เล่มฝึกงาน น.ส.ชมพูนุช ศรีมงคล Chompunuch srimongkol

Page 1

1


2

กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) การที่ข้าพเจ้าได้มาฝึกงาน ณ บริษัท แม็คเอ็นดูเคชั่นจากัด ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2556 ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ.6552 ส่งผลให้ข้าพเจ้าได้รับความรู้ใหม่ๆและประสบการณ์ต่างๆอย่างมากมาย สาหรับรายงานการฝึกงานฉบับนี้สาเร็จลงได้ด้วยดีจากความร่วมมือและสนับสนุนจากหลายฝ่ายดังนี้ 1. คุณภาวิณี พวงผกา Design Director 2. คุณอภิศักดิ์ ตังโกวิท Graphic Design และบุคคลท่านอื่นๆในแผนก ฝ่ายผลิต,Graphic ทุกท่านที่ได้ให้คาแนะนาช่วยเหลือในการจัดทา รายงานฉบับนี้ ข้าพเจ้าใคร่ขอขอบพระคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูล เป็นที่ปรึกษาในการทา รายงานฉบับนี้จนเสร็จสมบูรณ์ ตลอดจนให้การดูแลและให้ความเข้าใจเกี่ยวกับชีวิตการทางานจริง ข้าพเจ้า ขอขอบคุณ ไว้ ณ ที่นี้

ชมพูนุช ศรีมงคล ผู้จัดทารายงาน


3

บทคัดย่อ (Abstract) บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น Vision เป็นผู้นาในการให้บริการทางด้านการศึกษา (The Education Solution Provider) โดยจะมีส่วนร่วมในการ ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของนักเรียนและสถานศึกษา และเป็นองค์กรที่มีความพร้อมสู่ ประชาคมอาเซียน Mission 1. - ผลิตและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ให้ทันสมัยและมีคุณภาพ ทั้งในรูปสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อเทคโนโลยีเพื่อ การศึกษา เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการเตรียมความพร้อมของนักเรียนและสถานศึกษาในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน 2. - ผลิตและพัฒนาคู่มือครู และแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลบรรลุตามเป้าหมายของหลักสูตร 3. - ให้บริการการฝึกอบรมครูและบุคคลากรทางการศึกษา รวมทั้งการฝึกอบรมนักเรียน 4. - ให้บริการการทดสอบทางการศึกษาแก่นักเรียนและสถานศึกษา 5. - สร้างเครือข่ายความร่วมมือทางด้านการศึกษากับกลุ่มประเทศในอาเซียน 6. - พัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในด้านระบบงานและด้านบุคลากร ให้มีความพร้อมสู่ ประชาคมอาเซียน Goals 1. - สถานศึกษามีพัฒนาการด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในรายวิชาที่หลักสูตรกาหนด 2. - สถานศึกษามีพัฒนาการด้านผลการทดสอบระดับชาติที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET), ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) 3. - นักเรียนมีคุณภาพการศึกษาที่ดีขึ้น ทั้งในด้านผลการสอบ, การคิดเป็นทาเป็น, การเป็นคนดี และมี ความพร้อมสูประชาคมอาเซียน 4. - องค์กรมีความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนในด้านสื่อการศึกษา, บุคลากร และระบบงาน


4

สารบัญ จดหมายนาส่ง กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ สารบัญ บทที่ 1 บทนา 1.1 ชื่อและที่ตั้งสถานที่ประกอบการ 1.2 ลักษณะการประกอบกิจการดาเนินงานเกี่ยวกับ 1.3 รูปแบบการจัดการองค์กรและการบริการงานขององค์กร 1.4 หลักการ 1.5 วัตถุประสงค์ของการฝึกงาน 1.6 การปฏิบัติตัวระหว่างการฝึกงาน บทที่ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับงานที่ปฏิบัติ 2.1 ลูกค้าสัมพันธ์ 2.2 การจัดโครงสร้างเพื่อการโฆษณาและการส่งเสริมการตลาดในองค์กร 2.3 การวางแผนและกาหนดงบประมาณ บทที่ 3 การปฏิบัติงาน 3.1 การปฎิบัติงานของฝ่าย 3.2 งานที่ได้รับมอบหมาย บทที่ 4 ผลที่ได้รับจากการปฎิบัติงาน บทที่ 5 สรุปผลการปฎิบัติงาน บรรณานุกรม ภาคผนวก

หน้า 1 2 3 4 5 5 5 6 7 7 7 7 8 9 10 12 13 13 20 26 29 30-31


5

บทที่ 1 บทนา ชื่อและที่ตั้งสถานที่ประกอบการ หน่วยงานที่ฝึกงาน : บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จากัด ที่ตั้ง : เลขที่ 9/99 อาคารแม็ค ซอยลาดพร้าว 38 ถนนลาดพร้าว แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์: โทร 0-2512-0661,0-2938-2022-7 Fax: 0-2938-2028 URL: http://www.maceducation.com/ ลักษณะการประกอบกิจการดาเนินงานเกี่ยวกับ เป็นผู้นาในการให้บริการทางด้านการศึกษา (The Education Solution Provider) โดยจะมีส่วนร่วม ในการส่งเสริมสนับสนุนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของนักเรียนและสถานศึกษา และเป็นองค์กรที่มีความ พร้อมสู่ประชาคมอาเซียน - ผลิตและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ให้ทันสมัยและมีคุณภาพ ทั้งในรูปสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อเทคโนโลยีเพื่อ การศึกษา เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการเตรียมความพร้อมของนักเรียนและสถานศึกษาในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน - ผลิตและพัฒนาคู่มือครู และแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลบรรลุตามเป้าหมายของหลักสูตร - ให้บริการการฝึกอบรมครูและบุคคลากรทางการศึกษา รวมทั้งการฝึกอบรมนักเรียน - ให้บริการการทดสอบทางการศึกษาแก่นักเรียนและสถานศึกษา - สร้างเครือข่ายความร่วมมือทางด้านการศึกษากับกลุ่มประเทศในอาเซียน - พัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในด้านระบบงานและด้านบุคลากร ให้มีความพร้อมสู่ ประชาคมอาเซียน - สถานศึกษามีพัฒนาการด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในรายวิชาที่หลักสูตรกาหนด


