาน แสงอาทิตย” หรือ PS20 Solar power tower ในเมืองเซบีญา ประเทศสเปน ดังทีจ่ ะยกตัวอยางตอไป รวมถึงรถยนตพลังงานไฟฟา ทีป่ ลอยมลพิษสูส ภาพ แวดลอมในระดับ Zero Emission (คามลพิษเปนศูนย) 3. เทคโนโลยีระดับใชงานในหมูป ระชาชนทัว่ ไป อาทิ นวัตกรรมไอที เครือ่ ง ใชไฟฟา จักรกลตางๆ ฯลฯ คําจํากัดความ-ลักษณะโดยสรุปของเทคโนโลยีและพลังงานที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอมแตละประเภทที่มีความโดดเดน

1. พลังงานแสงอาทิตย ตนกําเนิดพลังงาน : เกิดจากกระบวนการทํางานของ “เซลแสงอาทิตย” เมื่อปลาจะกินดาว 10 221


เซบีญา โซลาร ทาวเวอร

กังหันลม

ซึ่งเปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสชนิดหนึ่งที่ทําหนาที่เปลี่ยนพลังงานความรอน จากแสงอาทิตย ใหเปนพลังงานไฟฟา และทําจากสารที่เรียกวา “สารกึ่ง ตัวนํา” เชน แคลเซียม ซิลิคอน นอกจากนั้น ยังแยกออกไดเปน 3 ระดับยอย คือ 1.1 เซลแสงอาทิตยแบบอิสระ เปนระบบผลิตไฟฟาสําหรับใชในพื้นที่ที่ หางไกล เชน ในชนบทที่ยังไมมีไฟฟาใช ก็สามารถติดตั้งระบบนี้ เพื่อใชไฟฟาจากพลังแสงอาทิตยไดเลย 1.2 เซลแสงอาทิตยแบบตอเขากับระบบจําหนาย หมายถึงตอระบบเขา กับระบบจายไฟฟาหลักที่มีอยูแลว 1.3 เซลแสงอาทิตยแบบผสมผสาน เชน ใชพลังงานแสงอาทิตยรวมกับ พลังงานลม ระบบแสงอาทิตยกับเครื่องยนต หรืออาจจะใชใน วัตถุประสงคอน่ื ๆ เชน การใชพลังงานแสงอาทิตยในการปม น้าํ อบ แหง เปนตน

2. พลังงานลม เปนพลังงานตามธรรมชาติทเ่ี กิดจากความแตกตางของอุณหภูมิ หรือความ กดดันของบรรยากาศ ซึ่งปจจุบันไดมีการนําเอาพลังงานลมมาใชประโยชน มากขึ้น เนื่องจากพลังงานลมไมจําเปนตองมีคาใชจายในการซื้อหาเหมือน กับพลังงานแสงอาทิตย แตในประเทศไทยบางพืน้ ทีย่ งั มีปญ  หาในการวิจยั พัฒนา นําเอาพลังงานลมมาใชงาน เนื่องจากปริมาณของลมไมสม่ําเสมอตลอดป แตก็ยังคงมีบางพื้นที่สามารถนําเอาพลังงานลมมาใชใหเกิดประโยชนได เชน พื้นที่บริเวณชายฝงทะเล เปนตน ซึ่งอุปกรณที่ชวยในการเปลี่ยนจากพลังงาน เมื่อปลาจะกินดาว 10 222


ลมออกมาเปนพลังงานในรูปอื่น ๆ เชน พลังงานไฟฟา หรือ พลังงานกล ก็ได แก “กังหันลม” นั่นเอง โดยกังหันลมผลิตไฟฟายังมี 2 รูปแบบหลักๆ คือ กังหันแนวตั้ง กับแนวนอน

3. พลังงานชีวมวล สวนใหญจะเนนนําเอาวัสดุเหลือใชทางการเกษตรมาผลิตพลังงานประเภท นี้ อาทิ แกลบ ขี้เลื่อย ชานออย กากมะพราว ฯลฯ ซึ่งมีอยูจํานวนมาก

4. พลังงานความรอนใตพิภพ พลังงานชนิดนี้มีปรากฏตามธรรมชาติในลักษณะน้ําพุรอนกวาหกสิบ แหงตามแนวเหนือ-ใต แถบชายแดนตะวันตกของประเทศไทย หรือแนวเทือก เขาตะนาวศรี สันนิษฐานวา จะเปนแหลงเดียวกันกับทีแ่ ควนยูนานในประเทศ จีนตอนใต เนื่องจากอยูแนวซอนของแผนทวีปคูเดียวกัน (Indian Plate ซึ่งมุด ลงใต Chinese Plate และเกิดแรงดันในลักษณะ Back Arch) จัดอยูในแหลง พลังงานขนาดเล็กถึงปานกลาง และคาดวาจะสามารถผลิตพลังงานใหกับโรง ไฟฟาขนาดไมเกิน 50 เมกะวัตต

5. พลังงานคลื่น กระแสคลืน่ ในทะเลหรือมหาสมุทรสามารถจะนํามาผลิตไฟฟาได โดยอาศัย อุปกรณทด่ี งึ พลังงานจากคลืน่ มาใชโดยตรง ซึง่ จะทําการแปลงการเคลือ่ นไหว ในแนวตั้งของกระแสคลื่นและการพองตัวของฟองอากาศไปผลักใหเครื่อง กําเนิดไฟฟาหมุน การผลิตไฟฟาจากพลังงานคลื่น สามารถที่จะทําไดทั้งแบบ ระบบที่ติดตั้งไปตามชายฝงและระบบนอกฝงนําลึกมากกวา 40 เมตร

6. เซลลเชื้อเพลิง เทคโนโลยีเซลลเชื้อเพลิงจะประกอบดวย “ขั้วอิเล็คโทรด” ที่มีความพรุน 2 ขั้ว (แอโนดและแคโทด) จุมหรือสัมผัสกับสารอิเล็คโทรไลท (electrolyte) ซึ่ง อาจอยูในรูปของเหลวและ/หรือของแข็ง เชื้อเพลิงอันไดแก กาซธรรมชาติหรือ ไฮโดรเจนจะถูกปอนเขาไปยังขั้วอะโนด ในขณะที่ออกซิแดนท ถูกปอนเขาขั้ว คะโทด จากนั้นกาซไฮโดรเจนก็จะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่น (oxidation) โดยจะมี เมื่อปลาจะกินดาว 10 223


การใหหรือปลอยอิเล็คตรอนที่ขั้วอะโนด ในขณะที่ปฏิกิริยารีดักชั่นของกาซ ออกซิแดนท ซึ่งเกิดขึ้นที่ขั้วคะโทดจะเปนตัวรับอิเล็คตรอน ทําใหเกิด “ไฟฟา กระแสตรง” (direct-current หรือ DC) โดยที่ขั้วอิเล็คโทรดทําหนาที่เสมือนเปน แหลงปฏิกิริยา (reaction sites) เพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีไฟฟาของ เชื้อเพลิงและตัวออกซิแดนทขึ้น บริษัทผูผลิตรถยนตยักษใหญทั่วโลก ตางพัฒนาเซลลเชื้อเพลิงอยางตอ เนื่อง เพื่อใชไฟฟาที่ไดเปนแหลงกําเนิดพลังงานในรถยุคใหมของตนกระบวน การผลิตไฟฟาจากเซลลเชือ้ เพลิงทีใ่ ชสารตัง้ ตนหลักเปนไฮโดรเจน และออกซิเจน ในอากาศเทานั้น สวนของเสียที่ไดจากการเผาไหมจะอยูในรูปของน้ํากับ ความรอน ซึ่งไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม จึงเรียกวาพลังงานแบบ Zero Emission

หอคอยพลังงานแสงอาทิตย PS20 Solar power tower โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยระบบใหม “เซบีญา โซลาร ทาวเวอร” เปนชื่อของหอผลิตพลังงานไฟฟาจากแสง อาทิตยขนาดยักษใหญที่สุดในโลกตั้งอยูทางทิศใตของเมืองเซบีญา ประเทศ สเปน นวัตกรรมหอพลังงานที่ดูเหมือนสิ่งกอสรางจากนิยายวิทยาศาสตรแหง นี้ คือ สวนหนึ่งของสถานีผลิตกระแสไฟฟาจากแสงอาทิตย 2 สถานีที่ทํางาน รวมกัน ไดแก สถานีพีเอส 10 และพีเอส 20 โดยพีเอส 10 เริ่มผลิตกระแส เมื่อปลาจะกินดาว 10 224


ไฟฟามาตั้งแตป 2550 สวนพีเอส 20 เพิ่งสรางเสร็จเมื่อปกอน สําหรับตัวโครงสราง “หอคอย” ที่ทําหนาที่เปนเปารับแสงนั้น ฝงพีเอส 10 มีความสูง 115 เมตร สวนพีเอส 20 สูง 165 เมตร ทั้งสองหอคอยรายลอม ไปดวยกระจกชนิดพิเศษขนาด 120 ตารางเมตร โดยกระจกแตละบานมีชื่อ เรียกวา “เฮลิโอสแตท” และมีจํานวนรวมกันทั้งหมด 1,255 บาน กินพื้นที่เปน วงกวางประมาณ 75,000 ตารางเมตร และที่สําคัญ กระจกแตละบานสามารถเปลี่ยนมุมสะทอนกับพระอาทิตย เพื่อใหแสงกระทบเปาที่ยอดหอคอยไดแบบอัตโนมัติ คลายกับดอกทานตะวัน นั่นเอง หลักการทํางานของโรงไฟฟาชนิดนี้ ไดแก การอาศัยความรอนจากการ “รวมแสงอาทิตย” ที่มากระทบอุปกรณรับความรอนบนสวนยอดหอคอย จากนั้นนําความรอนดังกลาวไป “ตมน้ํา” ใหเดือดเพื่อใหได “ไอน้ํา” ใน การปนไฟตอไป วาเลริโอ เฟอรนันเดซ ผูอํานวยการสถานีพลังงานไฟฟาเซบีญา โซลาร ทาวเวอร ใหสัมภาษณกับสํานักขาวซีเอ็นเอ็นวา ปจจุบันหอพีเอส 10 เปนหอขนาด 11 เมกะวัตต สวนพีเอส 20 เปนหอผลิตไฟฟาขนาด 20 เมกะวัตต เปาหมายของเราคือตองผลิตไฟฟาใหได 300 เมกะวัตต ภายในป 2556 และภายในไมกี่ปขางหนาจะขยายขนาดของโรงไฟฟาพลังแสงอาทิตย รุนนี้ เพื่อเพิ่มกําลังการผลิตใหครอบคลุมพื้นที่ใหกวางที่สุดในภูมิภาค เซบีญา โซลาร ทาวเวอร ใชทุนกอสรางกวา 50,000 ลานบาท สามารถ จายไฟเพื่อหลอเลี้ยงบานเรือนไดกวา 1 หมื่นหลัง และจะเพิ่มขึ้นถึง 2 แสน หลังคาเรือน ภายในป 2556 การผลิตกระแสไฟฟาโดยอาศัยพลังงานจากแสงอาทิตย นับเปนรูปแบบ ของ “โรงไฟฟาพลังงานที่สะอาด” ไมกอมลพิษตอสิ่งแวดลอม ซึ่งจะชวยลด การปลอยกาซคารบอนไดออกไซดสูชั้นบรรยากาศไดถึง 6 แสนตัน ตลอด อายุการใชงานของอุปกรณทั้งหมด เมื่อเทียบกับโรงไฟฟาแบบปกติทั่วไป “เราตองการประโยชนสูงสุดในใชพลังงานจากแสงอาทิตย เพราะวามัน เปนพลังงานที่ไมมีวันหมด แถมยังเปนพลังงานสะอาด และถือเปนการตอสู เมื่อปลาจะกินดาว 10 225


