Blpd Newsletter Volume 72

Page 1

BLPD Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 72 เดือน ตุลำคม 2557

การขนส่งของ น า ้ ด น า ฐ น ้ ื พ ง า ้ ร ียน : โครงส เปิดประตูสู่อำเซ ฐกิจอาเซียน ษ ร เศ ม ค า ช ะ ร ป ไทยรองรับ รบารุงรักษา า ก ะ ล แ ้ ใช ร า ก ค ิ : เทคน แนะนำหลักสูตร ิมาตร เครื่องแก้ววัดปร มีอย่างเหมาะสม เค ร า ส ร า ก ด ั จ ร า : ก BLPD Article : ไวรัสอีโบลา Q&A an Project tt a h n a M ใน ย ั จ ิ te : ทาไมนักว a d p U e c n ie c S ce program จึง a p s s te ta S d e and the Unit ็จ? ประสบความสาเร ชีวิตของคุณ น ใ ่ ู ย อ ษ ิ พ น ่ พ น ค ี : เมื่อม BLPD Corner

โปรดส่งข้อคิดเห็น คำแนะนำหรือคำถำมที่ blpd@dss.go.th โทร. 02-2017425 โทรสำร 02-2017429 หำกต้องกำรยกเลิกกำรรับข่ำวสำร กรุณำแจ้งที่ blpd@dss.go.th ข้อมูลเพิ่มเติม http://blpd.dss.go.th/


สวัสดีเพื่อนสมาชิก พศ.สารทุกท่านครับ ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ เริ่มต้นแล้วนะครับ ปีนี้สานักพัฒนาศักยภาพนักวิทยาศาสตร์ห้องปฏิบัติการ รับนโยบาย จากรัฐบาลเร่งการส่งมอบความรู้สู่ประชาชนในไตรมาสแรกของปีงบประมาณ ดังนั้น ในช่วงแรกของการฝึกอบรมใน ปีงบประมาณนี้จึงคึกคัก สาหรับหลักสูตรฝึกอบรมมีความหลากหลาย โดยมีวิทยากรที่เชี่ยวชาญในเรื่องดังกล่าวเหมือน เช่นเคย ส าหรั บ ปี งบประมาณ ๒๕๕๘ นี้ พศ. เตรียมพร้อมส าหรับ การพัฒ นาหลั กสู ตรใหม่ๆ ที่จะให้ ผู้ เข้า รับการ ฝึกอบรมได้นาไปใช้ประโยชน์อีกหลายหลักสูตร คอยติดตามข่าวสารจากเรา พศ. สาร อย่างต่อเนื่องนะครับ ลมหนาวเริ่มแล้วนะครับ ช่วงเวลาเปลี่ยนฤดูกาลนี้ ดูแลสุขภาพด้วยนะครับ และขออวยพรให้เพื่อนๆ สมาชิก พศ.สาร ทุกท่านสุขภาพแข็งแรง มีแต่ความสุขสวัสดีกันถ้วนหน้านะครับ

หลักสูตรฝึกอบรมระยะสั้น Q005 Q007 Q002 C009 C003 B003 B002 M001 B005 Q003 C005 B008

การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของวิธีทางเคมี การจัดทาเอกสารในระบบคุณภาพภายในตามมาตรฐานISO/IEC 17025 การประกันคุณภาพผลวิเคราะห์ทดสอบ การทวนสอบผลการสอบเทียบเครื่องมือวัด ความไม่แน่นอนของการวัดทางเคมี เทคนิคการเตรียมสารละลาย ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ เทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาทางอาหาร เทคนิคการใช้และการบารุงรักษาเครื่องแก้ววัดปริมาตร การคานวณค่าสถิติสาหรับงานวิเคราะห์ทดสอบ การสอบเทียบเครื่องชั่ง เทคนิคการใช้และการบารุงรักษาพีเอชมิเตอร์

4-5 พ.ย. 57 6-7 พ.ย. 57 11-12 พ.ย. 57 12 พ.ย. 57 13-14 พ.ย. 57 13-14 พ.ย. 57 17-18 พ.ย. 57 17-19 พ.ย. 57 20 พ.ย. 57 20-21 พ.ย. 57 25-26 พ.ย. 57 28 พ.ย. 57