6

- สถานศึกษามีพัฒนาการด้านผลการทดสอบระดับชาติที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET), ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) - นักเรียนมีคุณภาพการศึกษาที่ดีขึ้น ทั้งในด้านผลการสอบ, การคิดเป็นทาเป็น, การเป็นคนดี และมี ความพร้อมสูประชาคมอาเซียน - องค์กรมีความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนในด้านสื่อการศึกษา, บุคลากร และระบบงาน ตาแหน่งและลักษณะงานที่นิสิตได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ คุณภาวิณี พวงผกา ผู้ดูแลควบคุมการฝึกงาน ช่วงระยะเวลาฝึกงาน : วันที่ 1 มีนาคม 2556 - 31 พฤษภาคม 2556 ระยะเวลาและสภาพในการทางานช่วงเวลาในการฝึกงาน :เริ่มฝึกงานตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2556 - 31 พฤษภาคม 2556 ทางานวันจันทร์-ศุกร์ หยุดเสาร์อาทิตย์ เริ่มงานเวลา 8.30 น.จนถึงเวลา 17.30 น.เวลาพัก กลางวันเวลา 12.00 – 13.00 น. สภาพในการทางาน : สถานที่ทางานตั้งอยู่ในอาคารชั้น4 แผนกซึ่งเป็นส่วนของการปฏิบัติงานด้านกราฟฟิก, ฝ่ายผลิตและมีเดียมีแผนกที่ทางานด้านมีเดียออกแบบอนิเมชั่นออกแบบกราฟิกและดิจิตอลมีเดียงานโฆษณา โทรทัศน์โดยมีห้องทางานเป็นโต๊ะทางานแบบล็อคของแต่ละคนมีคอมพิวเตอร์คนละเครื่องส่วนนักศึกษาฝึกงาน ให้นาเครื่องมาเองมีสายWireless หรือ Ethernet (Lan)ให้ต่อเพื่อสืบค้นข้อมูลหาข้อมูลอ้างอิงในการทางาน หลักการ 1.จัดประสบการณ์ให้เป็นระบบและกระบวนการที่ต่อเนื่อง 2.ให้มีการฝึกสถานการณ์จริงให้มากที่สุดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานให้กับนักศึกษา 3.ประสานทฤษฎีให้สอดคล้องกับการนาไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม 4.สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างสถาบันกับองค์การและหน่วยงานภายนอก 5.พัฒนาคุณภาพนักศึกษาให้มีศักยภาพสอดคล้องกับความต้องการของตลาด แรงงานและผู้ใช้ วัตถุประสงค์ของการฝึกงาน 1. เพื่อให้นักศึกษามีโอกาสเรียนรู้และได้รับ ประสบการณ์ชีวิตการทางานที่แท้จริง 2. เพื่อให้นักศึกษาได้เตรียมความพร้อมก่อนที่จะจบออกไปทางาน 3. เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักการปรับตัวให้เข้ากับ สภาพแวดล้อมภายนอกมหาวิทยาลัย 4. เพื่อให้นักศึกษานาประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกงานมาประยุกต์ใช้ในการทางานต่อไป


7

การปฏิบัติตัวระหว่างการฝึกงาน 1. ตรงต่อเวลา 2. มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น 3. แต่งกายชุดนักศึกษา กรณีใส่เสื้อช็อปต้องผ่านความเห็นชอบจากบริษัทก่อน 4. การลากิจ ลาป่วย ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับของสถานที่ฝึกงาน 5. ระมัดระวังในเรื่องการวางตัวและการใช้เครื่องมือสื่อสาร 6. ไม่ควรต่อรองเรื่องระยะเวลาการฝึกงานหรือ เรียกร้องอภิสิทธิ์ใด ๆ จากสถานที่ฝึกงาน 7. นักศึกษาควรมีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออกและกล้าตัดสินใจ 8. ให้ถือเสมือนว่า การฝึกงานก็คือการทางาน และทาการ ฝึกงานอย่างเต็มกาลังความสามารถ 9. การไปฝึกงานของนักศึกษา ถือว่าไปในนามตัวแทนของมหาวิทยาลัยและในนามของคณะฯ ต้องไม่กระทา การ ใด ๆ ที่จะทาให้เสื่อมเสียต่อส่วนรวม 10. ในระหว่างการฝึกงาน หากมีปัญหาเกี่ยวกับงานต้องการคาปรึกษาเชิงวิชาการ นักศึกษาควรติดต่อกลับมา ยังอาจารย์ประจาภาควิชา แต่ถ้ามีปัญหาเกี่ยวกับการฝึกงานติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยทะเบียนฯ โดยตรง 11. หากมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นระหว่างการฝึกงานให้ติดต่อคณะฯ หรือมหาวิทยาลัย

บทที่ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับที่ปฎิบัติงาน การจัดการภายในองค์กร ที่มาและจุดเริ่มต้นของ 30 ปี...แห่งความภาคภูมิใจ 30 ปี...แห่งความตั้งใจในการผลิตและจาหน่ายแบบเรียนวิชาการ จากจุดเริ่มต้นเล็กๆเมื่อปี พ.ศ. 2517 .... ครั้งนั้น นายพีระ พนาสุภน ได้ชักชวนเพื่อน ๆ และรุ่นพี่ และรุ่นน้อง คณะต่างๆจากจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เปิดติวให้กับน้องๆ ที่จะสอบเข้ามหาวิทยาลัยในนาม “คณะนิสิต บัณฑิต” มุ่งหวังที่จะติวน้องๆสอบเข้ามหาวิทยาลัยให้ได้ และก็สมดังเจตนารมณ์ น้องๆเป็นจานวนมากที่มาติ วสามารถสอบเข้า มหาวิทยาลัยได้ดังที่ตั้งใจ ...หลังจากนั้น 1 ปี “คณะนิสิตบัณฑิต” ได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “Modern Academic Center” และใช้ชื่อย่อว่า “MAC” จากคาร่าลือปากต่อปากว่า MAC สามารถติว นักเรียนเข้ามหาวิทยาลัยได้จานวนมากMAC จึงกลายเป็นโรงเรียนกวดวิชาที่มีสถิตินักเรียนสูงสุดในเวลานั้นโดย มีนักเรียนมากกว่า 20,000 คนต่อปี จนในที่สุดสานักพิมพ์แม็ค จึงได้ถือกาเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการ


8

โดย นายพีระ พนาสุภน เพื่อทาการผลิตวารสารแม็ค และหนังสือคู่มือประกอบการเรียน โดยมีจุดมุ่งหมายให้ วารสารและหนังสือคู่มือเป็น“เพื่อนคู่คิด คู่เรียน” ของนักเรียนทั่วประเทศ ซึ่งเป็นที่ยอมรับของครู ผู้ปกครอง และนักเรียนมาโดยตลอดจนถึงปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2532 MAC ได้เริ่มก้าวสู่การผลิตหนังสือแบบเรียน โดยเริ่มจากหนังสือเรียนสายอาชีพทั้งระดับ ปวช. และปวส. หนังสือเรียนตั้งแต่ระดับอนุบาลจนถึงมัธยมศึกษา ตอนปลายตามลาดับ หนังสือทุกประเภทของ MAC เน้นคุณภาพ ความถูกต้องและ เนื้อหาสาระ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้อ่าน หนังสือที่มีโลโก้ MACทุกเล่ม จึงเป็นหนังสือที่นักเรียน ครู อาจารย์ ผู้ปกครอง ให้ความไว้วางใจในคุณภาพ จวบจนปัจจุบัน เป็นระยะเวลา 30 ปี ...MAC เติบโตด้วยปณิธาน ที่แน่วแน่ และมุ่งมั่นในการรักษาคุณภาพทางการศึกษา ทั้งธุรกิจสานักพิมพ์ หนังสือแบบเรียน ซึ่งเป็นสิ่งยืนยัน ได้ว่า“MAC…คือสัญลักษณ์แห่งคุณภาพทางวิชาการ” ขอบเขตของการบริการ MAC เป็นผู้นาในการให้บริการทางด้านการศึกษา (The Education Solution Provider) โดยจะมี ส่วนร่วมในการส่งเสริมสนับสนุนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของนักเรียนและสถานศึกษา และเป็นองค์กรที่ มีความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน บริษัท ก่อตั้งขึ้นในประเทศไทยในปี พ.ศ.6536-ปัจุบัน เป็นระยะเวลา30ปี รายชื่อลูกค้าสัมพันธ์ กรุงเทพและปริมณฑล

คุณสายฝน

0-2938-2022-7 ต่อ 2514

ภาคเหนือ

คุณขวัญแก้ว

0-2938-2022-7 ต่อ 2515

ภาคกลาง/ตะวันตก

คุณกัญญณัช

0-2938-2022-7 ต่อ 2514

อีสานบน

คุณจัทนา

0-2938-2022-7 ต่อ 2512

อีสานล่าง

คุณอุษา

0-2938-2022-7 ต่อ 2522

ภาคใต้

คุณขวัญมงคล

0-2938-2022-7 ต่อ 2513

อาชีวะ

คุณวิลาวรรณ

0-2938-2022-7 ต่อ 2523

บุ๊คสโตร์

คุณภัทรวรรณ

0-2938-2022-7 ต่อ 2525


9

การจัดองค์กรเพื่อการโฆษณาและการส่งเสริมการตลาด: การพัฒนาและใช้งานโปรแกรมการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจรมักจะมีการซับซ้อนและกระบวน กานในการทางานมักจะต้องเกี่ยวข้องกับบุคคลจานวนมาก ในฐานะผู้บริโภคทั่วไปมักจะไม่ได้ให้ความสนใจถึง บุคคลหรือองค์ต่างๆ ที่สร้างสรรค์โฆษณาอย่างชานฉลาดที่สามารถดึงดูดความสนใจได้อย่างดีเยี่ยม หรือการ แข่งขันหรือการชิงโชคที่เราอยากได้รับรางวัล แต่สาหรับผู้ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางการตลาดแล้ว นับว่ามี ความสาคัญอย่างยิ่งที่ต้องเข้าใจในลักษณะของอุตสาหกรรมและโครงสร้างรวมทั้งการทางานต่างๆ ขององค์กร ที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากจะเห็นได้ว่าธุรกิจโฆษณาและการส่ง เสริมการตลาดกาลัง อยู่ระหว่างการเปลี่ยนแปลง บรรดานักการตลาดต่างมองหาวิธีการต่างๆ เพื่อจัดการการสื่อสารการตลาด รวมทั้งความสาพันธ์กับเอเจนซี่ โฆษณาและผู้เชี่ยวชาญด้านการสื่อสารอื่นๆ การจัดโครงสร้างเพื่อการโฆษณาและการส่งเสริมการตลาดในองค์กร : บทบาทของลูกค้า โดยพื้นฐานแล้วทุกองค์กรธุรกิจจะมีการใช้รูปแบบการสื่ อสารทางการตลาดรูปแบบใดแบบหนึ่งโดยมี การที่บริษัทจัดโครงสร้างเพื่อการทางานเหล่านี้จะขึ้นกับปัจจัยหลายๆ ประการ เช่น ขนาดองค์ก รจานวนสินค้า ที่ทาตลาด บทบาทของการโฆษณาและการส่งเสริมการตลาดในส่วนประสมทางการตลาดงบประมาณเพื่อการ โฆษณาและการส่งเสริมการตลาด รวมทั้งโครงสร้างทางการตลาด โยอาจมีบุคคลหลายบุคคลในองค์กรมีส่วน ร่วมในกระบวนการตัดสินใจเกี่ยวกับการโฆษณาและการส่ง เสริมการตลาดพนักงานด้า นการตลาดซึ่ง ความ เกี่ยวข้องโดยตรงกับการโฆษณามักจะมีส่วนเกี่ยวข้องมากที่สุดนับตั้ง แต่การเตรียมข้อมูลของแคมเปญ การ เลือกเอเจนซี่ไปจนถึงการประเมินผลโปรแกรม ขณะที่ผู้บริหารระดับบนจะสนใจเพียงว่าโปรแกรมการโฆษณา แสดงภาพลักษณ์ขององค์กรอย่างไร และอาจเข้ามามีส่วนในการตัดสินใจเกี่ยวกับการโฆษณา แม้ว่าจะมีบุคคลจานวนมากทั้งภายในและภายนอกองค์กรที่มีส่วนในการให้ข้อมูลสาหรับโปรแกรมการ โฆษณาและการส่งเสริมการตลาด อย่างไรก็ตามจาเป็นต้องมีบุคคลภายในองค์กรที่รับผิดชอบในหน้าที่ดังกล่าว โนตรง บริษัทหลายแห่งมีฝ่ายโฆษณาในองค์กรที่มีผู้จั ดการฝ่ายโฆษณาหรือการสื่อสารรับผิดชอบงาน โดยมี ผู้อานวยการฝ่ายการตลาดเป็นผู้ดูแล อีกวิธีการใช้กันคือการตลาดในระบบกระจายศูนย์ (การจัดการตราสินค้า( ส่วนตัวเลือกที่สามคือการจัดตั้งเอเจนซี่ขึ้นภายในบริษัทโดยจะมีส่วนการกล่าวถึงรายละเอียดของแต่ละระบบ ในส่วนต่อไป ระบบแบบรวมศูนย์ (Centralized System) ในหลายองค์กร กิจกรรมทางการตลาดจะแบ่งตามสายการทางาน โดยการโฆษณาจะได้รับการจัดวางไว้ควบคู่ กับฟังก์ชันทางการตลาดอื่นๆ เช่น การขาย การวิจัยทางการตลาดและการวางแผนผลิตภัณฑ์ ดังแสดงในรูปที่ ในบางบริษัท( ดชอบกิจกรรมการส่งเสริมการตลาดทั้งหมดยกเว้นการขาย ผู้จัดการฝ่ายโฆษณามีหน้าที่รับผิ 6-3 อาจเรียกชื่อตาแหน่งนี้ว่าผู้จัดการฝ่ายสื ่อสารการตลาดในตัวอย่างของระบบแบบรวมศูนย์ ผู้จัดการฝ่ายการ ( โฆษณาควบคุ ม การท างานเกี่ ย วกั บ การส่ ง เสริ ม การตลาดทั้ ง หมดรวมทั้ ง การก าหนดงบประมาณ การ