รถยนตพลังไฟฟาอีวีคาร

กับสภาวะภูมิอากาศโลกเปลี่ยนแปลงอีกทางหนึ่งดวย นอกจากนั้น เราจะ ทํางานหนักกับการพัฒนาเทคโนโลยีดา นนีต้ อ ไป เพราะเราเชือ่ วาจะเปนทิศทาง ใหมอยางแทจริงตออุตสาหกรรมการผลิตพลังงานโลก” วาเลริโอ กลาว อยางไรก็ตาม จุดออนสําคัญของระบบการผลิตไฟฟาแบบนี้คือ เมื่อพระ อาทิตยตกดินแลว ระบบทั้งหมดจะผลิตไฟฟาตอไปไดไมเกิน 1 ชั่วโมง เซบีญา โซลาร ทาวเวอร เปนโรงไฟฟาเชิงพาณิชยของบริษัทโซลูคาร ตัว สถานีผลิตไฟฟาไดรับการออกแบบโดยบริษัทอเบนกัว โซลาร และกอสราง โดยบริษัทอเบเนอร เอเนอรเจีย ปจจุบันทั่วโลกมีหอผลิตพลังงานไฟฟาจาก แสงอาทิตยอยูหลายแหง สวนใหญอยูในเขตพื้นที่ทะเลทรายในสหรัฐอเมริกา สําหรับประเทศไทยก็กําลังมีโครงการกอสรางโรงไฟฟาจากพลังงานแสง อาทิตยขนาดใหญเกิดขึ้นแลว ทั้งที่ จ.อุบลราชธานี และ จ.ลพบุรี หลังจากที่ สรางที่แมฮองสอนไปแลวเมื่อป 2547 แตไมไดอยูในรูปแบบของ “หอพลังงาน แสงอาทิตย” เทานั้น จัดเปน 1 ในเทคโนโลยีที่ดีตอสิ่งแวดลอม และความเปนอยูของชุมชน โดยรอบโรงไฟฟา ซึ่งเปนปญหายืดเยื้อในสังคมไทยมาอยางยาวนาน เมื่อปลาจะกินดาว 10 226


รถยนตพลังงานไฟฟา Zero Emission รถยนตพลังงานไฟฟาระบบ Zero Emission นั้นโดยทั่วไป มีชื่อเรียกอยู 2 ลักษณะ ประกอบดวย 1. Electric Vehicle (EV) 2. Fuel Cell Vehicle (FCV) ซึ่งจะมุงเนนคําจํากัด ความไปถึงรถไฟฟาจากเซลลเชื้อเพลิงโดยตรง แตในภาพรวมแลว ขณะนี้ ตนกําเนิดแหลงพลังงานของ EV ก็ใชเซลลเชื้อเพลิงเปนหลัก ขอมูลจากวารสาร Engineering Today ใหขอมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพ ในดานการแปลงพลังงานของรถเซลลเชื้อเพลิงเมื่อเทียบกับรถยนตประเภท อื่น เอาไวดังนี้ 1. ประสิทธิภาพของรถเซลลเชือ้ เพลิง ถาเซลลเชือ้ เพลิงใหกาํ ลังทีม่ าจาก ไฮโดรเจนลวนๆ มักจะใหประสิทธิภาพในการแปลงเปนพลังงานไฟฟาถึงประมาณ 80% อยางไรก็ตาม ไฮโดรเจนนั้นยากตอการจัดเก็บในรถยนต ดังนั้นเมื่อมี การเพิ่ม Reformer เพื่อแปลงเชื้อเพลิงอยางอื่น อาทิ เมทานอลเปนไฮโดรเจน ประสิทธิภาพในการแปลงเปนพลังงานไฟฟาโดยรวมจะลดลงเหลือประมาณ 30-40% นอกจากนี้ยังมีขบวนการในการจะแปลงพลังงานไฟฟาเปนพลังงาน กลโดยมอเตอรไฟฟาและอินเวอรเตอร โดยประสิทธิภาพของมอเตอรและอิน เวอรเตอรคือประมาณ 80% จากที่กลาวขางตน ดังนั้นประสิทธิภาพของรถเซลลเชื้อเพลิงโดยรวมเทา กับ 60% เมื่อใชไฮโดรเจนเปนเชื้อเพลิงตั้งตน และ 24 ถึง 32% เมื่อใช “เมทานอล” เปนเชื้อเพลิงตั้งตนในรถยนต 2. ประสิทธิภาพของรถเครื่องยนตแกสโซลีน ประสิทธิภาพของแกสโซลีน ที่ใหกําลังกับรถยนตมีคาต่ํา ความรอนทั้งหมดที่ออกมาที่ไอเสีย หรือที่หมอ น้ํา(Radiator) คือพลังงานที่สูญเปลา เครื่องยนตนั้นใชพลังงานจํานวนมากใน การหมุนปมตางๆ พัดลม และเจเนอเรเตอร ดังนั้นประสิทธิภาพโดยรวมของ เครื่องยนตแกสโซลีนประมาณ 20% นั่นคือเพียง 20% ของปริมาณพลังงาน ความรอน (Thermal-Energy Content) ของแกสโซลีนที่แปลงเปนงานทางกล 3. ประสิทธิภาพของรถไฟฟาที่ใชแบตเตอรี่ (Battery Power) แบตเตอรี่ที่ ใหพลังงานกับรถไฟฟาก็จะมีประสิทธิภาพที่สูง แบตเตอรี่จะมีประสิทธิภาพ เมื่อปลาจะกินดาว 10 227


ตนแบบเครื่องผลิตไฟฟาพลังคลืน

ประมาณ 90% และมอเตอรไฟฟา/อินเวอรเตอรมีประสิทธิภาพประมาณ 80% และสําหรับการชารจไฟนั้นจะมีประสิทธิภาพประมาณ 90% ดังนั้น ประสิทธิภาพโดยรวมคือประมาณ 65% เมื่อเทียบประสิทธิภาพในดานการแปลงพลังงานมาใชประโยชนแลวจะ เห็นวารถเซลลเชื้อเพลิงก็จะดีกวารถยนตเครื่องยนตแกสโซลีนที่ใชในปจจุบัน อยางแนนอน โดยเฉพาะเมื่อใชเชื้อเพลิงเบื้องตนคือไฮโดรเจน อยางไรก็ตาม ในทางปฏิบัติแลวการใชงานยานยนตเซลลเชื้อเพลิงก็ยังมีปญหาและอุปสรรค อยูหลายๆ ดานดวยกัน เชน 1. ยังไมมีโครงสรางพื้นฐานรองรับ เชน การบริการตามสถานีบริการ เชื้อเพลิงทั่วไป 2. ไฮโดรเจน ยากตอการจัดเก็บและการขนสง วิธีหนึ่งที่สามารถในการ แกปญหานี้คือ การใชเชื้อเพลิงที่มีความพรอมที่จะแปลงสภาพเปน ไฮโดรเจนมามาแทนที่ และใชตัว Reformer เปลี่ยนเชื้อเพลิงดังกลาว ซึง่ อยูใ นรูปของไฮโดรคารบอน หรือแอลกอฮอลเปนไฮโดรเจนอีกทีหนึง่ กอนจะถูกสงตอไปที่เซลลเชื้อเพลิง อยางไรก็ตามตัว Reformer ทีถ่ กู พัฒนามาในปจจุบนั ก็ยงั ไมคอ ยสมบูรณ มากนัก เนือ่ งจากมันใหกาํ เนิดความรอน และกาซอืน่ ๆ นอกเหนือจากไฮโดรเจน ทําใหไฮโดรเจนทีไ่ ดมาไมบริสทุ ธิ์ และแนนอนยอมมีผลทําใหประสิทธิภาพของ เมื่อปลาจะกินดาว 10 228


เซลลเชื้อเพลิง

เซลลเชื้อเพลิง (Fuel Cell) ต่ําลง ปจจุบันมีเชื้อเพลิงบางอยางที่นาจะเปนไปไดสําหรับการแปลงสภาพ เปนไฮโดรเจน นั่นก็คือกาซธรรมชาติ (Natural Gas) โพรเพน และเมทานอล โดยเชื้อเพลิงที่กลาวมานี้มีโครงสรางพื้นฐานรองรับอยูแลว เชน สถานีกาซ ธรรมชาติ หรือสถานีกาซโพรเพน(กาซหุงตม) โดยเฉพาะอยางยิ่งเมทานอล (Methanol) ซึ่งเปนเชื้อเพลิงเหลวที่มีคุณสมบัติคลายกับแกสโซลีน และงาย ตอการจัดเก็บขนสงและการจัดจําหนาย ดังนั้นเมทานอลอาจจะเปนตัวเลือก หนึ่งสําหรับเชื้อเพลิงตั้งตนที่ใหกําลังกับรถเซลลเชื้อเพลิง อยางไรก็ตาม การใชไฮโดรเจนเปนเชื้อเพลิงตั้งตนในรถเซลลเชื้อเพลิง แทนที่จะเปนเมทานอล หรือเชื้อเพลิงอื่นนั้นก็จะทําใหมีประสิทธิภาพในดาน การแปลงพลังงานมาใชงานจะมากกวากันเยอะ ซึ่งทําใหบางบริษัทกําลังทํา การวิจัยคนควา การออกแบบอุปกรณสําหรับเก็บไฮโดรเจนในรถยนตขึ้นมา ในรถเซลลเชื้อเพลิงนั้นนอกจากการทํางานของเซลลเชื้อเพลิงที่เปนหัวใจ เมื่อปลาจะกินดาว 10 229


ดร.กิตตินันท อันนานนท

ของเทคโนโลยีนแ้ี ลว ก็ยงั มีสว นประกอบอืน่ ทีม่ คี วามสําคัญ และมีความจําเปน ตองพัฒนาควบคูกันไปดวย อาทิ มอเตอรไฟฟา ที่ทําหนาที่แปลงพลังงาน ไฟฟาเปนพลังงานกลเพื่อสงตอไปที่แกนลอเพื่อหมุนลอใหขับเคลื่อนไปขาง หนา รวมถึงระบบคอมพิวเตอรรวมถึงเซ็นเซอร และอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ตางๆ เพื่อควบคุมรถในสถานการณตางๆ เชน การปรับเปลี่ยนความเร็ว ของรถ กลไกการบังคับเลี้ยวและระบบเบรค และในอนาคตอันใกล เมื่อ การพัฒนารถเซลลเชื้อเพลิงใหมีความพรอมในทุกๆ ดาน ก็ยอมจะถึงเวลา ที่รถเซลลเชื้อเพลิงมีแนวโนมกาวขึ้นมาเปนพระเอกแทนที่รถยนตพลังน้ํามันที่ ใชในปจจุบัน