สถำนที่อบรม อำคำรสถำนศึกษำเคมีปฏิบัติ กรมวิทยำศำสตร์บริกำร รายละเอียดเพิ่มเติม และสมัครออนไลน์ได้ที่ http://blpd.dss.go.th/ ติดต่อสอบถาม : คุณจรวยพร แดงจิ๋ว โทรศัพท์ : 087 095 7475 0 2201 7460, 094 336 3455 2 |BLPD NEWSLETTER

ปี ที่ 6 ฉ บั บ ที่ 7 2 เ ดื อ น ตุ ล ำ ค ม 2 5 5 7


เปิดประตูสู่อำเซียน : โครงสร้ำงพื้นฐำนด้ำนกำรขนส่งของไทยรองรับประชำคม เศรษฐกิจอำเซียน เรียบเรียงโดย ปัทมา นพรัตน์

ดังนั้น โครงข่ายโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งต้อง เป็นที่ทราบกันดีว่าในปี 2558 ประเทศไทยจะเข้าสู่ มีความครอบคลุมและเชื่อมโยงพื้นที่ต่างๆ เพื่อรองรับการ ประชาคมอาเซียน ซึ่งประกอบด้วย 3 เสาหลักคือ ขนส่งสินค้าภายในประเทศ และระหว่างประเทศได้มากขึ้น 1.ประชาคมเศรษฐกิจ ดังนั้น เมื่อวันนี้ 29 ก.ค. 2557 ที่ประชุมคณะรักษาความ 2.ประชาคมการเมืองและความมั่นคง และ สงบแห่ งชาติ (คสช.) ได้อนุมัติแผนยุทธศาสตร์โ ครงสร้าง พื้นฐานด้านคมนาคมระยะ 8 ปี หรือปี 2558-2565 มุ่งเน้น 3.ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 4 ด้าน 5 แผนงาน ได้แก่ ซึ่งมีรายละเอียดและความสัมพันธ์ ดังนี้ 1. การสร้างรากฐานความมั่นคงทางสังคม 2. การสร้างมาตรฐานความมั่นคงทางเศรษฐกิจ 3. การสร้างโอกาสส าหรับการใช้ประโยชน์สู งสุ ด จากการเป็นประชาคมอาเซียน และ 4. เสริ ม สร้ า งความมั่ น คง ความปลอดภั ย ในการ เดินทางและการขนส่ง สาหรับเป้าหมายประชาคมเศรษฐกิจ (ASEAN Economic Community) ในปี 2558 เพื่ อ ให้ ป ระชาชนของ ประเทศสมาชิ ก มี ก ารค้ า ขายระหว่ า งกั น มากขึ้ น มี ก าร เดินทางระหว่างกันได้อย่างสะดวก และมีศักยภาพในการ แข่งขันกับโลกภายนอกได้ โดย

