Contesting development and modernity in Laos by Chairat Polmuk

Page 1



๗ นิทานเกาในโลกใหม: วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม ชัยรัตน พลมุข

วันที่ 12 ธันวาคม 1942 เวลา 10 โมงเชา คณะกรรมการอักษรศาสตร ลาว ไดประชุมกันทีส่ าํ นักงานกองโฆษณาการ โดยทานหัวหนากองโฆษณาการ เปนประธาน เพือ่ ตัดสินการประกวดนิทานกอมลาว ซึง่ ไดประกาศในลาวใหญ เลขที่ 23 วันที่ 15 มกราคม 1942 นั้น ผูที่มาประชุมคือ พระยาคํามาว ทานงิน ทาวเพ็ง ทาวเกรื่อง คําสี หุมแพง มหาภูมี และมหาบุญเรือง นิทานกอมที่ไดสงมาประกวดนี้มี 45 เรื่อง สมาชิกคณะกรรมการ บางทานไดตรวจใหคะแนนไวกอนแลว คณะประชุมไดตรวจซํ้าอีกครั้งหนึ่ง การตัดสินไดกระทําอยางระมัดระวังใหเปนทีเ่ รียบรอยทีส่ ดุ นิทานกอม ที่ดีเดนกวาเรื่องอื่นนั้น สมาชิกไดผลัดเปลี่ยนกันอานใหคณะกรรมการฟง ผูประกวดไดดีตามลําดับมี 13 คน ดังมีรายนามตอไปนี้: ทองเพ็ชร, แสงแกว, ทาวหนูทัก, ค.ป. พันดานุวงส, ทาวหอม, ทาวเกน, ทาวอินตอง, ทาวอังริสุชัง, ทิดพุ, L.D.N.R., ทาวบุญมี, ทาววันทอง, ทาวสําฤทธิ์ ไดตกลงใหรางวัลที่หนึ่งเปนเงิน 25 กีบ แกทองเพ็ชร นักศึกษา แพทยศาสตรที่ไซงอน ใหรางวัลที่สองเปนเงิน 15 กีบ แกแสงแกว นักเรียน 209


นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม

โรงเรียนมัธยมปาวีที่เวียงจันทน และรางวัลที่สามจํานวนเงินคนละ 10 กีบ แกทา วหนูทกั พนักงานปาไมทพี่ นมเปญ (ประเทศเขมร) และ ค.ป. พันดานุวงส นักเรียนโรงเรียนมัธยมปาวีทเี่ วียงจันทน โดยเห็นวาผูป ระกวดทัง้ สองไดคะแนน เสมอกัน สวนผูประกวดอีกเกาคนที่มีรายนามอยูดานบนนี้จะไดรับบทละคร เรื่อง “บายศ” ซึ่งจะพิมพออกมาเร็วๆ นี้คนละเลม และจะไดรับจดหมายเหตุ ลาวใหญมีกําหนดหนึ่งป รางวัลพิเศษราคา 15 กีบจะมอบใหแกทาวเกสาที่อยูหลวงพระบาง ซึ่ ง ได แ ต ง นิ ท านก อ มโบราณลาวรวมเป น เล ม (ซึ่ ง ไม ถู ก ต อ งตามกติ ก า การประกวดของเรา) แตเห็นวามีความอุตสาหพยายามจึงสมควรไดรับ บําเหน็จ นิทานกอมเรื่องที่ดีเดนนั้น จะไดนําลงตีพิมพในลาวใหญตอไป

ขอความขางตนปรากฏอยูในหนังสือพิมพลาวใหญ ฉบับวันที่ 15 ธันวาคม 1942 แมเหตุการณดังกลาวนี้จะเปนเพียงสวนเสี้ยวหนึ่งของประวัติศาสตร ทีถ่ กู หลงลืมไปจากหนาประวัตวิ รรณกรรมลาวสมัยใหม แตกฉ็ ายใหเห็นบรรยากาศ ทางวรรณกรรมที่สัมพันธอยางแนบแนนกับความเคลื่อนไหวทางภูมิปญญาและ วัฒนธรรมในสมัยอาณานิคมฝรัง่ เศสและชวงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ภาพการประชุม เพือ่ ตัดสินรางวัลทางวรรณกรรมทีค่ กึ คักและเปนทางการนี้ แสดงใหเห็นจุดเริม่ ตน ของวรรณกรรมลาวสมัยใหม (ในที่นี้คือ “นิทานกอม” หรือเรื่องสั้น) ซึ่งเกิดขึ้น พรอมกับสถาบันทางการเมืองและวัฒนธรรมแบบสมัยใหมที่กอตั้งขึ้นในระบอบ อาณานิคม นักเขียนลาวที่สงผลงานเขาประกวดคือปญญาชนลาวรุนใหมที่ศึกษา เลาเรียนในสถาบันการศึกษาของฝรั่งเศส หรือทํางานใหแกหนวยงานของระบอบ อาณานิคมที่กระจายอยูทั่วศูนยกลางการปกครองของฝรั่งเศสในอินโดจีนคือ เวียงจันทน พนมเปญ และไซงอน หลักสูตรการศึกษาแบบตะวันตกนาจะมี สวนสําคัญที่ทําใหปญญาชนเหลานี้รูจักงานเขียนแบบสมัยใหมและสามารถ สรางงานเขียนของตนที่ตางไปจากขนบเดิมได ขณะเดียวกัน เทคโนโลยีการพิมพ 210


ชัยรัตน พลมุข

และสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ แ บบใหม คื อ หนั ง สื อ พิ ม พ ล าวใหญ (หรื อ ในข อ ความใช ว  า “จดหมายเหตุลาวใหญ”) ซึ่งเปนหนังสือพิมพภาษาลาวฉบับแรก ก็เปนชองทาง ทีท่ าํ ใหเกิดการเผยแพรและการเสพวรรณกรรมสมัยใหมในวงกวาง จากการศึกษา ของแกรนท อีวานส (Grant Evans) ระบุวาหนังสือพิมพรายปกษฉบับนี้แจกจาย ไปทั่วประเทศนับพันฉบับระหวางป 1941 ถึง 1945 (Evans, 2002: 78-79) ทั้งนี้เปนที่นาสังเกตวา งานเขียนแบบสมัยใหมในยุคแรกเริ่มนี้ยังแสดงใหเห็น รอยตออันสําคัญของการเปลีย่ นผาน ดังเห็นไดจากการเรียกงานเขียนแบบเรือ่ งสัน้ ว า “นิ ท านก อ ม” ซึ่ ง หมายถึ ง นิ ท านขนาดสั้ น อั น เป น เรื่ อ งเล า ในวั ฒ นธรรม มุขปาฐะของลาวที่มีมากอน การผสมผสานและความคลุมเครือของประเภท วรรณกรรมนี้ยังเห็นไดจากการที่นักเขียนบางคนสงงานเขียนแบบ “นิทานกอม โบราณ” เขาประกวดดวย บทความนีม้ งุ อภิปรายกําเนิดวรรณกรรมลาวสมัยใหมซงึ่ เริม่ กอตัวขึน้ ในชวง ทศวรรษ 1940 และความสัมพันธระหวางวรรณกรรมกับขบวนการเคลื่อนไหว ทางภูมิปญญาในชวงเวลาดังกลาว หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ บทความนี้จะได อธิบายขยายความประเด็นสําคัญในขอความที่ยกมาในตอนตนของบทความนี้ ไดแก 1) ความเคลื่อนไหวทางภูมิปญญาและวัฒนธรรมสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับการสรางงานวรรณกรรม 2) กําเนิดเรื่องสั้นและนวนิยายกับรอยตอทาง ขนบวรรณกรรมลาว และ 3) เนื้อหาของวรรณกรรมสมัยใหมกับภาวะสมัยใหม ในประเทศลาวสมัยอาณานิคม การวิเคราะหตัวบทวรรณกรรมนี้ผูเขียนมุงแสดง ใหเห็นการปะทะสังสรรคระหวางภาวะสมัยใหมกับอารมณโหยหาอดีตที่ปรากฏ ในตัวบทอันสัมพันธกับความเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมในชวงเวลาดังกลาว

211


นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม

การเดินทางจาก “ห องเรียน” สู “ห องทํางาน” ของป ญญาชนลาวในระบอบอาณานิคม ในอัตชีวประวัตเิ รือ่ ง Souvenirs d’un ancien écolier de Paksé (ความ ทรงจําของศิษยเกาจากปากเซ) ของกระตาย โดนสะโสฤทธิ์ ผูเปนปญญาชนลาว คนสําคัญคนหนึ่ง ผูเขียนบรรยายถึงเหตุการณเมื่อครั้งเริ่มเขาศึกษาในโรงเรียน ฝรั่งเศสซึ่งตั้งขึ้นเปนครั้งแรกที่ปากเซเมื่อป 1909 ไวอยางมีชีวิตชีวา กระตาย เลาวาเขาเริ่มเขาเรียนเมื่ออายุเพียง 5 ขวบ เพราะครอบครัวตองการลดภาระ เลีย้ งดูในชวงเวลากลางวัน ชาวบานในละแวกเดียวกันก็สง ลูกไปโรงเรียนดวยเหตุผล ทํานองนี้ ทีโ่ รงเรียนมีครูชาวฝรัง่ เศสทีน่ อกจากจะสอนภาษาฝรัง่ เศสแลวยังปลูกฝง แนวคิดปรัชญาตะวันตกตางๆ ใหแกนกั เรียนชาวลาวดวย กระตายเลาวาตนไดเขียน เรียงความสําหรับสอบเลื่อนชั้นเกี่ยวกับความรักชาติ (patriotism) ซึ่งไดเรียนรู จากครูชาวฝรั่งเศสและทหารฝรั่งเศสในลาวที่อาสาออกรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 อยางหาวหาญ นอกจากนี้ยังกลาวถึงนักเขียนและนักปรัชญาชาวฝรั่งเศสอยาง วอลแตร (Voltaire) และบัวโล (Boileau) ซึง่ นาจะอยูใ นหลักสูตรการเรียนการสอน สมัยนั้นดวย กระตายกลาววาชวงเวลาในโรงเรียนที่ปากเซนี้เองเปนชวงเวลา แหงการเติบโตทางความคิดอันเปนรากฐานแหงชีวติ ของเขา (Don Sasorith, 1985: 39-40)1 เรื่องราวชีวิตของกระตายแสดงใหเห็นถึงการศึกษาทางโลก (secular education) แบบตะวันตกที่เริ่มเขามามีบทบาทในสังคมลาวในชวงอาณานิคม ฝรัง่ เศส กระตายเริม่ ตนการศึกษาแบบทางตะวันตกโดยไมผา นการเรียนทีว่ ดั แบบ ปญญาชนลาวรุน กอน ตัวอยางเชนเจาเพ็ชราชทีก่ ลาวไวในหนังสือแนวอัตชีวประวัติ ของพระองควาไดศึกษาภาษาบาลีกอนที่จะเริ่มเรียนในหลักสูตรแบบตะวันตก (3349 [นามแฝง] 1978) กรณีของกระตายจึงแสดงใหเห็นวาโรงเรียนแบบ 1

ผูเขียนไดศึกษาอัตชีวประวัติของกระตาย โดนสะโสฤทธิ์ สมจิน งิน และเจาเพ็ชราชในดานการ เสนอแนวคิดเกีย่ วกับระบอบอาณานิคมและชาตินยิ ม ดูเพิม่ เติมใน Chairat Polmuk (2014: 1-40). 212