มองอนาคตพลังงานผสมผสานหลากมิติเทคโนโลยีเพื่อสิ่ง แวดลอมไทย ปจจุบันทิศทางของนโยบายพลังงานทั่วโลกทั้งภาครัฐและเอกชนตาง เดินหนาใหความสําคัญกับ “พลังงานทดแทน” หรือ “พลังงานที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม” เนื่องจากพลังงานทดแทน คือพลังงานที่ไมมีวันหมด ทดแทน ไดอยางไมจํากัด เปนพลังงานสําหรับอนาคต ที่สําคัญสงผลกระทบ หรือทํา เมื่อปลาจะกินดาว 10 230


อันตรายตอสิ่งแวดลอมนอยมาก ถึงนอยมากที่สุด จากการสัมภาษณ 2 ผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดลอมทั้ง ดร.กิตตินนั ท อันนานนท หัวหนาศูนยความเปนเลิศเพือ่ พัฒนาผลิตภัณฑ ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ (เอ็ม เทค) และ ผศ.ดร.นิพนธ เกตุจอย รองผูอํานวยการฝายวิจัย วิทยาลัย พลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร ไดใหขอเสนอแนะฝากเปนขอคิด ถึงผูมีอํานาจ รวมถึงสังคมไทยโดยรวมเอาไวอยางนาสนใจ ดร.กิตตินันท เริ่มปูพ้ืนอธิบายภาพรวมความกาวหนาในการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานวา จากขอมูลกระทรวงพลังงานพบวา คนไทยใชพลังงานแบงตามแหลงพลังงาน คือใชพลังงานหมุนเวียน 16% นอกจากนั้นเปน ถานหิน น้ํามัน และกาซ ธรรมชาติ 30% แสดงวาเมืองไทยยังพึ่งพาพลังงานยุคเกาจากฟอสซิล “เวลาพูดถึงพลังงาน เรามักเนนไปที่การผลิต คือ ทําอยางไรจะมีพลังงาน เพียงพอตอความตองการ ตัวเลขการผลิตจึงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คิดเปน 20% ของ จีดีพี หรือตัวบงชี้มาตรฐานคุณภาพชีวิตของคนไทย ฉะนั้นหาเงินมาไดเทา ไหร 1 ใน 5 ของเงินจํานวนนั้น คือเงินที่ตองเสียไปกับเรื่องพลังงาน ซึ่งอาจจะ เทากับการผอนบาน ผอนรถ หรืออาจจะมากกวาอาหารที่เราบริโภค” ดร.กิตตินนั ท กลาวตอวา การพัฒนาเทคโนโลยีเกิดขึน้ เปนระยะยกตัวอยาง เมื่อราคาน้ํามันปรับตัวขึ้นในชวง ค.ศ. 1970 สิ่งที่ตามมา คือ การแพรหลาย ของเทคโนโลยีประหยัดพลังงาน หรือการผลิตพลังงานชนิดใหม สิ่งเหลานี้ เปนตัวบงชี้กลไกการพัฒนาเทคโนโลยีไดเปนอยางดี ฉะนั้นการใชเทคโนโลยี ที่เหมาะสม การใชระบบที่เหมาะสม หรือการใชกลไกตางๆ ที่เหมาะสมจะ สามารถเห็นผลเปนรูปธรรม ถารวมมือกัน “ลดการใชพลังงาน” ดวยเทคโนโลยีใหมๆ จะสามารถ ลดการใชพลัง งานไดมากกวา 50% แทนที่จะมุงเนน “การผลิตพลังงาน” ให เพียงพอตอความตองการ เพราะไมมีทางผลิตไดทัน ถึงทันก็ไมคุม การลดใช พลังงานจึงเปนเรื่องที่ควรใหความสนใจ ประกอบดวย 1. กังหันลมและเทอรไบนปนไฟขนาดยักษ 2. ตนแบบเทคโนโลยีผลิตไฟฟาจากคลื่นในตางแดน เมื่อปลาจะกินดาว 10 231


ผศ.ดร.นิพนธ เกตุจอย

3. แทนขุดเจาะน้ํามันในทะเล “ถามวาเมือ่ ถูกปลูกฝงใหใชพลังงานฟอสซิล การรณรงคลดการใชพลังงาน จะทําไดทนั เวลาหรือไมผมคิดวาถาตัง้ ใจสามารถทําไดภายใน 5-10 ป ขึน้ อยูก บั วาจะทําหรือเปลา อยางน้าํ มันใชไปอีก 40-50 ป ถึงจะหมด เมือ่ ถึงเวลานัน้ คง ไมเดือดรอน เพราะเศรษฐกิจทีอ่ ยูบ นพืน้ ฐานของน้าํ มันจะเปลีย่ นเปนพลังงาน จากพืชผักแทน เพียงแตการกําหนดทิศทางตองชัดเจนวาเราจะทําอยางไร เมือ่ ไหร และประสานกันยังไง ซึง่ เปนปญหาสําคัญสุดของบานเรา เนือ่ งจากทุกวัน นีแ้ ตละหนวยงานตางคนตางทํา” “อยางการนํารถถังไปทิ้งทะเลเพื่อทําปะการังเทียม เพื่อชวยธรรมชาติ สรางปะการัง แตทําไมไมหาทอหรือแทงปูนเกามาใชแทน เราเอารถถังลงไป 1 คัน เทากับเราตองไปขุดเหล็กขุดทรัพยากรขึ้นมาใชทดแทน ซึ่งการไปขุด การถลุง การขนสง ทุกอยางใชพลังงานมหาศาล ถารวมกันคิดอยางมีระบบ มองผลดีผลเสียกอนตัดสินใจ เรื่องนี้สามารถประหยัดพลังงานใหประเทศ และโลกไดมหาศาล” ดร.กิตตินันท ระบุ ดานผศ.ดร.นิพนธ รวมแสดงทรรศนะวา ทิศทางการใชพลังงานในอนาคต ของประเทศไทย จะตองใหความสําคัญเรือ่ งสิง่ แวดลอมควบคูก นั เพราะมนุษย เมื่อปลาจะกินดาว 10 232


อยูไดถาไมมีพลังงาน แตอยูไมได ถาสิ่งแวดลอมลมสลาย ฉะนั้นประเทศที่ พัฒนาแลว อยางเยอรมนี หรือญี่ปุน จึงใหความสําคัญในการกําหนดทิศทาง การใชพลังงาน เมือ่ ยังจําเปนตองใชพลังงานฟอสซิล ก็พยายามลดการเพิม่ ขึน้ ของปริมาณ การใช และเอาพลังงานทดแทน ทั้งน้ํา แสงอาทิตย ลม และชีวมวล เขามา เติมในสวนที่ลดไป ซึ่งแตกตางกับเมืองไทยที่มองมิติเดียววา ทําอยางไรถึงมี พลังงานใชไปอีก 40-50 ปขางหนา “ถาถามวาหยุดใชพลังงานฟอสซิลเลยไดหรือไม ตอบวาไมไดเพราะโครง สรางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีของมนุษยขับเคลื่อนดวยเทคโนโลยี ฟอสซิลมากวา 200 ป จึงเปนเรื่องยากเพราะเปนสิ่งจําเปนสําหรับมนุษย ฉะนั้นตองเปลี่ยนมาโฟกัสวาจะใชอยางไรมากกวา” “โดยเฉพาะบานเราถือเปนหนึ่งในประเทศที่ใชพลังงานสุรุยสุรายมาก มี ตัวชี้วัดสัดสวนการใชพลังงานกับจีดีพีที่ควรจะตองสอดคลองกัน คือ 1 ตอ 1 แตที่ผานมาเมื่อจีดีพีโต 1% เรากลับใชพลังงานมากกวา 1% แสดงวาเรา ใชแลวขาดทุน ยังไมตองคิดถึงเรื่องการหาพลังงานใหม คิดแควาที่ใชอยูเดิม ใชอยางไรใหมีประสิทธิภาพดีกวา เมื่อเราลดการใชพลังงานอยางเหมาะสม พลังงานทดแทนจะเขามาเติมเต็มเอง” รองผูอํานวยการฝายวิจัย วิทยาลัย พลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร ระบุ อาจารยนิพนธ กลาวตอวา โดยสวนตัวมองวา การประหยัดพลังงาน มี 2 รูปแบบ และตองทําพรอมกัน นั่นคือ การปลูกฝง และใชมาตรการภาคบังคับ ในสวน “การปลูกฝง” เปนเรือ่ งพูดงาย แตทาํ ยาก เพราะตองใชเวลาเปน ชั่วอายุคน ตองทําอยางตอเนื่องโดยเริ่มจากครอบครัว ประเทศไทยรณรงค เรื่องการประหยัดพลังงานก็จริง แตสวนใหญเปนเพียงแฟชั่นเทานั้น เชน การ รณรงคปด ไฟ 1 ชัว่ โมง เมือ่ นํามาบวก ลบ คูณ หาร แลวไมแนใจวางบประมาณ ในการประชาสัมพันธ จะคุมคากับพลังงานที่ลดลงหรือไม สวน “มาตรการภาคบังคับ” ภาครัฐตองมีความหนักแนน อยานําปญหา พลังงานมาเปนปญหาการเมือง ทุกวันนี้ราคาพลังงาน ตนทุนพลังงาน ทุก อยางถูกดึงเปนเรื่องการเมืองหมด เชน กาซแอลพีจี ถาภาครัฐลอยตัวเต็มที่ เมื่อปลาจะกินดาว 10 233


ไมเอาเงินกองทุนน้ํามันมาหนุน ถามวากลาหรือเปลาเพราะอาจมีผลตอฐาน คะแนนเสียง “เยอรมันเปนประเทศที่ประชาชนมีการศึกษาสูง แตสวนใหญกลับไมเห็น ดวยที่รัฐบาลประกาศนโยบายพลังงานทดแทน เพราะตนทุนพลังงานสูงขึ้น เทากับพวกเขาตองจายเงินในการซื้อสูงตาม รัฐบาลเยอรมันใชเวลากวา 10 ป ใหความรูความเขาใจ จนประชาชนยอมรับ เพราะเห็นถึงความจริงใจใน การพัฒนา” “ทุกวันนี้เยอรมันเปนที่ 1 ในเรื่องการใชพลังงานทดแทน ตลอดจนการใช พลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ผมจึงมองวาประเทศไทยตองเริ่มตนปลูกฝงให ความรู ควบคูมาตรการภาคบังคับของรัฐบาล โดยไมมีเรื่องการเมืองแอบแฝง ที่สําคัญรัฐบาลตองบริหารจัดการใหได เพราะเมื่อมีคนบนโลกทําได เราตอง ทําไดเชนกัน” ขณะที่ ดร.กิตตินันท เสริมวา ไทยเปนประเทศที่รณรงคเรื่องการประหยัด พลังงานเปนอันดับตนๆ ของโลก แตประชาชนไมเขาใจวา ทําอยางไรถึงจะ ประหยัด!? สิ่งที่ทํามาตลอดจึงเปนการแกปญหาเฉพาะหนา เมื่อมีปญหาถึงแกไข ไมไดมองภาพรวม การประหยัดไมใชเพียงรณรงค กระตุน แตตอ งศึกษาดวยวาวิธไี หนประหยัด จริง เพราะคนไทยไมไดอยูบนพื้นฐานของความเขาใจหรือเหตุผล แตอยูกับ ความเชื่อ จึงตองแกไขตรงจุดนี้ ถามีคนทําแลวผลที่ไดไมดี ภาครัฐหรือหนวยงานที่รับผิดชอบตองแสดง ความจริงใจดวยการเปดเผยใหประชาชนไดทราบ อันไหนไมดีตองยกเลิก อัน ไหนดีตองสนับสนุน สุดทายประชาชนจะเกิดความเชื่อถืออยางแนนอน “เทคโนโลยีบางอยางตางประเทศทํามา 20 ป แตเราเพิ่งเริ่มทํา ผมคิด วาเราไมจําเปนตองไปแขงตรงจุดนั้น แตอาจจะตองซื้อชิ้นสวนบางสวนเขามา พัฒนาตอยอด ศึกษาวาอะไรเหมาะสมกับประเทศ ทําแลวเกิดประโยชนจริง อยางเทคโนโลยี ‘พลังงานจากน้ํา’ ที่มีอยูมากในบานเรา เครื่องจักรตางๆ ถูก พัฒนาเพื่อใชกับเขื่อนขนาดใหญ โดยตางประเทศยังไมไดพัฒนาตอ” “ผมคิดวาถานําเทคโนโลยีสวนนี้มาพัฒนาตอยอด เชน เครื่องกําเนิด ไฟฟาระดับเฮดต่ําๆ ถึงจะปอนเขาระบบไฟฟาของไทยไมได แตสามารถนํา เมื่อปลาจะกินดาว 10 234