อ่ำนต่อหน้ำที่ 4 BLPD NEWSLETTER

ปี ที่ 6 ฉ บั บ ที่ 7 2 เ ดื อ น ตุ ล ำ ค ม 2 5 5 7 | 3


ยุ ท ธศาสตร์ ดั ง กล่ า ว ประกอบด้ ว ย แผนพั ฒ นา 5 แผนงาน ได้แก่

นอกจากนี้ คสช. ได้ตั้งคณะทางานเพื่อพิจารณาการ ลงทุนระบบรางของประเทศไทย รวมถึงการจัดหาหัวรถจักร 1.การพัฒนาโครงข่ายรถไฟระหว่างเมือง และระบบอาณัติสัญญาณ ของการรถไฟแห่งประเทศไทย อีก 2.การพั ฒ นาโครงข่ า ยขนส่ ง สาธารณะเพื่ อ แก้ ไ ข ด้วย ปัญหาจราจรในกรุงเทพฯ และปริมณฑล 3.การเพิ่มขีดความสามารถทางหลวงเพื่อเชื่อมโยง ฐานการผลิตที่สาคัญของประเทศเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อน บ้าน 4.การพัฒนาโครงข่ายการขนส่งทางน้า และ 5.การเพิ่มขีดความสามารถในการให้ บ ริ การขนส่ ง ทางอากาศ กาหนดระยะเร่งด่วนปีงบประมาณ 2557-2558 เพื่ อ เชื่ อ มโยงประตูก ารค้ า ของประเทศ และพั ฒ นาท่า เรื อ แหลมฉบั ง รวมทั้งสนามบิ น สุว รรณภูมิ สนามบิ นเชียงใหม่ สนามบินภูเก็ต และสนามบินอู่ตะเภาที่จะใช้ในเชิงพาณิชย์ ทั้งนี้ กระทรวงคมนาคมได้นาเสนอต่อที่ประชุม คสช. ถึงโครงการเร่งด่วน คือ รถไฟทางคู่ 6 เส้นทาง ได้แก่ 1.เส้นทางจิระ(โคราช)-ขอนแก่น ซึ่งผ่านการศึกษา เอกสำรอ้ำงอิง ผ ล ก ร ะ ท บ ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ( EIA) แ ล้ ว 2 . เ ส้ น ท า ง 1. การพัฒ นาบุคลากร/สถานประกอบการเตรีย ม ประจวบคีรีขันธ์-ชุมพร 3.เส้นทางนครปฐม-หัวหิน 4.เส้นทาง ลพบุรี-ปากน้าโพ 5.เส้นทางมาบกะเบา-จิระ(โคราช) และ 6. ความพร้อมรองรับทิศทางในอนาคต. [ออนไลน์] เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก http://www.nesdb.go.th/ เส้นทางหัวหิน - ประจวบฯ รวมระยะทาง 887 กิโลเมตร ใช้ Portals/0/tasks/dev_logis/docu/ งบประมาณราว 127,472 ล้านบาท data_0154091813.pdf ว ันที่ 20 ตุลาคม 2557 พร้อมกันนี้ จะเพิ่มโครงการรถไฟทางคู่เส้นใหม่อีก 2 2. คสช. อนุมัติกรอบแผนยุทธศาสตร์โครงสร้าง เส้นทางที่ได้ปรับมาจากโครงการรถไฟความเร็วสูง โดยจะใช้ รางมาตรฐานขนาด 1.435 เมตร และใช้ ค วามเร็ ว 160 พื้นฐานคมนาคม 8 ปี. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จากhttp:// กิโ ลเมตร/ชั่ว โมง ซึ่งต่ากว่าโครงการรถไฟความเร็ว สู งที่ใช้ www.thannews.th.com/index.php? ความเร็ ว 250 กิ โ ลเมตร/ชั่ ว โมง โดยจะเริ่ ม ก่ อ สร้า งใน 2 opเส้นทางก่อน คือ 1.เส้นทางหนองคาย-โคราช-สระบุรี-แหลม tion=com_content&view=article&id=240685&catid= ฉบัง-มาบตาพุด รวมระยะทาง 737 กิโลเมตร ใช้งบประมาณ 176&Itemid=524 วันที่ 20 ตุลาคม 2557 392,570 ล้ านบาท และ 2.เส้ นทางเชียงของ-เด่นชัย -บ้าน ภาชี-แหลมฉบัง รวมระยะทาง 655 กิโลเมตร ใช้งบประมาณ 348,890 ล้านบาท

4 |BLPD NEWSLETTER

ปี ที่ 6 ฉ บั บ ที่ 7 2 เ ดื อ น ตุ ล ำ ค ม 2 5 5 7


แนะนำหลักสูตร : เทคนิคกำรใช้และกำรบำรุงรักษำเครือ่ งแก้ววัดปริมำตร เรียบเรียงโดย ปัญญา คาพยา

เครื่องแก้ววัดปริมาตรเป็นเครื่องมือวัดขั้นพื้นฐานที่มีความจาเป็นมากต่อการปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการทดสอบ ทางวิทยาศาสตร์ ผู้ใช้เครื่องแก้ววัดปริมาตรต้องมีเทคนิคการใช้ที่ถูกต้องจึงจะมั่นใจในผลการวัดปริมาตร ที่ใช้เครื่องแก้ว ดังกล่าว นอกจากนี้ ผู้ใช้เครื่องแก้ววัดปริมาตร ต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องแก้วแบบต่างๆ การล้างเครื่องแก้วให้ สะอาด เพื่อลดการปนเปื้อน การตรวจสอบประสิทธิภาพของเครื่องแก้ว ดังนั้นการฝึกอบรมหลักสูตร “เทคนิคการใช้และ การบารุงรักษาเครื่องแก้ววัดปริมาตร” จึงจาเป็นอย่างยิ่งเพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถใช้เครื่องแก้วได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นทางสานักพัฒนาศักยภาพนักวิทยาศาสตร์ห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์บริการ จึงได้จัดฝึกอบรม หลักสูตรเทคนิคการใช้และการบารุงรักษาเครื่องแก้ววัดปริมาตร เพื่อ เสริมสร้างความรู้ด้านเทคนิคการใช้และการบารุงรักษาเครื่องแก้ววัดปริมาตรที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ สามารถใช้และดูแล เครื่องแก้ววัดปริมาตรได้อย่างถูกต้อง โดย พศ. จะจัดฝึกอบรมหลักสูตร “เทคนิคการใช้และการบารุงรักษาเครื่องแก้ววัดปริมาตร” ซึ่งเป็นหลักสูตรที่ น่าสนใจ มีทั้งการบรรยายและฝึกปฏิบัติจริง โดยวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถ หัวข้อฝึกอบรมประกอบด้วย     