ชัยรัตน พลมุข

อาณานิ ค มเริ่ ม เข า มาแทนที่ ก ารศึ ก ษาที่ วั ด และเริ่ ม เข า ถึ ง ชี วิ ต ของคนสามั ญ ในสมัยนั้นมากขึ้น อยางไรก็ตาม วิทยานิพนธของมารเจอรี เอ็มลิง (Marjorie Emling) เกี่ยวกับระบบการศึกษาลาวชวงอาณานิคมกลาววาการศึกษาแบบ ตะวั น ตกในลาวเป น ไปอย า งเชื่ อ งช า มาก โรงเรี ย นแบบตะวั น ตกมี น  อ ยแห ง และบุคลากรไมเพียงพอ สถาบันการศึกษาขัน้ สูงคือระดับมัธยมเปนตนไปจนถึงขัน้ อุดมศึกษานั้นไมมีเลยจนกระทั่งป 1933 จึงมีการตั้งโรงเรียนมัธยมปาวี (Collège Pavie) ขึ้นที่เวียงจันทน ดวยเหตุนี้นักเรียนลาวที่ตองการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น จึงตองเดินทางไปศึกษาที่เวียดนาม ระหวางป 1921 จนถึงป 1944 มีนักเรียนลาว ประมาณ 3,000 คนที่เดินทางไปศึกษาวิชาแพทย สัตวแพทย กฎหมาย และ การเกษตรที่มหาวิทยาลัยฮานอย (Emling, 1969: 12) ทั้งนี้เนื่องจากเวียดนาม เปนศูนยกลางของอาณานิคมอินโดจีนของฝรั่งเศสและไดรับการพัฒนาทาง การศึกษารวมถึงดานอื่นๆ มากกวาลาวและกัมพูชา (Goscha, 2012) ปญญาชน ลาวเชน กระตายก็สําเร็จการศึกษาขั้นสูงจากฮานอยเชนกัน สําหรับนักเรียนลาว ที่ทางการเห็นวามีศักยภาพจะถูกสงไปเรียนที่ประเทศฝรั่งเศสรวมกับนักเรียน จากดินแดนใตอาณานิคมฝรั่งเศสอื่นๆ อยางเชนเจาเพ็ชราชและสมจิน งิน ที่เมื่อ สําเร็จการศึกษาจาก Lycée Chasseloup-Laubat ที่ไซงอนแลวก็เดินทาง ไปศึกษาที่ École Coloniale ณ กรุงปารีส จุดประสงคสําคัญของการสนับสนุน นักเรียนเหลานี้ก็เพื่อผลิตกําลังคนสําหรับกิจการของระบอบอาณานิคมฝรั่งเศส แมวาการศึกษาแบบตะวันตกในลาวจะดําเนินการไปอยางเชื่องชาและ ขาดการสนับสนุนอยางจริงจังจากฝรั่งเศสเมื่อเทียบกับกัมพูชาและเวียดนาม แตก็เปนปจจัยที่มีผลตอการกําเนิดวรรณกรรมลาวสมัยใหมที่คอยๆ กอตัวขึ้น ในชวงตนทศวรรษที่ 1940 การศึกษาทางโลกสรางปญญาชนกลุม ใหมอยางกระตาย เจาเพ็ชราช และสมจินที่คุนเคยกับปรัชญาความคิดและขนบการแตงวรรณกรรม สมัยใหมตามแบบตะวันตก และตอมาไดมีสวนสําคัญในขบวนการเคลื่อนไหว ทางวัฒนธรรมและวรรณกรรมของลาว ตัวอยางทีเ่ ห็นไดชดั คือสมจินซึง่ ไดกลาวไว ในอัตชีวประวัติเรื่อง อดีตานุสรณ วาตนเริ่มฝกแตงกวีนิพนธและตั้งใจที่จะเปน 213


นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม

นักเขียนขณะที่เรียนอยูที่ประเทศฝรั่งเศส (สมจิน งิน, 1971: 19) ตอมาภายหลัง สมจิ น ได เ ข า ร ว มขบวนการลาวใหญ โ ดยเป น กรรมการแผนกอั ก ษรศาสตร เปนบรรณาธิการหนังสือพิมพลาวใหญ รวมทั้งเขียนเรื่องสั้นและนวนิยายลาว ในยุคบุกเบิกนี้ดวย กลาวไดวาระบบโรงเรียนเปนกลไกผลิตชนชั้น “อานออก เขียนได” ที่สามารถสรางสรรคงานวรรณกรรมแบบสมัยใหม ดังจะเห็นไดจาก ประกาศผลการประกวดนิทานกอมในตอนนัน้ ทีร่ ะบุวา มีนกั เรียนจากโรงเรียนมัธยม ปาวีสงผลงานเขาประกวดดวย ทาวทองเพ็ชรผูไดรับรางวัลชนะเลิศการประกวด ดังกลาวก็เปนนักเรียนแพทยที่ไซงอน นอกจากนี้ยังมีทาวเกนซึ่งเปนครูอยูที่ เวียงจันทนชนะการประกวดแปลวรรณกรรมฝรั่งเศสเปนภาษาลาว โดยทาวเกน ไดแปลนวนิยายแนววิถีชนบท (rustic novel) เรื่อง La mare au diable (บึงปศาจ) ของจอรจ ซังด (George Sand) ซึ่งรื้อฟนขนบทองทุง (pastoral tradition) ที่ใหภาพอุดมคติของชนบทอันเรียบงายและเปยมดวยคุณธรรม (Godwin-Jones, 1995: 190) การแปลนวนิยายเรื่องดังกลาวแสดงใหเห็นวา ในโรงเรี ย นน า จะมี ก ารเรี ย นการสอนวรรณกรรมฝรั่ ง เศสที่ เ ป ด โอกาสให ค รู และนักเรียนไดรูจักงานเขียนที่แตกตางไปจากวรรณกรรมลาวในขนบเดิมแลว ทาวเกนนี้ตอมาจะมีบทบาทดานวรรณกรรมจนถึงชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยทํางานอยูในกองวรรณคดีของฝายรัฐบาลราชอาณาจักรลาว และสอนหนังสือ อยูท วี่ ทิ ยาลัยปาวีดว ย ทาวเกนเขียนตําราสําหรับใชในการเรียนการสอนทีว่ ทิ ยาลัย ปาวีและยังเปนผูรวบรวมรายชื่อตนฉบับตัวเขียนวรรณคดีลาวที่เก็บรักษาอยูใน หอสมุดแหงชาติลาวอีกดวย (Kene, 1958) การศึกษาในโรงเรียนแบบตะวันตกสรางกลุม ผูอ า นวรรณกรรมในวัฒนธรรม ลายลักษณทแี่ ตกตางกับการเสพวรรณกรรมในวัฒนธรรมมุขปาฐะ แมวา การศึกษา แวดวงนักอานในสมัยดังกลาวจะยังขาดหลักฐานที่แนชัด แตจํานวนผูที่เขาศึกษา ในโรงเรียนนาจะชวยบงชี้วามีผูที่สามารถอานงานวรรณกรรมแบบสมัยใหม ในชวงเวลานั้นไดพอสมควร การศึกษาของเอ็มลิงระบุวาในชวงทศวรรษที่ 1930 มีนักเรียนลาวประมาณ 49,800 คนที่เรียนอยูระดับประถมศึกษาในโรงเรียน 214


ชัยรัตน พลมุข

ฝรัง่ เศส ในป 1940, 1942, 1943 และ 1944 มีนกั เรียนระดับประถมศึกษาจํานวน 7,062, 7,901, 9,508 และ 11,401 คนตามลําดับ (Emling, 1969: 78) ในชวง เวลาเดียวกันนี้หนังสือพิมพลาวใหญ ไดเริ่มตีพิมพเผยแพรขาวสารทั้งในและ นอกประเทศ ขอเขียนทางวรรณกรรม ตลอดจนตีพิมพเรื่องสั้นและนวนิยาย ลงในหนังสือพิมพดวย เมื่อพิจารณาจากจํานวนประชากรที่อานออกเขียนได กับการแพรขยายของสื่อสิ่งพิมพในชวงเวลาดังกลาว ก็สามารถอนุมานไดวา ในชวงเวลาดังกลาวไดเกิดแวดวงการอาน (reading public) ขึ้นในสังคมลาว ซึ่งรองรับวรรณกรรมสมัยใหมที่กอตัวขึ้นในชวงเวลาเดียวกัน ปลายทางของการศึกษาในระบอบอาณานิคมก็คอื การเขาทํางานในหนวยงาน ราชการของฝรัง่ เศส ทัง้ เจาเพ็ชราช กระตาย และสมจินตางก็ปฏิบตั งิ านในหนวยงาน ราชการของฝรั่งเศสทั้งสิ้น กลาวไดวาปญญาชนลาวรุนบุกเบิกเหลานี้ไดทําหนาที่ เปนผูเชื่อมโยงโลกแบบตะวันตกกับสังคมทองถิ่นลาวเขาดวยกัน เนื่องจาก ปญญาชนเหลานีม้ คี วามรูท งั้ ภาษาลาวและภาษาฝรัง่ เศส อีกทัง้ ยังรูข นบธรรมเนียม ของสั ง คมทั้ ง สองแบบด ว ย ในช ว งทศวรรษที่ 1930 ป ญ ญาชนลาวเหล า นี้ ไดเขาไปมีบทบาทในขบวนการเคลือ่ นไหวทางวัฒนธรรมตามนโยบายของฝรัง่ เศส ขบวนการดังกลาวนี้ใชโวหารสําคัญคือการฟนฟูวัฒนธรรมลาวเพื่อสรางความ ชอบธรรมใหแกเจาอาณานิคม โดยมีวรรณกรรมเปนเครื่องมือสําคัญในการเชิดชู ความเปนลาว ชวงเวลาดังกลาวจึงเปนชวงที่วรรณกรรมลาวไดเขาไปอยูใน จุดศูนยกลางของนโยบายของอาณานิคมฝรั่งเศส และความเคลื่อนไหวทาง ภูมิปญญาของยุคสมัย

215


นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม

“อักษรศาสตร ลาว” ในขบวนการเคลื่อนไหว ทางวัฒนธรรมยุคอาณานิคม สํานักฝรั่งเศสแหงปลายบูรพทิศ (École française d’Extrême-Orient) ซึ่งกอตั้งขึ้นในป 1898 มีบทบาทสําคัญในการลงทุนทางวัฒนธรรมและสราง องคความรูเกี่ยวกับดินแดนตะวันออกใตการปกครองของฝรั่งเศส ในป 1910 หนวยงานดังกลาวไดรเิ ริม่ เก็บรวบรวมคัมภีรใ บลานลาวจากวัดตางๆ หลุยส ฟโนต (Louis Finot) ซึ่งดํารงตําแหนงผูอํานวยการคนแรกของสํานักฝรั่งเศสแหงปลาย บูรพทิศไดเรียบเรียงบทความชื่อ “Recherches sur la littérature laotienne” (การคนควาเรื่องวรรณคดีลาว) และตีพิมพลงในวารสารของสํานักงานในป 1917 โดยประมวลขอมูลมาจากโครงการรวบรวมคัมภีรใ บลานทีฟ่ โ นตเปนผูค วบคุมดูแล ในบทความขนาดยาวรอยกวาหนานี้ ฟโนตไดจัดแบงวรรณคดีลาวออกเปน ประเภทตางๆ ไดแก คัมภีรทางพุทธศาสนา เรื่องอิงพุทธศาสนา เชน ตํานาน พระธาตุและชาดก นิทานพื้นบาน ตํารากฎหมายและโหราศาสตร และงานเขียน ทางประวัตศิ าสตรเชน ตํานานพงศาวดาร สวนทายของบทความเปนรายชือ่ คัมภีร ใบลานลาวที่ฟโนตเก็บรวบรวมไว ผลงานของฟโนตชี้ใหเห็นวาวรรณกรรม เปนสวนสําคัญของการสรางองคความรูเกี่ยวกับลาว หรือกลาวไดวาการแสวงหา ความรูทางวรรณกรรมเปนวิธีการหนึ่งที่ฝรั่งเศสใชสรางความชอบธรรมในการ ปกครอง โดยอางวาฝรั่งเศสมีความรูความเขาใจวัฒนธรรมลาวเปนอยางดีและจะ ชวยฟนฟูมรดกทางวัฒนธรรมใหแกลาว (บัวไข เพ็งพระจันทร, 2551: 55-81)2 2

บัวไข เพ็งพระจันทร ไดเสนอในบทความวา การอางความชอบธรรมของฝรั่งเศสนี้ถูกทาทาย จากเรือ่ งเลาของลาวทีแ่ สดงใหเห็นความไมพอใจตอโครงการรวบรวมคัมภีรใ บลานลาว ตัวอยางเชน เรื่องเลาเกี่ยวกับสมเด็จลุน เจาอาวาสวัดคอน เมืองจําปาศักดิ์ที่ไมยินยอมใหฝรั่งเศสมาเก็บสวย คัมภีรใบลาน (กําหนดใหหมูบาน หรือวัดแตละแหงสงคัมภีรใบลานใหฝรั่งเศสอยางนอย 1 เรื่อง) โดยแสดงอิทธิปาฏิหาริยจนเปนที่กลาวขานมาถึงปจจุบัน 216