ไปใชกับพื้นที่ที่ผลิตได คือ ผลิตที่ไหนใชที่นั่น ตรงนี้จะลดรายจายครัวเรือน ที่สูญเงินไปกับพลังงาน และสรางความมั่นคงใหกับชุมชน เมื่อชุมชนมั่นคง สุดทายจะยอนกลับสูประเทศชาติเอง เทคโนโลยีจึงไมใชปญหา แตปญหาคือ นโยบายตองชัดเจน” ในสวนของเทคโนโลยีพลังงานทางเลือกในประเทศไทยนั้น ผศ.ดร. นิพนธ ระบุวา ไดคืบคลานเขามาสูชีวิตประจําวันของเราแลว ตัวอยางเชน ถายอน หลังไป 10 ป ปมน้ํามันจะมีน้ํามันใหเลือกแค ดีเซล กับ เบนซิน แตขณะนี้มี ทั้ง เบนซิน 95 เบนซิน 91 อี 20 อี 85 แกสโซฮอลล ก็าซเอ็นจีวี และดีเซล บี 5 สะทอนใหเห็นวา เรากําลังเขาสู ‘ยุคของความหลากหลายของพลังงาน’ แลว สวนเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับประเทศเรา หลังจากน้ํามันและกาซหมดไป นัน้ จากตัวเลขปจจุบนั สัดสวนการใชพลังงานของโลก 70% คือ ฟอสซิลฟูลเอล (fossil fuel) บวกนิวเคลียร สวน 30% ที่เหลือเปนกลุมพลังงานหมุนเวียน โดย มีน้ําเปนหลัก และไบโอแมส ซึ่งใชอยู 2 รูปแบบ ไดแก รูปแบบเกา เชน ถาน และฟน และรูปแบบใหม เชน ไบโอกาซ และโรงไฟฟาจากไบโอกาซ “อีกประมาณ 40 ปขางหนา สัดสวนที่กลาวมาจะขยับมาเกือบเทากันที่ 50 ตอ 50 ซึ่งเขาสูสังคม ‘เอนเนอรจี่มิกซ’ หมายถึงการผสมผสานกันระหวาง พลังงานฟอสซิลกับพลังงานทดแทนที่ไดจากลม น้ํา แสงแดด และชีวมวล ซึ่งจะมีความหลากหลายมาก แตตอนนี้คงไมมีใครสามารถบอกไดวาเปนตัว ไหนกันแน แตทุกตัวที่กลาวมาจําเปนตองใชทั้งหมด” ผศ.ดร.นิพนธ ประเมิน รูปแบบการใชพลังงานในอนาคต ทายสุด ดร.กิตตินันท ฝากใหภาครัฐตลอดจนคนไทยเตรียมพรอมกับ การเปลี่ยนแปลงเขาสูยุคพลังงานแบบผสมผสาน โดยภาครัฐจําเปนตองคิด ขอดี ขอเสียใหครบ มีขอมูลอางอิงที่ใชชี้แจงกับทุกฝายได และทุกหนวยที่ เกี่ยวของจะตองเดินไปในทิศทางและทํางานภายใตขอมูลตัวเดียวกัน มอง ภาพรวมวาจุดไหนเหมาะกับอะไร อยามองแคมิติเดียว เบื้องตนอาจยังไมเห็นผล แตอีก 10 ปขางหนา ถาทิศทางพัฒนาพลังงาน ตรงกันตลอดก็จะประสบความสําเร็จได

เมื่อปลาจะกินดาว 10 235


บรรณานุกรม 1. พลังงานทดแทนประเภทตางๆ. หองปฏิบัติ การวิจัย พลังงานทดแทน, คณะวิศวกรรมศาสตรและ สถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สุวรรณภูมิ. สืบคนจาก http://eng.rmutsb.ac.th/events/ WebEnergy/ 2. เทคโนโลยีเชื้อเพลิง. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงาน กระทรวงพลังงาน. สืบคนจาก http://www.dede. go.th/ 3. ขอมูลรถยนตพลังงานไฟฟาระบบ Zero Emission. วารสาร Engineering Today ปที่ 5 ฉบับที่ 52 เมษายน 2550 (หนา 127-130) 4. Sara Goudarzi (2008). Top 10 Emerging Environmental Technologies. Retrieved from http://www.livescience.com/ 5. Alysen Miller (2010). The view from Spain’s solar power tower. Retrieved from http://edition.cnn.com/ สัมมนาเรื่อง “เทคโนโลยีพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอมกับสังคมไทย” วันที่ 11 สิงหาคม 2553 จัดโดยชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม

เมื่อปลาจะกินดาว 10 236


การมีสวนรวมของชุมชน มิติใหมการกําหนดนโยบายฝาวิกฤตน้ํา อภิวัจ สุปรีชาวุฒิพงศ หนังสือพิมพโพสตทูเดย เมื่อ¸Æ ปลาจะกินµ ดาว 1010 237


ชวง 4-5 ปที่ผานมา สังคมไทยเผชิญกับวิกฤตการณน้ําในหลายรูปแบบ ทั้งภาวะขาดแคลนน้ําชวงฤดูแลง และภาวะปริมาณน้ํามากลนจนเกิดอุทกภัย ที่กอผลกระทบในวงกวาง ดานหนึ่งปญหาที่เกิดขึ้นอาจเปนปจจัยผลกระทบ จากจากสภาพภูมอิ ากาศแปรปรวน หรือภาวะโลกรอน แตอกี ดานหนึง่ ก็สะทอน ความลมเหลวของการพัฒนาที่มุงเนนการใชทรัพยากรโดยขาดแผนบริหาร จัดการที่เหมาะสม การศึกษาของสํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ระบุวา ในอนาคตสังคมไทยอาจตองเผชิญกับการแยงชิงทรัพยากรน้ํา ซึ่งเปนผล สืบเนื่องจากการขยายตัวของเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก การบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา จึงเปนเงื่อนไขใหมที่สังคมไทยไมคุนเคย ในอดี ต การกํ า หนดนโยบายจั ด สรรทรั พ ยากรน้ํ า อยู ภ ายใต อํ า นาจ เบ็ดเสร็จของรัฐภายใตกรอบแนวทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ที่เริ่มตนดวยการสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจ แมน้ําสายหลักสําคัญหลาย สาย ถูกใชเพื่อสรางเขื่อนผลิตกระแสไฟฟา ตอบรับการขยายตัวของภาค อุตสาหกรรมและสังคมเมือง เมื่อปลาจะกินดาว 10 238


การพัฒนาประเทศในชวงครึง่ ศตวรรษทีผ่ า นมา จึงอาจกลาวไดวา เปนการ พัฒนาบนคราบน้ําตาผูดอยโอกาสที่ถูกเรียกรองใหเสียสละเพื่อความเจริญ กาวหนาของประเทศ กระทั่งปญหาสังคมที่ขยายตัวในชวงของแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1-6 (พ.ศ. 2504-2534) ทัง้ ชองวางการ กระจายรายได การเติบโตของสังคมเมือง ความยากจน วิถชี วี ติ ทีไ่ มมคี ณ ุ ภาพ สิง่ แวดลอมทีเ่ สือ่ มโทรมกอมลพิษ สงผลตอสภาพจิตใจ สถิตคิ ดีอาชญากรรม พุง สูงขึน้ ทําใหแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติในระยะหลังตัง้ แตแผน พัฒนาฉบับที่ 7 เปนตนมา ใหความสําคัญกับการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม การพัฒนาคนเปนศูนยกลาง และการพัฒนาสูส งั คมอยูเ ย็น เปนสุขรวมกัน สิ่งที่ควรวิเคราะหในประเด็นนี้ก็คือ ทรัพยากรมีจํานวนจํากัด ในขณะที่ คนเริ่มมีสิทธิมีเสียงมากขึ้น จากการเมืองที่เปดกวาง การปรับแนวทางพัฒนาประเทศมามุงเนนใหความสําคัญกับนโยบายเชิง สังคมมากขึ้น เปดโอกาสใหสิทธิในกระบวนการมีสวนรวมรับฟงความเห็นของ ประชาชนถูกบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 และ ไดรับการพัฒนามาเปนสิทธิของบุคคลและชุมชนในการอนุรักษ บํารุงรักษา และการได ป ระโยชน จ ากทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละความหลากหลายทาง ชีวภาพ และในการคุมครองสงเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม เพื่อให ดํารงชีพอยูไดอยางปกติและตอเนื่องในสิ่งแวดลอมที่จะไมกอใหเกิดอันตราย ตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน ยอมไดรับความ คุมครองตามความเหมาะสมในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550

ความผิดพลาดจากอดีต นโยบายการจัดการน้ําที่ผานมาภายใตนโยบายรัฐ อาจยึดจุดเริ่มตนได จากการตั้งกรมชลประทาน เมื่อกวา 100 ปมาแลว โดยชวงแรกการดําเนิน การเนนไปที่การขุดคูคลองสงน้ําเพื่อเกษตรกรรม แตเมื่อถึง ป 2500 การดําเนินการในเรื่องทรัพยากรน้ําก็วางแนวทางไป ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ การสรางระบบชลประทานเพื่อปลูกพืชเพื่อการสง ออก เนนการทํานาปลูกขาวใหไดปละ 2 ครั้ง จึงตองเพิ่มพื้นที่ชลประทาน โดย เมื่อปลาจะกินดาว 10 239