ความรู้ทั่วไปและความสาคัญของเครื่องแก้ววัดปริมาตร การล้าง และการบารุงรักษาเครื่องแก้ววัดปริมาตร เทคนิคการใช้เครื่องแก้ววัดปริมาตร การควบคุมคุณภาพเครื่องแก้ววัดปริมาตร ฝึกปฏิบัติ : การใช้และการล้างเครื่องแก้ววัดปริมาตร

BLPD NEWSLETTER

ปี ที่ 6 ฉ บั บ ที่ 7 2 เ ดื อ น ตุ ล ำ ค ม 2 5 5 7 | 5


BLPD Article : กำรจัดกำรสำรเคมีอย่ำงเหมำะสม เรียบเรียงโดย ณัฏฐกานต์ เกตุคุ้ม

ปัจจุบันปริมาณการใช้สารเคมีในประเทศไทยมีอัตรา เพิ่ ม มากขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งและยาวนาน ทั้ ง จากภาค สานักพัฒนาศักยภาพนักวิทยาศาสตร์ห้องปฏิบัติการ เกษตรกรรมและอุตสาหกรรม จึงเป็นเหตุให้มีปัญหาที่เกิดจาก กรมวิทยาศาสตร์บริการ ดาเนินการจัดฝึกอบรม หลักสูตรที่ การใช้ ส ารเคมี ดั ง กล่ า ว และก่ อ ให้ เ กิ ด ผลกระทบจากสาร เกี่ยวข้องกับการจัดการสารเคมีอย่างเหมาะสม เช่น ตกค้างในผลิตผลทางการเกษตร และสภาพแวดล้อม เช่น ดิน หลักสูตร “การควบคุมและจัดการสารเคมีอันตราย” น้า อากาศ อี กทั้ ง ยั งส่ ง ผลโดยตรงต่ อ สุ ข ภาพอนามั ย ของ หลักสูตร “ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ” ผู้บริโภค เกษตรกร หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ในทานองเดียวกันกับ และ หลั ก สู ต ร “การก าจั ด ของเสี ย อั น ตรายใน สารเคมีทางภาคอุตสาหกรรม ซึ่งเกิดผลเสีย แก่ผู้ ที่มีโ อกาส ห้องปฏิบัติการ” ได้ รั บ สั ม ผั ส ในกระบวนการผลิ ต ต่ า งๆ รวมทั้ ง อาจเกิ ด ผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมได้เช่นกัน ถ้าไม่ มีการบริ หารจัดการที่ถูกต้องเหมาะสม อาทิเช่น การปล่อย ของเสี ย ออกสู่ สิ่ ง แวดล้ อ ม นั ก วิช าการและผู้ ที่ เกี่ ย วข้อ งได้ พยายามศึกษาหาแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวมาโดยตลอด แนวทางหนึ่งที่สาคัญ สาหรับการบริหารจัดการเพื่อ แก้ไขปัญหาสารเคมีดังกล่าว คือ การพัฒนาความสามารถของ บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ให้ความรู้ ความเข้าใจปัญหาที่เกิดขึ้นหรือ อาจจะเกิดขึ้น ตลอดจนการทราบความเป็นมาของสารเคมี ต่า งๆ ทั้ ง ภาคเกษตรกรรม และภาคอุ ต สาหกรรม รวมทั้ ง ระบบต่ า งๆที่ เกี่ ย วข้ อ ง ดั งนั้ น การพั ฒ นาบุ คลากรในเรื่ อ ง เกี่ยวกับการจัดการสารเคมีอย่างเหมาะสมและถูกต้อง จะช่วย ให้การบริหารจัดการสารเคมีในประเทศไทยซึ่งประกอบด้วย สาร เค มี เ ก ษต ร อุ ตส าหก รร ม ร ว ม ทั้ ง ส าร เคมี จา ก สถาบั น การศึ ก ษา การวิ จั ย ต่ า งๆ ด าเนิ น ไปได้ อ ย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพ ตั้ ง แต่ เ ริ่ ม กระบวนการน าเข้ า มาใช้ จนถึ ง ปลายทางคื อ การก าจั ด ของเสี ย ทุ ก ขั้ น ตอน เป็ น ไปตาม หลักการทางวิชาการ หรือ คาแนะนาที่มีการกาหนดขึ้นมาโดย ผ่านขั้นตอนการกลั่นกรองจากผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ ทั้งนี้เพื่อลดผลกระทบที่จะเกิดแก่ผู้ที่มีโอกาสได้รับการสัมผัส กับสารเคมี ให้ได้รับผลกระทบหรืออันตรายน้อยที่สุด รวมทั้ง การลดผลที่อาจจะก่อให้เกิดต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ด้วย 6 |BLPD NEWSLETTER