ชัยรัตน พลมุข

นอกจากการฟนฟูใบลานในชวงทศวรรษที่ 1910 แลว อาณานิคมฝรั่งเศส ดูจะไมสนใจลงทุนลงแรงในดานการสงเสริมวัฒนธรรมลาวเมื่อเทียบกับกัมพูชา และเวียดนาม จนกระทั่งในชวงทศวรรษที่ 1930 จึงมีการริเริ่มโครงการที่สําคัญ พร อ มๆ กั บ การก อ ตั้ ง สถาบั น ทางวั ฒ นธรรมเพื่ อ รั บ ผิ ด ชอบโครงการเหล า นี้ ในป 1931 มีการกอตั้งพุทธบัณฑิตสภา (Institut bouddhique) ขึ้นในลาว หลังจากที่มีการกอตั้งสถาบันดังกลาวในกัมพูชากอนหนาเพียงปเดียว เพนนี เอ็ดวารดส (Penny Edwards) เสนอวาการกอตั้งสถาบันดังกลาวแสดงใหเห็น ความพยายามของฝรั่งเศสที่จะปดกั้นอิทธิพลพุทธศาสนาจากสยามซึ่งขณะนั้น เปนศูนยกลางปริยัติศึกษาของภูมิภาคนี้ (Edwards, 2007: 203-208) การกอตั้ง พุทธบัณฑิตสภาในลาวเกิดขึน้ พรอมกับโครงการบูรณะวัดวาอาราม สํานักฝรัง่ เศส แหงปลายบูรพทิศไดสง เลออง ฟอมแบรโต (Léon Fombertaux) ซึง่ เคยรวมบูรณะ นครวัดในกัมพูชามาเปนหัวหนาโครงการปฏิสงั ขรณวดั ลาวโดยเริม่ จากพระธาตุหลวง เปนแหงแรก จากนั้นในป 1937 จึงเริ่มปฏิสังขรณวัดหอพระแกว เจาเพ็ชราช ซึ่ ง เป น ผู  อํ า นวยการพุ ท ธบั ณ ฑิ ต สภาในขณะนั้ น มี บ ทบาทสํ า คั ญ อย า งมาก ในโครงการฟนฟูวัดวาอารามเหลานี้ รวมทั้งเจาสุวรรณภูมาพระอนุชาซึ่งสําเร็จ การศึกษาดานสถาปตยกรรมและวิศวกรรมจากประเทศฝรั่งเศส ขณะเดียวกัน มหาสิลา วีระวงสก็มีบทบาทสําคัญในดานการฟนฟูคัมภีรใบลานและการศึกษา ปริยัติธรรมที่โรงเรียนบาลี (École de Pali) ซึ่งกอตั้งหลังพุทธบัณฑิตสภา ไมนานนัก ความสนใจดานวรรณคดีของมหาสิลา วีระวงส ทําใหเกิดการคนควา และเรียบเรียงตําราวรรณคดี โดยเฉพาะการแตงตําราฉันทลักษณซึ่งถือเปน ความพยายามที่จะจัดระบบระเบียบประพันธศาสตรลาวใหเปนแบบแผน หรือ กลาวไดวาเปนจุดเริ่มตนของ “วรรณคดีศึกษา” ตามความหมายแบบสมัยใหม กลาวคือ เปนการศึกษาเชิงวิชาการแทนที่การเรียนเพื่อแตงคําประพันธดังเชน ในสมัยกอน (Koret, 1999) ในชวงตนทศวรรษที่ 1940 นโยบายทางวัฒนธรรมของฝรั่งเศสในลาว ทวีความสําคัญยิ่งขึ้นเนื่องจากกรณีพิพาทระหวางไทยกับฝรั่งเศส อันเปนผล 217


นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม

ใหฝรั่งเศสตอง “คืน” ดินแดนบางสวนในกัมพูชาและลาวใหแกไทย ฝรั่งเศส ไดตั้งขบวนการลาวใหญขึ้นเพื่อรับมือกับขบวนชาตินิยมไทยที่ไมเพียงแตเนน การแผขยายอาณาเขต แตยงั เนนการขยายพรมแดนทางวัฒนธรรมดวย โดยเฉพาะ การเผยแพรแนวคิดเรือ่ งชาติพนั ธุใ นงานของหลวงวิจติ รวาทการทีม่ งุ จะหลอมรวม ชาติพันธุอื่นๆ เขากับชาติพันธุไทยผานวรรณกรรมและบทวิทยุ3 กระบอกเสียง ของขบวนการลาวใหญคือหนังสือพิมพลาวใหญ ซึ่งทําหนาที่กระตุนแนวคิด ชาตินยิ มลาว ในชวงเวลาดังกลาวนี้ การฟน ฟูวฒ ั นธรรมในทศวรรษกอนหนาไดถกู นํามาใชเปนเครื่องมือทางการเมืองผานการสรางเรื่องเลา (narrativization) ตามความหมายที่เฮเดน ไวท (Hayden White) นิยามไวคือการนําเหตุการณ ในอดี ต อั น สั บ สนอลหม า นมาเรี ย บเรี ย งให เ ชื่ อ มโยงกั น เพื่ อ สร า งความหมาย ใหแกเรื่องราวทางประวัติศาสตร (White, 1981: 793-798) กลาวไดวาบทความ ภาพลอ และวรรณกรรมที่ตีพิมพในหนังสือพิมพลาวใหญ ตั้งแตป 1941 จนถึง ป 1945 ทําหนาที่สรางเรื่องเลาอันประกอบไปดวยตัวละครสําคัญคือ ตัวละคร ผูรายคือไทยที่รุกรานทําลายอารยธรรมลาว ตัวละครลาวผูตกเปนเหยื่อ และ ตัวละครฝรั่งเศสผูชวยฟนฟูวัฒนธรรมลาว ดวยเหตุนี้ โวหารแหงการฟนฟู จึงเปนแนวทางที่ฝรั่งเศสใชเพื่อธํารงอํานาจของตนในลาวทามกลางความผันผวน ทางการเมืองชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งญี่ปุนไดเขามาแทรกแซงในดินแดน เอเชียตะวันออกเฉียงใตและทําใหชนพื้นเมืองเริ่มลุกขึ้นตอตานการปกครอง ของฝรั่งเศส ขณะเดียวกันโวหารดังกลาวก็มีบทบาทสําคัญตอพัฒนาการขั้นแรก ของแนวคิดชาตินิยมลาวและการสรางอัตลักษณความเปนลาว การฟนฟูวัฒนธรรมทางวรรณศิลปเปนสวนสําคัญของขบวนการลาวใหญ แผนกอักษรศาสตร (Comité littéraire) ตั้งขึ้นพรอมกับการกอตั้งขบวนการ ลาวใหญ คณะกรรมการแผนกอักษรศาสตรประกอบไปดวยชาวฝรั่งเศสและ ปญญาชนลาว เชน ชารลส โรเชต (Charles Rochet) และบล็องชารด เดอ ลา โบรส 3

ดูตัวอยางการวิเคราะหแนวคิดชาตินิยมในวรรณกรรมของหลวงวิจิตรวาทการไดใน Pisanu Sunthraraks (1986), Jiraporn Witayasakpan (1992) และนัทธนัย ประสานนาม (2555: 27-45). 218


ชัยรัตน พลมุข

(Blanchard de la Brosse) สมจิน งิน และหยุย อภัย หนาที่สําคัญของแผนก ดังกลาวคือการฟนฟูวรรณคดีลาว โดยการตีพิมพบทกวีโบราณและสมัยใหม ของลาว รวมทั้งการจัดประกวดวรรณกรรมดวย คอลัมน “อักษรศาสตร” ถือเปน งานเขียนหลักของหนังสือพิมพลาวใหญ

ภาพที่ 1 คอลัมน “อักษรศาสตร” ของหนังสือพิมพลาวใหญตีพิมพบทกวีโบราณ และสมัยใหมในภาพเปนบทตัดตอนจากวรรณคดีลาวเรื่อง “สินไชย” และบทกวีเรื่อง “ตะวันออก” ของนักเขียนลาวที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้น คือ ทาวหนูทัก ที่มา : หนังสือพิมพลาวใหญ ฉบับวันที่ 15 กรกฎาคม 1943 219


นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม

มีขอนาสังเกตวาแนวคิดเรื่อง “อักษรศาสตร” ในลาวเกิดขึ้นพรอมกับ ความเคลือ่ นไหวทางวรรณกรรมในกัมพูชาดวย คําวา “อักษรศาสตร” ในภาษาเขมร หมายถึงวรรณคดี จากการศึกษาของจอรจ ชิกาส (George Chigas) เรื่องกําเนิด สถาบันทางวรรณกรรมในกัมพูชา คําดังกลาวเพิ่งปรากฏใชในชวงปลายทศวรรษ ที่ 1930 โดยปรากฏครั้งแรกในวารสารกัมพูชาสุริยา ซึ่งตีพิมพโดยสถาบัน พุทธศาสนา นอกจากนี้ วารสารฉบับยังกลาวยังตีพิมพคอลัมนวรรณคดีโดยใช ชือ่ วา “แผนกอักษรศาสตร” ซึง่ เริม่ ขึน้ ในป 1943 ชิกาสเสนอวาขอเขียนทีต่ พี มิ พใน “แผนกอักษรศาสตร” มีบทบาทสําคัญในการสถาปนาวรรณคดีแบบฉบับ (literary canon)4 ของเขมร (Chigas, 2000: 135-146) ความเคลื่อนไหวทางวรรณกรรม ในลาวและกัมพูชาซึ่งผูกอยูกับสถาบันทางวัฒนธรรมที่กอตั้งโดยฝรั่งเศสนี้ แสดง ใหเห็นวาวรรณกรรมเปนเครื่องมือสําคัญของนโยบายอาณานิคมที่เนนการสราง เขตแดนทางวัฒนธรรมระหวางอินโดจีนฝรั่งเศสกับสยาม การจัดประกวดวรรณกรรมเปนกิจกรรมสําคัญอีกอยางหนึ่งที่ขบวนการ ลาวใหญจัดขึ้นเปนประจํา ระยะเวลาระหวางป 1941 ถึง 1945 มีการจัดประกวด ทั้งสิ้น 4 ครั้ง ครั้งแรกเปนการประกวดบทกวีในหัวขอ “ถิ่นฐานบานเกิดของ ชาติลาว” โดยมีผูสงเขาประกวดกวา 50 คน ผูชนะการประกวดคือทาวหนูทัก พนักงานปาไมลาวในพนมเปญ บทกวีดังกลาวไดรับการยกยองในฐานะผลงาน ของกวีรุนใหมที่ดําเนินรอยตามขนบวรรณคดีโบราณ อันถือเปนการ “ฟนฟู” วัฒนธรรมทางวรรณศิลปลาวที่เสื่อมถอยลงเนื่องจากกวีรุนใหมละเลยการศึกษา 4

วรรณคดีแบบฉบับ ในทีน่ หี้ มายถึง งานเขียนทีไ่ ดรบั การคัดเลือกและยกยองจากสถาบันทางวรรณกรรม ใหเปนตัวแทนของงานเขียนในชวงเวลาเดียวกัน ประเภทเดียวกัน หรือบริบทสังคมเดียวกัน เชน วรรณคดีประจําชาติ การสรางวรรณคดีแบบฉบับจึงแสดงใหเห็นความสัมพันธระหวางการเมือง กับสุนทรียศาสตรกลาวคือ ความงามและคุณคาของวรรณคดีขนึ้ อยูก บั สถาบันทีม่ อี าํ นาจและมติสทิ ธิ์ (authority) ในการกําหนดกฎเกณฑและมาตรฐานของวรรณคดี ในกรณีศกึ ษาของชิกาส การสถาปนา วรรณคดีแบบฉบับของเขมรแสดงใหเห็นปฏิสัมพันธระหวางสถาบันทางศาสนาและวัฒนธรรม ซึ่งกอตั้งโดยฝรั่งเศสกับปฏิกิริยาโตตอบของปญญาชนเขมร 220


ชัยรัตน พลมุข

การแตงวรรณกรรมตามแบบกวีโบราณ (ลาวใหญ 15 กรกฎาคม 1942) ขอวิพากษ ดังกลาวนี้สอดคลองกับงานเขียนเรื่อง กาพยกลอนลาว ของทาวหยุย อภัย ตีพิมพ ในป 1943 หลังจากทาวหยุยแสดงปาฐกถาเรื่องเดียวกันที่สโมสรลาวเวียงจันทน เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 1941 เนื้อหาของหนังสือกลาวถึงความวิตกกังวลตอ สภาพการณทางวรรณกรรมอันเกิดจากความละเลยของกวีรนุ ใหม ผูเ ขียนไดเรียบเรียง กฎเกณฑทางฉันทลักษณตางๆ เพื่อเปนแนวทางใหกวีรุนใหมแตงบทกวีตาม ขนบวรรณคดีโบราณ (หยุย อภัย, 1943) ความพยายามที่จะสรางมาตรฐาน ทางวรรณศิลปอันยึดโยงอยูกับขนบวรรณคดีโบราณนี้สอดคลองไปกับเนื้อหา ของบทกวีที่มุงแสดงความรุงเรืองของลาวในอดีต การประกวดวรรณกรรมครั้งที่ 2 จัดขึ้นในป 1942 เปนการประกวด “นิทานกอม” ดังไดกลาวไปแลวตอนตน ผูชนะการประกวดคือทาวทองเพ็ชร นักศึกษาแพทยในไซงอนจากผลงานเรื่อง “ยี่สิบปหลัง” ในปตอมา คณะลาวใหญ ไดตีพิมพเรื่องดังกลาวลงในหนังสือพิมพลาวใหญ การประกวดผลงานประเภท รอยแกวยังจัดขึ้นอีกในป 1944 ซึ่งเปนการประกวดแปลวรรณกรรมภาษาฝรั่งเศส เปนภาษาลาว ทาวเกนเปนผูช นะการประกวดจากการแปลนวนิยายของจอรจ ซังด เรื่อง La mare au diable โดยใชชื่อภาษาลาววา “หนองผีเผด” (หนองผีเปรต) และปรับเปลี่ยนฉากชนบทของฝรั่งเศสเปนฉากทองไรทองนาของลาว หลังจาก ผลงานแปลเรื่องดังกลาวไดรับรางวัลเพียงไมนาน ขบวนการลาวใหญไดเลิกลมไป จนกระทั่งในป 1971 ขณะที่ทาวเกนปฏิบัติราชการในฝายราชอาณาจักร ผลงาน เรื่องดังกลาวจึงไดรับการตีพิมพโดยกระทรวงศึกษาธิการในที่สุด ในป 1944 ยังมีการจัดประกวดวรรณกรรมรอยแกวอีกครัง้ หนึง่ คือการประกวด “เรือ่ งอานเลน” คณะกรรมการลาวใหญไดระบุจุดมุงหมายของการจัดประกวดวาเพื่อสนับสนุน วรรณกรรมลาวสมัยใหมที่สัมพันธกับสภาพสังคมสมัยนั้น การประกวดครั้ ง นี้ มีผสู ง ผลงานทัง้ สิน้ 54 เรือ่ ง จากประกาศในหนังสือพิมพลาวใหญ ในเดือนสิงหาคม (ลาวใหญ 15 สิงหาคม 1944) อยางไรก็ตาม ผลงานเหลานี้ไมไดรับการตีพิมพ 221


นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม

เนื่องจากญี่ปุนเขายึดครองลาว ทําใหขบวนการลาวใหญตองลมเลิกไปพรอมกับ การเสื่อมอํานาจของฝรั่งเศสในอินโดจีน จากการศึ ก ษาความเคลื่ อ นไหวของวรรณกรรมลาวในช ว งขบวนการ ลาวใหญ จะเห็นวาความเคลื่อนไหวดังกลาวแบงไดเปน 2 กระแสคือ การฟนฟู วรรณคดีโบราณกับการสรางวรรณกรรมแบบสมัยใหม ในดานกวีนพิ นธทงั้ สองสวน สัมพันธกันอยางแนบแนน กลาวคือ การสรางงานใหมจําเปนตองอิงอยูกับ ขนบวรรณคดีโบราณ โดยเฉพาะดานรูปแบบฉันทลักษณและลีลาการประพันธ ขณะที่งานเขียนประเภทรอยแกวไดรับอิทธิพลจากวรรณกรรมประเภทเรื่องสั้น และนวนิยายแบบตะวันตก อยางไรก็ตาม การรับอิทธิพลตะวันตกนี้แสดงใหเห็น รอยตอทางวรรณกรรมและการปะทะสังสรรคระหวางรูปแบบวรรณกรรมตะวันตก กับวรรณกรรมลาวดังจะไดกลาวตอไป

“นิทานก อม” กับ “เรื่องอ านเล น” ในรอยต อของวรรณศิลป ลาว ในบทความนี้ ผูเ ขียนเสนอวา “นิทานกอม” และ “เรือ่ งอานเลน” ทีใ่ ชเรียก วรรณกรรมรอยแกวแนวใหมของลาวยุคแรกเริ่มนั้นคืองานเขียนประเภทเรื่องสั้น และนวนิยายแบบตะวันตก การใชคําวานิทานกอมและเรื่องอานเลนแสดงใหเห็น กระบวนการรับอิทธิพลวรรณกรรมตะวันตกที่มีลักษณะผสมผสานกับรูปแบบ งานเขียนที่มีอยูเดิมของลาว รวมทั้งสะทอนทัศนะตอวรรณกรรมแบบใหมนี้ดวย โดยเฉพาะการเนนมิติดานความสําเริงอารมณของวรรณกรรมกลุมดังกลาว มีขอสังเกตที่สําคัญวา การใชคําวา “นิทาน” และ “เรื่องอานเลน” นี้แสดงถึง อิทธิพลของวรรณกรรมไทยตอวรรณกรรมลาวดวย เนื่องจากคําดังกลาวนี้ปรากฏ ใชสําหรับเรียกเรื่องสั้นและนวนิยายยุคแรกเริ่มของไทยที่เริ่มกอตัวขึ้นตั้งแต 222


ชัยรัตน พลมุข

ทศวรรษที่ 1870 ดวย5 ตางกันเฉพาะวรรณกรรมประเภทเรือ่ งสัน้ ของลาวจะเรียก อยางเจาะจงวา “นิทานกอม” หมายถึงนิทานขนาดสั้น ซึ่งเปนคําเรียกนิทาน พื้นบานลาวซึ่งนิยมเลากันในวัฒนธรรมมุขปาฐะ สวนคําวา “เรื่องอานเลน” ที่ใชเรียกวรรณกรรมประเภทนวนิยายของลาวกับไทยนั้นตางกันเฉพาะรูปเขียน เทานั้น ลักษณะรวมดังกลาวบงชี้วาแมขบวนการลาวใหญจะพยายามตัดสาย สัมพันธทางวัฒนธรรมระหวางลาวกับไทย แตในทางปฏิบัติแลว การแลกเปลี่ยน ทางวัฒนธรรมยังคงดําเนินอยูดังปรากฏในหลักฐานทางวรรณกรรม เนื่องจากนิทานกอมและเรื่องอานเลนมีชวงชีวิตอยูในระยะเวลาสั้นๆ คือระหวางป 1941-1945 และมีจํานวนเรื่องไมมากนัก ผูเขียนจะไดกลาวถึง ลักษณะสําคัญของรอยแกวแนวใหมนี้โดยอาศัยหลักฐานที่ปรากฏในหนังสือพิมพ ลาวใหญและในตัวบทวรรณกรรมที่ตีพิมพชวงเวลาดังกลาว เพื่อแสดงใหเห็นวา “นิทาน” แบบสมัยใหมนมี้ ลี กั ษณะตางจากนิทานสมัยเกาอยางไรบาง ประกาศเรือ่ ง “เส็ง (ประกวด) นิทานกอม” ซึ่งจัดในป 1942 ระบุลักษณะของเรื่องที่จะสง เขาประกวดไววา “จะเปนเรือ่ งตลก เรือ่ งจับใจ เรือ่ งทุกขโศกเวทนา หรือเรือ่ งอัศจรรย อยางไรก็ได ยาวไมเกิน 6 หนากระดาษสมุดนักเรียน ตองเปนเรื่องแตงขึ้นใหมๆ 5

จากการศึกษาของสุมาลี วีระวงศ พบวางานเขียนประเภทบันเทิงคดีรอ ยแกวขนาดสัน้ ปรากฏครัง้ แรก ในหนังสือพิมพดรุโณวาท ซึ่งตีพิมพใน พ.ศ.2417 งานเขียนเหลานี้ระบุวาเปนนิทานสอนคติธรรม (fable) แบบตะวันตก เมือ่ พิจารณาเนือ้ หาพบวาไดรบั อิทธิพลจากนิทานพืน้ บานและนิทานชาดกดวย เชนเรือ่ ง “คนหาปลาทัง้ สี”่ และ “นิทานโบราณ” นอกจากนีย้ งั มีนทิ านทีม่ เี นือ้ เรือ่ งเกีย่ วกับเหตุการณ ในสมัยนัน้ เชนเรือ่ ง “นิทานปตยุบนั ” การใชคาํ วานิทานยังปรากฏในวชิรญาณวิเสศ (ตอมาเปลีย่ นเปน วชิรญาณวิเศษ) ซึง่ เริม่ พิมพใน พ.ศ.2428 (สุมาลี วีระวงศ, 2547: 6-14) งานเขียนเหลานีถ้ อื รอยแกว แนวใหมยุคบุกเบิกอันเปนตนเคาของรูปแบบงานเขียนประเภทเรื่องสั้นและนวนิยายของไทย สวนคําวา “เรือ่ งอานเลน” ก็ใชเรียกงานเขียนประเภทบันเทิงคดีรอ ยแกวยุคแรกเริม่ ของไทยเชนกัน จากการศึกษาของธนาพล ลิม่ อภิชาต พบวาหนังสือพิมพลกั วิทยา ซึง่ กอตัง้ โดยกลุม “นักเรียนนอก” ใน พ.ศ.2443 นัน้ ใชคาํ วา “เรือ่ งอานเลน” เพือ่ สือ่ ถึงงานเขียนรูปแบบใหมแบบตะวันตกและความกาวหนา ทางวรรณกรรมของไทย ตอมาเมือ่ ตลาดวรรณกรรม (literary market) ขยายวงกวางขึน้ เรือ่ งอานเลน ก็ไมไดจํากัดอยูเฉพาะในกลุมเจาขุนมูลนาย หากแตกลายเปนรูปแบบความบันเทิงอยางใหมสําหรับ สามัญชนดวย (Limapichart, 2008: 100-115). 223


นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม

หามไมใหนําประเด็นมาจากแหลงใดแหลงหนึ่ง ใหใชภาษาลาวโดยตลอด การจะ ยืมภาษาตางชาติมาใชนั้นใหมีนอยที่สุด” (ลาวใหญ 15 มกราคม 1942) ทั้งนี้ หลังจากมีนักเขียนสงผลงานเขาประกวด คณะกรรมการลาวใหญไดออกประกาศ อีกฉบับหนึ่งเพื่อชี้แจงเกณฑการประกวดเพิ่มเติมความวา “นิทานกอมที่เรา ประสงคอยากใหทานสงเขามาประกวดนั้นคือนิทานกอม ‘รอยแกว’ กลาวคือ แตงเปนคําพูดธรรมดา ไมใชแตงเปนกลอนดังทีบ่ างคนไดสง ไปใหลาวใหญแลวนัน้ ฉะนั้น เราขอเชิญผูแขงขันทานใดที่สงนิทานกอมเปนกลอนมานั้น จงเปลี่ยน นิทานกอมของตนใหเปนหนังสือ ‘รอยแกว’ เสียในกําหนดใหมนี้” (ลาวใหญ 15 พฤษภาคม 1942) รูปแบบการเขียนแบบรอยแกว การใชภาษาธรรมดาสามัญ และเนื้อหา ที่สรางสรรคขึ้นใหมโดยไมลอกเลียนของเดิมเปนลักษณะสําคัญของนิทานกอม ยุคใหมทแี่ ตกตางจากนิทานยุคกอน ลักษณะเหลานีท้ าํ ใหนทิ านกอมมีความสมจริง ที่ใกลเคียงกับสภาพสังคมขณะนั้นมากกวานิทานโบราณที่มักเนนเรื่องราวในอดีต อันไกลโพน หรือเรื่องราวของราชสํานัก นอกจากนี้ การรณรงคใหใชภาษาลาว โดยไมมภี าษาตางชาติ ยังอาจตีความไดเปน 2 นัยคือ การไมใชภาษาบาลีสนั สกฤต เพื่อสรางความวิจิตรทางภาษาตามขนบวรรณคดีโบราณ หรืออาจเกี่ยวของกับ ขบวนการชาตินิยมลาวในชวงเวลาดังกลาวดวย เนื่องจากการพยายามสราง มาตรฐานภาษาลาว โดยเฉพาะการลดอิทธิพลของภาษาไทยทั้งในระบบการเขียน และการใชคําศัพทไดเริ่มตนขึ้นในชวงเวลาเดียวกันนี้ ตัวอยางเชน ในป 1943 กระตาย โดนสะโสฤทธิ์ ซึ่งเปนหนึ่งในคณะกรรมการลาวใหญไดตีพิมพหนังสือ Alphabet et écriture lao (อักษรและอักขรวิธีลาว) ซึ่งกลาววาภาษาไทย มีจุดกําเนิดมาจากภาษาลาว นอกจากนี้ ขนบของวรรณกรรมไทยทั้งที่เปนงาน มุ ข ปาฐะ งานเขี ย นทางโลกย และวรรณคดี โ บราณล ว นได รั บ อิ ท ธิ พ ลจาก ขนบวรรณคดีลาวอันเกาแกทั้งสิ้น (Don Sasorith, 1943: 8-10) ดวยเหตุนี้ อาจกลาวไดวา กําเนิดของรอยแกวแนวใหมของลาวแสดงใหเห็นทัง้ สุนทรียะแบบใหม 224