การสรางเขื่อนเก็บกักน้ําเพื่อการเพาะปลูกนอกฤดูฝน รวมทั้งการสรางเขื่อน ผลิตไฟฟา ซึ่งเดิมดําเนินการโดยกรมชลประทานทั้งหมด แมแตเขื่อนภูมิพล จ.ตาก เขื่อนผลิตกระแสไฟฟาซึ่งใหญที่สุด ก็กอสรางโดยกรมชลประทาน มี เพียงเขื่อนสิรินธรที่กอสรางโดยสํานักงานพลังงานแหงชาติในขณะนั้น กลาวไดวา นับแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1 เปนตน มา นโยบายการจัดการทรัพยากรน้าํ ก็รวมอยูก บั นโยบายสงเสริมการเกษตร ขณะเดียวกันก็ใชประโยชนจากเขือ่ นเหลานี้ ในดานการผลิตกระแสไฟฟา เพือ่ โครงสรางสาธารณูปโภคพืน้ ฐาน ในป 2510 มีการออก พ.ร.บ. การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย เขื่อน ทุกเขื่อนจึงถูกโอนไปใหการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) กลาวได วาทิศทางการจัดการทรัพยากรน้ําของประเทศนับตั้งแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติฉบับที่ 1 เปนตนมา เนนที่การเพิ่มพื้นที่ชลประทาน เขื่อน ภูมิพลกอสรางป 2507 แลวเสร็จป 2511 มีการเพิ่มพื้นที่การเกษตร การ ชลประทานใหลุมน้ําเจาพระยาตอนลาง ตอมาเขื่อนสิริกิติติ์กอสรางในป 2511 แลวเสร็จในป 2514 ทั้งสองเขื่อนขยายพื้นที่ชลประทานไดรวม 4 ลานไร ในชวงของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 3 และ 4 ก็ มีการสรางเขื่อนเพื่อผลิตไฟฟาคูไปกับการชลประทาน มีการกอสรางเขื่อน ศรีนครินทร เขื่อนเขาแหลม ในพื้นที่ จ.กาญจนบุรี เกิดพื้นที่ชลประทานใน ลุมน้ําแมกลอง เรียกวาชลประทานแมกลองใหญ เนื้อที่ 2.9 ลานไร เพื่อ การเกษตรกรรมในพื้นที่ จ.กาญจนบุรี ราชบุรี นครปฐม เพชรบุรี บางสวน ผันน้ําไปยัง จ.ชัยนาท การพัฒนาประเทศในชวงแรกๆ พืน้ ทีเ่ หลานีถ้ อื ไดวา เหมาะสมสําหรับการ สรางเขือ่ นและบริหารจัดการแบบเดิมซึง่ รัฐผูกขาดการกําหนดทิศทาง แตนบั ตัง้ แตการกอสรางเขือ่ นเชีย่ วหลาน หรือเขือ่ นรัชประภา จ.สุราษฎรธานีแลว เสร็จในป 2526 เปนตนมา ก็เริม่ มีการพูดกันถึงประเด็นการศึกษาผลกระทบ สิง่ แวดลอม ซึง่ เปนผลมาจากการทีร่ ฐั บาลมีนโยบายสรางเขือ่ นน้าํ โจนในพืน้ ที่ จ.กาญจนบุรี หาญณรงค เยาวเลิศ ประธานมูลนิธิเพื่อการบริหารจัดการน้ํา เมื่อปลาจะกินดาว 10 240


หาญณรงค เยาวเลิศ ประธานมูลนิธิเพื่อการบริหารจัดการน้ําแบบบูรณาการ

แบบบูรณาการ กลาวถึงจุดเริ่มตนของการศึกษาผลกระทบดานสิ่งแวดลอม จากการสรางเขื่อนวา อาจเปนเพราะเลือกพื้นที่กอสรางในจงกาญจนบุรี ซึ่งมี เขื่อนใหญอยูแลวถึง 3 เขื่อน ประชาชนเริ่มเห็นถึงผลกระทบจากเขื่อน กระแส คัดคานและเรียกรองใหมีการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม จึงขึ้นสูงมากใน ขณะนั้น “คนเมืองกาญจนคงอิ่มตัวกับเขื่อน เพราะเริ่มเห็นผลกระทบแลว โดย พันธปลา พันธพืชผักริมน้ําหลายชนิดหายไปหลังการสรางเขื่อน” หาญณรงค ระบุ กระแสตอตานเขื่อนน้ําโจนทําใหนโยบายการกอสรางเขื่อนยยุติลงไปได ชวงเวลาหนึ่งจนถึงป 2532 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการกอสรางเขื่อน ปากมูล จ.อุบลราชธานี พรอมกับเขื่อนแกงเสือเตน จ.แพร แตเขื่อนปากมูลได รับแรงสนับสนุนจากนักการเมืองในรัฐบาล ทําใหเขื่อนกอสรางไดในป 2534 เสร็จป 2537 “ปญหาผลกระทบจากการจัดการน้ําที่ผานมาของรัฐ ทําใหเมื่อเกิด เมื่อปลาจะกินดาว 10 241


โครงการสรางเขือ่ นทีไ่ หนก็มกั ถูกคัดคาน เชน เสือเตน แมวงศ ทาแซะ รับรอ ถูกคัดคานมาตอเนื่องยาวนานที่สุด เมื่อกอนการสรางเขื่อนเหลานี้อาจมี ความเหมาะสม แตขณะนี้ความเหมาะสมดังกลาวถูกลดลงไป เชนกอผลกระ ทบตอสังคม ชุมชนสูง ตั้งแตการสรางเขื่อนปากมูลเปนตนมา การยายคน ไม สามารถหาที่ดินแปลงใหญรองรับไดอีกแลว หากมีการยายแค 100 ครัวเรือน ก็ไมสามารถหาที่รองรับไดแลว” ชวงเวลาขณะนั้น คําถามในประเด็น เขื่อนกับผลกระทบดานสิ่งแวดลอม และการจัดการน้ํา ซึ่งเปนกระแสมาตั้งแตการคัดคานการสรางเขื่อนน้ําโจน ทําใหรัฐบาลนายอานันท ปนยารชุน ออก พ.ร.บ.สงเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535 สาระสําคัญคือการกอสรางโครงการขนาดใหญ จะ ตองทํารายงานผลกระทบดานสิ่งแวดลอมหรืออีไอเอ พรอมกันนี้กฎหมายดัง กลาวทําใหเกิดหนวยงานใหม 3 หนวย คือ กรมควบคุมมลพิษ กรมสงเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม และสํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม สังกัดกระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอมในขณะนั้ัน ในขณะเดียวกัน ขอเสนอเรื่องการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําก็เปนแรง ผลักดันใหมกี ารตัง้ สํานักงานทรัพยากรน้าํ แหงชาติ สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี ขึน้ ใน ป 2532 และความสําคัญของการบริหารจัดการทรัพยากรน้าํ ก็ยกระดับ ความสําคัญขึ้น โดยมีการตั้งคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ มีนายก รัฐมนตรีเปนประธานคณะกรรมการประกอบดวยตัวแทนจากทุกกระทรวง แมการบริหารจัดการทรัพยากรน้าํ จะเพิม่ ระดับความสําคัญ จนทุกกระทรวง ตองกําหนดเปนแผนงาน แตก็ทําใหการวางแผนกําหนดทิศทางไมสอดคลอง กัน ภายหลังการปฏิรูประบบราชการ ป 2546 รัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จึงยุบคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ และสํานักงานทรัพยากรน้ําแหง ชาติ จากสํานักนายกรัฐมนตรี มาตั้งเปนกรมทรัพยากรน้ํา สังกัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อทําหนาที่กําหนดนโยบายดานการ บริหารจัดการน้ํา

จากรัฐสูภาคประชาชน การที่รัฐผูกขาดการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํามาโดยตลอด กอปญหา เมื่อปลาจะกินดาว 10 242


อยางกวางขวาง และปญหาสําคัญคือการยายประชาชนจํานวนมากออก จากพื้นที่น้ําทวมหลังเปดเขื่อนกรณีผลกระทบจากการกอสรางเขื่อนปาก มูล จ.อุบลราชธานี และเขื่อนราษีไศล จ.ศรีสะเกษ ชวงป 2536-2537 มีขอ เสนอจากภาคประชาชน นักวิชาการวาทําไมประเทศไทยไมมีคณะกรรมการ ลุมน้ํา ซึ่งโครงสรางไมควรที่จะใหรัฐมนตรี อธิบดี ขาราชการมาอยูในคณะ กรรมการฝายเดียว แตควรใหประชาชนเขามามีสวนรวม จากแนวคิดวากอน ที่รัฐจะตัดสินใจดําเนินโครงการที่จะกอผลกระทบก็ควรถามประชาชนกอน ดังนั้นตั้งแตป 2538 เปนตนมา สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ กรมชลประทาน และกฟผ. ก็เสนอโครงการนํารองการตั้งคณะกรรมการลุม น้ํา นํารองใน 5 ลุมน้ํา ประกอบดวย ลุมน้ําปงตอนบน ลุมน้ําปงตอนลาง ลุมน้ําปาสัก ลุมน้ําทาตะเภา จ.ชุมพร พื้นที่โครงการพระราชดําริหนองใหญ และลุมน้ําทาจีน ไดรับทุนสนับสนุนจากสถานเอกอัคราชทูตสหรัฐอเมริกา ประจําประเทศไทยจํานวน 1 ลานเหรียญ เพื่อศึกษาวาโครงสรางของคณะ กรรมการลุมน้ําควรเปนอยางไร ผลการศึกษาโครงสรางของคณะกรรมการลุมน้ําไดขอสรุปวา ใหผูวา ราชการจังหวัดในพื้นที่นั้นเปนประธานคณะกรรมการลุมน้ํา สําหรับแมน้ํา ที่ผานหลายจังหวัดก็ใชวิธีคัดเลือก เชน แมน้ําปาสักไหลผาน 4 จังหวัด เมื่อปลาจะกินดาว 10 243


แตผานพื้นที่ จ.ลพบุรีมากสุด ก็ใหผูวาราชการจังหวัดลพบุรีเปนประธาน สวนกรรมการที่เหลือ ประกอบดวย ชลประทานจังหวัด โยธาธิการจังหวัด เกษตรจังหวัด มีตัวแทนภาคประชา 4-8 คนเปนกรรมการ ซึ่งเปนจุดเริ่มตน การนํารองในพื้นที่ 5 ลุมน้ําในป 2538 เริ่มเปนรูปเปนรางใน ป 25402541 ขยายครอบคลุมลุมน้ําอื่นๆ ซึ่งมีถึง 29 ลุมน้ํา หาญณรงค ซึ่งติดตามนโยบายการตั้งคณะกรรมการลุมน้ํามาตั้งแตตน วิเคราะหวา เปนจุดเริ่มตนซึ่งเริ่มไดไมคอยดี เชน ตัวแทนภาคประชาชน มี การระบุวาเลือกจากองคกรปกครองทองถิ่น ที่ถือวาเปนตัวแทนประชาชน ซึ่ง แทนที่จะทําใหภาคราชการและภาคประชาชนไดรวมกันคิด รวมกันกําหนด แผน แตกลับเปนปญหาคือ ผูมาเปนกรรมการถูกเลือกมาจากนายกองคการ บริหารสวนจังหวัด (อบจ.) ซึ่งสวนใหญไมมีความรูและไมเขาใจปญหาลุมน้ํา “เปนเรื่องยากที่จะใหคนที่ไมเขาใจมาวางแผนวาการจัดการลุมน้ําทั้งลุม น้ํานั้นควรทําอยางไร บางคนเปนผูรับเหมา เพราะเขาใจวาจะมีงบประมาณ เกี่ยวกับการกอสราง ซึ่งทําใหผิดวัตถุประสงคไป” ปญหาอีกประการของคณะกรรมการลุมน้ํา ซึ่งกลายเปนประเด็นที่ทําให การบริหารจัดการลมเหลวก็คือ การพวงเรื่องงบประมาณเขาไปในคณะ กรรมการลุมน้ําดวย ทําใหเปาหมายการดําเนินการมุงไปที่งบประมาณเปน สวนใหญ “จุดประสงคการดําเนินการก็เปลี่ยนไป เชน ลุมน้ํานี้ไดงบเทาไหร ก็เชิญ ชาวบานมาคุยวาจะทําอะไร พอถึงเวลาจริงไดงบมาไมเทากับที่ชาวบานเสนอ ทําใหเขวไปหมด” หาญณรงค ระบุ