เอกสำรอ้ำงอิง เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “Strategies for Chemicals Management” โดย Swedish International Development Cooperation Agency (Sida) and Kemikalieinspektionen Swedish Chemicals Agency KEMI)

ปี ที่ 6 ฉ บั บ ที่ 7 2 เ ดื อ น ตุ ล ำ ค ม 2 5 5 7


Q & A : ไวรัสอีโบลำ เรียบเรียงโดย วิภัทรา วงศ์พยัคฆ์

ถำม : ไวรั ส อี โ บลา จั ด เป็ น ไวรั ส ที่ มี ร ะดั บ ความเสี่ ย งสู ง เพี ย งใดในระดั บ ความปลอดภั ย ด้ า นชี ว ภาพของ ห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา ตอบ : ในการแบ่งประเภทจุลินทรีย์ตามระดับความเสี่ยงทางจุลชีววิทยา จะสามารถแบ่งความเสี่ยงออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเสี่ยงระดับที่ 1 มีความเสี่ยงต่อบุคคลหรือชุมชนน้อย มีโอกาสทาให้เกิดโรคในคนหรือสัตว์ที่สุขภาพดีน้อย กลุ่มเสี่ยงระดับที่ 2 มีความเสี่ยงต่อบุคคลหรือชุมชนปานกลาง เป็นจุลินทรีย์ที่ทาให้เกิดโรคในคนและสัตว์ได้ ปกติ มักไม่มีปัญหากับผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ ชุมชน ปศุสัตว์ หรือสิ่งแวดล้อม การปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการมักไม่ทาให้ ติดเชื้อ/เกิดโรครุนแรง การเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรค มีน้อย กลุ่มเสี่ยงระดับที่ 3 มีความเสี่ยงต่อบุคคลสูงหรือเสี่ยงต่อชุมชนต่า แต่เป็นเชื้อที่ทาให้เกิดโรครุนแรงในคน/สัตว์/ อาจมีผลกระทบด้านเศรษฐกิจ แต่ไม่ติดต่อจากคนถึงคนโดยการสัมผัส สามารถรักษาได้ด้วยยาฆ่าจุลินทรีย์ หรือฆ่าปาราสิต กลุ่มเสี่ยงระดับที่ 4 ความเสี่ยงต่อบุคคลสูง/เสี่ยงต่อชุมชนสูง เป็นเชื้อที่ทาให้เกิดโรครุนแรงมากในคน/สัตว์/อาจ รักษาไม่ได้ มีการติดต่อจากคนถึงคน อาจติดต่อจากสัตว์ไปคน หรือคนไปสัตว์ ทั้งทางตรง ทางอ้อม หรือโดยการสัมผัส อีโบลาจัดเป็น เชื้อจุ ลิน ทรีย์ ในกลุ่ มเสี่ยงระดับที่ 4 ซึ่งจัดได้ว่ามีความอันตรายอย่างรุนแรง หากมีการทางานที่ เกี่ยวข้องกับเชื้อจุลินทรีย์ในกลุ่มเสี่ยงนี้ ต้องควบคุมการทางานอย่างเข้มงวด มีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านควบคุม โดยเฉพาะการ ออกแบบห้องปฏิบัติการต้องสามารถรองรับความเสี่ยงของเชื้อจุลินทรีย์กลุ่มเสี่ยงระดับ 4 ได้