10

ร้างและผลิตโฆษณา การวางแผนเกี่ยวกับสื่อและตรวจสอบรวมทั้งจัดการโปรแกรมการ ประสานงานในการส ส่งเสริมการตลาดสาหรับสินค้าและบริการทั้งหมดของบริษัท หน้ า ที่ เ ฉพาะของผู้ จั ด การฝ่ า ยโฆษณาหรื อ ฝ่ า ยสื่ อ สารการตลาดจะขึ้ น กั บ ขนาดขององค์ แ ละ ฐานได้แก่ความสาคัญของโปรแกรมการส่งเสริมการตลาด โดยหน้าที่พื้น การวางแผนและกาหนดงบประมาณ ฝ่ายโฆษณามีหน้าที่รับผิดชอบต่อการพัฒนาแผนการโฆษณา และการส่งเสริมการตลาด เพื่อเสนอให้ผู้บริหารอนุมัติและเสนอโปรแกรมการส่งเสริมการตลาดที่สอดคล้องกับ แผนการตลาดโดยรวม วั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละงบประมาณ โดยมี ก ารเสนอแผนงานประจ าปี ห รื อ เมื่ อมี ก าร เปลี่ยนแปลงโปรแกรมอย่างชัดเจนหรือเมื่อมีการพัฒนาโปรแกรมใหม่ การจัดการและใช้งาน ผู้จัดการต้องจัดโครงสร้างฝ่ายโฆษณาและควบคุ มกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งดูแล การทางานตามแผนงานโดยประสานงานกับเอเจนซี่โฆษณา ซึ่งต้องทางานร่วมกับฝ่ายผลิต สื่อฝ่ายศิลป์ ฝ่ายครี เอทีฟและการส่งเสริมการขาย กรณีที่มีการใช้บริการเอเจนซี่ภายนอก จะสามารถลดความรับผิดชอบของฝ่าย โฆษณาลงได้หลายประการ โดยต้องตรวจสอบและรับรองแผนของเอเจนซี่ การประสานงานกับฝ่ายอื่นๆ ผู้จัดการต้องประสานงานกิจกรรมต่างๆ ของฝ่ายโฆษณากับฝ่ายอื่นๆ โดเฉพาะอย่า งยิ่งส่ว นที่ มีความเกี่ย วข้องกั บหน้าที่ ด้านการตลาด เช่น ฝ่ายโฆษณาต้ องสื่อสารกับฝ่ ายวิจั ย การตลาดและหรือฝ่ายขาย เพื่อพิจารณาว่าคุณสมบัติใดของสินค้าที่มีความสาคัญต่อลูกค้าและควรเน้นในการ / หรื อสิ่ ง พิ ม พ์ สื่อ สารของบริ ษั ท งานวิ จัย อาจมีป ระโยชน์ ใ นการระบุ ก ลุ่ม เป้ า หมายเพื่ อ ให้ ฝ่า ยสื่ อเลื อ กสื่อ นอกจากนี้ฝ่ายโฆษณายังอาจมีหน้าที่ในการเตรียมเอกสารต่างๆ เพื่อให้พนักงานขายสามารถนาไปใช้งานได้เมื่อ ต้องการติดต่อกับลูกค้า เช่น เครื่ อ งมื อ ส าหรั บ ส่ ง เสริ ม การขาย เอกสารโฆษณาและการแสดงผล ณ จุดขาย ระบบแบบกระจายศูนย์ (Decentralized System) ทขนาดใหญ่ที่มีแผนกต่างๆ แยกย่อยและมีสินค้าหลากหลายประเภทโอกาสในการบริหารการ ในบริษั โฆษณา การส่งเสริมการตลาดและฟังก์ชันอื่นๆ โดยใช้ระบบรวมศูนย์เป็นไปได้ยาก บริษัทเหล่านี้จึงใช้ระบบ แบบกระจายศูนย์ โดยมีฝ่ายผลิต ฝ่ายวิจัยและพัฒนา ฝ่ายขายและฝ่ายการตลาดสาหรับแผนกต่างๆ สาย ผลิตภัณฑ์หรือธุรกิจ บริษัทขนาดใหญ่ เช่น Procter & Gamble, Unilever และ Nestle’ มีการกาหนด สินค้าหรือตราสินค้าแต่ละชนิดให้ผู้จัดการตราสินค้า (Brand Managerรับผิดชอบการจัดการตราสินค้านั้น ( ไรโดยอาจมีผู้ช่วยเพื่อช่วยทั้งหมด ตั้งแต่การวางแผน การกาหนดงบประมาน การขายและการตรวจสอบผลกา ดูแลการใช้งานและควบคุมโปรแกรมทางการตลาด บางบริษัทอาจมีหัวหน้าผู้จัดการตราสินค้าอีกระดับเพื่ อประสานงานกับผู้จัดการตราสินค้าเพื่อบริหาร จัดการกลุ่มสินค้า ตัวอย่างโครงสร้างองค์กรของ Procter & Gamble ที่แสดงในรูปที่ ระบบการซึ่งเรียกว่า 4-3 ( จัดการแยกประเภท Category Management System ( ที่ มีทั้ ง ผู้ จัด การประเภทสิน ค้า (Category Managerและผู้จัดการตราสิ (นค้า (Brand Manager( และผู้จัดการฝ่ายโฆษณา (Advertising Manager (