ชัยรัตน พลมุข

ที่ อิ ง อยู  กั บ สภาพสั ง คมสมั ย ใหม แ ละแนวคิ ด ชาติ นิ ย มที่ แ สดงออกผ า นภาษา และวรรณศิลปที่ยืนยันอัตลักษณความเปนลาว ความพยายามทีจ่ ะสรางวรรณกรรมแบบใหมเพือ่ สนองตอบความเปลีย่ นแปลง ของสังคมยังปรากฏในการจัดประกวดเรือ่ งอานเลนในป 1944 ซึง่ ระบุจดุ ประสงค ของการประกวดไววา คณะกรรมการอักษรศาสตรลาวที่เวียงจันทนไดสังเกตเห็นวาวรรณคดีลาว ของเราขาดไรที่สุด นอกจากหนังสือผูกเกาแกเปนกาพยกลอนดังเชนหนังสือ สินไช อิเหนา กาละเกด ฯลฯ หนังสือสวนนีก้ เ็ ปนหนังสือทีค่ นลาวเราทัง้ หลาย ยังสมัครใจอานอยูโ ดยไดประโยชนทกุ ๆ อยาง ฉะนัน้ ในเร็วๆ นี้ คณะกรรมการ อักษรศาสตรจึงจะไดพิมพหนังสือสินไชออกมา ถึงอยางนั้นก็ดี เรายังคิดวา ถ า อยากให ช าวลาวมี ค วามคิ ด ความรู  และความฉลาดเฉลี ย วทั น สมั ย เราตองมีหนังสืออาน เปนเรื่องเกี่ยวเนื่องกับปจจุบันสมัยและแตงดวยคําพูด สามัญธรรมดา ฉะนั้น คณะกรรมการจึงไดตกลงประกาศใหบรรดาทาน ผูเ ปนนักประพันธและมีสติปญ  ญาทราบวาไดจดั ประกวดในเรือ่ งซึง่ จะแตงออก โดยความสามัญธรรมดานี้ [....] เราขอเชิญพวกทานหมูก องพีน่ อ งเราทัง้ หลาย จงพยายามคิดคนเรื่องใดที่จะสนุกใหพี่นองบานเมืองเราอานนี้ จัดฝาก มาใหเราตามนี้เถิด เรื่องนี้จะเปนเรื่องโศก เรื่องชูสาว เรื่องโจรขโมย ฯลฯ ก็ตามแตใจ (roman sentimental, roman d’aventures, roman policier etc....) อันนี้จะเปนประโยชนใหแกผูแตงเอง และใหแกบานเมือง ของเรา (ลาวใหญ 15 กุมภาพันธ 1944)

ความทันสมัยเปนแนวคิดสําคัญของการสงเสริมวรรณกรรมรอยแกว ที่มีรูปแบบและเนื้อหาสอดคลองกับยุคสมัย จากประกาศดังกลาวจะเห็นไดวา คณะกรรมการอักษรศาสตรเล็งเห็นคุณคาที่แตกตางกันของวรรณคดีโบราณ กับวรรณกรรมรวมสมัยกลาวคือ วรรณกรรมรวมสมัยจะชวยใหผูอานรูเทาทัน 225


นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม

ความเปนไปของสังคมขณะนั้นและสามารถทาบเทียบเรื่องราวในชีวิตของตน เขากับเนื้อหาของบทประพันธได เพราะเปนเรื่องที่ใกลเคียงกับชีวิตประจําวัน ทัง้ ในดานเนือ้ หาและภาษาทีเ่ นนความธรรมดาสามัญ อยางไรก็ตาม ความทันสมัย ในที่นี้ไมไดหมายถึงความรูเทานั้น หากแตยังเปนการสรางรสนิยมจากการเสพ ความบันเทิงจากวรรณกรรมรูปแบบใหม ดังจะเห็นไดจากการอางอิงนวนิยาย (roman) ประเภทตางๆ ในภาษาฝรั่งเศสที่เนนความสําเริงอารมณ เชนเรื่อง แนวสะเทือนอารมณ แนวผจญภัย และแนวสืบสวนสอบสวน การอางอิงดังกลาวนี้ ยังแสดงใหเห็นอยางชัดเจนวาอิทธิพลวรรณกรรมตะวันตกมีสวนในการกอรูป วรรณศิลปแบบใหมในลาว แมในทางปฏิบัติการรับอิทธิพลดังกลาวจะไมใชการ ลอกเลียนแบบอยางตรงไปตรงมา ในป 1944 นี้ คณะกรรมการลาวใหญไดตีพิมพเรื่อง พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ของสมจิ น งิ น ซึ่ ง ถื อ เป น นวนิ ย ายยุ ค แรกเริ่ ม ของลาว หน า ปกของหนั ง สื อ มีคาํ บรรยายวา “หนังสืออานเลน แตงเปนภาษาลาวทีเ่ ขาใจงาย” ซึง่ เนนยํา้ เรือ่ งภาษา และเนื้อหาของวรรณกรรมสมัยใหมที่ใกลเคียงกับชีวิตประจําวัน ในคํานําของ หนังสือดังกลาวซึง่ เขียนเปนภาษาฝรัง่ เศสไดบรรยายวานวนิยายเรือ่ งนีเ้ ปนสวนผสม ระหวางนวนิยายผจญภัยสมัยใหม (un modern roman d’aventures) กับ ขนบตํานานอันเกาแกของลาว (la bonne tradition de vieilles légendes lao) ซึ่งแสดงใหเห็นวาแมจะพยายามสรางวรรณกรรมสมัยใหมแบบตะวันตก แตก็ยัง ปรากฏลักษณะของเรื่องเลาทองถิ่นที่สืบทอดมาในวัฒนธรรมมุขปาฐะของลาว ลักษณะผสมผสานทั้งในดานรูปแบบและเนื้อหาของวรรณกรรมรอยแกว ยุคแรกเริ่มของลาวนี้ นอกจากจะแสดงใหการตอรองกับอิทธิพลวรรณกรรม ตะวันตกแลว ยังสัมพันธกบั บริบททางสังคมวัฒนธรรมในชวงเวลานัน้ ดวย กลาวคือ โวหารเรือ่ งการฟน ฟูวฒ ั นธรรมของขบวนการลาวใหญทาํ ใหเกิดกระแสโหยหาอดีต ซึ่งผูกโยงกับความรูสึกชาตินิยม ขณะเดียวกันการเชิดชูอดีตก็ทําใหเกิดกระแส วิ พ ากษ วิ จ ารณ ค วามเป น สมั ย ใหม บ างประการที่ ขั ด กั บ ภาพอดี ต ในอุ ด มคติ 226


ชัยรัตน พลมุข

ของลาว ความวิตกกังวลทางศีลธรรมอันเกิดจากการปะทะระหวางการโหยหาอดีต กับภาวะทันสมัยปรากฏใน “นิทาน” สมัยใหมของลาวที่จะไดวิเคราะหตอไปนี้

“ยี่สิบป หลัง”: ทางสองแพร งระหว างกฎหมายกับจริยธรรม ความยุติธรรมเปนประเด็นสําคัญที่ปรากฏในเรื่องสั้นและนวนิยายลาว ยุคแรกเริ่ม การนําเสนอประเด็นดังกลาวในวรรณกรรมเผยใหเห็นความขัดแยง ระหวางสถาบันทางกฎหมายที่ไมสามารถใหความเปนธรรมแกตัวละครไดกับ หลักศีลธรรมทางศาสนาที่ทําใหสังคมหวนคืนสูระบบระเบียบทางจริยธรรมได ผูเขียนเสนอวาความขัดแยงดังกลาวสะทอนใหเห็นวิวาทะระหวางภาวะสมัยใหม กับอารมณโหยหาอดีตซึ่งกําลังดําเนินอยูในสังคมลาวขณะนั้น ตัวบทที่จะได วิเคราะหในที่นี้คือเรื่อง “ยี่สิบปหลัง” ของทาวทองเพ็ชร ซึ่งไดรับรางวัลชนะเลิศ การประกวดนิทานกอมของลาวใหญในป 1942 และตีพิมพในหนังสือพิมพ ลาวใหญ ฉบับวันที่ 1 มกราคม 1943 ในฐานะนิทานกอมที่ชนะการประกวด เรื่อง “ยี่สิบปหลัง” นาจะเปนตัวอยางอันดีของเรื่องสั้นลาวสมัยใหม โดยเฉพาะ การสรางสรรคเรื่องขึ้นใหมที่อิงอยูกับสภาพความเปนจริงของชีวิตและสังคม ในยุคสมัยนั้น แกนเรื่อง “ยี่สิบปหลัง” คือความพลิกผันของโชคชะตาที่มีจุดศูนยกลาง ของเรื่องอยูที่พอลูกที่พลัดพรากจากกัน เรื่องเริ่มตนเมื่อเสมียนชื่อสันติยายจาก บานเกิดไปประจําการทีเ่ ชียงขวางและไดพบรักกับนางกองแกวชาวเมืองเชียงขวาง นางกองแกวเปนลูกกําพราพอแตมีฐานะดีพอสมควร ความพลิกผันของโชคชะตา เกิดขึน้ เมือ่ สันติตอ งยายไปรับราชการทีเ่ วียงจันทนโดยไมลว งรูว า นางกองแกวกําลัง ตั้งครรภพอดี ยี่สิบปผานไป สันติไดเปนหัวหนาศาลที่เวียงจันทนและไมเคย กลับไปเชียงขวางอีกเลย กองแกวคลอดลูกชายชื่อสีมงคลและเลี้ยงดูโดยลําพัง 227


นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม

ตลอดมา ฐานะของกองแกวตกตํา่ ลงหลังจากสูญเสียมารดาไป ทําใหมคี วามเปนอยู ที่ยากลําบากจนกระทั่งเมื่อลูกชายอายุยางสิบแปดปก็เสียชีวิต มรดกชิ้นเดียว ที่กองแกวทิ้งไวใหสีมงคลคือแหวนซึ่งเปนเครื่องเตือนสติลูกชายใหตั้งมั่นอยู ในคุณธรรม พรอมทัง้ คําสัง่ เสียวา “เจาเปนลูกไมมพี อ เจาตองพึง่ ตนเอง อยาลืมวา บุญก็มาจากการกระทําของตัวเอง บาปก็มาจากการกระทําของตัวเอง” เมือ่ สิน้ แมไป สีมงคลก็มชี วี ติ ทีย่ ากลําบากจนตองตัดสินใจขายบานและเดินทางออกจากเชียงขวาง เมื่อไมสามารถทนตอความแรนแคนไดอีกตอไป สีมงคลตองขายแหวนที่กองแกว มอบไวและเรรอนขอทานอยางไรจุดหมาย ทายที่สุดไดไปเขารวมกับกลุมโจร และกลายเปนโจรเที่ยวปลนสะดมชาวบาน คืนหนึ่งกลุมโจรไดปลนฆาเศรษฐี และถูกจับกุมตัวไปที่ศาลเวียงจันทน ดวยมือของโชคชะตา ผูพิพากษาคดีดังกลาว ก็คือสันติพอของสีมงคลที่พลัดพรากกันตั้งแตสีมงคลยังอยูในครรภนั่นเอง หลังจากที่ไดฟงประวัติของสีมงคลทั้งสถานที่เกิดและชื่อของมารดาแลว สันติเกิดความแคลงใจและนึกยอนกลับไปถึงเรื่องราวในอดีต คืนนั้นกองแกว ปรากฏตัวขึน้ ในฝนและกลาวโทษสันติวา เปนผูม ใี จโหดราย ปริศนาเรือ่ งกําเนิดของ สันติกระจางในวันพิจารณาคดีเมื่อสันติไดซักถามรายละเอียดตางๆ จนแนใจ ศาลไดตัดสินใหจําคุกสีมงคลหาป อยางไรก็ตาม เนื่องจากสีมงคลสารภาพผิด และไมเคยกอคดีมากอน ศาลจึงปลอยตัวสีมงคลเปนอิสระ หนึ่งเดือนหลังจาก การตัดสิน ศาลเวียงจันทนไดรับจดหมายจากสันติซึ่งไดลาพักราชการชั่วคราว สันติไดสารภาพในจดหมายวาตนเปนบิดาของสีมงคลจึงไดตดั สินใหสมี งคลพนจาก ความผิดและปลอยตัวไป ทั้งยังเชื่อวาสีมงคลเปนคนดีที่ถูกกลุมโจรลอลวง สันติ ขอลาออกจากราชการเพือ่ ไปเริม่ ตนชีวติ ใหมกบั ครอบครัว โดยตัง้ ใจวาจะไปทํานา ทําไรในชนบทอันสุขสงบ ปมปญหาทางจริยธรรมอันเกิดจากความขัดแยงระหวางความสัมพันธ ทางสายเลือดกับหนาทีก่ ารงานในฐานะผูผ ดุงความยุตธิ รรมเปนหัวใจหลักของเรือ่ ง “ยี่สิบปหลัง” ทางเลือกของสันติไมเพียงแตอิงกับสายสัมพันธทางครอบครัว หากแตยงั เกิดจากความรูส กึ สํานึกผิดทีท่ อดทิง้ ลูกดวย ดังตอนทีร่ วู า สันติรวู า สีมงคล 228