วิกฤตน้ํา ความทาทายในอนาคต นับตัง้ แตป 2540 เปนตนมา ประเด็นสิทธิและเสรีภาพของประชาชนไดรบั การบัญญัตไิ วในรัฐธรรมนูญ การดําเนินโครงการพัฒนาแหลงน้าํ ขนาดใหญ ของรัฐเชนในอดีตมีขอ จํากัดมากขึน้ ทัง้ เรือ่ งพืน้ ที่ ความเห็นของคนทองถิน่ เกษมสันต จินณวาโส อดีตอธิบดีกรมทรัพยากรน้ํา วิเคราะหแนวโนม ของวิกฤตทรัพยากรน้ําในอนาคตอันใกลนี้วา การขยายตัวของเศรษฐกิจและ สังคม รวมทั้งสถานการณการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกทําใหฤดูกาล เมื่อปลาจะกินดาว 10 244


เปลี่ยน ฝนที่เคยตกเฉลี่ยปละ 1,200-1,400 มิลลิเมตร ก็เริ่มนอยกวาคาเฉลี่ย ความทาทายของอนาคตก็คือจะหาน้ําจากที่ไหน เพราะการดําเนินโครงการ ตางๆ แมไมมีอุปสรรค แตอยางนอยก็ตองใชเวลาเตรียมการจนถึงขั้นกอสราง ซึ่งตองใชเวลานับ 10 ป “ปญหาขาดแคลนน้ําในอนาคตเกิดขึ้นแน เพราะฉะนั้นสิ่งที่ผมอยากเห็น คือการวางแผนลวงหนา ใหไดรวมกันศึกษา วางแนวทาง เพื่อใหไดขอมูล ขอ เท็จจริง ไมใชพอเริ่มแนวคิดก็เริ่มคาน” ขณะที่หาญณรงค เห็นวาแนวคิดการบริหารจัดการน้ําของหนวยงานรัฐก็ ยังเปนการจัดหาน้ําเหมือนเดิมไมเคยเปลี่ยน โดยไมมองการบริหารจัดการทั้ง ลุมน้ํา เขาเสนอแนวคิดการจัดการน้ําแบบผสมผสาน โดยพิจารณาทรัพยากร ทั้งหมดในพื้นที่ลุมน้ํานั้น เชน ปา ที่ดิน และน้ํา จะใชอยางไร ประการตอ มาตองใหทุกภาคสวนของผูมีสวนรวม ทั้งหนวยงานราชการ ภาคประชาชน ภาควิชาการ ที่จะมารวมจัดการ “ที่สําคัญเชิญเขามารวมแลวตองฟงเสียงดวย มิฉะนั้นถาขาดสวนใด เราจะไมมีทิศทางการจัดการเลย นักการเมืองชอบพูดวารัฐบาลพรอมทุมงบ ประมาณเรื่องการจัดการน้ํา แตการจัดการน้ําไมใชเรื่องของงบประมาณ แต เปนเรื่องความเขาใจ เชน จัดการโดยทุมงบประมาณสรางเขื่อน แตฝนไม ตกลงอางเก็บน้ําแลวจะมีประโยชนอะไร จึงจําเปนตองมีการปรับบทบาท เชน กรมชลประทาน แทนที่จะไปคิดทําโครงการกอสรางเขื่อน ก็ควร กลั บ มาคิ ด ว า ทํ า อย า งไรจึ ง จะมี พื้ นที่ ช ลประทานได ต ามแผนที่ ว างไว เดิ ม เพราะใชเงินนอยกวาการสรางเขื่อนมาก เปลี่ยนจากการเปนผูจัดหามาเปน ผูบริการ ทําอยางไรใหคลองซอยขนาดเล็กหรือคลองไสไกระบบชลประทาน ดั้งเดิมของชาวบานจะมีประสิทธิภาพจริง เพราะที่ผานมาถูกทําลายเพราะ พื้นที่การเกษตรเปลี่ยนเปนพื้นที่อุตสาหกรรม นี่คือสิ่งที่ตองฟน” ขอเสนอของหาญณรงคมุงเนนการเปลี่ยนแนวคิดของภาครัฐ จากการ จัดหาน้ํามาเปนการจัดการน้ํา เขายกตัวอยางใหเห็นวา ประเทศไทยมีพื้นที่ การเกษตร 130 ลานไร แตที่ผานมาหาน้ําดวยการสรางเขื่อน ชวยใหมีพื้นที่ ชลประทานเพื่อการเกษตรเพียงแค 40 ลานไรเทานั้น ดังนั้นจึงมีโจทยวา การ เมื่อปลาจะกินดาว 10 245


หาน้ําเพียงอยางเดียว ตอบโจทยการบริหารจัดการน้ําอยางทั่วถึงจริงหรือไม ผลการศึกษาของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ตั้งแตป 2547 ก็ พบวา พื้นที่การชลประทาน คงไมมีศักยภาพมากไปกวานี้อีกแลว แผนการบูรณาการการจัดการน้ําของประเทศภายใน 5-10 ป ตั้งเปาจะ ขยายพื้นที่ชลประทานใหไดถึง 60 ลานไร ปญหาก็คือจะใชวิธีการใด หลาก หลายแนวทางที่เสนอไวคือ การผันน้ําขามลุมน้ํา กับการสูบน้ําดวยระบบทอ หรือ Water Grid และการผันน้ําจากตางประเทศเขามา ซึ่งตองใชงบประมาณ มหาศาล ผันน้ําโขงใชงบ 2,000 ลาน เพิ่มพื้นที่ชลประทานไดแค 1 ลานไร ขณะที่โครงการโขง ชี มูล จะเพิ่มพื้นที่ชลประทานได 4.9 ลานไร เขาวิพากษโครงการหาน้ําของรัฐเหลานี้วา เปนการลงทุนสูง แตไมอาจ สรางความมั่นใจถึงการบริหารจัดการน้ําที่สมบูรณได “โครงการผันน้ําโขง ชี มูลจะกอสรางเขื่อน 6 เขื่อนในลําน้ํามูล ลําน้ํา ชีอีก 7 เขื่อน ในลําน้ําชีทั้งหมดสรางเสร็จแลว แตลําน้ํามูลคงเหลือเขื่อนหัว นาในพื้นที่ อ.กันทรารมย จ.ศรีษะเกษ จากนั้นตองผันน้ําชีลงน้ํามูลแถว จ.กาฬสินธิ์ ลงลําน้ํามูลพื้นที่ จ.สุรินทร แตคลองผันน้ําผานพื้นที่บอเกลือ อ.กันทรวิชัย จึงไมผาน ทําใหเปดพื้นที่ชลประมาณไดแคหลักหมื่น จากที่ วางแผนไวประมาณ 4 ลานไร ขณะที่ลงทุนไปแลวกวา 4 หมื่นลาน ซึ่งหาก ดําเนินการครบทุกโครงการจะใชเงินกวา 2 แสนลาน” หาญณรงควิพากษแนวทางของรัฐดวยวา โครงการเดิมยังไมจบก็มาเริ่ม ทําโครงการใหม คือ ผันน้ําจากแมน้ําโขง ในพื้นที่ อ.ปากชม จ. เลย เขาแมน้ํา ชี อาจมีการสรางเขื่อนที่ อ. ปากชม เมื่อแมน้ําโขงเออ ก็สูบน้ําทายเขื่อน ที่ อ. เชียงคาน เขามาสรางอุโมงคสงน้ําระยะทางประมาณ 90 กิโลเมตร มา ลง จ. หนองบัวลําภู เชื่อมตอมายังเขื่อนอุบลรัตน จ. ขอนแกน มีการอนุมัติ งบประมาณ 180 ลาน เพื่อศึกษาความเปนไปได และทําอีไอเอภายใตกรม ทรัพยากรน้ํา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หลายคนยังสงสัยวา การดําเนินโครงการดังกลาวจะทําใหการบริหารจัดการ น้ําสมบูรณหรือไม ซึ่งหาญณรงคมองวา อาจไมไดตอบโจทยทั้งหมด ขอเสนอของภาคประชาชน ในประเด็นการเปดโอกาสการมีสวนรวมและ เมื่อปลาจะกินดาว 10 246


รับฟงแนวคิดของภาคประชาชนสอดคลองกับความเห็นของเกษมสันต เขา เห็นวา การบริหารจัดการน้าํ ทัง้ ภาคราชการและประชาชนตองยอมรับฟงขอมูล ซึ่งกันและกัน ภายใตขอจํากัดของการดําเนินโครงการขนาดใหญ และกระแส คัดคาน ที่มีวิกฤตการณน้ําเปนความทาทาย ทั้งสองฝายตองรวมกันหา ทางออกที่เหมาะสม “การสรางเขื่อนเราตองพิจารณาขอเท็จจริง เชนพื้นที่ขาดแคลนน้ํา ก็ ตองเริ่มจากการศึกษาปริมาณน้ําตนทุนที่แทจริง เชน น้ําในลําน้ํา 8,000 ลาน ลูกบาศกเมตร ไปอยูตามหวย หนอง คลอง บึงเทาไหร เราปรับปรุงแหลง น้ําธรรมชาติพวกนี้กอนดีไหม เพื่อใหไดประสิทธิภาพในการกักเก็บ ลวนมา ตั้งคําถามวาน้ําพอหรือยัง ถาขาด ขาดอีกเทาไหร ลดขนาดเขื่อนไดไหม ยาย ที่กอสรางเพื่อลดผลกระทบไดไหม หาทางเลือกอื่นแลวนําขอมูลมาบอกกับ ประชาชน มิฉะนั้นจะมีปญหาตอความไวเนื้อเชื่อใจ ซึ่งที่ผานมาก็มักมีความ คลางแคลงใจวา ไดขอมูลที่ไมชัดเจน” หาญณรงค ระบุ