11

บาททางกลยุทธ์ของตราโดยผู้จัดการประเภทสินค้าดูแลการจัดการประเภทสินค้าทั้งหมดในภาพรวมตามบท สินค้าต่างๆ เพื่อสร้างผลกาไรและส่วนแบ่งทางการตลาด ผู้จั ด การฝ่ ายโฆษณาอาจตรวจสอบและประเมิ น ส่ ว นต่า งๆ ของโปรแกรมและแนะนารวมทั้ ง ให้ คาปรึกษากับผู้จัดการตราสินค้า ซึ่งอาจมีอานาจในการเปลี่ยนแปลงการตัดสินใจของผู้จัดการตราสินค้าเกี่ยวกับ การโฆษณาได้ ในองค์กรที่มีสินค้าหลายชนิดที่มีการใช้งบจานวนมากไปกับการโฆษณา ผู้จัดการฝ่ายโฆษณาอาจ ประสานกับเอเจนซี่ต่างๆ เพื่อขอรับส่วนลดเมื่อมีการซื้อสื่อโฆษณาในปริมาณมาก จ ะได้ รั บ การดู แ ลอย่ า งทั่ ว ถึ ง จึ ง สามารถข้ อ ดี ข องระบบกระจายศู น ย์ คื อ ตราสิ น ค้ า แต่ ล ะชนิ ด จ ตอบสนองต่อปัญหาและโอกาสที่พบได้รวดเร็วขึ้น ผู้จัดการตราสินค้าคือผู้รับผิดชอบต่อโปรแกรมการตลาด รวมถึงการระบุตลาดเป้าหมายและการพัฒนาโปรแกรมการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร ซึ่งสามารถสร้าง ความแตกต่างให้กับตราสินค้าได้ การใช้ระบบผู้จัดการตราสินค้าช่วยให้มีความยืดหยุ่นในการทางานเพิ่มขึ้นและ ช่วยให้สามารถปรับเปลี่ยนโปรแกรมการโฆษณาและการส่งเสริมการตลาดได้สะดวกขึ้น ขณะเดียวกันข้อด้อยของระบบนี้คือผู้จัดการตราสินค้ามักจะขาดประสบการณ์ ส่งผลให้กลยุทธ์การ ส่ง เสริมการตลาดสาหรับตราสินค้านั้นๆ อาจได้รับการพัฒนาโดยผู้จัดการตราสินค้าที่ไม่เข้าใจบทบาทและ หน้าที่ของการโฆษณาและการส่งเสริมการตลาด รวมถึงวิธีการที่ควรใช้งาน ผู้จัดการตลาดสินค้าอาจให้ความ สนใจกับการวางแผนระยะสั้นและงานด้านการจัดการมากเกินไป ส่ง ผลให้ไม่ไ ด้ให้ความสาคัญ กับโปรแกรม ระยะยาว นอกจากนี้ระบบการจัดการตราสินค้าได้รับการวิจารณ์ว่าผู้จัดการการตราสินค้าไม่สามารถมีอานาจ ต่อการทางานเพื่อใช้งานและควบคุมแผนต่างๆ ที่ได้พัฒนาขึ้นเองอีกด้วย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้บริการการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจรให้แก่ลูกค้าทั่วโลก อย่างไรก็ตามมีผู้โฆษณา หันไปใช้บริการเอเจนซี่ขนาดย่อมที่มีความยืดหยุ่นในกา หลายรายที่รทางานสูง กว่าและให้การตอบสนองที่ รวดเร็วกว่าซูเปอร์เอเจนซี่ ครั้นพอถึงกลางทศวรรษที่ ธุรกิจเอเจนซี่ที่ต้องพบกับความเปลี่ยนแปลงอีกครั้ง 00 อเจนซี่ ข นาดใหญ่ เช่ นเมื่ อ เอเจนซี่ ข นาดกลางส่ ว นใหญ่ ถู ก ควบรวมกิ จ การและกลายเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของเ Omnicom Group, WPP Group และ Interpublic Group of cos. เอเจนซี่ขนาดกลางหากไม่ได้ถูกควบรวม กิจการก็ต้องหันไปทางานร่วมกับเอเจนซี่ขนาดใหญ่ เนื่องจากลูกค้าต้องการเอเจนซี่ที่สามารถรับความต้องการ ในการสื่อสารในระดับสากลได้ ปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องจนถึงช่วงสหัสวรรษใหม่ เอเจนซี่ขนาดใหญ่ อย่าง Fallon Worldwide, Leo Burnett, Saatchi & Saatchi และ Kaplan Thaler ถูกซื้อกิจการโดย Publicis Group ซึ้งเป็นบริษัทโฮลดิ้งยักษ์ใหญ่จากประเทศฝรั่งเศส เมื่อถึงกลางปี บริษัทโฮลดิ้งยักษ์ 6005 รายคือใหญ่สี่Omnicom, WPP, Interpublic และ Publicis สามารถครองบัญชีของลูกค้ากว่า เปอร์เซ็นต์ 55 ของมูลค่าการโฆษณาและการทาการตลาดทั้งหมดที่มีความเชี่ยวชาญในสหรัฐอเมริกา บริษัทโฆษณาหลายราย สารที่มีการโต้ตอบ การและเอเจนซี่ขนาดใหญ่ที่ถูกควบรวมกิจการมีความเชี่ยวชาญในส่วนต่างๆ เช่น การสื่อ ประชาสัมพันธ์การตลาดแบบตรงและการส่งเสริมการขาย จึงสามารถเสนอบริการสื่อสารการตลาดแบบครบ วงจรต่างๆที่ครอบคลุมมากยิ่งขึ้นให้แก่ลูกค้า


12

บทที่ 3 การปฏิบัติงาน หลักการของการปฎิบัติงาน 1. เพื่อเพิ่มทักษะ สร้างเสริมประสบการณ์ และพัฒนาวิชาชีพตามสภาพความเป็นจริงในสถาน ประกอบการ 2. เพื่อจะได้ทราบถึงปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึน้ ขณะปฏิบัติงานและสามารถใช้สติปัญญาแก้ปัญหาได้อย่าง มีเหตุผล 3. เพื่อให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีระเบียบวินัย และทางานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพือให้มีเจตคติที่ดีต่อการทางาน และมีความภูมิใจในวิชาชีพ เพือ่ เป็นแนวทางในการประกอบ อาชีพต่อไปภายหลังจากสาเร็จการศึกษา 5. เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการ และหน่วยงานรัฐบาล ระเบียบว่าด้วยงานที่ได้รับมอบหมาย

การปฏิบัตติ ัวระหว่ างการฝึ กงาน 1. ตรงต่อเวลา 2. มีความซื่อสัตย์ตอ่ ตนเองและผู้อื่น 3. แต่งกายชุดนักศึกษา กรณีใส่เสื ้อช็อปต้ องผ่านความเห็นชอบจากบริ ษัทก่อน 4. การลากิจ ลาป่ วย ต้ องปฏิบตั ิตามกฎระเบียบข้ อบังคับของสถานที่ฝึกงาน 5. ระมัดระวังในเรื่ องการวางตัวและการใช้ เครื่ องมือสือ่ สาร 6. ไม่ควรต่อรองเรื่ องระยะเวลาการฝึ กงานหรื อ เรี ยกร้ องอภิสทิ ธิ์ใด ๆ จากสถานที่ฝึกงาน 7. นักศึกษาควรมีความเชื่อมัน่ ในตนเอง กล้ าคิด กล้ าแสดงออกและกล้ าตัดสินใจ 8. ให้ ถือเสมือนว่า การฝึ กงานก็คือการทางาน และทาการ ฝึ กงานอย่างเต็มกาลังความสามารถ 9. การไปฝึ กงานของนักศึกษา ถือว่าไปในนามตัวแทนของมหาวิทยาลัยและในนามของคณะฯ ต้ อง ไม่กระทาการ ใด ๆ ที่จะทาให้ เสือ่ มเสียต่อส่วนรวม 10. ในระหว่างการฝึ กงาน หากมีปัญหาเกี่ยวกับงานต้ องการคาปรึ กษาเชิงวิชาการ นักศึกษาควร ติดต่อกลับมายังอาจารย์ประจาภาควิชา แต่ถ้ามีปัญหาเกี่ยวกับการฝึ กงานติดต่อเจ้ าหน้ าที่หน่วยทะเบีย นฯ โดยตรง 11. หากมีอุบตั ิเหตุเกิดขึน้ ระหว่างการฝึ กงานให้ ติดต่อคณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ หรื อ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม


13

การปฎิบัติงานของฝ่าย Creative บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จากัด โดยแผนกที่ผู้ฝึกประสบการณ์วิชาชีพได้เข้าไปปฎิบัติงานคือฝ่ายผลิต ออกแบบกราฟิก ซึ่งทางาน ออกแบบสร้างสรรค์งานกราฟิก โดยภายในแผนกจะมีครีอีทีฟดีไชด์เป็นคนรับงานใหญ่แล้วมีผู้ดูแลคิวดีไชด์ เนอร์แล้วจัดแบ่งภาระงานตามเหมาะสมโดยแผนกครีเอทีฟจะแบ่งเป็นฝ่ายArt Director,Visual,Retuch,copy writer,Graphic Design ด้านงานกราฟิกจะแบ่งเป็นทีมแต่ละทีมจะประกอบด้วยอาร์ไดเร็คเตอร์ ก๊อปปี้วไร เตอร์ และ ดีไชด์เนอร์ ทางานร่วมกันเป็นทีม ผู้เข้าฝึกงานจะได้รับงานจากกราฟฟิกดีไซด์เนอร์ ซึ่งงานส่วนใหญ่ จะเป็นงานด้านออกแบบ Key Visual เพื่อขายเลเอาท์ให้ลูกค้าครั้งแรกหรืองานที่เตรียมทาPitching (ดูที่ ภาคผนวก( และมีโอการได้รับงานจากฝ่าย AE (Account Exclusive( เมื่ออกแบบเสร็จจะมีการ internal จาก AE (Account Exclusive( ก่อนเพื่อให้ได้ตรงตามความต้องการของลูกค้ามากที่สุด งานที่ได้รับมอบหมาย 1. เรื่อง/รายการ จัดทาStoryboard สื่อการเรียนการสอน วิชาศิลปะ สถานที่ ฝ่ายผลิต ชั้น4


14

แสดงภาพผลงานการเขียน Storyboard สื่อการเรียนการสอน วิชาศิลปะ


15

สาระสาคัญที่ได้เรียนรู้และฝึกปฎิบัติ เขียน Storyboard สื่อการเรียนการสอน วิชาศิลปะ ปัญหาที่เกิดขึ้น จัดวางภาพประกอบไม่ถูกตาแหน่งและการใช้ภาษาในการเขียน Storyboard การแก้ไขปัญหา จัดวางภาพประกอบใหม่ ปรับเปลี่ยนภาษาที่ใช้ในการเขียน Storyboard ประสบการณ์ที่ได้รับ ได้เรียนรู้วิธกี ารจัดทาสื่อการเรียนการสอนและการเขียน Storyboard ก่อนนาไปทาอนิ เมชั่นเป็นสื่อลงแท็บเล็ต 6.เรื่อง/รายการ จัดทาStoryboard สื่อการเรียนการสอน วิชาศิลปะ สถานที่ ฝ่ายผลิต ชั้น4


16


17


18


19

แสดงภาพผลงานการเขียน Storyboard สื่อการเรียนการสอน วิชาศิลปะ สาระสาคัญที่ได้เรียนรู้และฝึกปฎิบัติ เขียน Storyboard สื่อการเรียนการสอน วิชาศิลปะ ปัญหาที่เกิดขึ้น จัดวางภาพประกอบไม่ถูกตาแหน่งและการใช้ภาษาในการเขียน Storyboard การแก้ไขปัญหา จัดวางภาพประกอบใหม่ ปรับเปลี่ยนภาษาที่ใช้ในการเขียน Storyboard ประสบการณ์ที่ได้รับ ได้เรียนรู้วิธกี ารจัดทาสื่อการเรียนการสอนและการเขียน Storyboard ก่อนนาไปทาอนิ เมชั่นเป็นสื่อลงแท็บเล็ต


20

บทที่ 4 ผลที่ได้รับจากการฝึกงาน วัตถุประสงค์ของการปฎิบัติงานครั้งนี้ คือ การศึกษาเพื่อความคิดสร้างสรรค์ในการจัดทาสื่อการเรียน การสอนทุกวิชา ที่สามารถออกแบบเพื่อสื่อสารใช้เป็นงานต้นแบบเพื่อผลิตและนาเสนอให้แก่ลูกค้าได้นาไปผลิต ได้จริง โดยผู้ปฎิบัติงานได้วางแนวทางวิธีการทางานและสร้างผลงานออกแบบหลังได้รับ Brief จากฝ่ายผู้คุมการ ฝึกงาน ไว้เป็นลาดับขั้น ดังนี้ ก. ขั้นการวางแผนก่อนการผลิตผลงาน(Pre Production Stage) 1. ตั้งสมมติฐาน 2. ศึกษาข้อมูลความต้องการของผู้ผลิต และความต้องการในการออกแบบ(Creative Brief) กรุณาดูที่ ภาคผนวก 3. การศึกษาตัวอย่างจากกรณีศึกษา(Case Study) 4. ศึกษาข้อมูลผลิตภัณฑ์ ข. การกาหนดแบบร่างทางความคิดและการพัฒนาแบบตามวัตถุประสงค์และสมมุติฐาน 1. วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษา 2. กาหนดเสนอผลการศึกษาและแนวคิดในการออกแบบ 3. ออกแบบแบบร่างทางความคิด โดยออกแบบตามแนวคิด(Concept) 4. เขียนแบบออกมาในรูปแบบภาพแบบขาว-ดา พร้อมวิเคราะห์และแก้ไข 5. ถ่ายภาพเพื่อเตรียมสร้างภาพกราฟิกและสร้างภาพจาลองโครงสร้างหรือหาภาพในสต็อกภาพ 6. การปรับปรุงแก้ไขแบบจนได้รูปแบบที่ถูกต้องและเหมาะสม 7.internal ตรวจสอบงานจากฝ่าย AE ก่อนนาไปเสนอแบบขายลูกค้าครั้งแรก ค. ขั้นการพัฒนาและการผลิตผลงาน(Development and Production Stage) 1. การเขียนแบบกราฟิกแบบ 2 มิติ(Working Drawing) แก้ไขปรับปรุงตามความต้องการของลูกค้า จนถูกต้อง 2. การ onscreen รีทัชภาพจากทาง studio 3. การทาแบบจาลองเลเอาท์รายละเอียดประกอบแบบ ง. ขั้นตอนหลังการผลิตผลงาน(Post Production Stage) 1. เตรียมไฟล์แบบ high resolution และตรวจสอบจากลูกค้าอีกทีก่อนผลิตจริง 2. เตรียมไฟล์ Art Work พร้อมส่งให้ลูกค้า