ชัยรัตน พลมุข

เปนลูกชายของตนไดราํ พึงวา “โถ สีมงคลลูกพอ ลูกฆาคนตายก็เพราะความโหดราย ของพอเอง” การกลาวโทษตนเองเชนนี้ยังปรากฏในจดหมายสารภาพผิดดวย ดังเนื้อความที่วา “ขาพเจารูวาสีมงคลไดฆาคนจริง แตฆาโดยไมรูเดียงสา ดวยวา หัวหนาโจรเปนคนแนะนําและชักจูง ขาพเจาไมอาจจะตัดสินลงโทษลูกชาย ขาพเจาได เพราะความผิดอันนี้เกิดจากความโหดรายและปาเถื่อนของผูเปนพอ คือขาพเจาเองทีไ่ ดปลอยลูกไวตามบุญตามกรรม” ความสํานึกผิดและความรับผิดชอบ ทางศีลธรรมนี้ เปนคําแกตางที่ตัวบทสรางขึ้นเพื่อตอบโตมุมมองทางกฎหมาย ที่อาจตัดสินวาการกระทําของสันติในเรื่องนี้ไมเปนธรรม กฎระเบียบอันเครงครัด ของสถาบันทางกฎหมายไมสามารถใหทางออกทีน่ า พอใจแกโชคชะตาอันแปรปรวน ของมนุษยดังที่สันติและสีมงคลเผชิญอยูได ในตอนทายของจดหมาย สันติไดแสดงความมุงหมายวาจะลาออกจาก การเปนหัวหนาศาล โดยอธิบายเหตุผลวา “การหากินทางนี้ [....] เปนการหากิน อยูขอบปากหมอนรก และอาจตกลงหมอไดวันใดวันหนึ่งโดยความพลาดพลั้ง ในทางธรรม สูไปทําไรทํานา เลี้ยงปูเลี้ยงปลาและเปดไกกินตามบานตามเมือง จะมีความสุขกายสบายใจดีกวาหมกตัวอยูในหองทํางานดั่งที่ไดเปนมาแลว” (ลาวใหญ 1 มกราคม 1943) การเปรียบศาลกับขอบกระทะทองแดงในนรก (“ขอบปากหมอนรก”) แสดงความตางระหวางความเปราะบางของระบบยุตธิ รรม ในทางโลกกับหลักทางศาสนาอันเปนอุดมคติ การเนนหลักธรรมทางพุทธศาสนา ปรากฏตั้งแตตนเรื่องดังที่นางกองแกวไดสั่งสอนใหสีมงคลเรื่องกรรมอันเปน ตัวกําหนดทัง้ บุญและบาป แหวนทีน่ างกองแกวใหไวแกสมี งคลจึงเปนทัง้ สัญลักษณ ของสายสัมพันธทางครอบครัวและคําสอนทางพุทธศาสนาทีม่ บี ทบาทเชิงจริยธรรม ดวยกันทั้งคู ทายที่สุด การหลีกหนีจากระบบยุติธรรมสมัยใหมอันเครงครัดไปสู วิถีชนบทดูจะเปนทางออกสําหรับปมปญหาทางจริยธรรมของเรื่องนี้ โดยนัยนี้ ตัวบทเรื่อง “ยี่สิบปหลัง” ไดจัดวางความสัมพันธทางครอบครัว วิถีชนบท และ พุทธศาสนาไวฟากหนึ่ง และสถาบันทางกฎหมายแบบสมัยใหมไวอีกฝงหนึ่ง ในขณะที่อยางแรกเปนหนทางไปสูความเปนธรรมและคําตอบทางจริยธรรม 229


นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม

แกชะตากรรมอันผันผวนของมนุษย อยางหลังกลับเปนอุปสรรคแกการสรางความ ยุติธรรม ประเด็นเกีย่ วกับความยุตธิ รรมยังปรากฏในเรือ่ งสัน้ และนวนิยายลาวทีแ่ ตง ในสมัยเดียวกันคือเรื่อง “เสือยุติธรรม” (1941) กับ พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ (1944) ของ สมจิน งิน วรรณกรรมทั้งสองเรื่องตางกลาวถึงการละเมิดกฎหมายและ ศีลธรรม กลาวคือเรื่องแรกกลาวถึงพอที่ลวงลูกชายของตนไปฆาในปาแตมีเสือ มาชวยชีวติ ไว สวนเรือ่ งทีส่ องกลาวถึงการขโมยพระพุทธรูปทีค่ ลีค่ ลายเพราะความ ชวยเหลือจากอํานาจศักดิ์สิทธิ์ของพระพุทธรูป เรื่องสั้นและนวนิยายดังกลาวนี้ นําเสนอวาสถาบันทางกฎหมายไมสามารถแกไขปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ แตตองอาศัยสิ่งศักดิ์สิทธิ์คือ “เสือ” และ “พระพุทธรูป” อันเปนสัญลักษณ ของความเชือ่ ทางพุทธศาสนาและสังคมลาวแบบจารีต6 ดวยเหตุนจี้ งึ อาจกลาวไดวา ประเด็นดังกลาวเปนลักษณะรวมของวรรณกรรมรอยแกวยุคแรกเริ่มที่สัมพันธ กับความเคลื่อนไหวทางสังคมวัฒนธรรมยุคดังกลาวอยางแนบแนน

“ศัตรู” กับ “ชายกําพร า”: ความรักในโลกสมัยใหม กับกรอบทางศีลธรรม ความรั ก เป น ประเด็ น สํ า คั ญ อี ก ประเด็ น หนึ่ ง ของวรรณกรรมสมั ย ใหม ของลาวยุคแรกเริ่ม การนําเสนอประเด็นเกี่ยวกับความรักในวรรณกรรมเหลานี้ ใหภาพของสังคมลาวสมัยใหมที่เต็มไปดวยแรงปรารถนาของหนุมสาวอันนําไปสู ความระทมทุกข ในแงนี้ นิทานสมัยใหมเหลานี้ยังคงทําหนาที่สั่งสอนเชนเดียวกับ นิทานในขนบเดิม นอกจากนี้ แนวคิดทางพุทธศาสนายังคงปรากฏในฐานะทางออก ของปญหาทางจริยธรรมอันเกิดจากความรักและความปรารถนา ตัวบทที่จะ 6

ดูการวิเคราะหเรื่อง “เสือยุติธรรม” และพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ในบทความของผูเขียนไดใน ชัยรัตน พลมุข (2557: 47-76). 230


ชัยรัตน พลมุข

วิเคราะหในที่นี้คือเรื่อง “ศัตรู” ของทาวหนูทัก ตีพิมพในหนังสือพิมพลาวใหญ ฉบับวันที่ 15 กุมภาพันธ 1943 และเรื่อง “ชายกําพรา” ของนักเขียนคนเดียวกัน และเป น เรื่ อ งที่ ไ ด รั บ รางวั ล จากการประกวดนิ ท านก อ มด ว ย เรื่ อ งนี้ ตี พิ ม พ ในหนังสือพิมพลาวใหญฉบับวันที่ 15 กันยายน 1943 และวันที่ 15 พฤศจิกายน ปเดียวกัน เรื่อง “ศัตรู” ใหภาพอันมีสีสันของเวียงจันทนที่ขับเนนความปรารถนา ของหนุมสาวอยางเดนชัด ฉากของเรื่องนี้เริ่มตนที่โรงภาพยนตร หรือที่ในเรื่อง ใชทับศัพทภาษาฝรั่งเศสวา “ซีเนมา” (cinéma) ซึ่งเปนสถานที่ที่ตัวละครเอก ของเรือ่ งคือ นิวงกับทองสีมาพบกัน การแตงกายของตัวละครในเรือ่ งนีแ้ สดงใหเห็น การรับอิทธิพลฝรั่งเศส ดังในคําบรรยายตัวละครนิวงและทองสีตอนเปดเรื่อง ความวา “เวลานั้นมีชายหนุมคนหนึ่งเดินมาจากทางวัด รูปรางสดสวย มีหนาตา สดใสและยิ้มแยม นุงเครื่องฝรั่ง ‘กลาวัด’ [cravate หรือเนคไทในภาษาฝรั่งเศส] ผูกคอเสือ้ ชัน้ ในอยางสะอาดตา กางเกงและเสือ้ ของเขาก็รดี ละเอียดดี [....] หญิงสาว คนนี้แตงกายสะอาดตาเชนกัน เสื้อสมสมัยเอวกิ่วอกพอง ซิ่นจก รองเทา ‘ซังดาล’ [sandale หรือรองเทาสนสูงในภาษาฝรั่งเศส] สนสูงพอปานกลาง รูปรางก็ได แบบดี เนื้อกายนุมนวล หนาตาคมคาย สดชื่น ปากแดง แกมสีกุหลาบ เกลาผม” บทบรรยายการแตงกายแบบสมัยใหมตามอยางฝรั่งเศสนี้ขับเนนความปรารถนา ทางกายของตัวละคร ลักษณะเชนนี้ยังปรากฏในบทบรรยายโรงภาพยนตรซึ่งเปน สถานที่แหงการเสพความบันเทิงที่กระตุนเราอารมณปรารถนาของตัวละคร เรือ่ ง “ซีเนมา” วันนัน้ ก็สนุกเต็มที มีพระเอกและนางเอกงดงามและเลนอยาง หัวใจจะเตนออกจากหนาอก มีบทรักถึงขั้นกอดจูบ มีรองรําทําเพลงและ ฟอนรําอยางสนุกใจ เชนนีจ้ ะไมพาใหหนุม สาวกําเริบใจไปในทางรักทางสวรรค ไดอยางไร! เปนโอกาสเปดเผยเหลือเกิน หนุมสาวทั้งสองที่นั่งเคียงกันอยูนั้น ก็หันหัวเขาหากันอยางไมรูตัว หากเปนเชนสีผึ้ง สองคน สองใจ สองขวัญนี้ ก็คงเชื่อมเขาเปนหนึ่งเดียวกันเปนแน! นิวงกระซิบขางหูหญิงสาววา “ทองสี พี่รักนองดังเชนนี้แหละ” “นองก็เชนกัน” เขาตอบเบาๆ [....] เมื่อซีเนมาเลิก 231


นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม

ก็มืดคํ่ามากแลว แตยังมองเห็นทางอยู หนุมสาวสองคนก็หลบหลีกจากเพื่อน ไปทางริมแมนํ้าโขง เขาเดินเคียงกันไปพรอมทั้งพูดคุยกันเรื่อง “ซีเนมา” ที่ดูกันมาวันนี้ (ลาวใหญ 15 กุมภาพันธ 1943)

ในที่นี้โรงภาพยนตรไมใชเพียงสถานที่พลอดรักของหนุมสาวในสังคม สมัยใหม หากแตภาพยนตรเองยังเปนสือ่ กลางของอารมณปรารถนาทีเ่ กิดจากการ นําตนเองไปทาบเทียบกับเรื่องราวในหนัง ความลนเกินของอารมณปรารถนานี้ ทําใหตัวละครในเรื่องขาดความระมัดระวัง จนกระทั่งทั้งคูถูกลอบทํารายโดย ชายชื่อคํามีซึ่งหมายปองทองสีอยูกอนหนานี้แลว พื้นที่เริงรมยในสังคมสมัยใหม จึงเปนทัง้ พืน้ ทีแ่ หงความปรารถนาและพืน้ ทีแ่ หงภยันตรายทีม่ าพรอมกัน ในตอนทาย ของเรื่อง ผูเขียนไดจบดวยแนวคิดเรื่องการใหอภัย กลาวคือ นิวงไดไปพบกับคํามี ซึ่งทํารายตนและพยายามขืนใจทองสีเพื่อแกแคน แตสุดทายไดปลอยคํามีไป โดยใหเหตุผลวาไมอยากกอบาปกรรมตอกันอีกตอไป เรื่องสั้นที่เริ่มตนดวยเรื่อง แนวประโลมโลกนี้จึงแสดงใหภัยของความปรารถนาอันลนเกินที่ถูกกระตุนเรา ดวยความบันเทิงสมัยใหม และจบลงดวยการสัง่ สอนศีลธรรมตามหลักพุทธศาสนา

ภาพที่ 2-3 การตูนที่วาดขึ้นในชวงตนทศวรรษที่ 1940 แสดงภาพโรงภาพยนตรอันเปนแหลงบันเทิงแบบสมัยใหม ที่มา: หนังสือพิมพลาวใหญ ฉบับวันที่ 1 กันยายน 1942 และ 15 กุมภาพันธ 1944 232