BLPD NEWSLETTER

ปี ที่ 6 ฉ บั บ ที่ 7 2 เ ดื อ น ตุ ล ำ ค ม 2 5 5 7 | 7


Science Update : ทำไมนักวิจัยใน Manhattan Project and the United States space program จึงประสบควำมสำเร็จ? เรียบเรียงโดย ปวีณา เครือนิล

เคยสงสัยกันหรือไม่ว่า ทาไมนักวิจัยส่วนมากจะวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเฉพาะเรื่องที่ตนเองสนใจหรือตีพิมพ์ บทความในวารสารวิทยาศาสตร์เฉพาะเรื่องที่ตนมีความเชี่ยวชาญเท่านั้น และนักวิจัยส่วนมากจะทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม เล็กๆ เท่านั้น ซึ่งการรวมตัวของนักวิจัยเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ที่มีความเชี่ยวชาญหลากหลายด้านน่าจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาทาง วิทยาศาสตร์ที่ก้าวไกลกว่าการทางานเป็นกลุ่มเล็กๆ แต่การที่จะนานักวิจัยจากหลากหลายสาขาจานวนมากมาทางาน ร่วมกันได้นั้น เป็นเรื่องที่ค่อนข้างทาได้ยาก แต่ก็มีความเป็นไปได้ดังเช่นประวัติศาสตร์ความสาเร็จของการพัฒนาเทคโนโลยี จากการวิ จั ย ในโครงการ Manhattan Project และ The United States space program ซึ่ ง เกิ ด จากนั ก วิ จั ย ของ หลากหลายสถาบันด้านวิทยาศาสตร์ในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นที่กล่าวขานกันถึงความสาเร็จอย่างมาก บทความเรื่อง Building a Cross-Disciplinary Team ในวารสาร Lab Manager ฉบั บ เดื อ นตุ ล าคม 2014 ได้ ใ ห้ เ ทคนิ ค การท างาน ร่วมกันของทีมนักวิจัยที่จะประสบความสาเร็จในโครงการใหญ่ได้ เช่น 1. การมีทักษะการสื่อสารที่ดี 2. ความเต็มใจที่จะเรียนรู้ความรู้ใหม่ๆ จากนักวิจัยที่เชี่ยวชาญด้านอื่นๆ 3. ความเคารพและไว้ใจซึ่งกันและกัน 4. การสร้างบรรยากาศให้นักวิจัยมีการรวมกลุ่มทางานกันอยู่เสมอ 5. การสร้างการแข่งขันกันระหว่างกลุ่มที่มีความเชี่ยวชาญต่างกัน สิ่งที่สาคัญที่สุด คือ การสร้างบรรยากาศให้เกิดการสื่อสารภายในและเพิ่มช่องทางในการทางานร่วมกัน ซึ่งเอื้อให้ นักวิจัยจากสาขาวิชาที่แตกต่างกันสามารถมาร่วมงานและแบ่งปันข้อมูลในการทางานกันได้เป็นอย่างดี ข้อมูลและเทคนิค ดีๆ ของวิธีการร่วมงานกันของนักวิจัยสามารถอ่านได้จากวารสาร Lab Manager ออนไลน์ ฉบับเดือนตุลาคม 2014