พ.ร.บ. น้ํา : ความเปนธรรมและสิทธิ แมจะมีการปรับปรุงโครงสรางหนวยงานภาครัฐเพื่อการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้าํ ใหมปี ระสิทธิภาพมากขึน้ แตกย็ งั ไมมกี ฎหมายทีร่ ะบุอาํ นาจหนาที่ ไวโดยตรง แนวคิดเรื่องพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา ปรากฎขึ้นครั้งแรกเมื่อป 2532 “เราเลียนแบบจากอิสราเอล ซึ่งถือวาน้ําเปนของรัฐ รัฐมีอํานาจในการ ตัดสินใจ ในขณะที่ลาว เวียดนาม ระบุไวในกฎหมายวา น้ําเปนของประชาชน เราเริ่มศึกษาพ.ร.บ. น้ํามาตั้งแตป 2532 เสร็จป 2534 จางมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตรยกราง โดยเลียนแบบอิสราเอล พอป 2535 กฎหมายฉบับนี้ก็ถูก เก็บเอาไว พอมาถึงชวงป 2540 ซึ่งมีการตั้งกรรมการลุมน้ํานํารอง ป 2543 จึง นําพ.ร.บ. นี้มาปดฝุนใหม สมัชชาคนจน ซึ่งมีปญหาเรื่องเขื่อน 10 แหงลมไม เอาพ.ร.บ. ฉบับนี้ ชวงป 2544 รัฐบาลทักษิณ นายประพัฒน ปญญาชาติรักษ เปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ ก็ใหไปพิจารณาใหม จาง ธรรมศาสตรอีก เสร็จป 2546 เขากรรมาธิการประมาณ ป 2547 ป 2549 เกิด รัฐประหาร มาจนถึงรัฐบาลพล.อ. สุรยุทธ จุลานนท” หาญณรงคเลาถึงที่มา เมื่อปลาจะกินดาว 10 247


ของกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารจัดการน้ําดังกลาว เขาวิเคราะหรายละเอียดกฎหมายฉบับนีว้ า ในพ.ร.บ.นีม้ รี ายละเอียดเกีย่ วกับ กรรมการนโยบายทรัพยากรน้าํ แหงชาติ กรรมการลุม น้าํ และการบริหารจัดการ น้ํา รวมทั้งกองทุนน้ํา และใหอํานาจบางอยางกับพนักงานเจาหนาที่ กรม ทรัพยากรน้ําเปนพนักงานเจาหนาที่ตามพ.ร.บ.นี้ “รัฐบาลทวงติงเรื่องกองทุนน้ํา เพราะเกี่ยวของกับการปรับปรุงระบบ เหมืองฝาย มีกลไกเรื่องการเปดเวทีสาธารณะ การพิจารณาเรื่องน้ํา มันจะ มีใครไดใครเสีย เปนบวกเปนลบ แลวประเด็นที่ภาคประชาชนทวงติงเรื่อง การไดมาของคณะกรรมการลุมน้ํา ซึ่งตองมาจากการเลือกเฟนผูที่รูเรื่อง และสนใจดวย ไมใชไดคนที่ไมรูเนื่องเขามาแบบเดิม โดยผานจากองคกร ปกครองสวนทองถิ่น” “รวมทัง้ การเพิม่ สัดสวนกรรมการจากภาคประชาขนใหมากขึน้ ซึง่ กฤษฎีกา รับไมได โดยเฉพาะในคณะกรรมการทรัพยากรน้าํ แหงชาติ ก็เสนอตัวแทนภาค ประชาชน และเสนอไปแลวตองรับ แตกฎหมายเขียนวาใหเปนดุลยพินจิ ของ รัฐมนตรี เชนเดียวกับคณะกรรมการสิง่ แวดลอมในปจจุบนั ซึง่ ตัง้ โดยดุลยพินจิ ของรัฐมนตรี” พ.ร.บ. นี้ยังมีขอทวงติงอยูในหลายมาตรา เชน คณะกรรมการทรัพยากร น้ําแหงชาติควรมีภาควิชาการที่เปนอิสระเขามา ก็ยังไมมี อีกทั้งอํานาจตัดสิน ใจของคณะกรรมการลุม น้าํ ไมใชมาพิจารณาโครงการ แตนา จะพิจารณาแนวทาง การจัดการน้ํา แตขณะนี้คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติใหสงรางเขาสภาไปแลว ขอถกเถียงสําคัญของรางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา หรือพ.ร.บ. น้ํา คือการจัดการน้ําจะถูกรวมศูนยอํานาจการจัดการโดยรัฐ ในรูปแบบเดียวกัน ทั่วประเทศ ลักษณะเชนนี้เปนการลดทอนความสําคัญของภูมิปญญาอัน หลากหลายเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรน้ําของชุมชน ซึ่งแตกตางไปตาม พื้นถิ่น ถึงที่สุดแลวหากแนวคิดภายในกฎหมายดังกลาวยังเปนเชนนี้ กลุม ชาวบานผูดอยโอกาสก็ยังถูกจํากัดสิทธิในการเขาถึงทรัพยากรน้ํา เกษมสันต จินณวาโส อดีตอธิบดีกรมทรัพยากรน้ํา กลาวถึงขั้นตอน ของกฎหมายฉบับนีว้ า อยูร ะหวางการปรับปรุง แตเปนเครือ่ งมืออยางหนึง่ หาก เมื่อปลาจะกินดาว 10 248


เกษมสันต จินณวาโส อดีตอธิบดีกรมทรัพยากรน้ํา

ออกมาแลวก็ตอ งใหครอบคลุม ใหทกุ คนไดรบั ประโยชนและเห็นพองตองกัน ขอทวงติงหลายประการในรางกฎหมายดังกลาว อาทิ การกําหนดให แหลงน้ําของรัฐเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน การใหรัฐมีอํานาจพัฒนา แหลงน้าํ และสัดสวนของคณะกรรมการในการบริหารทรัพยากรน้าํ ทัง้ ในระดับ ชาติ และระดับลุมน้ํา มีภาคราชการมากกวาภาคประชาชน ในขณะที่มี อํานาจบริหารจัดการทรัพยากรน้ําโดยทั่วไป ในขณะทีเ่ จตนารมณของกฎหมายเพือ่ สรางเอกภาพ กระจายอํานาจและ การใหประชาชนมีสวนรวม ซึ่งมีนัยของการจัดการทรัพยากรน้ํา โดยคํานึง ถึงวิถีชีวิต ความรู ภูมิปญญาชาวบาน ระบบนิเวศพื้นถิ่น ซึ่งเปนการพัฒนา แบบมีสวนรวม แตภายใตสาระสําคัญดังกลาวของกฎหมายฉบับนี้ ซึ่งไมเปด โอกาสใหภาคประชาชน ยอมเปนอุปสรรคตอเจตนารมณของกฎหมาย ในมุมมองของภาคประชาชน หาญณรงคมองวา หากอํานาจการบริหาร จัดการทรัพยากรน้ํา ยังอยูในมือของรัฐเกือบ 100 % เชนที่ผานมา ก็ไมอาจ หวังไดถึงการเปลี่ยนแปลงเพื่อการบริหารจัดการที่ดีกวา เมื่อปลาจะกินดาว 10 249


“ในมุมมองผม ประเทศไทยฝนตกโดยเฉลี่ย 1,700 มิลลิเมตรตอป นอย ที่สุดคือ จ.ศรีสะเกษปละ 1,300 มิลลิเมตร ยิ่งภาคใตเฉลี่ยฝนตกปละ 200 วัน ไมมีความจําเปนตองสรางเขื่อน การจะสรางพื้นที่ชลประทานเพื่อทํานาแบบ ภาคกลางเหมือนกันทั้งประเทศมันไมเหมาะสม” หาญณรงคยกตัวอยางการดําเนินโครงการผันน้ําขามลุมน้ํา ซึ่งถารัฐคิด แบบนี้ก็คือความลมเหลว ถาผันน้ําจากลุมน้ําหนึ่ง หมายความวาลุมน้ําที่ถูก ผันไปบริหารลมเหลว เหมือนมีเงิน 100 แตใช 150 ตองกูย มื จากคนอืน่ มาเพิม่ สิง่ ทีต่ อ งสอดคลองกัน คือ 1. กิจกรรม 2. การบริหารจัดการ 3. การมีสว นรวม ในทุกขั้นตอนของการบริหารจัดการ อยางภาคตะวันออก น้ําเพื่อการเกษตร น้ําเพื่อการอุปโภค บริโภค และน้ําเพื่อการอุตสาหกรรม เปนอันดับ 3 แตเอา เขาจริงเราหมุนใหม น้ําเพื่ออุตสาหกรรมมาเปนอันดับ 1 หากจะจัดการอยางนี้ ก็ได แตการเวนคืนก็ตองจายในอัตราของวนคืนเพื่อใชน้ําในภาคอุตสาหกรรม ไมใชในอัตราการทําพื้นที่ชลประทาน ซึ่งไมถูกตอง ชวงหลังมีบางพื้นที่ซึ่งชัดเจนวาตองการสรางเขื่อนเพื่อนําน้ําไปใชในภาค อุตสาหกรรม เชน เขื่อนทาแซะ สรางโดยกรมชลประทาน ตองการน้ําไปใช ในโครงการเครือสหวิริยา เขื่อนจุน้ํา 150 ลาน ตองการใชกับอุตสาหกรรมใน เครือสหวิริยาปละ 30 ลาน ชาวบานจึงรูสึกวาไมยุติธรรม ภายใตความรูสึกที่ไมเปนธรรม ประกอบกับวิกฤตการณที่รออยูขางหนา หากรัฐไมมีกลไก และเครื่องมือเพื่อขจัดความไมเปนธรรม การปะทะกันภาย ใตการแยงชิงทรัพยากรเปนเรื่องที่นากังวลยิ่ง

การมีสวนรวมของชุมชน : มิติใหมของการกําหนดนโยบาย การบริหารจัดการทรัพยากรน้ําที่ผานมา ซึ่งรัฐเปนผูจัดหาและจัดการ แหลงน้ํา ตลอดจนปญหาวิกฤตน้ําทั้งจากภาวะแลงและทวม พิสูจนใหเห็นถึง ประสิทธิภาพการจัดการของรัฐ ขณะที่ชาวบาน ชุมชน มีพื้นฐานการจัดการ น้าํ แทรกอยูใ นวิถชี วี ติ การเปดโอกาสใหชมุ ชนไดนาํ ความรูเ กีย่ วกับการจัดการ ทรัพยากรน้ํามารวมกําหนดนโยบาย จึงเปนมิติใหมของการกําหนดนโยบาย เพราะเปนนโยบายที่ผลิตขึ้นจากความสัมพันธระหวางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจชุมชน และระบบนิเวศทองถิ่น เมื่อปลาจะกินดาว 10 250