ชัยรัตน พลมุข

การเสนอเรือ่ งรักทีจ่ บลงดวยการสละทางโลกปรากฏในเรือ่ งสัน้ อีกเรือ่ งหนึง่ ของทาวหนูทกั คือเรือ่ ง “ชายกําพรา” ในเรือ่ งนีต้ วั ละครเอกคือ สุลนิ เปนลูกกําพรา ทีบ่ วชเรียนเปนสามเณรตัง้ แตอายุยงั นอยจนมีความรูใ นทางปริยตั ธิ รรมเปนอยางดี ถึงขนาดวา “หากเขาบวชไปจนแกภายหลังคงไดเปนนักปราชญคนหนึ่งเปนแน” อยางไรก็ตาม สุลินตัดสินใจลาบวชออกมาทําไรทํานาเพื่อเลี้ยงดูมารดา ปหนึ่ง เกิดภัยแลงทําใหสุลินตองออกจากบานไปทํางานที่ไรกาแฟของเศรษฐีผูหนึ่ง สุลินตกหลุมรักลูกสาวของเศรษฐี แตดวยฐานะทางสังคมที่แตกตางกันทําใหทั้งคู ไมสามารถเผยความเสนหาตอกันและกันได ตอมามารดาของสุลินลมปวย เขาจึง เดินทางกลับบาน กอนที่จะสิ้นลมหายใจนางไดฝากฝงใหสุลินแตงงานกับลูกพี่ ลูกนองชื่อจันทา สุลินรับปากเนื่องจากเห็นวาเปนคําสั่งเสียของมารดา จากนั้น ก็กลับไปทํางานทีไ่ รกาแฟโดยสัญญากับลุงวาจะกลับมาจัดการเรือ่ งงานแตงในฤดูฝน เมื่อกลับมาถึงไรกาแฟ สุลินไดรูวาลูกสาวเศรษฐีลมปวยตั้งแตเขากลับบาน สุลิน ชวยดูแลพยาบาลจนกระทัง่ หายดี เศรษฐีเมือ่ รูว า ลูกสาวของตนรักอยูก บั สุลนิ ก็ยนิ ดี จะจัดงานแตงใหทั้งคู แตแลววันหนึ่งสุลินก็หายตัวไป เหลือไวเพียงจดหมาย ที่บอกวาตนเองจะออกบวชตลอดชีวิต สุลินไดสงจดหมายพรอมแหวนไปใหจันทา เพื่อเปนเครื่องหมายของการขออภัยที่ตนไมสามารถแตงงานกับจันทาไดเชนกัน ในตอนตน ดูเหมือนวาเรือ่ ง “ชายกําพรา” จะดําเนินตามขนบของนิยายรัก ทั่วไปคือ มีปมขัดแยงที่เปนอุปสรรคของความรักแตสุดทายแลวนําไปสูความสุข สมหวังที่ตอกยํ้าแนวคิดเรื่องพลังของความรัก ปมขัดแยงในเรื่องนี้ยังเปนปม ที่คอนขางดาษดื่นนั่นคือความแตกตางของสถานะทางสังคมระหวางชายหนุม ยากจนจากชนบทกั บ หญิ ง สาวผู  มั่ ง คั่ ง ความขั ด แย ง อี ก ประการหนึ่ ง คื อ การ คลุมถุงชนกับความรักที่เปนอิสระจากกรอบของสังคม จากเนื้อเรื่องในตอนแรก ดูเหมือนวาความรักระหวางสุลินกับลูกสาวเศรษฐีจะนําไปสูการสลายเสนแบง ทางชนชั้นและการเอาชนะกรอบของสังคม แตในตอนทายกลับจบดวยการ สละทางโลกไปสูรมเงาศาสนาของตัวละครเอก การตัดสินใจเชนนี้ดูเหมือน จะเปนทางออกเดียวของความทุกขอนั เกิดจากความรักและพันธะหนาทีท่ างสังคม 233


นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม

แนวคิดเรื่องการสอนคติธรรมในเรื่องสั้นเรื่องนี้ไดรับการตอกยํ้าในหมายเหตุ ทายเรื่องของบรรณาธิการหนังสือพิมพลาวใหญ ที่กลาววา “นิทานชายกําพรานี้ เปนเรื่องที่ยืดยาวเกินไปสักหนอยสําหรับหนากระดาษ “ลาวใหญ” แตเราไดพิมพ จนจบเรื่อง เพราะเห็นวาเปนเรื่องที่มีคําสอนสําหรับคนทั่วไป มนุษยเราถึงจะ ยากจนเพียงใดก็ดี เมื่อมีคุณความดีและตั้งใจตอการงานอยางจริงจังแลว ก็จะ สามารถฟนฟูชื่อเสียงขึ้นเปนผูดี มียศศักดิ์ไดเสมอดั่งสุลินในเรื่องชายกําพรา นีแ้ ลว” (ลาวใหญ 15 พฤศจิกายน 1943) คําอธิบายนี้แสดงใหเห็นความพยายาม ของลาวใหญท่ีจะกําหนดกรอบการตีความเรื่องสั้นใหเปนเรื่องสอนคติธรรม โดยตั ด ประเด็ น เรื่ อ งความรั ก ไปอย า งสิ้ น เชิ ง อย า งไรก็ ต าม การให นํ้ า หนั ก กับแนวคิดทางศีลธรรมนีไ้ มควรละเลยประเด็นเกีย่ วกับความรักทีช่ ว ยสรางอารมณ สะเทือนใจและปมขัดแยงของเรือ่ ง อาจกลาวไดวา การผสมผสานระหวางเรือ่ งราว ความรักในสังคมสมัยใหมกับคําสอนทางพุทธศาสนาสะทอนใหเห็นการปะทะ สังสรรคระหวางขนบจารีตกับความทันสมัยที่ปรากฏรวมกันในนิทานสมัยใหม เรื่องนี้

คําสอนกับสีสมุท: การเดินทางแสวงหารากเหง า การนํ า เสนอแนวคิ ด และจิ น ตกรรมซึ่ ง ผู ก โยงกั บ สั ง คมลาวแบบจารี ต ไมเพียงแตมุงกระตุนเราอารมณโหยหาอดีตเทานั้น หากแตยังสัมพันธกับการ สรางชาติดว ย เบเนดิกท แอนเดอรสนั (Benedict Anderson) เรียกชาติตามแนวคิด แบบสมัยใหมวา “ชุมชนจินตกรรม” (imagined communities) เพื่ออธิบาย ความสัมพันธระหวางเทคโนโลยีการพิมพ วรรณกรรม และหนังสือพิมพกับการ กอตัวของแนวคิดเรื่องชาติในฐานะพื้นที่ทางสังคมที่สมาชิกแตละคนรูสึกสํานึกวา ตนเองอยูรวมกับสมาชิกคนอื่นแมวาจะไมเคยรูจักกันเลย (Anderson, 2006: 22-31; Culler, 1999: 20-39) ในความเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมของขบวนการ 234


ชัยรัตน พลมุข

ลาวใหญ นี้ ชุ ม ชนจิ น ตกรรมที่ ป  ญ ญาชนลาวและฝรั่ ง เศสพยายามสร า งขึ้ น ผานวรรณกรรมก็คือสังคมลาวแบบจารีต วรรณกรรมที่ปรากฏแนวคิดเรื่องชุมชน อุดมคติอยางชัดเจนก็คือนวนิยายเรื่อง คําสอนกับสีสมุท แตงเปนภาษาลาว โดยนักเขียนชาวฝรัง่ เศสชือ่ บล็องชารด เดอ ลา โบรส (Blanchard de la Brosse) ตีพิมพเปนตอนๆ ในหนังสือพิมพลาวใหญระหวางป 1941-1942 คณะกรรมการ ลาวใหญไดประชุมกันเพื่อพิจารณาตีพิมพนวนิยายเรื่องนี้ออกเปนเลมในป 1944 ซึ่งเปนปเดียวกับที่ตีพิมพนวนิยายเรื่อง พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ของสมจิน งิน อยางไรก็ตาม ผูเขียนบทความนี้ยังไมพบนวนิยายเรื่องดังกลาวฉบับพิมพใหม จึงจะไดวิเคราะหตัวบทที่ตีพิมพเปนตอนในหนังสือพิมพลาวใหญ นวนิยายเรื่อง คําสอนกับสีสมุท เปนเรื่องแนวเดินทางผจญภัยของเด็กชาย ชือ่ คําสอน ซึง่ อาศัยอยูก บั พอและแมเลีย้ งใจรายในหมูบ า นเล็กๆ ในแขวงจําปาศักดิ์ ที่ “เปนหมูบ า นเกาแกหมูบ า นหนึง่ ทีถ่ อื ฮีตคอง [จารีตประเพณี] เกาแกอยางมัน่ คง ศาสนารุงเรืองดี วัดวาสะอาด [....] เปนหมูบานเล็กๆ ที่ประกอบดวยความอยูเย็น เปนสุขและชื่นบานดั่งบานเมืองของเราแตเกากอน” วันหนึ่งระหวางที่คําสอน ติดตามพอไปคาขายทางทะเลไดเกิดพายุซึ่งทําใหเรือแตกและพอของคําสอน สูญหายไปในทะเล คําสอนไดพบเพือ่ นชือ่ สีสมุท ซึง่ เปนชายกําพราเชนเดียวกับตน เด็กหนุมทั้งสองจึงเดินทางไปยังเมืองตางๆ ในลาวและบางสวนในไทยเพื่อเรียนรู เรื่องภูมิประเทศ ประวัติศาสตร และวัฒนธรรมลาว ลักษณะเชนนี้ทําใหนวนิยาย เรื่องนี้สามารถสรางจินตกรรมของชุมชนที่เรียกวาชาติไดเปนอยางดี การนําเสนอประเด็นเรื่องพรมแดนของชาติในเรื่อง คําสอนกับสีสมุท สัมพันธกับกรณีพิพาทเรื่องเขตแดนระหวางไทยกับอินโดจีนฝรั่งเศสในชวงตน ทศวรรษที่ 1940 ดวย โดยนวนิยายเรื่องนี้ไดนําเสนอใหเห็นความใกลชิดทาง ชาติพันธุและวัฒนธรรมของชุมชนแถบลุมแมนํ้าโขง ดังตอนที่คําสอนและสีสมุท กําลังเดินทางขามแมนํ้าโขงมายังนครพนม สีสมุทเห็นวาบานเมืองทั้งสองฝง คลายคลึงกันมากจึงเอยปากถามคําสอน ทาวคําสําซึง่ อยูใ นเรือดวยกันไดตอบขึน้ วา “แตปางกอนทัง้ สองฝง แมนาํ้ โขงเปนเมืองลาวของเราอันเดียวกัน และอยูใ ตอาํ นาจ 235


นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม

พระเจาลานชางรมขาวที่ตั้งพระราชวังอยูเวียงจันทน เดี๋ยวนี้พี่นองเราฝงนั้นไมได อยูใตรมธงลานชางดั่งเกาแลว แตไมนานพวกนองก็จะมีโอกาสไปเที่ยวชมฝงขวา นองจะไดเห็นวาผูค นตามหมูบ า นเหลานัน้ ถือฮีตคองธรรมเนียมอยางเดียวกันกับเรา” เมื่อคําสอนและสีสมุทเดินทางไปถึงนครพนม คําสอนจึงไดเห็นวาสภาพบานเมือง และการแตงกายของผูคนมีลักษณะคลายคลึงกับที่หมูบานของตนที่จําปาศักดิ์ คําสอนยังไดสังเกตเห็นนักเรียนกลุมหนึ่งกําลังพูดคุยกันดวยภาษาลาว แตในมือ ของพวกเขากลับถือหนังสือเรียนภาษาไทย สีสมุทไดกลาวแกคําสอนวา “นองเอย เจาจะเขาใจขึ้นกวานี้เมื่อเจาโตขึ้น วาทําไมคนชาติเดียวกัน จึงไดแตกภาคจากกัน เปนสองจําพวก สําหรับเวลานี้ใหนองรักเด็กเหลานี้เหมือนดั่งเพื่อนฝูงของนอง ทีบ่ า นทาแร ใหนอ งรักประชาชนทีอ่ ยูฝ ง โขงนี้ เหมือนดัง่ แมปา นาสาว และลุงตาเรา เพราะพวกเขาก็มเี ลือดเดียวกันกับเราและมีกาํ เนิดมาจากกกเหงา [ตนเคา] เดียวกัน กับพวกเรา” (ลาวใหญ 30 กันยายน 1941) คํากลาวตอนนี้อนุมานไดวาเปนการ วิพากษวิจารณฝายไทยที่ทําใหลาวตองแตกแยกกันแมวาจะมีรากเหงามาจาก วัฒนธรรมเดียวกัน และตอกยํ้าแนวคิดชาตินิยมลาวผานมุมมองและจินตนาการ ของเด็กที่กาวขามพรมแดนทางกายภาพดวยความรูสึกผูกพันแบบเครือญาติ การใชตัวละครเด็กเพื่อนําเสนอแนวคิดชาตินิยมทางวัฒนธรรมยังเห็น ไดจากการทีผ่ เู ขียนนวนิยายกําหนดใหคาํ สอนและสีสมุทเดินทางไปกับคณะละคร ระหวางการเดินทางคําสอนไดฝกรําจนเกิดความรูสึกหลงใหลในนาฏศิลปลาว คําสอนไดรับการคัดเลือกใหแสดงละครที่นํามาจากเรื่องสินไชซึ่งในชวงเวลา ที่แตงนวนิยายเรื่องนี้ วรรณคดีเรื่องดังกลาวไดรับการสถาปนาเปนวรรณคดี ประจําชาติลาว ดวยเหตุนี้ ความหลงใหลในศิลปะของตัวละครจึงผูกโยงกับแนวคิด ชาตินิยมดวย ดังที่หัวหนาคณะละครไดอธิบายประโยชนของดนตรีใหคําสอน และสีสมุทฟงวา “ดนตรีเปนความชืน่ บาน มีประโยชนทาํ ใหจติ ใจของเราออนหวาน และพาใหเรามีความระลึกถึงความรักครอบครัว ความรักชาติบา นเมือง รูจ กั คาของ ความชืน่ บานหรือความโศกเศราของเราดวย ฉะนัน้ ควรใหมกี ารเลนดนตรีแผขยาย ไปในประเทศลาวของเรา” (ลาวใหญ 31 ตุลาคม 1941) โดยนัยนี้ คุณคาทาง 236