21

ก. ขั้นการวางแผนก่อนการผลิตผลงาน การกาหนดประเด็นและการศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องจากการวิเคราะห์ที่มาของปั ญหาและ ตั้ง สมมติฐาน ผู้ปฎิบัติงานได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนาไปสู่การออกแบบเพื่อให้ตรงตามสมมติฐานและ วัตถุประสงค์ ซึ่งสามารถจาแนกได้ ดังนี้ 1. ตั้งสมมติฐาน เมื่อทราบที่มาของปัญหาและวิเคราะห์ข้อมูลแล้วจึงทาการตั้งสมมติฐาน เพื่อใช้ กาหนดขอบเขตแนวทางในการทางาน ดังนี้ แนวคิดในการพัฒนาการเขียนสตอรี่บอร์ด ดังนี้ 1. ใช้ลักษณะหนังสือเป็นแบบในการเขียนเรื่อง 2. การใช้ภาพประกอบโดยใช้ภาพประกอบของทางบริษัทจัดหามาให้ เพื่อให้มีเอกลักษณ์โดดเด่นและ เข้ากับเนื้อหางาน 3. ใช้สีเป็นสีหลัก เพื่อสื่อถึงอัตลักษณ์ของงานที่เข้ากับหลักการทางศิลปะในเรื่องการใช้สี ซึ่งเป็นการ ใช้สีแบบเอกรงค์ 2. การศึกษารวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ดูงานออกแบบกับสินค้าที่ใกล้เคียงและวิเคราะห์ผลการศึกษา การจัดวางองค์ประกอบ การใช้ภาพ ศึกษาเอกสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเขียนสตอรี่บอร์ด ทั้งในภาคเอกสาร และทางสื่อออนไลน์ต่างๆ 4. การศึกษาตัวอย่างจากกรณีศึกษา โดยมีกรณีศึกษา ภาพประกอบ ตัวอย่าง ดังนี้

แสดงภาพ Character


22

ข. การกาหนดแบบร่างทางความคิดและการพัฒนาแบบตามวัตถุประสงค์และสมมติฐาน 1. วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ วิเคราะห์ข้อมูลทั้ งหมดที่ได้จากการศึกษาเพื่อกาหนดขอบเขตในการทางาน ต่อไป 2. กาหนดเสนอผลการศึกษาและแนวคิดในการออกแบบ จากการเห็นกระบวนการผลิตจริงทาให้ เล็งเห็นว่าสตอรี่บอร์ดควรได้รับการออกแบบอย่างเหมาะสมเพื่อให้ผู้บริโภคจาได้และมีการเปลี่ยนแปลงที่ดี 3. ออกแบบแบบร่างทางความคิด โดยออกแบบตามแนวคิด (Concept) 4. เขียนแบบออกมาในรูปแบบภาพ พร้อมวิเคราะห์และแก้ไ ข ขั้นตอนนี้ผู้ปฎิบัติง านได้ทาการ ออกแบบออกมาร่างขาวดา 4 วิชา การปรับปรุงแก้ไขแบบจนได้รูปแบบที่ถูกต้องและเหมาะสม 5. การปรับปรุงแก้ไขแบบจนได้รูปแบบที่ถูกต้องและเหมาะสมที่จะใช้เป็นต้น แบบในการจริงและเตรียม ตรวจสอบงานจากฝ่าย ผู้ควบคุมการฝึกงาน


23

แสดงภาพStoryboardที่แก้ไขเรียบร้อย


24

6. ผู้คุมการฝึกงานตรวจสอบงาน ก่อนนาไปทาอนิเมชั่น


25

แสดงภาพ storyboard ก่อนนาไปทาอนิเมชั่น

ค. ขั้นการพัฒนาและการผลิตผลงาน(Development and Production Stage) 1. การเขียนstoryboard เป็นต้นแบบที่สามารถนาไปผลิตได้จริง ผู้วิจัยได้ทาการเขียนแบบที่มีคุณภาพงานเพื่อส่งโรงพิมพ์ได้เลย การทางานผู้วิจัยได้เลือกใช้โปรแกรม Illustrator cs 5 (for mac) Photoshop cs 5 (for mac)

ภาพที่ 16 แสดงภาพโปรแกรมที่ใช้ในการออกแบบ

ซึ่งการทางานในขั้นตอนนี้ผู้ปฏิบัติงานวัดขนาดมาจากต้นแบบที่ตัดทาโมเดลก่อน แล้วจึงนามาเขียน แบบได้อาร์ตเวิร์ค ซึ่งมีขั้นตอนกรเตรียมไฟล์อาร์ตเวิร์ค


26

บทที่ 5 สรุปผลการปฏิบัติงาน ในการศึกษาของนักศึกษาสาขาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภั ฏจั นทรเกษม นั้น นอกจากนั กศึ กษาจะได้ค วามรู้ ในหลั กสู ตรแล้ว การศึก ษาประสบการณ์วิ ชาชี พ ศิลปกรรมยังเป็นสิ่งที่สาคัญและจาเป็นที่นักศึกษาต้องทาการปฏิบัติก่อนการจบหลักสูตรการศึกษา เพื่อเป็น การเตรียมความพร้อมในพฤติกรรมทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของบุคลิกภาพ สติปัญญา เจตคติ การวางตัว ที่ถูกต้องเหมาะสม เพื่อพร้อมที่จะออกไปดาเนินชีวิตและประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ การฝึก ประสบการณ์วิชาชีพนั้นถือเป็นการฝึกทักษะการทางานและรู้จักการปรับตัวของการทางานร่วมกับผู้อื่น มี ประโยชน์อย่างยิ่งสาหรับแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตของนักศึกษา การฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาขาออกแบบนิเทศศิลป์ ณ บริษัทโฆษณา แมคแคน ในครั้ง นี้ ทาให้ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพได้เพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในวิชาชีพมากยิ่ง ขึ้น เข้าใจการทางานด้าน โฆษณา การมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อผู้อื่น การวางตัวในสังคมได้ อีกประการหนึ่งที่สาคัญที่สุดสาหรับนักศึกษาที่ ได้รับคือ การทางานของตนเองได้รับความไว้วางใจให้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยตนเองเปรียบเสมือนตนเองเป็นบุคลากร คนหนึ่งขององค์กร โดยมีการควบคุมดูแลแบบกันเองเสมือนญาติ ตั้งแต่วันแรกของการฝึกประสบการณ์จนถึง วันสุดท้ายของการฝึกประสบการณ์เป็นอย่างดี ทุกคนต่างมีไมตรีจิตที่ดีต่อนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อีก ทั้ ง ยั ง ให้ ค าแนะน าและช่ ว ยเหลื อ ในทุ ก ๆเรื่ อ ง ไม่ ว่ า จะเป็ น เรื่ อ งงานและเรื่ อ งส่ ว นตั ว แก่ นั ก ศึ ก ษาฝึ ก ประสบการณ์วิชาชีพเสมอมา ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้ารับการฝึกงาน 1.ได้เรียนรู้ถึงกระบวนการทางานต่างๆของการทางานหลังจากการที่ได้เข้ารับการฝึกงานในหน่วยงาน ที่ได้รับมอบหมายทาให้ได้ทราบถึงกระบวนการในการทางานของฝ่ายอื่นๆอีกด้วยและได้ทราบถึงบทบาทหน้าที่ และความสาคัญของการทางาน 2. มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการใช้โปรแกรมในการออกแบบ illustrator photoshop การขึ้น mock up 3. งานด้านการสื่อสารเช่น การรับการสื่อสารระหว่างนักออกแบบกับเจ้าของแบรนด์ขณะขายงานและ การติดต่อสื่อสาร ต่างๆ 4. ได้ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาหาข้อมูลผลงานออกแบบเพื่อเป็นตัวอย่างวิเคราะห์ พัฒนาแนวคิดการ ออกแบบ กระบวนการคิด