“ยุทธศาสตรการจัดการลุมน้ํา 25 ลุมน้ําของประเทศ เปนความพยายาม ที่จะอธิบายเรื่องกระบวนการมีสวนรวม แตเอาเขาจริงก็เปนเพียงการสราง ความชอบธรรมใหกับโครงการตางๆ” สมเกียรติ เขื่อนเชียงสา คณะทํางาน เครือขายลุมน้ําภาคเหนือ วิพากษถึงแนวทางการสงเสริมการมีสวนรวมที่ รัฐดําเนินการมา ขณะที่หาญณรงค มองวา ความรูในการจัดการน้ําที่ผานมาอาจมอง แตตัวน้ํา แตไมไดมองสิ่งที่อยูกับน้ํา เชน วิถีชีวิต จึงตองสรางความรู ความ เขาใจใหตรงกันไดอยางไรบาง “ทั้งหมดนี้เปนการเรียนรูดวยกัน ไมใชตั้งแลวจะปรับเปลี่ยนทันที เพราะ การเรียนรูของภาคประชาชนมาจากประสบการณที่ผานมา ขณะที่หนวยงาน ราชการไมคอยปรับการเรียนรู ฉะนั้นการผลักดันในเชิงนโยบาย หรือการนํา บางกรณีมาเปนบทเรียนจึงไมคอยมี ไมคอยทํา จึงทําผิดซ้ําแลวซ้ําอีก ถาดู จากแผนงบประมาณ เราก็จะเห็นการจัดการแบบเดิม” บทเรียนของภาคประชาชนที่สงเสริมใหมีการรวมตัวกันอยางเขมแข็งมา

เมื่อปลาจะกินดาว 10 251


จากการเรียนรูรวมกัน หาญณรงคยกตัวอยางกรณีลุมน้ํายมซึ่งเปนโครงการ นํารอง ที่จัดโครงการใหคนตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํามาเจอกัน คนขาง ลางขึ้นไปดูขางบน ขางบนก็มาดูขางลาง พูดคุยแลกเปลี่ยนทําใหเห็นภาพ รวมของทั้งลุมน้ํา “ชาวบานเขาพูดภาษาเดียวกัน แตภาครัฐกลับเห็นในสิ่งตรงขาม และไม ฟงความเห็นของชาวบาน เชนปญหาน้ําทวม ชาวบานในลุมน้ําเห็นวาเพราะ มีการกอสรางสิ่งกีดขวางทางน้ํา แตรัฐแกโดยการสรางเขื่อนเพื่อปองกันน้ํา ทวม สวนภัยแลง ก็เพราะเราใชน้ํามากเกินกวาที่น้ําจะมีใหได แตเราบอกวา เพราะไมมีเขื่อนเก็บน้ํา เราพูดกันคนละเรื่อง” ภายใตความขัดแยงแนวคิด หาญณรงคมองวา โครงการกระบวนการมี สวนรวม จึงไมควรมองแคบโดยการมีตวั แทนประชาชนในคณะกรรมการระดับ ตางๆ เทานัน้ เนือ้ แทของการมีสว นรวมทีภ่ าคประชาชนตองการคือ รวมตัง้ แต การวางแผน และตัดสินใจรวมกัน “ขณะที่สวนใหญที่ทําๆ กันก็คือรวมคิดแผน แตการรวมตัดสินใจยังไม 100 % ซึ่งเกิดจากความเขาใจวา เมื่อรวมคิดแผนแลวก็คือการรวมตัดสินใจ ดวยกันแลว แตไมไดมีการนําแผนแมบทดูวาเห็นดวยหรือไม ดังนั้นเราจะเห็น วาแผนพัฒนาลุมน้ําจะมักถูกอางวา คิดมาดวยกันแลว” “ผมอยากใหมีการรวมกันติดตามและตรวจสอบดวยแตในคณะกรรมการ ลุมน้ําที่ทํากันมา ยังตองปรับปรุงอีกมาก ยิ่งกวานั้นการรวมงาน การมีสวน รวม จะประชุมกันไดหรือไมขึ้นอยูกับงบประมาณดวย การประชุมขึ้นอยูกับ เลขานุการ สวนใหญจะเปนผอ. สํานักภาคน้ํา หรือไมมีเรื่องพิจารณา เพราะ เรื่องถูกกําหนดไวในแผนงบประมาณแลว รวมทั้งยังมีประเด็นดานการไกล เกลี่ยปญหาการจัดการน้ํา การแบงสัดสวนการใชน้ําที่ไมลงตัว” ขอเสนอเหลานี้ เปนสิ่งที่ภาครับและภาคประชาชน ยังตองขับเคี่ยวกัน ตอไป ในภาวะที่ทรัพยากรน้ํา มีสถานะเปนปจจัยการผลิตที่สําคัญตอพื้นฐาน เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ทั้งในดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม รวมทั้ง การอุปโภคบริโภค ประเด็นการขับเคีย่ วทีน่ า จับตา คือประสิทธิภาพของนโยบายการบริหาร เมื่อปลาจะกินดาว 10 252


จัดการทรัพยากรน้าํ ภายใตระบบการเมืองทีเ่ ปดกวางในเรือ่ งสิทธิและเสรีภาพ ตลอดจนการกําหนดโครงสรางทางการเมือง ใหประชาชนเจาของอํานาจไดเขา มามีสว นรวมในกระบวนการกําหนดนโยบายสาธารณะ รวมทัง้ การตรวจสอบ นโยบาย

เมื่อปลาจะกินดาว 10 253


บรรณานุกรม กนกวรรณ มะโนรมย คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ‘ภัยแลง การจัดการน้ํา และนโยบายสาธารณะ’ หนังสือพิมพมติชนราย วัน 19 เมษายน 2548 รางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําพ.ศ. ... กรมทรัพยากรน้ํา กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สัมภาษณ เกษมสันต จิณณวาโส อดีตอธิบดีกรมทรัพยากรน้ํา กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กรกฏาคม 2553 สัมมนาเรื่อง “ฝาวิกฤตน้ําดวยกระบวนทัศนการจัดการใหม” วันที่ 19 สิงหาคม 2553 จัดโดยชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม

เมื่อปลาจะกินดาว 10 254


ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย Thai Society of Environmental Journalists, Thai Journalists Association 538/ 1 ถนนสามเสน เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท 02-243-8739 โทรสาร 02-668-7740 E-mail : thaisej@yahoo.com คณะกรรมการบริหาร 1. นายวันชัย ตันติวิทยาพิทักษ นิตยสารสารคดี ประธาน 2. นางสาวจิตติมา บานสราง รายการ 360 องศา สถานีโทรทัศนไทยทีวีสีชอง 3 รองประธาน 3. นายเอมพงศ บุญญานุพงศ หนังสือพิมพขาวสด เลขานุการ 4. นางสาวจันทรจิรา พงษราย หนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ เหรัญญิก 5. นางสาวกุลธิดา สามะพุทธิ หนังสือพิมพบางกอกโพสต กรรมการ 6. นางสาวชุติมา นุนมัน หนังสือพิมพมติชน กรรมการ 7. นางสาวอัญชลี คงกรุต หนังสือพิมพบางกอกโพสต กรรมการ 8. นายพิเชษฐ ชูรักษ หนังสือโพสตทูเดย กรรมการ กรรมการ 9. นายปองพล สารสมัคร หนังสือพิมพเดอะเนชั่น 10. นางสาวน.รินี เรืองหนู หนังสือพิมพมติชน กรรมการ 11. นางสาวฐปนีย เอียดศรีไชย รายการขาว 3 มิติ สถานีโทรทัศนไทยทีวีสีชอง 3 กรรมการ คณะกรรมการที่ปรึกษา 1. ผศ.ดร.อนุชาติ พวงสําลี คณะสิ่งแวดลอม และทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 2. นายรุจน โกมลบุตร คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 3. นายวสันต เตชะวงศธรรม สํานักพิมพทางชางเผือก 4. นายกิตติ สิงหาปด สถานีโทรทัศนไทยทีวีสี ชอง 3 5. นายภัทระ คําพิทักษ หนังสือพิมพโพสตทูเดย 6. นายชวรงค ลิมปปทมปาณี หนังสือพิมพไทยรัฐ 7. นายบรรยงค สุวรรณผอง อิคอนนิวส 8. นสพ.รัฐพันธ พัฒนรังสรรค คณะสัตวแพทย มหาวิทยาลัยมหิดล ผูประสานงาน นางสาวกชกร จูจันทร


รายนามผูเชี่ยวชาญที่รวมวิจารณและเสนอแนะ ชื่อเรื่อง ผาทางตันขอพิพาทที่ดินทํากินในเขตปา นักเขียน จันทรจิรา พงษราย หนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ นักวิชาการ ผศ.อิทธิพล ศรีเสาวลักษณ คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ชื่อเรื่อง สิ่งแวดลอมศึกษา...ทิศทางการพัฒนาอยางยั่งยืน นักเขียน เกื้อเมธา ฤกษพรพิพัฒน นักวิชาการ สาวิตรี ศรีสุข ผูอํานวยการสวนสิ่งแวดลอมศึกษา กรมสงเสริมคุณภาพ สิ่งแวดลอม ชื่อเรื่อง ปนฝนทางจักรยาน : บทเรียนจากยุโรป นักเขียน น.รินี เรืองหนู หนังสือพิมพมติชน นักวิชาการ ทวีศักดิ์ บุตรตัน ผูชวยบรรณาธิการ หนังสือพิมพมติชน ชื่อเรื่อง ผาเปลือกเถือหนังเนื้อแทซีเอสอาร นักเขียน อัญชลี คงกรุต หนังสือพิมพบางกอกโพสต นักวิชาการ อนันตชัย ยูรประถม ผูอํานวยการสถาบันพัฒนาธุรกิจอยางยั่งยืน ชื่อเรื่อง เอ็นจีโอสิ่งแวดลอม...ผูปกปองหรือทําลายโลก นักเขียน ชุติมา นุนมัน หนังสือพิมพมติชน นักวิชาการ ภาสกร จําลองราช ผูสื่อขาวหนังสือพิมพมติชน ชื่อเรื่อง นักขาวและพื้นที่ขาวสิ่งแวดลอม สวนทางแนวโนมวิกฤตสิ่งแวดลอม นักเขียน เกรียงไกร ภูระยา หนังสือพิมพไทยรัฐ นักวิชาการ หาญณรงค เยาวเลิศ ประธานมูลนิธิเพื่อการบริหารและจัดการน้ํา แบบบูรณาการ (ประเทศไทย) ชื่อเรื่อง ฉลากเขียว...สูสังคมคารบอนต่ํา นักเขียน อภิญญา วิภาตะโยธิน หนังสือพิมพบางกอกโพสต นักวิชาการ วรศาสตร อภัยพงษ รองอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ ชื่อเรื่อง 2 นักอนุรักษตนแบบ บนเสนทางที่บรรจบกัน นักเขียน ธเนศน นุนมัน หนังสือพิมพโพสตทูเดย นักวิชาการ ภาสกร จําลองราช ผูสื่อขาวหนังสือพิมพมติชน ชื่อเรื่อง ทางเลือกเทคโนโลยีพลังงานสําหรับสังคมไทย นักเขียน วันเสาร แสงมณี หนังสือพิมพขาวสด นักวิชาการ ดร.กิตตินันท อันนานนท หัวหนาศูนยความเปนเลิศเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (XCEP) ศูนยเทคโนโลยี โลหะและวัสดุแหงชาติ (เอ็มเทค) ชื่อเรื่อง การมีสวนรวมของชุมชนมิติใหมการกําหนดนโยบายฝาวิกฤตน้ํา นักเขียน อภิวัจ สุปรีชาวุฒิพงศ หนังสือพิมพโพสตทูเดย นักวิชาการ หาญณรงค เยาวเลิศ ประธานมูลนิธิเพื่อการบริหารและจัดการน้ํา แบบบูรณาการ (ประเทศไทย)


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.