8 |BLPD NEWSLETTER

ปี ที่ 6 ฉ บั บ ที่ 7 2 เ ดื อ น ตุ ล ำ ค ม 2 5 5 7


Blpd corner : เมื่อมีคนพ่นพิษอยู่ในชีวิตของคุณ เรียบเรียงโดย เบญจพร บริ สทุ ธิ์

ปั ญหาของคนส่วนใหญ่ที่มีผลกระทบต่อการทางานและการดาเนินชีวิตปกติไม่ได้ มาจากการทางานหนัก หรื อ ภาระหน้ าที่ที่ล้นมือจนคุณหลายคนต้ องอาละวาดกับคนรอบข้ าง หรื อหัวเสียกับใครๆ อย่างไม่มีเหตุผล แต่..แท้ ที่จริ งแล้ ว มันมีสาเหตุบางอย่างรบกวนความรู้สึกนึกคิด จนตัวคุณเองต้ องเสียสมาธิ ควบคุมอารมณ์ตวั เองไม่อยู่ จนเข้ าขันเสี ้ ยสติ หลุดกรอบจากตัวเองที่เคยเป็ น และไม่อยู่ในอาการนิ่งสงบเอาเสียเลย บางทีอาจเป็ นเพราะว่าปั จจุบนั นี ้คนเรามักมีแรง กระตุ้นที่เหย้ าแหย่ทาให้ เรื่ องปกติเป็ นเรื่ องไม่เป็ นปกติ จากเรื่ องเล็กๆ ขยายเป็ นเรื่ องใหญ่ จากเรื่ องพูดน้ อยกลายเป็ น เรื่ องพูดมาก สิ่งเหล่านี ้คืบคลานเข้ ามาในชีวิตทุกคนอย่างไม่ร้ ูตวั และแทรกซึมบ่มเพาะ จากบุคคลที่เคยลมปากเคยหวาน หู น่าฟั ง กลับกลายเป็ นการพ่นพิษใส่กนั แพร่ขยายตัวใหญ่ขึ ้นจนกลายเป็ นปั ญหาสังคมทางานและสังคมส่วนตัวของใคร หลายคน ถ้ าทุกคนกาลังหาทางออกให้ กบั ชีวิตทางาน ส่วนตัว เพราะเริ่ มรู้ตวั ว่า “มีคนพ่นพิษรายล้ อมในชีวิตของเรา” หรื อแม้ เรากาลังเป็ นตัวพ่นพิษให้ กบั คนอื่นๆ เราจะมีวิธีจดั การตัวเองหรื อใช้ ชีวิตกับผู้คนเหล่านี ้อย่างไร อยากให้ หาหนังสือเล่มนี ้ มาลองอ่าน “คนพ่นพิษ Toxic People” ของ ดร.ลิลเลียล กลาส จะทาให้ เราอ่านพฤติกรรมของคนพ่นพิษได้ เป็ นอย่างดี ว่าต้ นเหตุแห่งพฤติกรรมแปลกประหลาดนี ้เป็ นอย่างไร และมีเทคนิค ดีๆ ที่จะใช้ รับมือกับคนพ่นพิษแต่ละประเภทอย่างไร แต่ไม่ว่าเราจะเลือกเทคนิคอะไรกับคนประเภทไหนในการตัดสินใจรับมือจากหนังสือนี ้ก็ ตาม อยากบอกว่ามันจะไม่มีประโยชน์อะไรเลย ถ้ าเรายังขาดความรักที่จะมอบให้ แก่พวกเขา เหล่านัน้ ความรักที่จะเข้ าใจว่ามีคนที่แตกต่างจากเราในโลกใบนี ้ แน่นอนการให้ อภัยมันเป็ นดู เรื่ อ งยากส าหรั บ ใครบางคน และยิ่ ง ยากเข้ า ไปใหญ่ ถ้ า เราอยากให้ เ ขาเปลี่ ย นแปลงและ แสดงออกกับเราในสิ่งดีๆ ทางออกที่ดีที่สดุ ของท้ ายสุดที่จะบอกตอนนี ้ ก็คือ รี บเปลี่ยนแปลงตัว เราให้ ได้ เสียก่อน แล้ วทุกอย่างที่หวังไว้ ก็จะตามมา

BLPD NEWSLETTER

ปี ที่ 6 ฉ บั บ ที่ 7 2 เ ดื อ น ตุ ล ำ ค ม 2 5 5 7 | 9


สานักพัฒนาศักยภาพ นักวิทยาศาสตร์ห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์บริการ อาคารสถานศึกษาเคมีปฏิบัติ 75/7 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 Phone: 0 2201 7425

ที่ปรึกษำ ดร. จันทร์เพ็ญ เมฆำอภิรักษ์ บรรณำธิกำร นำงสำวปัทมำ นพรัตน์ กองบรรณำธิกำร นำงชุติมำ วิไลพันธ์ นำงอำรีย์ คชฤทธิ์

Fax: 0 2201 7429 E-mail: blpd@dss.go.th

http://blpd.dss.go.th : http://www.e-learning.dss.go.th

โปรดส่งข้อคิดเห็น คำแนะนำหรือคำถำมที่ blpd@dss.go.th โทร. 02-2017425 โทรสำร 02-2017429 หำกต้องกำรยกเลิกกำรรับข่ำวสำร กรุณำแจ้งที่ blpd@dss.go.th ข้อมูลเพิ่มเติม http://blpd.dss.go.th/


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.