27

ด้านนักศึกษาผู้ปฏิบัติงาน 1. ได้รับความรู้ใหม่และประสบการณ์ในสภาวะการทางานจริง 2. ฝึกให้ผู้ปฏิบัติงานมีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 3. พัฒนาบุคลิกภาพช่วยสร้างความมั่นใจในการทางานการกล้าแสดงออกและการแสดงความคิดเห็น มากขึ้น 4. ได้เรียนรู้การทางานร่วมกับผู้อื่นและเพิ่มทักษะการเรียนรู้ระบบการทางานในองค์กร 5. สามารถนาประสบการณ์จากการฝึกงานไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้ 6. ฝึกฝนให้เป็นคนช่างสังเกตและรู้จักปรับปรุงการพัฒนาการทางานของตน 7. เพิ่มพูนทักษะการใช้โปรแกรมทางการออกแบบ 8. เรียนรู้โปรแกรมต่างๆที่องค์กรนามาใช้ในการทางาน 9. ฝึกฝนการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน 10. สร้างเสริมสร้างเสริมลักษณะนิสัยให้เป็นคนตรงต่อเวลามากยิ่งขึ้น 14. ทาให้มีความขยันหมั่นเพียรมากยิ่งขึ้นการมีบุคลิกภาพที่ดีและการวางตัวที่เหมาะสม 11. มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีมากขึ่น 12. ฝึกฝนให้เป็นคนที่มีความรับผิดชอบต่อภาระหน้าที่ ด้านสถานประกอบการ 1. เปิดโอกาสให้องค์กรได้รับนักศึกษาฝึกงานที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสิ่งใหม่เข้ามาทางาน 2. องค์กรได้รับการยอมรับจากมหาวิทยาลัยต่างๆในการคัดเลือกบุคคลเข้ารับการฝึกงาน 3. ช่วยลดค่าใช้จ่ายในส่วนของการจ้างงานประจามากขึ้นเนื่องจากการดาเนินงานของนักศึกษาฝึกงาน มาช่วยทางานในส่วนที่สามารถช่วยทาได้ 4. องค์กรมีทางเลือกในการคัดสรรพนักงานที่เหมาะสมกับองค์กรจากโครงสร้างนักศึกษา 5. องค์กรได้รับทราบเกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษาของแต่ละมหาวิทยาลัยโดยดูจากนักศึกษาของแต่ละ มหาวิทยาลัย

ด้านมหาวิทยาลัย 1. เกิดความร่วมมือกันทางวิชาการและความสัมพันธ์ที่ดีกับสถานประกอบการ 2. มหาวิทยาลัยได้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรในการเรียนการสอนต่อไป 3. จากการส่งตัวเข้ารับการฝึกงานไปยังบริษัทต่างๆช่วยให้มหาวิทยาลัยได้รับการยอมรับจาก ตลาดแรงงานมากขึ้น


28

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม เนื่องจากผู้ฝึกงานยังเป็นมือใหม่สาหรับงานออกแบบด้านกราฟิกเพราะฉะนั้นควรฝึกฝนฝีมือด้วยการดู งานออกแบบจากของทั้งในและต่างประเทศเทศเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบเพราะงานออกแบบยังดูไ ม่ ทันสมัย และฝึกการใช้โปรแกรมทางด้านกราฟิกให้มีความชานาญยิ่งขึ้นเพื่อให้รวดเร็วในการทางาน การตอบรับจากที่ฝึกงาน จากการที่เข้าไปฝึกประสบการณ์ วิชาชีพศิลปกรรม ณ บริษัทแม็คเอ็ดดูเคชั่นจากัด ได้รับการตอบรับ เป็นอย่างดี มีการให้ความช่วยเหลือในทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นการให้คาแนะนาในการใช้งานโปรแกรม เทคนิค ทางด้านโปรแกรม การให้ความรู้ทั้งในและนอกสถานที่โดยได้ไปศึกษางานในด้านการถ่านทาในสตูดิโอ การ ทางานตั้งแต่ขั้นเริ่มต้นและนาเสนองานกับพี่เลี้ยงเพื่อฝึกทักษะการนาเสนอ ให้เราทางานจริง เสมือนนักศึ กษา คือพนักงานคนหนึ่งขององค์กร ความรู้สึกที่มีต่อที่ฝึกงาน การฝึกประสบการณ์วิชาชีพศิลปกรรม ณ บริษัทแม็คเอ็ดดูเคชั่นจากัด นักศึกษามีความประทับใจและ ดีใจเป็นอย่างยิ่งที่ได้เข้ารับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทีอ่ งค์กร ที่นี่พนักงานทุกคนจะอยู่กันแบบพี่น้อง คอยให้ คาปรึกษาและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การทางานจะทางานเป็นทีม ทาให้นักศึกษาได้เรียนรู้การทางานร่วมกับ บุคคลอื่นได้เป็นอย่างดี และการทางานที่นี้นักศึกษารู้สึกว่าได้ความรู้ต่างๆ มากมาย นอกเหนือจากการศึกษาใน ชั้นเรียน คือ เกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง การทางานร่วมกับผู้อื่น ความรับผิดชอบ และมีความมั่นใจใน ตนเองมากขึ้น ซึ่ งเป็ นคุ ณสมบั ติที่ พึง ประสงค์ข องสถานประกอบการ ที่ สาคัญ นอกเหนือ สิ่ง ใด คื อ งานที่ นักศึกษาออกแบบสามารถนามาใช้ได้จริง ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีต่อการทางานจริงต่อไป


29

บรรณานุกรม


30

ภาคผนวก หมวด ก. เอกสาร


31

ภาคผนวก หมวด ข. รูปภาพ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.