ชัยรัตน พลมุข

สุ น ทรี ย ะของดนตรี ที่ ช  ว ยกล อ มเกลาจิ ต ใจและจิ น ตนาการจึ ง รวมไปถึ ง การ สรางอารมณความรูสึกชาตินิยมอยางแยกไมออก

ภาพที่ 4 นวนิยายเรื่อง คําสอนกับสีสมุทกลาวถึงการแสดงนาฏศิลปลาว ที่สัมพันธกับแนวคิดชาตินิยม ที่มา: หนังสือพิมพลาวใหญ ฉบับวันที่ 15 ตุลาคม 1941

ความสรุป งานเขียนบันเทิงคดีรอยแกวยุคแรกเริ่มของลาวสัมพันธอยางแนบแนน กับความเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมในยุคอาณานิคม ความเคลื่อนไหวดังกลาว เกิดขึ้นในบริบททางการเมืองชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งสั่นคลอนอํานาจของ ฝรั่งเศสในอินโดจีนอยางที่ไมเคยเกิดขึ้นมากอน การกอตั้งขบวนการลาวใหญ เปนการแสวงหาพื้นที่เพื่อธํารงอํานาจของฝรั่งเศสผานการโวหารเรื่องการฟนฟู วัฒนธรรมอันนําไปสูก ารระดมปญญาชนลาวเพือ่ สรางอัตลักษณทางวัฒนธรรมลาว 237


นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม

ผานภาษา วรรณกรรม และศิลปะแขนงตางๆ ปญญาชนลาว เชน สมจิน งิน ทาวหนูทัก และทาวทองเพ็ชร สวนใหญเติบโตขึ้นในสมัยอาณานิคมและไดรับ การศึกษาแบบสมัยใหม ทําใหสามารถทําหนาที่เปนสื่อกลางทางความคิดและ การแลกเปลีย่ นทางวัฒนธรรมทีก่ าํ ลังดําเนินอยูใ นขณะนัน้ ได รวมทัง้ เปนผูม บี ทบาท สําคัญในการสรางผลงานทางสุนทรียะที่นําเสนออัตลักษณความเปนลาวตาม อุดมการณชาตินิยมของขบวนการลาวใหญดวย วรรณกรรมรอยแกวแบบสมัยใหมของลาวเกิดขึ้นในชวงเวลาเดียวกันนี้ เปนตัวอยางที่ดีของการแสวงหารูปแบบทางสุนทรียะแบบใหมเพื่อตอบสนอง ความเปลีย่ นแปลงทางสังคมและความเคลือ่ นไหวทางวัฒนธรรมในยุคนัน้ ลักษณะ ผสมผสานทัง้ ทางรูปแบบ ภาษา และเนือ้ หาของ “นิทานกอม” และ “เรือ่ งอานเลน” ทีไ่ ดรบั อิทธิพลทัง้ จากวรรณกรรมตะวันตกและวรรณกรรมลาวแสดงใหเห็นรอยตอ ทางวรรณศิลปที่สัมพันธกับบริบทสังคมที่วิวาทะเรื่อง “โบราณ” และ “ทันสมัย” กําลังเปนประเด็นทีถ่ กเถียงกันอยูใ นขณะนัน้ บทวิเคราะหวรรณกรรมลาวทัง้ 4 เรือ่ ง ที่กลาวมาขางตนนี้แสดงใหเห็นการปะทะสังสรรคกันของอารมณโหยหาอดีต กับภาวะสมัยใหม โดยใหความสําคัญแกจนิ ตกรรมเกีย่ วกับอดีตและสังคมแบบจารีต ในอุดมคติมากกวาแบบสมัยใหมโดยนัยนี้ วรรณกรรมสมัยใหมเหลานี้จึงยังคง ความเปน “นิทาน” ในโลกสมัยใหมทที่ าํ หนาทีใ่ หความบันเทิงและถายทอดแนวคิด ทางศีลธรรมไปพรอมกัน อยางไรก็ตาม ในบริบทใหมนี้ นิทานยังมีบทบาทหนาที่ ในการบอกเลาเรื่องราวการแสวงหาอัตลักษณของชาติดวย บทความนีเ้ ปนความพยายามของผูเ ขียนทีจ่ ะเรียบเรียงประวัตวิ รรณกรรม ลาวสมัยใหมโดยอาศัยขอมูลจากเอกสารตนฉบับที่ยังไมไดรับการตีพิมพเผยแพร ในวงกวาง โดยเชื่อวางานเขียนเหลานี้มีความสําคัญในฐานะหมุดหมายของ ภาวะสมัยใหมทางวรรณกรรมของลาวที่เกิดขึ้นจากปฏิสัมพันธระหวางระบอบ อาณานิคมกับกลุมชนชั้นปญญาชนลาว การศึกษาวิเคราะหงานเขียนเหลานี้ จึงนาจะชวยเปดมุมมองสําหรับการศึกษาเปรียบเทียบภาวะสมัยใหมทางวรรณกรรม ระหวางประเทศตางๆ ในอินโดจีนฝรั่งเศสและในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ดังที่ 238


ชัยรัตน พลมุข

ผูเขียนไดกลาวถึงบางประเด็นเกี่ยวกับสายสัมพันธระหวางวรรณกรรมลาว ไทย และกัมพูชา เปนตน นอกจากนี้ ผูเ ขียนยังพยายามนําเสนอแงมมุ ทีแ่ ตกตางไปจาก ประวัติวรรณกรรมลาวที่ใหความสําคัญตอวรรณคดีสัจทัศนสังคมนิยม (socialist realism) อันถือเปนวรรณกรรมกระแสหลักของลาว เนือ่ งจากประวัตวิ รรณกรรมลาว เหลานี้มักเสนอเฉพาะภาพดานลบของวรรณกรรมที่เขียนขึ้นในสมัยอาณานิคม ในฐานะวรรณคดีเพลินจิต หรือวรรณคดีประโลมโลกที่ขาดสาระทางสังคมและ การเมือง การศึกษาครัง้ นีไ้ ดชใี้ หเห็นวา แม “นิทาน” ในโลกสมัยใหมเหลานีจ้ ะเปน งานเขียนแบบ “เพลินจิต” แตกแ็ สดงใหเห็นมิติ ทิ างสังคม วัฒนธรรม และการเมือง ที่ซับซอน

บรรณานุกรม เอกสารตนฉบับภาษาลาว

“การประกวดเรื่องหนังสืออานเลน” ลาวใหญ 15 สิงหาคม 1944. “คําสอนกับสีสมุท” ลาวใหญ 30 กันยายน 1941. “คําสอนกับสีสมุท” ลาวใหญ 31 ตุลาคม 1941. “ชายกําพรา” ลาวใหญ 15 กันยายน-15 พฤศจิกายน 1943. “ถิ่นฐานบานเกิดของชาติลาว” ลาวใหญ 15 กรกฎาคม 1942. “ประกาศสําคัญ” ลาวใหญ 15 กุมภาพันธ 1944. “ยี่สิบปหลัง” ลาวใหญ 1 มกราคม 1943. “เส็งนิทานกอมและรูปตลก” ลาวใหญ 15 มกราคม 1942. “เส็งนิทานกอมและรูปตลก” ลาวใหญ 15 พฤษภาคม 1942. “ศัตรู” ลาวใหญ 15 กุมภาพันธ 1943.

239


นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม

เอกสารภาษาลาว

สมจิน งิน. 1971. อดีตานุสรณ. เวียงจันทน: มูลนิธิสมจิน งิน. หยุย อภัย. 1943. กาพยกลอนลาว. เวียงจันทน: สํานักพิมพลาวใหญ.

เอกสารภาษาไทย

ชัยรัตน พลมุข. 2557. “เนื้อก็ไมใช ปลาก็ไมเชิง: สมจิน งิน วรรณกรรมลาวสมัยใหม กับความทันสมัยที่เปนปญหา.” เอเชียปริทัศน 35(1): 47-76. นัทธนัย ประสานนาม. 2555. “นํ้าโขง ดงดิบ หญิงราย และชายชาตรี: เจาแมจามรี ในฐานะนวนิยายโรมานซแนวจักรวรรดินิยม.” วารสารสังคมลุมนํ้าโขง 8(2): 27-45. บัวไข เพ็งพระจันทร. 2551. “การฟนฟูคัมภีรใบลานลาวในยุคอาณานิคมฝรั่งเศส.” วารสารสังคมลุมนํ้าโขง 4(3): 55-81. สุมาลี วีระวงศ. 2547. รอยแกวแนวใหมของไทย พ.ศ.2417-2453. กรุงเทพฯ: ศยาม.

เอกสารภาษาตะวันตก

3349. 1978. Iron Man of Laos, Prince Phetsarath Ratanavongsa. Translated by John Murdorch. New York: Southeast Asia Program, Cornell University. Anderson, Benedict. 2006. Imagined Communities: Reflections on the Origin and Spread of Nationalism. London: Verso. Chigas, George. 2000. “The Emergence of Twentieth Century Cambodian Literary Institutions: The Case of Kambujasuriya.” The Canon in Southeast Asian Literatures: Literatures of Burma, Cambodia, Indonesia, Laos, Malaysia, the Philippines, Thailand and Vietnam. Ed. David Smyth. Richmond: Curzon Press. Culler, Jonathan. 1999. “Anderson and the Novel.” Diacritics 29(4): 20-39. Don Sasorith, Katay. 1943. Alphabet et écriture lao. Vientiane: Éditions du Pathet Lao. 240


ชัยรัตน พลมุข

Don Sasorith, Katay. 1958. Souvenirs d’un ancien écolier de Paksé. Saigon: Éditions Lao Sédone. Edwards Penny. 2007. Cambodge: The Cultivation of a Nation, 1860-1945. Honolulu: University of Hawai’i Press. Emling, Marjorie. 1969. “The Education System in Laos During the French Protectorate, 1893 to 1945.” MA thesis, Cornell University. Evans, Grant. 2002. A Short History of Laos: The Land in Between. New South Wales: Allen & Unwin. Finot, Louis. 1917. “Recherches sur la littérature laotienne.” Bulletin de l’École française d’Extrême-Orient 17(5): 1-218. Godwin-Jones, Robert. 1995. Romantic Vision: The Novels of George Sand. Birmingham: Summa Publications. Goscha, Christopher. 2012. Going Indochinese: Contesting Concepts of Space and Place in French Indochina. Copenhagen: NIAS Press. Ivarsson, Søren. 2008. Creating Laos: The Making of a Lao Space between Indochina and Siam, 1860-1945. Copenhagen: NIAS Press. Jennings, Eric. 2001. Vichy in the Tropics: Pétain’s National Revolution in Madagascar, Guadeloupe and Indochina, 1940-1944. Stanford: Stanford University Press. Kene, Thao. 1958. Catalogue des manuscrits de la littérature du Laos. Vientiane: The Literary Committee, Ministry of Education. Koret, Peter. 1999. “Books of Search: The Invention of Traditional Lao Literature as a Subject of Study.” Laos: Culture and Society. Ed. Grant Evans. Chiang Mai: Silkworm Books. Limapichart, Thanapol. 2008. “The Prescription of Good Books: The Formation of the Discourse and Cultural Authority of Literature in Modern Thailand (1860s-1950s).” Ph.D. diss, University of WisconsinMadison. 241


นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม

Polmuk, Chairat. 2014. “Life in a Time of Turmoil: Rereading Colonialism and Nationalism in Autobiographies of Postwar Lao Intellectuals.” Journal of Thai Language and Literature 32(2): 1-40. Sunthraraks, Pisanu. 1986. “Luang Wichit Watakan: Hegemony and Literature.” Ph.D. diss, University of Wisconsin-Madison. White, Hayden. 1981. “The Narrativization of Real Events.” Critical Inquiry 7(4): 793-798. Witayasakpan, Jiraporn. 1992. “Nationalism and the Transformation of Aesthetic Concepts: Theatre in Thailand during the Phibun Period.” Ph.D. diss, Cornell University.

242



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.